The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ที่จัดโดยสำนักงาน ก.พ.ร. ประจำปี 2564 จำนวน 3 รางวัล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by opdc.hss, 2021-09-17 02:28:46

ผลงานรางวัลเลิศรัฐ ประจำปี 2564 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ที่จัดโดยสำนักงาน ก.พ.ร. ประจำปี 2564 จำนวน 3 รางวัล

91

หลักการสาคัญของการยน่ื ขออนญุ าตด้วยวดี โิ อ ดังน้ี
1. คลินิกจะต้องถ่ายวีดิโอต่อเนื่องและมีการบรรยายทุกจุดตามรายการท่ีกาหนด โดยไม่มีการ

ตดั ตอ่ คลปิ และมคี วามยาวในการบรรยายวีดิโอประมาณ 15 นาทขี นึ้ ไป
2. พนักงานเจ้าหน้าที่ ตรวจมาตรฐานสถานพยาบาล ได้ตามบันทึกการตรวจมาตรฐานคลินิก

แต่ละประเภท ซง่ึ ต้องคงไว้ซ่งึ ระเบยี บ และวิธีการตามพรบ.สถานพยาบาล 2541
3. หากพนกั งานเจ้าหน้าที่ตรวจวีดิโอแล้ว พบว่า คลินิกไม่ดาเนินการตามหลักการข้างต้น ก็จะชี้แจง

ให้คลนิ ิกแกไ้ ข จนกวา่ จะเป็นไปตามมาตรฐานทกี่ ฎหมายกาหนด
4. หากพนักงานเจา้ หน้าที่ใช้ดลุ พนิ ิจแล้วพบว่าคลนิ ิกมกี ารปะปนพื้นท่ีจากกิจการอื่นหรือดาเนินการ

ไม่ตรงไปตรงมา ก็จะนดั หมายเพ่อื ลงพน้ื ที่ตรวจคลินิกซา้ อีกรอบ
5. การนาผลการจรวจประเมนิ ฯ เสนอคณะอนุกรรมการสถานพยาบาล เพื่อพิจารณาอนุญาตต่อไป
6. หลงั จากการออกใบอนุญาตฯ กรม สบส. จะมที มี สมุ่ ตรวจประเมินมาตรฐานฯ โดยมิแจ้งลว่ งหน้า

เอกสารรายการภาพถา่ ยวดิ ีโอเพื่อนาเสนอคณะอนกุ รรมการสถานพยาบาลประเภทท่ีไม่รับผ้ปู ุวยไวค้ ้างคนื

92

ตัวอยา่ งภาพถา่ ยวดิ ีโอประกอบการยนื่ ขออนุญาตเปิดสถานพยาบาลท่ไี มร่ ับผ้ปู ุวยไวค้ า้ งคนื

93

5.2) การตรวจมาตรฐานสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพประเภทกิจการนวดเพ่ือสุขภาพหรือเพื่อ
เสริมความงาม

ในปี 2563 มีสถานประกอบการเพือ่ สุขภาพประเภทกิจการนวดเพ่ือสุขภาพหรือเพ่ือเสริมความงามย่ืน
ขอรับใบอนุญาตจานวน 865 แห่ง และแจ้งความประสงค์ต้องการตรวจประเมินมาตรฐานด้วยรูปถ่ายและ
วิดีโอ จานวน 340 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 39 สามารถประหยดั งบประมาณได้ 680,000 บาท
หลกั การสาคญั ของการย่นื ขออนุญาตดว้ ยวีดิโอ ดังน้ี

1) เปน็ การตรวจเฉพาะกจิ การนวดเพื่อสุขภาพหรอื เพ่อื เสรมิ ความงามท่มี ีรายละเอียดไม่มาก
2) ยนื ยนั ท้งั รปู ถ่ายและวดิ ีโอ ซงึ่ กองสถานประกอบการเพือ่ สุขภาพ ได้กาหนดแนวทางการบันทึกภาพ

สง่ ไปให้
3) กรณีสถานประกอบใดไม่มีความม่ันใจว่าจะมีมาตรฐานพนักงานเจ้าหน้าที่จะลงตรวจก่อนอนุญาต

(ซึง่ ทีผ่ ่านมาไม่มี)
4) หลังจากท่ีมีการอนุญาตข้อมูลจะนาส่งกลุ่มเฝูาระวัง เพื่อดาเนินการ Post audit สุ่มประเมินผล

ปรากฏว่าสถานประกอบการ ส่วนใหญ่ร้อยละ 92.5 มีมาตรฐานตามที่กฎหมายกาหนด มีเพียง
บางสว่ นท่ีต้องแกไ้ ขเล็กน้อย
5) ซ่งึ การดาเนินการเฝูาระวังการอนุญาต เป็นการดาเนินการตามปกติสาหรับสถานประกอบการเพื่อ
สุขภาพท่ีผ่านการอนุญาตแล้วและได้รับการร้องเรียน รวมทั้ง มีเกณฑ์การ ประเมินสถาน
ประกอบการท่ีเปน็ กลุ่มเส่ยี ง ไดแ้ ก่

1. กลุ่มเสีย่ งไมม่ ีมาตรฐาน
2. กลมุ่ เส่ยี งสถานประกอบกิจการไมต่ รงกับทไี่ ด้รับอนุญาต
3. กลมุ่ เสี่ยงคา้ ประเวณี
4. กล่มุ เสย่ี งไม่มีใบอนญุ าต
ทงั้ นเ้ี พอ่ื เปน็ การคุม้ ครองผูบ้ ริโภคใหไ้ ดร้ บั บรกิ ารท่ีมคี วามปลอดภัยและสมประโยชน์

****************************************************

94

95

หมวด 7
ผลลัพธก์ ารดาเนนิ การ

96

ผลลพั ธก์ ารดาเนนิ การ

7.1 ผลลัพธ์ดา้ นประสทิ ธิผลและการบรรลพุ นั ธกิจ
ผลลัพธ์ของการดาเนินงานท้ัง 3 ภารกิจ ดังน้ี ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบริการสุขภาพ พบว่า

ประชาชนได้รบั บรกิ ารทมี่ ีคุณภาพ ปลอดภยั และมีมาตรฐานมากข้ึน สะท้อนจากตัวช้ีวัดที่มีการบูรณาการใหม่ คือ ร้อยละ
ของสถานพยาบาลภาคเอกชน และสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ตามมาตรฐานท่ีกฎหมายกาหนด มีผลลัพธ์อยู่
ในระดับสูง ดังภาพท่ี 7.1(1) และสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ผ่านมาตรฐานมีผลลัพธ์ท่ีเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง ดังภาพท่ี
7.1(2) ท้ังสถานพยาบาลกลุ่มเสี่ยงและสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพได้รับการเฝูาระวังตามที่กฎหมายกาหนดได้รับการเฝูา
ระวังตามกฎหมายเพิ่มข้ึนตามภาพท่ี 7.1(3) และ 7.1(4) และส่งเสริมคุณภาพ มาตรฐานของของสถานประกอบการเพ่ือ
สุขภาพตามภาพท่ี 7.1(7) ด้านมาตรฐานระบบริการสุขภาพ พัฒนายกระดับสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน และสถาน
ประกอบการเพอื่ สุขภาพ ให้ไดม้ าตรฐานระบบบรกิ ารสุขภาพ ดังภาพที่ 7.1(5) และ 7.1(6)

ด้านสุขภาพภาคประชาชน พบว่า มีการพัฒนา อสม. เป็น อสม. 4.0 และมีศักยภาพเป็น อสม. หมอ ประจาบ้าน ดัง
ภาพที่ 7.1(8) ประชาชนมคี วามรดู้ ้านสขุ ภาพ ดแู ลสุขภาพตนเองไดถ้ กู ต้อง สะทอ้ นจาก ภาพท่ี 7.1(9)
7.2 ผลลัพธ์ด้านการให้ความสาคัญผู้รบั บริการและผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสีย

ผลลพั ธ์ในภาพรวมในการยกระดับการบริการ และกระบวนการใหบ้ รกิ ารท่ีสะดวกรวดเร็ว และตรงใจกับผูร้ ับริการ
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งในปัจจุบันและอนาคต พร้อมทั้งสอดคล้องกับเปูาหมายและยกระดับคุณภาพและประสิทธิภาพการ
บริการอนั นาไปสู่ความพงึ พอใจและความเช่ือม่นั ตอ่ สบส.ที่เพ่ิมขึ้น พบว่า ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียความพึงพอใจต่อ
การให้บริการที่สูงขึ้นทุกปี และมีความพึงพอใจต่อการใช้การให้บริการของกรมในรูปแบบใหม่โดยนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ ดัง
ภาพที่ 7.2(1)และ7.2(2)ประชาชนในพ้นื ท่สี ขุ ศาลาพระราชทานเข้าถึงบริการสขุ ภาพท่มี คี ณุ ภาพภาพที่ 7.2(3)

97

มีเครือข่ายเข้าร่วมกจิ กรรมอสม.จิตอาสาสูงข้นึ ภาพ7.2(4)มีของผู้ปุวยได้รับการดูแลจากอสม.ภาพ7.2(6)ผู้รับบริการและผู้มีส่วน
ได้ส่วนเสยี ที่ตอ้ งการบริการท่ถี ูกตอ้ งแมน่ ยารวดเรว็ โปร่งใสและยกระดับคณุ ภาพชีวิตกรมฯไดม้ ีการทบทวนปรับปรุงและพัฒนา
นวัตกรรมการบริการใหม่ๆที่เพิ่มข้ึนทุกปี ดังภาพ7.2(7)มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในหลายรูปแบบ เชื่อมโยงกับเปูาหมายรัฐบาล
และครอบคลุมภารกิจของกรมฯได้แก่ การพัฒนาระบบการอนุญาตและการขึ้นทะเบียนทางออนไลน์ ผ่านระบบ CentralBiz Portal
และชาระค่าธรรมเนียมผ่านทางธนาคารและเช่ือมโยงกับระบบ E-Payment ของกรมบัญชีกลางส่งผลให้มีผู้ใช้บริการผ่านระบบ
ออนไลนใ์ นการขออนุญาตและการชาระค่าธรรมเนยี มที่สงู ข้ึน ดังภาพที่ 7.2(5)-7.2(9)
7.3 ผลลัพธด์ ้านการมุ่งเน้นบุคลากร

ผลลัพธ์ภาพรวมด้านขีดความสามารถและอัตรากาลังบุคลากรมีแนวโน้มดีข้ึน จากการทบทวนอัตรากาลัง
และปรับโครงสร้างรองรับระบบบริการสุขภาพ พบว่า บุคลากรมีสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติและมี
สมรรถนะท่ีจาเป็นเพิ่มข้ึน และสูงกว่าค่าเปูาหมายท่ีกาหนด ดังภาพที่ 7.3(1) มีการนาหลักการ Happy Work
Place มาใช้ในการจัดสภาพแวดล้อมการทางาน ส่งผลให้การตรวจสุขภาพประจาปี ภาพ 7.3(2) สอดคล้องกับ
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข “เจ้าหน้าที่มีความสุข” ในการทางานสร้างผลงานท่ีดีและรู้สึกผูกพันกับองค์กร ส่งผลกับ
ผลลพั ธด์ า้ นความผกู พนั ต่อองค์กร พบวา่ บคุ ลากรมคี วามผูกพันกับองค์กร ดงั ภาพท่ี 7.3(9)

98

และเข้ารว่ มเปน็ จิตอาสาอยา่ งพรอ้ มเพรยี ง ภาพ 7.3(3)ผลลพั ธด์ ้านการพัฒนาบุคลากรและผู้นาด้านระบบริการสุขภาพ พบว่า
จานวนผู้นาของกรม สบส. ที่ได้รับการพัฒนาตามหลักสูตรของกรมฯ กาหนด มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี และมีการวาง Road
Map ในการพฒั นาบคุ ลากรทง้ั ระดับผู้นาและบคุ ลากรอย่างชัดเจน ดงั ภาพ7.3(4) - 7.3(9)

7.4 ผลลพั ธด์ า้ นการนาองค์กรและการกากบั ดแู ล
ผลลัพธ์ด้านการนาองค์การ พบว่า ผู้บริหารกาหนดทิศทางในการสร้างขีดความสามารถขององค์กร ขับเคลื่อนให้

ไปสู่เปูาหมายขององค์กรภายใต้ระบบการนาองค์กรที่เข้มแข็ง บุคลากรยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาลผ่านการเป็นแบบอย่างที่ดี
ของผู้บริหาร เพอ่ื ใหม้ ัน่ ใจในการขับเคลื่อนท่ัวท้ังองค์กร ท้ังมีการติดตามตัวชี้วัดท่ีสาคัญของ ผลดาเนินการตามภาพที่ 7.4(1)
หน่วยงานได้รับการตรวจระบบควบคุมภายในพร้อมทั้งนาผลการตรวจสอบไปใช้ปรับปรุงผลการดาเนินงาน และมีผลการ
พัฒนาปรับปรุงเพ่ิมข้ึน ดังภาพท่ี 7.4(2) มีการประชุมที่ผู้บริหารติดตามการปฏิบัติงาน และมีความสาเร็จของการประชุม
ติดตามผลการปฏิบัติงาน ท่ีแสดงในภาพ 7.4(4) และ 7.4(3) มีจานวนฉบับกฎหมายที่ได้รับการทบทวนปรับปรุงและ
ประกาศใช้ในการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคดา้ นระบบบริการสุขภาพมากขนึ้ ในทุกๆปี ภาพท่ี 7.4(5) กรม สบส. ไดใ้ ชแ้ นวทาง

การบริหารจัดการดว้ ยหลักธรรมาภบิ าลเป็นสาคัญมีหลกั สตู รกิจกรรมจริยธรรมความโปร่งใสที่เพ่ิมข้ึนภาพ7.4(12)การประเมิน
ผู้บริหารองค์กร ด้านการสร้างคุณธรรม จริยธรรมในองค์กร/การเสริมสร้างขวัญกาลังใจและการดูแลเอาใจใส่บุคลากรกรมฯ มี
ผลลพั ธ์ท่สี งู ข้นึ ดังภาพท่ี 7.4(10)การจดั การเรอ่ื งร้องเรยี นบคุ ลากรทปี ระพฤติตนผิดวินยั ดงั ภาพที่ 7.4(6)สง่ ผลให้

