The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ที่จัดโดยสำนักงาน ก.พ.ร. ประจำปี 2564 จำนวน 3 รางวัล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by opdc.hss, 2021-09-17 02:28:46

ผลงานรางวัลเลิศรัฐ ประจำปี 2564 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ที่จัดโดยสำนักงาน ก.พ.ร. ประจำปี 2564 จำนวน 3 รางวัล

ผลงานรางวลั เลิศรฐั
กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564







กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ

ไดร้ บั รางวลั เลิศรฐั ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564
จดั โดยสานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ

1. สาขาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั : (PMQA)รายหมวด
1.1 หมวด 1 การนาองคก์ ารและความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม

2. สาขาบริการภาครฐั ประเภทพฒั นาการบริการ
2.1 การพฒั นาระบบส่ือสารสาหรบั งานบริการดา้ นการแพทยฉ์ ุกเฉิน
และสาธารณสุข ระดบั ดีเด่น
2.2 การพฒั นาระบบการบริหารจดั การศูนยเ์ คร่ืองมือแพทย์
ในโรงพยาบาล ระดบั ดี



บทนา

การพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ เป็นเรื่องที่มีความสาคัญต่อการพัฒนา
ระบบราชการ โดยมีการกาหนดแนวทางหรือมาตรการต่าง ๆ ให้หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติไว้ในพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มาตรา 3/1 ให้การบริหารราชการต้องเป็นไปเพ่ือ
ประโยชน์สุขของประชาชน การอานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน ตามพระราช
กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 กาหนดเปูาหมายของการบริหาร
กิจการบ้านเมืองท่ีดีให้เป็นไปเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน นอกจากนี้ในยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580)
ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐได้วางเปูาหมาย การยกระดับงาน
บริการประชาชนและการอานวยความสะดวกของภาครัฐสู่ความเป็นเลิศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ยุทธศาสตร์ที่ 6 ซึ่งมีสาระสาคัญ 2 ประการ คือ 1) ส่งเสริมและสนับสนุน
หน่วยงานของรัฐในการพัฒนาระบบราชการให้บริการ ให้มีประสิทธิภาพ และ 2) อานวยความสะดวก พัฒนา
คณุ ภาพการให้บริการประชาชน

สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ไดเ้ ชิญชวนให้สว่ นราชการพฒั นาระบบงาน ระบบการ
ให้บริการ และสมัครรบั รางวลั เลศิ รฐั ประเภทตา่ ง ๆ ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2547 ถึงปจั จุบนั

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้พัฒนาการให้บริการและผลการดาเนินงานพร้อมทั้งส่งสมัครรับ
รางวลั ประเภทต่าง ๆ และไดร้ ับรางวลั ดังนี้

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 กรมฯ ได้รบั รางวัลสาขาความเป็นเลิศด้านการบริหาราชการแบบมีส่วนร่วม :
ตาบลจดั การสขุ ภาพชุมชน ระดับดเี ยย่ี ม
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กรมฯ ได้รบั รางวลั สาขาความเป็นเลศิ ดา้ นการบรหิ าราชการแบบมีส่วนร่วม
(ตอ่ ยอดพัฒนา) : ตาบลจัดการสุขภาพชมุ ชน ระดับดีมาก
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กรมฯ ไดร้ บั รางวัลเลศิ รัฐ สาขาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภท
เปดิ ใจใกล้ชิดประชาชน (Good Governance) ระดับดี
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมฯ ได้รับรางวลั เลิศรัฐประเภทตา่ ง ๆ ดังน้ี
1) สาขาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA รายหมวด : หมวด 4 ด้านการวัด การวิเคราะห์
และการจดั การความรู้
2) สาขาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทเปิดใจใกล้ชิดประชาชน (Good Governance)
ระดบั ดี
3) สาขาบริการภาครัฐ ประเภทพัฒนาการบริการ : ตู้ควบคุมปูองกันการแพร่กระจายเชื้อ
จุดพน่ ยา (A2M2) ระดับดี
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมฯ ไดร้ ับรางวลั เลิศรัฐประเภทตา่ ง ๆ ดังน้ี
1) สาขาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA รายหมวด : หมวด 1 การนาองค์การและ
ความรับผิดชอบต่อสังคม
2) สาขาบริการภาครัฐ ประเภทพัฒนาการบริการ : การพัฒนาระบบส่ือสารสาหรับงานบริการ
ดา้ นการแพทย์ฉุกเฉนิ และสาธารณสุข ระดับดเี ดน่
3) สาขาบริการภาครัฐ ประเภทพัฒนาการบริการ : การพัฒนาระบบการบริหารจัดการศูนย์
เครอ่ื งมอื แพทย์ในโรงพยาบาล ระดบั ดี

กลุ่มพัฒนาระบบบริหารในฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจหลัก ในการขับเคล่ือนการพัฒนาระบบบริหาร
จัดการของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธิ์ มีประสทิ ธิภาพ และเกิดความค้มุ ค่า เพ่ือประโยชน์สุข
ของประชาชน จึงได้ดาเนินการศึกษาหลักเกณฑ์การประเมินรางวัลฯ รวบรวมข้อมูลการพัฒนาองค์กร และ
ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการรวบรวมข้อมูลพร้อมท้ังจัดทารายงานผลการดาเนินการ ส่งให้สานักงาน
ก.พ.ร. เข้าสู่กระบวนการพิจารณา กลุ่มพัฒนาระบบบริหารหวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานฉบับน้ี จะเป็นสิ่งท่ีบ่ง
บอกถงึ ผลงานและความภาคภูมิใจร่วมกันของชาวกรม สบส. และที่นอกเหนือจากน้ัน คือ ใช้เป็นฐานข้อมูลในการ
อา้ งองิ และแสดงใหเ้ ห็นถึงผลการพัฒนาระบบราชการ รวมท้งั การบริหารจัดการของกรมสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพ

กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร
กรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ

สิงหาคม 2564

สารบญั

หนา้
1. ลกั ษณะสาคัญองค์การ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ................................................................................ 1
2. รางวลั สาขาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ PMQA........................................................................... 13

หมวด 1 การนาองค์การและความรบั ผิดชอบต่อสังคม
3. รางวัลสาขาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั PMQA........................................................................... 45

หมวด 6 การมุ่งเนน้ ระบบปฏิบตั ิการ (ไมผ่ ่านการประเมินข้ันตอนที่ 3 Site Visit)
4. ผลลัพธ์การดาเนนิ การ ............................................................................................................................. 95
5. รางวลั สาขาบรกิ ารภาครฐั ระดบั ดีเด่น ..................................................................................................101

การพฒั นาระบบส่ือสารสาหรับงานบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉนิ และสาธารณสขุ
6. รางวลั สาขาบริการภาครฐั ระดับดี.........................................................................................................115

การพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศนู ยเ์ ครอื่ งมือแพทย์ในโรงพยาบาล

ภาคผนวก

1. ประกาศรางวัล PMQA หมวด 1 ..........................................................................................................132
2. ภาพประกอบการรบั การตรวจประเมิน (Site Visit) รางวลั PMQA หมวด 1 ....................................133
3. ประกาศรางวัลบรกิ ารภาครฐั .................................................................................................................134
4. ภาพประกอบการรับการตรวจประเมิน (Site Visit) รางวัลบรกิ ารภาครัฐ ระดับดเี ดน่ ........................135



1

ลักษณะสาคัญองค์การ กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ

2

ลักษณะสาคญั องคก์ าร กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ
1.ลกั ษณะองค์การ
ก.สภาพแวดล้อมของส่วนราชการ
(1) พันธกิจหรือหนา้ ทต่ี ามกฎหมายของส่วนราชการคอื อะไรบ้าง

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เป็นหน่วยงานภาครัฐ มีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย สังกัด
กระทรวงสาธารณสุข มีภารกิจเกี่ยวกับการสนับสนุนหน่วยบริการสุขภาพทุกระดับ ให้มีประสิทธิภาพในการ
ดูแลสุขภาพของประชาชน โดยส่งเสริมและสนับสนุนระบบคุ้มครองประชาชนด้านบริการสุขภาพ ส่งเสริม
และพัฒนามาตรฐานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ รวมทั้งการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน และ
องค์กรภาคเอกชน เพื่อการบริการสุขภาพ ที่จะทาให้ประชาชนมีสุขภาพดี สามารถพิทักษ์สิทธิและเข้าถึง
บริการสขุ ภาพ ทีม่ ีคุณภาพไดม้ าตรฐาน ซึ่งเป็นอานาจหน้าท่ีตามกฎหมายในปจั จุบัน

กรมฯ ได้ดาเนินการวิเคราะห์สถานการณ์ และทบทวนพร้อมจัดทาประเด็นยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับ
ยทุ ธศาสตรช์ าติทกุ ระดับ เพ่อื ใชเ้ ปน็ กรอบในการขับเคลอ่ื นภารกิจตามแผนงาน โครงการต่าง ๆ ให้สอดคล้องและ
บูรณาการ โดยมียุทธศาสตร์ท่ีสาคัญ คือ 1) พัฒนาและยกระดับมาตรฐานสถานพยาบาลภาครัฐ เอกขน และ
สถานประกอบการเพื่อสุขภาพสู่มาตรฐานสากล และพัฒนาอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร 2) พัฒนาและ
ยกระดับการจัดการสุขภาพภาคประชาชนโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน และเครือข่าย 3) พัฒนาองค์กร
สมรรถนะสูงตามหลักธรรมาภิบาล ทั้งนี้ จากนโยบายรัฐบาลในการเตรียมตัวสู่ระบบราชการ 4.0 สังคม
ดิจิทัล การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และกระแสความนิยมบริการสุขภาพที่มีมาตรฐาน จึงจาเป็นต้องเตรียม
ความพร้อมเพื่อรองรับต่อการเปล่ียนแปลง โดยปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย ระเบียบ ยกระดับ
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชนให้มีคุณภาพ เช่ือถือได้ พร้อมท้ังพัฒนา
ระบบการให้บริการต่างๆ ผ่านการสร้างวัฒนธรรมการทางานท่ีมุ่งเน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง และ
แนวคิดการดาเนินการ “สมรรถนะเป็นฐาน สร้างสรรค์ส่ิงใหม่ บริการด้วยใจ ใฝุสามัคคี” สร้างและ
พัฒนาเครือข่ายท้ังภายในและภายนอกประเทศ สถาบันการศึกษา พัฒนาความร่วมมือกับพหุภาคีและ
ทวิภาคี เช่น อสม. อสค. สสจ. ผู้ประกอบการสถานประกอบการ สถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน
รวมท้ังทิศทางและบทบาทของผู้บรหิ าร และบคุ ลากรท่ีมงุ่ ส่คู วามสาเรจ็ อยา่ งย่ังยืน
- ความสาคญั เชงิ เปรยี บเทียบของพันธกจิ หรือหน้าทีต่ ่อความสาเรจ็ ของส่วนราชการและการเพ่ิมขีด
ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศคืออะไร

1. พนั ธกิจพัฒนามาตรฐานระบบบริการสขุ ภาพ และกลไกการขบั เคลอื่ นให้สถานพยาบาลภาครัฐ
และเอกชน และสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานสากล ซ่ึงกรมฯ เป็นหน่วยงานหลัก
ในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ โดยมีกฎหมายและระเบียบในการกากับ และการ
บังคับใช้กฎหมายเพื่อให้สถานพยาบาล สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ มีคุณภาพมาตรฐานในการ
ให้บริการแก่ประชาชนอย่างมีคุณภาพ เพ่ือประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนผู้รับบริการ ประกอบด้วย
พ.ร.บ. การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 พ.ร.บ. สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 พ.ร.บ. สถานประกอบการ
เพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2559 พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันทางการแพทย์
พ.ศ. 2558

2. พันธกิจพัฒนาและขับเคลื่อนการจัดการระบบสุขภาพภาคประชาชน โดยการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน และภาคีเครือข่าย ซ่ึงกรมฯ เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคล่ือนงานสาธารณสุขมูลฐาน ท่ี
เนน้ การพฒั นาโดยยดึ ประชาชนเป็นศนู ยก์ ลาง เพื่อใหค้ นไทยมีสุขภาวะที่ดี เน้นให้มีการเสริมสร้างความ
รอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษา โดยการขับเคลื่อนของหน่วยงานและ
ภาคเี ครอื ขา่ ย อาทเิ ชน่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) และหน่วยงานท้องถ่ินที่เก่ียวข้อง

3

ใหป้ ระชาชนทุกคนสามารถดูแลสุขภาพตนเอง และชุมชนสามารถจัดการสุขภาพเพื่อการพ่ึงตนเองด้าน
สุขภาพไดอ้ ย่างยงั่ ยนื

3. พันธกจิ พฒั นาและขบั เคล่ือนให้ประเทศไทยมศี กั ยภาพในการแข่งขันด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ครบ
วงจร ซ่ึงกรมฯ ได้รับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุขให้เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารขับเคล่ือน และ
สนับสนุนนโยบายการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ด้าน Medical
and Wellness ซงึ่ เปน็ กลไกสาคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกจิ ของประเทศ ตามท่ีคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ
ข้อเสนอ 10 อุตสาหกรรมเปูาหมาย เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพ่ืออนาคต ในประเด็น
อุตสาหกรรมการทอ่ งเท่ียวกลุม่ ท่มี ีรายไดด้ ีและการท่องเทีย่ วเชงิ สขุ ภาพ
(2) วฒั นธรรม วิสัยทศั น์ พันธกจิ คา่ นิยม และสมรรถนะหลกั ของกรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ

เปาู ประสงค์ 1. ประชาชนไดร้ ับบริการสขุ ภาพทมี่ ีมาตรฐาน คณุ ภาพ ปลอดภยั และสมประโยชน์
2. ประชาชนทกุ คนสามารถดแู ลสขุ ภาพตนเองไดแ้ ละชมุ ชนจดั การสขุ ภาพเพ่ือการพ่งึ ตนเองดา้ นสุขภาพได้อยา่ ง
ยั่งยนื
3. ประเทศไทยเปน็ ศูนยก์ ลางอตุ สาหกรรมการแพทย์ในระดบั นานาชาติ

วิสัยทัศน์ เป็นองคก์ รหลกั ในการบรหิ ารจัดการระบบบริการสุขภาพ และระบบสุขภาพภาคประชาชน ให้มคี ณุ ภาพ
(Vision) เพือ่ การคุ้มครองผู้บรโิ ภค และการพง่ึ ตนเองด้านสขุ ภาพที่ย่ังยนื แบบมสี ่วนรว่ ม

พันธกจิ 1. พฒั นามาตรฐานระบบบริการสขุ ภาพและกลไกการขบั เคลอ่ื นใหส้ ถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน และ
(Mission) สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพมคี ณุ ภาพมาตรฐานสากล

ค่านยิ ม 2. พฒั นาและบงั คับใช้กฎหมายอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพในการคมุ้ ครองผู้บริโภคดา้ นระบบบริการสขุ ภาพ
3. พฒั นาและขับเคลอื่ นใหป้ ระเทศไทยมีศกั ยภาพในการแข่งขันดา้ นอตุ สาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
4. พัฒนาและขบั เคลื่อนการจดั การระบบสขุ ภาพภาคประชาชนโดยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและภาคี
เครือข่าย
5. พฒั นาการวจิ ยั องคค์ วามรู้ นวตั กรรม และการถ่ายทอดเทคโนโลยดี ้านระบบบรกิ ารสุขภาพ และการ

จดั การสุขภาพภาคประชาชน
6. พัฒนาและเพ่มิ ขดี ความสามารถของระบบบรหิ ารจดั การองคก์ ร

สมรรถนะเปน็ ฐาน สรา้ งสรรค์ส่ิงใหม่ บรกิ ารดว้ ยใจ ใฝุสามคั คี (ส.บ.ส.)

อัตลักษณ์ เป็นหนว่ ยงานบริหารจดั การใหส้ ถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสขุ ภาพมีมาตรฐานได้คณุ ภาพ
และเปน็ หนว่ ยงานทบ่ี รหิ ารจัดการระบบสขุ ภาพภาคประชาชน ให้ประชาชนทุกนสามารถดแู ลสขุ ภาพ
สมรรถนะหลัก ตนเองและชุมชนสามารถจดั การสขุ ภาพเพอ่ื การพึง่ ตนเองด้านสุขภาพ ได้อยา่ งยง่ั ยนื
องค์กร
(Core 1. การสร้างกลไกการมสี ่วนรว่ มกบั ภาคีเครอื ข่ายสุขภาพและภาคประชาชนในการขบั เคลื่อนงานสขุ ภาพ
ภาคประชาชน ในระดับพ้ืนท่ี
Competencies)
2. บริหารจัดการโครงสร้างพ้ืนฐานด้านอาคารส่ิงแวดล้อมและวิศวกรรมการแพทย์ท้ังภาวะปกติ และ
ภารกจิ ภาวะฉุกเฉนิ แกส่ ถานบริการสขุ ภาพทุกระดับในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ

นโยบาย 3. การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินภัยพิบัติทางธรรมชาติที่มีต่อสถานบริการสุขภาพสังกัดกระทรวงสาธารณสุขใน
ด้านเครื่องมือแพทย์ระบบสื่อสารในภาวะวิกฤต และอาคารสภาพแวดล้อมให้สามารถใช้งานได้ ต่อเนื่อง
และมปี ระสทิ ธภิ าพ

1. ภารกิจด้านการค้มุ ครองผู้บริโภคดา้ นระบบรกิ ารสุขภาพ
2. ภารกิจด้านสขุ ภาพภาคประชาชน
3. ภารกจิ ด้านมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ
4. ภารกิจด้านการพัฒนาและขับเคลื่อนให้ประเทศไทยมีศักยภาพในการแข่งขันด้านอุตสาหกรรม
การแพทย์ครบวงจร ในระดับนานาชาติ (Medical Hub)

1. ขบั เคล่ือนงานตามภารกิจกรมฯ เพื่อตอบสนองนโยบายกระทรวง
1.1 โครงการพระราชดาริ : โครงการสุขศาลาพระราชทาน 1.2 ภารกิจงานสุขภาพภาค

4

ประชาชน
1.3 ภารกิจงานคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคด้านระบบบริการสขุ ภาพ 1.4 การพฒั นาองค์กร
1.5 ภารกิจงานมาตรฐานระบบบรกิ ารสขุ ภาพ
2. การทางานเปน็ ทมี ความสามัคคขี องหมู่คณะเพอ่ื ร่วมกนั พฒั นาองค์กรใหบ้ รรลเุ ปาู หมายของกรม
3. ปรบั ระบบงานใหม้ ีความเหมาะสมเพื่อการบริหารงานที่รวดเร็วและเกดิ ประสิทธภิ าพสูงสุด
4. การสอื่ สารภารกิจใหท้ ่วั ถึงทกุ ระดับ
5. คนสาราญ งานสาเร็จ จดั ระบบสวัสดิภาพ สวัสดกิ ารท่เี หมาะสมให้แก่บุคลากร

(3) ลักษณะโดยรวมของบคุ ลากรกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มีบุคลากรท้ังหมด รวม 1,035 คน เป็นบุคลากรส่วนกลาง 637

อัตรา และบคุ ลากรสว่ นภูมภิ าค จานวน 398 อัตรา เป็นข้าราชการ 810 คน พนักงานราชการ 123 คน
ลูกจ้างประจา 102 คน อายุต่ากว่า 45 ปี 51.21%
อายุ 45-60 ปี 48.79% มีการศึกษา ต่ากว่าปริญญา
ตรี 32.08% ปริญญาตรี 54.78% ปริญญาโท
12.37% ปริญญาเอก 0.77% ปฏิบัติในสายงานหลัก
76.51% ส่วนใหญ่เป็น นักวิชาการสาธารณสุข
20.88% นายช่างโยธา10.65% นายช่างเทคนิค
10.54% และปฏิบัติงานสายงานสนับสนุน 23.49%
ได้แก่ เจ้าพนักงานธุรการ 7.20% นักวิเคราะห์
นโยบายและแผน 3.65% เจ้าพนักงานการเงินและ
บญั ชี 2.40% ตามลาดับ นอกจากนั้นยังมีอาสาสมัคร
สาธารณสขุ ประจาหมู่บา้ น จานวน 1,039,729 คน ซึ่ง
เป็นเครือข่ายท่สี าคัญในระดับพ้นื ทท่ี ว่ั ประเทศ
- อะไรคอื ข้อกาหนดพ้นื ฐานด้านการศึกษาสาหรับกลมุ่ บุคลากรและพนกั งานประเภทต่าง ๆ

ข้าราชการ พนกั งานราชการ ลูกจา้ งประจา มีข้อกาหนดมาตรฐานกาหนดตาแหน่งของสานักงาน
ก.พ. ตามสายงานแต่ละประเภท และจ้างเหมาบรกิ ารมขี ้อกาหนดแล้วแตป่ ระเภทของงานจา้ ง
- องคป์ ระกอบสาคญั ที่ทาให้บุคลากรเหล่าน้ีมีส่วนร่วมในการทางานเพื่อบรรลุพันธกิจและวิสัยทัศน์
ของ ส่วนราชการคอื อะไร?

ผู้บริหาร รับฟังความคิดเห็นของบุคลากร ให้ความสาคัญในเรื่องการปฏิบัติงาน บุคลากรต้องมี
ความสขุ มีระบบสวัสดิการท่ีเหมาะสม ดงั นโยบายของอธิบดคี อื “คนสาราญ งานสาเรจ็ ”
-ในการทางานจาเป็นต้องมขี อ้ กาหนดดา้ นสขุ ภาพ ความปลอดภัยและความเสยี่ งภยั ของกรมฯ

กรมฯ ให้ความสาคัญในการปูองกันและรักษาความปลอดภัย เช่น กาหนดเป็นมาตรการรักษา
ความปลอดภยั ของกรมฯ และแนวทางปฏบิ ัติในเร่อื งอัคคีภัย ภัยพิบัติต่างๆ ในทุกด้าน รวมถึงการปูองกัน
ไวรัส Covid-19 ด้วย โดยเฉพาะช่วงการระบาดจากเช่ือไวรัส Covid-19 จัดให้มีเคร่ืองตรวจวัดอุณหภูมิ
จดั วางเจลแอลกอฮอล์ในพ้ืนที่ต่าง ๆ เน้นการทาความสะอาดถี่ข้ึน รวมท้ังผู้บริหารเป็นแบบอย่าง และให้
บคุ ลากรทกุ คน สวมหนา้ กากอนามยั 100 % เป็นต้น รวมถึงการจัดให้มีเวรยามรักษาสถานที่ราชการและ
เฝูาระวังเหตุด่วนเหตุร้าย สาหรับข้อกาหนดด้านสุขภาพ มีการกาหนดให้บุคลากรตรวจสุขภาพประจาปี
การแข่งขันกีฬาประจาปี จดั ให้มีห้อง Fitness สง่ เสริมใหบ้ ุคลากรออกกาลัง กาหนดให้มีกิจกรรมการออก
กาลังกายทุกวันพุธช่วงบ่ายโดยผู้บริหารทุกระดับร่วมกิจกรรมด้วยทุกครั้ง รวมท้ังเป็นผู้นาในการส่งเสริม
ให้บุคลากรกรมฯ ขจี่ ักรยาน เปน็ ตน้

5

(4) สนิ ทรพั ย์

อาคารและสิ่ง อาคารสานักงาน 2 หลังใหญ่ส่วนกลาง อาคารสานักงานศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเขตท่ี 1-
อานวยความสะดวก 12 และอาคารศนู ยพ์ ฒั นาการสาธารณสุขมูลฐานทงั้ 5 แหง่ ครุภัณฑ์ วสั ดุอุปกรณ์สานักงาน และ

สถานที่จอดรถ
เทคโนโลยกี าร ระบบวทิ ยุสื่อสารทางไกล ระบบ E-Radio และระบบ TeamSpeak /ระบบ Video Conference

ส่อื สาร การประชุมผา่ นระบบ Teleconference Webex
เทคโนโลยกี าร งานระบบบริการสุขภาพ ได้แก่ E-Licensing, E-Examination, One Stop Service Center,

ใหบ้ รกิ าร E-Complain, MRD-Center, Telemedicine, E-service, E-Learning, E-Data Service,
HBSS, ระบบงานสอบเทียบเครื่องมือแพทย์, E-GP, บัตร SMART CARD อสม.Application Smart อสม.
ระบบเบิกจ่ายค่าปุวยการผ่าน E-Payment กรมบัญชีกลาง และการชาระค่าธรรมเนียมผ่านระบบ KTC E-
Service, ระบบการประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ (HS4) ,โปรแกรมการประเมิน HL&HB (Health
Gate), ระบบการจัดการเรื่องรอ้ งเรียน (CRM) งานสนับสนุน ได้แก่ ระบบงานสารบรรณ, ระบบ SMART63,
ระบบคลงั พสั ดุ, ระบบการขอใบอนุญาตสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพผ่านระบบ HSS Biz
Portal และ Central Biz Portal ร่วมกับสานักงาน ก.พ.ร. เช่ือมกับระบบ E-Payment กรมบัญชีกลาง, ระบบ
E-Asset ใช้ในการบริหารจัดการทรัพย์สิน/SMART63 /ระบบบริการข้อมูลกิจการของกรมผ่าน
Website : HSS.moph.go.th

อปุ กรณ์ ห้องปฏิบัติการทดสอบ สอบเทียบเคร่ืองมือแพทย์ เคร่ืองมือตรวจวัดมลพิษทางอากาศและเสียง
เครื่องวิทยุคมนาคม (HF/SSB) เคร่ืองมือสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์ เคร่ืองมือตรวจสอบ
วศิ วกรรมความปลอดภยั ในโรงพยาบาล เครื่องมือซ่อมวิทยุคมนาคม เครื่องมือซ่อมเครื่องมือทางการ
แพทยแ์ ละสาธารณสุข ห้องทดสอบคลน่ื สนามแม่เหล็กไฟฟูา ห้องปฏิบัติการด้านสาธารณูปการ ห้อง
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย ห้องรับส่งข่าววิทยุ ห้อง War room (เครื่องมือและห้องปฏิบัติการผ่าน
มาตรฐาน ISO/IEC 17205) ระบบทะเบยี นแบบแปลน รถหนว่ ยสขุ ศกึ ษาเคล่อื นที่

(5) กฎหมาย กฎระเบยี บและขอ้ บงั คับท่ีสาคญั
การปฏบิ ตั งิ านของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ มาตรฐานภารกิจ

หลกั ทเ่ี อือ้ ใหก้ ารทางานมีความคลอ่ งตัวเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ได้แก่ 1) พ.ร.บ. สถานประกอบการ
เพื่อสุขภาพ พ.ศ.2559 2) พ.ร.บ. สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 และฉบับแก้ไขปรับปรุง 3) พ.ร.บ. การ
ประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 และฉบับแกไ้ ขปรับปรุง 4) พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยี
ช่วยการเจริญพันธ์ทางการแพทย์ พ.ศ.2558 5) พ.ร.บ. วิศวกร พ.ศ.2542 ว่าด้วยการควบคุมการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม 6) พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม 7) พ.ร.บ.
เครอื่ งมอื แพทย์ พ.ศ.2551และที่แกไ้ ขเพิ่มเติม 8) พ.ร.บ. ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 9) ระเบียบ
กระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน พ.ศ.2554 10) พ.ร.บ. คุ้มครอง
ผู้บริโภค พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม 11). ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2549
12) มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพต่าง ๆ (การแพทย์และการสาธารณสุข) และ 13) มาตรฐาน
ระบบบริการสุขภาพ กรม สบส. พ.ศ. 2563
ข.ความสัมพนั ธ์ระดับองค์การ
(6) โครงสรา้ งองคก์ าร

