The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ที่จัดโดยสำนักงาน ก.พ.ร. ประจำปี 2564 จำนวน 3 รางวัล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by opdc.hss, 2021-09-17 02:28:46

ผลงานรางวัลเลิศรัฐ ประจำปี 2564 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้รับรางวัลเลิศรัฐ ที่จัดโดยสำนักงาน ก.พ.ร. ประจำปี 2564 จำนวน 3 รางวัล

41

ต้นแบบ เพ่ือยกย่องบุคคลและสร้างขวญั กาลังใจใหผ้ ทู้ ี่ยดึ มัน่ ในคุณธรรมจริยธรรมให้เป็นแบบอย่างที่ดี เช่น ข้าราชการ
พลเรอื น ลูกจ้างประจาดีเดน่ คนดีศรีสาธารณสขุ คนดศี รี สบส. หนว่ ยงานดีเด่นดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม มีโครงการสร้าง
เสรมิ สขุ ภาพทางการเงิน (Happy Money Program) เพ่ือเป็นสวัสดิการดูแลด้านการเงินให้กับบุคลากรในกรมฯ ส่งผล
ในภาพรวมแล้ว บุคลากรมีความสุขและมีความภาคภูมิใจท่ีได้ทางานในกรม สบส. มีความเป็นเจ้าของร่วมกัน นาเป็น
ข้อมลู ประกอบการวิเคราะห์ ทบทวนจดั ทาแผนยทุ ธศาสตรท์ รัพยากรบคุ ลากรต่อไป ดังรปู ท่ี7.3 (10)
5.2 ค. กรมฯ ทบทวนปรับแผนพัฒนาบุคลากรท้ังระยะสั้นและระยะยาว ให้สอดรับกับการปฏิรูปกรม และปรับแผน
ยุทธศาสตร์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง มีแผนการพัฒนาบุคลากรท่ีตอบสนองยุทธศาสตร์ เช่น วิศวกรรมชีวการแพทย์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เพ่ือพัฒนาการเป็นศูนย์ทดสอบสอบเทียบเครื่องมือการแพทย์ท่ีทันต่อเทคโนโลยี สถาปนิกด้านการ
ออกแบบตามหลักเกณฑว์ ธิ ีแบบจาลองสารสนเทศ (BIM Protocol) และสมรรถนะหลักขององค์การ การทดสอบและสอบเทียบ
เครอื่ งมอื แพทย์และการสร้างเครือข่ายการมสี ่วนรว่ มภาคประชาชน มีแผนพัฒนาบุคลากรที่ตอบสนองสมรรถนะหลัก คือ การ
พัฒนาและจัดต้ังห้องปฏิบัติการทดสอบและสอบเทียบเคร่ืองมือวัดทางการแพทย์ตามาตรฐาน ISO/IEC 17025 การพัฒนา
ระบบสุขภาพชุมชนและเครือข่ายปฐมภูมิ การพัฒนารูปแบบและการดาเนินงานสาธารณสุขมูลฐานเพ่ือพัฒนาสุขภาพภาค
ประชาชน ผลกั ดันใหบ้ ุคลากรพัฒนาตนเองไปสู่เปูาหมายของกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทั้ง
หลักสูตรภายในและภายนอกกรมฯ ให้ครอบคลุมในด้านต่าง ๆ ความรู้ความสามารถในการแก้ไขปัญหา เช่น ผู้นาทีมที่มี
ประสิทธภิ าพ (LSP) การขับเคลื่อนองค์กรแห่งการเรียนรู้ หลักสูตรอบรมผู้บริหารระดับต้น และนักบริหารด้านการสนับสนุน
บริการสุขภาพในยุคใหม่ ความรู้และทักษะดิจิทัล ได้แก่ PMQA 4.0 Disruptive technologies ผู้ประกอบการภาครัฐ ผู้นา
การเปลี่ยนแปลง การคิดเชิงออกแบบ IT Security Awareness Cyber Security Awareness for HSS การปฏิบัติงานสู่
ราชการ 4.0 HR Network ผ่านระบบออนไลน์ รวมท้ังการปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ ความพร้อมเข้าสู่ตาแหน่งสาคัญเชิง
ยุทธศาสตร์ การเสริมสร้างศักยภาพและพัฒนาดุลยภาพ การปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ ในสถานการณ์โควิด 19 มีการ
ปรับเปล่ียนรูปแบบในการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย เช่น สถานพยาบาล สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ ผู้ประกอบ
วิชาชีพ ผู้ให้บริการฯ สสจ. อสม. อสค. และผู้นาชุมชน ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ กาหนดระบบประกันคุณภาพการฝึกอบรม
เพ่ือให้หนว่ ยงานใช้ในการพัฒนาบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ ติดตามประเมินผลการพัฒนา มีการทบทวนผลการดาเนินงาน
ในท่ีประชุมคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เป็นขอ้ มลู ในการจดั สรรงบประมาณในปีต่อไป ดงั รูปท่ี 7.3(4)-7.3(9)
หมวด 6 การปฏิบตั ิการ
6.1 กระบวนการทางาน
6.1 ก กรมมีการวิเคราะห์ทบทวนข้อกาหนดท่ีสาคญั ของผลผลิต การบรกิ าร และทบทวนระบบงานที่สาคัญ อย่างน้อยปีละ
1 คร้ัง ด้วย SIPOC MODEL เพ่ือให้ตอบสนองยุทธศาสตร์ นามาจัดทาข้อกาหนดของกระบวนการหลักและกระบวนการ
สนับสนุน มีการจัดทาคู่มือปฏิบัติงาน และผังกระบวนการท่ีชัดเจน มีการวิเคราะห์ความเส่ียงของปัญหาท่ีเกิดข้ึน เพื่อ
กาหนดเป็นจุดควบคุมกระบวนการ และการบริหารต้นทุน ทาให้การนากระบวนการไปปฏิบัติสามารถทาได้อย่างถูกต้อง
และสามารถควบคุมผลการดาเนินการโดยรวมของกรมฯได้ โดยกาหนดตัวช้ีวัดที่แสดงถึงความสาเร็จของการจัดการ
กระบวนการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผล
กระทบต่อยุทธศาสตร์ประเทศในด้านต่าง ๆ โดยมี 3
กระบวนงานหลกั ได้แก่ กระบวนการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
ระบบบรกิ ารสุขภาพและบริหารยุทธศาสตร์ Medical Hub
กระบวนการมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ และกระบวนการ
ระบบสุขภาพภาคประชาชน และ 7 กระบวนการสนับสนุน
ได้แก่ งานบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล งานจัดการ
ความรู้ งานพัฒนาระบบสารสนเทศ งานพัฒนาระบบบริหาร
งานบริหารงบประมาณ งานบริหารงานท่ัวไป และงาน

รูปท่ี 6.1 การจัดทาข้อกาหนดที่สาคัญของกระบวนการทางาน

42

ประชาสัมพันธ์และโฆษณา โดยในการจัดการกระบวนการ กรม สบส.ได้จัดทากระบวนการผ่านตัวช้ีวัด ดังรูปท่ี 6.1 เพื่อ

ควบคุมให้การดาเนินการเป็นไปตามข้อกาหนด การจัดทาคู่มือปฏิบัติงาน และผังกระบวนการท่ีชัดเจน โดยมีการวิเคราะห์

ความเส่ยี งของปัญหาทเี่ กดิ ขน้ึ เพือ่ กาหนดเป็นจดุ ควบคุมกระบวนการและการบริหารต้นทุน ทาให้สามารถนากระบวนการไป

ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง และสามารถควบคุมผลการดาเนินการโดยรวมของกรมฯ ได้ เช่น กระบวนงานการอนุญาตให้ประกอบ

กิจการและดาเนินการสถานพยาบาลฯ มีการลดระยะเวลา ลดค่าใช้จ่าย โดยให้บริการผ่านระบบ Biz Portal และจ่าย

คา่ ธรรมเนยี มผ่านระบบ e-Payment ของกรมบญั ชกี ลาง เปน็ ต้น พรอ้ มทั้งติดตามและประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล

เพอื่ นามาปรับปรงุ ผลการดาเนินงานอยา่ งต่อเน่ือง ดังรปู 7.6(3)

6.1 ข ในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปสู่การปฏิบัติ (Implementation) น้ัน กรม สบส. มีการวิเคราะห์กระบวนการใน

ปัจจุบัน และอนาคต รวมท้งั ปญั หาและอุปสรรคของแต่ละกจิ กรรม คดั เลอื กกระบวนการท่ีจะดาเนินการปรับปรุงในทุก

กลยุทธ์ มุ่งเน้นความสมดุลใน 4 มิติตามหลัก Balanced Scorecard รวมทั้งได้จัดทาแผนท่ียุทธศาสตร์ พัฒนา

กระบวนการภายในให้มีประสิทธิภาพทั้งทางด้านกฎหมายและเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการปฏิบัติงานพัฒนา

สมรรถนะบุคลากร พัฒนาองค์กรให้เป็นหน่วยงานที่มีการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง สร้างนวัตกรรมและปรับปรุงงานให้

เกิดผลลัพธแ์ ละมีประสทิ ธิภาพ กาหนดเปูาหมายและผลลพั ธใ์ นการปฏบิ ตั ิงานใหบ้ ริการเป็นไปอย่างมีคุณภาพ รวดเร็ว

เป็นธรรม และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และบุคลากรให้มีจิตสานึกในการให้บริการ มีการกาหนด

ตัวชี้วัดของกระบวนการทางานท้ังกระบวนงานหลักและกระบวนงานสนับสนุน ผ่านระบบการรายงานผลการปฏิบัติ

ราชการ และระบบการติดตามข้อมูลของกรมฯ ผ่านฐานข้อมูล HSS Big Data พร้อมทั้งใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามา

ช่วยจัดการข้อมูลเพ่ือการตัดสินใจของผู้บริหาร มี

ระบบการกากับ ติดตาม กระบวนการผ่านตัวชี้วัด

เพื่อให้ม่ันใจว่ากระบวนงานหลักและกระบวนงาน

สนับสนุนจะสามารถตอบสนองความต้องการของ

ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ ทันต่อการเปล่ียนแปลงของสภาพ

สังคม เศรษฐกิจ การเมืองของประเทศ และในด้าน

การปรับปรุงผลผลิต การบริการ และกระบวนการ

ได้นาแนวคิด PDCA , END to END Process และ

LEAN Process ดังรูปท่ี 6.2 มาเป็นตัวขับเคลื่อนใน

รูปท่ี 6.2 การพัฒนาระบบปรับปรุงผลการดาเนนิ งาน การปรับปรุงกระบวนการทางานตั้งแต่ระดับกรม

หน่วยงานและบุคคล ภายใต้กรอบคุณภาพ PMQA เพ่ือให้การทางานมีประสิทธิภาพ เกิดความคล่องตัวและลดความ

สญู เสียของเวลา ทรัพยากร และลดข้ันตอนทีไ่ ม่จาเป็น ประหยดั ค่าใช้จ่ายดา้ นต่าง ๆ

6.1 ค สบส. ไดใ้ หค้ วามสาคญั กับผ้สู ่งมอบ พันธมติ ร หรือผ้ใู ห้ความร่วมมอื ของกรมฯ เพอ่ื ประโยชนส์ งู สุดในการส่งมอบ

บริการของกรมฯ ได้อย่างถูกต้อง ตรงตามความต้องการของผู้รับบริการ ซึ่งได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ท้ัง

ภาครัฐ เอกชน อปท. และภาคประชาสังคม มีการสร้างและพัฒนาเครือข่ายโดยใช้ข้อมูลอย่างเหมาะสม มีการปรับและ

เช่ือมโยงระบบข้อมูล พร้อมทั้งปรับปรุงคุณภาพของข้อมูลและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ พัฒนา

ศักยภาพเครือข่ายพันธมิตรและร่วมจัดทาแผนการดาเนินงานไม่ว่าจะเป็นในกระบวนการหลักหรือกระบวนการ

สนับสนุน มีการมอบอานาจให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัดท่ัวประเทศ ในการอนุญาตประกอบกิจการและดาเนินการ

สถานพยาบาลเอกชน (คลินิก) โรงพยาบาล สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ โดยเช่ือมโยงข้อมูลกับกระทรวงมหาดไทย

สภาวชิ าชีพตา่ ง ๆ สถาบนั การศกึ ษา รวมทงั้ การบงั คับใช้กฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการค้มุ ครองผู้บริโภคด้านระบบบริการ

สุขภาพ และยังร่วมกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ในการพัฒนาศักยภาพภาคี

เครือข่าย ในระดับอาเภอ ตาบล หมู่บ้าน และเป็นคณะกรรมการร่วมในการคัดเลือก อสม. ระดับจังหวัด ระดับเขต

43

ระดบั ภาค และระดบั ประเทศ เฝูาระวัง ส่ือสาร และขับเคลื่อนงานสุขภาพภาคประชาชนในระดับพ้ืนที่ นอกจากนี้ยังมี
การพัฒนา Healthy Homestay รองรบั การเป็นศูนย์กลางบริการเพือ่ สง่ เสรมิ สุขภาพในจังหวดั ท่องเท่ียวช้ันนา ซ่ึงกรม
สบส. ไดร้ ่วมมือกบั กรมการท่องเท่ยี วในการปรับปรุงมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย โดยเพ่ิมเรื่อง Healthy Homestay มีคู่มือ
การพัฒนา Healthy Homestay รองรบั การเป็นศูนย์กลางบริการเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) และเตรียมจัด
อบรมหลักสตู ร Healthy Homestay การจดั การด้านความสะอาดและปลอดภยั ดงั รปู ที่ 7.6(1) -7.6(5)
6.1 ง สบส. ให้ความสาคัญกับการสร้าง พัฒนาการวิจัย องค์ความรู้ นวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านระบบบริการ
สุขภาพ การจัดการสุขภาพภาคประชาชนและนานวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ โดยบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ มีการ
แต่งต้ังคณะกรรมการและคณะทางานวิชาการและการจัดการความรู้ กรมฯ เพื่อพัฒนามาตรฐานงานวิชาการและนวัตกรรม
ของกรมฯ มีกระบวนการจัดการความรู้ KM HSS ประกอบด้วย 1) การระบุและแสวงหา 2) การจัดระบบและประมวลผล 3)
การเข้าถึงและเผยแพร่ และ 4) การนาไปใช้ประโยชน์ มีการบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ วิเคราะห์เชื่อมโยงองค์
ความรเู้ พือ่ สร้างและพฒั นานวัตกรรมทเี่ ปน็ แนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ในการให้บริการ พร้อมท้ังถอดบทเรียนและ
แลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับหน่วยงานภายนอกองค์กร เครือข่ายภาคประชาชน และสรุปผลการจัดการความรู้ เพื่อให้ได้ระบบ
การจัดการความรู้ที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง และในกระบวนงานมีการปรับรูปแบบการบริหารจัดการองค์กรให้เข้าสู่ระบบดิจิทัล
โดยกรม สบส. มีการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดิจิทัล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2564 – 2568)
เพ่ือพัฒนาองค์กรไปสู่นโยบาย “รัฐบาลดิจิทัลด้านระบบบริการสุขภาพ” มีการปรับ Mindset บุคลากร สร้างแนวคิดและ
นวัตกรรมใหม่ ให้เกิดคุณค่าของการใช้เทคโนโลยีในระดับที่สูงขึ้น พร้อมท้ังวิเคราะห์และวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ดจิ ทิ ัล ตอบสนองทั้ง 3 ยุทธศาสตรข์ องกรมฯ ดังรปู ท่ี 7.6(2)
6.2 ประสทิ ธิผลการปฏิบัตงิ าน
6.2 ก สบส. มีการบริหารจัดการควบคุมต้นทุน โดยกาหนดให้การควบคุมต้นทุนโดยรวมเป็นเปูาประสงค์ของวัตถุประสงค์
เชิงกลยุทธ์ และจัดทาแผนระยะยาวเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการให้บริการ มีการออกแบบแนวทางการดาเนินการพัฒนา
และปรับปรุงกระบวนงาน กิจกรรม ข้ันตอนการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียมาอย่างต่อเน่ือง พร้อมทั้งให้ทุกหน่วยงานนาข้อมูลจากการประเมินผลการดาเนินงานวิเคราะห์ ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการ
ดาเนินงาน การประเมินความพึงพอใจ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาใช้ประกอบการ
พิจารณาปรับปรุงกระบวนงานเป็นประจาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย มีการรวมศูนย์ต้นทุนการจัดซื้อ
จัดจ้างในภาพรวมของกรมฯ เพื่อลดต้นทุนและประหยัดงบประมาณตลอดจนนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยอานวยความ
สะดวกในการปฏิบัติงาน โดยพัฒนาโปรแกรมการใช้งานในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ และกรมฯ ยังได้พัฒนา Application HSS
Office ขึ้นมาประกอบกับการใช้ระบบ SMART 63 เพ่ือให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดก่อให้เกิดผลิตภาพที่มากขึ้น
รวมท้ังการประชุมกับบุคลากรกรมฯ ภาคีเครือข่าย ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผ่านระบบ VDO Conference Web
EX เปน็ ตน้ อีกท้ังยังให้แต่ละหน่วยงานภายในกรมฯ รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณและบริหารการใช้งบประมาณผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ หรือ ระบบ SMART ในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรมฯ ทาให้สามารถติดตาม
สถานะความก้าวหน้าของผลการดาเนินงานและตัวช้ีวัดด้านผลผลิตและการบริหารงานภายใต้แผนปฏิบัติราชการกรมได้แบบ
ออนไลน์ Real time และนาข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่าง ถูกต้อง จนทาให้ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
เปน็ ไปตามเปูาหมาย กาหนดมาตรการประหยัดในเร่ืองต่าง ๆ ดงั รูปที่ 7.6(4)
6.2 ข สบส. เป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าที่กากับหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสาคัญทางสารสนเทศ (CI: Critical Information
Infrastructure) ด้านระบบบริการสุขภาพ ท่ีส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง (Impact Security Risk และ Economics
Public Health) จากการเชื่อมโยงข้อมูลด้านระบบบริการสุขภาพ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
และยังเป็นหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคล (Data Privacy Protection) ด้านธุรกิจบริการสุขภาพ
รองรับการดาเนินงานระหว่างภาครัฐและเอกชน ที่สนับสนุนการทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ด้านระบบบริการสุขภาพทั้ง
ภายในและต่างประเทศ รวมทัง้ การพัฒนานวัตกรรมดิจทิ ลั เพ่ือให้ประชาชนมีความปลอดภัย เชื่อมั่น ในการเข้าใช้บริการใน

44

ระบบบรกิ ารสุขภาพ รวมท้งั การทาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ กรมฯ จึงได้ออกประกาศกรมฯ เรื่อง นโยบายและแนวปฏิบัติ

ในการรักษาความม่ันคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ โดยในการเข้าถึงหรือการควบคุมการใช้งานสารสนเทศ มีนโยบายที่จะ

ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศแก่ผู้ใช้งานและประชาชนอย่างท่ัวถึง เพ่ือให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงและใช้งานสารสนเทศได้

อย่างสะดวก รวดเร็ว และให้การคุ้มครองข้อมูลท่ีไม่เปิดเผย นอกจากนี้ ยังมีการควบคุมการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และ

ระบบสารสนเทศของผู้รับจ้าง เพ่ือให้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมฯ มีความปลอดภัยต่อการถูกบุกรุกโจมตี ลดความ

เส่ียงต่อการลักลอบเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศ และมีระบบตรวจจับและยับยั้งการโจมตีจากภัยคุกคามต่าง ๆ รวมถึงการ

ควบคุมการเข้าถึงระบบสารสนเทศและระบบฐานข้อมูล พร้อมท้ังทบทวนแผนบริหารความเส่ียงด้านสารสนเทศปีละ 1 คร้ัง

เพื่อให้การดาเนนิ การบรหิ ารความเส่ียงจะช่วยสะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพรวมของความเสี่ยงต่าง ๆ ท่ีจะทาให้บุคลากรมีความเข้าใจ

ถึงเปาู หมายและภารกิจหลักของหน่วยงาน ได้อย่างครบถว้ น

6.3 ค กรม สบส. จึงได้ทบทวนและจัดทาแผนบริหารความต่อเน่ือง หรือ Business Continuity Plan (BCP) ข้ึน เพ่ือสามารถ

ตอบสนองต่อปัญหาและสามารให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง ไม่สะดุดหยุดลงเมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤติหรือ

เหตุการณฉ์ ุกเฉนิ ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเกิดจากภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ โรคระบาด หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร หากไม่มีกระบวนการ

รองรับการดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง อาจส่งผลกระทบต่อหน่วยงานในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการให้บริการ สังคม

ชุมชน หรือสิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่งแผนบริหารความต่อเน่ืองจะช่วยให้รับมือกับ

เหตุการณ์ฉุกเฉินที่ไม่คาดคิดและทาให้กระบวนการท่ีสาคัญ สามารถกลับมาดาเนินการได้อย่างปกติหรือตามระดับการ

ใหบ้ ริการที่กาหนดไวไ้ ด้ในระยะเวลาที่เหมาะสม ซ่ึงจะช่วยลดความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อหน่วยงานได้ และยังมี

การวเิ คราะหข์ ้อมลู สถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่ีอาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติภารกิจของกรม สบส. โดยเฉพาะด้านมาตรฐานระบบ

บริการสุขภาพ ท่ีต้องมีการตรวจสอบประเมินมาตรฐานอาคารสถานพยาบาลแก่โรงพยาบาลภาครัฐท่ัวประเทศเป็นประจา

ทุกปี อีกทั้งกรม สบส. มีการจัดอบรมการปูองกันและ

ระงับอัคคีภัย ฝึกซ้อมแผนการอพยพเจ้าหน้าท่ี การ

ชว่ ยเหลือผู้ประสบภัย และการใช้อุปกรณ์ดับเพลงที่ติดต้ัง

ในอาคารให้ถูกวิธี โดยมีการจัดฝึกซ้อมเป็นประจาทุกปี

นอกจากนี้มีการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน

(Emergency Operation Center) ดังรปู ท่ี 6.3 เพ่ือให้

การบริหารงานของกรมฯ เป็นไปอย่างคล่องตัว มี

ประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน และ

รองรบั ภารกิจในการส่งเสริม สนับสนุน ควบคุม กากับ

พร้อมทั้งพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ในภาวะปกติและ รูปท่ี 6.3 ทมี สนบั สนุนในสภาวะฉุกเฉนิ EOC กรม สบส.

ภาวะวิกฤติได้อย่างต่อเนื่อง พร้อมท้ังจัดตั้งทีมวิศวกรฉุกเฉิน (Medical Supportive Emergency Response

Team: MSERT) เป็นทีมเคลื่อนท่ีเร็ว ในการเข้าช่วยเหลือพ้ืนท่ีเกิดเหตุให้สามารถกลับมาพร้อมใช้งานได้ตามปกติ

และบรกิ ารประชาชนไดภ้ ายใน 24 ชัว่ โมง ดังรูป 7.6(11)

******************************************************************

45

รางวลั คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั (PMQA)
หมวด 6

การมุ่งเนน้ ระบบปฏิบตั ิการ

(ไม่ผ่านการประเมินขน้ั ตอนท่ี 3 Site Visit)

แบบฟอร์มท่ี 5

46

บทสรปุ ผูบ้ รหิ าร (Executive Summary)

1. แนะนาหนว่ ยงานในภาพรวม
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) เป็นส่วนราชการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ขับเคลื่อนองค์กรภายใต้

วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชนให้มีคุณภาพ
เพ่ือการคุ้มครองผู้บริโภคและการพ่ึงพาตนเองด้านสุขภาพที่ย่ังยืนแบบมีส่วนร่วม” ซึ่งดาเนินงานภายใต้ 3 ภารกิจ
หลัก เพ่ือตอบสนองนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ 1) ภารกิจงานการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการ
สุขภาพ 2) ภารกิจงานสุขภาพภาคประชาชน และ 3) ภารกิจงานมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ โดยมีเปูาหมายหลัก
เพ่ือให้ประชาชนมีความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้และชุมชนจัดการสุขภาพ เพื่อการพึ่งตนเอง
ด้านสุขภาพได้อย่างย่ังยืน ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มีมาตรฐาน คุณภาพ ปลอดภัย และสมประโยชน์
ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมการแพทย์ในระดับนานาชาติ มีการกาหนดค่านิยม “สบส” เพื่อเป็นแนวทาง
ในการปฏิบัติตนอันจะนาไปสู่วัฒนธรรมองค์กร ประกอบด้วย สมรรถนะเป็นฐาน บริการด้วยใจ สร้างสรรค์สิ่งใหม่
ใฝุสามัคคี และมีประเดน็ ยุทธศาสตร์สาคัญ 3 ประเด็น ได้แก่ 1) พัฒนาและยกระดับมาตรฐานสถานพยาบาลภาครัฐ
เอกชน และสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพสู่มาตรฐานสากล และพัฒนาอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร 2) พัฒนา
และยกระดับการจัดการสุขภาพภาคประชาชนโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและเครือข่าย และ 3) พัฒนาองค์กร
ให้เป็นองค์กรสมรรถนะสูงตามหลักธรรมาภิบาล มีหน่วยงานส่วนกลางจานวน 18 หน่วยงาน และหน่วยงานส่วน
ภูมภิ าค 17 หนว่ ยงาน แบ่งเป็นศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 1-12 และศูนย์พัฒนาการสาธารณสุขมูลฐาน 5 แห่ง
ในการดูแลรบั ผดิ ชอบในเขตพ้ืนทที่ ุกจังหวัดทว่ั ประเทศ โดยมขี า้ ราชการและเจ้าหน้าท่ี จานวน 1,035 คน

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพให้ความสาคัญกับการวางแผนการทางานอย่างเป็นระบบ เพ่ือให้สอดคล้อง
เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั่วทั้งองค์กรอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่กระบวนการวางแผนจนถึงการนาไปสู่การปฏิบัติ พร้อม
ท้ังมีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ในการเลือกกาหนดกรอบวัดผลการดาเนินการน้ัน ได้ดาเนินการ
ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปี พ.ศ. 2562-2566 ซ่ึงใช้เป็นกรอบในการขับเคลื่อนภารกิจ
ตามแผนงาน โครงการต่าง ๆ เพื่อให้การดาเนินการตามภารกิจของกรม สบส. บรรลุตามเปูาหมายท่ีต้ังไว้ สอดคล้อง
และเช่ือมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2566) แผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข 20 ปี รวมท้ังนโยบายต่าง ๆ ประกอบกับการนา
เทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มาใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล นอกจากนี้กรม สบส. ยังมีการพัฒนานวัตกรรมต่าง
ๆ ขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง ท้ังนวัตกรรมกระบวนการและนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ เพื่อพัฒนาและยกระดับการให้บริการ
และการปฏิบตั งิ าน เกิดประโยชนต์ ่อประชาชนและประเทศชาตติ ่อไป

2. การดาเนินการพฒั นาองคก์ ารทห่ี นว่ ยงานเหน็ ว่ามคี วามโดดเด่น ของหมวดทีส่ มคั รขอรับรางวัล
ในปี พ.ศ. 2563 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) มีการพัฒนางานที่โดดเด่นในหมวด 6 ด้าน

กระบวนการคุณภาพและนวตั กรรม และมีความพรอ้ มในการสมัครขอรับรางวัลคณุ ภาพการบริการจดั การภาครัฐราย
หมวด ดังน้ี กรมสนับสนุนบริการสุขภาพมุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการทางานให้มีคุณภาพ โดยมีเปูาหมายหลักคือ
ประชาชนได้รับบริการสถานบริการสุขภาพ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพท่ีมีคุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภัยและ
ประชาชนมีความรอบร้ดู ้านสุขภาพ สามารถจัดการสุขภาพตนเองท่ีถูกต้องได้ ซึ่งเป็นการบริหารจัดการกระบวนการ
ให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือให้องค์กรเกิดความยังยืน และตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วน
เสยี ความทา้ ทายในอนาคต รว่ มกับการสรา้ งบรรยากาศองคก์ รท่ีดี เพ่ือส่งเสริมบุคลากรให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
นาไปสู่การสรา้ งนวตั กรรมบริการมากมายท่เี พมิ่ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล

47

การออกแบบกระบวนการ การจดั ทาขอ้ กาหนดท่ีสาคัญ และกระบวนการ

จากพันธกิจหลักในการควบคุม กากับ มาตรฐานบริการสุขภาพตามกฎหมาย ตลอดจนการพัฒนาระบบ

สขุ ภาพภาคประชาชนให้มีความเข้มแข็ง มั่นคง ยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนและชุมชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้และ

ชุมชนจัดการสุขภาพ เพือ่ การพ่ึงพาตนเองด้านสขุ ภาพไดอ้ ย่างยงั่ ยืน กรมฯ มีการทบทวนและออกแบบกระบวนงานท่ี

สาคัญ ดังรูปท่ี 1 มกี ารวิเคราะห์ทบทวนข้อกาหนดที่สาคัญของผลผลิต การบริการ และทบทวนกระบวนการทางาน

ทั้งกระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุนท่ีสาคัญอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพ่ือให้เกิดความม่ันใจได้ว่าการ

ดาเนินงานจะตอบสนองยุทธศาสตร์ นโยบาย รวมทั้งความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้

ส่วนเสีย และนาข้อกาหนดด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดทาข้อกาหนดของกระบวนการหลักและกระบวนการ

สนับสนนุ เพื่อกาหนดเปน็ จดุ ควบคุมกระบวนการ และการบรหิ ารต้นทุน ทาให้การนากระบวนการไปปฏิบัติสามารถ

ทาได้อย่างถูกต้อง และสามารถควบคุม

ผลการดาเนินการโดยรวมของกรมฯ ได้

โดยกาหนดตัวชวี้ ัดท่ีแสดงถึงความสาเร็จ

ของการจั ดการกระบว นการที่ มี

ประสิทธิภาพและประสิทธิผล และส่งผล

กระทบต่อยุทธศาสตรป์ ระเทศในด้านต่าง

ๆ มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดทา

ข้อกาหนดของกระบวนการหลักและ

กระบวนการสนับสนุนอย่างครอบคลุม

ภารกิจรอบด้าน เพื่อกาหนดเป็นจุด

ควบคุมกระบวนการและการบริหาร รูปที่ 1 การออกแบบกระบวนการตามภารกจิ

ต้นทุน ทาให้สามารถนากระบวนการไปปฏิบตั ไิ ดอ้ ย่างถูกต้อง สามารถควบคุมผลการดาเนินการโดยรวมของกรมฯ ได้

และในการจัดการกระบวนการ กรม สบส. ได้จัดทากระบวนการผา่ นตวั ชีว้ ัด เพ่อื ควบคุมให้การดาเนินการเป็นไปตาม

ข้อกาหนด มีกลไกควบคุมกระบวนการ รวมทั้งการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานของกระบวนงาน

ตา่ ง ๆ เพ่ือนามาทบทวนปรับปรุงและพฒั นากระบวนการอย่างต่อเนื่อง รวมท้ังวางมาตรการแก้ไขและการปูองกันใน

อนาคต ในแต่ละกระบวนการทางานมีการจัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน มีผังกระบวนการท่ีชัดเจน และใช้แนวทาง