99

ไดร้ ับรางวลั ดา้ นคณุ ธรรมและความโปร่งใสจากหน่วยงานภายนอก ภาพ 7.4(7) บุคลากรกรมฯ ได้รับรางวัลข้าราชการพลเรือน
ดีเดน่ /คนดศี รสี าธารณสขุ และเป็นบุคคลตัวอย่างด้านต่างๆ ดังภาพที่ 7.4(8) และ 7.4(9) และผลการประเมินผู้บริหารองค์กร
ภาพรวม 100 % ภาพที่ 7.4(11)

7.5 ผลลัพธด์ า้ นงบประมาณการเงนิ และการเติบโต
ผลลัพธภ์ าพรวมด้านงบประมาณและการเงนิ มแี นวโน้มท่ดี ี จากการท่ี สบส. มกี ารจดั สรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่าตามภาพ

ที่ 7.5(1)และ7.5(2)รวมทง้ั มีการนาองคค์ วามรู้ เทคโนโลยใี หม่ๆมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินโครงการตามภาพท่ี 7.5(5) และมีการ
พัฒนาระบบ SMART 63 ในการรายงานผลการดาเนินการและการเบิกจ่ายงบประมาณผ่านระบบออนไลน์ เชื่อมโยงกับระบบ
GFMIS เพอื่ กากับด้านการใช้งบประมาณ และผลการดาเนินงานแบบ Real Time เสนอผู้บริหารประกอบในการบริหารจัดการ
และตดั สนิ ใจได้ทันที มจี านวนสถานบรกิ ารสุขภาพภาครัฐผ่านมาตรฐานระบบบริการ

สุขภาพเพ่ิมขึ้นอย่างมาก ภาพท่ี 7.5(3) และ มีระบบการดูแลการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนแบบไร้รอยต่อ ภาพ 7.5(4) มีการ
ส่งเสรมิ พฒั นาสถานพยาบาลใหม้ ีศักยภาพในการแขง่ ขันด้านอตุ สาหกรรม ภาพท่ี 7.5(6)
7.6 ผลลพั ธด์ ้านประสิทธผิ ลของกระบวนการและการจัดการเครอื ขา่ ยอุปทาน

สบส.มีการกาหนดตวั ชีว้ ดั ท้งั ในกระบวนการหลกั และสนับสนนุ และมีการติดตามผลการดาเนินการอยา่ งตอ่ เนื่องผลลัพธ์
ภาพรวมด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกระบวนการมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้น ส่งผลได้รับรางวัลดังภาพ 7.6 (1) กรมฯ มีความ
พร้อมสาหรับการเป็นรัฐบาลดิจิทัลและมีความพร้อมในการกู้คืนข้อมูล ภาพที่ 7.6(2)และ7.6 (11) มีการพัฒนาประสิทธิภาพ
กระบวนงานของกรมฯมีแนวโนม้ ที่สูงข้นึ

100

*************************************************************************

101

รางวลั บริการภาครฐั ระดบั ดีเด่น

“การพฒั นาระบบส่ือสารสาหรบั งานบริการ
ดา้ นการแพทยฉ์ ุกเฉินและสาธารณสุข”

(ผลงานของ กองวิศวกรรมการแพทย)์

ช่อื ผลงาน : การพัฒนาระบบส่อื สารสาหรับงานบริการด้านการแพทยฉ์ กุ เฉนิ และสาธารณสขุ

102

ช่อื ผลงาน : การพัฒนาระบบสอ่ื สารสาหรับงานบริการดา้ นการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสขุ
(Development of Communications System for Emergency Medical Services)

ช่อื สว่ นราชการ : กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ

หนว่ ยงานทร่ี ับผิดชอบผลงาน : กองวิศวกรรมการแพทย์

ชื่อผู้ประสานงาน นายธนั วา โทนวริ ัตน์ ตาแหน่ง นายช่างเทคนิคชานาญงาน

กองวิศวกรรมการแพทย์ เบอรโ์ ทรศัพท์ 0-2149-5680 ต่อ 1412

เบอร์โทรศพั ทม์ ือถือ 09-7041-1000 เบอรโ์ ทรสาร 0-2149-5657

e – Mail: [email protected]

103

บทสรปุ ผู้บรหิ าร (Executive Summary)
งานบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุขท่ัวประเทศมีการใช้ระบบสื่อสารอยู่ตลอดเวลา
ในการการประสานงาน เพ่ือรับข้อมูลผู้ปุวย ท่ีเกิดเหตุ และติดต่อทีมแพทย์เพื่อวินิจฉัย หาแนวทางการรักษา
ตั้งแต่เกิดเหตุ เม่ือมาถึงโรงพยาบาล ผู้ปุวยฉุกเฉินจะถูกส่งตัวเข้ารับการรักษาและช่วยชีวิตทันทีโดยไม่ต้องมา
เร่ิมนับหน่ึงใหม่ จากข้อมูลของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ.2563 มีผู้ปุวย
ฉุกเฉินท่ัวประเทศที่ต้องรับหรือส่งต่อในการรักษาพยาบาลมากกว่า 3,500,000 คน ซ่ึงเสียชีวิตก่อนนาส่ง
ประมาณ 25,000 คน และเสียชีวิตระหว่างนาส่งประมาณ 1,000 คน ดังน้ัน หากระบบสื่อสารขัดข้อง อาจทา
ใหก้ ารชว่ ยเหลือล่าชา้ ซง่ึ ส่งผลกระทบรา้ ยแรงตอ่ ชีวติ ผู้ปวุ ยได้

กรมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ โดยกองวิศวกรรมการแพทย์ซึ่งมีหน้าที่ในการพัฒนาส่งเสริม จัดระบบ
วศิ วกรรมการสื่อสารสาหรับระบบบริการสุขภาพของประเทศ จึงได้พัฒนาระบบสื่อสารสาหรับงานบริการด้าน
การแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุขเพ่ือรองรับผู้ปุวยฉุกเฉินทั่วประเทศที่มีประมาณ 2,000,000 คนต่อปี ตาม
แนวคิดพัฒนาอุปกรณส์ ือ่ สารด้วยเสียงทุกประเภททั้งระบบแอนะล็อกและระบบดิจิทัลให้สามารถสื่อสารกันได้
ภายใต้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ กล่าวคือทาให้เคร่ืองวิทยุคมนาคม สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์
สามารถสอ่ื สารกนั ได้ โดยใช้เทคนคิ การรวมสญั ญาณดว้ ยฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟตแ์ วร์ผ่านอนิ เตอร์เนต็ โปรโตคอล

ปจั จุบนั มกี ารใชง้ านระบบสื่อสารสาหรับงานบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุขท่ีพัฒนาข้ึน
ประมาณปลี ะ 500,000 ครงั้ และกรมสนบั สนุนบริการสุขภาพได้นาระบบสื่อสารน้ีไปใช้งานในโรงพยาบาลสนาม
ของ Thailand EMT (Thailand Emergency Medical Team)เพ่ือขอรับรองมาตรฐานจากองค์การอนามัยโลกซ่ึง
ประเทศไทยผ่านการรับรองมาตรฐาน EMT Type1 เป็นประเทศแรกของอาเซียนและประเทศท่ี 26 ของโลก
สามารถปฏิบตั ิงานชว่ ยเหลอื ด้านการแพทยฉ์ กุ เฉนิ และสาธารณสขุ เพอ่ื มนุษย์ธรรมไดท้ ัว่ โลก

หลังจากนาระบบส่ือสารที่พัฒนามาใช้งานทาให้ระบบสื่อสารสาหรับงานบริการด้านการแพทย์
ฉุกเฉินและสาธารณสุขมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีระบบสารองแบบคู่ขนาน มีอุปกรณ์สื่อสารเพียงพอพร้อมใช้
ระบบมีความปลอดภัยดักฟังได้ยาก ประยุกต์การใช้งานได้หลากหลาย เช่น ใช้สื่อสารกับผู้ปุวยติดเชื้อโรค
ระบาดหรือผกู้ กั กันโรค และที่สาคญั อปุ กรณส์ อื่ สารต่างประเภทกันสามารถติดต่อกันได้ เช่น เคร่ืองสมาร์ทโฟน
ท่ีผู้ปฏิบัติงานมีใช้กันทุกคนสามารถติดต่อสื่อสารกับเครื่องวิทยุคมนาคมได้ เพียงติดตั้งโปรแกรมและเชื่อมต่อ
เครอ่ื งแมข่ ่ายบริการ (SERVER) เท่าน้นั

104

มติ ิท่ี 1 การวเิ คราะห์ปญั หา
1.ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา

งานบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุขท่ัวประเทศ มีการใช้ระบบสื่อสารอยู่ตลอดเวลาใน
การการประสานงาน เพื่อรับข้อมูลผู้ปุวย ที่เกิดเหตุ และติดต่อทีมแพทย์เพื่อวินิจฉัย หาแนวทางการรักษา
ต้ังแต่เกิดเหตุ เม่ือมาถึงโรงพยาบาล ผู้ปุวยฉุกเฉินจะถูกส่งตัวเข้ารับการรักษาและช่วยชีวิตทันทีโดยไม่ต้องมา
เริ่มนับหน่ึงใหม่ จากข้อมูลของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ. 2563 มีผู้ปุวย
ฉุกเฉินท่ัวประเทศที่ต้องรับหรือส่งต่อในการรักษาพยาบาลมากกว่าสามล้านห้าแสนคน ซึ่งเสียชีวิตก่อนนาส่ง
ประมาณ 25,000 คน และเสียชีวิตระหว่างนาส่งประมาณ 1,000 คน ดังนั้น หากระบบส่ือสารขัดข้อง อาจทา
ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ลา่ ช้าซ่งึ สง่ ผลกระทบรา้ ยแรงตอ่ ชีวิตผู้ปุวยได้

ปี พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2563

ภาพท่ี 1 ภาพผ้ปู วุ ยฉุกเฉนิ ทัว่ ประเทศ

จากการวเิ คราะห์ระบบส่ือสารเดมิ สรุปไดด้ งั น้ี
กลมุ่ เปูาหมาย หน่วยงานและเจ้าหนา้ ที่ดา้ นการแพทยฉ์ กุ เฉนิ และสาธารณสขุ ทั่วประเทศ
ปญั หา ปญั หาระดบั ประเทศ

1.เครื่องมือสื่อสาร ต่างระบบ ต่างความถ่ี ตา่ งชนิด ติดต่อกันไม่ได้
2.เครื่องมือสอื่ สารมีจากัด
3.สญั ญาณส่ือสารไม่ครอบคลุมพื้นท่ี
4.ติดต่อสอ่ื สารแบบกลมุ่ ไม่ได้
5.ความปลอดภัยตา่ ดักฟงั ได้

มติ ิที่ 2 แนวทางการแกไ้ ขปัญหาและการนาไปปฏบิ ัติ
2. อธิบายเก่ียวกับผลงาน แนวคดิ การพฒั นาและการนาไปใช้ในการแก้ไขปัญหา

แนวคิดพัฒนาคือ ทาให้อุปกรณ์สื่อสารด้วยเสียงทุกประเภททั้งระบบอะนาล็อกและระบบดิจิทัลให้
สามารถสื่อสารกันได้ภายใต้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ กล่าวคือทาให้เครื่องวิทยุคมนาคม สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต
คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ ให้สามารถส่ือสารกันได้ โดยใช้เทคนิคการรวมสัญญาณด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
ผ่านอินเตอร์เน็ตโปรโตคอล ซึ่งในระยะแรกให้บริการบนแม่ข่ายบริการระบบ (Server) และระบบโครงข่าย
สื่อสารของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในอนาคตจะขยายผลให้จังหวัดมีแม่ข่ายบริการระบบของตัวเอง เพื่อ
ความสะดวกในการดูแลระบบและเป็นแม่ขา่ ยบริการสารองให้จังหวดั อื่นไดด้ ้วย

105

ภาพท่ี 2 แผนผังแนวคิดการพัฒนาระบบสอื่ สารสาหรบั งานบริการดา้ นการแพทยฉ์ กุ เฉนิ และสาธารณสุข

3. อธิบายข้ันตอน/กระบวนการให้บริการหลังปรับปรุง/พัฒนา และระบุว่ามีความแตกต่างจากก่อนการพัฒนา
อยา่ งไร (ขอ้ 1) หากมีการนาเทคโนโลยที ี่ทนั สมัยมาใช้ ให้ระบุว่านาเทคโนโลยีมาใชก้ ับผลงานอยา่ งไร

หลังจากนาระบบส่ือสารที่พัฒนามาใช้งานทาให้ระบบส่ือสารสาหรับงานบริการด้านการแพทย์

ฉุกเฉิน และสาธารณสุข มีประสิทธิภาพมากข้ึน มีระบบสารองแบบคู่ขนาน มีอุปกรณ์สื่อสารเพียงพอพร้อมใช้

ระบบมีความปลอดภัยดักฟังได้ยาก ประยุกต์การใช้งานได้หลากหลาย เช่น ใช้สื่อสารกับผู้ปุวยติดเช้ือโรค

ระบาดหรอื ผกู้ ักกนั โรค และทีส่ าคญั อปุ กรณส์ ่ือสารตา่ งประเภทกันสามารถติดต่อกันได้ เช่น เครื่องสมาร์ทโฟน

ที่ผู้ปฏิบัติงานมีใช้กันทุกคนสามารถติดต่อสื่อสารกับเคร่ืองวิทยุคมนาคมได้ เพียงติดตั้งโปรแกรมและเช่ือมต่อ

เคร่ืองแม่ขา่ ยบริการ (SERVER) เท่าน้ัน

เทคโนโลยีทใ่ี ช้ Radio over Internet Protocol (RoIP)

Cloud Technology

ซอฟท์แวร์ที่ใชง้ าน - Integrated voice and data dispatch software

- Voice over Internet Protocol software

ระบบปฏบิ ัตกิ ารทใี่ ชง้ านได้ : Android iOS Windows Linux

ภาพที่ 3 Integrated voice and data dispatch Server Software

106

ภาพที่ 4 Voice over Internet Protocol Server Software

4. มีกลุม่ หรือภาคส่วนใดเข้ามามีส่วนร่วมในการพฒั นาผลงาน ขนั้ ตอนใดบ้าง อยา่ งไร
1) กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ทดสอบระบบ ใช้งานระบบ และ
สง่ เสรมิ การใชง้ านสโู่ รงพยาบาล
2) สถาบันการแพทย์ฉกุ เฉนิ แหง่ ชาติ มสี ่วนร่วมในการสนบั สนนุ ครุภัณฑ์ ทดสอบระบบ ใช้งานระบบ
และสง่ เสริมการใชง้ านส่โู รงพยาบาล

มติ ทิ ่ี 3 ผลผลติ /ผลลพั ธ์ เชิงประจกั ษ์
5. ผลผลิตและผลลัพธ์ท่ีสาคัญจากการดาเนินโครงการคืออะไร อธิบายให้ชัดเจนในเชิงสถิติ รวมท้ังแสดง
ตวั ช้วี ัดที่วัดความสาเรจ็ ของโครงการ

1) ได้ระบบสอื่ สารสาหรับงานบรกิ ารด้านการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
2) ติดต้งั ใชง้ านในศูนยร์ บั แจ้งเหตุและสัง่ การ (โทร.1669) ทุกจงั หวัดทว่ั ประเทศ ตามมาตรฐาน สพฉ.
3) เจ้าหน้าที่ทุกภาคส่วน ด้านการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุข เข้าใช้งานระบบส่ือสารท่ีพัฒนาขึ้น

มากกว่า 500,000 ครัง้ ตอ่ ปี
4) สนับสนุนการเข้าถึงที่เกิดเหตุของชุดปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน ระยะทาง 10 กม. ไม่เกิน 10 นาที

ในปี พ.ศ. 62 – พ.ศ. 63 ทาไดต้ ามเปาู หมายคดิ เปน็ ร้อยละ 85.39 (ขอ้ มลู จาก สพฉ.)