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กาหนดโครงสร้างการบริหารงานโดยแบ่งเป็นหน่วยงานในสังกัด เป็น
35 หน่วยงาน ประกอบด้วย หน่วยงานตามกฎกระทรวง 8 หน่วยงาน 2 กลุ่ม และหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเป็น
หนว่ ยงานภายใน 25 หนว่ ยงาน

6

-ระบบการรายงานระหว่างคณะกรรมการกากับดูแลสว่ นราชการ ผู้บรหิ ารสว่ นราชการ และสว่ น

ราชการทกี่ ากับมีลักษณะเช่นใด (*)

กรมฯ เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้การกากับดูแลของปลัดกระทรวงสาธารณสุข

โดยมอบให้รองปลัดฯ หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านสนับสนุนงานบริการสุขภาพเป็นผู้กากับดูแล มีการกากับดูแลจาก

ภายนอก ได้แก่ สานักตรวจราชการ, คตป. สานกั งาน ก.พ.ร., กรมบัญชีกลาง, สงป.และสตง. และมีคณะอนุกรรมการ

สามัญประจากรมฯ (อกพ. กรม) และ คณะอนุกรรมการสามัญประจากระทรวงสาธารณสุข (อกพ.กระทรวง)

พจิ ารณาเรือ่ งการบริหารทรพั ยากรบุคคลเพ่ือใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและโปร่งใส

(7) ผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย

บรกิ าร กลุ่มผูร้ บั บรกิ าร ความต้องการและ กลมุ่ ผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ความต้องการและ
ความคาดหวงั ความคาดหวงั

ด้านการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภคดา้ นระบบบริการสุขภาพและและบรหิ ารยทุ ธศาสตร์ Medical Hub

1. การขออนุญาตเปิด 1 . ผู้ ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร / 1. สะดวก ประชาชนผมู้ ารบั บรกิ าร 1. โปรง่ ใส

ประกอบกิจการ และ ดาเนินการสถานพยาบาล 2. รวดเรว็ 2. ถกู ตอ้ ง

ด าเนิ นการ สถาน (โรงพยาบาลเอกชนม 3. โปร่งใส

ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ พื่ อ คลนิ ิก) 4. ได้รับบริการอย่าง

สุขภาพ/โรงพยาบาล/ เทา่ เทียม

คลนิ ิก

2. ก า รข้ึ นท ะ เ บี ย น 1. ผ้ปู ระกอบโรคศิลปะ และ 1. ประชาชนผู้รับบริการ

ผู้ ประกอบการโรค ผปู้ ระกอบวิชาชพี สถานพยาบาล

ศิลปะ และผู้ให้บริการ 2. ผู้ให้ บ ริ ก า ร ในส ถ า น 2. ประชาชนผู้รับบริการ

ในสถานประกอบการ ประกอบการ สถานประกอบการเพื่อ

เพ่อื สุขภาพ สขุ ภาพ

7

บริการ กลุม่ ผรู้ บั บริการ ความตอ้ งการและ กลุ่มผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสยี ความต้องการและ
ความคาดหวงั ความคาดหวงั

3 . ก า ร บั ง คั บ ใ ช้ 1. สถานพยาบาล 1. โปรง่ ใส

กฎหมายการคมุ้ ครอง 2. สถานประกอบการเพ่ือ 2. มคี วามยุตธิ รรม

ผู้บริโภคด้านระบบ สขุ ภาพ 3. มีความรู้ความเข้าใจ

บรกิ ารสุขภาพ ในกฎหมายทช่ี ัดเจน

4. การบริหารยุทธศาสตร์ 1. โ ร ง พ ย า บ า ล 1. โครงการท่ีสนับสนุน 1. ผู้มารับบริการของ 1 . โ ค ร ง ก า ร ที่ มี

Medical Hub กลมุ่ เปาู หมาย โรงพยาบาล โรงพยาบาล มาตรฐานและมีการ

กากับดูแลทด่ี ี

ดา้ นมาตรฐานระบบบรกิ ารสุขภาพ

1. การรับรองมาตรฐาน สถานพยาบาลใน และนอก 1. สะดวก ประชาชนผู้มารับบริการที่ 1. โปร่งใส

ระบบบรกิ ารสุขภาพ สงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ 2. รวดเร็ว สถานพยาบาล 2. ถกู ตอ้ ง

3. โปรง่ ใส

4. ได้รับบริการอย่างเท่า

เทียม

ดา้ นสุขภาพภาคประชาชน

1. การพัฒนาศักยภาพ อสม. และภาคเี ครือข่าย 1. สะดวก ประชาชนในพื้นที่ 1. โครงการถูกนามาใช้

ภาคีเครือขา่ ย 2. สามารถทาความ จรงิ

2. การสร้างพัฒนาแกน ภาคีเครอื ข่าย เข้าใจ และนาไปใช้ได้ 2 . เ ห็ น ผ ล ก า ร
น า ด้ า น ค ว า ม ร อ บ รู้ ง่าย ดาเนนิ การทีช่ ัดเจน

สขุ ภาพ

3. การสร้างการมีส่วน ภาคประชาชน 1. สะดวก ประชาชนในพื้นท่ี 1. โครงการถูกนามาใช้

ร่วมงานสุขภาพภาค 2. สามารถทาความ จรงิ

ประชาชน เข้าใจ และนาไปใช้ได้ 2 . เ ห็ น ผ ล ก า ร

ง่าย ดาเนนิ การทช่ี ดั เจน

(8) ส่วนราชการหรือองค์การทเ่ี ก่ียวข้องกนั ในการใหบ้ รกิ ารหรือส่งมอบงานต่อกนั

1) งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ กรมฯ มอบอานาจให้สานักงาน สาธารณสุขจังหวัดทั่ว

ประเทศ ในการอนุญาตประกอบกจิ การและดาเนนิ การสถานพยาบาลเอกชน (คลินิก) สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ

กระทรวงมหาดไทย การขึ้นทะเบยี นเป็นผ้ปู ระกอบโรคศลิ ปะ สภาวชิ าชพี ตา่ ง ๆ สถาบันการศึกษา รวมทั้งการบังคับ

ใชก้ ฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสขุ ภาพ

2) งานสุขภาพภาคประชาชน กรมฯ ร่วมกับ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ในการพัฒนา

ศักยภาพภาคีเครือข่าย ในระดับ อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน และเป็นคณะกรรมการร่วมในการคัดเลือก อส

ม. ระดบั จงั หวดั เฝูาระวงั พฤตกิ รรมสุขภาพ สื่อสารสุขภาพ และขับเคลื่อนงานสุขภาพภาคประชาชนใน

ระดับพนื้ ท่ี นอกจากน้นั กรมฯ ไดร้ ว่ มกับมหาวทิ ยาลยั นเรศวร ในการพฒั นา และประยุกต์ ใช้งานระบบ

เทคโนโลยีสารสนเทศ ในงานสุขภาพภาคประชาชน

3) ด้านการส่งเสริม สนับสนุน และประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ (มาตรฐานด้านการบริหาร

จัดการ ด้านการบริการสุขภาพ ด้านอาคาร สถานท่ี และส่ิงอานวยความสะดวก ด้านส่ิงแวดล้อม ด้าน

ความปลอดภยั ด้านเครือ่ งมืออปุ กรณท์ างการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ด้านระบบสนบั สนุนบริการท่ีสาคัญ

ด้านสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ และด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์) กรมฯ ได้ร่วมกับ

สภาสถาปนกิ สสจ. สภาวศิ วกร สมาคมวชิ าชพี สุขศึกษา ในการสนบั สนุนและประเมนิ มาตรฐานฯ

4) ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กรมฯ ได้พฒั นาฐานข้อมูล กบั มหาวิทยาลัยแมฟ่ าู หลวง มหาวิทยาลัยนเรศวร

กรมบญั ชกี ลาง และสานกั งานกพร. โดยไดด้ าเนนิ การพฒั นาการเชอื่ มโยงข้อมลู กับระบบบรกิ ารประชาชน

5) การพัฒนาระบบการให้บริการอนุญาตผ่านระบบ Biz Portal ร่วมกับสานักงาน ก.พ.ร. DGA

กรมบญั ชกี ลาง และกระทรวงดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม

8

6) งานด้านต่างประเทศ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และการเจรจาจับคู่ในธุรกิจสุขภาพร่วมกับ
กระทรวงการตา่ งประเทศ กระทรวงพาณชิ ย์ และสถานทูต
- กลมุ่ เหล่าน้มี ีสว่ นร่วมอะไรในการสร้างนวัตกรรมใหแ้ ก่ส่วนราชการ (*)
1) งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ พัฒนาระบบการขออนุญาตเปิด ประกอบกิจการ
และดาเนินการสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ การต่ออายุใบอนุญาต การชาระ
คา่ ธรรมเนยี มประจาปีผ่านระบบ Biz Portal พัฒนาระบบ E- Service การชาระค่าธรรมเนียมที่เช่ือมโยงกับ
กรมบญั ชกี ลาง (E-Payment) การชาระค่าธรรมเนยี มผ่าน KTC ระบบการรอ้ งเรยี นออนไลน์ (CRM)
2) งานสุขภาพภาคประชาชน ได้แก่ การพัฒนาระบบ อสม. ดิจิทัล ประกอบด้วยการพัฒนา
Application สาหรับ อสม. และประชาชน ได้แก่ SMART CARD อสม. นวัตกรรมเกิดจากการดาเนินการเฝูา
ระวังปูองกันไวรัส Covid-19 ของอสม. Application Smart อสม. Application 3 หมอรู้จักคุณ และการ
ประเมิน HL & HB ด้วยโปรแกรม Health Gate เป็นต้น
3) งานกากับมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ได้แก่ การพัฒนาระบบ HS4 ระบบการประเมินมาตรฐานระบบ
บริการสุขภาพ การพัฒนาห้องปฏิบัติการทดสอบและสอบเทียบ การส่งเสริมให้โรงพยาบาลภาครัฐในสังกัด
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และนอกสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีการบริหารจัดการศูนย์
เครือ่ งมือแพทย์ ท่ไี ดม้ าตรฐาน
- กลไกทสี่ าคัญในการสอื่ สาร และข้อกาหนดสาคญั ในการปฏิบตั งิ านร่วมกนั มอี ะไรบ้าง
มีการสื่อสารระหว่างกันแบบสองทาง และแบบทางเดียว ได้แก่ การประชุม / สัมมนา งาน Open
House การประสานและร่วมปฏิบัติงานในพ้ืนท่ี การติดต่อระหว่างบุคคล การรายงานผลการปฏิบัติ
ราชการผ่านระบบ บริหารแผนงานและงบประมาณ (SMART) การส่ือสารผ่านระบบ Intranet line
กลุ่ม Facebook Website E-mail Video Conference ระบบ Webex โทรศัพท์ โทรสาร หนังสือ
ราชการ การ Walk in เปน็ ต้น
2.สภาวการณข์ ององค์การ: สถานการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ของส่วนราชการเปน็ เช่นใด
ก.สภาพแวดลอ้ มด้านการแขง่ ขนั
(9) สภาพแวดล้อมดา้ นการแขง่ ขนั ท้ังภายในและภายนอกประเทศ
1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพได้จัดทา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข มาตรา 5 ของ พ.ร.บ.
สถานพยาบาล (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2559 เพ่ือพัฒนา ยกระดับสถานบริการสุขภาพภาครัฐทุกสังกัดให้ได้
มาตรฐานระบบบริการสขุ ภาพ ดังน้ี
1. ดา้ นการบรหิ ารจัดการ
2. ดา้ นการบริการสุขภาพ
3. ดา้ นอาคาร สถานทแี่ ละส่งิ อานวยความสะดวก
4. ดา้ นสง่ิ แวดล้อม
5. ดา้ นความปลอดภยั
6. ดา้ นเคร่ืองมืออปุ กรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข
7. ดา้ นระบบสนับสนุนบรกิ ารที่สาคัญ
8. ดา้ นสขุ ศึกษาและพฤติกรรมสขุ ภาพ
9. ด้านการรักษาความมนั่ คงปลอดภัยไซเบอร์
2. นโยบายของประเทศ และกระทรวงสาธารณสุข ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านระบบบริการ
สขุ ภาพ การดแู ลผู้สูงอายุ การปูองกัน ควบคุมโรคไวรัส Covid-19 การคุ้มครองสิทธิผู้ปุวยฉุกเฉินวิกฤต
(UCUP)

9

3. การมีสว่ นรว่ มของภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายต่าง ๆ และองค์กรภาคเอกชน

4. นโยบายการเร่งรดั เปดิ เสรีภายใต้ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ACE)

5. บุคลากรทางการแพทย์ไทยได้รับการยอมรับด้านความสามารถในระดับสากลรับรางวัลระดับโลก/

อาเซียน

6. อัตราค่าบริการรักษาพยาบาลของไทยต่ากว่าเมื่อเทียบกับคู่แข่งเช่นสิงคโปร์ มาเลเซีย และ

อินเดยี โดยในปี 2563 พบว่า มผี ู้ปุวยตา่ งชาติ

7. จัดทาข้อตกลงยอมรับร่วม (Mutual Recognition Arrangement: MRA) ในการขอรับ

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และเคลื่อนย้ายบุคลากร มีส่วนช่วยรองรับการลงทุนในธุรกิจการ

รักษาพยาบาล ในอาเซียนรวมถึงธุรกิจการรักษาพยาบาลจากประเทศในอาเซียน เพ่ือปรับตัวรับกับ

สถานการณ์การแข่งขนั ทร่ี นุ แรงขึน้

(10) การเปล่ียนแปลงดา้ นการแข่งขนั

1. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ ดา้ น AI IOT Block Chain 5G หุน่ ยนตท์ างการแพทย์ เป็นต้น

2. ววิ ัฒนาการ ความก้าวหนา้ ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ

(11) แหล่งขอ้ มูลเชงิ เปรยี บเทียบ

ประเภทการแข่งขัน คู่แขง่ ขนั ประเด็นการแขง่ ขนั ผลการดาเนินงานของ

กรมเม่อื เทยี บกบั คู่

แข่งขนั

1. การเทียบเคียงกับ สถาบันวิทยาศาสตร์และ ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ส อ บ เ ที ย บ บริการสอบเทียบ และ

องค์กรภายใน ประเทศ เทคโนโลยีแหง่ ประเทศไทย เครื่องมอื แพทย์ ทดสอบเคร่ืองมือ ท่ีใช้

เฉพาะงานด้านวิศวกรรม

ก า ร แ พ ท ย์ ใ น

สถานพยาบาล

2. การเทียบเคียงกับ อย่รู ะหว่างดาเนนิ การศกึ ษาข้อมูลด้าน

องค์กรในตา่ งประเทศ 1. อตั ราค่ารกั ษาพยาบาล สิงคโ์ ปร์ มาเลเซยี อินเดีย

2. สภาวิชาชพี ประเทศสิงคโปร์

- มีขอ้ จากัดอะไร (ถา้ มี) ในการได้มาซงึ่ ขอ้ มูลเหลา่ น้ี

ไม่สามารถเข้าถงึ ขอ้ มูลได้

ข.บริบทเชงิ ยุทธศาสตร์

(12) ความทา้ ทายเชิงยทุ ธศาสตรแ์ ละความไดเ้ ปรยี บเชงิ ยุทธศาสตร์

ดา้ น ความท้าทายเชิงยทุ ธศาสตร์ ความไดเ้ ปรียบเชงิ ยุทธศาสตร์

พนั ธกจิ 1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ของสถานพยาบาลและสถาน 1.เป็ นองค์ กรเดียวที่มี ภารกิจในการ

ประกอบการเพ่ือสขุ ภาพ ให้เทียบเทา่ สากล และไดร้ ับการยอมรบั คุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการ

2. การพัฒนากฎหมายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลง สุ ขภาพและระบบบริ การสุ ขภาพ

ไป รวมท้ังการบงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ภาคประชาชนของประเทศไทย

3. การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมบริการสุขภาพแบบครบวงจร 2. มีกฎหมายช้ัน พ.ร.บ.ท่ีตอบสนองภารกิจ

เปน็ ทยี่ อมรับในระดับนานาชาติ หลกั

4. การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและอุตสาหกรรมการแพทย์

ครบวงจร (New S-curve)

ยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนารปู แบบการใหบ้ ริการใบอนญุ าตทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 1.สนับสนุนการขับเคลื่อนการเชิงบูรณา
2. การเสรมิ สร้างคา่ นยิ มของการพฒั นาภายใต้เปาู หมายแห่งการ การทงั้ ในมิตเิ ศรษฐกิจและสงั คมเพอื่ การ

พัฒนาอยา่ งย่ังยนื คุ้มครองผ้บู รโิ ภคด้านบรกิ ารสขุ ภาพ

10

ด้าน ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ความไดเ้ ปรียบเชงิ ยทุ ธศาสตร์

2.สง่ เสรมิ การพัฒนาด้านสาธารณสุขทง้ั ใน

ระดบั ภูมิภาคและระดับโลก

การปฏบิ ตั ิการ 1. พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือปรบั ปรงุ การปฏิบตั ิงาน 1. กรมมีภาคีเครือข่ายระดับชาติและ

และการให้บริการระบบ E-Service ท่มี ีประสิทธภิ าพ พื้นท่ีเข้มแข็ง (อสม.) ครอบคลุมทุก

2. พัฒนาฐานข้อมูลดา้ นมาตรฐานระบบบรกิ ารสุขภาพ ธรุ กิจ พนื้ ที่

บริการสุขภาพและอตุ สาหกรรมบริการสขุ ภาพทคี่ รบถ้วนถกู ตอ้ ง 2. กรมมีการพัฒนาเครอื ข่ายดา้ นการสอบ

เปน็ ปัจจุบัน เทียบเคร่อื งมอื แพทย์คลอบคลุมทัง้ ใน

3. พฒั นาระบบปฏิบัตกิ ารการจัดการการตอบโต้ภาวะฉกุ เฉนิ ภยั รพ. / รพ.สต. / รพท. ทวั่ ประเทศ

พิบัติต่าง ๆ ทส่ี ่งผลกระทบตอ่ สถานบรกิ ารสุขภาพทกุ ระดบั 3. ประชาชนต้องการคณุ ภาพในการ

4. ขับเคล่ือนนโยบายและยทุ ธศาสตรด์ า้ นการเป็นศนู ยก์ ลาง ให้บรกิ ารสุขภาพมากข้ึน

สขุ ภาพนานาชาตพิ รอ้ มทั้งกาหนดมาตรการสาคญั ในการกระตุน้ 4. โอกาสทางการพฒั นาภายใตโ้ ครงสร้าง

เศรษฐกิจสขุ ภาพและเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขนั ดา้ น พน้ื ฐานดา้ นเทคโนโลยีของประเทศและ

ธรุ กจิ สขุ ภาพเพ่อื สรา้ งรายไดใ้ หก้ ับประเทศ นโยบายประเทศไทย4.0

5. การปรับโฉมสู่การเป็นภาครฐั ดจิ ิทลั

ความรับผิดชอบต่อ 1. การมีสว่ นร่วมในการพัฒนารูปแบบแนวทางการขับเคลื่อน 1. ภาคีเครือข่ายความร่วมมือที่เข้มแข็งจาก

สงั คมวงกว้าง สขุ ภาพภาคประชาชน รวมท้ังการนาไปสู่การปฏบิ ัติโดยภาค ภาคประชาชน สสจ. สสอ. รพช. รพ.สต. อส

เครอื ข่ายและภาคประชาชนเพอ่ื การมีสุขภาพดอี ยา่ งย่งั ยนื ม. และองค์กรท้องถ่ินในระดับชุมชนท่ัว

2. การบงั คับใช้มาตรฐานตามกฎหมายมีความเสมอภาคเปน็ ธรรม ประเทศ

3. มีคณะกรรมการและอนุกรรมการระดับชาติในการขับเคลื่อน 2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และ

พฒั นากลไกการกาหนดมาตรการสาคญั ในการกระตุ้นเศรษฐกิจ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.

สขุ ภาพ รองรับการเป็นอุตสาหกรรมการแพทยค์ รบวงจร 2546 /พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์

4. การปรับเปล่ียนยุทธศาสตร์ดาเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองท่ีดี

บรกิ ารสขุ ภาพสกู่ ารกระจายอานาจและการมีส่วนรว่ ม (ฉบบั ที่ 2 ) พ.ศ. 2562

5. พัฒนาโครงการสาคัญเพ่ิมการเข้าถึงบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน 3. เพมิ่ ประสทิ ธิภาพของการคุ้มครองผู้บริโภค

ในพนื้ ทท่ี รุ กนั ดารและพ้ืนท่ีพิเศษ ด้านบรกิ ารสุขภาพโดยเสริมสร้างการมีส่วน

ร่วมของภาคเี ครอื ข่าย

ทรัพยากรบคุ คล 1. ความกา้ วหนา้ และการธารงรกั ษาบคุ ลากร 1. มีบุคลากรด้านสหวิชาชีพที่เกี่ยวกับ

2. พฒั นาศกั ยภาพของบุคลากร อยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนือ่ งใหเ้ ปน็ การกาหนดและประเมินมาตรฐานระบบ

องคก์ รเครอื ข่ายวิชาชีพแห่งการเรยี นรู้ บริการสขุ ภาพในสถานพยาบาล

3. การพัฒนาบคุ ลากรใหม้ คี วามสามารถหลากหลายรองรบั 2. บคุ ลากรมคี วามรู้ ประสบการณ์ ความ

ประชาคมอาเซียนและความร่วมมือระหวา่ งประเทศ เชยี่ วชาญเฉพาะดา้ น

4. มีการวางแผนการผลิตและพัฒนาทั้งสมรรถนะและขีด 3. การพฒั นาระบบเฝูาระวงั บริการ

ความสามารถของบุคลากรทางการแพทย์ ให้มีศักยภาพและ สุขภาพ (HSS Alert System)

เพียงพอต่อความต้องการรองรับการเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม

บริการสุขภาพครบวงจร

ค.ระบบการปรับปรุงผลการดาเนนิ การ
กรมฯ มีระบบการประเมิน และปรับปรุงผลการดาเนินการโดยทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้อง

ต่อสถานการณ์ โดยใช้เคร่ืองมือคือ SWOT Analysis, Strategy Map, Balance Score Card, PMQA, PDCA,
AAR, R2R, การบริหารจัดการความเส่ียง (Risk Management) รวมทั้ง การติดตามและประเมินผลการ
ปฏิบัติงานผ่านระบบ Management Cockpit การพัฒนาระบบควบคุมภายใน การวิเคราะห์และจัดทาต้นทุน
ต่อหน่วยเพื่อการบริหารงบประมาณ การบริหารแผนงานและงบประมาณผ่านระบบ Smart 63 เป็นระบบ
บริหารจัดการของกรมให้มปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื วิเคราะห์ และปรับปรุงการทางานใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากข้ึน

11

การพัฒนาปรับปรุง กรมฯ ไดด้ าเนินการดงั นี้
- การพัฒนาระบบงานและการให้บริการงานคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ ระบบงานออกใบอนุญาตสถานบริการ
คลินิก/โรงพยาบาลเอกชน/สถานประกอบการเพ่อื สุขภาพ และ e-Payment ผ่านระบบ Biz Portal, ระบบรับ
เรื่องร้องเรียน, ระบบงานขอ้ มลู เดก็ ท่ีเกดิ โดยเทคโนโลยีเจริญพันธ์, ระบบงานประเมินมาตรฐานสถานพยาบาล,
ระบบงานบริการทะเบยี นแบบแปลน, ระบบงานมาตรฐานงานกอ่ สร้าง
- การพัฒนาระบบงานสุขภาพภาคประชาชน ได้แก่ ระบบงาน อสม., Moblie Application SMART อสม.,
ระบบงานทะเบยี น อสม., คลงั ความรสู้ ุขภาพ, ระบบรายงาน อสม. 4.0
- การพัฒนาระบบงาน (Work System) สาหรับองค์กร มีระบบบริหารแผนงานและงบประมาณ (SMART 63)
ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส์, ระบบงานทะเบียนครุภัณฑ์/สินทรัพย์, ระบบงานบริหารการใช้รถยนต์, ระบบ
จองหอ้ งประชุมออนไลน์, ระบบงานบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล, ระบบการจัดการเอกสารอเิ ล็กทรอนิกส์

จากผลสารวจระดับความพรอ้ มรัฐบาลดิจทิ ลั กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ มผี ลการประเมินสูงกว่า
คา่ เฉลีย่ ในระดบั ประเทศ 2 ปีซ้อน (พ.ศ. 61 ได้ร้อยละ 62.2 พ.ศ. 62 ไดร้ ้อยละ 79.96) และกรมฯ มีผลการ
ประเมินเปน็ ท่ี 1 ของกรมในกระทรวงสาธารณสขุ

***********************************************************************

12

13

รางวลั คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั (PMQA)
หมวด 1

การนาองคก์ ารและความรบั ผิดชอบต่อสงั คม

14

บทสรปุ ผ้บู ริหาร (Executive Summary)

1. แนะนาหน่วยงานในภาพรวม
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) เป็นหน่วยงานภาครัฐ มีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย สังกัดกระทรวง

สาธารณสุข โดยการนาของผู้บริหาร สบส. มีความมุ่งม่ันในการขับเคล่ือนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และงานตามภารกิจของ สบส.
ไปสู่ “การเป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพ ระบบสุขภาพภาคประชาชนให้มีคุณภาพ เพ่ือการ
คุ้มครองผู้บริโภค และการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพท่ียั่งยืนแบบมีส่วนร่วม” เพ่ือตอบสนองยุทธศาสตร์ของกระทรวง
สาธารณสุข ทั้งยังให้ความสาคัญกับข้อมูลและสารสนเทศต่าง ๆ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายรัฐบาล ความคิดเห็นของ
ประชาชน และผลการดาเนินการทสี่ าคญั โดยมีระบบการนาองค์การที่ยึดหลักประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ได้
มาตรฐาน ปลอดภยั และสมประโยชน์ ประชาชนทุกคนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้และชุมชนจัดการสุขภาพ เพื่อการพึ่งพา
ตนเองได้อย่างย่ังยืน รวมทั้งประเทศไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมการแพทย์ในระดับนานาชาติ เป็นแนวทางในการบริหาร
จัดการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาลเป็นกลไกการกากับการดูแลองค์กรร่วมกัน ผ่านการประชุมที่มีผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหาร
ส่วนกลาง ผู้บริหารส่วนภูมิภาค ทีมนาองค์กร และคณะกรรมการต่าง ๆ เพ่ือกากับดูแล และติดตามงานท่ีสาคัญ พร้อมด้วย
บคุ ลากร 1,035 คน มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนองค์การผ่านทางคารับรองการปฏิบัติราชการ ทาให้การดาเนินการของ สบส.
ขับเคลือ่ นไปพร้อม ๆ กันในทกุ ระดับ และนาพาองคก์ รก้าวสคู่ วามสาเรจ็ ในการบรรลวุ สิ ัยทศั น์อย่างยั่งยืน
2. ระบบการนา สบส. สู่องคก์ ารคุณภาพที่ยง่ั ยนื