คณุ ภาพ PDCA ในการเรียนร้แู ละปรับปรงุ การทางาน ทง้ั กาหนดให้หนว่ ยงานเจา้ ภาพต้องทาการสารวจความตอ้ งการ

ความพงึ พอใจและความคาดหวงั ของผ้รู บั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี อยา่ งสม่าเสมอทกุ ปี

การจัดการและการพฒั นากระบวนการ
กรม สบส. มกี ารวเิ คราะห์กระบวนการในปัจจุบัน และกระบวนการท่ีต้องดาเนินการ แต่ยังไม่ได้ดาเนินการ

รวมท้ังปัญหาและอุปสรรคของแต่ละกิจกรรม คัดเลือกกระบวนการที่จะดาเนินการปรับปรุงในทุกกลยุทธ์ มุ่งเน้น
ความสมดลุ ใน 4 มติ ิตามหลกั Balanced Scorecard รวมท้งั ไดจ้ ดั ทาแผนที่ยุทธศาสตร์ พฒั นากระบวนการภายในให้
มีประสิทธิภาพทั้งทางด้านกฎหมายและเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการปฏิบัติงานพัฒนาสมรรถนะบุคลากร
พัฒนาองค์กรให้เป็นหน่วยงานที่มีการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง สร้างนวัตกรรมและปรับปรุงงานให้เกิดผลลัพธ์และมี
ประสิทธภิ าพ กาหนดเปูาหมายและผลลัพธใ์ นการปฏิบัติงานใหบ้ ริการเป็นไปอย่างมีคุณภาพ รวดเร็ว เป็นธรรม และ
สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และบุคลากรให้มีจิตสานึกในการให้บริการ (Service mind) มีการกาหนด
ตวั ชี้วัดของกระบวนการทางานทั้งกระบวนงานหลักและกระบวนงานสนับสนุน ผ่านระบบการรายงานผลการปฏิบัติ
ราชการ และระบบการติดตามข้อมูลของกรมฯ ผ่านฐานข้อมูล HSS Big Data และเทียบเคียงตัวช้ีวัดกับมาตรฐาน
ระดับสากลในด้านต่าง ๆ อีกทั้งกรมฯ ยังใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยจัดการข้อมูลเพ่ือการตัดสินใจของ
ผบู้ ริหาร มรี ะบบการกากับ ติดตาม กระบวนการผ่านตวั ช้ีวัดอยา่ งต่อเนื่อง

48

การปรบั ปรงุ ผลผลิต การบรกิ าร กระบวนการ และการจัดการนวตั กรรม
ในด้านการปรับปรุงผลผลิต การบริการ และกระบวนการ สบส. ได้นาแนวคิด PDCA , END to END

Process และ LEAN Process เป็นตัวขับเคลื่อนในการปรับปรุงกระบวนการทางานตั้งแต่ระดับกรม หน่วยงานและ
บุคคล ภายใต้กรอบคุณภาพ PMQA เพ่ือให้การทางานมีประสิทธิภาพ เกิดความคล่องตัวและลดความสูญเสียของ
เวลา ทรัพยากร และลดข้ันตอนที่ไม่จาเป็น ประหยัดค่าใช้จ่ายด้านต่าง ๆ ซึ่ง สบส.ได้มีการทบทวน ผลผลิต การ
บริการและกระบวนการทางาน เป็นประจาทุกปี เพื่อให้ทราบว่ากระบวนการใดอาจมีผลการดาเนินงานท่ีไม่เป็นไป
ตามเปาู หมาย จึงนาไปสู่การปรบั ปรุงและพัฒนาให้มีความเหมาะสม เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างมีประสิทธิภาพทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการ
ปฏิบัติงานและการให้บริการ และในการส่งมอบบริการหรือสินค้าให้รับผู้รับบริการ ได้ให้ความสาคัญกับผู้ส่งมอบ
พันธมติ ร หรือผ้ใู หค้ วามร่วมมือของกรมฯ เพื่อประโยชน์สูงสุดในการส่งมอบบริการของกรมได้อย่างถูกต้อง ตรงตาม
ความต้องการของผู้รับบริการ โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน อปท. และภาค
ประชาสังคม มีการเช่ือมโยงระบบข้อมูล พร้อมทั้งปรับปรุงคุณภาพของข้อมูลและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
สารสนเทศต่าง ๆ พัฒนาศักยภาพเครือข่ายพันธมิตรและร่วมจัดทาแผนการดาเนินงานไม่ว่าจะเป็นในกระบวนการ
หลักหรือกระบวนการสนับสนุนให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งขน้ึ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนสามารถดแู ลสขุ ภาพตนเองไดแ้ ละชมุ ชน
จัดการสุขภาพได้ ตลอดจนคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ ให้ประชาชนรับรู้และสามารถดูแลสุขภาพ
ตนเองและชุมชนได้ มกี ารพฒั นาการวิจัย องคค์ วามรู้ นวตั กรรมและการถา่ ยทอดเทคโนโลยีด้านระบบบริการสุขภาพ
การจัดการสุขภาพภาคประชาชน และในการบริหารจัดการควบคุมต้นทุน กรมฯได้กาหนดให้การควบคุมต้นทุน
โดยรวมเป็นเปูาประสงค์ของวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และจัดทาแผนระยะยาวเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการ
ให้บรกิ าร มกี ารออกแบบแนวทางการดาเนินการพฒั นาและปรบั ปรงุ กระบวนงาน กิจกรรม ขั้นตอนการปฏิบัติงานให้
มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งนาข้อมูลจากการ
ประเมินผลการดาเนินงานวิเคราะห์ ต้นทุนค่าใช้จ่าย การประเมินความพึงพอใจ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของ
ผรู้ บั บรกิ ารและผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสียมาใช้ประกอบการพจิ ารณาปรับปรุงกระบวนงานเป็นประจาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
นอกจากน้ีในการพัฒนาการวิจัย องค์ความรู้ นวัตกรรม การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านระบบบริการสุขภาพ และการ
จดั การสขุ ภาพภาคประชาชน กรมฯให้ความสาคัญกับการสร้างและนานวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ มีการบริหารจัดการ
ความรู้อย่างเป็นระบบ โดยนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานและกระบวนการให้มี
ประสทิ ธิภาพมากย่งิ ขึน้ เพ่อื ให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองไดแ้ ละชมุ ชนจัดการสุขภาพได้ ตลอดจนคุ้มครอง
ผบู้ รโิ ภคดา้ นระบบบริการสุขภาพ ใหป้ ระชาชนรับรู้และสามารถดูแลสุขภาพตนเองและชุมชนได้ และในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 สบส. มีการสร้างนวัตกรรมเพ่ือพัฒนานวัตกรรมเคร่ืองมือแพทย์รองรับสถานการณ์
โรคโควิด-19 เพ่ือรองรับผู้ปุวยและลดโอกาสการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ อีกทั้งยังสามารถแก้ปัญหาการ
ขาดแคลนเครอ่ื งมือ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ได้ และขยายผลสู่การยกระดับเทคโนโลยีทางการแพทย์ของไทยและ
ผลติ ภัณฑใ์ ห้เป็นอุตสาหกรรมทางการแพทยท์ ม่ี มี าตรฐานในระดับสากล เช่น ตู้ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อจุดพ่นยา
ห้องแยกผปู้ ุวยแพรเ่ ชอื้ ทางอากาศ ตู้คัดกรองผปู้ วุ ยชนดิ ความดันบวก เครือ่ งครอบศรี ษะปูองกันการตดิ เช้อื เปน็ ต้น

การจดั การความม่ันคงทางข้อมลู สารสนเทศ
กรม สบส. เป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีกากับหน่วยงานโครงสร้างพ้ืนฐานสาคัญทางสารสนเทศ (CII: Critical

Information Infrastructure) ดา้ นระบบบรกิ ารสุขภาพ ท่ีส่งผลกระทบตอ่ ประชาชนโดยตรง (Impact Security Risk
และ Economics Public Health) จากการเชื่อมโยงข้อมูลด้านระบบบริการสุขภาพ และหน่วยงานที่เก่ียวข้องควร
ต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และยังเป็นหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคล (Data Privacy
Protection) ด้านธุรกิจบริการสุขภาพรองรับการดาเนินงานระหว่างภาครัฐและเอกชน ที่สนับสนุนการทาธุรกรรม
อิเล็กทรอนิกส์ด้านระบบบริการสุขภาพทั้งภายในและต่างประเทศ รวมทั้งการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล เพ่ือให้

49

ประชาชนมีความปลอดภัย เช่ือม่ัน ในการเข้าใช้บริการในระบบบริการสุขภาพ รวมทั้งการทาธุรกรรมทาง

อิเลก็ ทรอนิกส์ จงึ จาเป็นทจ่ี ะต้องมคี วามมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ในระดับสงู เพ่อื คมุ้ ครองประชาชนหรือประโยชน์

ท่ีสาคัญของประเทศ มีการนาระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเสมือน (Server Virtualization System) มาจัดสรร

ทรัพยากรให้ระบบสารสนเทศท่ีทางานบนระบบปฏิบัติการเดียวกัน เป็นการใช้ทรัพยากรร่วมกันได้อย่างเต็มที่

ประหยัดพลังงาน และลดพื้นที่ในการใช้งานห้องแม่

ข่าย ดังรูปท่ี 2 ตลอดจนรองรับปัญหาขาดแคลน

เคร่ืองคอมพวิ เตอร์แม่ข่ายที่มีอายุการใช้งานเกินกว่า

ที่กาหนดหรือไม่สามารทางานได้ และมีระบบ

ตรวจจับและยับยั้งการโจมตีจากภัยคุกคามต่าง ๆ

เช่น Virus, Malware รวมถึงการควบคุมการเข้าถึง

ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้อมูล และมีการจัดทา

ศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ที่มี

ความสาคัญท่ีกั้นแยกเฉพาะ เพื่อติดตั้งอุปกรณ์ใน รปู ท่ี 2 HSS Infrastructure

การประมวลผลข้อมูล (Process Devices) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบจัดเก็บข้อมูล ระบบรักษาความม่ันคง

ปลอดภัย ระบบไฟฟูา ระบบปรับอากาศและระบบปูองกันอัคคีภัย ซ่ึงทางานตลอด 24 ชั่วโมง เพ่ือให้บริการระบบ

คอมพวิ เตอร์ ระบบข้อมูลและระบบสารสนเทศ โดยกรม สบส. มีการทบทวนแผนบริหารความเส่ียงด้านสารสนเทศปี

ละ 1 คร้ัง เพื่อให้การดาเนินการบริหารความเสี่ยงจะช่วยสะท้อนให้เห็นภาพรวมของความเสี่ยงต่าง ๆ ท่ีจะทาให้

บคุ ลากรมคี วามเข้าใจถึงเปูาหมายและภารกิจหลักของหน่วยงาน รวมทั้งสร้างความตระหนักถึงความเสี่ยงท่ีจะส่งผล

กระทบในเชิงลบตอ่ หนว่ ยงานไดอ้ ยา่ งครบถ้วน

การเตรียมความพรอ้ มดา้ นความปลอดภยั และตอ่ ภาวะฉกุ เฉิน

สบส. มีการทบทวนและจัดทาแผนบริหารความต่อเนื่อง หรือ Business Continuity Plan (BCP) ข้ึน เพ่ือ

สามารถตอบสนองต่อปัญหาและสามารให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง ไม่สะดุดหยุดลงเมื่อเกิดสถานการณ์

วกิ ฤติหรอื เหตกุ ารณ์ฉกุ เฉนิ ตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเกิดจากภยั ธรรมชาติ อุบัติเหตุ โรคระบาด หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร หาก

ไม่มีกระบวนการรองรับการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง อาจส่งผลกระทบต่อหน่วยงานในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้าน

การใหบ้ รกิ าร สังคม ชุมชน หรอื สิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน แผนบริหารความต่อเนื่องจึง

เป็นส่ิงสาคัญท่ีจะช่วยให้หน่วยงานสามารถรับมือกับ

เหตุการณ์ฉุกเฉินท่ีไม่คาดคิดและทาให้กระบวนการที่

สาคัญ (Critical Business Process) สามารถกลับมา

ดาเนินการได้อย่างปกติหรือตามระดับการให้บริการท่ี

กาหนดไว้ได้ในระยะเวลาที่เหมาะสม อกี ท้งั กรมยังมกี ารจดั

อบรมการปูองกนั และระงบั อัคคีภยั ฝกึ ซ้อมแผนการอพยพ

เจ้าหน้าท่ี การช่วยเหลือผู้ประสบภัย และการใช้อุปกรณ์

ดบั เพลงทต่ี ิดตง้ั ในอาคารให้ถูกวธิ ี โดยมีการจดั ฝึกซอ้ มเป็น

ประจาทุกปี และจัดทาคู่มือควบคุมการก่อสร้างอาคาร

โรงพยาบาลทุกขนาด เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการตรวจสอบ รูปที่ 3 ทมี สนับสนุนในสภาวะฉกุ เฉิน EOC กรม สบส.

การก่อสร้างใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานและความปลอดภัยท้ังระบบ สามารถรับแรงสะเทือนแผ่นดินไหว วาตภัย อุทกภัย

ได้ มีการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation Center) ดังรูปที่ 3 เพ่ือให้การบริหารงานของ

กรมฯ เป็นไปอย่างคล่องตัว มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน และรองรับภารกิจในการส่งเสริม

สนบั สนุน ควบคุม กากับ พร้อมท้งั พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ในภาวะปกติและภาวะวิกฤติได้อย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็น

50

ภารกิจสาคัญของกรมฯ ในการสร้างความพร้อมและดาเนินการให้ความช่วยเหลือทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข
ในพื้นท่ีท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และยังมีการจัดตั้งทีมวิศวกรฉุกเฉิน (Medical Supportive
Emergency Response Team: MSERT) เป็นทีมเคลื่อนที่เร็ว ในการเข้าช่วยเหลือพื้นท่ีเกิดเหตุ เพ่ือให้สามารถ
พร้อมรับมือและเข้าปฏิบัติการกู้ชีพสถานพยาบาลในช่วงฝนตกหนัก ดินโคลนถล่ม และพายุ โดยมุ่งเน้นการให้การ
ดแู ลและช่วยเหลอื ฟนื้ ฟสู ถานพยาบาลในระบบทีส่ าคญั 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ ระบบไฟฟูา ระบบประปา ระบบสื่อสาร ระบบ
เครอ่ื งมือแพทย์ และอาคารสถานที่ ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติพร้อมใช้งานและบริการประชาชนได้ 24 ช่ัวโมงแม้
จะเกดิ สถานการณ์ฉกุ เฉิน

3. ปจั จัยแหง่ ความสาเร็จ
1. การมีวิสัยทศั นข์ องผบู้ ริหาร มกี ารกาหนดทศิ ทางนโยบายทีช่ ดั เจนในการปฏบิ ัตงิ าน เพ่ือให้บุคลากร

สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมท้ังสร้างบรรยากาศในการทางานและสนับสนุนให้เกิดการ
เรียนร้อู ยา่ งต่อเน่อื ง

2. การพัฒนาองค์กรไปสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล ทาให้มีการพัฒนากระบวนการและนวัตกรรมอย่าง
ตอ่ เน่ือง

3. มีระบบที่ใช้ในการติดตามประเมินผลการดาเนินงาน การเบิกจ่ายงบประมาณท่ีมีประสิทธิภาพ ทา
ให้สามารถทราบปัญหาและอุปสรรคของการดาเนินงาน ทาให้หาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขการดาเนินงาน
ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง

4. การนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานและการให้บริหาร
ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพ ลดข้ันตอน ลดระยะเวลา ลดข้อผิดพลาด และกระบวนการทางานซ้า อีกทั้งยังเป็น
การควบคุมต้นทุน ทาให้การปฏิบัติงานของบุคลากรเกิดความคล่องตัว รวดเร็ว สามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการ ความคาดหวงั และประชาชนเกิดความพงึ พอใจ

51

การดาเนินการพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั ที่โดดเด่น

หมวด 6 การม่งุ เน้นระบบปฏบิ ัติการ

6.1 กระบวนการทางาน

ก. การออกแบบกระบวนการ การจดั ทาขอ้ กาหนดทสี่ าคญั และตวั ชว้ี ัดกระบวนการ

สบส. มีการทบทวนและออกแบบกระบวนงานท่ีสาคัญ และวิเคราะห์ข้อกาหนดท่ีสาคัญของผลผลิต การบริการ ทั้ง

กระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุนที่สาคัญปีละ 1 ครั้ง ด้วย SIPOC MODEL โดยพิจารณา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ตาม

P.1(1)-P1(2) เพ่ือให้เกิดความม่ันใจได้ว่าการดาเนินงานจะตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข นโยบาย

รฐั บาล กฎหมายตา่ งๆ ความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตาม P.1(7) มีการกาหนดยุทธศาสตร์

แผนงาน โครงการให้ตอบสนองต่อความต้องการดังกล่าว และนาข้อกาหนดด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ความคล่องตัวท่ีจาเป็นใน

อนาคต นามาจัดทาข้อกาหนดของกระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุน เพ่ือกาหนดเป็นจุดควบคุมกระบวนการ และการ

บริหารต้นทุน ทาให้การนากระบวนการไปปฏิบัติสามารถควบคุมผลการดาเนินการโดยรวมของกรมฯ ได้ โดยกาหนดตัวช้ีวัดท่ี

แสดงถึงความสาเร็จของการจัดการกระบวนการท่มี ีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล

กรมได้วิเคราะห์จัดทาข้อกาหนดของกระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุนอย่างครอบคลุมทุกภารกิจ โดย

กาหนดเป็น 3 กระบวนงานหลัก ได้แก่ กระบวนการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพและบริหารยุทธศาสตร์ Medical

Hub กระบวนการประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ และกระบวนการระบบสุขภาพภาคประชาชน และ 7 กระบวนการ

สนับสนุน ได้แก่ งานบริหาร

และพัฒนาทรัพยากรบุคคล

งานจัดการความรู้ งานพัฒนา

ระบบสารสนเทศ งานพัฒนา

ระบบบริหาร งานบริหาร

งบประมาณ งานบริหารงาน

ท่ัวไป และงานประชาสัมพันธ์

ดังรูปที่ 6.1 มีการจัดทาคู่มือ

ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ผั ง

กระบวนการที่ชัดเจน โดยมี

การวิเคราะห์ความเส่ียงของ

รูปท่ี 6.1 การออกแบบกระบวนการตามภารกิจ ปัญหาที่อาจเกิดข้ึน เพื่อ

กาหนดเป็นจุดควบคุมกระบวนการและการบริหารต้นทุน ทาให้สามารถนากระบวนการไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง และสามารถ

ควบคมุ ผลการดาเนินการโดยรวมของกรมฯ ได้ เช่น กระบวนงานการอนุญาตให้ประกอบกิจการและดาเนินการสถานพยาบาลฯ มี

การลดรอบระยะเวลาและให้บริการการขออนุญาตผ่านระบบ Online (Biz Portal) รวมท้ังการชาระค่าธรรมเนียมเช่ือมโยงผ่าน

ระบบ e-Payment ของกรมบัญชีกลาง ดังผลลัพธ์ท่ี 7.5(5) และ 7.6(5) อีกทั้งมีการกาหนดแนวปฏิบัติงานร่วมกันระหว่าง

หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น การชาระค่าธรรมเนียม (E-banking) กับธนาคารกรุงไทย การย่ืนเอกสารทางราชการด้วยเลข 13 หลัก

(Zero Copy)กับกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย รวมทั้งมีการเช่ือมโยงข้อมูลกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการให้บริการต่าง ๆ

ได้แก่ การข้ึนทะเบียนผู้ให้บริการเช่ือมโยงข้อมูลกับสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรนวด การทดสอบสอบเทียบเครื่องมือ

การแพทย์ และการใช้เว็บไซด์กลางอาเซียนhttp://www.aseanhealthcare.org รองรับการเคล่ือนย้ายแพทย์ต่างชาติที่จะเข้ามา

ประกอบวิชาชีพในประเทศไทย

52

กรมฯ มีการทบทวนการออกแบบกระบวนการ โดย 1) นาข้อมูลจากแผนงาน โครงการต่าง ๆ ผลการดาเนินการที่ผ่าน

มา(หมวด 2.1) บริบทของสังคมที่เปล่ียนแปลงไป ความต้องการความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย P1(7) กฎ

ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ P1(5) มาเป็น

ข้ อมู ลน าเข้ า (Input) เพ่ื อทบทวน

กระบวนการท้ังหมด 2) นาผลที่ได้จากการ

ทบทวนกระบวนการมาปรั บปรุ ง

กระบวนการให้ สอดคล้ องกั น ทั้ ง

กระบวนการหลั กและกระบวนการ

สนับสนุน 3) มีการจัดทาข้อกาหนดที่

สาคัญของกระบวนการ โดยนาผลสารวจ

ความต้องการความคาดหวังของผู้รับบริการ

และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จากการรับฟัง

ความคิดเห็น ข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ

รวมทั้ งความคิ ดเห็ นของบุ คลากร

ขอ้ กาหนด มาตรฐานต่าง ๆ มาพิจารณาใน รูปที่ 6.2 การจดั ทาขอ้ กาหนดทส่ี าคญั ของกระบวนการทางาน

การจัดทาข้อกาหนดที่สาคัญและออกแบบกระบวนการ 4) ออกแบบนวัตกรรมและการพัฒนาบริการให้เป็นไปตามข้อกาหนดที่

สาคัญ รวมท้ังทรัพยากรขององค์กร ทาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล 5) ติดตาม ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล

เพ่ือนามาปรบั ปรุงผลการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง ตามรปู ที่ 6.2

การควบคุมให้การดาเนินการเป็นไปตามข้อกาหนดนอกจากการจัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน คู่มือการให้บริการ กรม

สบส. จัดให้มีการติดตามคุณภาพภายใน (IQA) โดยจัดตั้งคณะทางานตรวจติดตามฯ โดยผู้บริหารให้ความสาคัญในการตรวจ

นิเทศงาน ประเมินติดตามตัวช้ีวัดและผลการดาเนินการตามภารกิจหลักและนโยบายเร่งด่วน เพื่อกระตุ้นให้เกิดการปรับปรุง

ผลผลิตและการบริการอย่างต่อเนื่อง โดยผู้บริหารกาหนดให้กลุ่มแผนงานจัดทีม ซ่ึงประกอบด้วยอธิบดี รองอธิบดี

ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล กลุ่มตรวจสอบภายใน และกองกฎหมาย ตรวจนิเทศ

หนว่ ยงานทง้ั ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เพ่ือติดตามผลการปฏิบัติงาน รับฟังปัญหาอุปสรรค และร่วมกันกาหนดแนวทางแก้ไข

นอกจากน้ีกลุ่มแผนงาน ติดตามการดาเนินการตามแผนงาน และการเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามเปูาหมาย กลุ่มพัฒนา

ระบบบรหิ าร ติดตามผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดคารับรองฯ (PA) มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ประเมินผู้บริหารองค์กร

พร้อมทั้งติดตามการพัฒนาระบบงาน ระบบการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ กลุ่มตรวจสอบภายใน วิเคราะห์ สอบทานการ

ประเมินระบบการควบคมุ ภายในของหนว่ ยงาน ดังผลลัพธ์ภาพท่ี7.4(2) สังกัดกรม สบส. จานวน 35 หน่วยงาน อยู่ในระดับดีขึ้น

ไปถึงระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 60 และส่งผลให้กรม สบส. ผ่านการประเมินผลระบบการควบคุมภายในของระดับกระทรวง

สาธารณสุข ในระดับคะแนนที่ 5 จากหน่วยรับตรวจทั้งหมด

465 แห่ง

การจัดการกระบวนการ กรมฯ ได้จัดทากระบวนการ

ผ่านตัวช้ีวัด เพ่ือควบคุมให้การดาเนินการเป็นไปตาม

ข้อกาหนด โดยมีกลไกควบคุมกระบวนการแบ่งออกเป็น 3

ขั้นตอน ได้แก่ 1) การควบคุมก่อนดาเนินการ (Pre-Control)

โดยพิจารณาปัจจัยนาเข้าด้านต่าง ๆ ของทรัพยากรในแต่ละ

กระบวนการ 2) การควบคุมขณะดาเนินการ (Action-Control)

โดยการควบคุมให้เป็นไปตามข้ันตอนระยะเวลา ตามมาตรฐาน

ที่กาหนดของกระบวนการน้ันให้สอดคล้องกับความต้องการ

รูปที่ 6.3 ตวั อยา่ งการจัดทาผังกระบวนการและจุดควบคมุ

53

ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 3) การควบคุมตามหลังดาเนินการ (Post-Control) โดยการติดตามตรวจสอบและ

ประเมนิ ผลการดาเนินงานของกระบวนงานต่าง ๆ เพื่อนามาทบทวนปรับปรุงและพัฒนากระบวนการอย่างต่อเน่ือง รวมท้ัง

วางมาตรการแก้ไขและการปูองกันในอนาคต ในแต่ละกระบวนการทางานมีการจัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน และผัง

กระบวนการที่ชัดเจน ดังรูปที่ 6.3 โดยมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงของปัญหาที่อาจเกิดข้ึน เพ่ือกาหนดแนวทางการควบคุม

กระบวนการ และการบริหารต้นทุน ทาให้การนากระบวนการไปปฏิบัติสามารถทาได้อย่างถูกต้อง และสามารถควบคุมผล

การดาเนินการโดยรวมของกรม สบส. ได้

การนากระบวนการสู่การปฏิบัติน้ัน กรม สบส. จะพิจารณาว่าระบบงานและกระบวนการสร้างคุณค่าในแต่ละ

กระบวนการนนั้ หน่วยงานได้เปน็ เจา้ ภาพหลกั ตามภารกิจ เพ่ือขับเคล่ือน พัฒนา จัดการกระบวนการและกาหนดเป็นตัวชี้วัดของ

หน่วยงาน โดยแต่ละหน่วยงานต้องดาเนินการทบทวนและออกแบบขั้นตอนการปฏิบัติงาน โดยใช้เคร่ืองมือทางการบริหารและ

นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน เพ่ือลดขั้นตอน ระยะเวลา อีกท้ังยังพัฒนาการ

ให้บริการแบบ e-Service พร้อมจัดทาคู่มือสาหรับประชาชนและคู่มือปฏิบัติงานโดยคานึงถึงข้อกาหนดท่ีสาคัญท่ีกรมตั้งไว้

และกรม สบส. ยังกาหนดให้หน่วยงานเจ้าภาพรายงานความก้าวหน้าและผลการปฏิบัติงานทุกเดือน ทุกไตรมาส เพื่อกากับ

ติดตามประเมินผลการดาเนินงานว่าเป็นไปตามท่ีกาหนดไว้หรือไม่ โดยทุกหน่วยงานจะทางานร่วมกันภายใต้แนวคิดการทางาน

แบบบูรณาการเป็นหลัก และใช้แนวทางคุณภาพ PDCA ในการเรียนรู้และปรับปรุงการทางาน ทั้งกาหนดให้หน่วยงานเจ้าภาพ

ต้องทาการสารวจความต้องการ ความพงึ พอใจและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างสม่าเสมอทุกปี เพื่อ

นาขอ้ มูลดังกล่าวมาพัฒนาปรับปรุงกระบวนการทางาน ส่งผลให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมในการทางานเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง ดัง

ผลลัพธภ์ าพที่ 7.2 (1)

สบส. มกี ารทบทวนจุดควบคมุ ของกระบวนการเพ่ือเป็นแนวทางในการดาเนินการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ

กระบวนการ มีความคุ้มค่า ลดความเส่ียง และลดต้นทุน ได้แก่ การอนุญาตให้ประกอบกิจการและดาเนินการสถานพยาบาล

เอกชน มีจุดควบคุมข้ันตอน ดังน้ี 1) ข้ันตอนการรับเรื่อง ตรวจสอบหลักฐานคาขอ มีการควบคุมโดยปรับวิธีการปฏิบัติงานและ

ให้บริการ เพ่ือลดความเสี่ยง และการติดต้ังกล้องถ่ายรูปผู้มาขออนุญาตดาเนินการสถานพยาบาล มีตัวช้ีวัดคือ ร้อยละของ

ผู้ดาเนินการสถานพยาบาลท่ีมายื่นเอกสารมีความถูกต้องตามกฎหมาย ร้อยละของผู้ย่ืนขออนุญาตดาเนินการสถานพยาบาล

ได้รับคาแนะนาและการบริการเอกสารจากเจ้าหน้าที่ครบถ้วน ถูกต้อง 2) ขั้นตอนการตรวจอนุญาตสถานพยาบาลใหม่ มีการเพ่ิม

ทีมตรวจประเมนิ มาตรฐานฯใหเ้ พยี งพอ และพัฒนาศักยภาพบุคลากรท่ีร่วมตรวจประเมิน ตัวช้ีวัดคือ ร้อยละของผู้ย่ืนขออนุญาต

ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการตรวจมาตรฐาน และร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อกระบวนการอนุญาตให้

ประกอบกิจการและดาเนินการสถานพยาบาล ดงั ผลลพั ธ์ท่ี 7.1(1) 7.1(3) และ7.1(4)

กระบวนการสนับสนนุ

การออกแบบกระบวนการสนับสนุน กรม

สบส. มีการพิจารณาจากกระบวนการสร้างคุณค่า ว่า

ต้องได้รับการสนับสนุนในเร่ืองใดบ้างเพ่ือให้การ

ดาเนินงานบรรลุตามเปูาหมายอย่างมีประสิทธิผล

รวมทั้งการดาเนนิ งานภายใต้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับท่ี

สาคัญ จากนั้นจะนามากาหนดเป็นกระบวนการ

สนับสนุน ข้อกาหนดท่ีสาคัญ ตัวชี้วัดควบคุม และ

แนวทางการควบคุม ซึ่งกรม สบส. มอบหมายให้

เจ้าของกระบวนงานจัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน รปู ที่ 6.4 ระบบ SMART บริหารแผนงานและงบประมาณ

เพื่อใหม้ น่ั ใจได้ว่าการทางานเป็นไปตามข้อกาหนดท่ีวางไว้จากน้ันมีการส่ือสารคู่มือสร้างความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากรหน่วยงาน

ในสังกัด เพ่ือให้เกิดปฏิบัติโดยท่ัวกันเมื่อดาเนินการถึงระยะเวลาหน่ึงเจ้าของกระบวนการจะติดตามผลเพื่อนาผลการดาเนินการ

มาปรบั ปรงุ การทางานต่อไป

54

อกี ท้ังกรมสบส. มีการพฒั นาระบบ SMART ทใี่ ช้ในการบริหารงบประมาณและผลการดาเนินการ โดยมีการรายงานผล

การดาเนินงานตามตัวช้ีวัด ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณแบบ Real Time เช่ือมต่อกับระบบ GFMIS ในการตรวจสอบความ

ถูกต้องของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร โปรแกรมการประเมินมาตรฐานระบบ

บริการสุขภาพด้วยระบบ HS4 Software ประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพโรงพยาบาลทุกระดับ การรายงานผลการ

ดาเนินงานระบบสุขภาพภาคประชาชนผ่านระบบ www.Thaiphc.net เพ่ือให้ม่ันใจว่ากระบวนงานหลักและกระบวนงาน