ภาพที่ 5 แผนผงั แสดงระบบส่ือสารสาหรบั ดา้ นการแพทยฉ์ กุ เฉนิ และสาธารณสุข

107

ภาพที่ 6 ศนู ยร์ ับแจ้งเหตุ และสั่งการ

6.ประโยชน์ทปี่ ระชาชน/ผูร้ ับบรกิ ารได้รับจากโครงการ มอี ะไรบา้ ง
1) ประชาชนได้รับบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุขอย่างทันท่วงที ลดการเสียชีวิตและ

พิการของผู้ปุวยฉุกเฉิน ซ่ึงสอดคล้องกับข้อมูลของโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ที่ระบุว่า การมี
ระบบสื่อสารและการบริหารด้านการแพทย์ฉุกเฉินที่ดี สามารถลดการเสียชีวิตในการนาส่งโรงพยาบาล จากปี
ละ 20 ราย เหลอื ปีละ 15 ราย

2) ลดปัญหาทางสังคมและเศรษฐกิจ จากการเสียชีวิตและพิการ โดยเฉพาะผู้ปุวยฉุกเฉินจาก
อบุ ตั ิเหตยุ านยนต์ ซึง่ มากเปน็ อนั ดับหนึง่ ประมาณปลี ะ 400,000 คน
7. มีการประเมินผลที่เป็นทางการจากหน่วยงานภายนอก และจากประสบการณข์ องผู้รับบริการหรือไม่ และผล
การประเมนิ เปน็ อยา่ งไร

1) ปี พ.ศ. 2562 และ พ.ศ. 2563 มีการประเมินผลการใช้งาน จากกลุ่มตัวอย่างผู้ดูแลระบบส่ือสาร
ของจงั หวดั ตา่ ง ๆภาพรวมความพึงพอใจในการใช้งานระบบ อยูใ่ นระดบั พึงพอใจมากที่สดุ

2) ปี พ.ศ. 2562 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพได้นาระบบสื่อสารน้ีไปใช้งานในโรงพยาบาลสนามของ
Thailand EMT (Thailand Emergency Medical Team) เพื่อขอรับรองมาตรฐานจากองค์การอนามัยโลก ซ่ึง
ประเทศไทยผ่านการรับรองมาตรฐาน EMT Type 1 เป็นประเทศแรกของอาเซียน และประเทศท่ี 26 ของโลก
สามารถปฏิบตั งิ านช่วยเหลอื ดา้ นการแพทยฉ์ กุ เฉนิ และสาธารณสุข เพ่ือมนษุ ย์ธรรมได้ทวั่ โลก

ภาพที่ 7 การตดิ ต้งั ใชง้ านในโรงพยาบาลสนาม มาตรฐานองคก์ ารอนามยั โลก EMT Type 1

108

8. มีการจดั การผลกระทบทางลบทอี่ าจเกิดขึ้นอย่างไร
กาหนดระเบียบข้อบังคับควบคุมการใช้งาน ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ไม่ให้เกิดส่งผลเสียหายต่อ

ราชการและสังคม เชน่ การปูองกันการนาข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นความลับ ไปถ่ายทอดต่อหรือเผยแพร่ให้บุคคลท่ี
ไมเ่ กีย่ วทราบ
มติ ิท่ี 4 ความยงั่ ยนื ของโครงการ
9. มีการถอดบทเรยี นเพ่อื นาผลงานไปถา่ ยทอดความรู้และประยกุ ตใ์ ช้กบั หนว่ ยงาน และวางแผนในการขยาย
ผลโครงการไปยังหน่วยงานหรือพนื้ ท่ีอ่นื ๆ อยา่ งไร

1) ถอดบทเรียนการพัฒนาระบบฯ และถ่ายความรู้ การใช้งานและการพัฒนาระบบ ให้เจ้าหน้าที่
ผู้รบั ผดิ ชอบด้านสอ่ื สารทว่ั ประเทศ ประมาณปลี ะ 500 คน

2) ส่งเสริม สนับสนุนให้จังหวัดต่างๆ พัฒนาระบบเป็นของตนเองซึ่งปัจจุบัน มี 4 จังหวัดที่มีระบบ
เอง คือ จังหวัดเชียงราย จังหวัดแพร่ จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดสิงห์บุรี ซ่ึงจะทาหน้าท่ี
ช่วยเหลือจงั หวดั ทีเ่ ริม่ พัฒนาด้วย

ภาพที่ 8 ตัวอย่าง Server จังหวัดแพร่ เชยี งราย นครสวรรค์ และสงิ หบ์ ุรี
3) สร้างเครือข่ายผู้ใช้ระบบฯร่วมกับชมรมสื่อสารสาธารณสุข จัดทาช่องทางโซเชียลมีเดีย เพ่ือ
ถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ และช่วยเหลอื กัน

109

ภาพที่ 9 ช่องทางโซเชียลมเี ดียสาหรับผูใ้ ช้ระบบฯ

4) เผยแพร่ และเป็นตัวอย่าง ในการพัฒนาระบบส่ือสารในระบบนานาชาติ ให้กับประเทศท่ีกาลังขอ
รับรองทมี การแพทย์ฉุกเฉนิ มาตรฐาน EMT Type 1 จากองคก์ ารอนามยั โลก

ภาพที่ 10 การร่วมสาธิตและฝกึ INSARAG Asia-PaciFic 2019
10. โปรดระบุเปูาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน Sustainable Development Goals (SDGs) ขององค์การ
สหประชาชาตทิ ี่เกี่ยวข้องกับผลงาน อธบิ ายการดาเนนิ งานทสี่ นับสนนุ ให้บรรลเุ ปูาหมายดงั กลา่ ว

การพัฒนาระบบส่ือสารสาหรับงานบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุขท่ีมีประสิทธิภาพ ทาให้
การประสานงานของศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ รถพยาบาล โรงพยาบาล โรงพยาบาลสนาม ทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทยเ์ ขา้ ช่วยเหลือผปู้ ุวยฉุกเฉินผปู้ ุวยวกิ ฤตไิ ดร้ วดเรว็ ทนั ท่วงที ลดอนั ตรายและการเสียชีวิตของผู้ปุวย
ได้ เปน็ การสนบั สนุนการพฒั นาทีย่ ัง่ ยนื เปาู หมายท่ี 3 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตท่ีมีสุขภาพดีและ
ส่งเสริมสวสั ดภิ าพสาหรบั ทุกคนในทกุ วยั ของสหประชาชาติ

-------------------------------------------------------

110

การส่งข้อมลู เพมิ่ เติม
การพัฒนาระบบสอื่ สารสาหรับงานบรกิ าร

ดา้ นการแพทย์ฉกุ เฉินและสาธารณสขุ

111

รายงานผลงานขอ้ มูลเพ่มิ เติม

1. ในการพัฒนาระบบส่ือสารสาหรับงานบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินให้มีประสิทธิภาพ ขอให้หน่วยงาน
อธิบายเพม่ิ เติมในประเด็น ดงั นี้

1.1 การเขา้ ถึงระบบบริการ จุดติดตอ่ ประสานงาน ชอ่ งทางการสอื่ สาร
- กองวศิ วกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ
ที่อยู่ 88/33 หมทู่ ่ี 4 ต.ตลาดขวญั อ.เมอื ง จ.นนทบุรี 11000
โทรศพั ท์ : 0-2149-5680 โทรสาร : 0-2149-5657
เว็บไซตก์ องวิศวกรรมสือ่ สาร : http://medi.moph.go.th/
เฟสบ๊คุ กองวศิ วกรรมการแพทย์ : https://www.facebook.com/medi.engineering
E-mail : [email protected]
- ศนู ย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ ระดับจังหวัด โทร.1669 หรือ APP EMS1669 ผ่านวิทยุส่ือสาร

ช่องความถขี่ องศนู ย์แต่ละจังหวัด
1.2 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน
- ผู้ปฏิบัติงาน ต้องมีความรู้ โดยเฉพาะความรู้ด้านกฎหมาย หรือระเบียบที่เกี่ยวข้องกับระบบสื่อสาร
สาหรับงานบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุข การรักษาความลับของข้อมูลของผู้ปุวย และการใช้
คลน่ื ความถ่ีหรืออุปกรณส์ ื่อสารทีต่ ้องมใี บอนญุ าตการใช้ถูกต้องตามกฎหมายกาหนด
- กรมฯ มคี มู่ ือปฏิบัตงิ านของการใช้งานระบบการส่อื สารสาหรับการแพทย์ฉุกเฉิน สาหรับผู้ปฏิบัติงาน
พร้อมท้ังมีการเผยแพร่ทาง Line Group ชมรมส่ือสารสาธารณสุข โดยมีแนวทางและข้ันตอนการปฏิบัติงาน
เปน็ มาตรฐานเดียวกนั เพ่อื ให้เกดิ การทางานที่มีประสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ลสูงสุดแกป่ ระชาชน
- มีการประกันเวลาในการดาเนินงานในแต่ละข้ันตอนอย่างชัดเจน เพื่อปูองกันความเสี่ยงต่างๆ ท่ี
เกดิ ขน้ึ
1.3 การฝกึ ฝนบคุ ลากร
- ผู้ใช้งานระบบ ต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการมีการใช้งานระบบสื่อสาร ซึ่งมีเนื้อหา
ประกอบด้วย กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลทางเทคนิค วิธีการใช้งานระบบส่ือสารแบบต่าง ๆ ท้ัง
ภาคทฤษฎีและปฏบิ ัติ ของกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงผู้ท่ีผ่านการอบรมจะได้รับประกาศนียบัตร และใบอนุญาต
ใช้ตามทก่ี ฎหมายกาหนด
- ผู้ดูแลระบบ ต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรผู้ใช้ระบบมาก่อน และได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แลดู
ระบบ และจะได้รับอบรมเพิ่มเติมในการดูแลระบบ การกาหนดสิทธิผู้ใช้ การเพิ่ม/ลบ/แก้ไขผู้ใช้ และการ
รายงานผลการใชง้ าน
- ผู้พัฒนาระบบ ผ่านการอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ทั้งในประเทศและระดับนานาชาติ ที่เก่ียวข้องกับ
ระบบส่อื สารด้านการแพทย์ฉกุ เฉนิ เพอ่ื ปรบั ปรุงระบบใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายและมาตรฐานสากล
- ผู้ตรวจสอบระบบส่ือสารตามมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ต้องผ่าน
การอบรม และไดร้ บั แต่งต้ังจากกรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพอยา่ งเปน็ ทางการเทา่ นน้ั
1.4 ระบบการสั่งการทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ
คอื ระบบส่อื สารทส่ี ามารถส่ังการและโต้ตอบกับผู้ปฏิบัติงานหรือผู้ท่ีประสานงานได้อย่างทันที รวดเร็ว มี

ความชัดเจน สามารถใช้งานตลอดเวลา 24 ชว่ั โมง ดังนี้

1. เริม่ ต้นจากเมือ่ เจา้ หน้าทไ่ี ด้รับแจง้ เหตจุ ะสอบถามอาการผ้ปู วุ ย สถานที่เกิดเหตุ เบอร์

โทรศัพท์ (ใช้เวลาไมเ่ กนิ 45 วินาท)ี

2. เจ้าหน้าทจี่ ะดาเนนิ การประเมิน และคดั กรองระดบั ความเร่งด่วนของการช่วยชีวติ และมี

112

การแนะนาญาติในการชว่ ยเหลอื เบ้ืองต้นแก่ผปู้ วุ ยขณะรอทมี แพทย์
3. เจา้ หนา้ ที่ จะประสานงานและสงั่ การผา่ นระบบส่อื สารให้รถพยาบาลและทมี แพทย์ออก

เดินทาง โดยให้ทีมกู้ชีพถึงท่ีเกิดเหตุไม่เกิน 10 นาที กรณีระบบหลักล่มหรือเสียหาย จะมีระบบสารองใช้งาน
แทนได้ทันทอี ย่างตอ่ เนือ่ ง

คมู่ ือการปฏิบัติงานดา้ นวศิ วกรรมสอ่ื สาร
2. อธิบายเพิ่มเตมิ ถึงการดาเนินโครงการทวั่ ประกเาทรศแพแทละย์ 4 จังหวดั ทมี่ รี ะบบการดาเนนิ การดว้ ยตนเอง

1. กรมสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพ (สบส.) จดั ทาระบบการสอ่ื สารสาหรบั งานบริการดา้ นการแพทยฉ์ ุกเฉิน
และสาธารณสุขและให้บริการผ่านบน Server กรมฯ และการจัดทาคู่มือการใช้งานระบบและคู่มือการ
ปฏิบตั ิงานระบบ

2. ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 1-12 (ศบส.) ซึ่งเป็นหน่วยงานในส่วนภูมิภาคของกรม สบส. ทาหน้าท่ี
ส่งเสริมสนับสนุน การใช้งานในจังหวัดพ้ืนที่รับผิดชอบประมาณศูนย์ละ 7 จังหวัด (ยกเว้นเขต
กรงุ เทพมหานคร โดยกองวศิ วกรรมการแพทย์ กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบโดยตรง)

3. กรม สบส. ร่วมกบั สถาบนั การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) และ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน (สธฉ.)
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกันจัดทาหลักสูตรและอบรมสอนการใช้งาน กาหนดให้ศูนย์รับแจ้ง
เหตุ และสั่งการทุกจังหวัด ต้องติดต้ังและใช้งานระบบ โดยศูนย์นเรนทร (สพฉ.) โดยจะมีการทดสอบความ
พร้อมผ่านระบบกับทกุ จังหวัดเป็นประจาทุกวัน วันละ 2 ครัง้ ในเวลา 10.00 น. และ 22.00 น.