ผู้บริหารได้กาหนดนโยบายการบริหารงาน สบส. 5 ประการ
เพื่อใช้เป็นกรอบในการขับเคล่ือนภารกิจตามแผนงาน โครงการต่าง ๆ ให้
สอดคล้องแบบบูรณาการ ประกอบด้วย 1) ขับเคลื่อนงานตามภารกิจกรม
ฯ เพือ่ ตอบสนองยทุ ธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข นโยบาย
กระทรวง ได้แก่ โครงการพระราชดาริ ภารกิจงานสุขภาพภาคประชาชน
ภารกิจงานคมุ้ ครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ ภารกิจงานมาตรฐาน
ระบบบริการสุขภาพ และการพัฒนาองค์กร 2) การทางานเป็นทีม ความ
รูปที่ 1.1 ระบบการนาองค์การ (HSS Leadership) สามัคคีของหมู่คณะเพ่ือร่วมกันพัฒนาองค์กรและปฏิบัติภารกิจให้บรรลุ
เปูาหมายของกรม 3) พัฒนาระบบงานให้มีความเหมาะสม เพื่อการบริหารงานท่ีรวดเร็วและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 4) การ
สื่อสารภารกิจให้ท่ัวถึงทุกระดับ และ 5) คนสาราญ งานสาเร็จ จัดระบบสวัสดิภาพ สวัสดิการท่ีเหมาะสมให้แก่บุคลากร
ผ่านการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ของกรม สบส. ตามภารกิจหลักของกรมฯ โดยมีเปูาหมายหลักเพ่ือให้ “ประชาชนมี
ความรอบรู้ด้านสุขภาพสามารถจัดการสุขภาพตนเองท่ีถูกต้องได้ และประชาชนได้รับบริการจากสถานพยาบาล สถาน
ประกอบการเพ่ือสุขภาพที่มีมาตรฐาน ปลอดภัย” พร้อมท้ังพัฒนาการให้บริการต่าง ๆ ผ่านการสร้างวัฒนธรรมการทางานที่
มุ่งเน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง สร้างและพัฒนาเครือข่ายท้ังภายในและภายนอกประเทศ สถาบันการศึกษา พัฒนาความ
ร่วมมือกับพหุภาคแี ละทวภิ าคี
อีกทั้งผ้บู รหิ ารยังให้ความสาคญั ในการดาเนนิ การตามค่านิยม “สบส” ส สมรรถนะเป็นฐาน สร้างสรรค์สิ่งใหม่ บ
บริการด้วยใจ ส ใฝุสามัคคี ได้กาหนดความหมายของค่านิยมในแต่ละข้ออย่างชัดเจน และให้ความสาคัญกับการปลูกฝัง
ค่านิยมให้เป็นวัฒนธรรมของกรม สบส. ในการปฏิบัติหน้าท่ีและการอยู่ร่วมกันของบุคลากรในองค์การ ดาเนินงานใน
รูปแบบคณะทางานขับเคลื่อนค่านิยมและวัฒนธรรมของกรมฯ ทาหน้าที่ในการกาหนดหลักเกณฑ์ และกิจกรรมสร้าง
ความสัมพันธ์ สง่ เสรมิ คา่ นยิ มและวัฒนธรรมของกรม สบส. เพ่ือให้เกิดพฤติกรรมการปฏิบัติงานท่ีพึงประสงค์ของบุคลากร
กรม สบส. อย่างทั่วถึงและท่ัวองค์การจนนาไปสู่วัฒนธรรมกรม สบส. คือ “คนสาราญ งานสาเร็จ นาพาองค์กรสู่ความ
ย่งั ยนื และพัฒนา” ดว้ ยการเปน็ ผ้นู า Role Model ในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ อย่างสม่าเสมอ ได้แก่ การออกกาลังกาย เต้น
แอโรบิค ทุกวันพุธ งานวิ่งก้าวท้าใจ งานปั่นจักรยาน การบริจาคโลหิต และการทาบุญตามเทศกาลต่าง ๆ รวมทั้งการ
ปฏิบตั ิงานทีม่ ุง่ ม่ันทุ่มเท เป็นต้น

15

การกากับดูแลใหเ้ ปน็ ไปตามธรรมาภบิ าล
ผ้บู รหิ ารให้ความสาคญั กับการนาองค์การอย่างมีธรรมาภิบาล โดยยึดหลักนิติธรรม ความโปร่งใส และความมี

จริยธรรม ในการบริหารจัดการองค์การทุกข้ันตอนผ่านระบบการนาองค์การ พร้อมทั้งสร้างจิตสานึกและปลูกฝังความ
ซื่อสัตย์สุจริต และสร้างมาตรการและกลไกปูองกันการทุจริต (CPI) โดยจัดต้ังหน่วยงานภายใน กลุ่มงานคุ้มครอง
จริยธรรม กาหนด และทบทวน นโยบายการกากับองค์การที่ดี (OG) เผยแพร่ ปลูกฝัง ส่งเสริม ยกย่องข้าราชการท่ีเป็น

แบบอย่างท่ีดี กากับติดตามประเมินผลคุณธรรมตาม
กรอบการประเมิน การจัดทาแนวทางและมาตรการ
ปูองกันการทุจริตเชิงรุกมาต้ังแต่ปี 2557 จนถึง
ปัจจุบัน ซึ่งผู้บริหารมีมาตรการปูองกันการทุจริตเชิง
รุกและแนวทางการส่งเสริมการประพฤติปฏิบัติตาม
หลักนิติธรรม ความโปร่งใสและความมีจริยธรรม
ได้แก่ 1. การประกาศเจตนารมณ์ ผู้บริหารเป็นผู้นา
ประกาศเจตนารมณ์ กล่าวคาปฏิญาณต่อหน้าพระบรม
สาทิสลักษณ์รัชกาลท่ี 10 กาหนดนโยบายไม่รับ
ของขวัญวันปีใหม่ การอวยพรผู้บริหารไม่ให้มอบ
กระเชา้ ของขวญั ใหใ้ ชเ้ พียงการ์ดอวยพร 2. สนับสนุนกจิ กรรมการตอ่ ตา้ นทุจริต โดยให้เจ้าหน้าท่ีมีส่วนร่วมในการเข้า
รว่ มกิจกรรมตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ที่ ปปช. และ ปปท. และร่วมเปน็ ภาคเี ครือขา่ ยต่อต้านการทุจริตกับกระทรวงสาธารณสุข
3. ประกาศเชิดชเู กียรติคณุ บุคลากรท่ีมีความประพฤตดิ ี เปน็ ทีย่ อมรับ มีผลงานโดดเด่นเชิงประจักษ์เป็นประโยชน์ต่อ
หน่วยงานและประชาชน 4. นาหลักการ GRD (Good Regulatory Practice) มาใช้ในการออกกฎหมาย โดยเปิด
โอกาสใหผ้ ูร้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพิจารณาร่างกฎหมาย และการทาประชาพิจารณ์
การออกกฎกระทรวงกิจการการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้ท่ีมีภาวะพึ่งพิง 5. การพัฒนาปรับปรุงแก้ไขกฎหมายท่ีอาจเอื้อ
ประโยชน์กลุม่ ใดกลุ่มหนงึ่ โดยเฉพาะการแก้ไขและปรับปรงุ กฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับต่าง ๆ ท่ีออกไป ทาให้
เกดิ ผลดีในการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคดา้ นระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 6. ปรับระบบการทางาน วิเคราะห์กระบวนงาน โดยใช้ Lean
Process นาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการยื่นคาขออนุญาตผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาปรับปรุงมาตรฐานการ
ให้บริการ และคู่มือการปฏิบัติงาน จัดทาคู่มือสาหรับประชาชนแบบ Infographic 7. การพัฒนาระบบการรับเรื่อง
ร้องเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ (CRM) จัดให้มี Contact Center 1426 เพื่อให้ผู้รับบริการและประชาชน สามารถ
ร้องเรียนการกระทาผิดของสถานพยาบาล สถาประกอบการเพ่ือสุขภาพ และการกระทาความผิดของเจ้าหน้าท่ีในเร่ือง
การทุจรติ ประพฤตมิ ิชอบ
ระบบการสอื่ สารท่ีมปี ระสิทธภิ าพ สู่การปฏบิ ตั ทิ ่มี ปี ระสทิ ธิผล
กรม สบส. มีการออกแบบระบบการส่ือสารและถ่ายทอดทิศทางองค์การ มีการเลือกใช้สื่อท่ีเหมาะสมกับ
กลุ่มเปูาหมายท่ีหลากหลายเป็น 4 แนวทาง ดังน้ี คือ 1) การสื่อสารกับประชาชนและกลุ่มเส่ียง เพ่ือให้สามารถติดตาม
ข่าวสารและสถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ เปน็ ประจา ตดิ ตามรายงาน ตลอดจนการสอบถามข้อมูลการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบ
บรกิ ารสขุ ภาพ 2) การส่อื สารภายในองค์กร เพ่อื ให้บุคลากรเข้าใจขอ้ มูลขา่ วสารและภัยสุขภาพท่ีกาลังเป็นปัญหาสาคัญ
สามารถนาข้อมูลไปเผยแพร่ต่อ รวมท้ังนโยบาย จุดเน้นกิจกรรมความเคล่ือนไหวขององค์กร แบ่งออกเป็น 1.1) การ
สือ่ สารระหว่างผบู้ รหิ ารระดับสงู กับทมี นาองคก์ าร ไดแ้ ก่ อธิบดี รองอธิบดี ผู้เชี่ยวชาญ หัวหน้าหน่วยงานท้ังส่วนกลาง
และส่วนภูมิภาค ผ่านการประชุมผู้บริหารทุกวันจันทร์สัปดาห์ท่ี 2 ของเดือน Line group และหนังสือราชการ 1.2)
ผ้บู รหิ ารระดับสูงกับผู้อานวยการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ผ่านการประชุมทุกวันจันทร์สัปดาห์ที่ 3 ของเดือน ผ่าน
ระบบ VDO Conference Line Group และหนังสอื ราชการ เพ่ือติดตามความกา้ วหน้าของโครงการที่สาคัญของกรม 1.3)
ผู้บริหารระดับสูง กับผู้อานวยการทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ผ่านการประชุมทุกวันจันทร์สัปดาห์ที่ 4 ของเดือน

16

ตดิ ตาม และรายงานผลการดาเนินการ โดยผู้บริหารมีนโยบายให้มีการประชุมกรม สบส. สัญจร เป็นประจาทุก 3 เดือน
ตรวจเยย่ี มและเสริมพลงั สร้างความสัมพันธ์ใกล้ชดิ บคุ ลากรของหนว่ ยงานท่ีตั้งอยตู่ ่างจังหวัด ปัจจุบนั มีการระบาดของโค
วดิ -19 กรมฯ มีการปรับเปล่ียนรูปแบบการประชุมเป็นผ่านระบบ VDO Conference เพื่อลดการเส่ียงต่อการติดเช้ือของ
บุคลากร 1.4) ผู้บริหารกับบุคลากร สาหรับช่องทางการส่ือสารแบบออฟไลน์ เช่น หนังสือราชการ วารสารออนไลน์
สบส. ซอย 8 บอร์ดประชาสัมพันธ์ เสียงตามสายทุกวันเวลา 12.00-13.00 น. เป็นต้น 1.5) การประชุมคณะกรรมการ
และคณะทางานต่าง ๆ ตามภารกิจ นโยบายที่ได้รบั มอบหมายผ่านการประชมุ เปน็ ประจาทุกเดือน ซึ่งกลุ่มเปูาหมายส่วน
ภูมิภาคโดยผา่ นระบบ VDO Conference ส่วนกลางร่วมประชุมต้องปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social
Distancing) 3) การส่ือสารกับสื่อมวลชน เพื่อเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้อง ทันเวลา สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ สร้างการ
รับรู้ให้ประชาชนในวงกว้าง เพื่อลดการเผยแพร่ข้อมูลด้านระบบบริการสุขภาพท่ีคลาดเคล่ือนการเข้าถึงข้อมูล 4) การ
ส่อื สารระหว่างองค์กร เพอ่ื ให้หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกิดความเข้าใจและร่วมมือในการดาเนินการ
และจดั การแก้ปัญหา การบรู ณาการ ประสานความร่วมมอื และสามารถสื่อสารขอ้ มูล มาตรการ ที่ถูกตอ้ ง ครบถ้วน

ช่วงสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ผู้บริหารได้มีการปรับรูปแบบการทางานและการให้บริการผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีการทางานแบบบูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วน ส่ือสาร นโยบาย แนวทางการดาเนินงานตามภารกิจและ
มาตรการโควิด 19 ของกรม สบส. การประชุมผ่านระบบ VDO Conference แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บุคลากร
คคู่ วามรว่ มมอื และผสู้ ง่ มอบฯลฯได้ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการส่ือสารได้อย่างต่อเน่ือง ได้แก่ การประชุมต่าง ๆ ผ่าน
ระบบ VDO Conference ระบบ Zoom Facebook Live การถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ โครงการ กิจกรรม ผ่าน
ระบบ YouTube Application ต่าง ๆ อสม. 4.0 เว็บไซต์กรมสบส. โปรแกรมออนไลน์คลังความรู้สุขภาพ การรายงานผล
ดาเนินการและให้ข้อมูลปูอนกลับทางระบบออนไลน์ และระบบ SMART 63 สามารถทราบข้อมูลได้แบบ Real time ซ่ึง
ผู้บริหารระดับสูงเป็นต้นแบบและเข้าร่วมในการดาเนินโครงการด้วยตนเองอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ือง ส่งผลสามารถให้ กรม
สบส. สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมือในการดาเนินงานตามมาตรการปูองกันควบคุมโรคโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
ความรับผิดชอบตอ่ สังคมกบั ระบบการกากบั ดูแลท่ีเทย่ี งธรรม ทัว่ ถึง และเทา่ เทียม

สบส. มวี ิเคราะห์ผลกระทบทางลบจากการดาเนินงานตามภารกิจหลักของกรมฯ และจากการบังคับใช้กฎหมาย
ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบรวมทั้งที่เกี่ยวข้อง รวมท้ังประชาชนได้รับบริการท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน มีมาตรการสร้างความรู้
ความเข้าใจแก่ประชาชนผ่านส่ือต่าง ๆ ตรวจประเมินมาตรฐานก่อนและหลังอนุญาต จัดตั้งศูนย์คุ้มครองผู้บริโภคด้าน
ระบบบริการสุขภาพ พัฒนาระบบการเฝูาระวังและแจ้งเบาะ การทางานเป็นเครือข่ายในการเฝูาระวัง ติดตาม ปูองกัน
ไม่ให้เกิดผลกระทบเชิงลบในวงกว้าง ได้แก่ การแจ้งเบาะแสผ่านเครือข่าย สสจ. สบส.เขต เขตสุขภาพ กระทรวง
สาธารณสขุ ภาคประชาชน อสม.จติ อาสา และสมาคมคลนิ ิก

ความรับผิดชอบต่อสังคม คือเป็นภารกิจที่ สบส. ให้ความตระหนักและเล็งเห็นความสาคัญอย่างมาก สร้างค่านิยม
“สมรรถนะเป็นฐาน สร้างสรรค์สิ่งใหม่ บริการด้วยใจ ใฝุสามัคคี” เป็นแนวทางในการปฏิบัติและเปิดโอกาสให้ข้าราชการและ
เจา้ หนา้ ทีข่ องสบส.ผู้มีสทิ ธิ์ศรัทธาเข้ามามีสว่ นร่วมในการทากิจกรรมชุมชนและสังคม อีกทั้งเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
องค์กรและชุมชนท่ีสามารถต่อยอดเป็นความร่วมมือได้ในอนาคต โดยจัดทาเป็นประจาทุกปี กรม สบส.ได้จัดกิจกรรมเพ่ือสังคม
ดังนี้ โครงการชุมชนสร้างสุข เพ่ือให้ประชาชนในแถบบริเวณใกล้เคียง สบส. โดยมี อสม. และอสค. เป็นตัวแทนและแกนนาด้าน
สขุ ภาพในการสารวจรวบรวมขอ้ มูลทางด้านสุขภาพของประชาชนและสภาพชุมชนจึงนามาวางแผนงานโครงการให้สอดคล้องกับ
พ้ืนท่นี นั้ เช่นการให้ความร้กู ารดแู ลรักษาโรคพยาธิใบไม้ในตบั ในพน้ื ท่ีภาคอิสานชมุ ชนวดั พทุ ธปัญญา เป็นชุมชนท่ีอยู่ใกล้กรม
สบส. และมีวัดเป็นศูนย์กลางของการร่วมมือร่วมใจของชุมชน พัฒนาพื้นท่ีปลอดยาเสพติดและบุหร่ี การรณรงค์การใส่หน้ากาก
อนามัยและใชแ้ อลกอฮอลใ์ นการรักษาความสะอาดเพื่อปูองกันการแพร่ระบาดโควิด19 มีการให้ความรู้และแจกอุปกรณ์ปูองกัน
แก่ชุมชนรอบวดั พุทธปัญญาการทาบุญรว่ มกับประชาชนในเทศการทางศาสนาได้แก่ วันเข้าพรรษาทอดกฐินผ้าปุาสามัคคี และ
การทาความสะอาดชุมชนและวดั รว่ มกบั ประชาชนเปน็ ประจาอย่างสม่าเสมอการออกกาลังกายร่วมกันในกิจกรรมเดินวิ่งและปั่น
จกั รยานท่ีกรมไดจ้ ดั เปน็ ประจาทกุ ปี ทาไดร้ ับความรว่ มมอื และมีจานวนจติ อาสาเพิม่ มากข้ึนอย่างต่อเนอื่ ง

17

การสนบั สนนุ ชมุ ชนแบบ New Normal สบส. มีการกาหนดรูปแบบการดาเนินกิจกรรมและให้การสนับสนุน
ใหส้ ภาพแวดลอ้ มสังคมและระบบเศรษฐกจิ ดขี ึน้ รวมทงั้ สง่ เสรมิ และสนับสนุนการสร้างความเข้มแขง็ ใหก้ บั ชุมชนท่ีสาคญั เพ่อื ให้
เป็นต้นแบบด้านสุขภาวะท่ีดีของชุมชน มีกรอบหลักเกณฑ์การกาหนดชุมชนที่สาคัญ ดังนี้ 1) ความต้องการของชุมชน ที่
สนับสนุนภารกจิ ทุกดา้ นของกรมสบส.2)ชุมชนมีความพรอ้ มและเตม็ ใจทจี่ ะรว่ มมือในการสร้างชุมชนท่เี ข้มแข็งจาแนกเปน็
3กลมุ่ ใหญ่ คอื 1)ชมุ ชนท่ีอย่โู ดยรอบสานักงาน ซ่ึงมีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนในการสร้างความตระหนักใน
เรือ่ งของการดแู ลรักษาสุขภาพตนเอง ผู้สูงอายุ และการสร้างชุมชนท่ีเข้มแข็งที่ย่ังยืน 2) ชุมชนมีความเสี่ยงได้รับผลกระทบ
ด้านสง่ิ แวดลอ้ มเชน่ ชุมชนที่อยู่ใกล้สถานพยาบาลตา่ งๆ การกาหนดพ้ืนที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมให้เป็นพ้ืนท่ีสีเขียว 3) ชุมชน
สนับสนุนภารกิจทั้ง 3 ภารกิจของกรม สบส. ได้แก่ โรงพยาบาลรัฐ คลินิก โรงพยาบาลเอกชน สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ
โรงเรียน สถานีตารวจโรงแรมสนามกอลฟ์ และชมุ ชนฯลฯ

สบส. ได้มีการดาเนินการสนับสนุนชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ผู้บริหารได้เข้ามามีส่วนร่วม เช่น โครงการ 3 หมอ โดยมี
หมอใกล้ตัว คือ อสม. หมอประจาบ้าน(1 : 20 หลังคาเรือน)การจัดกิจกรรมในพื้นท่ี โดยมีคาราวานอสม. เคาะประตูบ้านพร้อม
ผบู้ ริหารมอบของขวญั แกผ่ ู้สูงอายุ และผู้ปุวยติดเตียงและจัดกิจกรรมสอนสาธิต CPRการใช้งาน Applicationอสม. 4.0และApp.
ท่ีเก่ียวข้อง โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนแบบไร้รอยต่อ พัฒนาศักยภาพผู้ดูแลสูงอายุในครอบครัวเพื่อการ
ดูแลผู้ปุวยติดเตียงที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การลงพื้นที่ตรวจเย่ียมนิเทศงานในชุมชนอย่างสม่าเสมอ ได้แก่ การนิเทศ
ตรวจมาตรฐานสขุ ศาลาพระราชทานเยย่ี มเสรมิ พลังให้แก่ อสม.อสค.อสจรโดยเฉพาะในสถานการณ์โควิด-19ผู้บริหารเข้าร่วมเป็น
ผ้นู าด่านหน้าในการเคาะประตูบ้านตา้ นภยั โควดิ รว่ มกับอสม.เพือ่ เป็นการสร้างความมนั่ ใจและใหก้ าลังใจอีกทง้ั สบส. จัดต้ังศูนย์
บริจาคอุปกรณ์เครอ่ื งมือแพทยใ์ หแ้ ก่ อสม.เพอ่ื ใช้ในการปูองกนั ตนเองและแจกจ่ายให้กับประชาชนในชุมชนต่างๆได้อย่างทั่วถึง
โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์กรต่าง ๆทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการนาสิ่งของมามอบให้แก่ อสม. เพ่ือนาไปดูแลตนเองและ
ครอบครวั และดูแลผู้ปุวยติดเตยี งและเย่ียมผู้กักตนเองเพื่อสรา้ งขวัญและกาลงั ใจแกป่ ระชาชนและสร้างความเชอื่ มัน่ แกช่ มุ ชน

3. ปัจจยั แหง่ ความสาเรจ็

1. ผู้บริหารและบุคลากร ร่วมกาหนดวิสัยทัศน์และ ยุทธศาสตร์ท่ีชัดเจน สื่อสารสร้างการรับรู้และความเข้าใจแก่
บคุ ลากรคคู่ วามรว่ มมอื และผูร้ ับบรกิ ารสง่ ผลให้เกิดความร่วมมอื ที่ชดั เจนและม่นั ใจในการทางานร่วมกันกับกรม ผู้รับบริการ
เกิดความเช่ือมน่ั ในการให้บรกิ ารทาให้ สบส ได้รบั รางวลั เปดิ ใจใกล้ชดิ ประชาชนระดบั ดีสองปซี อ้ น (2562 -2563)

2. ผู้บริหารเป็นแบบอย่างดี ในเร่ืองความมุ่งม่ันทุ่มเทในการปฏิบัติงาน ยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง การ
บริหารงานด้วยความโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานด้วยความซ่ือสัตย์ ยึดกฎระเบียบ ประชาชนเป็น
สาคัญ ส่งผลให้ ปี 2563 ผลการประเมิน ITA ของ สบส. อยู่ในลาดับที่ 510 จาก 8,303 หน่วยงานทั่วประเทศ ด้วยคะแนน
89.44

3. นโยบายผบู้ รหิ ารการมุง่ เนน้ การใชร้ ะบบ ITพัฒนาระบบงานให้มีประสิทธิภาพ รวมท้ังการเพิ่มระบบ service ของ
สบส. จนเกิดผลเปน็ รปู ธรรม เชน่ ระบบ E-service และ E-System ต่างๆ
4. นโยบายการจัดสวสั ดิการดูแลผ้ใู ต้บญั ชา กรณีเกิด ผลกระทบด้านคณุ ภาพชวี ติ จากCovid-19 และวาระต่างๆสง่ ผลให้

บุคลากร เกิดความศรัทราต่อผ้บู ริหารและกรม สบส. ทาใหเ้ กิดความมุ่งม่ัน ทมุ่ เท ปฏบิ ตั งิ านให้บรรลุเปูาหมายองค์การ จะเหน็

ได้จากแนวโน้มท่เี พ่ิมข้ึนของการบรรลตุ ัวชี้วดั และค่าเปูาหมาย

18

การดาเนินการพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครฐั ทโ่ี ดดเด่น

หมวด 1 การนาองค์การและความรับผดิ ชอบต่อสังคม

1.1 การนาองค์การโดยผู้บริหารของสว่ นราชการ

กรมสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพ (สบส.) เป็นหน่วยงานภาครัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยการนาของผู้บริหาร

สบส. มีความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และงานตามภารกิจของ สบส. ไปสู่ “การเป็นองค์กรหลักใน

การบรหิ ารจัดการระบบบรกิ ารสุขภาพ ระบบสุขภาพภาคประชาชนให้มีคุณภาพ เพ่ือการคุ้มครองผู้บริโภค และการ

พ่ึงพาตนเองด้านสุขภาพท่ียั่งยืนแบบมีส่วนร่วม” เพื่อตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ชาติ

นโยบายรัฐบาล ความคิดเห็นของประชาชน โดยมีระบบการนาองค์การที่ยึดหลักประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพท่ีมี

คุณภาพ ได้มาตรฐาน ปลอดภัย และสมประโยชน์ ประชาชนทุกคนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้และชุมชนจัดการ

สุขภาพ เพื่อการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งประเทศไทยเป็นศูนย์เป็นกลางอุตสาหกรรมการแพทย์ในระดับ

นานาชาติ เปน็ แนวทางในการบรหิ ารจัดการ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาลเป็นกลไกการกากับการดูแลองค์กรร่วมกัน ผ่านการ

ประชมุ ท่มี ผี บู้ รหิ ารระดับสงู ผู้บริหารสว่ นกลาง ผบู้ รหิ ารส่วนภูมิภาค ทีมนาองค์กร และคณะกรรมการต่าง ๆ เพ่ือกากับ

ดูแล และตดิ ตามงานที่สาคญั รวมทงั้ ใหบ้ คุ ลากรทกุ ระดับเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนองค์กรผ่านทางคารับรองการ

ปฏบิ ตั ิราชการ ทาใหก้ ารดาเนนิ การของ สบส. ขับเคลอ่ื นไปพรอ้ ม ๆ กนั ในทุกระดบั

ก. วิสยั ทศั น์ และค่านิยม

(1) วิสัยทัศน์และค่านิยม สบส. ให้ความสาคัญต่อกระบวนการกาหนดทิศทางและนโยบายขององค์การ

มีกระบวนการทบทวนและกาหนดวิสัยทัศน์

ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ถึงปัจจุบัน ผู้บริหารร่วมกับ

บุคลากรกรมฯ ได้ด าเนิ นการวิ เคราะห์

สถานการณ์ และทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ ให้

สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ วิสัยทัศน์

เปูาประสงค์ระยะส้ันและระยะยาว ค่านิยม กล

ยุทธ์และเปูาหมายการดาเนินงานที่คาดหวัง โดย

คาดการณ์และประเมินความพร้อมของทรัพยากร

เพื่อกาหนดทิศทางและจุดหมายท่ีต้องการสาเร็จ

ในอนาคต จากพันธกิจที่ได้รับมอบหมาย (P1-2)
ซึ่งผู้บริหารระดับสูงได้ กาหนดนโยบายการ

รปู ท่ี 1.1 ระบบการนาองคก์ าร (HSS Leadership) บริหารงาน สบส. เพ่ือใช้เป็นกรอบในการ