สนับสนุนจะสามารถตอบสนองความต้องการของผรู้ ับบริการและผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามภาพท่ี 6.4

ข. การจัดการและการพฒั นากระบวนการ

ในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปสู่การปฏิบัติ กรม สบส. มีการวิเคราะห์กระบวนการในปัจจุบัน และกระบวนการที่

ตอ้ งดาเนนิ การ แต่ยังไม่ได้ดาเนินการ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคของแต่ละกิจกรรม คัดเลือกกระบวนการท่ีจะดาเนินการปรับปรุง

โดยมุ่งเน้นความสมดุลใน 4 มิติตามหลัก Balanced Scorecard รวมทั้งได้จัดทาแผนท่ียุทธศาสตร์ พัฒนากระบวนการภายใน

ให้มีประสิทธิภาพท้ังทางด้านกฎหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สนับสนุนการปฏิบัติงานพัฒนาสมรรถนะบุคลากร พัฒนา

องค์กรให้เป็นหน่วยงานที่มีการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง สร้างนวัตกรรมและปรับปรุงงานให้เกิดผลลัพธ์และมีประสิทธิภาพ

กาหนดเปูาหมายและผลลัพธ์ในการปฏิบัติงานให้บริการเป็นไปอย่างมีคุณภาพ รวดเร็ว เป็นธรรม และสอดคล้องกับความ

ต้องการของประชาชน ปลูกฝังบุคลากรให้มีจิตสานึกในการให้บริการ มีการกาหนดตัวช้ีวัดของกระบวนการทางานทั้ง

กระบวนงานหลักและกระบวนงานสนับสนุน ผ่านระบบการรายงานผลการปฏิบัติราชการ (หมวด 2.4) และระบบการติดตาม

ข้อมูลของกรมฯผ่านฐานขอ้ มลู HSSBigData และเทียบเคียงตัวช้ีวัดกับมาตรฐานระดับสากลในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านมาตรฐาน

การรักษาพยาบาลเทียบเคียงกับ HA และ JCI ด้านมาตรฐานเคร่ืองมือแพทย์ผ่านระบบ ISO เป็นต้น กรมฯ มีการทบทวนจุด

ควบคุมของกระบวนการ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการลดความเสี่ยง เน้นความคุ้มค่า และลดต้นทุน

ได้แก่ กระบวนการขออนุญาตให้ประกอบกิจการและดาเนินการสถานพยาบาลเอกชน มีจุดควบคุมขั้นตอน คือ ข้ันตอนการ

ตรวจอนุญาตสถานพยาบาลใหม่ ข้ันตอนการตรวจ

ประเมินมาตรฐานเพ่ือประกอบการอนุญาต โดยมีการเพิ่ม

ทีมตรวจประเมินอนุญาตฯ และพัฒนาศักยภาพบุคลากร

ที่ร่วมตรวจประเมินทั้งในเร่ืองของแนวทางการตรวจ

มาตรฐาน ความโปร่งใส ตัวช้ีวัด คือ ร้อยละของผู้ยื่นขอ

อนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการตรวจ

มาตรฐาน การพัฒนาห้องปฏิบัติการทดสอบสอบเทียบ

ได้รับการรับรองห้องปฏิบัติการมาตรฐานการสอบเทียบ

ด้านมวล ISO/IEC 17025 จาก สมอ. ส่งผลให้สถานบริการ

รูปท่ี 6.5 การพัฒนาระบบปรบั ปรงุ ผลการดาเนินงาน สุขภาพได้รับการทดสอบ สอบเทียบเครื่องมือแพทย์จาก

ห้องปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐาน ดังผลลัพธ์ภาพที่ 7.1(1) 7.1(2) และ7.1(6) มีความถูกต้อง แม่นยา การพัฒนา

ความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด้านอาคารและสภาพแวดล้อม

สาธารณสุข ระดับประเทศและนานาชาติ และ SMART Hospital พัฒนาเป็นศูนย์การออกแบบด้วย AI เช่ือมโยงกับ Big

Data ให้แลว้ เสร็จภายในปี 2579 ตามภาพที่ 6.5

ในการจัดการกระบวนการ กรมใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยจัดการข้อมูลเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร

มีระบบการกากับ ติดตาม กระบวนการผ่านตัวช้ีวัด ได้แก่ ระบบ HSS Cockpit รายงานผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัด ผลการ

เบิกจ่ายเงินงบประมาณของกรมฯ ผ่านระบบSMAR T4.0 เชื่อมต่อกับระบบ GFMIS ในการตรวจสอบความถูกต้องของการเบิก

จา่ ยเงินงบประมาณเพม่ิ ประสิทธิภาพในการทางานเช่น พัฒนา โปรแกรมการประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพด้วยระบบ

HS4 ปัจจุบันมีการพัฒนา Application SPA สาหรับผู้ตรวจประเมินสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพสามารถ ในการปักหมุด

ตาแหน่งที่ต้ังในแผนที่ GPS เพ่ือใช้ในการตรวจมาตรฐานและตรวจสอบสถานประกอบการที่ถูกต้องตามกฎหมายสาหรับ

55

ประชาชน เพื่อให้ได้รับบริการที่มีมาตรฐาน การประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพกับโรงพยาบาลทุกระดับของ
กระทรวงสาธารณสุข โดยมีการนิเทศ ติดตามอย่างเป็นระบบ และมีการรายงานผลการดาเนินงานผ่านช่องทาง
www.Thaiphc.net เพื่อให้มั่นใจว่ากระบวนงานหลักและกระบวนงานสนับสนุนจะสามารถตอบสนองความต้องการของ
ผู้รับบริการและผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสียไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของ
ประเทศ

สบส. มีการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดิจิทัล ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2564 – 2568) เพ่ือพัฒนาองค์กรไปสู่นโยบาย
“รัฐบาลดิจิทัลด้านระบบบริการสุขภาพ (Digital Government; Healthcare Service System” มีการปรับ Mindset บุคลากร
สร้างแนวคิดและนวัตกรรมใหม่ ให้เกิดคุณค่าของการใช้เทคโนโลยีในระดับที่สูงข้ึน พร้อมท้ังวิเคราะห์และวางแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาดิจิทัล ตอบสนองทั้ง 3 ยุทธศาสตร์ของกรมฯ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ยกระดับกรมไปสู่องค์กรดิจิทัล มีการ
ปรับเปล่ียนข้อมูลให้เป็นข้อมูลดิจิทัล ปรับปรุงกระบวนการและพัฒนาบริการดิจิทัลตามความต้องการของประชาชน พร้อมทั้ง
สรา้ งความพร้อมของบคุ ลากรและเคร่อื งมือเพ่ือพัฒนาไปสู่องค์กรดิจิทัล 2) ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาและบูรณาการแพลตฟอร์ม
ดิจทิ ัลเพ่ือใหป้ ระชาชนสามารถใช้บริการดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ยกระดับการบริหารงานภายในและภาคีเครือข่าย และส่งเสริม
ให้เกิดการทางานร่วมกันบนแพลตฟอร์มดิจิทัลกับภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง และ 3) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมการเปิดเผยข้อมูล
ดิจิทัลและการใช้ข้อมูล เพื่อระดับข้อมูลเปิดและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเปิดเพื่อความโปร่งใส สร้างการมีส่วนร่วม
และสง่ เสริมนวัตกรรม โดยมีเปูาหมายที่สาคัญ ดังน้ี 1) มีระบบจดทะเบียนสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ (e-
Registration) 2) เป็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคล (Data Privacy Protection Regulation) 3) เป็น
หน่วยงานบริการเบ็ดเสร็จ ดา้ นบรกิ ารธุรกจิ สุขภาพรองรับการดาเนินงานระหว่างภาครัฐและเอกชน โดยสนับสนุนการทาธุรกรรม
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) ด้วยนวัตกรรมดิจิทัล (Digital Innovation) ด้านระบบบริการสุขภาพท้ังภายในประเทศและ
ต่างประเทศตามนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล 4) มีศูนย์คอมพิวเตอร์ (Data Center) ทั้งส่วนกลางและภูมิภาค และ 5) เป็นหน่วยงาน
ท่ีมีโครงสร้างพื้นฐานสาคัญทางสารสนเทศ (CI: Critical Information Infrastructure) ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง (Impact
Security Risk และ Economics Public Health) จากการเช่อื มโยงระบบบริการสขุ ภาพและหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง
การปรบั ปรุงผลผลิต การบริการ และกระบวนการ

ในด้านการปรับปรุงผลผลิต การบริการ และกระบวนการ กรมฯ ได้นาแนวคิด PDCA , END to END Process และ
LEAN Process ตาม P.2 (ค) เป็นตัวขับเคลื่อนในการปรับปรุงกระบวนการทางานตั้งแต่ระดับกรม หน่วยงานและบุคคล ภายใต้
กรอบคุณภาพ PMQA เพื่อให้การทางานมีประสิทธิภาพ เกิดความคล่องตัวและลดความสูญเสียของเวลา ทรัพยากร และลด
ข้ันตอนที่ไม่จาเป็น ประหยัดค่าใช้จ่ายด้านต่างๆ ซ่ึงกรมได้มีการทบทวน ผลผลิต การบริการและกระบวนการทางาน เป็น
ประจาทุกปี เพ่อื ให้ทราบว่ากระบวนการใดอาจมีผลการดาเนินงานท่ีไม่เป็นไปตามเปูาหมาย จึงนาไปสู่การปรับปรุงและพัฒนา
ให้มีความเหมาะสมเพื่อให้มั่นใจว่ากระบวนงานหลักและกระบวนการสนับสนุนจะสามารถตอบสนองต่อความต้องการของ
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างมีประสิทธิภาพทันต่อการเปล่ียนแปลงของระบบบริการสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคม
ของประเทศเพอ่ื เพ่ิมคุณคา่ ในงานโดยการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการปฏิบัติงานและการให้บริการ เพิ่มสมรรถนะ
และผลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามท่ีคาดหวังทุกกระบวนการ ดังรูปที่ 6.6 เน้นการคานึงถึงความต้องการของผู้รับบริการ
และผู้ มี ส่ วนได้ ส่ วนเสี ยตาม
ข้ อก าหนดส าคั ญของแต่ ละ
กระบวนการตามหน้ าท่ี ความ
รับผิดชอบในแต่ละหน่วยงาน ตาม
หมวด P(7) เพ่ือนาไปสู่การปรับปรุง
และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ให้กับ
ระบบบรกิ ารสขุ ภาพของประเทศ ดัง
ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดเจน คือ การ

รูปท่ี 6.6 การปรับเปลีย่ นกระบวนงานสดู่ จิ ิทัล

56

พัฒนาแบบอาคารสมรรถนะสูง Green & Clean Hospital และการขออนุญาตสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อ

สุขภาพระบบออนไลน์ ผ่าน Central Biz Box สานักงาน ก.พ.ร. รวมท้ังการชาระค่าธรรมเนียมผ่านระบบ e-payment ของ

กรมบัญชีกลาง การย่ืนขอข้ึนทะเบียนเป็นผู้ให้บริการฯ โดยใช้บัตรประชาชน มีการกาหนดแนวทางการปฏิบัติงานร่วมกัน

เช่น การชาระค่าธรรมเนียม (E-banking) กับธนาคารกรุงไทย การยื่นเอกสารทางราชการด้วยเลข 13 หลัก (Zero Copy)

โดยเชื่อมโยงข้อมูลการยืนยันตัวตนกับกรมการปกครอง

ค. การจัดการเครอื ขา่ ยอุปทาน

สบส. ได้ให้ความสาคัญกับผู้ส่งมอบ ผู้ให้ความร่วมมือของกรมฯ เพ่ือประโยชน์สูงสุดในการส่งมอบบริการของกรมฯ

ซ่ึงได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน อปท. และภาคประชาสังคม โดยความมุ่งหวังว่าประชาชนจะได้รับ

ระบบบริการสุขภาพท่ีมีคุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภัย มีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้อย่างย่ังยืน และเป็น

ศูนยก์ ลางอตุ สาหกรรมทางการแพทย์ในระดับนานาชาติ

การส่งมอบบริการหรือสินค้าใหก้ ับผู้รับบริการน้ัน กรมฯ มีการสร้างและพัฒนาเครือข่ายโดยใช้ข้อมูลอย่างเหมาะสม

มีการพัฒนาและเชื่อมโยงระบบข้อมูล พร้อมทั้งปรับปรุงคุณภาพของข้อมูลและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ

ตามหมวดP.1(8) พัฒนาศักยภาพเครือข่ายพันธมิตรและร่วมจัดทาแผนการดาเนินงานในด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบ

บริการสุขภาพ กรมฯ มอบอานาจให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ ในการอนุญาตประกอบกิจการและดาเนินการ

สถานพยาบาลเอกชน (คลินิก) โรงพยาบาล สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ โดยเช่ือมโยงข้อมูลกับกระทรวงมหาดไทย การขึ้น

ทะเบยี นเปน็ ผ้ปู ระกอบโรคศลิ ปะสภาวิชาชีพต่าง ๆ สถาบันการศึกษา รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครอง

ผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ การพัฒนาระบบการประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ (HS4 Software) ซ่ึงเป็น

โปรแกรมออนไลน์ท่ีใช้เพ่ือตรวจสอบ กากับ และประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ 1)

ฐานข้อมูลประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ 2) ฐานข้อมูลทดสอบคุณภาพเครื่องมือแพทย์ และ 3) ระบบรายงานผล โดย

หลักเกณฑ์ดังกล่าวต้องผ่านการตรวจประเมินและพิจารณารับรองจากคณะกรรมการ ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจประเมิน

สานักงานสาธารณสุขจังหวัด และศูนย์สนับสนุน

บริการสุขภาพท่ี 1-12 การพัฒนาห้องปฏิบัติการ

ทดสอบและสอบเทียบเคร่ืองมือแพทย์ การส่งเสริมให้

โรงพยาบาลภาครัฐ และนอกสังกัดสานักงาน

ปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีการบริหารจัดการศูนย์

เคร่ืองมือแพทย์ที่ได้มาตรฐาน ตามรูปท่ี6.7 ด้าน

ระบบสุขภาพภาคประชาชน กรมฯ ร่วมกับสานักงาน

สาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล

ในการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย ในระดับอาเภอ รูปท่ี 6.7 การพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพผา่ น e-Service

ตาบล หมบู่ า้ น และเป็นคณะกรรมการร่วมในการคัดเลือก อสม. ระดับจังหวัด ระดับเขต รขะอดงับกรภมาค และระดับประเทศ เฝูาระวัง

พฤติกรรมสุขภาพ ส่ือสารสุขภาพ และขับเคล่ือนงานสุขภาพภาคประชาชนในระดับพื้นท่ี และ MOUร่วมกับมหาวิทยาลัย

นเรศวร ในการพัฒนา และประยุกต์ใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในงานสุขภาพภาคประชาชน และMOUกับ

มหาวิทยาลัยมหิดล (สถาบันสุขภาพอาเซียน)สรา้ งกลไกตามหลักการสาธารณสุขมูลฐาน ในการขับเคลื่อนนโยบายระบบสุขภาพ

ไทย ให้เป็นแบบอย่างในด้านการพัฒนาสุขภาพของประชาชนในชุมชน ด้านมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ กรมได้MOU

รว่ มกบั สภาสถาปนิกสานกั งานสาธารณสุขจังหวัด สภาวิศวกร สมาคมวิชาชีพสุขศึกษา ในการส่งเสริม สนับสนุน และประเมิน

มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ได้แก่ มาตรฐานด้านการบริหารจัดการ ด้านการบริการสุขภาพ ด้านอาคาร สถานที่ และสิ่ง

อานวยความสะดวก ด้านส่ิงแวดล้อม ด้านความปลอดภัย ด้านเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุข ด้านระบบ

สนับสนุนบริการท่ีสาคัญ ด้านสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ และด้านการรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ งานด้าน

เทคโนโลยีสารสนเทศ กรมฯ ได้พัฒนาฐานข้อมูลกับหน่วยงานต่าง ๆ เช่น MOUกับมหาวิทยาลัยแม่ฟูาหลวง มหาวิทยาลัย

57

นเรศวร กรมบัญชีกลาง และสานักงาน ก.พ.ร. เป็นต้น ได้ร่วมดาเนินการพัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบบริการประชาชน
การพัฒนาระบบการให้บริการ e-Service และการขออนุญาตฯ ผ่านระบบ Biz Portal โดยกรม สบส. ร่วมกับสานักงาน ก.พ.ร.
สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล กรมบัญชีกลาง และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และในงานด้านต่างประเทศ การ
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และการเจรจาจับคู่ในธุรกิจสุขภาพร่วมกับกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และสถานทูต
เพ่ือผลักดันพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข ส่งเสริมนวัตกรรมและศูนย์ความเป็นเลิศทาง
การแพทย์ ท้ังระบบบริการ การสร้างเสริมสุขภาพ การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ การศึกษาวิจัย การผลิต และพัฒนากาลังคน
ประชาชนได้รับบริการท่ีทันสมัย เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและเพ่ิมรายได้ให้ประเทศ นอกจากนี้ยังมีการพัฒนา Healthy
Homestay รองรับการเป็นศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพในจังหวัดท่องเที่ยวช้ันนา ซึ่งกรม สบส. ได้ร่วมมือกับกรมการ
ท่องเที่ยวในการปรับปรุงมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย โดยเพ่ิมเร่ือง Healthy Homestay มีคู่มือการพัฒนา Healthy Homestay
รองรับการเป็นศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) และเตรียมจัดอบรมหลักสูตร Healthy Homestay การ
จดั การด้านความสะอาดและปลอดภยั
ง. การจัดการนวัตกรรม

สบส. ได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปรับปรุงระบบการปฏิบัติงาน กระบวนการหลัก และกระบวนการ
สนับสนุนให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ให้ประชาชนรับรู้และสามารถดูแลสุขภาพตนเองและชุมชนได้ ตลอดจนคุ้มครองผู้บริโภค
ด้านระบบบริการสุขภาพ เช่น กรมได้พัฒนาคลังความรู้สุขภาพผ่าน http://ความรู้สุขภาพ.com ซึ่งกรมฯ ได้รวบรวมข้อมูล
ความรู้ ข่าวสารสุขภาพ และสื่อสุขภาพของหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขสาหรับประชาชน เพื่อให้ประชาชนมี
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และสะดวกต่อการสืบค้นข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ อีกท้ังยังเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการ
สุขภาพ จากข้อมูลข่าวสารที่บิดเบือนความเป็นจริงที่แอบแฝงการหากาไรจากการขายบริการและสินค้าท่ีอาจเป็นอันตรายต่อ
สุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนเกิด Health Literacy สามารถดูแลสุขภาพตนเอง ชุมชนสามารถจัดการสุขภาพได้ และบรรลุ
วิสัยทัศน์ของกรมฯ นอกจากน้ีกรมฯได้พัฒนาระบบการย่ืนขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการสถานประกอบการเพื่อสุขภาพทาง
อิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้บัตรประชาชนใบเดียว ระบบการย่ืนขออนุญาตสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพผ่านระบบ
Biz Portal ร่วมกับสานักงาน ก.พ.ร. สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล และกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เช่ือมโยงข้อมูล
ประกอบการขออนญุ าตฯได้แก่ กรมการปกครอง กรมพัฒนาธุรกิจการค้า อีกทั้งยังได้พัฒนาเว็บไซต์ตรวจสอบสถานประกอบการ
เพื่อสุขภาพ และสถานพยาบาลเอกชนที่ได้รับอนุญาต หรือสแกน QR Code ใช้ในการตรวจสอบสถานพยาบาลท่ีได้รับการ
อนุญาต สแกน QR Code เช่ือมกับระบบ GPS ในการตรวจหาตาแหน่งของสถานพยาบาล และสามารถแจ้งเบาะแสข้อมูลต่าง ๆ
กลับมาไดท้ างเว็บไซต์ นอกจากน้ียังพัฒนาการให้บริการ โดยจัดทาระบบจองคิวออนไลน์ เพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้รับบริการ
ในการทาธุรกรรมด้านงานสถานพยาบาล ได้แก่ งานคลินิก งานโรงพยาบาล งานคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการ
เจริญพันธุ์ทางการแพทย์ (IVF) งานการประกอบโรคศิลปะ งานโฆษณา และธุรกรรมด้านงานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ได้แก่
การเปิดร้านนวด/สปาเพ่ือสุขภาพ ข้ึนทะเบียนพนักงานนวด ใบรับรองพนักงานนวด/ผู้ดาเนินการสปา และใบอนุญาตประกอบ
กิจการ โดยผู้รับบริการสามารถใช้งานระบบจองคิวออนไลน์ได้ง่าย เพียงแค่เข้าไปที่เว็บไซด์กรมฯ แล้วเลือกไอคอน ระบบจองคิว
ออนไลน์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และเลือกประเภทบริการ วัน เวลา ที่สะดวกเข้ามารับบริการ ซ่ึงถือเป็นการอานวยความ
สะดวก และตอบสนองผูร้ บั บริการ ลดระยะเวลา ไมต่ ้องรอคิว สามารถจองควิ ไดท้ ุกท่ที ุกเวลา

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 กรมฯได้สร้างนวัตกรรมทางการแพทย์และการสาธารณสุข รองรับ
สถานการณ์โรคโควิด-19 เพ่ือรองรับผู้ปุวยและลดโอกาสการติดเช้ือของบุคลากรทางการแพทย์ อีกท้ังยังสามารถแก้ปัญหาการ
ขาดแคลนเคร่ืองมือ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ได้ และขยายผลสู่การยกระดับเทคโนโลยีทางการแพทย์ของไทยและผลิตภัณฑ์ให้
เป็นอุตสาหกรรมทางการแพทย์ที่มีมาตรฐานในระดับสากล เช่น ตู้ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อจุดพ่นยา ซึ่งได้รับรางวัลเลิศรัฐ
สาขาบริการภาครัฐ ประเภทพัฒนาการบริการในปี 2563 ดังผลลัพธ์ภาพท่ี 7.6 (1) ห้องแยกผู้ปุวยแพร่เช้ือทางอากาศ ตู้คัดกรอง
ผู้ปุวยชนิดความดันบวก เครื่องครอบศีรษะปูองกันการติดเช้ือ เป็นต้น กรมฯ มีการพัฒนานวัตกรรมบริการอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่า
จะเป็นนวัตกรรมส่ิงประดิษฐ์หรือนวัตกรรมกระบวนการ

58

การพัฒนาการวิจัย องค์ความรู้ นวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านระบบบริการสุขภาพ และการจัดการสุขภาพ
ภาคประชาชน เป็นอีกหน่ึงพันธกิจของกรมฯ โดยให้ความสาคัญกับการสร้างและนานวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ กรมมีการบริหาร
จัดการความรู้อย่างเป็นระบบ โดยต้ัง “สานักผู้เชี่ยวชาญ” และแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทางานวิชาการและการจัดการ
ความรู้ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพื่อขับเคล่ือนพัฒนามาตรฐานงานวิชาการและนวัตกรรมของกรมฯ มีกระบวนการจัดการ
ความรู้ KM HSS ประกอบด้วย 1) การระบุและแสวงหา เป็นการแลกเปลี่ยนจากผู้ปฏิบัติงานหรือคณะทางาน การถอดบทเรียน
การประกวดองค์ความรู้ การจัดเวทีแลกเปล่ียนความรู้ 2) การจัดระบบและประมวลผล มีกลุ่มวิชาการในหน่วยงาน คณะทางาน
หรือคณะกรรมการวิชาการและการจัดการความรู้กรม สบส. 3) การเข้าถึงและเผยแพร่ เช่น KM Website กิจกรรมชุมชนนัก
ปฏิบัติ การจัดนิทรรศการ คู่มือหรือวารสารต่าง ๆ รวมท้ังทาง Social Media และ 4) การนาไปใช้ประโยชน์ เพ่ือเผยแพร่องค์
ความรู้สุขภาพสู่ อสม. และประชาชน พัฒนาบุคลากรและกระบวนการทางานให้มีประสิทธิภาพ เป็นการส่งเสริมให้เกิดต้นแบบ
ในการจัดการสุขภาพ และสามารนาไปต่อยอดงานวิจัยหรือนวัตกรรมต่อไปได้ โดยกรมฯ มีจานวนผลงานวิจัยและบทความต่าง
ๆ เพิ่มข้ึนทุกปี ดังผลลัพธ์ภาพท่ี 7.2(7) ซึ่งการได้มาขององค์ความรู้ การจัดเก็บความรู้ การเผยแพร่ และการนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์ผ่านเครื่องมือต่าง ๆ มีการบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ วิเคราะห์เชื่อมโยงองค์ความรู้เพื่อสร้างและพัฒนา
นวัตกรรมท่ีเป็นแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ในการให้บริการ พร้อมท้ังถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับ
หน่วยงานภายนอกองค์กร เครือข่ายภาคประชาชน และสรุปผลการจัดการความรู้ เพ่ือให้ได้ระบบการจัดการความรู้ที่พัฒนา
อยา่ งต่อเนือ่ ง และในกระบวนงานมีการปรับรูปแบบการบริหารจดั การองค์กรให้เขา้ สู่ระบบดิจิทลั ดังผลลพั ธภ์ าพที่ 7.5(5)

จากสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เศรษฐกิจในอนาคตและการผลักดันการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (S-curve) โดยการ
ตอ่ ยอดอุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ ในด้านอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวกลุ่มรายได้ดี การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ไปสู่อุตสาหกรรม
แห่งอนาคต (New S-curve) ในด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) รองรับการขยายตัวของกลุ่มสินค้าและ
ธรุ กิจบรกิ ารสขุ ภาพกรมฯ ไดด้ าเนินงานในการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ.
2560-2569) ภายใต้กระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ Medical Hub ของกรมฯ มาอย่างต่อเนื่อง เช่น การพัฒนาศูนย์
ประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลของชาวต่างชาติสาหรับสถานพยาบาลภาครัฐในจังหวัด
ท่องเท่ียว ซ่ึงสถานพยาบาลส่วนใหญ่ยังไม่มีการจัดเตรียมระบบหรือโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือรองรับการบริการและอานวยความ
สะดวกใหแ้ ก่ผู้รับบริการท้ังชาวไทยและต่างชาติที่มีการทาประกันดังกล่าว ทาให้พบปัญหาหนี้สูญจากการจัดเก็บไม่ได้ซึ่งส่งผล
ตอ่ การจดั บรกิ ารสุขภาพของโรงพยาบาล จึงมีการจัดทาระบบ ClaimCenter โดยมีจังหวัดนาร่อง ได้แก่ เชียงใหม่ สุราษฎร์ธานี
อุบลราชธานี ภูเก็ต ตราด กาญจนบรุ ี และมกี ารพฒั นา Central Claim Center นาร่องในเขตสุขภาพที่ 10 และการจัดทาระบบ
Online Learning มาตรฐานสากล (JCI HA – GHA – Well Hotel) โดยจัดทาแผนการเรียนรู้แบบ Online Learning บนเว็บไซต์
กรมฯ ซึ่งสามารถอัพเดต e-Book และ Interactive กับผู้ทรงคุณวุฒิได้ ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความเช่ียวชาญจะทาการวิเคราะห์
และสังเคราะห์ข้อมูล มาตรฐานต่าง ๆ และเพ่ิมตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมเผยแพร่ในระบบออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นรูปภาพ สื่อ
ประกอบการบรรยาย แบบฟอร์มต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง และขั้นตอนการขอรับรองมาตรฐาน อีกท้ังยังมีระบบ Help Desk ในการ
ช่วยเหลือและอานวยความสะดวกสาหรบั การใชง้ านระบบเพื่อการเรยี นร้ดู ้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ เปน็ ต้น

สบส. มีการพัฒนานวัตกรรมเพ่ือยกระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการให้บริการ ตาม P.1(4) ได้แก่ การจัดทา
SMART Card อสม.4.0 บัตรเดียวเป็นท้ังบัตรประจาตัว อสม. ให้ครอบคลุมท่ัวประเทศ (จาวน 1,039,789 คน) เป็นท้ังบัตร ATM
และบัตรเดบิต Card เชื่อมระบบเบิกจ่ายค่าปุวยการผ่าน e-payment และเป็นช่องทางให้ อสม. รับรู้ข้อมูลสุขภาพเพื่อถ่ายทอด
Health Literacy สู่ประชาชนท่ัวถึงและรวดเร็ว และเป็นช่องทางรับข้อมูลข่าวสารจากกรมโดยตรง สามารถร้องเรียนหรือแจ้งเหตุ
ผ่าน Application บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ีได้ท้ังระบบ IOS และระบบ Android การย่ืนขอข้ึนทะเบียนเป็นผู้ให้บริการสถาน
ประกอบการเพ่ือสุขภาพโดยใช้บัตรประชาชนใบเดียว (Zero Copy) การขออนุญาตและข้ึนทะเบียนออนไลน์ (Central Biz Box)
รวมทั้งการพัฒนา e-Form e-Document e-Licence e-Signature และ e-Certificate ร่วมกับสานักงาน ก.พ.ร. สานักงานพัฒนา
รัฐบาลดิจิทัล และกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ต้ังแต่ปี 2561 จนถึงปัจจุบัน และยังพัฒนาการจ่ายค่าธรรมเนียม
ผ่านระบบ e-Payment เช่ือมโยงกรมบัญชีกลาง และในปี 2564 จะพัฒนาให้เป็นแบบ Fully Digital นอกจากน้ีกรมฯยัง

59

พัฒนาระบบติดตามประเมินผลด้วยระบบ SMART และ HSS Cockpit ท่ีสะท้อนเปูาหมายตามยุทธศาสตร์กรมและ

ยทุ ธศาสตร์ชาติ อกี ทัง้ มกี ารกาหนดแนวทางการปฏบิ ตั งิ านรว่ มกันระหวา่ งหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การชาระค่าธรรมเนียม

(E-banking) กับธนาคารกรุงไทย การยื่นเอกสารทาง

ราชการด้วยเลข 13 หลัก (Zero Copy) เช่ือมโยงกับ

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย รวมทั้งเชื่อมโยง

ข้อมูลกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการให้บริการต่าง ๆ

ได้แก่ การข้ึนทะเบียนผู้ให้บริการเชื่อมโยงข้อมูลกับ

สถานศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรนวด การทดสอบสอบ

เทียบเครื่องมือการแพทย์ และการใช้เว็บไซต์บริการ

สุขภาพอาเซียน (ASEAN Healthcare Service) รองรับ

การเคลื่อนย้ายผู้ประกอบวิชาชีพสาธารณสุข 3 สาขา รปู ที่ 6.8 การพัฒนา e-Service กรม สบส.

ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ และพยาบาล จากกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน โดยกรมฯ ได้จัดต้ังคณะทางานพัฒนาและบริหาร

จัดการเว็บไซต์บริการสุขภาพอาเซียน ซ่ึงทาหน้าที่บริหารจัดการข้อมูลข่าวสารท่ีเก่ียวข้องกับวิชาชีพ 3 สาขา โดยเช่ือมโยง

ข้อมูลของแพทยสภา ทันตแพทยสภา และสภาการพยาบาล เผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์บริการสุขภาพอาเซียนหรือ

http://www.aseanhealthcare.org

6.2 ประสทิ ธผิ ลการปฏิบตั กิ าร
ก. การควบคุมต้นทุน

กรม สบส. มีการบริหารจัดการควบคุมต้นทุน โดยกาหนดให้การควบคุมต้นทุนโดยรวมเป็นเปูาประสงค์ของ
วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ และจัดทาแผนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการ มีการออกแบบปรับปรุงกิจกรรม ขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานท้ังกระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุนให้มีประสิทธิภาพ พร้อมท้ังให้ทุกหน่วยงานนาข้อมูลจากการ
ประเมินผลการดาเนินงานวิเคราะห์ ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน การประเมินความพึงพอใจ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาใช้ประกอบการพิจารณาปรับปรุงกระบวนงานเป็นประจาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดย
ใช้วิธีการที่หลากหลาย เช่น การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน รวมทั้งยังได้กาหนดให้มีการ
จัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน คู่มือการให้บริการสาหรับประชาชน เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของกรมฯและสานักงาน ก.พ.ร. เป็น
นโยบายการลดต้นทุนของกรม สบส. ได้แก่ 1) กระบวนการสนับสนุนการปฏิบัติงาน การควบคุมต้นทุนภายในหน่วยงาน โดย
กาหนดมาตรการประหยัดในเรื่องต่าง ๆ เช่น มาตรการประหยัดพลังงาน กระดาษ และน้ามัน ตามมติคณะรัฐมนตรี ดังผลลัพธ์
ภาพท่ี 7.6 (7) มาตรการประหยัดในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณต่าง ๆ ตามผลลัพธ์ภาพท่ี 7.5 (1) และ7.5(2) รวมทั้งมีการรวม
ศูนย์ต้นทุนการจัดซ้ือจัดจ้างในภาพรวมของกรมฯ เพ่ือลดต้นทุนและประหยัดงบประมาณตลอดจนนาเทคโนโลยีสารสนเทศมา
ช่วยอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน โดยพัฒนาโปรแกรมการใช้งานในรูปแบบ Online หรือ Electronics เช่น ระบบสาร
บรรณอิเล็กทรอนิกส์ แบบประเมินออนไลน์ สลิปเงินเดือนอิเล็กทรอนิกส์ และระบบการควบคุมและบริหารเงินงบประมาณ
ระบบทะเบียนสินทรัพย์ ระบบจองรถยนต์ ระบบคลังภาพ ระบบคลังข้อมูล ระบบพัสดุ ระบบการใช้ห้องประชุม และการใช้
QR Code ทดแทนการผลิตเอกสารการประชุมและหนังสือเวียนต่าง ๆ กรมฯ จึงได้พัฒนา Application HSS Office ระบบ
SMART 63 รวมท้ังการประชุมกับบุคลากรกรมฯ ภาคีเครือข่าย ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผ่านระบบ VDO
Conference Web EX เป็นต้น ตามรูปท่ี 6.9 2) การพัฒนาระบบบริการ เช่น ในปี 2561 กรมฯ ดาเนินการลดข้ันตอนและ
ระยะเวลาการให้บริการ (ระบบ Lean) ในกระบวนงานท่ีสาคัญ ทาให้การบริการมีความรวดเร็วยิ่งขึ้น ผู้รับบริการมีความพึง
พอใจมากข้ึน ส่งผลต่อเน่ืองมาสู่ประสิทธิภาพการบริการ ในปัจจุบันการควบคุมต้นทุนและลดต้นทุนของผู้รับบริการ ทั้งด้าน
เวลา ค่าใช้จ่ายในการขออนุญาตและข้ึนทะเบียนประเภทต่าง ๆ กระบวนงานการอนุญาตให้ประกอบกิจการและดาเนินการ
สถานพยาบาลเอกชนมีจุดควบคุม ดังน้ี 1) ขั้นตอนการรับเร่ือง/ตรวจสอบหลักฐาน/คาขอ ลดความผิดพลาดในการแอบอ้างการ
ใช้ใบประกอบวิชาชีพ/ใบประกอบโรคศิลปะ โดยการปรับขั้นตอนการรับคาขอใบอนุญาตฯ มีมาตรการปูองกันโดยกาหนดให้มี

60

การถ่ายรูปผู้ดาเนินการสถานพยาบาลที่มายื่นเอกสารเป็นหลักฐาน ณ ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ กรม สบส. 2) ขั้นตอนการ
ตรวจอนุญาตสถานพยาบาลใหม่ ลดการทางานซ้า เกิดความรวดเร็ว โดยเพ่ิมทีมตรวจประเมินอนุญาตสถานพยาบาลต้ังใหม่
พรอ้ มท้ังพัฒนาศักยภาพบุคลากรทร่ี ว่ มตรวจประเมินเพ่ือใหต้ อบสนองความต้องการของผู้รับบรกิ าร

สบส. ได้มีการวเิ คราะหต์ น้ ทุนของกระบวนงานทั้งกระบวนงานหลักและกระบวนงานสนับสนุนที่สาคัญเป็นประจาทุก
ปี เช่น การขออนุญาตและข้ึนทะเบียนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพและสถานพยาบาลทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ Biz
Portal ต้นทุน คือ เวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง การขออนุญาตและขึ้นทะเบียน เพ่ืออานวยความสะดวกให้ผู้รับบริการ
และเป็นการลดระยะเวลา ข้ันตอน และค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้รับบริการ อีกท้ังยังลดเวลาและจานวนเจ้าหน้าท่ีที่
ให้บริการ นอกจากน้ีในการขออนุญาตและขึ้นทะเบียนประเภทต่าง ๆ เป็นการให้บริการและการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
แบบครบวงจร เชื่อมโยงระบบ e-Payment กรมบัญชีกลาง ลดการทางานซ้าซ้อน ประหยัดทรัพยากรและงบประมาณของ
หน่วยงาน และสร้างเศรษฐกิจและรายได้ให้แก่ประเทศเพิ่มมากขึ้น กระบวนงานสนับสนุน เช่น ระบบการติดตามผลการ
ดาเนินการตามตัวช้ีวัดและงบประมาณผ่านระบบ SMART 63 โดยให้แต่ละหน่วยงานภายในกรมฯ รายงานการเบิกจ่าย
งบประมาณและบริหารการใช้งบประมาณผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ระบบ SMART 63 ในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณผ่าน
ระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรมฯ ทาให้สามารถติดตามสถานะความก้าวหน้าของผลการดาเนินงานและตัวชี้วัดด้านผลผลิต การ
เบิกจ่ายงบประมาณ และการบริหารงานภายใต้แผนปฏิบัติราชการกรมได้แบบออนไลน์ Real time ผ่านระบบ Smart Phone
และ Tablet อานวยความสะดวกในการประเมินผล และนาข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารได้อย่าง ถูกต้อง จนทา
ให้ผลการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามเปูาหมาย กาหนดมาตรการประหยัดในเร่ืองต่าง ๆ เช่น มาตรการประหยัดพลังงาน
กระดาษ และนา้ มัน ตามมติคณะรัฐมนตรี

ในปพี .ศ. 2561-2563กรมได้กาหนดตัวชี้วัดด้านคุณภาพ ในคารับรองฯระดับหน่วยงาน การพัฒนาประสิทธิภาพของ
กระบวนงานเป็นการปรับเปล่ียนกระบวนงานหรือวิธีการทางาน ท่ีเช่ือมโยงตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ (EndtoEnd Process)
รวมถึงวิธีการพัฒนากระบวนงาน โดยให้ทุกหน่วยงานคัดเลือก 2 กระบวนงานหลัก จากหน่วยงานทั้งหมด 35 หน่วยงาน ได้
กระบวนงานมาทั้งหมด 70 กระบวนการ ซ่ึงเป็นกระบวนงานหลักที่สาคัญในการปฏิบัติตามภารกิจ และสร้างคุณค่าให้แก่
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกหน่วยงาน เพ่ือให้ผลการดาเนินงานดีขึ้น มีคุณภาพ ประหยัดเวลา ลดต้นทุน และ
ทรัพยากรท่ีใช้ ปอู งกันการเกดิ ข้อผิดพลาดการทางานซ้า และความสูญเสียจากผลการดาเนินการ โดยมีการนาเทคโนโลยีเข้ามา
ใช้ในกระบวนการเพื่อลดขั้นตอน ระยะเวลา บูรณาการการทางานร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถตอบสนองความ
ต้องการของประชาชน และสามารถแก้ไขปัญหาที่มีอยู่อย่างเป็นลาดับข้ันตอน เกิดการพัฒนารูปแบบการทางานและการ
ให้บริการภาครัฐ เพื่ออานวยความสะดวกในการให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
และพัฒนากระบวนการทางานผ่านการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ เพื่อให้การปฏิบัติงานมี
ประสิทธิภาพ รวดเร็ว คล่องตัว และมีขีดสมรรถนะสูงข้ึน ซึ่งแต่ละหน่วยงานของกรมฯ จะต้องดาเนินการออกแบบขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน วิเคราะห์และหาโอกาสในการพัฒนากระบวนงาน จากน้ันดาเนินการปรับปรุงกระบวนงาน พร้อมท้ังสรุปผลการ
ดาเนนิ งาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ดังผลลัพธ์ภาพท่ี 7.6(3) ซ่ึงพัฒนาได้ถึงร้อยละ 85.71 เช่น กระบวนการอนุญาต
ประกอบกจิ การสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ (สปา/นวดเพ่ือสุขภาพ) มีการลดข้ันตอนการให้บริการ โดยนาเทคโนโลยีมาใช้ใน
กระบวนการขออนุญาตประกอบกจิ การสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ประเภทสปาทุกขั้นตอน โดยผู้รับบริการสามารถยื่นคา
ขอได้ผ่านการให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จทางอิเล็กทรอนิกส์ (Biz Portal) หรือทางศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop
Service: OSS) ทาให้ผู้รับบริการไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาย่ืนเอกสารท่ี OSS อีกทั้งยังสามารถติดตาม
ความก้าวหนา้ ของการดาเนินการได้ ซึง่ พบวา่ ในปี 2563 มีผยู้ ่นื ใชบ้ รกิ ารธรุ กรรมผ่านระบบ Biz Portal จานวน 493 ราย
ข. การจัดการความม่นั คงทางข้อมูลสารสนเทศ

สบส. เป็นหน่วยงานที่มีหน้าท่ีกากับหน่วยงานโครงสร้างพ้ืนฐานสาคัญทางสารสนเทศ (CI: Critical Information
Infrastructure) ด้านระบบบริการสุขภาพ ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง (Impact Security Risk และ Economics Public
Health) จากการเช่ือมโยงข้อมูลด้านระบบบริการสุขภาพ และหน่วยงานที่เก่ียวข้องต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และยังเป็น

61

หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคล (Data Privacy Protection) ด้านธุรกิจบริการสุขภาพรองรับการ
ดาเนินงานระหว่างภาครัฐและเอกชน ท่ีเก่ียวข้องกับการทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ด้านระบบบริการสุขภาพทั้งภายในและ
ต่างประเทศ รวมทั้งการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัย เช่ือมั่น ในการเข้าใช้บริการในระบบบริการ
สุขภาพ รวมท้ังการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นระบบข้ึนทะเบียนหรือออกใบอนุญาตสถานพยาบาลและ
สถานประกอบการเพ่ือสขุ ภาพ จึงจาเปน็ ท่ีจะตอ้ งมคี วามม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร์ในระดับสูง เพื่อคุ้มครองประชาชนหรือ
ประโยชนท์ ่ีสาคญั ของประเทศ

โดยกรมมีการทาบันทึกขอ้ ตกลงกบั กรมการปกครอง ในการขอใช้ประโยชน์ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรจากฐานข้อมูล
ทะเบยี นกลางด้วยระบบคอมพิวเตอร์โดยวิธีบริการข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (CounterService) และโปรแกรมสาหรับอ่านข้อมูล
จากบัตรประชาชนในการให้บริการอนุญาตธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของกรมฯ และเพื่อให้การบริหารจัดการระบบความมั่นคง
ปลอดภัยด้านสารสนเทศ สอดคล้องกับบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบของกรมฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีความม่ันคง
ปลอดภัย มีความน่าเชื่อถือ และให้บริการได้อย่างต่อเน่ือง สามารถปูองกันปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึนจากการใช้ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศในลักษณะที่ไม่ถูกต้อง และถูกคุกคามจากภัยต่าง ๆ ซ่ึงอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่กรมฯ และหน่วยงานในสังกัด
รวมทั้งประชาชนผู้รับบริการ จึงได้ออกประกาศกรมฯ เรื่อง นโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความม่ันคงปลอดภัยด้าน
สารสนเทศ โดยในการเข้าถึงหรือการควบคุมการใช้งานสารสนเทศ มีนโยบายท่ีจะให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศแก่ผู้ใช้งานและ
ประชาชนอย่างทั่วถึง เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงและใช้งานสารสนเทศได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และให้การคุ้มครองข้อมูลท่ีไม่
เปิดเผย โดยแบ่งเป็น 8 หมวด ได้แก่ 1) การเข้าถึงและควบคุมการใช้งานสารสนเทศ และการใช้งานตามภารกิจเพ่ือควบคุมการ
เข้าถึงสารสนเทศ 2) การบริหารจัดการการเข้าถึงของผู้ใช้งาน 3) การกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ใช้งาน 4) การควบคุม
การเข้าถงึ เครอื ข่าย5) การควบคุมการเข้าถึงระบบปฏิบัติการ 6) การควบคุมการเข้าถึงโปรแกรมประยุกต์หรือแอปพลิเคชั่น และ
สารสนเทศ7)การจัดทาระบบสารองของระบบสารสนเทศ และ 8) การตรวจสอบและประเมินความเสี่ยงด้านสารสนเทศ นอกจากนี้
ยังมกี ารควบคมุ การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศของผู้รับจ้าง เพื่อให้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมฯ
มีความปลอดภัยต่อการถูกบุกรุกโจมตี และลดความเส่ียงต่อการลักลอบเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศ โดยมีกลุ่มเทคโนโลยี
สารสนเทศเป็นหน่วยงานหลัก ในการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ (Access Control) และอุปกรณ์ในการประมวลผลข้อมูล
(Process Device) ตลอดจนการดูแลรักษาความม่ันคงปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ ซึ่งได้กาหนดสิทธิใน
การควบคุมการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ สิทธิของผู้ใช้งาน (User) สามารถอ่าน สร้าง
แก้ไข และลบข้อมูลเท่าน้ัน และสิทธิผู้ดูแลระบบ (Administrator) ในการกาหนดสิทธิ ตรวจสอบสิทธิ ทบทวนสิทธิ และบริหาร
จัดการระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ และเม่ือมีความจาเป็นต้องให้บุคคลภายนอกเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ
สารสนเทศ และอุปกรณ์ในการประมวลผลข้อมูล ท้ังทางกายภาพ (Physical Access) และจากระยะไกล (Remote Access) ซ่ึง
บุคคลภายนอกจะต้องแจ้งเหตุผลความจาเป็นเพื่อขออนุมัติจากกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ และต้องรักษาความลับทางราชการ
หากเกดิ ความเสียหายขึ้นบุคคลดังกลา่ วต้องรับผิดชอบผลท่เี กิดจากการกระทาของตน

อีกทั้งยังมีการปรับปรุงการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศให้สอดคล้องตามภารกิจและการรักษาความ
มน่ั คงปลอดภยั ผูด้ ูแลระบบตอ้ งทบทวนสทิ ธิการเข้าถึงของผู้ใช้งานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง หรือเมื่อมีการเปล่ียนแปลง ได้แก่ ย้าย
โอน ลาออก หรือสิ้นสุดการจ้าง เพ่ือกาหนดสิทธิให้สอดคล้องตามภารกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และการรักษาความมั่นคงปลอดภัย
และในการเข้าถึงข้อมูลนั้น ได้แบ่งลาดับชั้นการเข้าถึงออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ กลุ่มผู้บริหาร กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน และกลุ่ม
ประชาชนท่ัวไป โดยมีระดับความสาคัญของข้อมูลจานวน 3 ระดับ ได้แก่ สาคัญมากท่ีสุด สาคัญมาก ปกติ และจัดลาดับช้ัน
ความลบั ออกเป็น 4 ระดับ ไดแ้ ก่ ลบั ท่สี ุด ลบั มาก ลับ และปกปดิ

กรม สบส. มีการนาระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเสมือน (Server Virtualization System) มาจัดสรรทรัพยากรให้ระบบ
สารสนเทศท่ีทางานบนระบบปฏิบัติการเดียวกัน เป็นการใช้ทรัพยากรร่วมกันได้อย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ประหยัด
พลังงาน และลดพ้ืนท่ีในการใช้งานห้องแม่ข่าย ตลอดจนรองรับปัญหาขาดแคลนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่มีอายุการใช้งาน
เกินกว่าท่ีกาหนดหรือไม่สามารทางานได้ และมีการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย (Network) ท่ีมีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล

62

ภายในประเทศ ไม่น้อยกว่า 200 Mbps และภายนอกประเทศ ที่ความเร็วไม่น้อยกว่า 100 Mbps โดยมีบริการระบบเครือข่าย

อินเทอร์เน็ตท้ังแบบมีสายและแบบไร้สาย เชื่อมโยงข้อมูลเพื่อให้บริการระบบงานสารสนเทศแก่หน่วยงานในสังกัด ประชาชน

และกรมฯ มีระบบตรวจจับและยับย้ังการโจมตีจากภัยคุกคามต่าง ๆ เช่น Virus, Malware รวมถึงการควบคุมการเข้าถึง

ระบบสารสนเทศและระบบฐานข้อมูล ดังผลลัพธ์ภาพที่ 7.6(11) อีกท้ังยังมีการจัดทาศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ ซ่ึงเป็น

พื้นท่ีที่มีความสาคัญท่ีกั้นแยกเฉพาะ เพื่อติดตั้งอุปกรณ์ใน

การประมวลผลข้อมูล (Process Devices) ระบบเครือข่าย

คอมพิวเตอร์ ระบบจัดเก็บข้อมูล ระบบรักษาความม่ันคง

ปลอดภัย ระบบไฟฟูา ระบบปรับอากาศและระบบปูองกัน

อัคคีภัย ซึ่งทางานตลอด 24 ชั่วโมง เพ่ือให้บริการระบบ

คอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูลและระบบสารสนเทศ ซึ่ง

ประกอบด้วย 1) ศูนย์กลางข้อมูล (Data Center: DC) เป็น

ศูนยก์ ลางขอ้ มลู และสารสนเทศของกรมซ่ึงตั้งอยู่ที่ส่วนกลาง รปู ที่ 6.9 HSS Infrastructure

2) ศูนย์สารองข้อมูล (Disaster Recovery Site: DR Site) เป็นศูนย์กลางสารองข้อมูลและสารสนเทศของกรมท่ีต้ังอยู่ท่ีศูนย์

พัฒนาการสาธารณสุขมูลฐาน จ.ชลบุรี 3) ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ เป็นหน่วยให้บริการข้อมูลและการบริการด้านระบบ

บริการสุขภาพแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร ณ จุดเดียว และ 4) ห้องเซิร์ฟเวอร์ (Server Room) ซึ่งเป็นศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ

ของศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 1-12 เช่ือมโยงถึงกัน ดังรูปท่ี 6.10 โดยมีการทดสอบสภาพความพร้อมใช้งานของระบบ

คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศ ข้อมูลสารสนเทศ และระบบสารองอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพ่ือให้ระบบข้อมูลและสารสนเทศของ

กรมฯ อยูใ่ นสภาพที่พร้อมใช้งานอยู่เสมอ

สบส.มีการทบทวนแผนบริหารความเส่ียงด้านสารสนเทศปีละ 1 คร้ัง เพื่อให้การดาเนินการบริหารความเสี่ยงจะช่วย

สะทอ้ นให้เหน็ ภาพรวมของความเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะทาให้บุคลากรมีความเข้าใจ ตระหนักถึงความเส่ียงท่ีจะส่งผลกระทบในเชิงลบ

ต่อเปูาหมายและภารกิจหลักของหน่วยงานได้อย่างครบถ้วน ซึ่งครอบคลุมความเส่ียงที่มีเหตุมาจากปัจจัยภายใน เช่น

วฒั นธรรมโครงสร้างองค์กรและบุคลากร เป็นต้น และปัจจัยภายนอก เช่น การเมือง เศรษฐกิจ และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

เปน็ ต้นนอกจากนี้ ยังทาให้ผู้บริหารมีฐานข้อมูลความรู้ท่ีมีประโยชน์ต่อการบริหารและการปฏิบัติงานในหน่วยงาน ซ่ึงรวมถึง

การบริหารความเสี่ยงและต้ังอยู่บนสมมติฐานในการตอบสนองต่อเปูาหมาย รวมถึงระดับความเส่ียงท่ียอมรับได้ ทาให้ผู้บริหาร

ตัดสินใจได้ดีย่ิงขึ้น เช่น การวางแผน การกาหนดกลยุทธ์ การติดตามควบคุมและวัดผลการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลให้การ

ดาเนินงานของกรมฯ เป็นไปตามเปูาหมายที่กาหนด ปกปูองผลประโยชน์ และเพ่ิมมูลค่าต่อภารกิจของกรมฯ ทาให้การ

พัฒนาการบริหารและการจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล เช่น การใช้ทรัพยากรสาหรับ

กิจกรรมที่มีความเส่ียงต่าและกิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูงย่อมต่างกัน หรือการเลือกใช้มาตรการแต่ละประเภทย่อมใช้ทรัพยากร

ตา่ งกันและยงั เปน็ เครื่องมือท่ีจะช่วยให้มั่นใจได้ว่าความเส่ียงได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมและทันเวลา และทาให้หน่วยงาน

สามารถจัดการกับปัญหา อุปสรรค และอยู่รอดได้เมื่อเกิดเหตุการณ์ท่ีมิอาจคาดเดาได้ หรือสถานการณ์ที่อาจทาให้หน่วยงาน

เสียหาย และมีการอบรมการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศของกรมฯ ให้แก่ผู้รับบริการ บุคลากร โดยเฉพาะ

บุคลากรใหม่ เพ่ือให้ผู้ใช้งานมีความรู้ความเข้าใจและสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง สามารถสนับสนุนการปฏิบัติงานได้เป็น

อย่างดี ตลอดจนตระหนักถึงภัยจากการใช้งานเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกได้อย่างปลอดภัย และตระหนักถึงการใช้ส่ือ

Social Media ในการส่งต่อข้อมูลข่าวสารที่มีการบิดเบือนข้อเท็จจริง โดยมีการบังคับใช้กฎหมายในการควบคุมการส่งต่อ

ข้อมูลอยา่ งจริงจงั เชน่ พ.ร.บ.วา่ ดว้ ยการกระทาผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 เป็นต้น

ค. การเตรยี มความพรอ้ มดา้ นความปลอดภยั และตอ่ ภาวะฉุกเฉนิ

สบส. จึงได้ทบทวนและจัดทาแผนบริหารความต่อเนื่อง หรือ Business Continuity Plan (BCP) เพ่ือสามารถ

ตอบสนองต่อปัญหาและสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง ไม่สะดุดหยุดลงเม่ือเกิดสถานการณ์วิกฤติหรือ

เหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ไม่ว่าจะเกิดจากภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ โรคระบาด หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร หากไม่มีกระบวนการ

63

รองรับการดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง อาจส่งผลกระทบต่อหน่วยงานในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการให้บริการ สังคม ชุมชน
หรือส่ิงแวดล้อม แผนบริหารความต่อเนื่องจึงเป็นสิ่งสาคัญท่ีจะช่วยให้หน่วยงานสามารถรับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉินท่ีไม่
คาดคิดและทาให้กระบวนการท่ีสาคัญ (Critical Business Process) สามารถกลับมาดาเนินการได้อย่างปกติหรือตามระดับการ
ให้บริการที่กาหนดไว้ได้ในระยะเวลาท่ีเหมาะสม ซ่ึงจะช่วยลดความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อหน่วยงานได้ โดยได้
กาหนดกลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy) เป็นแนวทางในการจัดหาและบริหารจัดการทรัพยากร ให้
มีความพร้อมเม่ือเกิดสภาวะวิกฤติซึ่งพิจารณาทรัพยากรใน 5 ด้าน ได้แก่ 1) อาคารสถานท่ี/ปฏิบัติงานสารอง กาหนดให้มี
พื้นที่ปฏิบตั งิ านสารอง ณ อาคารกองวิศวกรรมการแพทย์ ภายในกระทรวงสาธารณสุข แต่หากเกิดความเสียหายเป็นวงกว้างจน
ทาใหไ้ มส่ ามารถใช้พ้ืนที่ภายในกระทรวงสาธารณสุขได้ ได้กาหนดให้ใช้พ้ืนท่ีของหน่วยงานในสังกัดที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค คือ
ศสม.ภาคกลางจ.ชลบุรี หรอื การปฏิบตั ิงานที่บ้าน (Workfrom Home) ดังจะเห็นได้จากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 กรมฯ
มีการปรับรูปแบบการทางาน และกาหนดมาตรการ/แนวทางการปฏิบัติงานนอกสถานท่ีทางานและการปฏิบัติงานเหล่ือมเวลา
การปูองกันการแพร่ระบาดโดยออกมาตรการปูองกันหรือแนวทางการปฏิบัติเม่ือเข้าใช้อาคารสถานที่ของกรมฯ ตามผลลัพธ์
ภาพท่ี 7.6(10) รวมท้ังการพัฒนาความปลอดภัยในอาคารกรม สบส. เพื่อให้บุคลากรกรมฯ มีความรู้ด้านอัคคีภัยและซ้อมแผน
อพยพ ตามผลลัพธ์ภาพที่ 7.6(9) โดยจาลองสถานการณ์เหมือนจริงเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ 2) วัสดุอุปกรณ์/การจัดหาจัดส่ง
วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ ให้มีการจัดหาคอมพิวเตอร์สารองที่มีคุณลักษณะเหมาะสมกับการใช้งานพร้อมอุปกรณ์เชื่อมต่อ และ
คอมพิวเตอร์แบบพกพาเป็นการช่ัวคราวหากมีความจาเป็นเร่งด่วนในระหว่างการจัดหาคอมพิวเตอร์สารอง รวมทั้งการสรรหา
วัสดุ อุปกรณ์ ยานพาหนะท่ีจาเป็นสารองในการปฏิบัติงานตามภารกิจ 3) เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลท่ีสาคัญ กรม
สบส. มกี ารจดั ระบบการสารองขอ้ มูลจากสว่ นกลางไปยังเซิร์ฟเวอร์ที่ ศบส.ท่ี 3 และ ศสม. ภาคกลาง จังหวัดชลบุรี โดยมีสารอง
ข้อมูลทุกวันเพื่อปูองกันการสูญหายของข้อมูลที่สาคัญของกรม สบส. อีกท้ังให้หน่วยงานเตรียมความพร้อมในการสารอง
ข้อมูลไว้ด้วย โดยจัดทาฐานข้อมูลแยกตามภารกิจสารองไว้ในระบบ Internet กรณีไม่สามารถเช่ือมต่อเครือข่ายระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้ปฏิบัติงานโดยไม่ใช้ระบบงานเทคโนโลยี (Manual) ไปพลางก่อน 4) บุคลากร กาหนดให้มีบุคลากรหลัก
และบุคลากรสารอง ปฏิบัติงานแทนกันได้ภายในหน่วยงานเดียวกัน และ 5) ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการอานวย
ความสะดวกในการให้บริการ จัดหาให้มีพื้นท่ีบริการสารอง หรือเพ่ิมช่องทางให้บริการผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น
ระบบจองคิวออนไลน์ หรือการให้บริการ ณ จุดเดียวท่ีศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ และมีการทบทวนและปรับปรุงแผนบริหาร
ความตอ่ เน่ือง ใหม้ ีความเหมาะสมและทันสมัย สามารถนาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการสื่อสารให้ผู้เก่ียวข้องรับทราบ
ถึงแนวทางในการปฏบิ ัติ มกี ารซักซ้อมแผนเป็นประจาทุกปี การจัดทาแผนบริหารความต่อเนื่อง ปูองกันผลกระทบในกรณีเกิด
ภาวะฉกุ เฉนิ ในดา้ นต่างๆรวมท้งั มีการวางแผนปูองกันระยะยาวในการร่วมสารวจออกแบบ แนวทางการวางผังเครื่องมือแพทย์
และโครงสร้าง เพอื่ ปูองกนั ในระยะยาวหลังจากฟืน้ ฟู

นอกจากนี้ กรม สบส. ยังมีการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติภารกิจของ
กรม สบส. โดยเฉพาะด้านมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ท่ีต้องมีการตรวจสอบประเมินมาตรฐานอาคารสถานพยาบาล
แกโ่ รงพยาบาลภาครัฐทวั่ ประเทศเปน็ ประจาทกุ ปี ตามผลลัพธ์ภาพท่ี 7.1(6) อกี ทัง้ กรม สบส. มีการจัดอบรมการปูองกัน
และระงับอัคคีภัย ฝึกซ้อมแผนการอพยพเจ้าหน้าที่ การช่วยเหลือผู้ประสบภัย และการใช้อุปกรณ์ดับเพลงท่ีติดต้ังใน
อาคารให้ถกู วธิ ี โดยมกี ารจัดฝึกซอ้ มเป็นประจาทกุ ปี และจดั ทาคู่มอื ควบคุมการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลทุกขนาด เพื่อ
ใช้เป็นเกณฑ์ในการตรวจสอบการก่อสร้างให้เป็นไปตามมาตรฐานและความปลอดภัยท้ังระบบ สามารถรับแรงสะเทือน
แผ่นดินไหว วาตภัย อุทกภัยได้ ซ่ึงในคู่มือจะมีเรื่องการติดตั้งระบบปูองกันอัคคีภัยในอาคารอย่างเหมาะสม สะดวกต่อ
การใช้งานของเจ้าหน้าท่ี พร้อมท้ังประเมินผลการดาเนินงานตามกลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ ในการจัดการภาวะฉุกเฉิน
เพ่ือปรับปรุงให้เหมาะสมตามสถานการณ์ จึงมีการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation
Center) ดังรูปท่ี 6.10 เพ่ือให้การบริหารงานของกรมฯ เป็นไปอย่างคล่องตัว มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลในการ
ปฏิบตั ิงาน และรองรบั ภารกจิ ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ควบคุม กากบั พรอ้ มทงั้ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ในภาวะ
ปกติและภาวะวิกฤติได้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในภาวะวิกฤติที่เผชิญกับสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดจากภัยพิบัติต่าง ๆ

64

เชน่ วาตภยั ดนิ โคลนถลม่ อทุ กภยั อคั คีภยั ตลอดจนการแพรร่ ะบาดของโรคตา่ ง ๆ ซ่ึงเป็นภารกิจสาคัญของกรมฯ ในการ

สร้างความพร้อมและดาเนินการให้ความช่วยเหลือทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขในพ้ืนที่ท่ีได้รับผลกระทบจาก

สถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น และยังมีการจัดต้ังทีมวิศวกร

ฉุกเฉิน (Medical Supportive Emergency

Response Team: MSERT) เป็นทีมเคล่ือนที่เร็ว ใน

การเข้าช่วยเหลือพื้นที่เกิดเหตุ ซึ่งประกอบด้วย กอง

วิศวกรรมการแพทย์ กองแบบแผน และศูนย์สนับสนุน

บริการสุขภาพที่ 1-12 ทั่วประเทศ เพ่ือให้สามารถพร้อม

รับมือและเข้าปฏิบัติการกู้ชีพสถานพยาบาลในช่วงฝน

ตกหนัก ดินโคลนถล่ม และพายุ โดยมุ่งเน้นการให้การ

ดูแลและชว่ ยเหลือ ฟ้นื ฟูสถานพยาบาลในระบบที่สาคัญ

5 ด้าน ได้แก่ ระบบไฟฟูา ระบบประปา ระบบส่ือสาร

ระบบเคร่ืองมือแพทย์ และอาคารสถานที่ ให้สามารถใช้ รูปที่ 6.10 ทมี สนบั สนุนในสภาวะฉกุ เฉนิ EOC กรม สบส.