113

4. ศูนย์รับแจง้ เหตแุ ละสงั่ การแต่ละจงั หวดั บริหารจัดการการใช้งานระบบภายในจังหวัดของตนเอง และ
กาหนดให้ 4 จังหวัดมี Server เป็นของตนเอง เพ่ือเป็นการกระจายความเส่ียง หาก Server หลักของกรมล่ม
แต่ในอนาคตเมือ่ นาขน้ึ ระบบคลาวด์กลางภาครัฐแลว้ จะทาการยกเลิกการใช้งานต่อไป

5. ศบส.1-12 ตรวจสอบประเมินระบบส่ือสาร ตามมาตรฐานระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ในเขตท่รี ับผิดชอบ
6. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มีการควบคุมกากับ และสนับสนุนการใช้งาน โดยมีการวิเคราะห์และ
ประเมินผลระบบ สื่อสารสาหรับงานบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุขในภาพรวมของประเทศเพื่อ
ปรับปรุงพฒั นาต่อไป
3. อธิบายผลลัพธ์ที่เกดิ ขนึ้ แกส่ งั คมและประเทศ
1. ประชาชนไดร้ บั บรกิ ารด้านการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุขอย่างทนั ทว่ งที ลดการเสยี ชีวติ และเกดิ
ความพิการของผู้ปุวยฉุกเฉิน ซ่ึงสอดคล้องกับข้อมูลของโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ที่ระบุว่า การมี
ระบบส่ือสารและการบริหารด้านการแพทย์ฉุกเฉินที่ดี สามารถลดการเสียชีวิตในการนาส่งโรงพยาบาล จากปี
ละ 20 ราย เหลือปลี ะ 15 ราย
2. ลดปัญหาทางสังคมและเศรษฐกิจ จากการสูญเสียเสียชีวิตและเกิดความพิการ โดยเฉพาะผู้ปุวยฉุกเฉิน
จากอบุ ตั เิ หตุยานยนต์ ซง่ึ มากเปน็ อันดบั หน่ึง ประมาณปลี ะสแ่ี สนคน
3. สนับสนุนการเขา้ ถึงที่เกดิ เหตขุ องชดุ ปฏบิ ัตกิ ารแพทย์ฉุกเฉนิ ภายในระยะทาง 10 กม. โดยใช้เวลาไม่เกิน
10 นาที ซง่ึ ในปีพ.ศ. 2562-2563 สามารถดาเนนิ การได้ตามเปูาหมายคิดเป็นร้อยละ 85.39 (สามารถช่วยชีวิต
ผูป้ วุ ยได้ประมาณสามลา้ นคน)
4. การขยายผลปัจจบุ ันและในอนาคต
1. ส่งเสริม สนับสนุนใหใ้ ช้งานในภารกิจกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัคร
ดา้ นการแพทย์ฉกุ เฉนิ (ซึ่งปีพ.ศ. 2564 ในสว่ นของ อสม. ไดม้ ีการดาเนินโครงการนาร่องแล้วบางส่วน และในปี
พ.ศ. 2565 จะมกี ารดาเนินการนาร่องในอาสาสมคั รดา้ นการแพทย์ฉุกเฉนิ )
2. ขยายผลระบบส่ือสารให้กับโรงพยาบาลสนาม EMT (Emergency Medical Team) ตามมาตรฐาน
องค์การอนามัยโลก ซึ่งในส่วนของประเทศไทยกาลังจะจัดต้ังข้ึนอีก 4 ทีม ให้ครบท้ัง 4 ภาค ในการให้บริการ
อย่างทั่วถึงทั้งประเทศ
3. ด้านเทคนคิ มีการปรับเปลยี่ น Server จากกรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ เป็นคลาวดก์ ลางภาครฐั
(Government Data Center and Cloud service หรือ GDCC) ซึ่งมีมาตรฐานด้านปลอดภัยสูง รวดเร็ว
ระบบมีเสถียรภาพไม่ล่ม และหน่วยงานไม่ต้องเสียบุคลากร และค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาระบบ เพื่อรองรับ
การใช้งานที่มากขึ้น ซ่ึงได้ดาเนินการขอใช้งานกับ GDCC เรียบร้อยแล้วนั้น ในขณะน้ีอยู่ในขั้นตอนของการ
ติดตงั้ และทดลองระบบ โดยจะเรมิ่ ใช้งานระบบจรงิ ในวนั ท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ.2564 เปน็ ตน้ ไป
4. ในอนาคตจะมกี ารเช่ือมต่อกับระบบติดตามเฝูาระวังผู้ปุวยติดเตียงและผู้สูงอายุ ซ่ึงกรมสนับสนุนบริการ
สุขภาพได้ดาเนนิ การศึกษาวจิ ยั ตามประเด็นดังกล่าว โดยได้รับงบอุดหนุนจากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (สกสว.)

*******************************************************

114

115

รางวลั บริการภาครฐั ระดบั ดี

“การพฒั นาระบบการบริหารจดั การ
ศนู ยเ์ คร่ืองมือแพทยใ์ นโรงพยาบาล”

(ผลงานของ ศนู ยส์ นบั สนุนบริการสขุ ภาพที่ 12 จ.สงขลา)

ชอื่ ผลงาน : การพฒั นาระบบการบริหารจดั การศนู ย์เคร่ืองมอื แพทย์ในโรงพยาบาล

116

ช่ือผลงาน : การพฒั นาระบบการบริหารจดั การศนู ยเ์ ครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาล
(Devolvement of Medical Devices Center Management System in Hospital )

ชอ่ื ส่วนราชการ : กรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ

หนว่ ยงานที่รับผิดชอบผลงาน : ศนู ยส์ นับสนุนบรกิ ารสุขภาพที่ 12

ช่ือผปู้ ระสานงาน นายเอกพงษ์ แกว้ ราบ ตาแหน่ง วศิ วกรปฏบิ ตั ิการ (ดา้ นชวี การแพทย์)

สานัก/กอง ศนู ย์สนับสนนุ บริการสขุ ภาพท่ี 12 เบอรโ์ ทรศัพท์ 074336087

เบอร์โทรศัพทม์ ือถือ 0836478941 เบอรโ์ ทรสาร 074336088

e – Mail: [email protected]

117

บทสรุปผู้บรหิ าร (Executive Summary)
ท่ัวโลกมีเครื่องมือแพทย์กว่า 90,000 ชนิด โดยจากการสารวจ 140 ประเทศ พบมีระบบการบริหาร
จัดการเคร่ืองมือแพทย์เพียง 41 ประเทศ และพบว่ามีเด็กจานวน 4 ล้านคนเสียชีวิตจากโรคที่รักษาได้ สาเหตุ
หนึ่งของการเสียชีวิตมาจากปัญหาการขาดแคลนเคร่ืองมือแพทย์และท่ีมีอยู่ไม่เหมาะสมกับการใช้งาน
เน่ืองจากการขาดแคลนบุคลากรท่ีมีความรู้ และขาดแคลนอะไหล่ในการซ่อมแซมเม่ือชารุด และจากการ
ดาเนนิ งานตามภารกิจของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 12 พบว่าจากการ
ตรวจเยี่ยมประเมินมาตรฐานระบบสุขภาพ ด้านที่ 6 ระบบงานเคร่ืองมือแพทย์ในโรงพยาบาล ปีงบประมาณ
2560 อยู่ในเกณฑ์ระดับคุณภาพคิดเป็นร้อยละ 44.87 โดยการบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาลยัง
ไมเ่ ป็นระบบ ไมม่ ีฐานข้อมูลท่ีเป็นปัจจุบัน ขาดแคลนบุคลากร ซึ่งจบสาขาเครื่องมือแพทย์โดยตรงเพียงร้อยละ
7 การทดสอบ สอบเทียบความเท่ียงตรงและบารุงรักษาของเครื่องมือแพทย์สามารถดาเนินการได้เพียง 7
เคร่ืองมือความเส่ียงสูง ทาให้เครื่องมือแพทย์ ไม่เพียงพอ ไม่พร้อมใช้งาน ไม่มีมาตรฐานและความปลอดภัย
ส่งผลกระทบต่อผลการวินิจฉัยโรค การรักษาท่ีผิดพลาด การให้บริการใช้ระยะเวลานาน ความพึงพอใจหรือ
ความเช่ือม่ันของผู้ใช้งานและผู้รับบริการ รวมทั้งอาจมีปัญหาเครื่องมือแพทย์ล้นโรงพยาบาล และประเทศ
สญู เสยี งบประมาณการจดั ซื้อเครื่องมือแพทย์อีกดว้ ย
จึงมีแนวทางการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ โดยการจัดต้ังศูนย์เครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาลทุกระดับ
เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน สู่ประชาชนผู้รับบริการ มีเคร่ืองมือแพทย์ที่เพียงพอ พร้อมใช้
ปลอดภยั และได้มาตรฐานอยู่ตลอดเวลา ต้ังแต่กระบวนการยกร่าง กาหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงาน บันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) จัดทาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาอิเลคทรอนิกส์ทาง
การแพทย์ และการพัฒนาบคุ ลาการดา้ นวศิ วกรรมการแพทย์ ระหว่างวิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ กับโรงพยาบาล
ในสงั กัดกระทรวงสาธารณสุขในพ้ืนที่เขต 12 จานวน 12 แห่ง เป็นท่ีเรียนและฝึกงานของนักศึกษา และอบรม
หลักสูตรครูฝึกในสถานประกอบการ พร้อมท้ังลงพ้ืนท่ีส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ศูนยเ์ ครื่องมือแพทยใ์ นโรงพยาบาล และตรวจประเมินรบั รองมาตรฐาน ณ โรงพยาบาลกลมุ่ เปูาหมาย
พบวา่ แตล่ ะปีมีโรงพยาบาลกลุ่มเปาู หมายผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองคุณภาพต้นแบบศูนย์เคร่ืองมือแพทย์
ในโรงพยาบาลระดับพฒั นาดเี ด่น โดยมศี ูนย์กลางจัดการเคร่ืองมือแพทย์อย่างเป็นระบบ ให้เคร่ืองมือแพทย์มีความ
เพียงพอ พรอ้ มใชง้ าน มมี าตรฐานและความปลอดภัย พร้อมให้บรกิ ารไดต้ ลอด 24 ชวั่ โมง ลดงบประมาณการ
ซ่อมบารุงรักษา การจัดซื้อเคร่ืองมือแพทย์ ของโรงพยาบาลพัทลุง จังหวัดพัทลุง ประหยัดงบประมาณได้รวมเป็น
เงินมากกว่า 4.5 ล้านบาท และเปิดโอกาสทางการศึกษา มีสถานที่ฝึกงาน มีการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย
และสร้างอาชีพในภาครัฐและเอกชน ให้แก่ นักศึกษาสาขาอิเล็กทรอนิกส์เคร่ืองมือแพทย์ วิทยาลัยเทคนิค
หาดใหญ่ จังหวดั สงขลา

118

มิติท่ี 1 การวิเคราะห์ปญั หา
1. ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา

1.1 สถานการณ์โลกปัจจุบันการแพทย์และสาธารณสุขมีบทบาทสาคัญต่อการดารงชีวิตประจาวัน
มโี รงพยาบาลเปน็ สถานท่ีให้บริการด้านสุขภาพ ซ่ึงนับว่าเป็นส่วนหนึ่งของระบบบริการสุขภาพท่ีมีความสาคัญ
อย่างย่ิงในการทาหน้าที่ตอบสนองความคาดหวังของสังคม และปัจจัยหนึ่งท่ีสาคัญมากในระบบการให้บริการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข นั่นก็คือ “เครื่องมือแพทย์” ซึ่งทั่วโลกมีเคร่ืองมือแพทย์กว่า 90,000 ชนิด โดย
จากการสารวจ 140 ประเทศ พบมีระบบการบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์เพียง 41 ประเทศ และพบว่ามีเด็ก
จานวน 4 ล้านคนเสียชวี ติ จากโรคที่รักษาได้ สาเหตุหนึ่งของการเสียชีวิตมาจากปัญหาการขาดแคลนเครื่องมือ
แพทย์ และทม่ี ีอยไู่ ม่เหมาะสมกบั การใช้งาน เน่ืองจากการขาดแคลนบุคลากรท่ีมีความรู้ และขาดแคลนอะไหล่
ในการซอ่ มแซมเมอื่ ชารุด (ข้อมลู จาก รายงานฉบับสมบูรณ์ สรุปเน้ือหาการประชุมนานาชาติเรือ่ งเคร่ืองมือแพทย์ ครั้งท่ี 1)