ขับเคลื่อนภารกิจตามแผนงาน โครงการต่าง ๆ ให้สอดคล้องแบบบูรณาการ ประกอบด้วย 1) ขับเคลื่อนงานตามภารกิจ

กรมฯ เพื่อตอบสนองนโยบายกระทรวง ได้แก่ โครงการพระราชดาริ ภารกิจงานสขุ ภาพภาคประชาชน ภารกิจงานคุ้มครอง

ผ้บู ริโภคดา้ นระบบบริการสุขภาพ ภารกจิ งานมาตรฐานระบบบริการสขุ ภาพ และการพัฒนาองค์กร 2) การทางานเป็นทีม

ความสามคั คขี องหมคู่ ณะเพ่ือรว่ มกันพัฒนาองค์กรให้บรรลุเปูาหมายของกรม 3) ปรับระบบงานให้มีความเหมาะสม เพื่อ

การบรหิ ารงานท่รี วดเรว็ และเกิดประสิทธิภาพสูงสดุ 4) การสอ่ื สารภารกิจให้ท่ัวถงึ ทุกระดบั และ 5) คนสาราญ งานสาเร็จ

จัดระบบสวสั ดิภาพ สวัสดกิ ารท่ีเหมาะสมใหแ้ ก่บคุ ลากร ผา่ นการขับเคลือ่ นนโยบายและยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภค

ดา้ นระบบบริการสุขภาพ และระบบสุขภาพภาคประชาชนของกรม สบส. ตามภารกิจหลัก ท้ังน้ีจากนโยบายรัฐบาลในการ

เตรยี มตัวสู่ประเทศไทย 4.0 ระบบราชการ 4.0 สังคมดิจทิ ลั การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และกระแสความนิยมบริการสุขภาพ

ท่ีมมี าตรฐาน เตรียมความพรอ้ มเพ่อื รองรับการเปลีย่ นแปลง ปรบั ปรุงกฎหมาย ระเบียบ ยกระดับมาตรฐานระบบบริการ

สขุ ภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชนให้มีประสิทธิภาพ เปูาหมายหลักเพื่อให้ “ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ

สามารถจัดการสุขภาพตนเองที่ถูกต้องได้ และประชาชนได้รับบริการจากสถานพยาบาล สถานประกอบการเพ่ือ

19

สุขภาพที่มีมาตรฐาน ปลอดภัย” พัฒนาการให้บริการต่าง ๆ ผ่านการสร้างวัฒนธรรมการทางานท่ีมุ่งเน้นผู้รับบริการ
เป็นศูนย์กลาง สร้างและพัฒนาเครือข่ายท้ังภายในและภายนอกประเทศ สถาบันการศึกษา พัฒนาความร่วมมือกับพหุ
ภาคีและทวิภาคี ได้แก่ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น (อปท.) หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนในพื้นที่ รวมถึงอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) อาสาสมัครประจา
ครอบครวั (อสค.) ผ้ปู ระกอบการสถานประกอบการ สถานพยาบาลทัง้ ภาครฐั และเอกชน

อีกทงั้ ผบู้ รหิ ารยังให้ความสาคัญในการดาเนนิ การตาม ค่านยิ ม “สบส” ส สมรรถนะเป็นฐาน สร้างสรรค์สิ่งใหม่
บ บริการด้วยใจ ส ใฝุสามัคคี ได้กาหนดความหมายของค่านิยมในแต่ละข้ออย่างชัดเจน และให้ความสาคัญกับการ
ปลูกฝังค่านิยมให้เป็นวัฒนธรรมของกรม สบส. ในการปฏิบัติหน้าที่และการอยู่ร่วมกันของบุคลากรในองค์การ กาหนด
หลักเกณฑ์ และกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ ส่งเสริมค่านิยมและวัฒนธรรม เพ่ือให้เกิดพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่พึง
ประสงคข์ องบคุ ลากรกรม สบส. ทั่วองค์การจนนาไปสู่วัฒนธรรมกรม สบส. คือ “คนสาราญ งานสาเร็จ นาพาองค์กรสู่
ความย่ังยืน และพฒั นา” ด้วยการเป็นผู้นา Role Model ในการทากิจกรรมต่าง ๆ อย่างสม่าเสมอ ได้แก่ การออกกาลัง
กาย เตน้ แอโรบิค ทุกวนั พุธ งานวงิ่ กา้ วท้าใจ งานปน่ั จักรยาน การบริจาคโลหิต และการทาบุญตามเทศกาลต่าง ๆ รวมทั้ง
การปฏบิ ตั ิงานทม่ี ่งุ มั่นทมุ่ เท เปน็ ต้น

ผู้บริหารได้ร่วมกันกาหนดทิศทางองค์การด้วยวิธีการระดมสมองร่วมกับ บุคลากร ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียหลักนาความต้องการความคาดหวงั ปญั หาและข้อเสนอแนะ มาวิเคราะห์และประมวลผลเพ่ือกาหนดทิศทางของ
กรมฯ เป็นประจาทุกปี รวมท้ังมีการวิเคราะห์สถานการณ์ และตาแหน่งปัจจุบันทางยุทธศาสตร์ของกรม เป็นปัจจัย
นาเขา้ ในการจัดทาแผนยทุ ธศาสตร์กรมฯ 20 ปี ให้สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) พ.ศ. 2560-2579
ภายใต้หลักการ Retreat โดยมีเปูาหมาย “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าท่ีมีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน” ซึ่งมีเชื่อมโยง
และสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2564) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่
12 (พ.ศ.2560-2564) นโยบายรฐั บาลและการเปน็ ประเทศไทย 4.0 เพือ่ ให้การดาเนินงานตามภารกิจของ สบส. สอดคล้อง
กับแผนยุทธศาสตร์กระทรวง จึงได้ทบทวนและจัดทาประเด็นยุทธศาสตร์ สบส. พ.ศ. 2562 - 2566 เพ่ือใช้เป็นกรอบใน
การขับเคลือ่ นภารกจิ ตามแผนงาน โครงการตา่ ง ๆ ใหส้ อดคล้องและบูรณาการและนาไปสู่การกาหนดแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปี แผนปฏิบัติการ โครงการ และกิจกรรม โดยมีการกาหนดเปูาหมายที่ชัดเจน มุ่งผลสัมฤทธ์ิตามรูปท่ี 2.1 ในการ
กาหนดวิสัยทัศน์และค่านิยม ตาม P1(2) พร้อมกาหนด KPI ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับ รวมทั้ง
ผรู้ ับบรกิ ารและผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย อาทิ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ผู้ประกอบการ เครือข่ายร่วมในการกาหนด
ยุทธศาสตร์ประจาปีของ สบส. มุ่งเน้นการสร้างบรรยากาศโดยผู้บริหารร่วมกันกาหนดยุทธศาสตร์ เปูาประสงค์เชิง
ยทุ ธศาสตรท์ ่ที ้าทาย ตัวชวี้ ัดท่ีสาคญั ตอบสนองทงั้ ในระดบั กรม สบส. และกระทรวงสาธารณสขุ
(2) การสง่ เสรมิ การประพฤตปิ ฏบิ ัตติ ามหลักนติ ธิ รรม ความโปร่งใสและความมจี รยิ ธรรม

ผูบ้ ริหารใหค้ วามสาคัญกับการนาองค์การอย่างมีธรรมาภิบาล โดยยึดหลักนิติธรรม ความโปร่งใส และความ
มีจริยธรรม ในการบริหารจัดการองค์การทุกขั้นตอนผ่านระบบการนาองค์การตามรูปท่ี 1.1 และระบบการกากับดูแล
องค์การที่ดขี อง สบส. ตามรปู ที่ 1.4 จัดทายุทธศาสตร์การปูองกันการทุจริตและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ระยะ 3 ปี
(พ.ศ. 2560 – 2564) รวมท้ังการกาหนดให้ทกุ หน่วยงานจดั ทาแผนปูองกันการทุจรติ ดาเนนิ การและกาหนดให้หัวหน้า
หน่วยงานกากับ ติดตามและให้ความสาคัญ พร้อมทั้งสร้างจิตสานึกและปลูกฝังความซอ่ื สตั ยส์ ุจริต และสร้างมาตรการ
และกลไกปอู งกันการทุจริต (CPI) ดังนี้ 1. การจัดต้ังหน่วยงานภายใน กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม เป็นหน่วยงานหลัก
ในการกาหนด และทบทวน นโยบายการกากับองค์การท่ีดี ดาเนินการเผยแพร่ ปลูกฝัง ส่งเสริม ยกย่องข้าราชการที่
เปน็ แบบอยา่ งที่ดี และติดตามการปฏิบตั ติ ามประมวลจริยธรรมอย่างสม่าเสมอ กากับติดตามประเมินผลคุณธรรมตาม
กรอบการประเมิน การจัดทาแนวทางและมาตรการปูองกันการทุจริตเชิงรุกมาต้ังแต่ปี 2557 จนถึงปัจจุบัน มีการ
จดั ทาประมวลจริยธรรม และคู่มอื จรรยาบรรณผบู้ ริหารและบคุ ลากรที่พงึ ปฏิบัตติ ่อผรู้ ับบรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ทุกกลุ่ม 2. ศึกษาวิเคราะห์ความเส่ียงในการทุจริต โอกาสเกิดความเส่ียง กาหนดมาตรการปูองกัน นามาตรการไป

20

ดาเนินการ พร้อมท้ังติดตาม กากับและประเมินความเสี่ยงหลังการดาเนินการตามแผน และสรุปผลการดาเนินการ
เสนอผบู้ รหิ ารเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป 3.จดั ทาแผนปฏิบตั ริ าชการ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี แผนงานขับเคลื่อนงาน
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และกากับติดตามประเมินผลแผน การส่งเสริมคุณธรรมตามกรอบการประเมิน ITA และ
ตอบสนองตัวชวี้ ดั ตามยุทธศาสตร์ของ สบส.

ซ่ึงในปี 2563 จากการวิเคราะห์ผลการประเมิน ITA ของกรม สบส. และผลการดาเนินงาน จึงได้จัดทา
โครงการพัฒนาและยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของกรม สบส. แผนบริหารความเส่ียงการ
ทจุ รติ แนวทางการเผยแพรข่ อ้ มูลตอ่ สาธารณะผ่านเวบ็ ไซตข์ องหนว่ ยงานเปดิ เผยข้อมูล มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลย
พินิจ เพื่อให้การดาเนินงานด้านคุณธรรม ความโปร่งใสในการดาเนินงานและการให้บริการของกรม สบส. เป็นไปตาม
เกณฑ์การประเมิน ITA อย่างมีประสิทธิภาพ 4. ส่ือสารถ่ายทอดสู่การปฏิบัติให้กับหน่วยงานท้ังในส่วนกลางและส่วน
ภมู ิภาค ทางช่องทางตา่ ง ๆ หนังสอื เวยี นและเว็บไซต์ 5.ทบทวนและจดั ทาประกาศการแสดงเจตจานงสุจริต เสริมสร้าง
คุณธรรม และความโปร่งใสในการบริหารงานของกรม 7. กากับ ติดตามผลการดาเนินงาน และติดตามการใช้จ่าย
งบประมาณการดาเนินงานในการประชุมกรมฯ รวมทั้งเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณตามกรอบระยะเวลา มีระบบ
ควบคมุ ภายในของหน่วยงาน โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน ตรวจสอบเป็นประจาปีละครั้ง จัดทามาตรฐานการปฏิบัติงาน
Flow Chart กรอบระยะเวลา และกาหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอน ปูองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบของ
หน่วยงาน มีระบบการจัดการข้อร้องเรียนท่ีชัดเจน มีการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน
ตามเกณฑ์ ITA ของสานักงาน ป.ป.ช. การประเมินมาตรฐานความโปร่งใสและตรวจสอบได้ของสานักงาน ก.พ. เป็น
ประจาทกุ ปี 8. ทบทวนผลการดาเนินการเพ่ือวางแผนและปรับปรุงกระบวนงาน

ซง่ึ ผู้บริหาร มีมาตรการปูองกันการทุจริตเชิงรุกและแนวทางการส่งเสริมการประพฤติปฏิบัติตามหลักนิติธรรม
ความโปร่งใสและความมีจริยธรรม ได้แก่ 1. การประกาศเจตนารมณ์ ผู้บริหารเป็นผู้นาบุคลากรของ สบส. ในการ
ประกาศเจตนารมณใ์ นเวทผี ู้บริหารและบุคลากร สบส. ทกุ ระดบั กลา่ วคาปฏิญาณต่อหน้าพระบรมสาทิสลักษณ์รัชกาลท่ี
10 กาหนดนโยบายไม่รับของขวัญวันปีใหม่ การอวยพรผู้บริหารไม่ให้มอบกระเช้าของขวัญ ให้ใช้เพียงการ์ดอวยพร อีก
ทั้ง เป็นผู้นาทีมผู้บริหารและบุคลากร เข้าร่วมในการประกาศเจตนารมณ์ต่อต้านการทุจริตท่ี สบส. และกระทรวง
สาธารณสุขจัดขึ้นในวันต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น 2. สนับสนุนกิจกรรมการต่อต้านทุจริต ผู้บริหารสนับสนุนให้
เจ้าหน้าทมี่ สี ่วนรว่ มในการเข้ารว่ มกจิ กรรมต่อตา้ นการทุจริตท่ีสานกั งาน ป.ป.ช. สานักงาน ป.ป.ท. ร่วมเป็นภาคีเครือข่าย
ต่อต้านการทุจริตกับกระทรวงสาธารณสุข และ ปปท. สนับสนุนกิจกรรมต่อต้านการทุจริตในองค์การ ได้แก่ การจัดทา
คู่มือปูองกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จัดทาคู่มือผลประโยชน์ทับซ้อนเป็นแนวทางการ
ปฏิบัติแก่บุคลากรและสมุดพกความดี บุคลากรจดบันทึกความดีท่ีได้กระทา กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการ
พิจารณาคดั เลือก “ขา้ ราชการดีเด่น” “คนดีศรี สบส.” “คนดีศรีสาธารณสุข”และ“องค์กรคุณธรรม” 3. ประกาศเชิดชู
เกียรติคุณบุคลากรท่ีมีความประพฤติดี เป็นที่ยอมรับ มีผลงานโดดเด่นเชิงประจักษ์เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและ
ประชาชน รายงานผลการดาเนนิ การดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมขององค์กรตอ่ สาธารณะและหน่วยงานในสงั กัดกรมฯ ผ่านทาง
หนังสือเวียนเว็บไซต์ สบส. Facebook และ Application กรม สบส. ในการแจ้งเวียนเร่ืองต่าง ๆ แบบ Real time 4.
นาหลักการ GRD (Good Regulatory Practice) มาใช้ในการออกกฎหมาย โดยเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วน
ไดส้ ว่ นเสยี ไดเ้ ข้ามามีส่วนร่วมในการพิจารณาร่างกฎหมาย และการทาประชาพิจารณ์ ในปี 2563 พระราชบัญญัติสถาน
ประกอบการเพอ่ื สขุ ภาพ และการออกกฎกระทรวงกิจการการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้ท่ีมีภาวะพึ่งพิง ทาให้กฎหมายที่ออกมา
ได้รับการยอมรับท้ังฝุายผู้ประกอบการ ผู้รับบริการ และภาคประชาชน ลดผลกระทบที่เกิดข้ึนท้ังในเร่ือง ระบบสุขภาพ
เศรษฐกิจ สงั คม การนาไปบังคับใช้ การปฏิบัติตามกฎหมาย 5. การพัฒนาปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ท่ีอาจเอ้ือประโยชน์
กลุ่มใดกลุ่มหน่ึง ผู้บริหารให้ความสาคัญในเรื่องความโปร่งใส โดยเฉพาะการแก้ไขและปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ
หรอื ขอ้ บงั คบั ต่าง ๆ ทอี่ อกไป จะต้องไมเ่ อ้ือต่อประโยชนใ์ ห้กล่มุ ใดกลุ่มหน่ึง ให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วน
รว่ มในการปรบั ปรุง ทาให้เกดิ ผลดีในการคมุ้ ครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ 6. ปรับระบบการทางาน เพื่อลดการ

21

ใช้ดลุ ยพินจิ สรา้ งความเป็นธรรม สบส. จัดทาคู่มือสาหรับประชาชน ในการให้บริการ การขออนุญาตสถานประกอบการ
เพ่ือสุขภาพ สถานพยาบาล ใบประกอบโรคศิลปะ มีการวิเคราะห์กระบวนงาน โดยใช้ Lean Process ในการลดขั้นตอน
ระยะเวลาในการให้บรกิ ารอยา่ งน้อย 30-50 เปอร์เซ็นต์ อีกท้ังมีการเผยแพร่ในรูปเอกสาร แผ่นพับ บอร์ดประชาสัมพันธ์
ที่ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ และเว็บไซต์กรมและหน่วยงาน นาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการยื่นคาขออนุญาตผ่านระบบ
อิเลก็ ทรอนิกส์ เพื่อให้เกิดการพิจารณาท่ีมีความโปร่งใส รวดเร็ว มีการพัฒนาปรับปรุงมาตรฐานการให้บริการ และคู่มือ
การปฏิบัติงานมาอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2563 มีการจัดทาคู่มือสาหรับประชาชนแบบ Info graphic และเพิ่มช่องการ
สื่อสารทาง YouTube Facebook เป็นต้น 7. การพัฒนาระบบการรับเรื่องร้องเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ (CRM)
ผู้บริหารจัดให้มี Contact Center 1426 เพ่ือให้ผู้รับบริการและประชาชน สามารถร้องเรียนการกระทาผิดของ
สถานพยาบาล สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ และการกระทาความผิดของเจ้าหน้าท่ีในเร่ืองการทุจริตประพฤติมิชอบ
โดยมีการกาหนดขัน้ ตอนการดาเนินการและผู้รับผดิ ชอบชัดเจน มีการรายงานทุกเดือนและเผยแพร่ให้ประชาชนรับทราบ
เพื่อความโปรง่ ใส

ทงั้ นี้ ผลจากการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ต้ังแต่ปี 2558
มีผลการประเมินสูงข้ึนตามลาดับ ภาพท่ี 7.4 (7) และในปี 2561 ได้รับรางวัลองค์กรโปร่งใส (NACC Integrity Awards)
ระดับชมเชย จากสานักงาน ป.ป.ช. อันเกิดจากการกากับองค์การของผู้บริหาร ผลการดาเนินการจัดการข้อร้องเรียน
เพิ่มขนึ้ เปน็ ร้อยละ 100 แสดงใหเ้ ห็นว่าผ้รู ับบรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความเชื่อมั่นในด้านธรรมาภิบาลขององค์กร
ในปี 2562 จนถึงปัจจุบัน สบส. ได้รับคัดเลือกในระดับกระทรวงสาธารณสุขในการเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาครัฐ เพื่อ
ขับเคล่ือนปแี ห่งการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนมุ ตั ิ อนุญาต ของทางราชการ ต่อต้านการรับสินบนทุกรูปแบบ
กับสานักงาน ป.ป.ท. และ สบส. ผ่านการประเมิน ITA ระดับ A จาก สานักงาน ป.ป.ช. สานักบริหารได้รับรางวัลการ
พัฒนาหน่วยงานคุณธรรมรบั โล่พระราชทานฯ บุคลากรไดร้ ับการยกยอ่ งจากหนว่ ยงานภายนอก ไดแ้ ก่ ข้าราชการพลเรือน
ดีเด่น นักบริหารสาธารณสุขดีเด่น รางวัลคนสุจริตของสานักงาน ป.ป.ช. ระดับประเทศ และรางวัลต้นแบบด้านความ
โปรง่ ใสของกรมฯ ทั้งนี้ สบส. ได้จัดให้มีคณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมและคัดเลือกบุคลากรของกรมฯ เพ่ือพิจารณารับ
รางวลั คนดีศรี สบส. และส่งไปคัดเลือกคนดีศรีสาธารณสุขในระดับกระทรวง ซึ่งผู้บริหารระดับสูง ได้รับรางวัลด้านการ
บริหารและบุคคลต้นแบบด้านต่างๆ ได้แก่ อธิบดี ได้รับรางวัลผู้บริหารสาธารณสุขท่ีมีผลงานดีเด่นและเป่ียมคุณธรรม
จากสมาคมนักบริหารสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ในปี 2562 และในปี 2563 อธิบดีได้รับรางวัลผู้มีคุณูปการต่อ
หลักสตู รนักบรหิ ารระดับสูง กระทรวงสาธารณสุข (นบส.สธ.) รุ่มที่ 1 รองอธิบดีและหัวหน้าหน่วยงานได้รับรางวัลศิษย์
เก่าดีเด่น และข้าราชการพลเรือนดีเด่นมาอย่างต่อเน่ือง แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของผู้นาองค์กรท่ีมีความพร้อมและมี
ศักยภาพในการนาองค์กร จากผลการดาเนินการส่งผลให้ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ
หน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจาปี 2563 กรม สบส. อยู่ในลาดับที่ 510 จากทั้งหมด 8,303 หน่วยงานทั่วประเทศ ด้วย
คะแนน 89.44
ข. ระบบการสื่อสารทศิ ทาง กรม สบส.

ในเร่ื องการสื่ อสาร ผู้ บริหารให้
ความสาคัญสูงสุดในการส่ือสารทิศทางองค์การ
นโยบาย แผนการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพมาก
ข้ึน การประชุมผ่านระบบ VDO Conference
สาหรบั ประชุมผ้บู ริหาร ประชุมกรม และการประชุม
ต่าง ๆ สร้างความเข้าใจทิศทางบริหารองค์การ
ตรงกัน เพอ่ื นาไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและ
บรรลุเปูาหมายผ่านระบบการนาองค์การ ตามรูปที่
1.1 ในแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสู่ผู้ปฏิบัติงาน

รูปที่ 1.2 ระบบการส่ือสารทศิ ทางกรม สบส.

22

ทุกระดับในทุกพ้ืนท่ี ตลอดจนเป็นเครื่องมืออานวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน ทาให้ไม่เสียเวลาเดินทาง
เขา้ รว่ มประชมุ สง่ ผลดีต่อการให้บริการแก่ประชาชนท้ังทางตรงและทางอ้อม ประหยัดทรัพยากรและค่าใช้จ่าย จากการ
วเิ คราะห์เปรียบเทียบคา่ ใช้จา่ ยก่อนและหลังการใช้ระบบ พบว่าสามารถลดค่าใช้จ่ายลดลงได้ถึง 88,890 บาทต่อคร้ัง
ต่อเดือน คิดเป็นงบประมาณที่ประหยัดได้ 1,066,680 บาทต่อปี สบส. ได้กาหนดกระบวนการส่ือสารไปยังบุคลากร
ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียผ่านช่องทางต่าง ๆ แบบ 2 ทาง ได้แก่ การประชุมกรมฯ ประชุมผู้บริหาร Website
บอร์ดประกาศ Mail Line Group หนังสือราชการ รวมท้ังคารับรองการปฏิบัติงานระดับหน่วยงานจนถึงระดับบุคคล
สาหรับผู้รบั บริการถ่ายทอดผ่านการประชุมสัมมนา ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี ถ่ายทอดผา่ นเว็บไซต์ส่ือ Social media ต่าง ๆ ไม่
วา่ จะเป็น Facebook YouTube Line เปน็ ตน้ และมีการวเิ คราะห์ ทบทวน พัฒนาวิธีการส่ือสาร และสร้างความสัมพันธ์
กับบคุ ลากร ผรู้ บั บริการ และผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสีย รับรู้ข้อมูลของ สบส. ที่ตรงกัน นาไปสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดความ
ร่วมมือเปน็ เครือขา่ ยในการดาเนินการเพื่อบรรลุเปูาหมายรว่ มกนั

ในชว่ งสถานการณ์การระบาดของโควดิ -19 ผูบ้ ริหารไดม้ ีการปรับรูปแบบการทางานและการให้บริการผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ทางานแบบบูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วน มีส่ือสารทิศทาง นโยบาย แนวทางการดาเนินงานตามภารกิจ
และมาตรการโควิดของ สบส. แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บุคลากรทุกระดับ คู่ความร่วมมือ และผู้ส่งมอบ
ฯลฯ ได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการส่ือสารได้อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การประชุมต่าง ๆ ผ่านระบบ VDO
Conference Zoom Web Ex Facebook Live การถา่ ยทอดขอ้ มลู ข่าวสารและองค์ความรู้ โครงการ กิจกรรม ผ่านระบบ
YouTube Application ต่าง ๆ อสม. 4.0 เว็บไซต์กรมสบส. คลังความรู้สุขภาพ การรายงานผลดาเนินการและให้ข้อมูล
ปอู นกลับทางระบบออนไลน์ และระบบ SMART 63 สามารถทราบข้อมูลได้แบบ Real time ผ้บู รหิ ารเป็นต้นแบบและเข้า
ร่วมในการดาเนินโครงการด้วยตนเองอย่างสม่าเสมอ ต่อเน่ือง ส่งผลสามารถให้ สบส. สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ
ดาเนินงานตามมาตรการปอู งกนั ควบคุมโรคโควดิ -19 ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

อีกท้งั ผู้บริหาร ให้ความสาคญั อยา่ งยิ่งในการกาหนดนโยบาย เนน้ ย้าให้ทุกหน่วยงานพัฒนาการปฏิบัติงาน การ
ให้บริการ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คานึงถึงโอกาสการพัฒนา ในช่วงเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทั้งในส่วน
ของบุคลากรปฏิบัติงาน การให้บริการ และเชิญชวนประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับบริการสามารรับบริการได้ผ่านระบบ e-
Service ท่ีพัฒนาข้ึนและพัฒนาร่วมกับสานักงาน ก.พ.ร. สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (DGA) สานักงานพัฒนา
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ETDA) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในเร่ืองการให้บริการการขออนุญาตฯ ผ่าน
ระบบ Biz Portal และระบบ e-Payment กรมบัญชีกลาง นอกจากนี้กรมฯ มีการปรับโครงสร้างการนาองค์การ เป็น 2
ส่วน คือ ส่วนกลาง สว่ นภูมภิ าค และปรบั บทบาท ภารกจิ ให้มคี วามชดั เจนมากขึน้ ไดแ้ ก่ 1) ภารกจิ การค้มุ ครองผู้บริโภค
ดา้ นระบบบริการสุขภาพ เชน่ พัฒนาระบบ Claim Center เกบ็ คา่ รักษาพยาบาลชาวต่างชาติที่มาใช้บริการ UCEP รักษา
ได้ทุกโรงพยาบาลยามฉุกเฉนิ 2) ภารกจิ การมีสว่ นรว่ มภาคประชาชน เชน่ การพัฒนา SMART CARD อสม. บัตรเดียวเป็น
ทั้งบัตรประจาตัว อสม. บัตร ATM และบัตร Debit Card เช่ือมระบบเบิกจ่ายค่าปุวยการผ่าน e-Payment 3) ภารกิจ
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ เช่น การพัฒนามาตรฐานระบบบริการสขุ ภาพ ตามมาตรา 5 ซงึ่ ได้มีการขับเคล่ือนภารกิจ
ท่ีสาคัญภายใต้ค่านิยมองค์กร“สบส”สมรรถนะเป็นฐาน บริการด้วยใจ ใฝุสามัคคี สร้างสรรค์สิ่งใหม่” สบส. กาหนดให้
หน่วยงานระดับพ้ืนท่ี คือ ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 1-12 และศูนย์การพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน ท้ัง 5 แห่ง ตาม
รูปท่ี P1(6) รับผิดชอบในการดาเนินการตามยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ และระบบ
สุขภาพภาคประชาชน ติดตามประเมินผลการดาเนินการในระดบั พ้ืนท่ี ตามผลลพั ธท์ ี่ 7.1

23

กรม สบส. มีการออกแบบระบบการส่ือสารและถ่ายทอดทิศทางองค์การเก่ียวกับระบบบริการสุขภาพและ

สุขภาพภาคประชาชน ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น 1) สื่อโทรทัศน์

สถานีโทรทัศน์ PSI ช่อง 99 จานวน 4 รายการ 2) สื่อออนไลน์ ได้แก่ Facebook : กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สบส.