งานได้ตามปกติพร้อมใช้งานและบริการประชาชนได้ 24 ช่ัวโมงแม้จะเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน (ระยะส้ัน) ฟ้ืนฟูภายใน

30 วัน เป็นการกู้รายหน่วยงาน เช่น OPD, ER, Ward OR, ICU, Dent Supply ห้องยา ซักฟอก เป็นต้น (ระยะกลาง) และ

การวางแผนปูองกันระยะยาว 5 - 20 ปี มีการสารวจ ออกแบบแนวทางวางผังเครื่องมือแพทย์และโครงร้าง เพ่ือปูองกัน

ในระยะยาวหลงั จากฟ้นื ฟูแล้วเสรจ็ 30 วัน

และหากจะกล่าวถึงตัวอย่างท่ีแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการรับมือสภาวะวิกฤติในปัจจุบัน จะเห็นได้จาก

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 กรม สบส. ได้ให้ความสาคัญกับการเฝูาระวัง ปูองกัน และควบคุมการแพร่

ระบาดของโรคโควิด-19 ในการวางแผน ติดตาม และประเมินสถานการณ์ พร้อมทั้งแนวทางในการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและ

สังคม มีการปรับแผนการดาเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งกรม สบส. เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทา

มาตรการและแนวทางการปฏิบัติของสถานกักกันโรคแห่งรัฐ (State Quarantine) โรงพยาบาลเอกชน (AHQ) สถานกักกัน

โรคแห่งรฐั ทางเลือก (ASQ) ตั้งแตข่ ้ันตอนการรบั ผู้ปวุ ย รวมถงึ การคัดเลือกและประเมินความพร้อมของสถานท่ีรองรับการ

ให้เป็นท่ีกักตัวและรักษาพยาบาล นอกจากน้ี ยังมีทีมวิศวกรฉุกเฉิน หรือทีมเอ็มเสิร์ท (Medical Supportive

Emergency Response Team: MSERT) เข้าประเมินความพร้อมและวางแผนการดาเนินงานโรงพยาบาลสนาม ซ่ึงจัดต้ัง

ข้ึนเพื่อการดูแลผู้ปุวยโรคโควิด-19 เป็นการเฉพาะ โดยทีมวิศวกรฉุกเฉินจะดาเนินการในด้านการออกแบบโครงสร้าง

อาคาร การวางระบบไฟฟูา ระบบสุขาภิบาล และความปลอดภัย ฯลฯ เพื่อให้การคัดกรองและรักษาพยาบาลผู้ปุวยโรคโค

วดิ -19 ท่ไี ม่มีอาการหรืออาการไมร่ นุ แรง ใหเ้ ป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและสรา้ งความเช่ือมั่นแก่ประชาชนว่าจะปลอดภัย

ไรก้ ารติดตอ่ โรคจากโรงพยาบาลสนาม รวมท้ังการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการโควิด-19 โดยรวบรวมข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ใน

การใหบ้ รกิ ารตามภารกิจของกรมฯ หน่วยงานในส่วนภูมิภาค ได้แก่ ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพท่ี 1- 12 เป็นผู้ประสาน

เช่ือมโยงข้อมูลและการดาเนินงานต่าง ๆ ของสถานพยาบาลและสถานประกอบการ ในการรายงานข้อมูลที่อัพเดตเพ่ือใช้

ประกอบการตัดสินใจรว่ มกับกระทรวงสาธารณสุขในการแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น การเฝูาระวังโรคโควิด-19 โดยอสม.

การดาเนินการช่วยเหลือสถานพยาบาล ใน Cohort Ward การปูองกันการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล ส่งข้อมูลเข้า

ระบบในภาพรวมของประเทศ การใหบ้ รกิ ารทางการแพทย์ทางไกล Telemed เปน็ ต้น

65

การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครฐั อยา่ งตอ่ เน่ืองตามระดบั พน้ื ฐาน

หมวด 1 การนาองคก์ าร

1.1 การนาองค์การโดยผู้บริหารของส่วนราชการ

1.1 ก. ผูบ้ ริหารได้รว่ มกนั กาหนดทศิ ทางองค์การด้วยวิธีการระดมสมองรว่ มกับ บุคลากร ผู้รับบริการและผู้มีส่วน

ได้ส่วนเสยี หลักนาความตอ้ งการความคาดหวงั ปัญหาและข้อเสนอแนะ มาวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อกาหนดทิศทางของ

กรมฯ เป็นประจาทุกปี รวมท้ังมีการวิเคราะห์สถานการณ์ และตาแหน่งปัจจุบันทางยุทธศาสตร์ของกรม เป็นปัจจัยนาเข้า

ในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์กรมฯ 20 ปี ให้สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) พ.ศ. 2560-2579 ภายใต้

หลักการ Retreat โดยมีเปูาหมาย “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าท่ีมีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน” ซ่ึงมีเช่ือมโยงและ

สอดคล้องกับแผนยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2564) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.

2560-2564) นโยบายรัฐบาลและการเป็นประเทศไทย 4.0 เพื่อให้การดาเนินงานตามภารกิจของ สบส. สอดคล้องกับแผน

ยุทธศาสตร์กระทรวง จึงได้ทบทวนและจัดทาประเด็นยุทธศาสตร์กรม สบส. พ.ศ. 2562 - 2566 เพื่อใช้เป็นกรอบในการ

ขับเคล่ือนภารกิจตามแผนงาน โครงการต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการและนาไปสู่การกาหนดแผนปฏิบัติราชการ

ประจาปี แผนปฏิบัตกิ าร โครงการ และกิจกรรม โดยมกี ารกาหนดเปูาหมายทีช่ ัดเจน มุ่งผลสัมฤทธิ์ ในการกาหนดวิสัยทัศน์

และค่านิยม ตาม P1(2) พร้อมกาหนด KPI ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับ รวมท้ังผู้รับบริการและผู้มี

สว่ นได้ส่วนเสยี อาทิ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ผู้ประกอบการ เครือข่ายร่วมในการกาหนดยุทธศาสตร์ประจาปี

ของ กรม สบส. มุ่งเน้นการสร้างบรรยากาศโดยผู้บริหารร่วมกันกาหนดยุทธศาสตร์ เปูาประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ท้าทาย

ตวั ชี้วดั ท่สี าคญั ตอบสนองทงั้ ในระดับกรม สบส. และกระทรวงสาธารณสขุ

ผู้บริหารให้ความสาคัญกับการนาองค์การอย่างมีธรรมาภิบาล โดยยึดหลักนิติธรรม ความโปร่งใส และความมี

จริยธรรม ในการบริหารจัดการองค์การทุกขั้นตอนผ่านระบบการนาองค์การ ตามรูปที่1.1 มีจัดตั้งกลุ่มงานคุ้มครอง

จริยธรรม ในการกากับติดตามประเมินผล

คุณธรรมตามกรอบการประเมิน ITA มีมาตรการ

ปูองกันการทุจริตเชิงรุกและแนวทางการส่งเสริม

การประพฤติปฏิบัติตามหลักนิติธรรม ความ

โปร่งใสและความมีจริยธรรม ได้แก่ การประกาศ

เจตนารมณ์ต่อต้านการทุจริต การกล่าวคา

ปฏิญาณต่อหน้าพระบรมสาทิสลักษณ์รัชกาลท่ี

10 จัดทาคู่มือปูองกันการละเว้นการปฏิบัติ

หน้าท่ี คู่มือผลประโยชน์ทับซ้อน กาหนด

หลักเกณฑ์และวิธีการในการพิจารณาคัดเลือก

“ข้าราชการดีเด่น” “คนดีศรี สบส.” “คนดีศรี รูปที่ 1.1 ระบบการนาองค์การ (HSS Leadership)

สาธารณสขุ ” และ“องค์กรคุณธรรม” รายงานผลการดาเนินการด้านคุณธรรมจริยธรรมขององค์กรต่อสาธารณะ เปิดโอกาส

ให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมพิจารณาร่างกฎหมาย และการทาประชาพิจารณ์ ในการออกกฎกระทรวง การ

พัฒนาปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย จัดทาคู่มือสาหรับประชาชนแบบ Info graphic พัฒนาระบบการรับเร่ืองร้องเรียนแบบ

อิเล็กทรอนิกส์ (CRM) การจัดต้ัง Contact Center 1426 ทั้งนี้ ผลจากการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ

ดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั (ITA) ต้ังแต่ปี 2558 มีผลการประเมินสูงข้ึนตามลาดับ และในปี 2561 ได้รับรางวัลองค์กร

โปร่งใส (NACC Integrity Awards) ระดับชมเชย จากสานักงาน ป.ป.ช. ผลการจัดการข้อร้องเรียนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 100

แสดงให้เห็นว่าผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความเชื่อม่ันในด้านธรรมาภิบาลขององค์กร ซ่ึงอธิบดี ได้รับรางวัล

ผู้บรหิ ารสาธารณสุขท่ีมีผลงานดีเด่นและเป่ียมคุณธรรม ในปี 2562 และในปี 2563 รับรางวัลผู้มีคุณูปการต่อหลักสูตรนัก

บริหารระดับสูง กระทรวงสาธารณสุข (นบส.สธ.) รุ่มท่ี 1 รองอธิบดีและหัวหน้าหน่วยงานได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น และ

66

ข้าราชการพลเรือนดีเด่นมาอย่างต่อเน่ือง จากผลการดาเนินการส่งผลให้ผลการประเมิน ITA ประจาปี 2563 สบส. อยู่ใน

ลาดบั ที่ 510 จากท้ังหมด 8,303 หน่วยงานทว่ั ประเทศ ด้วยคะแนน 89.44

1.1 ข. ผู้บริหารให้ความสาคญั สูงสดุ ในการสื่อสารทศิ ทางนโยบาย แผนการดาเนินงานของกรม สบส. มีการพัฒนา

รูปแบบ ระบบการสื่อสารของ สบส. ให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยมีการออกแบบสร้างห้องประชุมผ่านระบบ VDO

Conference เพอื่ ใชส้ าหรบั ประชมุ ผูบ้ รหิ าร ประชุมกรม และการประชุมต่าง ๆ ในการขับเคล่ือนนโยบายสู่ผู้ปฏิบัติงานทุก

ระดับในทุกพื้นที่ ตลอดจนเป็นเครื่องมืออานวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานซึ่งทาหน้าท่ีให้บริการประชาชน

ทาให้ไม่เสียเวลาเดินทางไป-กลับ เพื่อเข้าร่วมประชุมนอกสถานที่ ส่งผลดีต่อการบริการแก่ประชาชนท้ังทางตรงและ

ทางอ้อม รวมถึงประหยัดทรัพยากรและค่าใช้จ่าย สร้างความเข้าใจทิศทางบริหารองค์การตรงกัน เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติ

อย่างเป็นรูปธรรมและบรรลุเปูาหมายผ่าน

ระบบการนาองค์การ ตามรูปท่ี 1.1 จากการ

วิเคราะห์เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายก่อนและ

หลงั การใชร้ ะบบ พบว่าสามารถลดค่าใช้จ่าย

ลดลงได้ถึง 88,890 บาทต่อคร้ังต่อเดือน

คิ ดเป็ นงบประมาณท่ี ประหยั ดได้

1,066,680 บาทต่อปี โดยสามารถแบ่งการ

สื่อสารและมีการเลือกใช้ส่ือที่เหมาะสมกับ

กลุ่มเปูาหมายท่ีหลากหลายเป็น 4 แนวทาง

ตามรูปที่ 1.2 กาหนดกระบวนการส่ือสาร

เพื่อใช้ส่ือสารและถ่ายทอดข่าวสารที่สาคัญ

ไปยังบุคลากร ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ รปู ท่ี 1.2 ระบบการสอื่ สารทศิ ทางกรม สบส.

ส่วนเสียอย่างตรงไปตรงมา ผ่านช่องทางต่าง ๆ แบบ 2 ทาง การรายงานผลดาเนินการและให้ข้อมูลปูอนกลับทางระบบ

ออนไลน์ และระบบ SMART 63 สามารถทราบข้อมูลได้แบบ Real time ส่งผลให้สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ

ดาเนินงานตามมาตรการปูองกันควบคุมโรคโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พบว่าร้อยละความสาเร็จในการบรรลุตาม

แผนปฏิบัติการของ สบส. ท่มี ีผลการดาเนินการที่ดีข้ึนมาอย่างต่อเน่ือง และได้รับรางวัลเปิดใจใกล้ชิดประชาชน ระดับ

ดสี องปีซอ้ น (2562 -2563)

กรมมีการปรับโครงสร้างการนาองค์การเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และปรับบทบาท ภารกิจให้มี

ความชัดเจนมากขึ้น ได้แก่ 1) ภารกิจการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ และบริหารยุทธศาสตร์ Med Hub

เช่น พัฒนาระบบ Claim Center เก็บค่ารักษาพยาบาลชาวต่างชาติท่ีมาใช้บริการ 2) ภารกิจการมีส่วนร่วมภาคประชาชน

เช่น การพัฒนาศักยภาพ อสม. เป็นหมอประจาบ้าน 3) ภารกิจมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ เช่น การพัฒนามาตรฐาน

ระบบบริการสขุ ภาพท้งั 9 ด้าน ตามมาตรา 5 ซ่ึงขับเคลื่อนภารกิจท่ีสาคัญภายใต้ค่านิยมองค์กร“สบส”สมรรถนะเป็นฐาน

บริการด้วยใจ ใฝสุ ามคั คี สรา้ งสรรค์สิ่งใหม่” กรมฯกาหนดใหห้ น่วยงานระดับพ้ืนท่ี คือ ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเขตท่ี

1-12 และศูนย์การพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน ท้ัง 5 แห่ง ตามรูปที่ P1(6) รับผิดชอบในการดาเนินการตามยุทธศาสตร์การ

คุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ และระบบสุขภาพภาคประชาชน รวมท้ังติดตามประเมินผลการดาเนินการใน

ระดับพนื้ ที่

กรมมีการจดั ทาแผนปฏิบัติการถา่ ยทอดสู่การปฏบิ ัติ ถา่ ยทอดผา่ นคารบั รองการปฏบิ ัติราชการ ผ่านหน่วยงานสู่

บุคคล จัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอ โดยได้จัดทาคาสั่งมอบอานาจให้หัวหน้าหน่วยงานสามารถดาเนินการได้เพ่ือให้เกิด

ความคลอ่ งตวั มปี ระสิทธภิ าพ ปฏิบัตติ ามแผน กากับการดาเนินงานตามแผน สง่ เสริมสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการพัฒนา

นวัตกรรมท้ังหน่วยงานในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค อีกท้ังผู้บริหารมีการติดตามผลการดาเนินงาน ติดตามการใช้

งบประมาณผ่านระบบ SMART63 แบบออนไลน์ รวมท้ังเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณตามกรอบระยะเวลาได้อย่าง Real

67

Time ในการประชุมผู้บริหารทุกสัปดาห์ และการประชุมผู้บริหารส่วนกลาง และการประชุมกรมฯ ทุกเดือน ผ่านระบบ

VDO Conference ทาใหผ้ ลการดาเนินการของกรมฯ บรรลุตามเปาู หมายทต่ี งั้ ไว้

1.2 การกากบั ดแู ลองค์กรและความรบั ผิดชอบต่อสังคม

ผู้บริหารได้ผลักดันให้บุคลากรทุกคนใช้ค่านิยม เป็นหลักสาคัญทางความคิด และนาไปสู่การปฏิบัติจริงอย่าง

ชัดเจน มีระบบการกากับดูแลองค์การท่ีดี ดังรูปที่ 1.3 ให้ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน คือ 1) ด้านความรับผิดชอบต่อการ

ปฏิบัติงาน ร่วมจัดทาพร้อมทั้งสื่อสารแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ กาหนดแนวทางในการกากับ ติดตาม

ประเมินผล ในลักษณะ Top-Down ผ่านการจัดทาคารับรองการปฏิบัติราชการในทุกระดับ 2) ด้านความรับผิดชอบด้าน

การเงิน บริหารแผนงานและงบประมาณผ่านระบบ SMART 63 เชื่อมโยงระบบ GFMIS พร้อมท้ังดาเนินการติดตาม

รายงานผู้บริหารทุกเดือน พัฒนาระบบ

การ ราย งาน ผล การป ฏิ บั ติ งาน ของ

บุคลากรให้สอดคล้องกับคารับรองการ

ปฏิบัติราชการในระบบ SMART 63 แบบ

Real Time 3) ด้านการปูองกันการ

ทุจริตและประพฤติมิชอบ จัดตั้งกลุ่ม

งานคุ้มครองจริยธรรม ส่งเสริมด้าน

คุณธรรมจริยธรรมและปูองกันการทุจริต

การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน

จัดทาคู่มือมาตรฐานการ คู่มือสาหรับ

ประชาชน คู่มือปูองกันผลประโยชน์ทับ

ซ้อน เพ่ือใช้เป็นแนวทางให้บุคลากร รูปที่ 1.3 ระบบการกากบั ดูแลองคก์ ารทด่ี ี สบส.

ยึดถือปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง และจากการดาเนินการอย่างต่อเน่ืองและจริงจังทาให้เกิดผลงานและนวัตกรรม นาไปสู่การ

ปฏิบัติงานจนเป็นผลสาเร็จ ได้แก่1) การกระจายอานาจการตัดสินใจ มอบอานาจให้หน่วยงานส่วนภูมิภาค คือ ศบส. เขต

12 เขต และ ศสม. ทั้ง 5 แห่ง ส่งผลให้การปฏิบัติงานในภาพรวมในระดับพื้นที่ ดาเนินการได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ

คล่องตัวย่ิงข้ึน เกิดการเช่ือมโยงงานกับเขตบริการสุขภาพและหน่วยงานอ่ืนในพ้ืนที่ 2) การพัฒนาศักยภาพ อสค. อสม.

และภาคีเครือข่าย เน้นบูรณาการความร่วมมือ สสจ. รพ.สต. 3) สร้างภาคีเครือข่ายครอบคลุมทุกจังหวัดท่ัวประเทศ เช่น

การจัดต้ังเครือข่ายเฝูาระวังการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพทาง Line 4) พัฒนารูปแบบแนวทางการในการ

สร้างเครือข่ายกับภาคประชาชน ภาคเอกชน และท้องถิ่น 5) ส่งเสริมพัฒนาภาคีเครือข่ายสาธารณสุขในระดับพื้นที่ การ

ประกวด อสม. ดีเด่นระดับ จังหวัด เขต ภาค ประเทศ พร้อมมอบส่ิงจูงใจ ได้แก่ โล่รางวัลระดับจังหวัด เขต ภาค และ

ระดบั ประเทศ

กรมมีการวิเคราะห์ผลกระทบทางลบจากการดาเนินงานตามภารกิจหลักของกรมฯ และจากการบังคับใช้

กฎหมายที่เก่ียวข้อง ซ่ึงในสถานการณ์โควิด 19 สบส. ได้กาหนดนโยบายบริหารจัดการ ยกระดับการบริหารจัดการ

ภาวะฉกุ เฉนิ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ปรับเปลี่ยนรูปแบบการทางานในเชิงรุก เพิ่มช่องทางการส่ือสาร พัฒนา

ระบบการรายงานข้อมูลและการเฝูาระวังในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ จัดทาแพลตฟอร์ม “ศูนย์

ปฏิบัติการฉุกเฉินโควิด–19” ให้บริการ จัดทาระบบการลงทะเบียนทั้งสถานกักกันทางเลือกของรัฐ โรงแรม สนาม

กอล์ฟ (AQ, AHQ, SQ, GQ) มาตรการและแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ของสถานกักกันโรคทุกประเภท แบบประเมินตนเอง

ระบบการตรวจประเมินและระบบการรายงานผลภาพรวมการดาเนนิ การ และจดั ทาแนวทางมาตรการระบบการรายงาน

อสม. เคาะประตูบ้าน เพ่ือสังเกตอาการประชาชน รวมทั้งกลุ่มผู้เดินทางกลับมาจากพื้นที่ระบาดของโรคโควิด-19 ตาม

ภาพท่ี 7.1 และ 7.6 จนสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในระดับพ้ืนท่ี จนได้รับคาชมเชยจากองค์การ

อนามัยโลกและนานาชาติ

68

หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

2.1 การจดั ทายทุ ธศาสตร์

2.1 ก. สบส. ได้มีการทบทวนและกาหนดวิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการระบบริการสุขภาพและระบบ

สุขภาพภาคประชาชนที่มีคุณภาพเพ่ือการคุ้มครองผู้บริโภคและการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพท่ีย่ังยืนแบบมีส่วนร่วม”

ภายใต้ระบบการนาองค์การ ที่กาหนดทศิ ทาง วางแผนยุทธศาสตร์และถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ ซ่ึงในปี 2563 ตามที่กระทรวง

สาธารณสุขได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) พ.ศ. 2560-2579 ภายใต้หลักการ “ การถอยเพ่ือ

ทบทวนหรือการถอยต้ังหลักก่อนท่ีจะก้าวต่อไปข้างหน้า (Retreat) “ โดยมีเปูาหมาย “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าท่ีมี

ความสุข ระบบสุขภาพท่ีย่ังยืน” ซ่ึงมีความสอดคล้องและเช่ือมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ ระยะ20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) และเพ่ือให้

การดาเนินงานตามภารกิจของ สบส. สอดคล้องกับแผน

ยุทธศาสตร์ของกระทรวง สธ. สบส. ได้มีการจัดทาประเด็น

ยุทธศาสตร์ สบส. พ.ศ. 2562-2566 เพื่อใช้เป็นกรอบในการ

ดาเนินงานของกรม รวมทั้งใช้ประกอบการจัดทาคาขอ

งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ และขับเคลื่อน

ภารกิจ การดาเนินงานแผนงานต่าง ๆ ให้มีความสอดคล้อง

และแสดงความเชื่อมโยงแผนบูรณาการกับหน่วยงานอ่ืน ๆท่ี

เกี่ยวข้อง เช่น กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

สานักงาน อย. และ สคบ. ปรับเปล่ียนหน้าท่ีเป็นการส่งเสริม

รปู ที่ 2.1 กระบวนการจดั ทาแผนยุทธศาสตร์ กรม สบส. กากับ ตรวจสอบมาตรฐานสถานพยาบาลและสถาน

ประกอบการเพอ่ื สุขภาพ และถ่ายโอนการรบั รองมาตรฐานให้หน่วยงานอื่นดาเนินการ

กรมฯ มีการขับเคลื่อนนโยบายสู่การวางกรอบแผนงาน โครงการริเร่ิม นอกเหนืองานประจา เพื่อให้ดาเนินการ

บรรลุ Goal, SO และ KPI ท่ีระดับหน่วยงานนาไปสู่การจัดทาแผนปฏิบัติการของหน่วยงานและถ่ายทอดสู่บุคลากรคา

รับรองการปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานและระดับบุคคล จัดทาแผนงานโครงการให้มีความครอบคลุมความต้องการของ

ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสียทีส่ าคญั อยา่ งสมดุล ทั้งทางด้านพันธกิจ การปฏิบัติการ ตาม P(7) โดยมีการรับฟังความ

คิดเห็นต่อยุทธศาสตร์ของบุคคลภายในและภายนอกกรมฯ ตามรูปที่ 2.1 เพ่ือให้บรรลุเปูาหมายสูงสุดคือให้ ประชาชนมี

ความรู้ด้านสุขภาพจัดการสุขภาพที่ถูกต้อง และ ได้รับบริการจากสถานบริการสุขภาพ สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพที่มี

มาตรฐาน ปลอดภัย กรมฯ นาความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์(P12) คือ การท่ีกรมเป็นองค์กรเดียวในการคุ้มครองผู้บริโภค

ด้านระบบบริการสุขภาพ และระบบบริการสุขภาพภาคประชาชนของประเทศไทย มีภาคีเครือข่ายระดับชาติและพ้ืนท่ี

เข้มแข็ง (อสม.) ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ มีอาสาสมัครสาธารณสุขครอบครัว (อสค.) ครอบคลุมทุกครอบครัวท่ีมีผู้ปุวยผู้สูงอายุ

ติดบ้าน ติดเตียง นอกจากน้ัน กรมฯ ยังได้พัฒนา อสม. ให้เป็นอสม. หมอประจาบ้าน การขับเคลื่อนการคุ้มครองผู้บริโภค

ได้รับบรกิ ารทมี่ ีคณุ ภาพ มาตรฐาน ปลอดภยั ดา้ นผลติ ภัณฑ์สุขภาพและบรกิ ารสขุ ภาพ และนาความท้าท้ายเชิงยุทธศาสตร์

มากาหนดเป็นกลยทุ ธ์ของกรมฯ เช่น พัฒนาและส่งเสริมอตุ สาหกรรมการแพทย์และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบครบวงจร

การเช่ือมโยงฐานข้อมูลผู้ปุวยในสถานพยาบาลเอกชน โดยใช้ Big Data Technology และการสื่อสารสุขภาพทางออนไลน์

และคลงั ความร้ดู จิ ทิ ัลด้านบริการสุขภาพชุมชน รวมทงั้ เตรยี มบคุ ลากรให้พรอ้ มและเพียงพอต่อการบรรลผุ ลสาเร็จของกรม

2.1.ข. กรมมีการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี และมีการกาหนดเปูาประสงค์เชิงกลยุทธ์ และตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ท้ังใน

ระยะสั้นและระยะยาว ทบทวนระบบงานสาคัญ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะหลักของกรม และจัดทาแผนที่ยุทธศาสตร์ตาม

หลัก Balanced scorecard กาหนดกรอบการจัดทาแผนกลยุทธ์ระยะส้ัน 1 ปี เพ่ือให้สอดคล้องกับรอบปีงบประมาณ

สภาพแวดล้อมท่ีเปล่ียนแปลงไป และกระบวนการวัดและการประเมินผลการดาเนินงานของกรมฯ ส่วนแผนระยะยาว

กาหนดไว้ 5 ปี และ 20 ปี มีการกาหนดเปูาหมายเพื่อรองรับและคาดการณ์การเปล่ียนแปลงในอนาคต ทาประชาพิจารณ์

69

แกผ่ มู้ ีส่วนได้ส่วนเสียสาคัญ ในการถ่ายทอดทิศทางองค์การ (รูปที่1.3) ผู้บริหารใช้ระบบการประชุมคณะกรรมการบริหาร
ของกรมฯ ทุกสัปดาห์ ถ่ายทอดวิสัยทัศน์และนโยบายต่าง ๆ สู่บุคลากรเป็นประจาทุกเดือน รวมท้ังส่ือสารผ่านระบบ
สารสนเทศ เพือ่ ใหบ้ คุ ลากรรับรู้เข้าใจ และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน เพื่อให้ไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน โดยได้เชื่อมโยงกับ
การบริหารยุทธศาสตร์ และผู้บริหารลงพื้นที่ทุกหน่วยงาน สร้างการรับรู้ทิศทาง ถ่ายทอดกลยุทธ์ให้ชัดเจนเข้าใจสามารถ
ปฏบิ ตั ิได้ กรมใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการส่ือสารระหวา่ งบุคคลในองค์กร เชน่ E-mail Line กลมุ่ เป็นตน้

สบส. ทบทวนและวิเคราะหผ์ ลกระทบของเปูาประสงค์ และตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ แผนการปฏิบัติราชการ และ
ผลการดาเนินการ ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอกที่สาคัญและความเสี่ยงต่าง ๆ ท่ีกระทบต่อองค์การ เช่น ความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยี แนวโน้มการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ ความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียหลักที่สาคัญ รวมท้ังนโยบายการปฏิรูปประเทศ หากพบว่าผลการดาเนินการไม่บรรลุตามแผนท่ีกาหนดไว้ มีการ
ปรับแผนงาน โครงการ จัดเตรียมทรัพยากรทั้งทางด้านบุคลากร งบประมาณ และเคร่ืองมืออุปกรณ์ท่ีจาเป็นให้สอดคล้อง
กับแผนปฏิบัติการใหม่ เช่น การลดผลกระทบจากข้อบังคับทางกฎหมาย มีการทบทวนและพัฒนากฎหมายที่กรมฯ กากับ
ดแู ล จานวน 14 ฉบับ เพื่อให้สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์(รูปที่ 7.4(3)) และให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานและการให้บริการท่ีมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น เรื่องการข้ึนทะเบียนเป็นผู้ให้บริการ การอนุญาตเป็นผู้ดาเนินการ การอนุญาตประกอบกิจการ
สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ตามกฎกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560 กาหนดให้สามารถยื่นคาขอผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ได้ จัดทาประกาศกรมฯ เพื่อให้ประชาชนมีความคล่องตัวและสะดวกในการรับบริการมากย่ิงขึ้น การยื่นคา
ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ หรือพนักงานนวด รวมท้ังผู้ดาเนินการสปา ด้วยการใช้
เพียงบตั รประจาตวั ประชาชนกบั ใบรบั รองแพทยเ์ ท่านน้ั การจดั ทาร่างกฎกระทรวง “กิจการการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะ
พ่ึงพิง” ส่งเสริมให้สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพ่ึงพิงท้ังภาครัฐและภาคเอกชนให้มีคุณภาพ
มาตรฐาน เพื่อรองรับผู้สูงอายุของไทย รวมไปถึงกลุ่ม Long Stay Visa ที่ปัจจุบันชาวต่างชาติจานวน 14 ประเทศ สามารถ
พานักอาศัยในประเทศไทยได้ 10 ปี การตง้ั ศนู ยบ์ ริการขอ้ มูลสุขภาพกับหน่วยงานภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่า
อากาศยานดอนเมอื ง เพอื่ อานวยความสะดวกผู้โดยสารท่ีเข้ามารับการรักษาพยาบาลในกลุ่มประเทศ CLMV รวมถึงรับเรื่อง
รอ้ งเรยี นจากชาวไทยและชาวต่างชาติด้านระบบบรกิ ารสุขภาพตามนโยบายการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพ
นานาชาติ
2.2 การนายทุ ธศาสตร์ไปปฏิบัติ
2.2ก. กรมได้นายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยกาหนดแนวทางการถ่ายทอดตัวช้ีวัดและเปูาหมาย ตั้งแต่ระดับกระทรวง
ระดับกรม สู่ระดับหน่วยงาน ระดับบุคคลลงถึงระดับพ้ืนที่อย่างเป็นระบบ และสอดคล้องเชื่อมโยงท่ัวทั้งองค์การ มีระบบ
การสอ่ื สารถา่ ยทอดนาแผนไปส่กู ารปฏิบตั ิอย่างชดั เจน การกาหนดทิศทางของกรมฯ และการวางแนวทางในการปฏิบัติเพื่อ
ไปสู่เปูาหมายที่กาหนดไว้น้ัน ต้องอาศัยความร่วมมือของภาคีเครือข่ายสุขภาพในระดับพ้ืนท่ี ได้แก่ สานักงาน สสจ. รพศ.
รพท. รพช รพสต.หน่วยงานท้องถ่ิน องค์กรเอกชน หนว่ ยงานรัฐอนื่ ๆ และภาคประชาชน ถ่ายทอดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และ
ทศิ ทางการบริหารงานไปสู่การปฏิบัติ การจัดทาแผนปฏิบัติราชการ แผนการดาเนินงาน ถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติ โดย
ใช้ช่องทางการส่ือสารทั้งภายในและภายนอกองค์กร ได้แก่ เว็บไซต์กรมฯ หนังสือแจ้งเวียนทุกหน่วยงาน คู่มือแผน
งบประมาณตามยุทธศาสตร์ และการประชุมช้ีแจงนโยบายและแนวทางการขับเคล่ือนการดาเนินงาน กรม สบส. ภายใต้
ยทุ ธศาสตร์ชาติ ทุกปี เพอ่ื ถ่ายทอดวิสัยทศั น์และค่านยิ มสู่การปฏบิ ัติไปยังบุคลากร ค่คู วามร่วมมือ ผู้รับบริการ รวมทั้งผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย สร้างการรับรู้ทิศทางของกรมฯ อีกท้ังมีการจัดทาคารับรองหน่วยงานและการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ของบุคลากร และในกรณีนโยบายเร่งด่วนและสาคัญ ผู้บริหารจะสื่อสารผ่าน Video Conference ให้ทุกหน่วยงานท้ัง
ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ร่วมกับการใช้ค่านิยมเป็นแรงขับเคล่ือนให้เกิดการมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์การ ร่วมคิด
ร่วมปฏิบัติ ส่งผลให้มีผลลัพธ์การดาเนินการตามเปูาประสงค์ท่ีวางไว้ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ มีแผนปฏิบัติการ
ในการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพ ลดต้นทุน เปดิ โอกาสสร้างการมสี ่วนรว่ มกับหนว่ ยงานและองค์กรท่ีเก่ียวข้อง กาหนดนโยบาย
และแผนงานที่สาคัญร่วมกัน นาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการสร้างความเช่ือมั่น อานวยความสะดวกให้แก่ผู้รับบริการและผู้