จากการดาเนนิ งานตามภารกิจของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 12 ในพื้นท่ี
7 จงั หวัดภาคใต้ตอนลา่ ง พบว่าจากการตรวจเย่ยี มประเมินมาตรฐานระบบสุขภาพ ด้านที่ 6 ระบบงานเครื่องมือ
แพทย์ในโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2560 อยู่ในเกณฑ์ระดับคุณภาพคิดเป็นร้อยละ 44.87 โดยการบริหาร
จัดการเคร่ืองมือแพทย์ในโรงพยาบาลยังไม่เป็นระบบ ไม่มีฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ขาดแคลนบุคลากร ซึ่งจบ
สาขาเครื่องมือแพทย์โดยตรงเพียงร้อยละ 7 การทดสอบ สอบเทียบความเท่ียงตรงและบารุงรักษาของ
เครื่องมือแพทย์สามารถดาเนินการได้เพียง 7 เครื่องมือความเส่ียงสูง ทาให้เครื่องมือแพทย์ ไม่เพียงพอ ไม่
พร้อมใช้งาน ไม่มีมาตรฐานและความปลอดภัย รวมทั้งอาจมีปัญหาเครื่องมือแพทย์ล้นโรงพยาบาลอีกด้วย
ส่งผลกระทบต่อผลการวินิจฉัยโรค การรักษาที่ผิดพลาด การให้บริการใช้ระยะเวลานาน ความพึงพอใจหรือ
ความเช่ือม่ันของผ้ใู ชง้ านและผู้รับบริการ และสญู เสยี งบประมาณของประเทศในการจัดซ้ือเคร่ืองมือแพทย์

ดังน้ัน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี ๑๒ ร่วมกับกองวิศวกรรม
การแพทย์ วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และโรงพยาบาลกลุ่มเปูาหมายในพ้ืนท่ีเขต 12 จึงมีแนว
ทางการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ โดยการจัดต้ังศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ในโรงพยาบาลทุกระดับ ต้ังแต่โรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบล เครือข่ายอาสาสมัครประจา
หมบู่ ้าน สู่ประชาชนผู้รับบรกิ าร มเี ครอ่ื งมือแพทยท์ ่ีเพียงพอ พร้อมใช้ ปลอดภัย และได้มาตรฐานอย่ตู ลอดเวลา

1.2 ระบบเครอ่ื งมอื แพทย์ดาเนนิ การตามภาระหน้าที่ของผู้ใช้งานเครื่องมือแพทย์น้ันๆ โดยทีมนาของโรงพยาบาล,
หรอื ผใู้ ช้งาน เชน่ พยาบาล ผูช้ ่วยพยาบาล เปน็ ตน้
จะเป็นผู้วางแผน พจิ ารณาความตอ้ งการการจัดซื้อ
จัดหาเครื่องมือแพทย์ในการใช้งานในโรงพยาบาล
มหี นว่ ยงานพัสดุ และคณะกรรมที่ได้รับการแต่งตั้ง
ดาเนินการจัดซ้ือเครื่องมือแพทย์ มีผู้จาหน่ายและ
ผู้ใช้งานดาเนินการติดตั้งและอบรมการใช้งาน
เครื่องมือแพทย์ และผู้ใช้งานเตรียมความพร้อมใช้
และควบคุมฐานข้อมูลเครื่องมือแพทย์เอง เม่ือ
เครื่องมือแพทย์ชารุด จะดาเนินการส่งให้มีศูนย์
ซ่อมบารุง เป็นผู้ดูแลในการซ่อม แก้ไขปัญหาการ
ชารุด ไม่มีหน่วยงาน หรือบุคคลากรดูแลจัดการ
อย่างเป็นระบบ และไม่มีแนวทางในการบริหาร
จัดการท่ีเป็นมาตรฐานหรือข้อกาหนดในการ
ปฏิบตั ิงาน

รูปที่ 1 การบรหิ ารจดั การเครอื่ งมือแพทยแ์ บบเดิม

119

1.3 การบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ที่ไม่เป็นระบบส่งผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์
เช่น แพทย์ พยาบาล ทั้งเป็นการเพิ่มภาระงาน ไม่สามารถดูแลผู้ปุวยได้เต็มศักยภาพ ขาดบุคลากรท่ีมีทักษะ
เฉพาะโดยตรง ส่งผลต่อประชาชนอาจจะได้รับการบริการ และเคร่ืองมือแพทย์ไม่มีพร้อมใช้ ไม่เที่ยงตรง และ
ไม่ไดม้ าตรฐานหรอื ปลอดภัย มผี ลกระทบตอ่ ภาพลกั ษณ์ ความเชอ่ื มัน่ หรือความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อของ
องค์กรและประเทศในด้านการแพทย์และสาธารณสุข และประเทศชาติต้องเสียงบประมาณเพื่อจัดซื้อ
เคร่ืองมอื แพทย์ ดงั น้ี

ระดับประเทศ
- สูญเสียงบประมาณในการจดั ซ้อื เคร่อื งมอื แพทย์ในแต่ละปี
- ภาพลกั ษณ์และความเชื่อมั่นทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขลดลง

ระดับองค์กร/ โรงพยาบาล
- บุคลากรไมไ่ ด้ปฏบิ ตั ิงานตามวชิ าชีพอยา่ งเต็มที่ ต้องดแู ลเครอื่ งมือแพทย์เอง มีเวลาดูแลคนไขน้ อ้ ยลง
- ขาดบคุ ลากรทีม่ ที กั ษะเฉพาะดา้ นเคร่ืองมือแพทย์
- ผใู้ ช้งานมคี วามกังวลเรอื่ งความไม่พร้อมใชข้ องเครื่องมือแพทย์
- มีเครื่องมือแพทย์ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ไม่มีการหมุนเวียนใช้งานอย่างคุ้มค่า มีการสะสมอยู่
หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง
- ไมม่ ศี นู ย์กลางให้บริการเคร่อื งมือแพทย์ตลอด 24 ชว่ั โมง

ผรู้ บั บรกิ าร/ประชาชน
- ได้รับการบรกิ าร และไดใ้ ช้เครอ่ื งมอื แพทย์ทีไ่ ม่มคี วามพร้อมใช้ ไมเ่ ท่ยี งตรง และไมไ่ ด้มาตรฐานหรอื ปลอดภัย
- อาจจะได้รบั การวนิ ิจฉยั การรกั ษาที่ผดิ พลาด
- ระยะเวลาการรักษาใชเ้ วลานาน เพม่ิ การรอคอย

มิติท่ี 2 แนวทางการแกไ้ ขปัญหาและการนาไปปฏบิ ตั ิ
2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองวิศวกรรมการแพทย์ และศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 1-12
รวบรวมข้อมูล พัฒนา สร้างมาตรฐานศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ในโรงพยาบาลให้เป็นศูนย์กลางจัดการเครื่องมือ
แพทย์อย่างเป็นระบบ และส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความชานาญในการบริหาร
จัดการศนู ย์เครอื่ งมือแพทยใ์ นโรงพยาบาลได้อย่างเป็นระบบภายใต้ทรัพยากรที่มีอย่างจากัด เพ่ือให้มีเคร่ืองมือ
แพทย์มีความเพียงพอ พร้อมใช้ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน พร้อมให้บริการได้ตลอด 24 ช่ัวโมง บุคลากรทาง
การแพทย์ได้ทางานตรงตามวิชาชีพ ประชาชนผู้รับบริการลดระยะเวลา การรอคอยของการรักษา มีความ
เชื่อมัน่ ต่อเคร่ืองมือแพทย์ที่ได้รับบริการ ลดการสะสม การจัดซ้ือเคร่ืองมือแพทย์ ทาให้ประหยัดงบประมาณของ
ประเทศมากขึ้น กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 12 ร่วมกับหน่วยงาน
การศึกษาพฒั นาหลักสตู รการเรียน เพอ่ื ผลติ บคุ ลาการดา้ นเคร่อื งมอื แพทย์ และส่งเสริมในการคิดค้นเทคโนโลยี
ในการสนับสนุนการบริหารจัดการศูนย์เครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาล อีกท้ังพัฒนาร่วมกับโรงพยาบาลในการ
จัดวางระบบการบริหารจัดการศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ในโรงพยาบาลให้มีคุณภาพ ตอบสนองในการแก้ไขปัญหา
เพ่อื ให้ มเี ครื่องมือแพทยท์ เ่ี พยี งพอ พรอ้ มใช้ ปลอดภัย และไดม้ าตรฐาน ต่อเจา้ หน้าท่ี และผู้รบั บริการทใ่ี ช้งาน
3. กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ โดยกองวิศวกรรมการแพทย์ ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 1-12 และผู้แทน
หน่วยงานทุกองค์กรภาคส่วน และเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีเกี่ยวข้องท้ังหมด ยกร่างคู่มือการปฏิบัติตาม
หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการท่ดี ใี นการจดั ทาศูนย์เคร่ืองมือแพทยส์ าหรบั โรงพยาบาล ซึง่ ประกอบดว้ ย 39 หลักเกณฑ์
ร่วมจัดทาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาอิเล็กทรอนิกส์ทางการการแพทย์ วิทยาลัยเทคนิค
หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา (หลักสูตรการเรียนการสอนแบบทวิภาคี) และมีการแต่งต้ังคณะทางานโครงการบุคลากร
ด้านวิศวกรรมการแพทย์ (คาสั่งสานักงานสนับสนุนบริการสุขภาพเขต 12 จังหวัดสงขลา ท่ี 25/2560) และใน

120

ปีงบประมาณ 2561 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การพัฒนาบุคลาการด้านวิศวกรรมการแพทย์

ระหว่างวิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในพ้ืนท่ีเขต 12 จานวน 10 แห่ง

คอื โรงพยาบาลพัทลงุ จังหวดั พทั ลงุ , โรงพยาบาลตรงั และโรงพยาบาลกันตัง จังหวัดตรัง, โรงพยาบาลปัตตานี

และโรงพยาบาลหนองจกิ จังหวดั ปัตตานี, โรงพยาบาลยะลา จงั หวัดยะลา, โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

และโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส, โรงพยาบาลสทิงพระ จังหวัดสงขลา, โรงพยาบาลสตูล จังหวัด

สตูล, และโรงพยาบาลในพืน้ ทีเ่ ขต 11 จานวน 2 แหง่ คอื โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช และโรงพยาบาล

ทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นท่ีเรียนและฝึกงานของนักศึกษา และอบรมหลักสูตรครูฝึกใน สถาน

ประกอบการ ของวิทยาลัยเทคนคิ หาดใหญ่ ให้กบั ครพู ี่เลี้ยงโรงพยาบาลละ 2 คน ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพ

ท่ี 12 ลงพื้นท่ีส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ตามคู่มือการปฏิบัติ

ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีดีในการจัดทาศูนย์เครื่องมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล และตรวจประเมินรับรอง

มาตรฐานตามหลกั เกณฑท์ กี่ าหนด ณ โรงพยาบาลกล่มุ เปาู หมาย ดงั นี้

ปีงบประมาณ 2560 - 2561 : โรงพยาบาลกลุ่มทดลอง (โรงพยาบาลพัทลุง จังหวัดพัทลุง และ

โรงพยาบาลยะลา จงั หวัดยะลา)

ปงี บประมาณ 2562 : โรงพยาบาลประจาจงั หวัด

ปีงบประมาณ 2563 – 2564 : โรงพยาบาลระดบั M1 M2 และโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช

ปีงบประมาณ 2565 : โรงพยาบาลระดบั F

โดยระบบการบริหารจัดการศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ในโรงพยาบาล จะปฏิบัติตามคู่มือคู่มือการปฏิบัติตาม

หลกั เกณฑ์และวิธีการท่ีดีในการจัดทาศูนย์เครื่องมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล มีการจัดตั้งศูนย์เครื่องมือแพทย์เป็น

หน่วยงานหลักในการบริหารจัดการเคร่ืองมือแพทย์ ซ่ึงมีบุคคลากรที่มีทักษะเฉพาะด้านเครื่องมือแพทย์ดูแล

จัดการอย่างเป็นระบบ ให้บริการตลอด 24 ช่ัวโมง ทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาล (โรงพยาบาลชุมชน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล เจ้าหน้าท่ีอาสาสมัครสาธารณสุข ประชาชนในพ้ืนที่บริการ) ตามประเด็น

คณุ ภาพ คือ เพียงพอ พรอ้ มใช้ ไดม้ าตรฐาน และปลอดภัย และจะมีการประเมินรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน

ทีก่ าหนดโดยกองวศิ วกรรมการแพทย์ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ

กระบวนการก่อนการพัฒนา กระบวนการหลังการพัฒนา

-ไม่มแี นวทางหรือมาตรฐานในการจดั ทาระบบ - มีคู่มือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีใน

- ผูใ้ ชง้ าน เชน่ แพทย์ พยาบาล ดูแลเครื่องมือแพทย์ การจัดทาศูนย์เครื่องมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล

เอง โดยช่างซ่อมบารุง ทาหน้าท่ีซ่อมแซมกรณีชารุด และการส่งเสริม สนับสนุนในการวางระบบโดย

และผู้จาหน่ายเป็นผู้สนับสนุนตามการร้องขอ หรือ วิศวกรเครอื่ งมอื แพทย์

เงื่อนไขที่ตกลงตามสญั ญาการจัดซื้อ - มีบุคลากรดา้ นเครื่องมือแพทยเ์ พมิ่ ข้ึน

- มีผู้ดูแลเครื่องมือแพทย์โดยตรง ดาเนินการอย่าง

เปน็ ระบบ

- มีการพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศในการสนับสนนุ

กระบวนการก่อนการพัฒนา กระบวนการหลังการพฒั นา

การบริหารจัดการศูนย์เคร่ืองมือแพทย์อย่างเป็น

ระบบ เชน่ โปรแกรม RMC, โปรแกรม Webmet

กาหนดหลักเกณฑ์มาตรฐาน 121
และระบบเอกสารคุณภาพใน
การบรหิ ารจัดการศูนย์เคร่ืองมือ ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก า ร ด้ า น วิ ศ ว ก ร ร ม
แพทยใ์ นโรงพยาบาล การแพทย์ จัดทาหลักสูตรการเรียน
สาขาเครื่องมือแพทย์ระดับ ปวส ,
พฒั นาครูพเี่ ลี้ยง, เตรียมแหล่งฝึกงาน