กระทรวงสาธารณสขุ จุลสารออนไลน์ สบส. ซอย 8 และถา่ ยทอดสดกิจกรรม (Facebook Live) 3) SMART Card อสม. 4)

คลังความรูส้ ขุ ภาพ http://ความรู้สุขภาพ.com และ5) Health gate การประเมิน HL&HB หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

และโรงเรียนสุขบัญญัติ เป็นต้น โดยสามารถแบ่ง การ

สื่ อสารและมี การเลื อกใช้ สื่ อท่ี เหมาะสมกั บ

กลมุ่ เปูาหมายทหี่ ลากหลายเป็น 4 แนวทาง ดังนี้ คือ 1)

การสอื่ สารกบั ประชาชนและกล่มุ เส่ยี ง เพ่ือให้สามารถ

ติดตามข่าวสารและสถานการณ์ที่เกิดข้ึนเป็นประจา

ติดตามรายงาน ตลอดจนการสอบถามข้อมูลการ

คุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ รวมถึงการ

รับฟังปัญหาและข้อร้องเรียน 2) การส่ือสารภายใน

องค์กร เพื่อให้บุคลากรเข้าใจข้อมูลข่าวสารและภัย

สุขภาพท่ีกาลังเป็นปัญหาสาคัญสามารถนาข้อมูลไป

เผยแพร่ต่อ รวมทั้งนโยบาย จุดเน้นกิจกรรมความ

เคลื่อนไหวขององค์กร แบ่งออกเป็น 1.1) การสื่อสาร

ระหว่างผู้บริหารระดับสูงกับทีมนาองค์การ ได้แก่

อธิบดี รองอธิบดี ผู้เชี่ยวชาญ หัวหน้าหน่วยงานท้ัง

ส่วนกลางและส่วนภมู ภิ าค การสื่อสารผ่านการประชุม

ผู้บริหารทุกวันจันทร์สัปดาห์ที่ 2 ของเดือน Line

group และหนังสือราชการ ต้ังแต่ปี 2562 จนปัจจุบัน

ผู้บริหารมีนโยบายในการตรวจเยี่ยมผลการดาเนินการ

ของทุกหน่วยงาน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

รูปที่ 1.3 ชอ่ งทางการสอื่ สารกรม สบส. ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูง รองอธิบดี กลุ่มพัฒนา

คุณภาพ กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มแผนงาน กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล และผู้อานวยการตามภารกิจหลัก เพื่อ

ติดตามผลการดาเนนิ การ ตัวชี้วัด การใช้งบประมาณ ผลการควบคุมภายใน และการบริหารความเส่ียง และผลการพัฒนา

องค์กรตามเกณฑ์ PMQA 4.0 1.2) ผู้บริหารระดับสูงกับผู้อานวยการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีการประชุมทุกวัน

จนั ทร์สปั ดาห์ท่ี 3 ของเดือน ผ่านระบบ VDO Conference Line Group และหนังสือราชการ เพื่อติดตามความก้าวหน้า

ของโครงการที่สาคัญของกรม 1.3) ผู้บริหารระดับสูง กับผู้อานวยการท้ังส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ประชุมกรม

ประจาเดือน เพือ่ ติดตาม และ

รายงานผลการดาเนนิ การ โดยผู้บริหารระดับสงู มีนโยบายให้มกี ารประชุมกรม สบส. สัญจร เป็นประจาทุก 3 เดือน โดย

จะผลัดเปลีย่ นหมุนเวยี นสถานท่ีจัดประชุมในจังหวัดท่ีเป็นท่ีตั้งของหน่วยงานส่วนภูมิภาค เพื่อตรวจเย่ียมและเสริมพลัง

สร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดบุคลากรของหน่วยงานท่ีตั้งอยู่ต่างจังหวัด ในปี 2563 การระบาดของโควิด-19 กรมฯ มีการ

ปรับเปล่ียนรูปแบบการประชุมเป็นผ่านระบบ VDO Conference เพื่อลดการเส่ียงต่อการติดเชื้อของบุคลากร 1.4)

ผู้บริหารกับบุคลากร ช่องทางการสื่อสารแบบออฟไลน์ เช่น หนังสือราชการ วารสารออนไลน์ สบส. ซอย 8 บอร์ด

ประชาสัมพันธ์ เสียงตามสายทุกวันเวลา 12.00-13.00 น. เป็นต้น ซ่ึงในปัจจุบัน กรม สบส. ได้มีการทบทวนพัฒนาช่อง

ทางการสื่อสารเป็นแบบออนไลน์ ได้แก่ Application HSS Office ในการรับข่าวสารต่าง ๆ หนังสือราชการท่ีแจ้งเวียน

สลิปเงนิ เดือน และการ Chat ติดต่อสอบถามกบั บคุ ลากรภายในกรม พรอ้ มเบอร์โทรศัพท์ ซึ่งเป็นการส่ือสารแบบสองทาง

24

โดยบุคลากรสามารถแสดงความคดิ เหน็ ตอบกลบั ได้ 1.5) การประชุมคณะกรรมการ และคณะทางานต่าง ๆ ตามภารกิจ
นโยบายท่ีได้รับมอบหมายประชุม ซึ่งกลุ่มเปูาหมายส่วนภูมิภาคผ่านระบบ VDO Conference ส่วนกลางร่วมประชุม
ต้องปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) 3) สื่อมวลชน เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้อง
ทันเวลา สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ สร้างการรับรู้ให้ประชาชนในวงกว้าง 4) การส่ือสารระหว่างองค์กร เพื่อให้
เครือขา่ ยและหน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ตามรปู ท่ี 1.3 ส่อื สารแบบออฟไลน์ ประชมุ ช้ีแจงนโยบายการขบั เคลื่อนงานของ สบส.
ประชุมวิชาการต่าง ๆ บุคลากรของสานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลท่ัวไป ผู้ประกอบการ
โรงพยาบาลเอกชน คลินิก ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และประชาชนทั่วไปเข้ามาร่วมงาน รวมท้ังการใช้ช่องทาง
ออนไลน์ เช่น You tube Facebook Twitter ส่ือสารข่าวสาร การคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ สร้างความ
เข้าใจและความผูกพัน ซึ่งหลังจากประเมินพบว่าการปรับเปล่ียนวิธีการสื่อสารดังกล่าวส่งผลทาให้ผู้บริหารเข้าถึง
กลมุ่ เปาู หมาย บุคลากรกรม เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื เข้าใจทิศทางของ สบส. อย่างชัดเจน และมีความผูกพันเพ่ิมข้ึน ส่งผล
ใหผ้ ลการดาเนนิ การของ สบส. เปน็ ไปตามเปูาหมาย และสงู กว่าคา่ เปูาหมายตามแผนยุทธศาสตร์กรม สบส. พบว่าร้อยละ
ความสาเร็จในการบรรลุตามแผนปฏิบัติการของ สบส. ท่ีมีผลการดาเนินการท่ีดีข้ึนมาอย่างต่อเน่ือง ดังเห็นได้จาก
ภาพที่ 7.4 (1) สบส. ไดร้ บั รางวัลเปดิ ใจใกล้ชิดประชาชนระดับดีสองปีซ้อน (2562 -2563) จากสานักงาน ก.พ.ร.
จากภาพท่ี 7.6(1)
ค. พันธกจิ และประสทิ ธิภาพขององค์การ
4) การสร้างสภาพแวดลอ้ มเพอื่ ม่งุ ความสาเรจ็

จากคา่ นิยม “สมรรถนะเปน็ ฐาน สรา้ งสรรคส์ ่งิ ใหม่ บริการดว้ ยใจใฝุสามัคคี” ผบู้ รหิ ารได้ผลักดันให้บุคลากรทุก
คนใชเ้ ปน็ หลักสาคัญทางความคดิ นาไปสกู่ ารปฏบิ ัติจริงอย่างจรงิ จัง คือ 1) การสรา้ งบรรยากาศการบริหาร วัฒนธรรม
การทางานของเพื่อให้บริการที่ดีแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การมีส่วนร่วมในการพัฒนา ปรับปรุง และสร้าง
วัฒนธรรมในการให้บริการท่มี ีคณุ ภาพ ได้มาตรฐาน ตรงกบั ความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งเสริมการ
มีส่วนร่วม การแลกเปล่ียนเรียนรู้ของบุคลากร มีระบบติดตามประเมินผลท่ีมีประสิทธิภาพ ถ่ายทอดตัวช้ีวัดตามคา
รับรองการปฏิบตั ิราชการลงสรู่ ะดบั บุคคล การรายงานผลการปฏิบตั ิราชการ รวมถงึ การกากับระบบการควบคุมภายใน 2)
การสร้างบรรยากาศในการพัฒนาบุคลากร มีนโยบายการบริหารและพัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่มุ่งเน้นให้เป็น คนเก่ง
คนดี มคี วามสขุ เปิดโอกาสใหบ้ คุ ลากรทกุ ระดับ มสี ่วนรว่ มและรับรู้ในการกาหนดกรอบยุทธศาสตร์ ผ่านเวทีการประชุม
วิชาการ ประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง การค้นหาบุคลากรที่มีสมรรถนะสูง (HSS Talent) ตลอดจนให้ความสาคัญใน
การเตรียมความพรอ้ มในการพัฒนาผู้นาทุกระดับผ่านหลักสูตรต่าง ๆ รวมท้ังพัฒนา ศักยภาพบุคลากรทุกระดับ 3. การ
กระจายอานาจการตัดสินใจ โดยจัดทาคาสั่งมอบอานาจให้หัวหน้าทุกหน่วยงานในการบริหารงานและงบประมาณ
เพื่อให้เกิดความคล่องตัว 4.พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพในการปฏิบัติงานร่วมกับเครือข่าย ได้แก่การทา MOU ทาง
วิชาการกับสถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร และ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นต้น 5. สร้างภาคีเครือข่ายทุกจังหวัดทั่วประเทศ เฝูาระวังสถานพยาบาล (โรงพยาบาล
และคลนิ กิ )สถานประกอบการเพ่อื สขุ ภาพและผใู้ ห้บริการท่ีไม่ได้มาตรฐาน เช่น การจัดต้ังเครือข่ายเฝูาระวังทางไลน์ การ
จัดตั้งเครือข่ายการดาเนินงานทาง Facebook 6. การพัฒนาระบบติดตามประเมินผลแผนงาน โครงการ การใช้
งบประมาณ (ระบบ SMART63) การกากับตัวชี้วัดผ่านระบบ HSS Cockpit ติดตามผลการดาเนินการ สามารถนาไป
แก้ไขปญั หาได้อยา่ งทันท่วงที
(5) การทาให้เกดิ การปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง

เพ่ือให้บรรลุเปูาหมายขององค์การ ผู้บริหารได้ดาเนินการจัดทาคาของบประมาณ จัดทาแผนปฏิบัติการ การ
จัดทาคารับรองการปฏิบัติราชการ และถ่ายทอดสู่หน่วยงานและบุคคล รวมทั้งกาหนดตัวชี้วัดที่สาคัญและติดตามการ
รายงานผลดาเนินการและการใช้งบประมาณผ่านระบบ SMART 63 แบบ Real Time ผ่านระบบ Cockpit มีการ
วเิ คราะหแ์ ละนามาสรปุ ถอดบทเรยี น แผนปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ การสง่ เสริมให้นาไปสร้างนวัตกรรมและทบทวนกระบวนการ

25

ทางานในหมวด 6 ปรับปรุง มาตรการ แนวทางโดยพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการพัฒนาประสิทธิภาพ

การปฏิบตั ิงานและการใหบ้ ริการท้งั ในระบบงานหลักและระบบงานสนบั สนนุ

1.2. การกากบั ดูแลองค์กรและการสร้างคณุ ูปการตอ่ สงั คม

ก. การกากบั ดแู ลองคก์ าร

(6) ระบบการกากับดแู ลองค์การ ผบู้ ริหารให้ความสาคญั กับการนาองคก์ ารอยา่ งมีธรรมาภบิ าล โดยยดึ หลักนิติรัฐ นิติ

ธรรม ความโปร่งใส และความ มีจริยธรรม ในการบริหารจัดการองค์การทุกขั้นตอน มีการวางระบบที่แสดงถึงวิธีการ

กากับดูแลตนเองที่ดี รูปที่ 1.4 นอกจากนั้น สบส.

ดาเนินการภายใต้การกากับดูแลของหน่วยงาน

ภายนอก เช่น คณะกรรมการกฤษฎีกา สานัก

งบประมาณ กรมบัญชีกลาง สานักงาน ก.พ. สานักงาน

ก.พ.ร. สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน (ส.ต.ง) สานักงาน

คณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการทุจริตใน

ภาครฐั (ป.ป.ท.) เปน็ ตน้ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และเน้นย้า

ให้เจ้าหน้าท่ีทุกระดับปฏิบัติงานตามกฎระเบียบ ดังนี้

1) การจัดตั้งหน่วยงานภายใน กลุ่มงานคุ้มครอง

จริยธรรม รองอธิบดีเป็นหัวหน้ากลุ่มฯ 2) ศึกษา รูปที่ 1.4 ระบบการกากบั ดแู ลองค์การทดี่ ี สบส.

วิเคราะห์รูปแบบการส่งเสริมคุณธรรมภายในองค์กร 3) ทบทวนและจัดทาการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปี

และกากับติดตามประเมินผล 4) ทบทวนและจัดทาประกาศการแสดงเจตจานงสุจริต เสริมสร้างคุณธรรม และความ

โปรง่ ใสในการบรหิ ารงานของกรม 5) สื่อสารถ่ายทอดสู่การปฏิบัติให้กับหน่วยงานผ่านช่องทางต่าง ๆ หนังสือเวียนและ

เว็บไซต์ 6) กากบั ติดตามผลการดาเนินงาน และการใช้จ่ายงบประมาณโดยเน้นความโปร่งใส คุ้มค่าต่อภารกิจของกรมฯ

รวมทัง้ เร่งรดั การใชจ้ า่ ยงบประมาณตามกรอบระยะเวลาในการประชมุ กรม ฯ อยา่ งสมา่ เสมอ

ผู้บริหาร สบส. มีบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนองค์การให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด มีระบบการ

กากับดูแลองค์กรที่ดี รูปที่ 1.4 โดยมีปัจจัยสาคัญ คือ การวางระบบการกากับดูแลองค์การที่ผู้บริหารเป็นผู้นาการ

เปลยี่ นแปลง (Transformative Leader) และเป็นแบบอย่างที่ดี (Role Model) ในการครองตน ครองคน และครองงาน ตาม

รูปท่ี 1.5 ท้ังน้ี สบส. มีระบบการกากบั ดแู ลองคก์ ารให้ครอบคลุมการดาเนินงาน 3 ด้าน ประกอบดว้ ย

1. ดา้ นความรบั ผิดชอบต่อการปฏิบัติงาน โดยยึดพันธกิจ แผนงาน โครงการ และตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานเพ่ือ

กากบั การปฏิบตั ิงาน โดยผบู้ รหิ ารรว่ มจดั ทาพร้อมทั้งส่อื สารแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ตลอดจนกาหนดแนวทาง

ในการกากับ ติดตาม ประเมินผลผ่านการจัดทาคารับรองการปฏิบัติราชการในทุกระดับ มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่า

เปูาหมายของอธิบดีไปยังรองอธิบดี จากรองอธิบดีไปยังผู้อานวยการและบุคคลตามสายงานที่กากับดูแล มีการปรับ

โครงสร้างการบรหิ ารและการทางาน อธิบดีได้มีคาส่ังการมอบอานาจให้รองอธิบดีปฏิบัติราชการแทนอธิบดี ในการบีริหาร

งานงบประมาณและการตัดสินใจ หน่วยงานที่กากับ นอกจากน้ียังได้กระจายอานาจไปยังหัวหน้าหน่วยงาน เช่น ด้านการ

บริหารงานการเงิน บุคลากร เป็นต้น โดยกาหนดมาตรฐานและอานาจที่สามารถดาเนินการได้อย่างชัดเจน เพ่ือมิให้เกิด

ปัญหาการล่วงละเมิดอานาจ และปูองกันการทุจริตประพฤติมิชอบ การกระจายอานาจส่งผลให้การบริหารจัดการ เป็นไป

อย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ ลดขั้นตอนความยุ่งยากในการทางาน โดยหลังจากที่ผู้บริหารมีการกระจายอานาจไปแล้ว

จะมีการติดตามประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน ผ่านกลไกการกากับ ติดตามประเมินผล และให้ทุกหน่วย

รายงานผลการใชอ้ านาจปลี ะ 1 ครง้ั สง่ ให้หนว่ ยงานสว่ นกลางทร่ี ับผิดชอบโดยตรง เสนอผู้บริหารรับทราบและปรับปรุงการ

มอบอานาจต่อไป ตามรปู ท่ี 7.1(1ป-7.1(9)

26

นอกจากนี้ สบส. มีการดาเนินการ ดังน้ี 1)

คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับ

หน่วยงาน ประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรอง

ประกอบด้วย รองอธิบดีเป็นประธาน ผู้เชี่ยวชาญเป็น

คณะกรรมการ และ กลุ่มพัฒนาระบบบริหารเป็น

เลขานุการ ตรวจประเมินผลการปฏิบัติงานของทุก

หน่วยงาน (35 หน่วยงาน) รอบ 6 เดือนและ 12 เดือน 2)

ระบบการตรวจราชการ ประกอบด้วย อธิบดี รองอธิบดี

ผู้อานวยการหน่วยงานหลัก และหน่วยงานสนับสนุนท่ี

สาคัญ เช่น กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มบริหารทรัพยากร

รปู ที่ 1.5 การตดิ ตาม ประเมินผลระบบธรรมาภิบาล บุคคล กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร และกลุ่มเทคโนโลยี

สารสนเทศ โดยมีกลุ่มแผนงานเป็นเลขานุการ โดยติดตามผลการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และพิจารณาแนวทางแก้ไข

ปัญหาร่วมกัน โดยมีการตรวจราชการทุกเดือน 3) ระบบติดตามประเมินผลแผนงานและงบประมาณ โดยมีการประชุม

ติดตามความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไข เร่งรัด ให้เป็นไปตามเปูาหมาย ในการประชุมกรม โดยอธิบดี รอง

อธบิ ดี ผู้อานวยการทกุ หน่วยงาน เปน็ ประจาทกุ เดอื น ตามรปู ที่ 1.5

2. ด้านความรับผิดชอบด้านการเงิน โดย 1) ติดตามการรายงานและบริหารผลงานและงบประมาณของทุก

หน่วยงานผ่านระบบบริหารแผนงานและงบประมาณ (SMART 63) และ ระบบ GFMIS ในการประชุมผู้บริหารทุกเดือน

กาหนดวาระการประชุมติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ... หากยังไม่ถึงเปูาหมายให้หัวหน้าหน่วยงานชี้แจงและร่วมกัน

กาหนดแนวทางการเรง่ รดั เพือ่ ให้ผลการเบกิ จา่ ยใหเ้ ปน็ ไปตามเปูาหมาย 2) การดาเนินงานตาม พ.ร.บ. จัดซ้ือจัดจ้างจัด

จา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 ได้มอบรองอธิบดีกากับติดตามการใช้งบประมาณ 3) กลุ่มแผนงาน มีหน้าท่ี

ในการจัดทาแผนงาน แผนงบประมาณ ติดตามประเมินผลตามแผน รายงานผู้บริหารทุกเดือน โดยพัฒนาการรายงานใน

รูปอิเล็กทรอนิกส์ แบบไร้กระดาษ (Paperless) ด้วยการรายงานในระบบ SMART 63 ซ่ึงผู้บริหารสามารถเข้าถึงข้อมูล

และเรียกดูผลการดาเนินงานได้ทกุ ที่ ทุกเวลา แบบ Real Time

3) ด้านการปูองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดย 1. มีการจัดตั้งกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม ทาหน้าที่

ส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรมและปูองกันการทุจริต 1) มีการนาเครื่องมือในการบริหารจัดการ เช่น GG PMQA และ

รายงานการเงิน Risk Management การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน 2) แต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรมการ

ชุดต่าง ๆ เช่น อ.ก.พ.กรม คณะกรรมการจริยธรรม เพ่ือพิจารณาข้อเท็จจริงและลงโทษผู้กระทาความผิด 3) จัดทาคู่มือ

ต่าง ๆ เช่น คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานเพื่อลดการใช้ดุลยพินิจ คู่มือสาหรับประชาชน คู่มือจรรยาข้าราชการ สบส.

คมู่ ือปอู งกันผลประโยชน์ทับซ้อน เพ่ือใช้เป็นแนวทางให้บุคลากรยึดถือปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง 2. จัดทายุทธศาสตร์การ

ปอู งกันการทจุ รติ และส่งเสรมิ คณุ ธรรมจริยธรรม ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2560 - 2564) สร้างจิตสานึกและปลูกฝังความซื่อสัตย์

สจุ ริต และสรา้ งกลไกปอู งกนั การทจุ ริต 3. พัฒนาระบบการชาระเงินค่าธรรมเนียมผ่านระบบ e-Payment เช่ือมโยงกับ

ระบบของกรมบัญชีกลาง และระบบของธนาคารกรุงไทย เพ่ือลดความเสี่ยงต่อการทุจริต 4. มาตรการปูองกันและแก้ไข

ปัญหาการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบของกรมฯ รวมถึงสรา้ งความตระหนักรู้และทัศนคติเชิงบวกแก่บุคลากรในการปฏิบัติ

หน้าทอ่ี ย่างมีธรรมาภบิ าล โปรง่ ใส ปราศจากการทุจรติ

การปูองกันทุจริตและสร้างความโปร่งใส นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วย ได้แก่ ระบบเร่ืองร้องเรียนออนไลน์

ระบบติดตามสถานะเร่ืองร้องเรียน (e-Tracking) พัฒนาช่องทางในการแจ้งเบาะแส ได้แก่ Facebook Website App

สารวัตรพยาบาลออนไลน์ Line Call Center สร้างความโปร่งใส่ในการให้บริการ สบส. ได้รับคัดเลือกในระดับ กสธ. ใน

การเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาครัฐ ขับเคล่ือนปีแห่งการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต ของทาง

ราชการ ตอ่ ต้านการรบั สนิ บนทุกรปู แบบกับสานักงาน ป.ป.ท. ระดบั หน่วยงาน มีนโยบายส่งเสริมให้ทุกหน่วยงานพัฒนา

27

เป็นหน่วยงานคุณธรรมและเปิดหน่วยงานสมัคร โดยมีคณะกรรมการตรวจประเมินตามเกณฑ์กระทรวงวัฒนธรรม การ
ประกาศผลรางวัลหน่วยงานคุณธรรมแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ 1) หน่วยงานส่งเสริมคุณธรรม 2) หน่วยงานคุณธรรม ซ่ึงจะ
ได้รับพระราชทานโล่รางวัล และมีการมอบรางวัลให้กับหน่วยงานท่ีมีผลการพัฒนาระบบควบคุมภายใน ระดับดีเด่น
ระดับบุคลากรได้รับการยกย่องจากหน่วยงานภายนอก ได้แก่ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น, นักบริหารสาธารณสุขดีเด่น
รางวัลคนสุจริตของ ป.ป.ช.ระดับประเทศ และรางวัลต้นแบบด้านความโปร่งใสของ สบส. จัดให้มีคณะกรรมการส่งเสริม
คุณธรรมและคัดเลือกบุคลากร พิจารณารบั รางวัลคนดีศรี สบส. และสง่ ไปคัดเลือกคนดศี รีสาธารณสุข ในระดับกระทรวง
ผบู้ ริหาร สบส. ไดร้ บั รางวัลหนว่ ยงานภายนอกมาอย่างต่อเนื่อง ในปี 2563 อธิบดี ยังได้รับประกาศเกียรติคุณ แสดงว่า
สบส. เป็นภาคีเครือข่ายที่มีความมุ่งม่ันในการขับเคล่ือนและขยายการดาเนินงาน ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติที่
เกี่ยวข้องกับเอชไอวี และเพศภาวะของกระทรวงสาธารณสุข และเป็นผู้มีคุณูปการต่อหลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นบ
ส.สธ.) รุ่นที่ 1
(7) การประเมนิ ผลการดาเนนิ การ

ผู้บรหิ ารได้กาหนดตัวชีว้ ดั สาคัญทีเ่ ชอื่ มโยงกับวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ จัดทาข้อตกลงการปฏิบัติงาน เพ่ือ
ใชต้ ิดตามความกา้ วหน้าของแผนปฏิบัตกิ ารให้บรรลเุ ปาู หมายกรม มีการถ่ายทอดตัวช้ีวัดคารับรองสู่ระดับหน่วยงานและ
บุคคล จัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอ โดยผู้บริหารมีการกาหนดแนวทางการกากับติดตามวัดผลการดาเนินการ ได้แก่ 1)
การประชุมผู้บริหารระดับสูงและทีมนาองค์การ ทุกสัปดาห์ 2) การประชุมผู้บริหารส่วนกลาง 2 คร้ังต่อเดือน 3) การ
ประชุมกรมฯ ทุกเดือน ผ่านระบบ VDO Conference 4) การประชุมคณะกรรมการติดตามผลการดาเนินการ 5) การ
ตรวจราชการและนิเทศงาน 6) การประชุมกรม สบส. สัญจรทุกไตรมาส 7) สบส. พัฒนาระบบการรายงานผลการ
ดาเนินการและงบประมาณผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถกากับการดาเนินงานตามแผน ติดตามการใช้งบประมาณ
ผา่ นระบบ SMART 63 แบบออนไลน์ รวมทัง้ เร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณตามกรอบระยะเวลาได้อย่าง Real Time ทาให้
มีการวิเคราะห์และติดตามประเมินผลโดยใช้ AAR และ PDCA ส่งผลให้ผลการดาเนินการของกรมฯ บรรลุตามเปูาหมาย
ที่ต้ังไว้ ดังภาพท่ี 7.1 (1)-7.1(4) และ7.4 (4) และเกิดองค์ความรู้ในการพัฒนางาน หากพบว่าผลการดาเนินการไม่เป็นไป
ตามเปูาหมาย ผู้บริหารจะให้ความสาคัญพิเศษและเร่งรัด กากับ ติดตามอย่างใกล้ชิดทุกสัปดาห์ผ่านท่ีประชุมผู้บริหาร
และนาผลการดาเนินงานประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงานของหัวหน้าหน่วยและบุคลากรตามแนวทางที่สานักงาน
ก.พ. กาหนด เชื่อมโยงกับข้ึนเงินเดือน รอบ 6 เดือน และ 12 เดือน ผู้บริหารให้ความสาคัญกับการเบิกจ่ายงบประมาณ
ผ่านระบบ SMART 63 และระบบ GFMIS กาหนดมาตรการเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณ เช่น งบลงทุนท้ังหมดต้องตกลง
ราคาให้แล้วเสร็จภายในไตรมาสแรก งบฝึกอบรมต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในไตรมาสที่สอง ทุกหน่วยงานจัดทา
แผนการใช้งบประมาณเป็นรายเดือนผ่านระบบภายในวันที่ 25 ของเดือนผ่านระบบ SMART 63 และรายสัปดาห์ใกล้ส้ิน
ปีงบประมาณ ส่งผลให้ สบส. ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณด้านการเงินการคลัง จากกรมบัญชีกลาง 2 ปีซ้อน (ในปี
2561-2562)