70

มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น การพัฒนาระบบอนุญาตและชาระค่าธรรมเนียมผ่าน Central Biz Box ร่วมกับ สานักงาน ก.พ.ร.,
สพร, และ ETDA พัฒนาศูนย์ Claim Center ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตอังกฤษ สปสช. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
กองเศรษฐกจิ สขุ ภาพและหลักประกนั สุขภาพ เพอ่ื จัดเกบ็ คา่ รักษาพยาบาลชาวต่างชาติสาหรับสถานพยาบาลภาครัฐ
2.2 ข. กรมพัฒนาระบบกากับติดตามทั้งเชิงรุกและเชิงรับทั้งในส่วนกลางและในส่วนภูมิภาค กาหนดให้รายงานผลการ
ดาเนินงานตามตัวช้ีวัดในการประชุมผู้บริหารส่วนกลางทุกสัปดาห์ และการประชุมกรมฯ ทุกเดือน โดยดาเนินการผ่าน
ระบบสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจผลการดาเนินงานที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) ระบบ SMART63 เป็นการรายงานผลการ
ดาเนินงานตามตัวช้ีวัดและการเบิกจ่ายงบประมาณแบบออนไลน์แบบ Real time (2) ระบบการติดตามผลการดาเนินการ
ตามตวั ชว้ี ัดของกรมฯ (HSS Management Cockpit) โดยจัดกลุ่มตัวช้ีวัดออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ (1)ตัวช้ีวัดยุทธศาสตร์
(2) ตัวช้ีวัดงบประมาณ (3) ตัวช้ีวัดตามมาตรา 44 และ(4) ตัวชี้วัดอธิบดี (PA) ติดตามงบประมาณผ่านระบบ GFMIS ตาม
วงรอบ 3, 6, 9, 12 เดือน ท้ังในรูปแบบรายงาน กราฟ Analog Meter ผู้บริหารสามารถตัดสินใจบนพ้ืนฐานสารสนเทศที่มี
ความถูกต้อง แม่นยา รวดเร็ว นาไปสู่การบริหารจัดการ กากับ สั่งการได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขการดาเนินงาน
ท่ีไม่เป็นไปตามแผนได้ทันท่วงที มีระบบ Warning สามารถเรียกดูข้อมูลแบบ Real time ของแผนปฏิบัติราชการประจาปี
นาไปสู่การพัฒนาต่อยอดและสร้างนวัตกรรมของบุคลากรและองค์การ มีการจัดทารายงานสู่สาธารณะผ่านการรายงานผล
ตัวช้ีวดั บนเวบ็ ไซต์ และรายงานผลการปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี นาไปสู่การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการต่อไป
กรมฯ มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ เพ่ือให้ทันต่อสถานการณ์ ความก้าวหน้าการส่ือสารและเทคโนโลยี มีการจัดทา Action
plan ทั้งในระยะส้ัน และระยะยาว เช่นใน มีการทบทวนปรับแผนงบประมาณให้รองรับสถานการณ์ Covid-19 และ การ
ปรับโครงสร้าง พัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ เพ่ิมกลไกและประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย เพ่ือให้ประชาชนได้รับ
บริการด้านสุขภาพที่ปลอดภัย ลดข้อร้องเรียนและการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายของสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน และสถาน
ประกอบการเพือ่ สุขภาพลดลง
หมวด 3 การให้ความสาคัญกบั ผู้รับบริการและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสยี
3.1 ความคาดหวงั ของผรู้ ับบริการและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี

3.1 ก. กรมมีภารกิจหลักในการในการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
ระบบบริการสุขภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชน จึงจาเป็น
อย่างย่ิงท่ีต้องให้ความสาคัญกับสารสนเทศท่ีเก่ียวกับประชาชน
ซึ่งเป็นกลุ่มผ้รู ับบรกิ ารผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียหลักท่ีสาคัญ รูปท่ี 3.1
เพื่อวางแผนงานการพัฒนาคุณภาพผลผลิตและบริการท่ีสามารถ
ตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวัง มีการค้นหา
สารสนเทศของผรู้ ับบริการแลผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย เริ่มต้ังแต่การได้
สารสนเทศในการการเฝูาระวังการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบ
บริการสุขภาพและการจัดการสุขภาพภาคประชาชนโดยมีการ
รวบรวมข้อมลู ของผ้รู บั บรกิ ารและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียท้ังในปัจจุบัน
และในอนาคต กรมฯจาแนกกลุ่มผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
รปู ท่ี 3.1ระบบการจัดการสารสนเทศผรู้ บั บริการของ สบส. อย่างเปน็ ระบบจากพนั ธกิจตามกฎหมายและยุทธศาสตร์ของกรม
ตามรูป P (7) เพ่ือให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่ครอบคลุม ครบถ้วน ออกแบบวิธีการและช่องทางในการรับฟังเสียงของ
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการดาเนินการเชิงรุก ใช้วิธีการสารวจความคิดเห็น ความพึงพอใจ และความ
เชื่อม่ันต่อการรับรขู้ ่าวสารองค์ความรูก้ ารรับบริการ และภาพลักษณข์ องกรมฯ นารูปแบบของส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ
เข้ามาใช้ประโยชนม์ ากขึน้ เชน่ การสารวจออนไลนผ์ า่ นเวบ็ ไซตก์ รม www.hss.moph.go.th และ Social Media ได้แก่
Facebook กรม สบส., สารวตั รออนไลน์, Twitter Application Smart อสม. และ อสค.4.0 ออนไลน์,Group Line ของ
กลุ่มเครือข่ายต่าง ๆ ได้แก่ งานสุขภาพภาคประชาชน งานคุ้มครองผู้บริโภค Email จุลสารออนไลน์ ส.บ.ส. ซอย 8

71

การรับเร่ืองร้องเรียน ผ่านเว็บไซต์ระบบ CRM ในเชิงรับ ได้แก่ การเปิดช่องทางในการรับฟังความคิดเห็นทาง ระบบรับ

เรื่องร้องเรียนออนไลน์ ไปรษณีย์ ตู้รับความคิดเห็น ศูนย์รับเร่ืองร้องเรียน การเปิดสายด่วน 02-1937999 และ Social

Media ผา่ นระบบ Mobile App Line Facebook การแสดงความคิดเหน็ ทาง Website และขอ้ เสนอแนะ

นอกจากข้อมูลที่ได้รับฟังจากผู้รับบริการแล้ว กรมยังได้ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและเครือข่ายที่เก่ียวข้อง

เช่น สถานการณ์ด้านบริการสุขภาพ อัตราปุวย-ตาย ข้อร้องเรียนด้านระบบบริการสุขภาพ ฐานข้อมูลที่สาคัญ เช่น ด้าน

สาธารณสุขจากกระทรวงสาธารณสุข แพทย์จากแพทยสภา เครื่องมือแพทย์จากสานักงาน อ.ย. และ

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รายช่ือและรหัสประชาชนของอสม.และอสค.จากwww.thaiphc.net มาตรฐานสถานพยาบาล

จาก ส.ร.พ. พฤติกรรมสุขภาพตามกลุ่มวัยจากกรมอนามัย

ระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Health

data center: HDC) และฐานข้อมูลของชาวต่างชาติท่ีเข้า

มาพานักในไทยจากกระทรวงการท่องเที่ยวและการกีฬา

เป็นต้น เพื่อนาไปสู่การวางนโยบายเชิงรุก คือการเฝูาระวัง

คุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ พัฒนาการ

จัดการสุขภาพภาคประชาชน และการพัฒนาและส่งเสริม

อุตสาหกรรมการแพทย์และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบ

ครบวงจร และผลการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้รับบริการและผู้

รูปที่ 3.2 การจดั การผรู้ ับบริการและผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสีย มีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือวางนโยบายเชิงรุกท่ีมุ่งเน้น

ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท้ังในปัจจุบันและอนาคต เช่น ปัจจุบันมี อสม. มีจานวน

1,039,729 คน ครอบคลุมท่ัวประเทศ ซ่ึงเป็นจานวนมาก เป็นแกนนาในการขับเคล่ือนงานด้านสุขภาพชุมชน นามา

ตอบสนองความตอ้ งการของผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสีย คือ การจัดทา SMART CARD อสม. เพ่ือเป็นบัตรประจาตัว

อสม. และบัตร Debit รับค่าปุวยการผ่านระบบ e- Payment ของกรมบัญชีกลาง และสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนหรือแจ้ง

ผา่ นApplicationบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้

3.1 ข. กรมมกี ารสารวจความพึงพอใจ ไมพ่ งึ พอใจ และความเชือ่ มั่นของผูร้ ับบริการและผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในภาพรวม

ของกรมฯ โดยใช้แบบสอบถาม (Survey Questionnaire) เปน็ เคร่อื งมอื ในการวัดผลในทุกกลุ่มท้ังกลุ่มผู้รับบริการและผู้มี

ส่วนได้ส่วนเสยี ท้ังภายนอกและภายใน ปลี ะ 2 คร้งั มแี บบสารวจความพึงพอใจและการประเมนิ ช่องทางการให้บริการทาง

ออนไลนท์ างเว็บไซต์กรมฯ และมกี ารประเมนิ ความพึงพอใจท่ที ันตอ่ การตอบสนอง เช่น การประเมินความพึงพอใจท่ี OSS

จุดให้บริการหน่วยงานต่าง ๆ ข้อมูลปูอนกลับท้ังท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ข้อมูลการให้บริการ ข้อร้องเรียน

รายงานจากหน่วยบริการ การแนะนาจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และอัตราความสาเร็จของการทาธุรกรรม

นามาแก้ไขปัญหาทันทีเม่ือพบปัญหาส่งผลต่อความพึงพอใจผู้รับบริการ พัฒนา ปรับปรุงรูปแบบการทางาน จัดการ

กระบวนการอยา่ งเปน็ ระบบ

กรมมีการนาผลการสารวจ VOC ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานและ

รวบรวมข้อมูลความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ Social Media (Facebook,

Line Application, Twitter YouTube) รายงานอุบัติการณ์ ข้อร้องเรียน ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและเครือข่ายที่

เก่ยี วข้อง เช่น สถานการณ์ด้านบริการสุขภาพ อัตราปุวย-ตาย ข้อร้องเรียนด้านระบบบริการสุขภาพ และจากฐานข้อมูลท่ี

สาคัญ เช่น รายช่ือและรหัสประชาชนของอสม.และอสค.จากwww.thaiphc.net ส.ร.พ. พฤติกรรมสุขภาพตามกลุ่มวัยจาก

กรมอนามัย ระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Health data center: HDC) เป็นต้น นาไปทบทวนออกแบบ

ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการท้ังปัจจุบันและอนาคตแต่ละปี สร้าง

นวัตกรรมการให้บริการด้านต่าง ๆ เช่น 1. จากผลการสารวจ ผู้รับบริการบางกลุ่มไม่สะดวกมารับบริการท่ี OSS วิธีการ

แกไ้ ขเชงิ รุกคือการพฒั นาระบบ E-Service (การขออนุญาต การข้ึนทะเบียน การต่ออายุ การชาระค่าธรรมเนียม) ผ่าน App

72

โดยใช้เลข 13 หลัก การทาธุรกรรมแบบออนไลน์ เป็นการลดค่าใช้จ่าย คุ้มค่า เข้าถึงง่าย ตอบสนอง Life style และการ
พัฒนาระบบการขออนุญาตสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านระบบออนไลน์ทาง ระบบ Biz Portal
ร่วมกบั สานักงาน ก.พ.ร. และพัฒนาการชาระค่าธรรมเนียมการขออนุญาตผ่านระบบ E-payment ของกรมบัญชีกลาง ดัง
รปู ที่ 7.2(7)และ 7.2(8) จากข้อมูลด้านสุขภาพของประชาชน พบว่ามีการส่งข้อมูลสุขภาพท่ีไม่ถูกต้องในส่ือสังคมออนไลน์
วิธกี ารแก้ไขเชิงรกุ พฒั นา SMART Card อสม.4.0 ให้เป็นทั้งบตั รประจาตัว อสม. เป็นช่องทางถ่ายทอด Health Literacy สู่
ประชาชนในพ้ืนท่ีได้ เพื่อให้ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพทันต่อสถานการณ์อย่างทั่วถึงและรวดเร็ว และรับรู้ข้อมูล
ข่าวสารจาก กรม ส.บ.ส. โดยตรง สามารถแจ้งเร่ืองร้องเรียนหรือแจ้งผ่านApplication ได้ 3. จากการสารวจพบว่าผู้ให้
บรกิ ารสถานประกอบการเพอ่ื สุขภาพบางสว่ นไม่สามารถขึ้นทะเบียนเปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารได้ วธิ ีการแก้ไขเชิงรุก การพัฒนาระบบ
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ชาระค่าธรรมเนียมผ่านระบบ
ธนาคารกรงุ ไทย ดังรปู ที่ 7.2(5)-7.2(9)
3.2 การสร้างความผูกพัน
3.2.ก. สบส. ไดม้ กี ารเรยี นรแู้ ละปรับปรงุ รปู แบบการบริการ และกลไกสนับสนุนที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วน
ได้ส่วนเสียท่ีมีความต้องการเฉพาะท่ีหลากหลาย ปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการตามพันธกิจ และมีการคาดการณ์และ
จาแนกสารสนเทศของผู้รับบริการในอนาคต จากข้อมูลสถานการณ์ท้ังในประเทศและต่างประเทศ ผลการสารวจความพึง
พอใจของผ้รู บั บรกิ ารและผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสียในแต่ละปีนามาจากแผนยุทธศาสตร์ โดยใช้ SWOT Analysis ปรับกลยุทธ์การ
ดาเนินงาน ออกแบบระบบกระบวนการองค์ความรู้และเทคโนโลยีและการบริการที่เป็นนวัตกรรมในแผนยุทธศาสตร์ของ
กรมฯ 20 ปี และแผนประจาปี เพื่อให้บริการแก่ผู้รับบริการ และการทางานร่วมกับเครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งใน
ปัจจุบัน และอนาคตได้อย่างเหมาะสม เช่น การพัฒนาห้องปฏิบัติการทดสอบและสอบเทียบได้ผ่านการรับรองมาตรฐาน
ISO/IEC 17025 เพ่ือทดสอบสอบเทียบเคร่ืองมือแพทย์ให้ได้มาตรฐานให้กับเขตและโรงพยาบาล อีกท้ังมีการวิเคราะห์
ศักยภาพของสถานประกอบการเพื่อสุขภาพเพื่อแข่งขันในระดับสากล พัฒนาเกณฑ์และคุณภาพมาตรฐานสถาน
ประกอบการเพื่อสุขภาพท่ีได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ท่ีสมัครใจเข้ารับการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพและรับการประเมิน
Thai World Class Spa ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จานวน 33 แห่ง และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการประเมินมาตรฐาน
ระบบบรกิ ารสุขภาพ HS4 (Health Service Support Standard System) ประเมนิ มาตรฐานระบบรกิ ารสขุ ภาพทั้งของ
โรงพยาบาลประเมินตนเอง แจ้งผลการตรวจเย่ียมผ่าน สสจ.ในการพัฒนาโรงพยาบาล พร้อมท้ังมีการประเมินความพึง
พอใจต่อการเย่ียมประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ จากผลการดาเนินการดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง ทาให้กรม
สามารถสรา้ งผลการดาเนนิ การท่เี ปน็ เลศิ ด้านการบริหารราชการแบบมสี ว่ นรว่ ม ประเภทพัฒนาการบริหารราชการแบบ
มีส่วนรว่ มในระดบั ดีเยี่ยม ซ่งึ เปน็ 1 ใน 5 สว่ นราชการทไ่ี ด้รบั รางวัลดังกล่าวในระดับดีเย่ียม ประจาปี พ.ศ. 2559 และ
ไดร้ ับรางวัลเปดิ ใจใกล้ชดิ ประชาชน ระดบั ดี ในปี 2562 และปี 2563
3.2 ข. กรมฯ มีการจัดตั้งศูนย์คุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบริการสุขภาพ พิทักษ์สิทธิและคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบริการ
สขุ ภาพอย่างครบวงจร สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่ือสาร สร้างความเข้าใจปัญหาข้อร้องเรียน
ของผรู้ ับบรกิ าร การแกไ้ ขข้อรอ้ งเรยี น บูรณาการการทางานรว่ มกับเครอื ขา่ ยในการคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ สคบ. อย. ปปช.
ค้นหาแนวทางการแก้ไขข้อร้องเรียนร่วมกัน เช่น นโยบาย “เจ็บปุวยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกท่ี (UCEP)” มีการบูรณาการ
ร่วมกับ สพฉ. ในการตรวจสอบข้อร้องเรียนท่ีเกิดจากการรักษาพยาบาลกับโรงพยาบาลเอกชน และพัฒนาศักยภาพ
เครอื ข่าย UCEP ระดบั ชมุ ชน เพอ่ื ใหป้ ระชาชนเขา้ ถึงบริการการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ท่ีมีคุณภาพ มาตรฐาน ได้อย่างท่ัวถึงและเป็น
ธรรม โดยในปี 2563 มีการจดั การเร่อื งร้องเรยี นไปทั้งส้ิน380เรอื่ งเปน็ กรณีUCEP132 เรอื่ ง
3.2ค กรมฯ มีการพัฒนาปรับปรุงช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนตามข้อเสนอแนะของผู้รับบริการ เป็นประจาทุกปี มีการ
พัฒนาระบบการจัดการเรื่องร้องเรียน (CRM) ทางออนไลน์ มีระบบติดตาม ขั้นตอน ความคืบหน้าของเร่ืองร้องเรียน
(tracking) ไดอ้ ย่างสะดวก รวดเรว็ ชว่ ยใหป้ ระชาชนสามารถติดตามสถานะของการจัดการข้อร้องเรียนได้ทุกเวลา ทาให้เกิด
ความชัดเจนในการแก้ไขปัญหาจากข้อร้องเรียนได้อย่างเป็นระบบ พัฒนาช่องทางการรับร้องเรียนผ่านช่องทางออนไลน์

73

ต่างๆ ได้แก่ Website www.crm.hss.moph.go.th Facebook ศูนย์รับเร่ืองร้องเรียน สบส. App.สารวัตรออนไลน์

Official@line สารวัตรสถานพยาบาล สายด่วนกรม สบส. 1426 ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนกรม 02 193 7057

E-mail: [email protected]

หมวด 4 การวดั การวิเคราะห์ และการจดั การความรู้

4.1 การวดั การวเิ คราะห์ และการปรบั ปรุงผลการดาเนนิ การของส่วนราชการ

4.1 ก. กรมมีการกาหนดตัวชี้วัดหลายระดับต้ังแต่ตัวช้ีวัดยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง ระดับกรม และหน่วยงาน

ตลอดจนตัวช้ีวัดระดับบุคคล มีเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัดท่ีครอบคลุมกรอบดาเนินงานที่สาคัญของกรมฯ ตัววัดผลการ

ดาเนินการของกรมฯ พิจารณาจากภารกิจ

หลักที่ตอบสนองวิสัยทัศน์และพันธกิจ

รวมท้ังค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร ความ

ต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการ

ปฏิบัติงาน นโยบายรัฐบาลท่ีเกี่ยวข้อง ผ่าน

กระบวนการจัดทายุทธศาสตร์ ตามรูปที่ 2.1

เพื่อใช้ในการติดตามความก้าวหน้าและ

ผลสาเร็จของการดาเนินงานของกรม สบส.

ตัวชี้วัดท่ีสาคัญของกรมฯ ประกอบด้วย 1)

ตัวชีว้ ดั ยทุ ธศาสตร์ 2) ตัวชี้วัดที่บรรลุภารกิจ รูปที่ 4.1 ระบบการคดั เลือกตวั ชว้ี ัดการดาเนนิ งาน

3ตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทฺธิภาพการปฏิบัติราชการ 3) ตัวช้ีวัดกระบวนงาน 4) ตัวชี้วัดของแผนงาน โครงการ

ซ่ึงในการขับเคลื่อนการดาเนินงานตามตัวช้ีวัด จะกาหนดค่าเปูาหมาย วางแผน รวบรวม ติดตาม และประเมินผลการ

ปฏบิ ัตงิ าน ตลอดจนถ่ายระดับเปน็ คารับรองการปฏิบตั ิราชการระหว่างกรม สบส. และหน่วยงาน และบุคลากรในสังกัดกรม

ฯ โดยผู้บริหารระดับสูงจะได้รับการรายงานผ่านการประชุมผู้บริหารทุกสัปดาห์ การประชุมสานัก/กองส่วนกลาง การ

ประชุมกรม เพ่ือกลั่นกรองเป็นตัวชี้วัดสาคัญที่อธิบดี จะติดตามเป็นประจาทุกเดือน (21ตัวชี้วัด) รายงานรอบ 3,6,9 และ

12 เดือน ผ่านระบบ SMART63 (รูปท่ี 4.1) ใช้กากับติดตามผลการปฏิบัติงานและงบประมาณตามแผนงานโครงการต่าง ๆ

มีการเช่ือมโยงกับระบบ GFMIS ติดตามความก้าวหน้าของผลการดาเนินงานและตัวช้ีวัดแบบ Online Real time เป็น

ข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร มคี วามถกู ต้อง แม่นยา สง่ ผลให้การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามเปูาหมายที่ต้ัง

ไว้

สบส. ใช้แหล่งข้อมูลท้ังภายในและภายนอกประเทศ ประกอบกับข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการฯ พิจารณา

งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2563 และข้อสังเกตของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ นามาเป็นข้อมูลนาเข้าในการ

ปรับวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาประสงค์ และตัวช้ีวัด ให้ชัดเจนในทุกมิติ และเช่ือมโยงแผนบูรณาการกับหน่วยงานอ่ืน ๆ

กาหนดกลยุทธ์ แผนงาน โครงการที่เข้มแข็งและมีความชัดเจนทัดเทียมกับคู่แข่ง เช่น การคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบ

บริการสุขภาพ ซึ่งกรมฯ ได้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลและปรับวิธีการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพให้เหมาะสม จึงเป็น

ทมี่ าของการกาหนดยทุ ธศาสตรแ์ ละกลยุทธ์กรม สบส. ในการบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพแนวใหม่ เพื่อให้ประชาชน

ได้รับบรกิ ารสขุ ภาพที่มมี าตรฐาน มีคณุ ภาพ ปลอดภยั สมประโยชน์ และมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้อย่าง

ย่ังยืน และเพื่อแก้ไขปัญหาด้านระบบสุขภาพและการเข้าถึงระบบสุขภาพอย่างเท่าเทียมกัน ดังเช่น การพัฒนาระบบ

สุขภาพชุมชนเช่อื มโยงเครือข่ายปฐมภูมิ (พชอ./PCC) การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ และ

การพัฒนาและยกระดับคุณภาพการให้บริการในสุขศาลาพระราชทาน เพื่อให้ประชาชน ครอบครัว และชุมชนพึ่งพาตนเอง

ไดด้ า้ นสขุ ภาพ

4.1.ข. กรมมีระบบการวิเคราะห์ และทบทวนผลการดาเนินการ เพ่ือประเมินผลสาเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์

เชิงยทุ ธศาสตร์และแผนปฏบิ ัตกิ าร โดยใช้ระบบ SMART 63 วิเคราะห์และติดตามผลการดาเนินการตามตัวช้ีวัดของกรมฯ

74

และการใช้จ่ายงบประมาณ ตลอดจนการรายงานสถานการณ์ตามภารกิจต่างๆ และนโยบายท่ีสาคัญ โดยมีการประชุมกรม

ทุกเดือน การประชุมของอธิบดีและรองอธิบดีทุกสัปดาห์ การประชุมผู้บริหารส่วนกลางและ VDO Conference กับ

ผู้บริหารส่วนภูมิภาคทุกเดือน เพื่อติดตามผลการปฏิบัติงาน และวิเคราะห์สถานการณ์ที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งมีการ

เปรียบเทียบแผน/ผลการดาเนินงานกับเปูาหมายผลการดาเนินงานท่ีผ่านมา และมีการคาดการณ์แนวโน้มความสาเร็จของ

การดาเนินงานในอนาคต โดยมีการนาข้อมูลสารสนเทศและผลการดาเนินการตามตัวช้ีวัดสาคัญของกรมฯ ไปวิเคราะห์

คน้ หาสาเหตทุ ที่ าให้การดาเนินการไม่เป็นไปตามเปูาหมายและปรับกลยุทธ์การดาเนินการ รวมท้ังทรัพยากร ข้อจากัด

มากาหนดเป็นแนวทางในการพัฒนาร่วมกันกับผู้บริหารหน่วยงานและเจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้อง พร้อมท้ังนาไปวิเคราะห์

และใช้ประกอบการตัดสินใจ ในการปรับยุทธศาสตร์ และวิธีการทางาน โดยมอบหมายให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องนาไป

ปรับปรุงผลการดาเนินงานให้เป็นไปตามเปูาหมายท่ีกาหนดไว้ รวมท้ังกรมได้มีการประเมินคุณภาพภายในทุกปี เพื่อ

ประเมินความสาเร็จและค้นหาโอกาสในการพัฒนาต่อเนื่องตามระบบการปรับปรุงผลการดาเนินการ สร้างนวัตกรรม

และแนวปฏบิ ตั ิทด่ี ี (Best Practice)

4.1 ค กรมมกี ารกาหนดเปูาหมายการดาเนนิ งานของปถี ัดไปตอ้ งมแี นวโนม้ ทเ่ี พิม่ สูงขึ้น หรือมีคุณภาพมากข้ึน

กาหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักและผู้รับผิดชอบร่วมไว้อย่างชัดเจน กากับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน

ตามแผนงาน โครงการที่รับผิดชอบ เช่น การรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการสาคัญของกระทรวงสาธารณสุข 5

โครงการ เช่น การพัฒนา อสม. เปน็ หมอประจาบ้าน การเสริมสร้างศกั ยภาพการดูแลตนเองระดบั ครอบครวั (อสค.) การ

พฒั นา อสม. สู่ อสม. 4.0 โครงการส่งเสรมิ พัฒนาประเทศไทยเปน็ ศูนย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ และการจัดตงั้ และพัฒนา

มาตรฐานของสุขศาลาพระราชทานตามพระราชดาริ ภาพที่ 7.2(3) การพัฒนาศูนย์เครื่องมือแพทย์ และนาผลจากการ

ทบทวน มาคัดเลือกเร่ืองท่ีต้องการนามาจัดลาดับความสาคัญในการปรับปรุง พิจารณาน้าหนักของตัวช้ีวัดและ

ผลกระทบที่สาคัญของการดาเนินการ และนาไปสู่การปรับปรุงกระบวนการทางานอย่างต่อเน่ืองร่วมกับหน่วยงานท่ี

เก่ียวข้อง รวมท้ังนาไปกาหนดกลยุทธ์ สร้างนวัตกรรม ผลักดันให้บุคลากรทุกระดับร่วมกันผลิตนวัตกรรม สื่อสาร

ถ่ายทอดไปสู่ผู้รับบริการ ผู้ส่งมอบ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นาไปสู่การปฏิบัติอย่างสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ดัง

ผลลัพธ์ภาพที่ 7.1(8)-7.1(9)

4.2 การจัดการสารสนเทศ และการจัดการความรู้

4.2ก. สบส. มีสานักผู้เชี่ยวชาญเป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการจัดตั้งคณะกรรมการวิชาการ และการจัดการ

ความรู้ของกรมฯ ขับเคล่ือนพัฒนามาตรฐานงานวิชาการและนวัตกรรมของกรมฯ และจัดต้ังหน่วยงานส่วนภูมิภาค คือ

ศูนย์พัฒนาการสาธารณสุขมูลฐาน 5 แห่ง ในการ

ขับเคลื่อน ส่งเสริม พัฒนา และสนับสนุนการทางาน

ของภาคีเครือข่ายในระดับพ้ืนท่ี การส่งเสริมให้เกิด

ต้นแบบในการจัดการสุขภาพ การคัดเลือก อสม. ดีเด่น

ระดบั เขต ภาค และการพฒั นาวชิ าการ พัฒนาหลักสูตร

การอบรม และการค้นหานวัตกรรมและองค์ความรู้ใน

การจัดการสุขภาพของชุมชนด้วยการจัดการความรู้

และถอดบทเรียนความสาเร็จของการดาเนินงาน (Best

Practice) รวบรวมองค์ความรู้ท่ีสร้างความเข้ม แข็ง

ด้านสังคม ชุมชน และพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน

ตามยุทธศาสตร์ของประเทศ มีกระบวนการจัดการ รปู ท่ี 4.2 กระบวนการบรหิ ารจดั การความร้กู รม สบส.