โรงพยาบาลนาไปปฏิบัติและรกั ษาระบบคุณภาพ

โรงพยาบาลมศี นู ย์เครื่องมือ
แพทย์ที่มรี ะบบการบรหิ าร
จัดการ และใหบ้ ริการเคร่อื งมือ
แพทยอ์ ยา่ งเพยี งพอ พร้อมใช้
ปลอดภยั และไดม้ าตรฐาน

รปู ท่ี 2 ระบบการบรหิ ารจดั การเครอ่ื งมอื แพทย์

4. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกแอบงบวศิเดวิมกรรมการแพทย์ กองแบบแผน รว่ มกบั ศนู ยส์ นับสนุนบริการ
สุขภาพที่ 1-12 กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ ตวั แทนโรงพยาบาล และตัวแทนมหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา้ นสมเดจ็
เจ้าพระยา รวมทั้งสิ้นจานวน 69 ราย ให้ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคู่มือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และ
วธิ ีท่ดี ีในการจัดทาศูนย์เคร่ืองมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล

กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ โดยศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 12 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบ
การบริหารจัดการศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ตามคู่มือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีดีในการจัดทาศูนย์
เครื่องมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล และเป็นพี่เล้ียงดูแล ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ ให้แนวทางแก่โรงพยาบาล
กลมุ่ เปาู หมาย ทง้ั การอบรมพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร, จดั ทาค่มู ือปฏิบัติงาน และระบบเอกสารคณุ ภาพ

โรงพยาบาลกลุ่มเปูาหมาย ดาเนินการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ศูนย์เครื่องมือแพทย์ตามคู่มือ
การปฏิบัติตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการทด่ี ใี นการจัดทาศนู ย์เครอ่ื งมอื แพทย์สาหรบั โรงพยาบาล

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองวิศวกรรมการแพทย์ เป็นองค์กรตรวจประเมินรับรองมาตรฐาน
ตามหลักเกณฑท์ ีก่ าหนด

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองวิศวกรรมการแพทย์, ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพ และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาให้การสนับสนุนโปรแกรมการบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ คือ
โปรแกรม Wepmet และ RMC

กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ โดยศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 12 ร่วมกับวิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่
กับโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน 12 แห่ง จัดทาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
(ปวส.) สาขาอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์ การพัฒนาบุคลาการด้านวิศวกรรมการแพทย์ เป็นท่ีเรียนและฝึกงาน
ของนักศึกษา และอบรมหลักสูตรครูฝึกในสถานประกอบการ ของวิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ ให้กับครูพี่เล้ียง
โรงพยาบาล

122

มิติที่ 3 ผลผลิต/ผลลพั ธ์ เชิงประจกั ษ์

5. โรงพยาบาลพัทลุง จังหวัดพัทลุงผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองคุณภาพต้นแบบศูนย์เครื่องมือแพทย์ ใน

โรงพยาบาลระดับพัฒนาดีเด่น ประเมินโดยกองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยมีศูนย์กลาง

จัดการเคร่ืองมือแพทย์อย่างเป็นระบบ ให้เคร่ืองมือแพทย์มีความเพียงพอ พร้อมใช้งาน มีมาตรฐานและความ

ปลอดภัย พร้อมให้บริการได้ตลอด 24 ช่ัวโมง ลดงบประมาณการซ่อมบารุงรักษา การจัดซื้อเคร่ืองมือแพทย์รวม

เป็นเงินมากกว่า 4.5 ล้านบาท มีการพัฒนาโครงการ และผลงานนวัตกรรมระดับประเทศ ทั้งในสภาวะปกติ

และฉุกเฉิน เช่น โรคระบาดโควิด 19 พร้อมทั้ง

ดูแลบารุงรักษา ทดสอบ สอบเทียบเครื่องมือ

แพทย์ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดพัทลุง 11 อาเภอ

65 ตาบล 669 หมู่บ้าน ประชากร 524,705 คน

ท้ังโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริม

สขุ ภาพตาบล เจา้ หนา้ ทอี่ าสาสมัครสาธารณสุข

ประจาหมู่บ้าน และประชาชนในจังหวัดพัทลุง

และเป็นสถานที่ฝึกงานของสาขาอิเล็กทรอนิกส์

ทางการแพทย์ วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่

รปู ท่ี 3 ศนู ย์เครื่องมอื แพทย์ จ.พทั ลุง จังหวัดสงขลา และสถานที่ศึกษาดูงานด้าน

เคร่ืองมือแพทย์ของโรงพยาบาลท่ัวประเทศ พร้อมทั้งตอบกระบวนการดาเนินงานในระบบมาตรฐานคุณภาพ

เชน่ มาตรฐานรบั รองคณุ ภาพสถานพยาบาล (HA) มาตรฐานระบบบริการสขุ ภาพ เปน็ ตน้

ผลการดาเนินงานตามตวั ชี้วดั ปีงบประมาณ 2563 เทยี บกบั ปีงบประมาณ 2562 ดังนี้

- อุบัตกิ ารณ์ ขอ้ รอ้ งเรียนเคร่ืองมือแพทย์ความเสีย่ งสงู ไม่เพียงพอ ลดลงร้อยละ 70

- อุบัตกิ ารณ์เครือ่ งมือแพทยช์ ารุดจากเหตุไม่พงึ ประสงค์ ลดลงร้อยละ 75

- อบุ ัติการณ์ความไม่ปลอดภัยจากการใชเ้ คร่ืองมือ ลดลงร้อยละ 50

- เครอ่ื งมอื แพทย์ความเส่ยี งสูงชารุดขณะใชง้ าน ลดลงรอ้ ยละ 50

- อัตราการบารงุ รกั ษาและทดสอบเครื่องมือแพทย์ความเส่ยี งสูง ไดร้ อ้ ยละ 96.35

- อัตราการบารงุ รักษาและทดสอบเครื่องมือแพทย์ความเสยี่ งปานกลาง และพ้นื ฐาน ได้รอ้ ยละ 95.42

- โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาสผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองคุณภาพต้นแบบ

ศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ในโรงพยาบาลระดับพัฒนาดีเด่น ประเมินโดยกองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการ

สขุ ภาพ โดยมีศูนยก์ ลางจดั การเครอ่ื งมือแพทย์อย่างเป็นระบบ ให้เครื่องมือแพทย์มีความเพียงพอ พร้อมใช้งาน

มีมาตรฐาน และความปลอดภัย พร้อมให้บริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง ลดงบประมาณการซ่อมบารุงเคร่ืองมือแพทย์

รวมเป็นเงินมากกว่า 300,000 บาท มีการพัฒนาโปรแกรมบริหารจัดการเคร่ืองมือแพทย์ผ่านคอมพิวเตอร์ และ

Smart Phone ในรูปแบบ QR Code โดยระบบอินเตอร์เน็ตที่เข้าถึงทุกพื้นที่ สามารถติดตามการใช้งานได้

อย่างตลอดเวลา ตอบสนองตอ่ การใช้งานตามบรบิ ท และทันสมัย พร้อมทั้งดูแลบารุงรักษา ทดสอบ สอบเทียบ

เคร่ืองมือแพทย์ครอบคลุมพ้ืนท่ีอาเภอเมือง ให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 11 แห่ง เจ้าหน้าที่

อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมบู่ ้าน และประชาชนในอาเภอเมือง จงั หวัดนราธวิ าส จานวน 95,563 คน และ

เป็นสถานทีฝ่ ึกงานของสาขาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทางการแพทย์ วทิ ยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และสถานท่ี

ศกึ ษาดงู านด้านเครื่องมอื แพทยข์ องโรงพยาบาลทั่วประเทศ โดยเฉพาะโรงพยาบาลในพื้นที่ชายแดนใต้ จานวน

33 แห่ง พร้อมท้ังตอบกระบวนการดาเนินงานในระบบมาตรฐานคุณภาพ เช่น มาตรฐานรับรองคุณภาพ

สถานพยาบาล (HA) มาตรฐานระบบบริการสขุ ภาพ เปน็ ต้น

123

- นักศึกษาสาขาอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์ วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีสถานที่ฝึกงาน

และรุน่ ท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 จานวน 20 คน จบการศึกษาเดือนมีนาคม 2562 จานวน 18 คน ดังนี้

- ศึกษาต่อระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมชวี การแพทย์ มหาวิทยาลัยรงั สิต จานวน 10 คน

- ศกึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาตรสี าขาโทรคมนาคม มหาวทิ ยาลยั พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื จานวน 1 คน

- ทางานบรษิ ทั เอกชน จานวน 4 คน

- ทางานทศ่ี ูนย์เครือ่ งมอื แพทยม์ หาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ จานวน 1 คน

- ทางานท่ีโรงพยาบาลโคกโพธิ์ จังหวัดปตั ตานี จานวน 1 คน

6. ประชาชนไดร้ บั การบริการ และได้ใช้เครอ่ื งมอื แพทย์ท่ีมีความเท่ียงตรง ได้มาตรฐานและปลอดภัย ส่งผลให้

การวินิจฉัยโรค การรักษามีความถูกต้องแม่นยา ลด

ระยะเวลาการให้บริการลง มีความพึงพอใจหรือความ

เชอื่ มนั่ ต่อการรบั บริการมากขึ้น

- บุคลากรทางการแพทย์ได้ปฏิบัติงานตามวิชาชีพ

ไม่ตอ้ งดแู ลเคร่ืองมือแพทย์ มีเวลาดแู ลผปู้ ุวยมากขึ้น

- ผู้ใช้งานหรือบุคลากรผู้รับบริการมีเครื่องมือ

แพทย์ท่ีเพียงพอ พร้อมใช้ ได้มาตรฐานและปลอดภัยท่ี

พร้อมให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง และได้รับการทบทวน

เสรมิ ความรู้ด้านการใช้เครื่องมือแพทย์เป็นประจา มีความ รปู ที่ 4 การอบรมศึกษา
พงึ พอใจหรอื ความเชอ่ื มน่ั ตอ่ การรับบริการมากข้ึน

- นกั ศึกษามีโอกาสในการเรยี นรู้ มีสถานที่ฝกึ งาน และสามารถพัฒนาโอกาสทางศึกษาในระดบั ท่สี ูงข้ึน

7. มีการประเมินผลจากกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองวิศวกรรมการแพทย์ ซ่ึงเป็นองค์กรตรวจเยี่ยม

ประเมินการบริหารจัดการศูนย์เครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาล ซึ่งมีเกณฑ์ผ่านการประเมินรับรองมาตรฐาน

ระดับ 4.5 คะแนนขึ้นไป (5 ระดับ) คือ ดาเนินการตามข้อกาหนดและส่ือสารได้ทุกหน่วยรับทราบ และนาสู่

การปฏิบัติ ติดตามประเมินผล และเป็นผลงานท่ีนาไปใช้แล้วจริง ที่มีผลสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรมที่สามารถ

ตรวจสอบได้ ได้แก่ ปีงบประมาณ 2561 โรงพยาบาลพัทลุง จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2562 โรงพยาบาล

นราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2563 ไม่มีการประเมินเนื่องจากสถานการณ์แพร่

ระบาดโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนาสายพนั ธใ์ หม่ 2019

- ผลการสารวจจากผู้รับรับบริการภายในโรงพยาบาล ได้แก่ แพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยเหลือคนไข้ และ

ผใู้ ชง้ านเคร่อื งมอื แพทย์ในโรงพยาบาล มีความพึงพอใจในระดับดีมาก เช่น ปีงบประมาณ 2563 ศูนย์เคร่ืองมือ

แพทย์ โรงพยาบาลพัทลุง มผี ลความพึงพอใจในภาพรวมร้อยละ 96.6 เพ่ิมขึ้น ร้อยละ 17.8 จากปีงบประมาณ

2562 และมีความพึงพอใจมากที่สุดในทุกด้าน คือ การติดประกาศหรือแจ้งข้อมูลเก่ียวกับข้ันตอนและ

ระยะเวลา, การให้บริการเปน็ ไปตามระยะเวลาท่ีกาหนด, ความรวดเร็วในการบรกิ ารภายในระยะเวลาที่กาหนด

, การให้ข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน, การพูดจา สุภาพ ย้ิมแย้มแจ่มใส, ความเต็มใจ และความพร้อมในการ

ให้บริการ, ความเสมอภาคในการให้บริการโดยไม่เลือกปฏิบัติ, ความรู้ ความสามารถในการให้บริการ,

สภาพแวดลอ้ มเหมาะสมในการให้บริการ, การใหบ้ รกิ ารทถี่ ูกต้อง ครบถว้ น ตรงตามความต้องการ

8. การพฒั นาระบบการบริหารจัดการศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ไม่พบผลกระทบในเชิงลบ พบเพียงความเส่ียงท่ีอาจ

กอ่ ใหโ้ ครงการไม่ประสบความสาเรจ็ ตามเปูาหมาย คือ การดาเนนิ การของโครงการมีการปรับเปล่ียนรูปแบบใน

ปัจจุบัน ทั้งด้านบุคลากร กระบวนงาน สถานที่ และส่ิงอานวยความสะดวก ทาให้องค์กรมีภาระเพ่ิมข้ึนในช่วง

เริม่ โครงการ เชน่ งบประมาณ เปน็ ต้น หรือผูป้ ฏิบัติงานไม่คุ้นชินกับการปฏิบัติ หรือวัฒนธรรมท่ีปฏิบัติมา อาจ

ส่งผลให้เกดิ ผลกระทบเชงิ ลบ ในการไม่ให้ความรว่ มมือ หรอื ปฏเิ สธการเขา้ ร่วมโครงการ โดยมแี นวทางจดั การ คือ

124

- ช้ีแจงโครงการให้กลมุ่ เปาู หมายเขา้ ใจถงึ วตั ถุประสงค์ และผลลัพธ์ พรอ้ มทง้ั วเิ คราะห์ผลดี ผลกระทบ
หรือโอกาสของการดาเนนิ การตามโครงการ