สบส. ได้นาระบบการยกยอ่ งชมเชย การให้รางวัลแก่บุคลากร ทั้งในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล โดย
เชื่อมโยงกับระบบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ผลการดาเนินงานและพฤติกรรมการปฏิบัติราชการมาเป็น
แรงจูงใจให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการให้รางวัล ซ่ึงท่ีผ่านมาผู้บริการกรมฯ ได้กาหนด
เกณฑ์ในการจัดสรรเงินเพิ่มพิเศษให้แก่หน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติงานตามคารับรอง (รอบ 6 เดือน และ 12
เดือน) โดยหน่วยงานที่มีคะแนน 3 ลาดับแรก จะได้รับเงินเพ่ิมพิเศษให้หน่วยงานนาไปจัดสรรเพิ่มให้บุคลากรของ
หน่วยงาน และมีการประกาศเกียรติคุณในท่ีประชุมตามวาระตา่ ง ๆ

ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ผู้บริหารให้ความสาคัญในการควบคุม ปูองกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-
19 สบส. กาหนดนโยบายบริหารจัดการ ยกระดับการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
โดยมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทางานในเชิงรุก เพ่ิมช่องทางการสื่อสารข้อมูลข่าวสาร การประสานงาน ติดตาม
และพัฒนาระบบการรายงานข้อมูลและการเฝูาระวังในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ พัฒนา

28

ระบบ e-Service พัฒนาและจัดทาแพลตฟอร์ม “ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินโควิด–19” ในการให้บริการและเตรียม
ความพร้อมของสถานพยาบาลท้ังภาครัฐ และเอกชน และสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ ในการประเมินตนเอง
ของผู้ประกอบการร้านนวดก่อนอนุญาตให้เปิดกิจการตามมาตรการผ่อนปรน และมาตรการปูองกันและควบคุม
การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 แบบออนไลน์ นอกจากนั้น สบส. ยังได้จัดทาระบบการลงทะเบียนท้ังสถาน
กักกันทางเลือกของรัฐ โรงแรม สนามกอล์ฟ (AQ, AHQ, SQ, GQ) มาตรการและแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ของสถาน
กักกันทุกประเภท แบบประเมินตนเอง ระบบการตรวจประเมินและระบบการรายงานผลภาพรวมการดาเนินการ
และจัดทาแนวทางมาตรการระบบการรายงาน สาหรับ อสม. ในการเคาะประตูบ้าน เพ่ือสังเกตอาการประชาชน
ณ ที่พักอาศัย รวมท้ังกลุ่มผู้เดินทางกลับมาจากพ้ืนที่ระบาดของโรคโควิด-19 จนสามารถควบคุมการแพร่ระบาด
ของโรคโควิด-19 ในระดบั พ้ืนท่ี จนไดร้ ับคาชมเชยจากองค์การอนามัยโลกและนานาชาติ

1.2 ข. การประพฤตปิ ฏิบัตติ นตามกฎหมายและอย่างมจี รยิ ธรรม

(8) การประพฤติปฏิบตั ติ นตามกฎหมายและระเบยี บ

สบส. มีวิเคราะห์ผลกระทบทางลบจากการดาเนินงานตามภารกิจหลัก และจากการบังคับใช้กฎหมายท่ีอยู่ใน

ความรับผิดชอบรวมท้ังท่ีเกี่ยวข้อง โดยผลกระทบท่ีอาจจะเกิดข้ึนได้ในแต่ละกระบวนงาน เช่น พระราชบัญญัติสถาน

ประกอบการเพ่ือสุขภาพ พ.ศ.2559 มีการแต่งต้ังคณะอนุกรรมการและคณะทางานในการศึกษาวิเคราะห์รวมท้ังเปิดเวที

เพ่ือรับฟังข้อคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มก่อนที่จะออกมาตรการดาเนินการตามกฎหมาย และจัดให้มีการรายงาน

ผลในการประชุมคณะกรรมการสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ (ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน) ทราบและ

พจิ ารณาทุกเดอื น ถึงผลการดาเนนิ การท้งั ผลดีและผลกระทบจากการดาเนนิ การตามพ.ร.บ.สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ

พ.ศ. 2559 ดังนี้ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานมากขึ้น มีมาตรการส่งเสริมศักยภาพพนักงาน

เจ้าหน้าที่ ผู้ประกอบการทั่วประเทศให้มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติตามกฎหมาย ผู้ให้บริการและผู้ดาเนินการมี

คณุ ภาพมาตรฐาน โดยการพัฒนาหลักสูตรกลางและขน้ึ ทะเบยี น มกี ารตรวจประเมินมาตรฐานก่อนและหลังอนุญาต ด้าน

การส่งเสริมและพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ อาจจะเกิดผลกระทบได้ในหลาย ๆ ด้าน เช่น ค่า

รักษาพยาบาลโรงพยาบาลเอกชนสูง จนคนไทยไม่สามารถใช้บริการได้ และอาจจะมีผู้ปุวยโรคร้ายแรงเข้ามาในประเทศ

เพิม่ มากขน้ึ ทาให้มาใช้ทรพั ยากรหรือเงนิ ทนุ การรกั ษาของคนไทยในการให้บริการ เป็นต้น สบส. ได้กาหนดมาตรการคือ

การออกกฎหมาย/ระเบียบในการควบคุมค่ายาและค่ารักษาพยาบาลให้มีมาตรฐานกลางท้ังประเทศ การสร้างมาตรการ

รองรับและเข้มงวดกบั ประเภทของผู้ปุวย การเก็บค่าประกันจากผู้ปุวยชาวต่างชาติ (Claim Center) สาหรับด้านสุขภาพ

ภาคประชาชนได้ดาเนินการส่งเสริมเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและเครือข่ายองค์กร อสม. อาจจะเกิดผลกระทบ

เก่ียวกบั การใช้เครือขา่ ยองค์กร อสม. ในการหาประโยชนส์ ว่ นตนหรือพวกพ้อง และมีการใช้บทบาทของผู้นาองค์กร อสม.

ในการหาผลประโยชน์ มาตรการคือการพัฒนาความรู้ความสามารถด้านการพิทักษ์สิทธิและเฝูาระวังการปูองกันการ

ทจุ ริตในชมุ ชน กรมฯ มีการจัดต้ังศูนย์คุ้มครองผู้บริโภค

ดา้ นระบบบริการสุขภาพ พัฒนาระบบการเฝูาระวังและ

แจ้งเบาะการทางานเป็นเครือข่ายในการเฝูาระวัง

ติดตาม ปูองกันไม่ให้เกิดผลกระทบเชิงลบในวงกว้าง

ได้แก่ การแจง้ เบาะแสผา่ นเครือข่าย สสจ. สบส.เขต เขต

สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ภาคประชาชน อสม.จิต

อาสา และสมาคมคลินิก นอกจากน้ี ผู้บริหาร สบส. ให้

นโยบายและเน้นย้าให้ผู้บริหารทุกกระดับสง่ เสริม กากับ

ให้บุคลากรปฏิบัติงานตามกฎ ระเบียบ และข้อบังคับท่ี

เก่ียวข้องโดยเคร่งครัด รวมท้ังมีการกากับติดตามอย่าง รปู ที่ 1.6 การจัดการผลกระทบเชงิ ลบตอ่ สังคม
สม่าเสมอ ตามรูปที่ 1.6

29

(9) การประพฤติปฏบิ ัติอย่างมจี รยิ ธรรม
สบส. จัดตั้งกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม เป็นหน่วยงานภายใน ทาหน้าท่ีในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและ

สรา้ งความโปร่งใส และดาเนนิ การเก่ยี วกบั การปูองกันการทุจริต ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม แผนการปูองกันการทุจริต
และประพฤตมิ ิชอบ ได้จดั ทาแผนทีส่ อดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการปูองกนั การปราบปรามการทุจริตภาครัฐ และ
นโยบายของรัฐท่ีเก่ียวข้อง ดาเนินการเก่ียวกับข้อร้องเรียนการทุจริต การปฏิบัติหรือการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิ
ชอบของเจ้าหน้าท่ีของ สบส. คุ้มครองจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน มีระบบการรายงานผลการ
ดาเนินการที่ชัดเจน เช่น จัดทาคู่มือข้ันตอนการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ประชาสัมพันธ์รณรงค์สร้างกระแสต่อต้านการ
ทุจริต จัดอบรมส่งเสริมการปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใสภายโครงการต่าง ๆ เช่น การอบรมเรื่องศาสตร์พระราชาสู่การ
พัฒนาตน การสร้างความโปร่งใสและการปูองกันผลประโยชน์ทับซ้อน การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ
ประโยชน์ส่วนรวม เพ่ือปูองกันผลประโยชน์ซับซ้อนรวมถึงมีการจัดทาคู่มือส่งเสริมการปฏิบัติงานเพ่ือปูองกัน
ผลประโยชน์ทับซ้อนทาให้กรม สบส. มีคะแนนการสร้างความโปร่งใสสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง ผลลัพธ์ตามภาพท่ี7.3 (6)7.4
(1) ทาให้ สบส. ได้รับประกาศเกียรติคุณและโล่รางวัลจากสานักงาน ป.ป.ท. และได้รับโล่จากกระทรวงสาธารณสุขในปี
2563 ในด้านการประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรมคุณธรรม สบส.ได้จัดกิจกรรมจิตอาสาต่าง ๆ ผู้บริหารเป็นผู้นาในการ
ทาบุญตักบาตรตามวันสาคัญทางศาสนาต่าง ๆ การจัดทาพิธีแห่เทียนในวันเข้าพรรษา การทอดกฐิน ผ้าปุาสามัคคี
สง่ เสรมิ ใหท้ าความดีโดยมสี มดุ บันทกึ ความดี การจัดประกวดการทาความดี

นอกจากนี้ผู้บริหารยังได้เป็นผู้นาในการจัดทาประกาศเจตจานงสุจริต ประกาศจรรยาบรรณของข้าราชการ
สบส. เข้าร่วมคณะกรรมการต่าง ๆ กาหนดข้อห้าม และข้อควรปฏิบัติในการปฏิบัติตน เช่น การงดรับของขวัญและของ
กานลั ตา่ ง ๆ ในการให้บริการ ติดประกาศท่ศี ูนย์บริการแบบเบด็ เสร็จและหน่วยงานท่ีให้บริการต่าง ๆ เพ่ือให้ม่ันใจได้ว่า
การปฏบิ ัตงิ านและการให้บรกิ ารของกรม สบส. เปน็ ไปดว้ ยความโปร่งใส ตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับสามารถลดความเส่ียง
ต่อการละเมดิ กฎหมาย คานงึ ถงึ ผลกระทบเชงิ ลบท่เี กิดขึ้นกับสงั คมอนั เป็นผลจากการให้บรกิ ารหรือการปฏิบัติงาน สบส.
ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานพัฒนาการปฏิบัติงาน โดยคานึงถึงผลกระทบด้านสังคมและส่ิงแวดล้อม ได้แก่ การ
ออกแบบระบบบาบัดน้าเสียท่ีได้มาตรฐาน ระบบการกาจัดขยะมีพิษ การออกแบบอาคารโรงพยาบาลเป็นแบบอาคาร
เขยี ว เพอื่ เป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทง้ั กาหนดมาตรการในการประหยัดกระดาษ ประหยัดพลังงาน (ไฟฟูา/น้ามัน) เป็น
ตน้ จดั ทาคูม่ อื การใหบ้ ริการประชาชน ไดแ้ ก่ การอนุมตั ิอนุญาตสถานประกอบการเพอื่ สุขภาพ สถานพยาบาล การขอข้ึน
ทะเบียนเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาต่าง ๆ การโฆษณาสถานพยาบาล การทาธุรกรรมประเภทต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดความ
มนั่ ใจการปฏิบัติงานของ สบส. ดว้ ยความเทา่ เทียมเป็นธรรมเชอ่ื ถอื ไดต้ ามภาพท่ี 7.1 (8) และ 7.6 (2)
ค. การสร้างคณุ าปการต่อสงั คม
(10) ความผาสุกของสังคม ผู้บริหาร สบส. ได้ตระหนักถึงความผาสุกของสังคมและชุมชนโดยได้กาหนดทิศทางการ
บริหารองค์การไว้อย่างชัดเจนว่าการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพตามวิสัยทัศน์ ผลลัพธ์ คือ ผู้รับบริการ
ปลอดภยั มัน่ ใจในเร่อื งของระบบการให้บริการโดยใหค้ วามสาคัญไปท่ี 1) สขุ ภาพของผ้รู ับบรกิ าร และประชาชน โดยมีการ
ส่งเสริม กากับมาตรฐานของสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ให้มีคุณภาพปลอดภัย
ไดม้ าตรฐาน 2) การส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศ ครัวเรือนและชุมชน ส่งเสริมและยกระดับบริการด้านสุขภาพประเภท
ต่างๆให้ได้มาตรฐานอีกทั้งส่งเสริมในเรื่องผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพจาหน่ายและแข่งขันกับต่างประเทศได้ การส่งเสริม
อุตสาหกรรมดา้ นระบบบริการสขุ ภาพเพื่อสรา้ งรายได้ให้กบั สงั คมชมุ ชนและประเทศ 3) สิ่งแวดล้อม โดยพัฒนามาตรฐาน
ระบบบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 9 ด้าน (เดิม 5 ด้าน) เพ่ือให้สถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน ได้
มาตรฐานและสถานประกอบการเพือ่ สุขภาพ ใหบ้ ริการที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ซึ่งสถานพยาบาลเหล่านี้จะต้องปฏิบัติตาม
กฎหมายที่กาหนดอย่างเคร่งครัด และไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อส่ิงแวดล้อม นอกจากนี้ สบส. มีการดาเนินการ กากับ
ตรวจจับคลินิกเถอ่ื น ผูใ้ ห้บรกิ ารทีไ่ มม่ ีใบประกอบวชิ าชีพ การให้บริการสุขภาพที่ผิดกฎหมาย ผู้บริหารได้ให้ความสาคัญ
และเข้าร่วมในการตรวจจับสถานพยาบาล สถานประกอบการต่างๆ เพ่ือให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน

30

ปลอดภัย อีกท้ัง สบส. มีการกาหนดมาตรฐาน เร่ือง การบาบัดน้าเสียของสถานพยาบาลภาครัฐให้ได้มาตรฐาน เพ่ือ
ปูองกันการสร้างมลพิษกับส่ิงแวดล้อมและชุมชน มีการกาหนดเป็นตัวชี้วัดในโครงการต่างๆ ในเร่ืองของการกากับ
มาตรฐานของ สบส. ตามภาพท่ี 7.1 (3)- 7.1 (4)
(11) การสนบั สนนุ ชมุ ชน
สบส. กาหนดชมุ ชนทส่ี าคัญ สง่ เสริม สนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท่ีสาคัญ เพ่ือให้เป็นต้นแบบด้านสุข
ภาวะท่ีดีของชุมชน มีหลักเกณฑ์การกาหนดชุมชนที่สาคัญ ดังนี้ 1) ชุมชนที่อยู่โดยรอบสานักงาน ซึ่งมีการสร้าง
เครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนในการสร้างความตระหนักในเรื่องของการดูแลสุขภาพตนเอง ผู้สูงอายุ และการสร้าง
ชุมชนท่ีเข้มแข็ง 2) ชุมชนมีความเส่ียงได้รับผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อม เช่น ชุมชนท่ีอยู่ใกล้สถานพยาบาลต่างๆ
สบส. ได้ดาเนินการสนับสนุนชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เริ่มจากการนาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ได้แก่ข้อเสนอแนะ ข้อ
รอ้ งเรียน นโยบายของกรม จดั เปน็ แนวทางการดาเนินงานให้แกช่ ุมชน ท่ีกรม สบส.ไดด้ าเนนิ การและผู้บริหารได้เข้ามามี
ส่วนร่วม เช่น โครงการ 3 หมอ โดยมีหมอใกล้ตัว คือ อสม. หมอประจาบ้าน (1 : 20 หลังคาเรือน การจัดกิจกรรมใน
พ้ืนที่ โดยมีคาราวาน อสม. เคาะประตูบ้านพร้อมผู้บริหารมอบของขวัญแก่ผู้สูงอายุ และผู้ปุวยติดเตียง กิจกรรมสอน
สาธิต CPR การใช้งาน Application อสม. 4.0 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลวัดลาดปลาดุก ตาบลบางรักพัฒนา
อาเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนแบบไร้รอยต่อ พัฒนาศักยภาพ
ผู้ดูแลสูงอายุในครอบครัวเพื่อการดูแลผู้ปุวยติดเตียงที่มีประสิทธิภาพ ดังตัวชี้วัดท่ี 7.1(9) โครงการชุมชนสร้างสุข
เพ่ือให้ประชาชนในแถบบริเวณใกล้เคียงกรม สบส. โดยมี อสม. และ อสค. เป็นตัวแทนแกนนาด้านสุขภาพ สารวจ
รวบรวมข้อมูลทางด้านสุขภาพของประชาชนและสภาพชุมชน นามาวางแผนงานให้สอดคล้องกับพ้ืนที่นั้น เช่น การให้
ความรู้การดูแลรักษาโรคพยาธิใบไม้ในตับ ในพื้นที่ภาคอิสาน การพัฒนาชุมชนวัดพุทธปัญญา เป็นชุมชนท่ีอยู่ใกล้
กรม สบส. และมีวัดเป็นศูนย์กลางของการร่วมมือร่วมใจของชุมชน พัฒนาพื้นที่ปลอดยาเสพติดและบุหร่ี การรณรงค์
การใส่หน้ากากอนามัยและใช้แอลกอฮอล์ในการรักษาความสะอาด เพ่ือปูองกันการแพร่ระบาดโควิด 19 การให้ความรู้
และแจกอุปกรณ์ปูองกันแก่ชุมชนรอบวัดพุทธปัญญา การทาบุญร่วมกันในเทศกาลทางศาสนา ได้แก่ เข้าพรรษา
ทอดกฐนิ ผ้าปาุ สามัคคี การทาความสะอาดชมุ ชนและวัดของเจ้าหนา้ ที่ของ สบส.ร่วมกบั ประชาชน กจิ กรรมเดินว่ิง และ
ปน่ั จกั รยาน จดั เปน็ ประจาทุกปี โดยผู้บริหาร และบุคลากรกรม สบส. เข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้งอย่างสม่าเสมอ และเม่ือ
ได้ดาเนินการกจิ กรรมตา่ งๆ ผู้รบั ผิดชอบ ตดิ ตามประเมนิ ผลจากการสอบถามผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้แทนชุมชน เพื่อนาไป
ปรับปรุงกระบวนการและกิจกรรมใหม้ คี วามเหมาะสมมากข้นึ ในครั้งตอ่ ไป

31

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั อย่างตอ่ เนือ่ งตามระดับพื้นฐาน
หมวด 2 การวางแผนเชิงยทุ ธศาสตร์
2.1 การจดั ทายุทธศาสตร์
2.1 ก. สบส. ได้มีการทบทวนและกาหนดวิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการระบบริการสุขภาพและระบบ
สุขภาพภาคประชาชนท่ีมีคุณภาพเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคและการพ่ึงพาตนเองด้านสุขภาพที่ยั่งยืนแบบมีส่วนร่วม”
ภายใต้ระบบการนาองค์การ ที่กาหนดทิศทาง วางแผนยุทธศาสตร์และถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ ซึ่งในปี 2563 ตามท่ี
กระทรวงสาธารณสุขไดจ้ ดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์ระยะ 20 ปี (ดา้ นสาธารณสุข) พ.ศ. 2560-2579 ภายใต้หลักการ “ การถอย
เพ่อื ทบทวนหรอื การถอยตง้ั หลกั กอ่ นทีจ่ ะกา้ วต่อไปขา้ งหน้า (Retreat) “ โดยมีเปูาหมาย “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่

มีความสุข ระบบสุขภาพท่ียั่งยืน” ซึ่งมีความสอดคล้องและเช่ือมโยง
กับแผนยุทธศาสตร์ ระยะ20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) และเพ่ือให้การดาเนินงานตาม
ภารกิจของ สบส. สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง สธ.
สบส. ได้มีการจดั ทาประเด็นยุทธศาสตร์ สบส. พ.ศ. 2562-2566 เพื่อใช้
เปน็ กรอบในการดาเนินงานของกรม รวมท้ังใช้ประกอบการจัดทาคาขอ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ และขับเคล่ือนภารกิจ การ
ดาเนนิ งานแผนงานต่าง ๆ ให้มคี วามสอดคล้องและแสดงความเชื่อมโยง
แผนบูรณาการกับหน่วยงานอ่ืน ๆท่ีเกี่ยวข้อง เช่น กรมอนามัย
รูปท่ี 2.1 กระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ กรม สบส. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สานักงาน อย. และ สคบ. ปรับเปลี่ยน
หน้าท่ีเป็นการส่งเสริม กากับ ตรวจสอบมาตรฐานสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ และถ่ายโอนการ
รบั รองมาตรฐานให้หนว่ ยงานอื่นดาเนนิ การ
กรมฯ มีการขับเคลื่อนนโยบายสู่การวางกรอบแผนงาน โครงการริเริ่ม นอกเหนืองานประจา เพื่อให้ดาเนินการ
บรรลุ Goal, SO และ KPI ท่ีระดับหน่วยงานนาไปสู่การจัดทาแผนปฏิบัติการของหน่วยงานและถ่ายทอดสู่บุคลากรคา
รับรองการปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานและระดับบุคคล จัดทาแผนงานโครงการให้มีความครอบคลุมความต้องการของ
ผ้รู ับบรกิ ารและผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียที่สาคัญอย่างสมดุล ท้ังทางด้านพันธกิจ การปฏิบัติการ ตาม P(7) โดยมีการรับฟังความ
คิดเห็นต่อยุทธศาสตร์ของบุคคลภายในและภายนอกกรมฯ ตามรูปท่ี 2.1 เพ่ือให้บรรลุเปูาหมายสูงสุดคือให้ ประชาชนมี
ความรู้ด้านสุขภาพจัดการสุขภาพที่ถูกต้อง และ ได้รับบริการจากสถานบริการสุขภาพ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่มี
มาตรฐาน ปลอดภัย กรมฯ นาความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์(P12) คือ การท่ีกรมเป็นองค์กรเดียวในการคุ้มครองผู้บริโภค
ด้านระบบบริการสุขภาพ และระบบบริการสุขภาพภาคประชาชนของประเทศไทย มีภาคีเครือข่ายระดับชาติและพ้ืนท่ี
เข้มแข็ง (อสม.) ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ มีอาสาสมัครสาธารณสุขครอบครัว (อสค.) ครอบคลุมทุกครอบครัวที่มีผู้ปุวยผู้สูงอายุ
ติดบ้าน ติดเตียง นอกจากนั้น กรมฯ ยังได้พัฒนา อสม. ให้เป็นอสม. หมอประจาบ้าน การขับเคล่ือนการคุ้มครองผู้บริโภค
ไดร้ ับบรกิ ารท่ีมีคณุ ภาพ มาตรฐาน ปลอดภัยดา้ นผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ และนาความท้าท้ายเชิงยุทธศาสตร์
มากาหนดเปน็ กลยทุ ธ์ของกรมฯ เชน่ พฒั นาและสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมการแพทย์และการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพแบบครบวงจร
การเชื่อมโยงฐานข้อมูลผู้ปุวยในสถานพยาบาลเอกชน โดยใช้ Big Data Technology และการส่ือสารสุขภาพทางออนไลน์
และคลังความรูด้ ิจิทัลด้านบริการสุขภาพชุมชน รวมท้ังเตรยี มบคุ ลากรใหพ้ รอ้ มและเพียงพอต่อการบรรลุผลสาเร็จของกรม
2.1.ข. กรมฯ มีการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี และมีการกาหนดเปูาประสงค์เชิงกลยุทธ์ และตัวช้ีวัดเชิงยุทธศาสตร์ท้ัง
ในระยะสน้ั และระยะยาว ทบทวนระบบงานสาคญั เพอ่ื เสรมิ สร้างสมรรถนะหลักของกรม และจัดทาแผนท่ียุทธศาสตร์ตาม
หลัก Balanced scorecard กาหนดกรอบการจัดทาแผนกลยุทธ์ระยะสั้น 1 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับรอบปีงบประมาณ
สภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไป และกระบวนการวัดและการประเมินผลการดาเนินงานของกรมฯ ส่วนแผนระยะยาว
กาหนดไว้ 5 ปี และ 20 ปี มกี ารกาหนดเปาู หมายเพื่อรองรับและคาดการณ์การเปล่ียนแปลงในอนาคต ทาประชาพิจารณ์

32

แก่ผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี สาคญั ในการถา่ ยทอดทศิ ทางองคก์ าร (รูปท่ี1.3) ผบู้ ริหารใช้ระบบการประชุมคณะกรรมการบริหาร
ของกรมฯ ทุกสัปดาห์ ถ่ายทอดวิสัยทัศน์และนโยบายต่าง ๆ สู่บุคลากรเป็นประจาทุกเดือน รวมทั้งสื่อสารผ่านระบบ
สารสนเทศ เพ่อื ใหบ้ คุ ลากรรับรูเ้ ขา้ ใจ และมสี ว่ นร่วมในการปฏิบัตงิ าน เพอ่ื ให้ไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน โดยได้เช่ือมโยงกับ
การบริหารยทุ ธศาสตร์ และผ้บู ริหารลงพื้นที่ทุกหน่วยงาน สร้างการรับรู้ทิศทาง ถ่ายทอดกลยุทธ์ให้ชัดเจนเข้าใจสามารถ
ปฏิบัติได้ กรมใชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการส่ือสารระหวา่ งบุคคลในองค์กร เชน่ E-mail Line กลมุ่ เปน็ ตน้