ความรู้ KM HSS อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยการได้มาขององค์ความรู้ การจัดเก็บความรู้ การเผยแพร่ และการนาความรู้

ไปใช้ประโยชน์ ของกรม สบส. โดยมีคณะกรรมการ KM แต่ละภารกิจ วิเคราะห์และคัดเลือกองค์ความรู้ท่ีจาเป็นและท่ี

สาคัญตามภารกิจกรมฯ ค้นหาองค์ความรู้จากบุคลากร ผู้รับบริการ คู่ความร่วมมือ ผู้ส่งมอบ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้

75

เกษียณ รวบรวม กลั่นกรอง วิเคราะห์จัดหมวดหมู่องค์ความรู้ ถ่ายทอดและแลกเปล่ียนเรียนรู้ของบุคลากร และ
กลุ่มเปูาหมายที่เก่ียวข้อง รวมทั้งการจัดการความรู้จากหน่วยงาน Best Practice พัฒนากระบวนการทางานให้มี
ประสิทธิภาพมากข้ึน สรุปบทเรียน (AAR) และพัฒนาต่อยอดงานประจาสู่งานวิจัย (Routine to Research: R2R)
เช่น การพัฒนาองคค์ วามรู้ อสม. ในการดูแลสุขภาพตามกลมุ่ วัยผา่ นคลังขอ้ มูลออนไลน์ รูปแบบตาบลจัดการสุขภาพ
กรมได้รับรางวัลการมีส่วนร่วมระดับดีเยี่ยมและระดับดีในการต่อยอดปี 2559 และ 2560 โดยนารูปแบบท่ีได้นาไป
เปน็ กลไกการพฒั นาระดับอาเภอ (พชอ.) สู่การเป็นตาบลจัดการคุณภาพชีวิตท่ีดี แนวทางปฏิบัติการปูองกันการติด
เชอ้ื ในคลนิ กิ นวตั กรรมชุมชน อสม.ดีเดน่ มาตรฐานระบบบริการสขุ ภาพ ต้คู วบคมุ ปูองกันการแพร่กระจายเช้ือจุดพ่น
ยา ( A2M2) รถเข็นผู้ปุวยควบคุมการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (A1M1) และ บัตร SMART CARD อสม. เผยแพร่
ทาง KM Website YouTube อสม. ดีเดน่ ทาง Facebook Live, Line จุลสาร สบส. ซอย 8 ออนไลน์ นิทรรศการ
การประชมุ วชิ าการกรมฯ มีการถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นระบบ การจัดทาคลังความรู้สุขภาพ กระทรวง สธ. สาหรับ
ประชาชน http://ความรู้สุขภาพ.com สนับสนุนให้หน่วยงานท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ส่งประกวดผลงาน
วิชาการในเวทีตา่ งๆ และส่งผลงานนวัตกรรมประกวดรางวัลเลิศรัฐ สานักงาน ก.พ.ร. จนเกิดเป็นนวัตกรรมแห่งการ
เรียนรู้ของบุคลากรในกรม มีการจัดบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ เช่นเวทีแลกเปล่ียนในการประชุมกรม ตลาดนัดเพื่อ
สุขภาพ YouTube Facebook Live 3 นาที โดย อสม. ดีเด่น ในพ้ืนท่ีต่างๆ มีการเก็บและรักษาความรู้โดยจัดเก็บ
เป็น Innovation Store เผยแพร่บนเวบ็ ไซต์ สบส. ดงั รปู ที่7.2(4)

4.2 ข. กรมมีการบริหารจัดการข้อมูลของกรมฯ ตามมาตรฐานสากล ISO 27001 มีคณะทางานรักษาความม่ันคง
ปลอดภัยด้านสารสนเทศ รักษาความมน่ั คงปลอดภยั ด้านสารสนเทศให้เป็นไปอย่างต่อเน่ืองมีประสิทธิภาพ มีการวิเคราะห์
สถานการณ์ความมั่นคงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดิจิทัล ระยะ 5 ปี ของกรมฯ การจัดทา
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และพัฒนาระบบITตามมาตรฐาน ISO การรักษาความม่ันคงปลอดภัย
วิเคราะห์ความเส่ียงของระบบเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านภัยคุกคามทางไซเบอร์ (Ransom ware) ส่งผลให้ระบบงานเกิดความ
เสียหาย การแฮคข้อมูลสาคัญกับระบบงานของกรมฯ จึงได้กาหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยสารสนเทศและแนว
ทางการปอู งกัน Ransom ware และมีมาตรการและวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง
ของระบบเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านภัยคุกคามทางไซเบอร์ (Ransom ware) ส่งผลให้ระบบงานเกิดความเสียหาย การแฮค
ข้อมูลสาคญั กบั ระบบงานของกรมจึงได้กาหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยสารสนเทศและแนวทางการปูองกัน Ransom
ware และมีมาตรการและวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์ และมี Secured Socket Layer (SSL) ปูองกันการทา
ธรุ กรรมทางการเงนิ ผ่านเครือข่ายอนิ เตอร์เน็ตของกรมฯ อกี ทงั้ มกี ารจัดทาฐานข้อมูลกลาง เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการและ
ปฏิบัติงาน การสร้างระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การใช้ Access Rights ในการเข้าถึงข้อมูลในลาดับช้ันต่าง ๆ
ระบบ Anti-Virus มาตรการปูองกันความเสียหายของข้อมูล และการกู้ข้อมูล (Recovery) ซ่ึงผลการสารวจระดับความ
พร้อมรัฐบาลดิจิทัลหน่วยงานภาครัฐ (DGA) มีคะแนนรวมสูงกว่าค่าเฉลี่ยของหน่วยงาน สังกัดกระทรวง สธ. และสูงกว่า
ค่าเฉลี่ยของหนว่ ยงานระดบั กรม 2 ปีซอ้ น ในปี 2561- 2562 มีคะแนน DGA ท่ีระดับคะแนนท่ี 62.9 และ 76.96 ตามลาดับ
มิติที่โดดเด่นท่ีสุด คือ มิติบริการภาครัฐ และโครงสร้างพ้ืนฐานความมั่นคงปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ แสดงให้เห็นว่า
กรมฯมีศักยภาพในการนาเทคโนลีดิจิทัลไปใช้ในการบริหารจัดการรูปแบบการให้บริการแก่ประชาชน พร้อมทั้งมีความ
มั่นใจว่าเข้าถึงได้อย่างปลอดภัย รวมท้ังมีการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้าน
สารสนเทศภายในหนว่ ยงานตามมาตรฐานและแนวทางท่ีกรมฯ กาหนด

กรมมกี ารพัฒนาระบบเทคโนโลยอี อกแบบระบบตามประเภทสารสนเทศและกลุ่มผู้ใช้บริการ เพื่อให้สามารถเข้าใช้
ระบบได้สะดวก ง่าย รวดเร็ว และสนับสนุนการบริหารงานตามภารกิจ ได้แก่ การเช่ือมโยงระบบข้อมูล Data Center และ
Data site สาหรับ ศบส.ท่ี 1-12 และ สสจ. การบูรณาการฐานข้อมูลหน่วยงานภายในกระทรวง สธ. ได้แก่ กรม สบส.
สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อให้บริการแก่ประชาชนแบบองค์รวม ผ่านระบบ
MOPH Biz Portal พัฒนานวัตกรรมระบบ อสม. พัฒนาระบบธุรกิจบริการสุขภาพ กรม สบส. และยกระดับให้บริการผ่าน

76

ระบบ Biz Portal ทั่วประเทศ พฒั นารปู แบบการใหบ้ รกิ ารเป็น e-Service ทุกประเภทบริการ การจัดทา QR Code โดยการ

ส่งเสริมให้ทุกหน่วยงานใช้ในการงดผลิตเอกสาร การประชุม การประชุมสัมมนาแบบ VDO Conference และถ่ายทอด

Facebook Live ระบบการจองห้องประชุมออนไลน์ เพ่ือลดระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง พัฒนาการส่ือสารกับ

ประชาชนได้ สะดวก รวดเร็ว เข้าถึงง่ายในแต่ละพ้ืนที่ เช่น การถ่ายทอด Health Literacy ผ่าน App. Smart อสม. ระบบ

เบิกจ่ายเงินค่าปุวยการผ่าน e-payment ระบบรับเร่ืองร้องเรียน (E-Complain) รับข้อเสนอแนะผ่าน Application Line,

Facebook, Website

หมวด 5 การม่งุ เน้นบุคลากร

5.1 สภาพแวดลอ้ มดา้ นบุคลากร

5.1 ก กรม สบส. ปรับโครงสร้างของหน่วยงานส่วนภูมิภาค ให้สอดคล้องกับภารกิจของกรม วางแผนกาลังคนให้เพียงพอในการ

ปฏิบัติงานใหม่ ปรับเกล่ียอัตรากาลังจากส่วนกลางไปยังส่วนภูมิภาค ทาให้อัตรากาลังของ ศบส.เขตท่ี 1-12 และสสม.ทั้ง 5

แห่ง และเกล่ียอัตรากาลังภายในหน่วยงานส่วนภูมิภาคให้เป็น

Core Function สาหรับส่วนกลางซึ่งเป็นHead Quarter เพื่อให้

การทางานมีความยืดหยุ่น เชื่อมโยงสนองต่อสถานการณ์ที่

เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและรองรับอนาคต การกาหนดสายงาน

หลักเป็น Cluster ตามยุทธศาสตร์กรมฯ โดยแต่ละ Cluster

ประกอบด้วย Key Actor จากทุกหน่วยงานในการสร้างรูปแบบ

การทางานท่ีตอบเปูาประสงค์ในเชิงยุทธศาสตร์ เชื่อมโยงและ

บูรณาการ ลดความซ้าซ้อน เพื่อการบริหารจัดการครบทุกมิติ

รปู ที่ 5.1 ระบบบริหารจดั การบคุ ลากร สร้างกลไกการทางานแบบคร่อมสายงาน เพ่ือให้เกิด

ประสิทธิภาพในการทางานอย่างสูงสุด โดยผู้บริหารกรมฯ ใช้ค่านิยม ส.บ.ส. เสริมสร้างวัฒนธรรมในการทางาน การบริหารงาน

ด้านทรัพยากรบุคคลดาเนินการภายใต้กรอบการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) ตามแผนกลยุทธ์ด้านการบริหาร

ทรัพยากรบุคคล (พ.ศ. 2560 – 2562) ประเมินขีดความสามารถ และอัตรากาลังให้สอดคล้องกับภารกิจท้ังด้านจานวนและ

คุณภาพ เช่น กฎหมายและกลไกการคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบริการสุขภาพ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ งานสาธารณสุขมูลฐาน

รวมท้ังระบบการบริหารอัตรากาลังท่ีมีอยู่อย่างจากัด เช่น การกาหนดตาแหน่งและจัดสรรอัตรากาลังสายงานหลัก/วิชาชีพ

เฉพาะจากส่วนกลาง ไปปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค กรมฯ มีนโยบายให้หน่วยงานเจ้าของตาแหน่งสังกัดส่วนกลางที่ตั้งใน

ภูมิภาคมสี ่วนรว่ มในกระบวนการสรรหา และคัดเลือกพนักงานราชการ เพื่อให้ได้บุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจในวัฒนธรรม

ของพ้ืนท่ี ส่งผลให้เกิดความผูกพันกับองค์กร มีความสุขในการทางานและลดอัตราการสูญเสียบุคลากร และการสูญเสีย

อัตรากาลังจากการเกษียณอายุราชการ ทาให้เกิดปัญหาจากการสูญเสียประสบการณ์ และศักยภาพการนาในระดับประเทศ

และจดั ทาแผนเส้นทางความก้าวหนา้ ในสายงานต่าง ๆ

5.1.ข กรมให้ความสาคัญกบั การส่งเสรมิ พฒั นาระบบการบริหารอัตรากาลัง และศักยภาพบุคลากรสู่ความเป็นเลิศ และพัฒนา

คณุ ภาพชีวติ จัดสวสั ดกิ ารทเี่ หมาะสม ให้แกบ่ คุ ลากร โดยเน้นให้บุคลาการเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข ภายใต้แผนกลยุทธ์

ดา้ นการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล และแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากร พ.ศ. 2561-2564 พัฒนาระบบโดยนาเทคโนโลยีมาช่วย

เช่น การประกาศรายช่ือผู้มีคุณสมบัติเลื่อนระดับสูงขึ้น การประเมินผลการปฏิบัติราชการ การโยกย้ายผ่านระบบออนไลน์ฯ

การสร้างเครือข่ายดา้ น HR ภายในกรมฯ ที่เข้มแข็ง เน้นการมีส่วนร่วมเพ่ือให้การบริหารงานด้านทรัพยากรบุคคลตอบสนองต่อ

นโยบายของกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น แผนสร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพ และระบบการพัฒนาบุคลากร มีการกาหนด

หลกั สูตรพฒั นาทม่ี คี วามสาคัญตอ่ สมรรถนะหลักบรรลุเปูาหมายของกรมฯ ซึ่งจากโครงสร้างอายุของบุคลากร พบว่าในอีก 5 –

10 ปี จะมีผู้เกษียณอายุราชการ คิดเป็นร้อยละ 4 ในปี 2567 กาหนดให้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้จากข้าราชการที่จะ

เกษียณอายุราชการในอีก 5 ปีข้างหน้า เพ่ือส่งมอบองค์ความรู้ท่ีสาคัญในการปฏิบัติงานจากรุ่นสู่รุ่นไม่ให้สูญหายไป กรมฯ มี

การประเมนิ วเิ คราะห์ความตอ้ งการในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทางานของบุคลากร นาผลการวิเคราะห์มาใช้ปรับปรุง

77

ปัจจัยและสภาพแวดลอ้ มในการทางานด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสวัสดิภาพ เช่น มีมาตรการระบุตัวตน จนท. แสดงบัตร
ประจาตัวในการเข้า/ออกอาคาร ลานกิจกรรม (ลาน สบส. สุขใจ) การซ้อมแผนอัคคีภัย มีนโยบายในการสร้างสภาพแวดล้อมท่ี
เอื้อให้บุคลากรปฏิบัติงานได้อย่างเต็มความสามารถและมีประสิทธิภาพ ได้แก่ มีคาสั่งมอบอานาจที่ชัดเจนในการกระจาย
อานาจการตดั สินใจสู่ผู้บังคับบัญชาระดบั หน่วยงานอยา่ งเป็นระบบ มีการจัดทาฐานข้อมูลเพื่อใช้สนับสนุนการทางาน และการ
แก้ปญั หาการทางานอย่างมีประสทิ ธิภาพ เช่น ระบบ smart 63 ฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคล เช่น ระบบของสานักงาน ก.พ.
(DPIS), ระบบบาเหน็จบานาญ, ระบบจ่ายตรงเงินเดือน ลดข้ันตอนการทางานและประหยัดเวลา สร้างเครือข่ายและสามารถ
ปฏบิ ัติงานรว่ มกนั ทง้ั ในภาครัฐและเอกชนเช่นสานักงาน ก.พ. สถาบันการศึกษา หน่วยงานหลักสูตรผู้บริหาร ได้แก่ การอบรม
ข้าราชการใหม่รว่ มกบั สถาบนั ฝกึ อบรมและสานักงาน ก.พ. ให้สอดรับกับบริบทกรม และส่งเสริมให้บุคลากร สร้างสรรค์ผลงาน
นวัตกรรม ไดแ้ ก่ การพัฒนาแบบอาคารสมรรถนะสงู Green Hospital รว่ มกบั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
5.2 ความผกู พนั ของบุคลากร
5.2.ก. กรมมีแนวทางการสร้างวัฒนธรรมให้แก่บุคลากรในการทางานอย่างมืออาชีพ ต้ังแต่เริ่มเข้ามาปฏิบัติงานที่กรมฯ ผ่าน
การอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ รับโอนย้าย และพนักงานราชการใหม่ของกรมฯ รับทราบโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ นโยบาย
การบริหารงาน บทบาท ภารกิจ และอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ กฎระเบียบ หลักเกณฑ์ สิทธิประโยชน์ สวัสดิการ รวมทั้ง
ปลูกจิตสานึกการเป็นบุคลากรภาครัฐที่ดี เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างเพ่ือนร่วมงานเกิดการเรียนรู้ และแลกเปล่ียน
ประสบการณ์ร่วมกันนาไปสู่ผลการดาเนินการท่ีดี นาโดยผู้บริหารระดับสูง ใช้ค่านิยม สบส เสริมสร้างวัฒนธรรมการทางาน
ประกาศนโยบายด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ให้บุคลากรเป็น คนเก่ง คนดี มีความสุข เริ่มต้นจาก บุคลากรใหม่
ถึงเกษียณอายุราชการ กาหนดหลักสูตรการพัฒนาให้สอดคล้องกับบุคลากรทุกระดับ กาหนดให้มีจิตสาอาเราทาความดีด้วย
หวั ใจ กจิ กรรมสรา้ งความรบั ผิดชอบตอ่ สังคมและส่ิงแวดล้อม เช่น การเกบ็ ขยะและกวาด ทาความสะอาดบริเวณอาคารกรม
กาหนดให้มีโครงการสานสัมพันธ์เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้ กิจกรรมกีฬา มีการขับเคล่ือนค่านิยมและ
ส่งเสริมให้บุคลากรเป็นคนเก่ง และคนดี สอดคล้องตามวัฒนธรรมองค์การ ยกย่องชมเชยสร้างขวัญกาลังใจผู้ที่มีผลงาน
ดีเดน่ ท่ีเสรมิ สร้างผรู้ บั บรกิ ารและภารกิจจนบรรลุผลสาเร็จ เข้าร่วมกิจกรรมองค์การสม่าเสมอ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีจริยธรรม
และจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน ส่งเสริมค่านิยม สร้างสรรค์สิ่งใหม่ บริการด้วยใจ โครงการสานสัมพันธ์เสริมสร้าง
วัฒนธรรมรว่ มกนั สาธารณะประโยชนต์ า่ ง ๆ เช่น กิจกรรมจติ อาสา ทาบุญตักบาตตามประเพณี ตู้ปันสุข เพ่ือให้บุคลากร
ไดม้ โี อกาสแบง่ ปัน รู้จกั การเสยี สละ เปน็ การสานสมั พันธร์ ะหว่างบุคลากร ผูบ้ ริหาร
5.2 ข. จากการทบทวน และกาหนดประเด็นสาคัญในการพัฒนาที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากร ในช่วงปีที่ผ่านมา กรมฯ
ได้ให้ความสาคัญ ประชาสัมพันธ์ และจัดส่งแบบสอบถามไปยังบุคลากรตามช่องทางต่าง ๆ จากผลการสารวจ Happinometer
ใน9ด้าน ในปี 2563 พบว่า ผลการประเมินความผูกพันของบุคลากร อยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างดี ปัจจัยสาคัญท่ีส่งผลต่อ
ความผกู พัน คือ ความม่ันคงในอาชีพท่ีปฏิบัติงานอยู่ที่หน่วยงานได้รับการปฏิบัติจากกรมฯ อย่างถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน
และพ.ร.บ.ข้าราชการ พ.ศ.2551 การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทางาน ค่าตอบแทนที่ได้คุ้มค่า มีโอกาสได้แสดงความ
คดิ เห็นกับผู้บงั คบั บัญชา รวมท้ังยกย่องชมเชย การคัดเลือกคนดี บุคลากรต้นแบบ เพ่ือยกย่องบุคคลและสร้างขวัญกาลังใจให้
ผูท้ ี่ยดึ มั่นในคุณธรรมจริยธรรมให้เป็นแบบอย่างท่ีดี เช่น ข้าราชการพลเรือน ลูกจ้างประจาดีเด่น คนดีศรีสาธารณสุข คนดีศรี
สบส. หน่วยงานดีเด่นด้านคุณธรรมจริยธรรม มีโครงการสร้างเสริมสุขภาพทางการเงิน (Happy Money Program) เพื่อเป็น
สวสั ดิการดแู ลดา้ นการเงนิ ให้กับบคุ ลากรในกรมฯ สง่ ผลในภาพรวมแล้ว บุคลากรมีความสุขและมีความภาคภูมิใจที่ได้ทางานใน
กรม สบส. มีความเป็นเจ้าของร่วมกัน นาเป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ ทบทวนจัดทาแผนยุทธศาสตร์ทรัพยากรบุคลากร
ตอ่ ไป ดังรปู ท7่ี .3 (10)
5.2 ค. กรมทบทวนปรับแผนพฒั นาบคุ ลากรทั้งระยะสั้นและระยะยาว ให้สอดรับกับการปฏิรูปกรม และปรับแผนยุทธศาสตร์ให้
ทันต่อการเปล่ียนแปลง เช่น วิศวกรรมชีวการแพทย์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาการเป็นศูนย์ทดสอบสอบเทียบ
เคร่ืองมือการแพทย์ที่ทันต่อเทคโนโลยี สถาปนิกด้านการออกแบบตามหลักเกณฑ์วิธีแบบจาลองสารสนเทศ (BIM Protocol)
และสมรรถนะหลักขององค์การ การทดสอบและสอบเทียบเคร่ืองมือแพทย์และการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชน

78

มีแผนพัฒนาบุคลากรท่ีตอบสนองสมรรถนะหลัก คือ การพัฒนาและจัดต้ังห้องปฏิบัติการทดสอบและสอบเทียบเคร่ืองมือวัด
ทางการแพทย์ตามาตรฐาน ISO/IEC 17025 การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนและเครือข่ายปฐมภูมิ การพัฒนารูปแบบและการ
ดาเนินงานสาธารณสุขมลู ฐานเพือ่ พฒั นาสุขภาพภาคประชาชน มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทั้งหลักสูตรภายในและภายนอก
กรมฯให้ครอบคลุมในด้านตา่ งๆ เชน่ หลกั สูตรอบรมผู้บริหารระดับต้น และนักบริหารด้านการสนับสนุนบริการสุขภาพในยุค
ใหม่ ความรู้และทักษะดิจิทัล ได้แก่ PMQA4.0 Disruptive technologies ผู้ประกอบการภาครัฐ ผู้นาการเปล่ียนแปลง การคิด
เชิงออกแบบ IT Security Awareness Cyber Security Awareness for HSS การปฏิบัติงานสู่ราชการ 4.0 HR Network ผ่าน
ระบบออนไลน์ รวมท้งั การปฏบิ ัตงิ านอย่างมืออาชีพ ความพร้อมเข้าสู่ตาแหน่งสาคัญเชิงยุทธศาสตร์ การเสริมสร้างศักยภาพ
และพัฒนาดุลยภาพ การปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ ในสถานการณ์โควิด 19 มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการพัฒนาศักยภาพ
ภาคีเครือข่าย เช่น สถานพยาบาล สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ให้บริการฯ สสจ. อสม. อสค. และ
ผู้นาชุมชน ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ กาหนดระบบประกันคุณภาพการฝึกอบรม เพื่อให้หน่วยงานใช้ในการพัฒนาบุคลากร
อย่างมีประสิทธิภาพ ติดตามประเมินผลการพัฒนา มีการทบทวนผลการดาเนินงานในท่ีประชุมคณะกรรมการพัฒนา
ทรพั ยากรบคุ คล เปน็ ข้อมลู ในการจดั สรรงบประมาณในปีต่อไป ดังรปู ที่ 7.3(4)-7.3(9)

*****************************************************************

79

การส่งขอ้ มูลเพิม่ เติม
หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏบิ ัติการ

80

รายงานผลงานข้อมลู เพม่ิ เตมิ
รางวัล PMQA หมวด 6 การมงุ่ เน้นระบบปฏิบัตกิ าร

1) ระบุอธบิ ายให้ชัดเจนเรอ่ื งการส่งมอบและเครือขา่ ย
1.1) ดา้ นการคุ้มครองผู้บริโภคดา้ นระบบบริการสขุ ภาพและบรหิ ารยุทธศาสตร์ Medical Hub
- ในภารกิจการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคด้านระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ถูกกาหนดไว้ในกฎหมายทั้ง 3 ฉบับ (พ.ร.บ.

สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 พ.ร.บ.การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 และ พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัย
เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 และเพ่ือการบริหารงานท่ีมีประสิทธิภาพ ได้จัดทาเป็น
คาสั่งกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพื่อมอบอานาจให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ท่ัวประเทศ ในการ
อนุญาตประกอบกิจการและดาเนินการสถานพยาบาลเอกชน (คลินิก) สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ
กระทรวงมหาดไทย การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สภาวิชาชีพต่าง ๆ สถาบันการศึกษา รวมท้ังการ
บงั คับใช้กฎหมายที่เกยี่ วขอ้ งกับการคมุ้ ครองผ้บู ริโภคดา้ นระบบบริการสุขภาพ ดงั นี้

ในส่วนกลาง 1) กรม สบส. จัดให้มีศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ ผู้รับบริการสามารถย่ืนคาขอและรับ
บรกิ าร (ใบอนญุ าตขอประกอบกิจการ หรอื ประกอบการ และธุรกรรมอนื่ ๆ) ตามท่ีกฎหมายกาหนด

2) เพิ่มช่องทางในการให้บริการ โดยสามารถยื่นคาขอผ่านระบบ e-Service ของกรม สบส.
(งานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ประเภทกิจการผู้สูงอายุหรือผูม้ ภี าวะพง่ึ พิง)

3) เพิ่มช่องทางในการให้บริการผ่านระบบ Biz Portal ซึ่งพัฒนาร่วมกับสานักงาน
ก.พ.ร. และสานักงานพฒั นารฐั บาลดิจิทัล (องคก์ ารมหาชน)

ในส่วนภูมิภาค 1) กรม สบส. ได้มอบอานาจให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ในเรื่องการขอ
อนุญาตดาเนินการ ประกอบกิจการ และผู้ประกอบวิชาชีพ (โรงพยาบาล คลินิก สถานประกอบการเพื่อ
สุขภาพ) ณ กลุ่มค้มุ ครองผ้บู รโิ ภค สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั

2) ผู้รับบริการสามารถยื่นคาขออนุญาตเปิด ประกอบกิจการ ให้บริการสถาน
ประกอบการเพ่ือสขุ ภาพ ประเภทกิจการผสู้ งู อายหุ รอื ผู้มีภาวะพึ่งพิง ผ่านระบบออนไลน์

ทั้งนี้ ผู้ขออนุญาตสามารถยื่นขออนุญาตประกอบกิจการ และดาเนินการสถานพยาบาล ประเภทที่ไม่
รับผู้ปุวยไว้ค้างคืนทุกข้ันตอนกระบวนการตามท่ีพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541 กาหนด ได้ที่
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพได้จัดทาคาสั่งกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มอบหมายให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็นผู้อนุญาตแทนอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพตาม
พระราชบญั ญัตสิ ถานพยาบาล พ.ศ.2541 ในเขตจังหวัดทีม่ อี านาจหนา้ ที่กากับดแู ลและรบั ผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการ (รายละเอียดตามคาสัง่ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ ท่ี 163/2563 ลงวนั ที่ 26 มกราคม 2564) รวมท้ัง
ตาม พ.ร.บ.ค้มุ ครองเดก็ ท่เี กดิ โดยอาศยั เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 กาหนดให้การ
ยื่นขออนุญาตดาเนินการให้มีการต้ังครรภ์แทน และการขอรับรองมาตรฐานการให้บริการด้านเทคโนโลยีช่วย
การเจริญพันธ์ุทางการแพทย์สามารถยื่นท่ีสานักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ผู้ยื่นคาขออนุญาตใช้เป็นสถานที่
ให้บรกิ ารต้งั อยู่ในจงั หวดั นัน้ ๆ

81

สวนราชการหรอื องคก์ รทเ่ี ก่ียวขอ้ งกนั ในการให้บริการหรือส่งมอบภารกิจต่อกัน มดี งั ตอ่ ไปนี้
การอนญุ าตใหป้ ระกอบกจิ การและดาเนินการสถานพยาบาล มสี ่วนราชการหรอื องคก์ รทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ดังนี้
1) สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้รับมอบอานาจให้

สามารถอนุญาตให้ประกอบกิจการและดาเนนิ การสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ปุวยไว้คา้ งคืน
2) ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพที่ 1 – 12 เป็นหน่วยงานของกรม สบส. ที่ต้ังอยู่ในส่วนภูมิภาค

ดาเนนิ การเฝูาระวงั สถานพยาบาลทไ่ี ม่ไดม้ าตรฐานและผดิ กฎหมาย
3) สภาวชิ าชีพ เป็นเครือข่ายการดาเนนิ การตามกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
4) สมาคมโรงพยาบาลเอกชน เป็นเครอื ขา่ ยการทางานด้านการคุ้มครองผบู้ ริโภคดา้ นบริการสุขภาพ
5) สถาบนั การศึกษา/สถาบันวิชาการ/ศูนย์วจิ ัยบรกิ ารสขุ ภาพ เป็นเครือข่ายการทางานด้านการพัฒนา

นวตั กรรมและระบบบริการสขุ ภาพ
6) สมาคม/องค์กรธุรกิจบริการสุขภาพ เป็นเครือข่ายการทางานด้านการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐาน

นวัตกรรม กล่มุ อุตสาหกรรมบรกิ ารและเทคโนโลยที างการแพทย์
7) ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข เป็นเครอื ขา่ ยการทางานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ

ในระดบั ชุมชน
8) ตารวจ ตรวจจบั และดาเนนิ การตามกฎหมาย
การอนญุ าตให้ประกอบโรคศลิ ปะมสี ่วนราชการหรือองค์กรทเี่ ก่ียวข้อง คือ
1) สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข รับคาขอตาม

พระราชบญั ญัตกิ ารประกอบโรคศิลปะ เพ่ือสง่ ต่อมาให้ยังกรมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ
2) ศูนยส์ นับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพท่ี 1 – 12 มหี นา้ ที่เฝูาระวงั ผู้ประกอบวชิ าชพี เถอื่ นในพน้ื ท่ี
3) สภาวิชาชีพ เป็นเครอื ขา่ ยการดาเนินการตามกฎหมาย
4) สมาคม/องค์กรธุรกิจบริการสุขภาพ เป็นเครือข่ายการทางานด้านการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐาน

นวตั กรรม กลุ่มอุตสาหกรรมบริการและเทคโนโลยที างการแพทย์
5) ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ เป็นเครอื ข่ายการทางานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ

ในระดับชมุ ชน
การคุ้มครองเด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ มีส่วนราชการหรือ
องค์กรที่เก่ียวข้อง ดงั น้ี
1) กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นหน่วยงานที่มอี านาจตามกฎหมายหลัก
2) กระทรวงมหาดไทย ประกอบด้วย กองปราบปราม สานักงานตรวจคนเข้าเมือง กองบัญชาการ

ตารวจทอ่ งเทีย่ ว กองปราบปรามการกระทาความผิดเก่ยี วกับการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค กองปราบปราม
การกระทาความผิดเกยี่ วกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี กองบังคบั การปราบปรามการคา้ มนุษย์
3) สานกั งานอยั การสูงสุด
4) กรมสอบสวนคดีพิเศษ
5) สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข รับคาขอตาม
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์
พ.ศ.2558 เพอ่ื สง่ ต่อมาให้ยงั กรมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ
6) ศูนย์สนับสนนุ บริการสุขภาพท่ี 1 – 12 ไดร้ ับการกระจายอานาจให้ขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้บริโภค
ในสว่ นภูมภิ าค ในการเฝาู ระวัง และแจง้ เบาะแสมายงั ส่วนกลาง
7) สภาวชิ าชพี เปน็ เครือข่ายการดาเนนิ การตามกฎหมาย