- ดาเนินการตามมาตรฐานท่ีกาหนด ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมขอบริบทขององค์กร และขีด
ความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน และส่งเสริม สนับสนุน
กลุ่มเปูาหมายในส่วนท่ีขาด ตามขอบเขตท่ีสามารถ
ดาเนินการได้ โดยเร่ิมจากการวางแผน ประกาศนโยบาย
การประกาศใช้กระบวนการทางานเตรียมความพร้อมใน
ด้านต่างๆ และการพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน
พร้อมท้ังช้ีแจงการปฏิบัติแก่ผู้ปฏิบัติให้เข้าใจ และให้
คาปรึกษา ติดตาม อย่างสม่าเสมอ ตลอดการดาเนินการ
จนเสร็จสิ้นโครงการ

- สร้างแรงจูงใจ โดยการประกาศยกย่องเชิดชู
เกียรติแก่องค์กร และผู้ปฏิบัติงานที่มีความมุ่งม่ัน ต้ังใจที่ รปู ท่ี 5 เย่ียมประเมินศูนยเ์ ครื่องมอื แพทย์ จ.นราธิวาส
ดาเนินการไดบ้ รรลสุ าเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ

รปู ที่ 6 โครงการอบรมการบริหารจัดการศูนยเ์ คร่ืองมอื แพทย์

มติ ิที่ 4 ความยั่งยืนของโครงการ
9. ปงี บประมาณ 2560 ได้มกี ารยกรา่ งหลกั เกณฑ์ นาไปประยุกต์ใช้ใน ปี 2561 กับโรงพยาบาลกลุ่มเปูาหมาย
และเก็บรวบรวมข้อมลู จากผลการดาเนนิ งาน ปรับปรุง แก้ไขหลักเกณฑ์ให้สอดคล้องกับบริบทของผู้ปฏิบัติมาก
ยง่ิ ข้ึน และยงั คงความเปน็ มาตรฐานทยี่ อมรับได้ เพื่อนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นปีงบประมาณ 2562 ต่อไป

- ปีงบประมาณ 2562 ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 12 ได้ดาเนินการส่งเสริมส่งเสริม สนับสนุน
และพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ศูนย์เคร่ืองมือแพทย์ตามคู่มือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีใน
การจดั ทาศนู ยเ์ ครื่องมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล และเป็นพี่เลี้ยงดูแล ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ ให้แนวทางแก่
โรงพยาบาลกลุ่มเปูาหมาย โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 ดาเนินการในรูปแบบการจัดประชุมเชิง
ปฏิบัติการ โดยกาหนดกลุ่มเปูาหมายเป็นผู้รับผิดชอบงานแห่งละ 3 ราย และ ระยะที่ 2 ลงพื้นท่ีเพื่อส่งเสริม
และติดตามผล พบว่า ผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มเปูาหมายไม่สามารถกลับไปถ่ายทอดแก่ผู้บริหาร และบุคลากรใน
องค์กรได้ เมื่อเข้าติดตามในระยะท่ี 2 จึงไม่มีความคืบหน้าในแต่ละแห่ง ทางทีมจึงประเมินความพร้อมของ
โรงพยาบาลแห่งที่พร้อมท่ีสุด จานวน 2 แห่ง ในการพัฒนาเตรียมความพร้อม เพ่ือตรวจประเมินคุณภาพตาม
เกณฑ์มาตรฐานทก่ี าหนด

125

- ปีงบประมาณ 2563 ศนู ยส์ นับสนนุ บริการสขุ ภาพท่ี 12 จงึ ทาการถอดบทเรียน และปรับเปล่ียนแนว
ทางการส่งเสรมิ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบการบริหารจดั การ ศูนย์เครือ่ งมอื แพทย์ตามคู่มือการปฏิบัติ
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการจัดทาศูนย์เครื่องมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล และเป็นพ่ีเลี้ยงดูแล ให้
คาปรึกษา ช่วยเหลือ ให้แนวทางแก่โรงพยาบาลกลุ่มเปูาหมาย โดยการลงพื้นที่ ณ โรงพยาบาลเปูาหมาย 2
ระยะ คือ ระยะที่ 1 โรงพยาบาลแห่งละ 2 วัน โดยการประชุมผู้รับผิดชอบกลุ่มเปูาหมายท่ีเกี่ยวข้องท้ังหมด
และลงพ้ืนที่ เพ่ือพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ศูนย์เครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาล สรุปและรายงานผลแก่
กลุ่มเปูาหมายในวันท่ี 2 สาหรับระยะที่ 2 ดาเนินการลงพ้ืนที่ ประเมินตนเอง และแก้ไขปัญหาท่ีติดประเด็น
พบว่าโรงพยาบาลกลุ่มเปูาหมายมีความคืบหน้า สามารถดาเนินการได้มากขึ้น และมีความพร้อมสาหรับการ
ประเมนิ มากกว่ารูปแบบการสง่ เสริมและพัฒนาฯ ในปีงบประมาณ 2562

โดยมีการวางแผนโครงการในการขยายผลไปยังโรงพยาบาลท่ัวประเทศ ดงั นี้
- ปีงบประมาณ 2560 ยกร่างคู่มือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการจัดทาศูนย์เครื่องมือ
แพทย์สาหรับโรงพยาบาล และทดลองใช้ กลุ่มเปูาหมาย จานวน 13 แห่งทั่วประเทศ โดยพ้ืนท่ีเขต 12 ณ
โรงพยาบาลพทั ลุง จังหวัดพัทลงุ
- ปีงบประมาณ 2561 ขยายผลส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาตามคู่มือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการท่ีดีในการจัดทาศูนย์เครื่องมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล กลุ่มเปูาหมาย จานวน 20 แห่งทั่วประเทศ โดยเขต
ท่ี 12 ณ โรงพยาบาล พทั ลุง จงั หวดั พทั ลงุ และโรงพยาบาลยะลา จังหวดั ยะลา
- ปีงบประมาณ 2562 ขยายผลส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาตามคู่มือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และ
วธิ กี ารท่ดี ใี นการจัดทาศนู ย์เครอ่ื งมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล กลุ่มเปูาหมายโรงพยาบาลประจาจังหวัด จานวน 76
แหง่ ทวั่ ประเทศ โดยเขตที่ 12 มจี านวน 7 แห่ง
- ปงี บประมาณ 2563 -2564 ขยายผลส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาตามคู่มือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่ดีในการจัดทาศูนย์เคร่ืองมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล กลุ่มเปูาหมายโรงพยาบาลระดับ M1 M2 และ
โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราช จานวน 128 แหง่ ทวั่ ประเทศ โดยเขตที่ 12 มีจานวน 7 แหง่
- ปีงบประมาณ 2565 ขยายผลส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาตามคู่มือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่ดีในการจัดทาศูนย์เคร่ืองมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล กลุ่มเปูาหมายโรงพยาบาลระดับ F1
จานวน 86 แห่งท่ัวประเทศ โดยเขตท่ี 12 มีจานวน 10 แหง่
10. โปรดระบุเปูาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน Sustainable Development Goals (SDGs) ขององค์การสหประชาชาติ
ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับผลงาน อธิบายการดาเนินงานท่สี นับสนุนใหบ้ รรลุเปูาหมายดังกล่าว
โครงการน้ี มีส่วนเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับเปูาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน Sustainable
Development Goals (SDGs) ขององคก์ ารสหประชาชาติ ใน 4 เปูาหมาย ดังน้ี
- เปูาหมายที่ 3 สรา้ งหลกั ประกนั วา่ คนมชี ีวิตทมี่ ีสขุ ภาพดี และส่งเสริมสวัสดิภาพสาหรับคนทุกวัยโดย
การเข้าถึงการบริการสาธารณสุขด้านเคร่ืองมือแพทย์ การบริการทางการแพทย์ที่มีความเพียงพอ พร้อมใช้ ได้
มาตรฐานและปลอดภัย เสริมขีดความสารถประเทศกาลังพัฒนาในเร่ืองการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความ
เสี่ยง และการบรกิ ารจัดการความเส่ียงด้านสุขภาพ
- เปูาหมายท่ี 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และ
สนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยทุกคนเข้าถึงการศึกษาวิชาเทคนิค อาชีวศึกษา และการเข้าศึกษาต่อ
อุดมศึกษา รวมถึงมหาวิทยาลัยอย่างมีคุณภาพ ด้านวิศวกรรมในประเทศกาลังพัฒนา สร้างหลักประกันว่า
ผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้ และทักษะที่จาเป็นสาหรับการส่งเสริม การพัฒนาที่ย่ังยืน และเพ่ิมจานวนครูท่ีมี
คุณภาพ รวมทง้ั การดาเนนิ การผา่ นความร่วมมอื ระหว่างหน่วยงานในการฝกึ อบรม

126

- เปูาหมายท่ี 8 ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุมและย่ังยืน การจ้างงานเต็มท่ี
และมีผลิตภาพ และการมีงานที่สมควรสาหรับทุกคน โดยการลดสัดส่วนเยาวชนท่ีไม่ได้รับการอบรม สถานท่ี
ฝกึ งาน และรองรบั การจา้ งงานเมอื่ จบการศึกษา

- เปูาหมายที่ 9 สร้างโครงสร้างพื้นฐานท่ีมีความทนทาน ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมท่ีครอบคลุม
และยั่งยืน และส่งเสริมนวัตกรรม โดยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานท่ีมีคุณภาพ ในด้านการแพทย์และสาธารณสุข
เพ่ือความเป็นอยู่ท่ีดีของมนุษย์ มีการเข้าถึงเท่าเทียมสาหรับทุกคน และการอานวยความสะดวกการพัฒนา
โครงสร้างพน้ื ฐานด้านวิชาการสกู่ ารดาเนนิ ชวี ติ ในประจาวนั

****************************************************

127

การสง่ ขอ้ มูลเพิ่มเติม
การพัฒนาการระบบการบริหารจัดการ
ศูนย์เครื่องมือแพทยใ์ นโรงพยาบาล

128

รายงานผลงานข้อมูลเพมิ่ เตมิ

1. ผลลัพธ์การดาเนินงานท่ีชัดเจนและวัดผลได้

การส่งเสริม สนับสนุน และพฒั นาการระบบการบริหารจดั การศนู ยเ์ คร่ืองมือแพทย์ในโรงพยาบาลเขตที่ 12
ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 12 (ศบส. ๑๒) ลงพื้นที่ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบการบริหาร

จัดการศูนย์เครื่องมือแพทย์ ตามคู่มือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีดีในการจัดทาศูนย์เครื่องมือแพทย์
สาหรับโรงพยาบาล ซ่ึงกรม สบส. ได้ดาเนินการจัดทาและตรวจประเมินรับรองมาตรฐานตามหลักเกณฑ์มาตรฐาน
ของกรม สบส. ท่ีกาหนด ณ รพ.กลุ่มเป้าหมาย ดังน้ี ปี 2561 : เป้าหมายจานวน ๒ แห่ง คือ รพ.พัทลุง จังหวัด
พัทลุง และ รพ.ยะลา จังหวัดยะลา และปี 2562 : เป้าหมายจานวน 7 แห่ง คือ รพ.ประจาจังหวัด ดาเนินการได้
ร้อยละ ๑๐๐ และปี 2563 : เป้าหมายจานวน ๗ แห่ง คือ รพ.ทั่วไปขนาดเล็ก (M1), รพ.ชุมชนแม่ข่าย (M2) และ
รพ.สมเด็จพระยุพราช ดาเนินการได้ ๑๕ แห่ง (รพ.ประจาจังหวัด ๗ แห่ง และ รพ.ร้องขอ ๑ แห่ง) คิดเป็นร้อยละ
๒๑๔.๒๘ ของเป้าหมาย โดยมีการสารวจความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายพบว่า ความพึงพอใจภาพรวมเฉลี่ย ปี
๒๕๖๑, ปี ๒๕๖๒ และ ๒๕๖๓ ไดร้ ้อยละ ๘๖.๑๖, ๙๒.๑๕ และ ๙๔.๒๐ ตามลาดับ

- กรณีศึกษา รพ.พทั ลุง จงั หวัดพทั ลุง : ตวั ชีว้ ดั และผลการดาเนนิ งานระดับโรงพยาบาล
ผลการดาเนินงานตามตวั ชวี้ ัดปีงบประมาณ 2563 เทียบกับปงี บประมาณ 2562 ดังน้ี
1) อุบัติการณ์ ข้อร้องเรียนเครื่องมือแพทย์
ความเสีย่ งสูงไม่เพียงพอ ลดลงรอ้ ยละ 70
2) อุบัติการณ์เครื่องมือแพทย์ชารุดจากเหตุไม่
พงึ ประสงค์ ลดลงร้อยละ 75
3) อุบัติการณ์ความไม่ปลอดภัยจากการใช้
เคร่อื งมือ ลดลงร้อยละ 50
4) เครื่องมือแพทย์ความเสี่ยงสูงชารุดขณะใช้
งาน ลดลงรอ้ ยละ 50
5) อัตราการบารุงรักษาและทดสอบเคร่ืองมือ
แพทยค์ วามเส่ียงสูงไดร้ ้อยละ 96.35
6) อัตราการบารุงรักษาและทดสอบเครื่องมือ

แพทย์ความเส่ียงปานกลาง และพื้นฐานได้ร้อย

ละ 95.42

2. ความย่งั ยนื ของผลงาน
จากความขาดแคลนบุคลากรในการดูแลด้านเครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาล ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ กรมสนับสนุน-