สบส. ทบทวนและวิเคราะหผ์ ลกระทบของเปาู ประสงค์ และตัวชี้วดั เชิงยุทธศาสตร์ แผนการปฏิบัติราชการ
และผลการดาเนินการ ปัจจัยส่ิงแวดล้อมภายนอกที่สาคัญและความเส่ียงต่าง ๆ ที่กระทบต่อองค์การ เช่น
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี แนวโน้มการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ ความต้องการและความคาดหวังของ
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักท่ีสาคัญ รวมทั้งนโยบายการปฏิรูปประเทศ หากพบว่าผลการดาเนินการไม่
บรรลุตามแผนท่ีกาหนดไว้ มีการปรับแผนงาน โครงการ จัดเตรียมทรัพยากรท้ังทางด้านบุคลากร งบประมาณ และ
เครือ่ งมอื อปุ กรณ์ท่ีจาเปน็ ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนปฏิบัติการใหม่ เช่น การลดผลกระทบจากข้อบังคับทางกฎหมาย มีการ
ทบทวนและพฒั นากฎหมายท่กี รมฯ กากบั ดูแล จานวน 14 ฉบับ เพ่อื ให้สอดรับกับแผนยทุ ธศาสตร์(รปู ที่ 7.4(3)) และ
ให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานและการให้บริการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น เรื่องการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการ การ
อนุญาตเป็นผู้ดาเนินการ การอนุญาตประกอบกิจการสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ ตามกฎกระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ.2560 กาหนดให้สามารถย่ืนคาขอผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ จัดทาประกาศกรมฯ เพ่ือให้ประชาชนมีความ
คล่องตัวและสะดวกในการรับบริการมากยิ่งข้ึน การย่ืนคาขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการในสถานประกอบการเพื่อ
สุขภาพ หรือพนักงานนวด รวมทั้งผู้ดาเนินการสปา ด้วยการใช้เพียงบัตรประจาตัวประชาชนกับใบรับรองแพทย์
เท่าน้ัน การจัดทาร่างกฎกระทรวง “กิจการการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง” ส่งเสริมให้สถานประกอบการเพ่ือ
สขุ ภาพดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพ่ึงพิงท้ังภาครัฐและภาคเอกชนให้มีคุณภาพมาตรฐาน เพื่อรองรับผู้สูงอายุของไทย
รวมไปถงึ กลมุ่ Long Stay Visa ที่ปัจจบุ ันชาวต่างชาติจานวน 14 ประเทศ สามารถพานักอาศัยในประเทศไทยได้ 10
ปี การตั้งศูนย์บริการข้อมูลสุขภาพกับหน่วยงานภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง เพ่ือ
อานวยความสะดวกผู้โดยสารทเ่ี ขา้ มารับการรักษาพยาบาลในกลมุ่ ประเทศ CLMV รวมถึงรับเรอ่ื งร้องเรียนจากชาวไทย
และชาวตา่ งชาตดิ ้านระบบบรกิ ารสขุ ภาพตามนโยบายการพฒั นาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางสขุ ภาพนานาชาติ
2.2 การนายุทธศาสตรไ์ ปปฏบิ ัติ
2.2 ก. กรมได้นายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยกาหนดแนวทางการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเปูาหมาย ต้ังแต่ระดับ
กระทรวง ระดับกรม สู่ระดับหน่วยงาน ระดับบุคคลลงถึงระดับพ้ืนที่อย่างเป็นระบบ และสอดคล้องเช่ือมโยงท่ัวทั้ง
องค์การ มีระบบการสื่อสารถ่ายทอดนาแผนไปสู่การปฏิบัติอย่างชัดเจน การกาหนดทิศทางของกรมฯ และการวาง
แนวทางในการปฏิบัติเพ่ือไปสู่เปูาหมายท่ีกาหนดไว้น้ัน ต้องอาศัยความร่วมมือของภาคีเครือข่ายสุขภาพในระดับพื้นท่ี
ได้แก่ สานักงาน สสจ. รพศ. รพท. รพช รพสต.หน่วยงานท้องถ่ิน องค์กรเอกชน หน่วยงานรัฐอื่นๆ และภาคประชาชน
ถ่ายทอดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และทิศทางการบริหารงานไปสู่การปฏิบัติ การจัดทาแผนปฏิบัติราชการ แผนการ
ดาเนินงาน ถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติ โดยใช้ช่องทางการส่ือสารทั้งภายในและภายนอกองค์กร ได้แก่ เว็บไซต์กรมฯ
หนังสือแจ้งเวียนทุกหน่วยงาน คู่มือแผนงบประมาณตามยุทธศาสตร์ และการประชุมช้ีแจงนโยบายและแนวทางการ
ขับเคลอ่ื นการดาเนินงาน กรม สบส. ภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ทุกปี เพื่อถ่ายทอดวิสัยทัศน์และค่านิยมสู่การปฏิบัติไปยัง
บุคลากร คู่ความร่วมมือ ผู้รับบริการ รวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สร้างการรับรู้ทิศทางของกรมฯ อีกทั้งมีการจัดทาคา
รับรองหน่วยงานและการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร และในกรณีนโยบายเร่งด่วนและสาคัญ ผู้บริหารจะ
สอ่ื สารผ่าน Video Conference ให้ทุกหน่วยงานทัง้ สว่ นกลางและส่วนภูมิภาค ร่วมกบั การใช้ค่านิยมเปน็ แรงขับเคล่ือน
ให้เกดิ การมีส่วนรว่ มของบุคลากรในองค์การ รว่ มคดิ ร่วมปฏบิ ตั ิ ส่งผลให้มผี ลลพั ธก์ ารดาเนนิ การตามเปาู ประสงค์ที่วาง
ไว้ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ มีแผนปฏิบัติการในการปรับปรุงประสิทธิภาพ ลดต้นทุน เปิดโอกาสสร้างการมี
ส่วนร่วมกับหน่วยงานและองค์กรท่ีเกี่ยวข้อง กาหนดนโยบายและแผนงานที่สาคัญร่วมกัน นาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยใน

33

การสร้างความเชื่อม่ัน อานวยความสะดวกให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น การพัฒนาระบบอนุญาตและ
ชาระค่าธรรมเนียมผ่าน Central Biz Box ร่วมกับ สานักงาน ก.พ.ร., สพร, และ ETDA พัฒนาศูนย์ Claim Center
ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตอังกฤษ สปสช. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกัน
สุขภาพ เพ่ือจัดเกบ็ ค่ารกั ษาพยาบาลชาวตา่ งชาติสาหรบั สถานพยาบาลภาครฐั
2.2 ข. กรมฯ พัฒนาระบบกากับติดตามท้ังเชิงรุกและเชิงรับทั้งในส่วนกลางและในส่วนภูมิภาค กาหนดให้รายงานผล
การดาเนินงานตามตัวชี้วัดในการประชุมผู้บริหารส่วนกลางทุกสัปดาห์ และการประชุมกรมฯ ทุกเดือน โดยดาเนินการ
ผ่านระบบสารสนเทศเพือ่ การตัดสนิ ใจผลการดาเนินงานทส่ี าคัญ ประกอบดว้ ย (1) ระบบ SMART63 เปน็ การรายงานผล
การดาเนินงานตามตัวช้ีวัดและการเบิกจ่ายงบประมาณแบบออนไลน์แบบ Real time (2) ระบบการติดตามผลการ
ดาเนินการตามตัวช้ีวัดของกรมฯ (HSS Management Cockpit) โดยจัดกลุ่มตัวช้ีวัดออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
(1)ตัวชว้ี ัดยทุ ธศาสตร์ (2) ตัวช้วี ัดงบประมาณ (3) ตัวชี้วัดตามมาตรา 44 และ(4) ตวั ชวี้ ัดอธบิ ดี (PA) ติดตามงบประมาณ
ผา่ นระบบ GFMIS ตามวงรอบ 3, 6, 9, 12 เดือน ทั้งในรูปแบบรายงาน กราฟ Analog Meter ผู้บริหารสามารถตัดสินใจ
บนพ้ืนฐานสารสนเทศทีม่ ีความถกู ตอ้ ง แมน่ ยา รวดเร็ว นาไปสู่การบริหารจัดการ กากับ สั่งการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถแก้ไขการดาเนินงานที่ไม่เป็นไปตามแผนได้ทันท่วงที มีระบบ Warning สามารถเรียกดูข้อมูลแบบ Real time
ของแผนปฏิบัติราชการประจาปี นาไปสู่การพัฒนาต่อยอดและสร้างนวัตกรรมของบุคลากรและองค์การ มีการจัดทา
รายงานสู่สาธารณะผ่านการรายงานผลตัวชี้วัดบนเว็บไซต์ และรายงานผลการปฏิบัติราชการประจาปี นาไปสู่การ
วางแผนเชิงยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการต่อไป กรมฯ มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ เพ่ือให้ทันต่อสถานการณ์
ความก้าวหนา้ การส่ือสารและเทคโนโลยี มีการจัดทา Action plan ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว เช่นใน มีการทบทวน
ปรับแผนงบประมาณให้รองรับสถานการณ์ Covid-19 และ การปรับโครงสร้าง พัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ เพิ่มกลไก
และประสิทธภิ าพการบังคบั ใช้กฎหมาย เพือ่ ใหป้ ระชาชนไดร้ ับบริการด้านสุขภาพทป่ี ลอดภยั ลดข้อร้องเรียนและการไม่
ปฏบิ ัติตามกฎหมายของสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน และสถานประกอบการเพือ่ สขุ ภาพลดลง
หมวด 3 การใหค้ วามสาคญั กับผู้รับบรกิ ารและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย
3.1 ความคาดหวังของผรู้ บั บรกิ ารและผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี
3.1 ก. กรมฯ มีภารกิจหลักในการในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบ
บริการสุขภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชนของประเทศไทย จึง
จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้ความสาคัญกับสารสนเทศท่ีเก่ียวกับประชาชน
ซึ่งเป็นกลุ่มผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักที่สาคัญ รูปที่ 3.1 เพื่อ
วางแผนงานการพัฒนาคุณภาพผลผลิตและบริการท่ีสามารถตอบสนอง
ต่อความต้องการและความคาดหวัง มีการค้นหาสารสนเทศของ
ผู้รับบริการแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เร่ิมตั้งแต่การได้สารสนเทศในการการ
เฝูาระวังการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพและการจัดการ
สุขภาพภาคประชาชนโดยมีการรวบรวมข้อมูลของผู้รับบริการและผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียทั้งในปัจจุบันและในอนาคต กรมฯจาแนกกลุ่ม
ผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเป็นระบบจากพันธกิจตามกฎหมาย รปู ท่ี 3.1 ระบบจัดการสารสนเทศผ้รู บั บริการของกรม สบส.
และยุทธศาสตร์ของกรม ตามรปู P (7) เพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อมูลสารสนเทศที่ครอบคลุม ครบถ้วน ออกแบบวิธีการและช่องทางในการ
รบั ฟังเสียงของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี ในการดาเนินการเชิงรุก ใช้วธิ ีการสารวจความคิดเห็น ความพึงพอใจ และ
ความเชื่อม่ันต่อการรับรู้ข่าวสารองค์ความรู้การรับบริการ และภาพลักษณ์ของกรมฯ นารูปแบบของส่ือเทคโนโลยี
สารสนเทศเข้ามาใชป้ ระโยชน์มากขึ้น เช่น การสารวจออนไลน์ผ่านเว็บไซต์กรม www.hss.moph.go.th และ Social Media
ไดแ้ ก่ Facebook กรม สบส., สารวัตรออนไลน์, Twitter Application Smart อสม และ อสค.4.0 ออนไลน์,Group Line ของ
กลุ่มเครอื ข่ายตา่ งๆ ไดแ้ ก่ งานสุขภาพภาคประชาชน งานคุ้มครองผู้บริโภค Email จุลสารออนไลน์ ส.บ.ส. ซอย 8 การรับ

34

เรื่องร้องเรียน ผ่านเว็บไซต์ระบบ CRM ในเชิงรับ ได้แก่ การเปิดช่องทางในการรับฟังความคิดเห็นทาง ระบบรับเรื่อง
ร้องเรียนออนไลน์ ไปรษณีย์ ตู้รับความคิดเห็น ศูนย์รับเร่ืองร้องเรียน การเปิดสายด่วน 02-1937999 และ Social Media
ผ่านระบบ Mobile App Line Facebook การแสดงความคิดเหน็ ทาง Website และขอ้ เสนอแนะ

นอกจากข้อมูลที่ได้รับฟังจากผู้รับบริการแล้ว กรมยังได้ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและเครือข่ายท่ี
เก่ียวข้อง เช่น สถานการณ์ด้านบริการสุขภาพ อัตราปุวย-ตาย ข้อร้องเรียนด้านระบบบริการสุขภาพ ฐานข้อมูลที่
สาคญั เชน่ ด้านสาธารณสขุ จากกระทรวงสาธารณสุข แพทย์จากแพทยสภา เครื่องมือแพทย์จากสานักงาน อ.ย. และ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รายช่ือและรหัสประชาชนของอสม.และอสค.จากwww.thaiphc.net มาตรฐาน
สถานพยาบาลจาก ส.ร.พ. พฤติกรรมสุขภาพตามกลุ่มวัยจากกรมอนามัย ระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และ
สาธารณสุข (Health data center: HDC) และฐานข้อมูลของชาวต่างชาติที่เข้ามาพานักในไทยจากกระทรวงการ
ท่องเที่ยวและการกีฬา เป็นต้น เพื่อนาไปสู่การวางนโยบายเชิงรุก คือการเฝูาระวังคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบ
บริการสุขภาพ พัฒนาการจัดการสุขภาพภาคประชาชน และการพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมการแพทย์และการ
ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบครบวงจร และผลการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือวาง
นโยบายเชิงรุกที่มงุ่ เน้นตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งในปัจจุบันและอนาคต
เช่น ปจั จุบันมี อสม. มีจานวน 1,039,729 คน ครอบคลุมทวั่ ประเทศ ซงึ่ เปน็ จานวนมาก เป็นแกนนาในการขับเคล่ือน
งานด้านสุขภาพชุมชน นามาตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ การจัดทา
SMART CARD อสม. เพ่ือเปน็ บัตรประจาตวั อสม. และบัตร Debit รับค่าปุวยการผ่านระบบ e- Payment ของ
กรมบญั ชีกลาง และสามารถแจ้งเรือ่ งรอ้ งเรยี นหรอื แจง้ ผา่ นApplicationบนโทรศัพท์เคลื่อนท่ีได้
3.1 ข.กรมฯ มีการสารวจความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ และความเชื่อมั่นของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน
ภาพรวมของกรมฯ โดยใช้แบบสอบถาม (Survey Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการวัดผลในทุกกลุ่มท้ังกลุ่ม
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท้ังภายนอกและภายใน ปีละ 2 ครั้ง มีแบบสารวจความพึงพอใจและการประเมิน
ช่องทางการให้บรกิ ารทางออนไลนท์ างเว็บไซตก์ รมฯ และมกี ารประเมินความพงึ พอใจท่ีทันต่อการตอบสนอง เช่น การ
ประเมินความพึงพอใจท่ี OSS จุดให้บริการหน่วยงานต่าง ๆ ข้อมูลปูอนกลับทั้งท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
ข้อมูลการให้บริการ ข้อร้องเรียน รายงานจากหน่วยบริการ การแนะนาจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ
อตั ราความสาเรจ็ ของการทาธุรกรรม นามาแก้ไขปัญหาทันทีเม่ือพบปัญหาส่งผลต่อความพึงพอใจผู้รับบริการ พัฒนา
ปรบั ปรุงรูปแบบการทางาน จดั การกระบวนการอยา่ งเปน็ ระบบ

กรมมีการนาผลการสารวจ VOC ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานและ
รวบรวมข้อมูลความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ Social Media (Facebook,
Line Application, Twitter YouTube) รายงานอุบัติการณ์ ข้อร้องเรียน ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและเครือข่ายที่
เกี่ยวข้อง เชน่ สถานการณ์ดา้ นบริการสุขภาพ อัตราปุวย-ตาย
ข้อร้องเรียนด้านระบบบริการสุขภาพ และจากฐานข้อมูลท่ี
สาคัญ เช่น รายช่ือและรหัสประชาชนของอสม.และอสค.จาก
www.thaiphc.net ส.ร.พ. พฤติกรรมสุขภาพตามกลุ่มวัยจาก
กรมอนามัย ระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสาธารณสุข
(Health data center: HDC) เป็นต้น นาไปทบทวนออกแบบ
ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการให้ตอบสนองความ
ต้องการของผู้รับบริการท้ังปัจจุบันและอนาคตแต่ละปี สร้าง
ผนู้รวับัตบกรรรกิ มากรบาราใงหกล้บุ่มริไกมา่สระดด้าวนกตม่าางรๆับบเชร่นกิ า1ร)ทจ่ี OากSผSลวกิธากี ราสราแรกว้ไจขเชิงรุกคือกรูปาทรี่พ3.ัฒ2 กนาารจรดัะกบารบผรู้ Eบั -บSรeกิ าrvรแicลeะผ(มู้ กีสาว่ รนขไดอส้ อ่วนนเสุญยี าต การ
ขนึ้ ทะเบยี น การตอ่ อายุ การชาระค่าธรรมเนียม) ผ่าน App โดยใช้เลข 13 หลัก การทาธุรกรรมแบบออนไลน์ เป็นการลด

35

ค่าใช้จ่าย คุ้มค่า เข้าถึงง่าย ตอบสนอง Life style และการพัฒนาระบบการขออนุญาตสถานพยาบาลและสถาน
ประกอบการเพ่ือสุขภาพผ่านระบบออนไลน์ทาง ระบบ Biz Portal ร่วมกับ สานักงาน ก.พ.ร. และพัฒนาการชาระ
ค่าธรรมเนียมการขออนุญาตผ่านระบบ E-payment ของกรมบัญชีกลาง ดังรูปท่ี 7.2(7)และ 7.2(8) จากข้อมูลด้าน
สุขภาพของประชาชน พบว่ามีการส่งข้อมูลสุขภาพที่ไม่ถูกต้องในส่ือสังคมออนไลน์ วิธีการแก้ไขเชิงรุก พัฒนา
SMART Card อสม.4.0 ใหเ้ ป็นทง้ั บัตรประจาตัว อสม. เปน็ ช่องทางถา่ ยทอด Health Literacy สู่ประชาชนในพื้นที่ได้
เพ่ือให้ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพทันต่อสถานการณ์อย่างทั่วถึงและรวดเร็ว และรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากกรม
สบส. โดยตรง สามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนหรือแจ้งผ่าน Application ได้ 2) จากการสารวจพบว่าผู้ให้บริการสถาน
ประกอบการเพอื่ สขุ ภาพบางสว่ นไม่สามารถขนึ้ ทะเบยี นเป็นผ้ใู ห้บริการได้ วิธกี ารแกไ้ ขเชงิ รกุ การพัฒนาระบบการขึ้น
ทะเบียนเป็นผู้ให้บริการสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ชาระค่าธรรมเนียมผ่านระบบ
ธนาคารกรงุ ไทย ดงั รูปที่ 7.2(5)-7.2(9)
3.2 การสร้างความผกู พัน
3.2.ก. กรม สบส. ได้มีการเรียนรู้และปรับปรุงรูปแบบการบริการ และกลไกสนับสนุนท่ีเหมาะสมกับกลุ่มผู้รับบริการ
และผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสียท่ีมีความต้องการเฉพาะที่หลากหลาย ปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการตามพันธกิจ และมีการ
คาดการณ์และจาแนกสารสนเทศของผู้รบั บรกิ ารในอนาคต จากขอ้ มูลสถานการณท์ ้งั ในประเทศและต่างประเทศ ผลการ
สารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละปีนามาจากแผนยุทธศาสตร์ โดยใช้ SWOT
Analysis ปรับกลยุทธ์การดาเนินงาน ออกแบบระบบกระบวนการองค์ความรู้และเทคโนโลยีและการบริการท่ีเป็น
นวัตกรรมในแผนยุทธศาสตร์ของกรมฯ 20 ปี และแผนประจาปี เพ่ือให้บริการแก่ผู้รับบริการ และการทางานร่วมกับ
เครือขา่ ยผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี ทั้งในปัจจุบนั และอนาคตไดอ้ ย่างเหมาะสม เช่น การพฒั นาห้องปฏบิ ตั ิการทดสอบและสอบ
เทียบได้ผ่านการรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 17025 เพ่ือทดสอบสอบเทียบเคร่ืองมือแพทย์ให้ได้มาตรฐานให้กับเขตและ
โรงพยาบาล อีกทั้งมีการวิเคราะห์ศักยภาพของสถานประกอบการเพื่อสุขภาพเพื่อแข่งขันในระดับสากล พัฒนาเกณฑ์
และคุณภาพมาตรฐานสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพท่ีได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ท่ีสมัครใจเข้ารับการส่งเสริมพัฒนา
คุณภาพและรับการประเมิน Thai World Class Spa ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จานวน 33 แห่ง และการพัฒนาระบบ
ฐานข้อมูลการประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ HS4 (Health Service Support Standard System) ประเมิน
มาตรฐานระบบริการสุขภาพทั้งของโรงพยาบาลประเมินตนเอง แจ้งผลการตรวจเย่ียมผ่าน สสจ.ในการพัฒนา
โรงพยาบาล พร้อมท้ังมีการประเมินความพึงพอใจต่อการเย่ียมประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ จากผลการ
ดาเนนิ การดังกล่าวมาอย่างต่อเน่ือง ทาให้กรม สบส. สามารถสร้างผลการดาเนินการที่เป็นเลิศด้านการบริหารราชการ
แบบมีส่วนร่วม ประเภทพัฒนาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมในระดับดีเย่ียม ซ่ึงเป็น 1 ใน 5 ส่วนราชการที่ได้รับรางวัล
ดงั กล่าวในระดับดเี ยี่ยม ประจาปี พ.ศ. 2559 และได้รบั รางวลั เปิดใจใกล้ชดิ ประชาชน ระดบั ดี ในปี 2562 และปี 2563
3.2 ข. กรมฯ มกี ารจดั ตั้งศนู ยค์ มุ้ ครองผูบ้ ริโภคด้านระบบริการสุขภาพ พิทักษ์สิทธิและคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบริ
การสุขภาพอย่างครบวงจร สร้างความเช่ือมั่นให้กับผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่ือสาร สร้างความเข้าใจปัญหาข้อ
ร้องเรียนของผู้รับบริการ การแก้ไขข้อร้องเรียน บูรณาการการทางานร่วมกับเครือข่ายในการคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่
สคบ. อย. ปปช. คน้ หาแนวทางการแกไ้ ขขอ้ รอ้ งเรียนรว่ มกนั เชน่ นโยบาย “เจบ็ ปุวยฉุกเฉินวกิ ฤต มีสิทธิทุกที่ (UCEP)”
มีการบูรณาการร่วมกับ สพฉ. ในการตรวจสอบข้อร้องเรียนท่ีเกิดจากการรักษาพยาบาลกับโรงพยาบาลเอกชน และ
พัฒนาศักยภาพเครือขา่ ย UCEP ระดบั ชมุ ชน เพือ่ ให้ประชาชนเข้าถงึ บริการการแพทย์ฉุกเฉินที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ได้
อ ย่ า ง ทั่ ว ถึ ง แ ล ะ เ ป็ น ธ ร ร ม โ ด ย ใ น ปี 2 5 6 3 มี ก า ร จั ด ก า ร เ รื่ อ ง ร้ อ ง เ รี ย น ไ ป ท้ั ง สิ้ น
380 เร่อื ง เปน็ กรณี UCEP132 เรือ่ ง
3.2ค กรมฯ มีการพัฒนาปรับปรุงช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนตามข้อเสนอแนะของผู้รับบริการ เป็นประจาทุกปี มีการพัฒนา
ระบบการจัดการเร่ืองร้องเรียน (CRM) ทางออนไลน์ มีระบบติดตาม ขั้นตอน ความคืบหน้าของเร่ืองร้องเรียน (tracking) ได้อย่าง
สะดวกรวดเรว็ ช่วยให้ประชาชนสามารถตดิ ตามสถานะของการจัดการข้อร้องเรียนได้ทุกเวลา ทาให้เกิดความชัดเจนในการแก้ไข

36

ปัญหาจากข้อร้องเรียนได้อย่างเป็นระบบ พัฒนาช่องทางการรับร้องเรียนผ่านช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ ได้แก่ Website

www.crm.hss.moph.go.th Facebook ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน สบส. สารวัตรออนไลน์ สารวัตรสถานพยาบาล สายด่วนกรม

สบส. 1426 ศนู ย์รับเรอื่ งร้องเรยี น กรมฯ 02 193 7057 E-mail: [email protected]

หมวด 4 การวดั การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรงุ ผลการดาเนินการของส่วนราชการ

4.1 ก. กรมฯ มีการกาหนดตัวชี้วัดหลายระดับต้ังแต่ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง ระดับกรม และหน่วยงาน

ตลอดจนตัวช้ีวัดระดับบุคคล มีเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัดท่ีครอบคลุมกรอบดาเนินงานที่สาคัญของกรมฯ ตัววัดผลการ

ดาเนินการของกรมฯ พิจารณาจากภารกิจหลักท่ีตอบสนองวิสัยทัศน์และพันธกิจ รวมท้ังค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร

ความตอ้ งการของผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการปฏบิ ัตงิ าน นโยบายรฐั บาลท่ีเกี่ยวข้อง ผ่านกระบวนการจัดทายุทธศาสตร์

ตามรูปที่ 2.1 เพอ่ื ใชใ้ นการตดิ ตามความก้าวหน้าและผลสาเร็จของการดาเนินงานของกรม สบส. ตัวช้ีวัดที่สาคัญของกรมฯ

ประกอบด้วย 1) ตัวช้ีวัดยุทธศาสตร์ 2) ตัวชี้วัดท่ีบรรลุภารกิจ 3ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทฺธิภาพการปฏิบัติ

ราชการ 3) ตัวช้ีวัดกระบวนงาน 4)

ตัวชี้วัดของแผนงาน โครงการ ซ่ึงใน

การขับเคลื่อนการดาเนินงานตาม

ตัวชี้วัด จะกาหนดค่าเปูาหมาย

วางแผน รวบรวม ติดตาม และ

ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจน

ถ่ายระดับเป็นคารับรองการปฏิบัติ

ราชการระหว่างกรม สบส. และ

หนว่ ยงาน และบุคลากรในสังกัดกรม

ฯ โดยผู้บริหารระดับสูงจะได้รับการ

รายงานผ่านการประชุมผู้บริหารทุก

สัปดาห์ การประชุมสานัก/กอง รูปท่ี 4.1 ระบบการคดั เลอื กตวั ช้ีวัดการดาเนนิ งาน

ส่วนกลาง การประชุมกรม เพ่ือกลั่นกรองเป็นตัวชี้วัดสาคัญที่อธิบดี จะติดตามเป็นประจาทุกเดือน (21ตัวชี้วัด) รายงาน

รอบ 3,6,9 และ 12 เดือน ผ่านระบบ SMART63 (รูปท่ี 4.1) ใช้กากับติดตามผลการปฏิบัติงานและงบประมาณตามแผนงาน

โครงการต่าง ๆ มกี ารเชื่อมโยงกับระบบ GFMIS ติดตามความก้าวหน้าของผลการดาเนินงานและตัวชี้วัดแบบ Online Real

time เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร มีความถูกต้อง แม่นยา ส่งผลให้การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตาม

เปาู หมายทตี่ ั้งไว้

สบส. ใช้แหล่งข้อมูลท้ังภายในและภายนอกประเทศ ประกอบกับข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการฯ พิจารณา

งบประมาณรายจา่ ยประจาปี 2563 และขอ้ สังเกตของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ นามาเป็นข้อมูลนาเข้าในการปรับ

วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เปาู ประสงค์ และตวั ชว้ี ดั ให้ชัดเจนในทุกมิติ และเชื่อมโยงแผนบูรณาการกับหน่วยงานอื่น ๆ กาหนดกล

ยุทธ์ แผนงาน โครงการที่เข้มแข็งและมีความชัดเจนทัดเทียมกับคู่แข่ง เช่น การคุ้มครองผู้บริโภคฯ ซ่ึงกรมฯ ได้ศึกษา

วเิ คราะหข์ อ้ มูลและปรับวิธีการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพให้เหมาะสม จึงเป็นท่ีมาของการกาหนดยุทธศาสตร์และ

กลยุทธก์ รม สบส. ในการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพแนวใหม่ เพ่ือให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มีมาตรฐาน มี

คุณภาพ ปลอดภัย สมประโยชน์ และมีศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองด้านสุขภาพได้อย่างย่ังยืน และเพ่ือแก้ไขปัญหาด้าน

ระบบสุขภาพและการเข้าถึงระบบสุขภาพอย่างเท่าเทียมกัน ดังเช่น การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนเชื่อมโยงเครือข่ายปฐม

ภูมิ(พชอ./PCC) การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ และ การพัฒนาและยกระดับคุณภาพการ

ใหบ้ รกิ ารในสุขศาลาพระราชทาน เพื่อใหป้ ระชาชน ครอบครัว และชมุ ชนพึง่ พาตนเองไดด้ ้านสุขภาพ

37

4.1.ข. กรมฯ มีระบบการวิเคราะห์ และทบทวนผลการดาเนินการ เพื่อประเมินผลสาเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์

เชิงยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ โดยใช้ระบบ SMART 63 วิเคราะห์และติดตามผลการดาเนินการตามตัวชี้วัดของกรมฯ

และการใช้จ่ายงบประมาณ ตลอดจนการรายงานสถานการณ์ตามภารกิจต่างๆ และนโยบายที่สาคัญ โดยมีการประชุมกรมทุก

เดอื น การประชมุ ของอธบิ ดีและรองอธิบดที กุ สปั ดาห์ การประชุมผู้บริหารส่วนกลางและ VDO Conference กับผู้บริหารส่วน

ภูมิภาคทุกเดือน เพื่อติดตามผลการปฏิบัติงาน และ

วิเคราะห์สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน พร้อมท้ังมีการเปรียบเทียบ

แผน/ผลการดาเนินงานกับเปูาหมายผลการดาเนินงานที่ผ่าน

มา และมีการคาดการณ์แนวโน้มความสาเร็จของการ

ดาเนินงานในอนาคต โดยมีการนาข้อมูลสารสนเทศและผล

การดาเนินการตามตัวช้ีวัดสาคัญของกรมฯ ไปวิเคราะห์

ค้นหาสาเหตุที่ทาให้การดาเนินการไม่เป็นไปตามเปูาหมาย

และปรับกลยุทธ์การดาเนินการ รวมทั้งทรัพยากร ข้อจากัด

มากาหนดเป็นแนวทางในการพัฒนาร่วมกันกับผู้บริหาร รูปที่ 4.2 ระบบการวดั วิเคราะห์ ตวั ช้วี ดั

หนว่ ยงานและเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้อง พร้อมทั้งนาไปวิเคราะห์และใช้ประกอบการตัดสินใจ ในการปรับยุทธศาสตร์ และวิธีการ

ทางาน โดยมอบหมายให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องนาไปปรับปรุงผลการดาเนินงานให้เป็นไปตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ รวมท้ัง

กรมได้มีการประเมินคุณภาพภายในทุกปี เพ่ือประเมินความสาเร็จและค้นหาโอกาสในการพัฒนาต่อเนื่องตามระบบการ

ปรบั ปรงุ ผลการดาเนินการ สรา้ งนวตั กรรมและแนวปฏบิ ตั ิทีด่ ี (Best Practice)

4.1 ค กรมฯ มีการกาหนดเปูาหมายการดาเนินงานของปีถัดไปต้องมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้น หรือมีคุณภาพมากขึ้น

กาหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักและผู้รับผิดชอบร่วมไว้อย่างชัดเจน กากับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตาม

แผนงาน โครงการท่ีรับผิดชอบ เช่น การรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการสาคัญของกระทรวงสาธารณสุข 5 โครงการ

เชน่ การพฒั นา อสม. เป็นหมอประจาบ้าน การเสริมสร้างศักยภาพการดูแลตนเองระดับครอบครัว (อสค.) การพัฒนา อสม.

สู่ อสม. 4.0 โครงการสง่ เสริมพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ และการจัดตั้งและพัฒนามาตรฐานของสุข

ศาลาพระราชทานตามพระราชดาริ ภาพที่ 7.2(3) การพัฒนาศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ และนาผลจากการทบทวน มาคัดเลือก

เรื่องที่ต้องการนามาจัดลาดับความสาคัญในการปรับปรุง พิจารณาน้าหนักของตัวชี้วัดและผลกระทบท่ีสาคัญของการ

ดาเนินการ และนาไปสู่การปรับปรุงกระบวนการทางานอย่างต่อเนื่องร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง รวมท้ังนาไปกาหนดกล

ยุทธ์ สร้างนวัตกรรม ผลักดนั ให้บุคลากรทกุ ระดับร่วมกนั ผลิตนวตั กรรม สอ่ื สารถ่ายทอดไปสู่ผู้รับบริการ ผู้ส่งมอบ ผู้มีส่วน

ได้สว่ นเสยี นาไปสู่การปฏิบตั อิ ย่างสอดคล้องไปในทศิ ทางเดียวกัน ดงั ผลลพั ธ์ภาพท่ี 7.1(8)-7.1(9)

4.2 การจดั การสารสนเทศ และการจดั การความรู้

4.2ก. สบส. มีสานักผู้เช่ียวชาญเป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการจัดตั้งคณะกรรมการวิชาการ และการจัดการ

ความรู้ของกรมฯ ขบั เคลื่อนพัฒนามาตรฐานงานวชิ าการและนวตั กรรมของกรมฯ และจัดต้ังหน่วยงานส่วนภูมิภาค คือ ศูนย์

พัฒนาการสาธารณสุขมูลฐาน 5 แห่ง ในการขับเคลื่อน ส่งเสริม

พัฒนา และสนับสนุนการทางานของภาคีเครือข่ายในระดับพื้นท่ี

การส่งเสริมให้เกิดต้นแบบในการจัดการสุขภาพ การคัดเลือก อส

ม. ดีเด่น ระดับเขต ภาค และการพัฒนาวิชาการ พัฒนาหลักสูตร

การอบรม และการค้นหานวัตกรรมและองค์ความรู้ในการจัดการ

สุ ขภาพของชุ มชนด้ วยการจั ดการความรู้ และถอดบทเรี ยน

ความสาเร็จของการดาเนินงาน (Best Practice) รวบรวมองค์

ความร้ทู ีส่ ร้างความเข้มแข็งด้านสังคม ชุมชน และพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตประชาชนตามยุทธศาสตร์ของประเทศ มีกระบวนการจัดการ รูปท่ี 4.3 กระบวนการบรหิ ารจดั การความรู้กรม สบส.

38

ความรู้ KM HSS อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยการได้มาขององค์ความรู้ การจัดเก็บความรู้ การเผยแพร่ และการนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์ ของกรม สบส. โดยมีคณะกรรมการ KM แต่ละภารกิจ วิเคราะห์และคัดเลือกองค์ความรู้ท่ีจาเป็นและที่
สาคัญตามภารกิจกรมฯ ค้นหาองค์ความรู้จากบุคลากร ผู้รับบริการ คู่ความร่วมมือ ผู้ส่งมอบ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้
เกษียณ รวบรวม กล่ันกรอง วิเคราะห์จัดหมวดหมู่องค์ความรู้ ถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากร และ
กลุ่มเปูาหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการจัดการความรู้จากหน่วยงาน Best Practice พัฒนากระบวนการทางานให้มี
ประสทิ ธภิ าพมากขึ้น สรุปบทเรียน (AAR) และพัฒนาต่อยอดงานประจาสู่งานวิจัย (Routine to Research: R2R) เช่น การ
พัฒนาองค์ความรู้ อสม. ในการดูแลสุขภาพตามกลุ่มวัยผ่านคลังข้อมูลออนไลน์ รูปแบบตาบลจัดการสุขภาพ กรมได้รับ
รางวัลการมีส่วนร่วมระดับดีเยี่ยมและระดับดีในการต่อยอดปี 2559 และ 2560 โดยนารูปแบบที่ได้นาไปเป็นกลไกการ
พัฒนาระดับอาเภอ (พชอ.) สู่การเป็นตาบลจัดการคุณภาพชีวิตที่ดี แนวทางปฏิบัติการปูองกันการติดเช้ือในคลินิก
นวัตกรรมชุมชน อสม.ดีเด่น มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ตู้ควบคุมปูองกันการแพร่กระจายเชื้อจุดพ่นยา (A2M2) รถเข็น
ผู้ปุวยควบคุมการแพร่กระจายเช้ือทางอากาศ (A1M1) และบัตร SMART CARD อสม. เผยแพร่ทาง KM Website
YouTube อสม. ดีเด่น ทาง Facebook Live, Line จุลสาร สบส. ซอย 8 ออนไลน์ นิทรรศการ การประชุมวิชาการกรมฯ มี
การถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นระบบ การจัดทาคลังความรู้สุขภาพ กระทรวง สธ. สาหรับประชาชน http://ความรู้สุขภาพ.
com สนับสนุนให้หน่วยงานท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ส่งประกวดผลงานวิชาการในเวทีต่างๆ และส่งผลงาน
นวัตกรรมประกวดรางวัลเลิศรัฐ สานักงาน ก.พ.ร. จนเกิดเป็นนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ของบุคลากรในกรม มีการจัด
บรรยากาศแห่งการเรียนรู้ เช่นเวทีแลกเปลี่ยนในการประชมุ กรม ตลาดนัดเพ่ือสุขภาพ YouTube Facebook Live 3 นาที
โดย อสม. ดเี ดน่ ในพนื้ ทตี่ ่างๆ มกี ารเก็บและรักษาความร้โู ดยจัดเกบ็ เป็น Innovation Store เผยแพร่บนเวบ็ ไซต์ สบส.

4.2 ข. กรมมีการบริหารจัดการข้อมูลของกรมฯ ตามมาตรฐานสากล ISO 27001 มีคณะทางานรักษาความม่ันคง
ปลอดภัยดา้ นสารสนเทศ รกั ษาความม่ันคงปลอดภัยด้านสารสนเทศให้เป็นไปอย่างต่อเน่ืองมีประสิทธิภาพ มีการวิเคราะห์
สถานการณ์ความมน่ั คงด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ วางแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาดจิ ทิ ลั ระยะ 5 ปี ของกรมฯ การจัดทาแผน
แม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และพัฒนาระบบ IT ตามมาตรฐาน ISO การรักษาความมั่นคงปลอดภัย
วิเคราะห์ความเสี่ยงของระบบเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านภัยคุกคามทางไซเบอร์ (Ransom ware) ส่งผลให้ระบบงานเกิดความ
เสียหาย การ Hack ข้อมูลสาคัญกับระบบงานของกรมฯ จึงได้กาหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยสารสนเทศและแนว
ทางการปูองกัน Ransom ware และมีมาตรการและวิธีการรักษาความม่ันคงปลอดภัยเว็บไซต์ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง
ของระบบเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านภัยคุกคามทางไซเบอร์ (Ransom ware) ส่งผลให้ระบบงานเกิดความเสียหาย การ Hack
ข้อมูลสาคัญกับระบบงานของกรมฯ จึงได้กาหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยสารสนเทศและแนวทางการปูองกัน
Ransom ware และมีมาตรการและวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์ และมี Secured Socket Layer (SSL)
ปูองกันการทาธุรกรรมทางการเงินผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตของกรมฯ อีกท้ังมีการจัดทาฐานข้อมูลกลาง เพ่ือใช้ในการ
บริหารจัดการและปฏิบัติงาน การสร้างระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การใช้ Access Rights ในการเข้าถึงข้อมูลใน
ลาดับชั้นต่างๆ ระบบ Anti-Virus มาตรการปูองกันความเสียหายของข้อมูล และการกู้ข้อมูล (Recovery) ซ่ึงผลการสารวจ
ระดับความพร้อมรัฐบาลดิจิทัลหน่วยงานภาครัฐ (DGA) มีคะแนนรวมสูงกว่าค่าเฉล่ียของหน่วยงาน สังกัดกระทรวง สธ.
และสงู กว่าคา่ เฉลี่ยของหนว่ ยงานระดับกรม 2 ปีซ้อน ในปี 2561- 2562 มีคะแนน DGA ที่ระดับคะแนนท่ี 62.9 และ 76.96
ตามลาดับ มติ ทิ ี่โดดเด่นท่สี ุด คอื มติ บิ ริการภาครัฐ และโครงสร้างพื้นฐานความมน่ั คงปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ แสดงให้
เห็นว่ากรมฯมีศักยภาพในการนาเทคโนลีดิจิทัลไปใช้ในการบริหารจัดการรูปแบบการให้บริการแก่ประชาชน พร้อมท้ังมี
ความม่ันใจว่าเข้าถึงได้อย่างปลอดภัย รวมทั้งมีการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการรักษาความม่ันคงปลอดภัยด้าน
สารสนเทศภายในหนว่ ยงานตามมาตรฐานและแนวทางท่ีกรมฯ กาหนด

กรมฯ มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีออกแบบระบบตามประเภทสารสนเทศและกลุ่มผู้ใช้บริการ เพื่อให้สามารถเข้าใช้
ระบบได้สะดวก ง่าย รวดเร็ว และสนับสนุนการบริหารงานตามภารกิจ ได้แก่ การเช่ือมโยงระบบข้อมูล Data Center และ Data
site สาหรับ ศบส.ท่ี 1-12 และ สสจ. การบูรณาการฐานข้อมูลหน่วยงานภายในกระทรวง สธ. ได้แก่ กรม สบส. สานักงาน

39

คณะกรรมการอาหารและยา และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อให้บริการแก่ประชาชนแบบองค์รวม ผ่านระบบ MOPH Biz

Portal พัฒนานวัตกรรมระบบ อสม. พัฒนาระบบธุรกิจบริการสุขภาพ กรม สบส. และยกระดับให้บริการผ่านระบบ Biz Portal

ท่ัวประเทศ พัฒนารูปแบบการให้บริการเป็น e-Service ทุกประเภทบริการ การจัดทา QR Code โดยการส่งเสริมให้ทุก

หน่วยงานใช้ในการงดผลิตเอกสาร การประชุม การประชุมสัมมนาแบบ VDO Conference และถ่ายทอด Facebook Live ระบบ

การจองห้องประชุมออนไลน์ เพื่อลดระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง พัฒนาการสื่อสารกับประชาชนได้ สะดวก รวดเร็ว

เข้าถึงง่ายในแต่ละพ้ืนท่ี เช่น การถ่ายทอด Health Literacy ผ่าน App. Smart อสม. ระบบเบิกจ่ายเงินค่าปุวยการผ่าน e-

payment ระบบรบั เรอ่ื งร้องเรียน (E-Complain) รับขอ้ เสนอแนะผา่ น Application Line, Facebook, Website

หมวด 5 การมุ่งเนน้ บคุ ลากร

5.1 สภาพแวดล้อมด้านบคุ ลากร

5.1 ก กรม สบส. ปรับโครงสร้างของหน่วยงานส่วนภูมิภาค ให้สอดคล้องกับภารกิจของกรม วางแผนกาลังคนให้เพียงพอใน

การปฏิบัติงานใหม่ โดยปรับเกล่ียอัตรากาลังจากส่วนกลางไปยังส่วนภูมิภาค ทาให้อัตรากาลังของ ศบส.เขตท่ี 1-12 และ

สสม.ทั้ง 5 แห่ง และเกล่ียอัตรากาลังภายในหน่วยงานส่วนภูมิภาคให้เป็น Core Function สาหรับส่วนกลางซึ่งเป็นHead

Quarter เพื่อให้การทางานมีความยืดหยุ่น เชื่อมโยง

สนองต่อสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลาและ

รองรับอนาคต การกาหนดสายงานหลักเป็น Cluster

ตามยุทธศาสตร์กรมฯ โดยแต่ละ Cluster ประกอบด้วย

Key Actor จากทุกหน่วยงานในการสร้างรูปแบบการ รปู ท่ี 5.1ระบบบรหิ ารจดั การบคุ ลากร
ทางานที่ตอบเปูาประสงค์ในเชิงยุทธศาสตร์ เชื่อมโยง

และบูรณาการ ลดความซ้าซ้อน มุ่งเปูาหมายที่มี

ประสิทธิภาพ เพื่อการบริหารจัดการครบทุกมิติ สร้าง

กลไกการทางานแบบคร่อมสายงาน เพื่อให้เกิด

ประสิทธิภาพในการทางานอย่างสูงสุด อีกท้ังมีการ รูปที่ 5.1 ระบบบรหิ ารจัดการบคุ ลากร

วางแผนบริหารกาลังคนรุ่นใหม่ (Talent) ยกระดับสมรรถนะกาลังคน ดึงศักยภาพคนรุ่นใหม่มาทางานท่ีท้าทาย (Dream

Team) โดยผู้บริหารกรมฯ ใช้ค่านิยม ส.บ.ส. เสริมสร้างวัฒนธรรมในการทางาน การบริหารงานด้านทรัพยากรบุคคล

ดาเนินการภายใต้กรอบการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) ตามประเมินขีดความสามารถ และอัตรากาลังให้

สอดคล้องกบั ภารกจิ ทั้งด้านจานวนและคณุ ภาพ เช่น กฎหมายและกลไกการคุม้ ครองผู้บริโภคด้านระบบริการสุขภาพ ระบบ

สุขภาพปฐมภูมิ งานสาธารณสุขมูลฐาน รวมทั้งระบบการบริหารอัตรากาลังทมี่ อี ยอู่ ย่างจากัด เช่น การกาหนดตาแหน่งและ

จัดสรรอตั รากาลงั สายงานหลัก/วชิ าชพี เฉพาะจากสว่ นกลาง ไปปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค กรมฯ มีนโยบายให้หน่วยงาน

เจ้าของตาแหน่งสังกัดส่วนกลางท่ีตั้งในภูมิภาค มีส่วนร่วมในกระบวนการสรรหา และคัดเลือกพนักงานราชการ เพ่ือให้ได้

บคุ ลากรทีม่ คี วามรู้ ความเขา้ ใจในวัฒนธรรมของพื้นท่ี ส่งผลให้เกิดความผูกพันกับองค์กร มีความสุขในการทางานและลด

อัตราการสูญเสียบคุ ลากร และการสูญเสยี อัตรากาลังจากการเกษียณอายุราชการ Gen BB กาลังหายไปจากระบบ และมีคน

Gen Y เป็นกาลังคนรุ่นใหม่ ทาให้เกิดปัญหาจากการสูญเสียประสบการณ์ และศักยภาพการนาในระดับประเทศ ปรับ

รูปแบบสรรหาบุคลากรทดแทนตาแหน่งว่างจากเกษียณอายุราชการล่วงหน้า เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ถ่ายทอดงานอย่าง

ต่อเนอื่ ง และจัดทาแผนเส้นทางความกา้ วหนา้ ในสายงานต่าง ๆ

5.1.ข กรมฯ ให้ความสาคัญกับการส่งเสริม พัฒนา ระบบการบริหารอัตรากาลัง และศักยภาพบุคลากรสู่ความเป็นเลิศ และ

พัฒนาคุณภาพชีวิต จัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมให้แก่บุคลากร โดยเน้นให้บุคลาการเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข ภายใต้

แผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล และ แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากร พ.ศ. 2561-2564 พัฒนาระบบโดยนา

เทคโนโลยีมาช่วย เช่น การประกาศรายชอ่ื ผมู้ ีคณุ สมบตั เิ ลื่อนระดับสูงข้ึน การประเมินผลการปฏิบัติราชการ การโยกย้ายผ่าน

ระบบออนไลน์ฯ การสร้างเครือข่ายด้าน HR ภายในกรมฯ ที่เข้มแข็ง เน้นการมีส่วนร่วมเพ่ือให้การบริหารงานด้านทรัพยากร

40

บุคคลตอบสนองต่อนโยบายของกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการวางแผนกาลังคน ให้ชัดเจนและเป็นรูปธรรม
เช่น แผนสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพ และระบบการพัฒนาบุคลากร มีการกาหนดหลักสูตรพัฒนา ที่มีความสาคัญต่อ
สมรรถนะหลักบรรลุเปูาหมายของกรมฯ ซึ่งจากโครงสร้างอายุของบุคลากร พบว่าในอีก 5 – 10 ปี จะมีผู้เกษียณอายุราชการ
คิดเป็นร้อยละ 4 ในปี 2567 จึงได้กาหนดให้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้จากข้าราชการท่ีจะเกษียณอายุราชการในอีก 5 ปี
ขา้ งหน้า เพื่อส่งมอบองค์ความรู้ท่ีสาคัญในการปฏิบัติงานจากรุ่นสู่รุ่นไม่ให้สูญหายไป กรมฯ มีการประเมินสภาพแวดล้อมใน
การทางาน วิเคราะหค์ วามต้องการในการปรับปรงุ สภาพแวดล้อมในการทางานของบุคลากร นาผลการวิเคราะห์มาใช้ปรับปรุง
ปัจจัยและสภาพแวดล้อมในการทางานด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสวัสดิภาพ เช่น มีมาตรการระบุตัวตน จนท. แสดง
บัตรประจาตัวในการเข้า/ออกอาคาร ลานกิจกรรม (ลาน สบส. สุขใจ) การซ้อมแผนอัคคีภัย กิจกรรม 5ส. เป็นเวทีผู้บริหารได้
พบปะเจ้าหน้าที่ เพื่อลดช่องว่างในการทางาน มีนโยบายในการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อให้บุคลากรปฏิบัติงานได้อย่างเต็ม
ความสามารถและมีประสทิ ธภิ าพ ได้แก่ มีคาส่ังมอบอานาจท่ีชัดเจนในการกระจายอานาจการตัดสินใจสู่ผู้บังคับบัญชาระดับ
หน่วยงานอย่างเป็นระบบ มีการจัดทาฐานข้อมูลเพื่อใช้สนับสนุนการทางาน และการแก้ปัญหาการทางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ เช่น ระบบ smart 63 ฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคล เช่น ระบบของสานักงาน ก.พ.(DPIS), ระบบบาเหน็จ
บานาญ, ระบบจ่ายตรงเงินเดือน ลดข้ันตอนการทางานและประหยัดเวลา สร้างเครือข่ายและสามารถปฏิบัติงานร่วมกันทั้งใน
ภาครัฐและเอกชน เช่น สานักงาน ก.พ. สถาบันการศึกษา หน่วยงานหลักสูตรผู้บริหาร ได้แก่ การอบรมข้าราชการใหม่
ร่วมกับสถาบันฝึกอบรม และสานักงาน ก.พ. ให้สอดรับกับบริบทกรม และส่งเสริมให้บุคลากร สร้างสรรค์ผลงาน
นวัตกรรม ได้แก่ การพัฒนาแบบอาคารสมรรถนะสงู Green Hospital ร่วมกบั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
5.2 ความผูกพนั ของบคุ ลากร
5.2.ก. กรมฯ มีแนวทางการสร้างวัฒนธรรมให้แก่บุคลากรในการทางานอย่างมืออาชีพ ตั้งแต่เร่ิมเข้ามาปฏิบัติงานท่ีกรมฯ
ผ่านการอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ รับโอนย้าย และพนักงานราชการใหม่ของกรมฯ รับทราบโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
นโยบายการบรหิ ารงาน บทบาท ภารกิจ และอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ กฎระเบียบ หลักเกณฑ์ สิทธิประโยชน์ สวัสดิการ
รวมทั้งปลูกจิตสานึกการเป็นบุคลากรภาครัฐที่ดี เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนร่วมงานเกิดการเรียนรู้ และ
แลกเปล่ียนประสบการณ์ร่วมกันนาไปสู่ผลการดาเนินการท่ีดี นาโดยผู้บริหารระดับสูง ใช้ค่านิยม สบส เสริมสร้างวัฒนธรรม
การทางาน ประกาศนโยบายด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ให้บุคลากรเป็น คนเก่ง คนดี มีความสุข เร่ิมต้นจาก
บุคลากรใหม่ถงึ เกษยี ณอายรุ าชการ กาหนดหลกั สูตรการพฒั นาให้สอดคล้องกับบุคลากรทุกระดับ กาหนดให้มีจิตสาอาเราทา
ความดีด้วยหัวใจ กิจกรรมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม เช่น การเก็บขยะและกวาด ทาความสะอาดบริเวณ
อาคารกรมฯ กาหนดให้มีโครงการสานสัมพันธ์เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้ กิจกรรมกีฬา มีการขับเคล่ือน
ค่านิยมและส่งเสริมให้บุคลากรเป็นคนเก่ง และคนดี สอดคล้องตามวัฒนธรรมองค์การ ยกย่องชมเชยสร้างขวัญกาลังใจผู้ท่ีมี
ผลงานดีเด่นท่ีเสริมสร้างผู้รับบริการและภารกิจจนบรรลุผลสาเร็จ เข้าร่วมกิจกรรมองค์การสม่าเสมอ มีวินัย ซื่อสัตย์ มี
จริยธรรม และจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน ส่งเสริมค่านิยม สร้างสรรค์สิ่งใหม่ บริการด้วยใจ ผ่านกระบวนการ
Empowerment ให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว เกิดความคิดริเร่ิม สร้างนวัตกรรมทั้งในรายบุคคลและ
หนว่ ยงาน เผยแพร่ผ่าน Website, โครงการสานสัมพันธ์เสริมสร้างวัฒนธรรมร่วมกัน สาธารณะประโยชน์ต่าง ๆ เช่น กิจกรรม
จิตอาสา ทาบุญตักบาตตามประเพณี กิจกรรมการบริจาคส่ิงของให้กับผู้ประสบภัยพิบัติต่าง ๆ เพ่ือให้บุคลากรได้มีโอกาสใน
การทาบุญร่วมกนั ร้จู กั การเสยี สละ เป็นการสานสมั พันธร์ ะหว่างบุคลากร ผู้บรหิ าร แลกเปลยี่ นประสบการณ์กนั
5.2 ข. จากการทบทวน และกาหนดประเด็นสาคัญในการพัฒนาที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากร ในช่วงปีที่ผ่านมา
กรมฯ ได้ให้ความสาคัญ ประชาสัมพันธ์ และจัดส่งแบบสอบถามไปยังบุคลากรตามช่องทางต่าง ๆ จากผลการสารวจ
Happinometer ใน 9 ด้าน ในปี 2563 พบว่า ผลการประเมินความผูกพนั ของบุคลากร อยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างดี
ปัจจัยสาคัญท่ีส่งผลต่อความผูกพัน คือ ความมั่นคงในอาชีพท่ีปฏิบัติงานอยู่ที่หน่วยงานได้รับการปฏิบัติจากกรมฯ
อย่างถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน และพ.ร.บ.ข้าราชการ พ.ศ.2551 การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทางาน
ค่าตอบแทนที่ได้คุ้มคา่ มโี อกาสได้แสดงความคิดเหน็ กบั ผบู้ งั คับบัญชา รวมทั้งยกย่องชมเชย การคัดเลือกคนดี บุคลากร


Click to View FlipBook Version