บริการสุขภาพ (สบส.) ได้มอบหมายให้ ศบส. ๑๒ จัดทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การพัฒนาบุคลากร
ด้านวิศวกรรมการแพทย์ กับสถาบันการศึกษาในพ้ืนที่ (วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่) เพื่อพัฒนาหลักสูตรและจัดการ
เรียนการสอน และร่วมกับ รพ.ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (ปี ๒๕๖๐ จานวน 12 แห่ง คือ รพ.พัทลุง จังหวัด
พัทลุง รพ.ตรัง และ รพ.กันตัง จังหวัดตรัง รพ.ปัตตานี และ รพ.หนองจิก จังหวัดปัตตานี รพ.ยะลา จังหวัดยะลา
รพ.นราธิวาสราชนครินทร์ และรพ.สุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส รพ.สทิงพระ จังหวัดสงขลา รพ.สตูล จังหวัดสตูล
และ รพ.มหาราชนครศรธี รรมราช และ รพ.ทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช และปี ๒๕๖๓ เพิ่มเติมจานวน ๓ แห่ง คือ
รพ.สงขลา และ รพ.หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และวิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยรังสิต) เพ่ือเป็นแหล่ง
ฝึกงานแก่นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาอิเล็กทรอนิกส์ทางการการแพทย์ (หลักสูตร
การเรียนการสอนแบบทวิภาคี) และส่งเสริมให้การอบรมหลักสูตรครูฝึกในสถานประกอบการ ให้กับครูพี่เลี้ยง

129

โรงพยาบาล โดย ศบส. ๑๒ ได้มีการติดตามประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ของการเรียนการสอน การฝึกงาน และ
พัฒนาร่วมกับวิทยาลัยฯ และ รพ.อย่างสม่าเสมอ เพ่ือผลิตบุคลากรและผลักดันเข้าสู่การประกอบอาชีพในระบบ
บริการภาครัฐ โดยมีผลการผลิตนักศึกษาดังน้ี

1) รนุ่ ที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 รับนักศกึ ษาจานวน 20 คน จบการศึกษา จานวน ๒๐ คน
- ศกึ ษาต่อระดับปริญญาตรี 1๒ คน ประกอบธุรกิจส่วนตวั ๒ คน และทางานใน รพ.ภาครฐั ๖ คน

2) รนุ่ ท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ รบั นักศึกษาจานวน ๒๐ คน จบการศกึ ษา ๑๙ คน
- ศึกษาต่อระดับปริญญาตรี 1๕ คน ประกอบธุรกิจส่วนตัว ๑ คน และทางานใน รพ. ภาครัฐ ๒ คน
ภาคเอกชน ๑ คน

3) รนุ่ ท่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ รบั นักศึกษาจานวน ๑๙ คน อยรู่ ะหว่างการฝึกงาน
หมายเหตุ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ไมม่ กี ารเรียนการสอน เน่อื งจากจานวนการสมัครเรียนไม่ถึงเป้าหมาย
แผนการดาเนนิ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาการระบบการบริหารจัดการศนู ยเ์ ครอื่ งมอื แพทย์ในโรงพยาบาล

กรม สบส. ได้ขยายผลไปยังกลุ่มเป้าหมายมากข้ึน โดยแผนการดาเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ เป้าหมาย รพ.
ชุมชนขนาดใหญ่ (F๑) ทั่วประเทศ จานวน ๘๕ แห่ง และในปี พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๖๘ เป้าหมาย รพ.ชุมชนขนาด
กลาง (F๒) และ รพ.ชุมชนขนาดเล็ก (F๑) ท่ัวประเทศ จานวน ๕๙๒ แห่ง โดยมีการดาเนินการถ่ายทอดองค์ความรู้
โดยการประชมุ /อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรผู้รับผิดชอบกลุ่มเป้าหมาย ลงพ้ืนท่ีส่งเสริม พัฒนา และให้คาปรึกษา
แก่กลุ่มเป้าหมาย ณ พ้ืนที่ จัดทาสื่อคู่มือองค์ความรู้ และพัฒนาแนวทางระเบียบปฏิบัติงาน ข้ันตอนปฏิบัติงาน ให้
การสนับสนุนแก่กลุ่มเป้าหมาย และรับรองประเมินผล พร้อมท้ังประกาศเชิดชูเกียรติ เพื่อเป็นสถานที่ศึกษาดูงาน
ต่อไป
3. ความโดดเดน่ ของผลงานอยา่ งชัดเจน

ที่ผ่านมาไทยยังไม่มีแนวทางหรือมาตรฐานการจัดการศูนย์เครื่องมือแพทย์ใน
โรงพยาบาล ในปี พ.ศ. 2560 กรม สบส. (กองวิศวกรรมการแพทย์ ร่วมกับ ศบส. 1-12
และกองแบบแผน) ยกร่างและจัดทามาตรฐานดังกล่าวโดยเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล
มีตัวแทน รพ.ของทุกภูมิภาคของประเทศในระดับตติยภูมิ และทุติยภูมิ และตัวแทน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา รวมท้ังสิ้นจานวน 69 ราย ได้ร่วมกันให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกับคู่มือการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีท่ีดีในการจัดทาศูนย์เคร่ืองมือแพทย์สาหรับโรงพยาบาล จานวน ๓๙
ข้อกาหนด แบ่งเป็น 6 ส่วน คือ ส่วนท่ี 1 บทนา ๓ ข้อ ส่วนท่ี 2 องค์กรและระบบการจัดการ 5 ข้อ ส่วนที่ 3
การกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ ๕ ข้อ ส่วนที่ ๔ การบริหารทรัพยากร ๕ ข้อ ส่วนที่ ๕ ศูนย์เคร่ืองมือแพทย์และ

130

ข้อกาหนดเฉพาะของเครือ่ งมือ ๑๔ ข้อ และส่วนที่ ๖ การตรวจติดตามและการเฝ้าระวัง ๗ ข้อ พร้อมทั้งขยายผลส่ง
ต่อให้ ศบส. ๑-๑๒ ได้นามาถ่ายทอดและประยุกต์ใช้แก่โรงพยาบาลกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ ที่แต่ละ ศบส. รับผิดชอบ
พร้อมท้ังมีการป้อนข้อมูลกลับ เพ่ือนามาทบทวน ปรับปรุง และจัดทาคู่มือมาตรฐานในปี ๒๕๖๑ และปี ๒๕๖๒
ฉบบั ปรบั ปรุง
ผลการรบั รองประเมนิ ศูนย์เครื่องมือแพทย์ระดบั พัฒนาดีเด่น

กรม สบส. ได้ดาเนินการประเมินมาตรฐาน โดยมีการกาหนดเกณฑ์การรับรองประเมินศูนย์เครื่องมือแพทย์
ระดบั พฒั นาดเี ด่น ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับ ๔.๕ คะแนนข้ึนไป จาก ๕ คะแนน คือ เป็นศูนย์เคร่ืองมือแพทย์
ต้นแบบในการบริหารจัดการเคร่ืองมือแพทย์ มีการหมุนเวียนการใช้เครื่องมือแพทย์ระหว่างหอผู้ป่วย การนาเข้า
เครื่องมือแพทย์เข้าสู่ระบบในโรงพยาบาล การบารุงรักษา การทดสอบความพร้อมใช้ การเก็บรักษา การนาส่งการ
ติดตาม การจัดการด้านเอกสารการจดบันทึกและการติดตามประเมินผล ให้คาปรึกษาด้านศูนย์เครื่องมือแพทย์กับ
ภาคีเครอื ข่าย พบวา่ มผี ลการประเมนิ ดังนี้

- ปี ๒๕๖๑ จานวน ๓ แห่ง คือ รพ.พัทลุง จ.พัทลุง, รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ จ.เชียงราย และ
รพ.พหลพลพยหุ เสนา จ.กาญจนบุรี

- ปี ๒๕๖๒ จานวน ๗ แห่ง คือ รพ.นราธิวาสราชนครินทร์ จ.นราธิวาส รพ.อานาจเจริญ จ.อานาจเจริญ
รพ.สรุ นิ ทร์ จ.สุรินทร์ รพ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย รพ.เจ้าพระยาอภัยภูเบศร จ.ปราจีนบุรี รพ.ลาลูกกา จ.ปทุมธานี และ
รพ.กาแพงเพชร จ.กาแพงเพชร

- ปี ๒๕๖๓ เนื่องด้วยสถานการณ์โรคระบาด มีเพียงการประเมินศูนย์เคร่ืองมือแพทย์เบ้ืองต้น
โดย ศบส. ๑๒ จานวน ๑๕ แห่ง พบว่า อยู่ในเกณฑ์ระดับพัฒนาดีเด่น จานวน ๔ แห่ง คือ รพ.พัทลุง จ.พัทลุง
และ รพ.นราธิวาสราชนครินทร์ จ.นราธิวาส (ประเมินรักษาสภาพ) รพ.ยะลา จ.ยะลา และ รพ.สตูล จ.สตูล เพ่ือย่ืน
ขอการรับรองจากหนว่ ยรบั รองต่อไป

จากกรณีศึกษาโรงพยาบาลพัทลุง จังหวัดพัทลุง : โรงพยาบาลพัทลุง จังหวัดพัทลุง ที่ผ่านเกณฑ์การ
ประเมินรับรองคุณภาพต้นแบบศูนย์เครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาลระดับพัฒนาดีเด่น มีศูนย์กลางจัดการเคร่ืองมือ
แพทย์อย่างเป็นระบบ ส่งผลให้เครื่องมือแพทย์มีความเพียงพอ พร้อมใช้งาน มีมาตรฐานและความปลอดภัย พร้อม
ให้บริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง ลดงบประมาณมากกว่า 4.5 ล้านบาท จากการทานุบารุงรักษาเชิงป้องกัน โดย
เปลยี่ นจากการจา้ งบรษิ ัทเป็น รพ. ดาเนินการเอง จานวน ๓,๘๓๒,๗๑๐ บาท, ปรับกระบวนงานการซ่อมบารุง ก่อน
ปรับใช้งบ ๗,๔๘๗,๒๔๖.๘๓ บาท หลังปรับใช้งบ ๖,๗๗๙,๐๒๓.๐๕ บาท ลดงบประมาณได้ ๗๐๘,๒๒๓.๗๘ บาท
เป็นต้น พร้อมท้ัง รพ. พัทลุงได้ดาเนินการดูแลบารุงรักษา ทดสอบ สอบเทียบเคร่ืองมือแพทย์ครอบคลุมพ้ืนที่
จังหวัดพัทลุง 11 อาเภอ 65 ตาบล 669 หมู่บ้าน ประชากร 524,705 คน ครอบคลุม รพ.ชุมชน รพสต.
เจ้าหน้าที่ อสม. (สาหรับเครื่องมือแพทย์ปฏิบัติหน้าที่ดูแลประชาชน) และประชาชนในจังหวัดพัทลุง (จากการซ้ือ
เครอื่ งมอื แพทย์ใชง้ านเอง เชน่ เครอื่ งวัดความดันโลหิต เป็นต้น) และเป็นสถานที่ฝึกงานของสาขาอิเล็กทรอนิกส์ทาง
การแพทย์ และสถานที่ศึกษาดูงานด้านเคร่ืองมือแพทย์ของ รพ.ท่ัวประเทศ โดย ศบส. ๑๒ ดาเนินการให้การ
ส่งเสริม สนับสนุน ให้คาปรึกษา พัฒนา กากับ ประเมินผล และรับรองมาตรฐานให้กับโรงพยาบาลเป็นประจาทุกปี
อย่างสม่าเสมอต่อเนื่อง เพ่ือรักษาคุณภาพของระบบการบริหารจัดการ ศูนย์เครื่องมือแพทย์ในโรงพยาบาลท่ี
สามารถสนับสนุนการบริการสุขภาพให้มีความเพยี งพอ พร้อมใช้ ปลอดภัย มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และสมประโยชน์
อย่างยั่งยนื ตลอดไป

*****************************************************

131

ภาคผนวก

1. ประกาศรางวลั PMQA หมวด 1
2. ภาพประกอบการรับการตรวจประเมิน (Site Visit)

รางวัล PMQA หมวด 1
3. ประกาศรางวัลบริการภาครฐั

4. ภาพประกอบการรับการตรวจประเมิน (Site Visit)
รางวลั บรกิ ารภาครฐั ระดบั ดีเด่น

132

ประกาศรางวลั PMQA หมวด 1

133

ภาพประกอบการรับการตรวจประเมิน (Site Visit) รางวลั PMQA หมวด 1

134

ประกาศรางวลั บรกิ ารภาครฐั

รางวัลบริการภาครฐั ระดบั ดีเด่น
รางวัลบรกิ ารภาครฐั ระดับดี

135

ภาพประกอบการรบั การตรวจประเมิน (Site Visit) รางวลั บรกิ ารภาครัฐ ระดบั ดีเด่น

*******************************************************************************



การจดั ทาผลงานรางวลั เลิศรัฐ
กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ทปี่ รึกษา อธิบดีกรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ
รองอธิบดีกรมสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพ (รอง CCO)
นายแพทย์ธเรศ กรษั นยั รวิวงค์ รองอธบิ ดีกรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ
นายแพทย์สามารถ ถิระศักด์ิ รองอธิบดีกรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ
นายแพทย์ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผูอ้ านวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ทนั ตแพทย์อาคม ประดิษฐสุวรรณ
พอชม ฉวีวัฒน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน
บรรณาธิการ
นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
ฐิตาภรณ์ ปานขลบิ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน
จีรนันท์ แทน่ ทอง
ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผู้เรยี บเรียง นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ
นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน
ฐิตาภรณ์ ปานขลิบ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน
จีรนนั ท์ แท่นทอง นายชา่ งเทคนคิ ชานาญงาน
วศิ วกรปฏบิ ตั กิ าร (ด้านชวี การแพทย)์
ต้นฉบบั

พอชม ฉววี ัฒน์
ฐติ าภรณ์ ปานขลิบ
จรี นันท์ แทน่ ทอง
พฤกษ์ จันทนโรจน์
ธันวา โทนวิรตั น์
เอกพงษ์ แก้วราบ

ผ้จู ัดพิมพ์

กลมุ่ งานพัฒนานวตั กรรมและการบรหิ ารการเปล่ียนแปลง
กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร

พิมพ์คร้ังท่ี 1

ปที พี่ ิมพ์ : 2564 จานวน 12 เลม่

สถานทพี่ ิมพ์ : เอทเี อส ซพั พลาย 2016





กลุ่มพฒั นาระบบบริหาร

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
ถ.ติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000

โทร 0-2193-7010 e-Mail: [email protected]


Click to View FlipBook Version