82

8) กระทรวง ทบวง กรมท่ีเก่ียวข้อง รวมทั้งสมาคม/องค์กรธุรกิจบริการสุขภาพ เป็นเครือข่ายการ
ทางานดา้ นการขบั เคลื่อนเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม กลุ่มอุตสาหกรรมบริการและเทคโนโลยีทางการ
แพทย์

9) ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ เป็นเครอื ข่ายการทางานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ
ในระดับชุมชน

งานรับเรือ่ งร้องเรียนด้านการค้มุ ครองผบู้ ริโภคดา้ นระบบบรกิ ารสขุ ภาพ
1) กรม สบส. ได้จัดทาระบบรับเร่ืองร้องเรียน (ระบบ CRM) สาหรับประชาชนท่ีได้รับความเดือดร้อน

จากการบริการของ รพ./คลินิก หรือจากการปฏิบัติงานของผู้ให้บริการ ผ่านทางเว็บไซด์
http://crm.hss.moph.go.th ไดต้ ลอด 24 ช่ัวโมง
2) สายดว่ น 1426
3) e-Mail: [email protected]
4) Facebook : ศนู ยร์ ับเรอ่ื งร้องเรียน สบส. กระทรวงสาธารณสขุ
การปฏิบตั ิงานของกรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพในกระบวนการการให้บริการงานคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
บริการสุขภาพ มีองค์กรหรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องกัน หรือต้องส่งมอบงานให้กรมฯ มีทั้งหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคเอกชน โดยส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ต้ังอยู่ในส่วนภูมิภาค
ได้แก่ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ส่วนหน่วยงานนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เช่น สภาวิชาชีพ
สมาคมโรงพยาบาลเอกชน มีการสื่อสารระหว่างกันแบบ สองทาง และแบบทางเดียว ได้แก่ การประชุม /
สัมมนา หนังสือราชการ การประสานและร่วมปฏิบัติงานในพื้นที่ การติดต่อระหว่างบุคคล การรายงานผลการ
ปฏิบัติราชการผ่านระบบ บริหารแผนงานและงบประมาณ (SMART) การสื่อสารผ่านระบบต่าง ๆ ได้แก่
Internet โทรศัพท์ โทรสาร หนงั สือราชการ เป็นต้น
- พัฒนาและขับเคลื่อนให้ประเทศไทยมีศักยภาพในการแข่งขันด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
ซ่ึงกรมฯ ได้รับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุขให้เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารขับเคล่ือน และ
สนับสนุนนโยบายการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ด้าน Medical
and Wellness ซงึ่ เปน็ กลไกสาคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ ตามท่ีคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ

ข้อเสนอ 10 อุตสาหกรรมเปูาหมาย เพ่ือเป็นกลไกในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจเพ่ือ
อนาคต ในประเด็นอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มที่มีรายได้ดีและการท่องเที่ยว
เชิงสุขภาพ โดยกรม สบส. ได้ทา MOU ร่วมกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ในการดาเนินงานด้านการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของไทยให้
ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับของนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ อันจะ
ส่งผลให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) โดยมี
แนวทางความร่วมมือ ได้แก่ 1) ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวเชิง
สุขภาพ 2) ร่วมกันประชาสัมพันธ์นโยบายพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลาง
สุขภาพนานาชาติทุกช่องทางที่ท้ังสองฝุายสามารถทาได้ เพ่ือส่งเสริมให้ประเทศ
ไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติและก่อให้เกิดรายได้เข้าสู่ประเทศไทย
จากการทอ่ งเท่ียวเชิงสุขภาพอย่างแท้จริง 3)ให้ความร่วมมือในการสนับสนุน
ใหป้ ระเทศไทยเปน็ ศูนยก์ ลางสขุ ภาพนานาชาติ Health and Wellness การ
จดั ประชมุ วิชาการทางการแพทยร์ ะดับนานาชาติ (MEDICAL MICE) เพ่ือให้มี
การพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ทางวิชาการและนวัตกรรมทางสุขภาพ
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของประเทศไทย กระตุ้นการท่องเที่ยว ตลอดจน

83

ก่อให้เกิดการสร้างรายได้ และในการส่งเสริมและสร้างความตระหนักการใช้เครื่องมือแพทย์อย่างครบวงจร
สบส. ได้ร่วมกับศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) ในการสนับสนุนการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย
พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการบูรณาการทางวิชาการระหว่างสองหน่วยงาน
และพัฒนาขีดความสามารถในการทาการวิจัยพัฒนา เพื่อสนองตอบความต้องการของประเทศ โดยประสาน
ความร่วมมือเพ่ือให้เกิดเป็นภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งในเชิงวิชาการ ส่งเสริมและสร้างความตระหนักการใช้
เครื่องมือแพทย์อย่างครบวงจร และการวิจัยทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข การพัฒนาบุคลากร การ
บริหารจัดการ ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องและย่ังยืนต่อการพัฒนาประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีการทา
MOU ร่วมกับสถาบันการศึกษา (มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา) พัฒนา
ความร่วมมือจัดต้ังศูนย์กลางบริการทางด้านการแพทย์เพ่ือส่งเสริมสุขภาพ
(Wellness Hub) และด้านบริการพานักระยะยาวเพื่อสุขภาพ พร้อมท้ังพัฒนา
ความร่วมมือการจัดการศึกษาระดับปริญญาและหลังจบการศึกษา (หลักสูตร
ระยะส้ัน) รวมถึงการจัดการศึกษาระดับฝีมือแรงงาน ได้แก่ 1) คลินิกแพทย์
แผนไทย 2) คลินิกตรวจรักษา (กัญชาทางการแพทย์) 3) ผลิตภัณฑ์ (ชา
สมุนไพร) ส่งตัวอย่างไปจีน 4) เปิดให้บริการพานักระยะยาวในผู้สูงวัย 5)
คลินิก สปา 6) บรกิ ารเสรมิ ด้านการแพทยแ์ ผนไทยร่วมกับการรักษา

1.2) ดา้ นมาตรฐานระบบบรกิ ารสุขภาพ
- พฒั นามาตรฐานระบบบริการสุขภาพ (มาตรฐานด้านการบรหิ ารจดั การ ดา้ นการบริการสุขภาพ ด้าน
อาคาร สถานที่ และสิ่งอานวยความสะดวก ด้านส่ิงแวดล้อม ด้านความปลอดภัย ด้านเครื่องมืออุปกรณ์ทาง
การแพทย์และสาธารณสุข ด้านระบบสนับสนุนบริการที่สาคัญ ด้านสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ และด้าน
การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์) และกลไกการขับเคล่ือนให้สถานพยาบาลภาครัฐ และเอกชน และ
สถานประกอบการเพื่อสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานสากล ซ่ึงกรม สบส. เป็นหน่วยงานหลักในการคุ้มครอง
ผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ โดยมีกฎหมายและระเบียบในการกากับ และการบังคับใช้กฎหมายเพื่อให้
สถานพยาบาล สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ มีคุณภาพมาตรฐานในการให้บริการแก่ประชาชนอย่างมี
คุณภาพ เพ่ือประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนผู้รับบริการ โดยกรม สบส. ได้ร่วมกับ สภาสถาปนิก สสจ. สภา
วิศวกร สมาคมวิชาชีพสุขศึกษา ในการสนับสนุน ส่งเสริม และประเมินมาตรฐานระบบบริการสุขภาพใน
โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) และโรงพยาบาลชุมชน (รพช.) ทุกแห่ง โดยผลการพัฒนา
สถานพยาบาลภาครัฐกลุ่มเปูาหมายผ่านเกณฑ์มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ จากระบบประเมิน HS4 ผ่าน
เกณฑม์ าตรฐานระบบบรกิ ารสขุ ภาพดา้ นสขุ ศึกษา ระดบั คุณภาพ จานวน 541 แหง่ จาก 896 แห่ง คิดเป็นร้อย
ละ 60.38 และในสถานการณฉ์ กุ เฉนิ กรม สบส. ยังร่วมกบั สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย ใน
การจัดทาแนวทางการจัดทา Cohort Ward และแนวทางการจัดทาห้องแยกโรค Modified Air สาหรับผู้ปุวย
โรคติดเชื้อไวรัสไคโรนา (COVID-19) มีการออกแบบการปรับปรุงระบบปรับอากาศและระบายอากาศต่อ
สถานพยาบาล ทั่วประเทศ จานวน 42 แห่ง ส่วนภูมิภาค 454 แห่ง และ ห้องตรวจเชื้อโควิด-19 และโรค
ระบาดต่าง ๆ แบบเด่ียว จานวน 1 ห้อง ห้องตรวจเชื้อโควิด-19 และโรคระบาดต่าง ๆ แบบคู่ จานวน 1 ห้อง
และห้องควบคุมปูองกันการฟุูงกระจายของละอองยา ณ จุดพ่นยาจานวน 1 ห้อง เป็นนวัตกรรมที่ร่วมมือใน
การพฒั นาร่วมกับ บมจ. สยามสตลี อนิ เตอร์เนชนั่ แนล มอบให้กับโรงพยาบาลปทุมธานี เพ่ือใช้ในการปูองกัน
โรคตดิ เชอื้ โควดิ -19 เพิม่ ความมั่นใจให้กับบคุ ลากรทางการแพทย์และผู้รับบริการในโรงพยาบาล นอกจากน้ี ใน
การกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรการของสถานกักกันโรคแห่งรัฐ กรม สบส. ร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
กรมควบคุมโรค สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล โรงพยาบาลเอกชน คุมเข้มมาตรการแนวปฏิบัติใน
สถานกักกันโรคแห่งรัฐทางเลือก โดยศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019

84

(ศบค.) ได้กาหนดมาตรการปูองกันโรคตามที่ราชการกาหนดเพื่อปูองกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ซ่ึง
กรม สบส. เป็นหน่วยงานหลัก รับผิดชอบในการจัดทามาตรการและแนวทางการปฏิบัติของสถานกักกันโรค
แห่งรัฐ (State Quarantine) โรงพยาบาลเอกชน (AHQ) สถานกักกันโรคแห่งรัฐทางเลือก (ASQ) โดยออก

แบบฟอร์มการสมัคร และแบบประเมินตนเอง (Self - Assessment) ตาม
หลักเกณฑ์เพื่อใช้กักกัน เฝูาระวังอาการของโรคโควิด-19 กับผู้ท่ีเดินทางเข้ามา
ในประเทศ ซงึ่ ผู้ปุวยและผตู้ ดิ ตามจะตอ้ งแสดงเอกสารและหลักฐานตามท่ี ศบค.
กาหนด และมกี ารกากับติดตาม ตรวจมาตรฐาน ASQ และ ALQ ซ่ึงจะต้องผ่าน
มาตรฐาน 6 หมวด ซึ่งประกอบด้วย 1) โครงสร้างอาคารและวิศวกรรม 2)
บุคลากร 3) วัสดุ อุปกรณ์สานักงานและอ่ืน ๆ 4) เวชภัณฑ์และอุปกรณ์ปูองกัน
อันตรายส่วนบุคคล 5) การจัดการส่ิงแวดล้อมและเป็นมิตรกับชุมชน และ 6)
โรงพยาบาลคู่สัญญาปฏิบัติการร่วมและความสะดวกสบายเพิ่มเติม โดยในส่วน
ของพ้ืนที่ กทม.และปริมณฑล จะมีพนักงานเจ้าหน้าที่ของกรม สบส. เป็นผู้ประเมินมาตรฐานโรงแรมท่ีสมัคร
เข้าร่วมเป็น ASQ และส่วนภูมิภาคจะเป็นเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง จะเป็นผู้
ประเมนิ มาตรฐานโรงแรมที่สมัครเข้ารว่ มเป็น ALQ

1.3) ดา้ นระบบสขุ ภาพภาคประชาชน

- พัฒนาและขับเคลื่อนการจัดการระบบสุขภาพภาคประชาชน โดย

การมีส่วนร่วมของประชาชน และภาคีเครือข่าย ซ่ึงกรมฯ เป็นหน่วยงานหลัก

ในการขับเคล่ือนงานสาธารณสุขมูลฐาน ที่เน้นการพัฒนาโดยยึดประชาชน

เป็นศนู ยก์ ลาง เพอื่ ใหค้ นไทยมสี ขุ ภาวะท่ีดี เน้นให้มีการเสริมสร้างความรอบรู้

ด้านสุขภาพ พฤตกิ รรมสขุ ภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษา โดยการขับเคลื่อน

ของหน่วยงานและภาคีเครือข่าย เช่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจา

หมู่บ้าน (อสม.) และหน่วยงานท้องถิ่นท่ีเกี่ยวข้อง ให้ประชาชนทุกคน

สามารถดูแลสุขภาพตนเอง และชุมชนสามารถจัดการสุขภาพเพ่ือการ

พ่ึงตนเองดา้ นสขุ ภาพได้อย่างย่ังยนื พัฒนาคู่มือแนวทางการพัฒนาชุมชนรอบ

รู้ด้านสุขภาพและเคร่ืองมือการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ การประเมินกระบวนการพัฒนาชุมชนรอบรู้ด้าน

สุขภาพ (โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล หมูบ่ ้านปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ โรงเรียนสุขบัญญัติแห่งชาติ)

และระบบการพัฒนายุว อสม.ออนไลน์ โดยส่งเสริมพัฒนาทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด อาเภอ และตาบล ให้

ดาเนินการตามคู่มือ และใช้เครื่องมือท่ีพัฒนาข้ึนในการกากับและประเมินผลการดาเนินงาน และยังร่วมกับ

สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ในการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย ในระดับ อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน และเป็น

คณะกรรมการรว่ มในการคดั เลือก อสม. ระดับ จังหวัด เฝูาระวังพฤติกรรมสุขภาพ

ส่ือสารสุขภาพ และขับเคลื่อนงานสุขภาพภาค ประชาชนในระดบั พ้นื ท่ี นอกจากนี้

กรม สบส. ได้ร่วมกับสถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยนเรศวร ในการ

พัฒนาและประยุกต์ใช้ระบบงานเทคโนโลยี สารสนเทศ ในการให้บริการ

สุขภาพผ่านเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน (อสม.) โดยร่วมกันในพัฒนาระบบ

สารสนเทศสาหรับระบบงานเครือข่ายภาค ประชาชนและระบบบรกิ ารสุขภาพ

รองรับการแพทย์และการสาธารณสุขวิถีใหม่ (New Normal Medical

Services and Public Health) รวมถึงการ เ ช่ื อ ม โ ย ง ฐ า น ข้ อ มู ล ข อ ง ห น่ ว ย

บริการทุกระดับ ร่วมกันพัฒนาแอปพลิเคชัน “หมอรู้จักคุณ” และ “สมาร์ท อส

ม.” ให้ครอบคลุมการเช่ือมโยงฐานข้อมูล สุขภาพส่วนบุคคล การดูแลผู้ปุวย

85

โรคไม่ติดต่อเร้ือรัง รวมถึงงานส่งเสริมสุขภาพปูองกันโรค งานให้คาปรึกษา งานรักษาพยาบาล และงานฟื้นฟู
สมรรถภาพ ตลอดจนการจัดเกบ็ ข้อมลู และระบบรกั ษาความปลอดภัย เป็นการใช้เทคโนโลยีท่ีช่วยให้เกิดระบบ
การเรียนรู้ด้านข้อมูลสุขภาพท่ีถูกต้อง และง่ายต่อการเข้าถึง รวมถึงการปรึกษาทางการแพทย์ทางไกล โดย
ประชาชนสามารถใช้เทคโนโลยีในการดูแลสุขภาพตนเองได้ตลอดเวลา มีที่พ่ึงในยามฉุกเฉินแม้อยู่ในพ้ืนที่
ห่างไกล

2) การบรรลเุ ปูาหมายตามพันธกิจ มกี ารตั้งค่าเปาู หมายไว้อยา่ งไร เช่น การยกระดบั ของสถานบริการ การ
เปน็ Medical Hub เปน็ ตน้

2.1 ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมบริการสุขภาพแบบครบวงจร ประเทศไทยมีรายได้จาก
ธุรกิจบรกิ ารสุขภาพ สง่ ผลให้ค่า GDP ของประเทศไทยสูงขึ้น

2.2 สถานบริการสุขภาพได้รับการส่งเสรมิ ความรว่ มมือด้านสขุ ภาพระหว่างประเทศ
2.3 ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน)

- แผนแม่บทดา้ น : ดา้ นอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
ประเดน็ : อตุ สาหกรรมและบรกิ ารทางการแพทยค์ รบวงจร

- แผนแม่บทด้าน : สรา้ งความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
ประเดน็ : ท่องเท่ยี วเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย

2.4 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
- (ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การสร้างความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกิจและแข่งขนั ได้อย่างยั่งยืน)

2.5 แผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ.
2560 - 2569) ระยะ 10 ปี ซง่ึ เป็นแผนยทุ ธศาสตรฉ์ บับท่ี 3 ประกอบด้วย 4 ผลผลิตหลกั ได้แก่

1) ศนู ยก์ ลางบรกิ ารสขุ ภาพ (Medical Service Hub)
2) ศนู ยก์ ลางบรกิ ารเพือ่ สง่ เสรมิ สขุ ภาพ (Wellness Hub)
3) ศูนย์กลางบรกิ ารวชิ าการและงานวิจัย (Academic Hub)
4) ศูนย์กลางยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Product Hub) (ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 13
กันยายน พ.ศ. 2559)
2.6 รัฐบาลได้ประกาศนโยบายให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ เพื่อเป็นกลไกการ
ขบั เคลื่อนเศรษฐกิจในอนาคต (New S-curve) ในด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) เพ่ือ
รองรับนักทอ่ งเทย่ี วชาวต่างชาตทิ ่เี พ่ิมมากขึ้นจากการขยายตัวของกล่มุ สนิ คา้ และธุรกิจบริการสุขภาพ ประกอบ
กบั นโยบายรฐั บาลที่จะนาประเทศไทยเขา้ สู่ Thailand 4.0 โดยมเี ปาู หมายในการเช่ือมต่อการค้าและการลงทุน
ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีเพ่ือนาไปสู่การจัดบริการสุขภาพท่ีลดความเหล่ือมล้าของการเข้าถึงระบบสุขภาพ
ประชาชนมสี ขุ ภาพดี เพอ่ื รองรับอนาคตที่มีความเป็นสังคมเมอื ง สงั คมผ้สู ูงอายุ
2.7 นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564 ประเด็น : เศรษฐกิจสุขภาพ : เพ่ิมมูลค่านวัตกรรม
ผลิตภณั ฑ์/บรกิ ารทางสุขภาพ มงุ่ สู่การเปน็ ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical & Wellness Hub)
2.8 แผนยทุ ธศาสตร์กรมสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพ (ปี พ.ศ. 2562 - 2566)
- ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาและยกระดับมาตรฐานสถานพยาบาลภาครัฐ เอกชน และ
สถานประกอบการเพอื่ สขุ ภาพสูม่ าตรฐานสากลและพฒั นาอุตสาหกรรมการแพทย์ ครบวงจร
- เปูาประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 3 อุตสาหกรรมการแพทย์และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพไทยมี
ศกั ยภาพในการแข่งขนั ในระดบั นานาชาติ

86

- แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างให้คนมีสุขภาพวะที่ดี : โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
ผลิตภัณฑ์

3) แสดงตัวช้วี ัดคณุ ภาพเพิ่มเติมที่ครอบคลุมพนั ธกจิ ของกรมฯ และถ้าหากมีการเทียบเคียงก็ให้นาเสนอมา
ด้วย

3.1) ดา้ นการคมุ้ ครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพและบริหารยทุ ธศาสตร์ Medical Hub
- ประชาชนได้รับบริการสุขภาพท่ีปลอดภัยมีคุณภาพได้มาตรฐาน ท้ังจากผู้ให้บริการ สถาน

บรกิ ารสขุ ภาพ ขับเคล่ือนเศรษฐกิจสุขภาพ กระตนุ้ เศรษฐกิจและสรา้ งรายได้เข้าสูป่ ระเทศ
- มีการตั้งค่าเปูาหมายเพ่ือมุ่งสู่ความเป็น Medical Hub ในส่วนของกิจการสถาน

ประกอบการเพื่อสุขภาพ คือ มุ่งสู่ความเป็น Wellness Hub ได้แก่ กาหนดเปูาหมายการยกระดับ
สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพมุ่งสู่สากล ร้อยละ 10 ของสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพที่ผ่านเกณฑ์
มาตรฐานตามกฎหมายแลว้ ซง่ึ มอี ยู่ 2 รปู แบบ คือ

(1) Thai Spa Quality Award
(2) NuadThai Premium
ซึ่งคณะกรรมการที่ทาการประเมินได้รับการแต่งตั้งจาก อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ประกอบด้วยอาจารย์ จากมหาวิทยาลัย ผู้แทนผู้ประกอบการจากสมาคมสปาไทย ผู้แทนจาก
เจ้าหนา้ ทใ่ี นสานกั งานสาธารณสขุ จังหวัด และเจ้าหนา้ ทก่ี องสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ
ผลการดาเนินงานในปี 2563
(1) Thai World Class Spa 21 แห่ง
(2) NuadThai Premium 46 แหง่
ซึง่ ผา่ นเกณฑท์ ไี่ ด้กาหนดไว้
ส่งผลให้สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพมีศักยภาพในการแข่งขันกับนานาอารยะประเทศตาม
ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศและสร้างรายไดใ้ หป้ ระเทศปีละกว่า 30,000 ล้านบาท สร้างงาน สร้าง
อาชพี ใหค้ นไทยเพ่ิมมากข้ึน
- ร้อยละความเช่ือม่ันของประชาชนในการรับบริการสุขภาพจากโรงพยาบาลภาครัฐและ
ภาคเอกชน (เปูาหมาย รอ้ ยละ 70) ผลการดาเนินงาน รอ้ ยละ 71.71 (ปี 2563)
- ร้อยละความเช่ือมั่นของประชาชนในการรับบริการสุขภาพจากโรงพยาบาลภาคเอกชน
(เปูาหมาย ร้อยละ 70) ผลการดาเนินงาน รอ้ ยละ 77.85 (ปี 2564)
3.2) ด้านมาตรฐานระบบบริการสขุ ภาพ
- การพฒั นาห้องปฏิบตั ิการ ISO/IEC 17025
ปี 2562 ย่นื ขอรบั การรบั รอง/รักษามาตรฐานฯ 3 ห้อง ด้านอุณหภูมิ ด้านมวล ด้านอตั ราการไหล

ผล – ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานด้านมวล (ปี 2559) ด้านอณุ หภมู ิ (ปี 2560)
ปี 2563 ย่นื ขอรับการรับรอง/รักษามาตรฐานฯ 2 หอ้ ง ด้านอุณหภมู ิไมส่ ัมผัส ดา้ นอัตราการไหล

ผล – ไดร้ ับการรบั รองมาตรฐานด้านอัตราการไหล
3.3) ด้านระบบสุขภาพภาคประชาชน

- ครอบครวั เปูาหมายมีศกั ยภาพในการจดั การสุขภาพตนเองไดต้ ามเกณฑท์ ี่กาหนด ร้อยละ 78.67
(ช่วงการระบาดของโรคโควิด 19 มกี ารนาเทคโนโลยมี าใช้ในการปฏิบัติงานทาให้ อสม. ได้รับ
ความรู้ และรายงานผลการปฏิบัติงานเฝูาระวังกลุ่มเสี่ยงท่ีเดินทางกลับจากกรุงเทพและเขตปริมณฑล
รวมทั้งใกล้ชิดกับกลุ่มเสี่ยง กักตัวให้ครบ 14 วัน จานวน 857,275 คน ข้อมูลจาก thaiphc.net ณ
วนั ท่ี 30 ก.ย. 63)

87

- ผลการดาเนินงานชุมชมุ รอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ คิดเปน็ ร้อยละ 20.5 จาแนกเป็น (ปี 2563)

- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล มีการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ

ด้านสุขศกึ ษา 2,401 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 24.57 จากจานวน รพ.สต. ทง้ั หมด ทง้ั น้ีอยู่ในระดับคุณภาพ

คิดเปน็ รอ้ ยละ 11.31

- หมู่บ้านปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพจานวน 15,706 หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 20.93 จาก

จานวนหมู่บ้านทง้ั หมด

- โรงเรียนดาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขบัญญัติ จานวน 5,559 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ

18.07 ของจานวนโรงเรียนทงั้ หมด

- กลุ่มวัยทางาน HL ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด ร้อยละ 72.77 HB ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนดร้อยละ

80.92

- HB/HL ในกลมุ่ วัยเด็ก HL ผ่านเกณฑท์ ่ีกาหนด ร้อยละ 63.86 HB ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนดร้อย

ละ 55.99

ประเดน็ การและสถานการณ์การแข่งขนั และเปรยี บเทียบทส่ี าคัญ ของกรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ

ประเด็นการแขง่ ค่แู ข่งขนั /คู่เทยี บ ข้อมูล/ตัวชีว้ ัดท่ีใชใ้ นการ สถานการณ์การแขง่ ขนั / แหลง่ ข้อมลู /

ขนั /เปรียบเทียบ เปรียบเทยี บ เปรยี บเทียบ ปอี า้ งอิง

ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร สถาบันวิทยาศาสตร์ จานวนห้องปฏิบัติการทดสอบ/ ห้องปฏิบัติการผ่านการรับรอง มาตรฐาน ISO/IEC

ทดสอบ/สอบเทียบ และเทคโนโลยีแห่ง สอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองมือ มาตรฐาน ISO/IEC 17025 ได้แก่ 17025

มาตรฐานเคร่ืองมือ ประเทศไทย (วว.) แ พ ท ย์ ท่ี ผ่ า น ก า ร รั บ ร อ ง 1. ด้านอุณหภูมิสมั ผสั ปี 2562,-2563

แพทย์ มาตรฐาน ISO/IEC 17025 2..ด้านอณุ หภมู ิไม่สัมผสั :

ผลการดาเนินการ Infrared Ear Thermometer

ปี 2562 ได้ 2 ด้าน เป็น LAB แห่งแรกของ

ปี 2563 ได้ 4 ด้าน 7 รายการ ประเทศไทย (ซง่ึ วว. ยงั ผ่าน

ตวั ชีว้ ัด การรับรองISO/IEC)

พัฒนาห้องทดสอบ/สอบเทียบ 3. ดา้ นมวล : ตุม้ น้าหนกั

เครื่องมอื แพทย์ 4. ดา้ นอัตราการไหลของเหลว:

เป็น LAB แห่งแรกของ

ประเทศไทย (ซ่งึ วว. ยงั ไม่

ผ่านการรับรองISO/IEC)

88

ประเด็นการแขง่ คู่แขง่ ขนั /คเู่ ทียบ ขอ้ มูล/ตัวช้ีวดั ท่ีใชใ้ นการ สถานการณ์การแขง่ ขนั / แหลง่ ขอ้ มลู /
ขัน/เปรียบเทียบ เปรยี บเทยี บ เปรยี บเทยี บ ปอี า้ งอิง
สงิ คโปร์ มาเลเซยี
นโยบาย 1. สถานพยาบาลทีไ่ ด้รบั รอง จานวนสถานพยาบาลทีไ่ ดร้ ับ 1.มาตรฐาน JCI
Medical Hub มาตรฐานระดับสากล การรับรองมาตรฐานระดบั สากล ปี 2564
2. คา่ รกั ษาพยาบาล ได้แก่ JCI 2. The Medical
1. ประเทศไทยมีสถานพยาบาล Travel Quality
ทีไ่ ดร้ บั การรับรองมาตรฐาน JCI Alliance (MTQUA)
จานวน 61 แหง่ ปี 2561
- สิงคโปรม์ สี ถานพยาบาลที่ 3. รายงานผลการวิจัย
ได้รับการรับรองมาตรฐาน JCI กรม สบส. ปี 2562
จานวน 5 แห่ง
- มาเลเซยี มสี ถานพยาบาลที่
ไดร้ บั การรับรองมาตรฐาน JCI
จานวน 17 แห่ง
- ในปี 2018 สถานพยาบาลใน
ประเทศไทยได้รับการจัดอันดบั
1 ใน 5 ของสถานพยาบาลทีด่ ี
ทีส่ ดุ ระดับโลกจาก MTQUA
2.คา่ รกั ษาพยาบาลมคี วาม
เหมาะสมราคาตา่ กวา่ คู่แขง่
3. ปี 2562 ประเทศไทยได้รบั
การจัดอันดับใหเ้ ปน็ ประเทศท่ี
มีความเข้มแขง็ ดา้ นความมัน่ คง
ด้านสขุ ภาพเป็นอนั ดับที่ 6 จาก
ท้งั หมด 195 ประเทศ

4) การออกแบบกระบวนการทางานท่ีครอบคลุมถึงการร่วมดาเนินงานของเครือข่าย เช่น งานท่ีให้ สสจ.
มาช่วยดาเนนิ งาน

4.1) ดา้ นการค้มุ ครองผูบ้ ริโภคด้านระบบบริการสุขภาพและบริหารยทุ ธศาสตร์ Medical Hub
การร่วมดาเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ ของสานักงานสาธารณสุขจังหวัด มี

การออกแบบกระบวนการเพื่อให้เป็นไปตามข้อกาหนดท่ีสาคัญ ในด้านคุณภาพ รวดเร็ว ถูกต้อง
ครบถ้วน มีการดาเนินการดงั ต่อไปน้ี
- ระดบั กรม มีกระบวนการรว่ มทีส่ าคญั ดงั นี้

1. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ประจาปีละ 1
ครัง้ มีการถา่ ยทอดนโยบายเพ่ือลงสู่การปฏิบัติ

2. มีการกาหนดตัวชี้วัดร่วมกันในการดาเนินการ เช่น ร้อยละของสถานพยาบาลผ่านเกณฑ์
มาตรฐานตามท่ีกฎหมายกาหนด ร้อยละของสถานพยาบาลกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝูาระวังตามกฎหมาย
เพอ่ื ประเมนิ ความสาเร็จรว่ มกันในการดาเนนิ การ

3. จัดโครงสร้างหน่วยงานในส่วนภูมิภาคคือ ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพ ที่ 1-12 เพ่ือ
ขับเคล่ือนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพเพื่อส่งมอบบริการให้ให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน
แบ่งเป็นเขต 12 เขต มีการจัดสรรงบประมาณเพ่ือให้วางแผนร่วมบูรณาการในเขต ดูแล กากับ
ตดิ ตามการดาเนินงานของสานักงานสาธารณสขุ จงั หวัด

89

4. มีการจัดประชุมเพื่อวิเคราะห์ร่วมกัน ในการกาหนดขอบเขตการปฏิบัติภารกิจ ระหว่าง
หน่วยงานส่วนกลาง และหน่วยงานส่วนภูมิภาค (ศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพ และสานักงาน
สาธารณสุขจงั หวัด)

5. จัดทาคาสั่งกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มอบหมายให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็นผู้
อนุญาตแทนอธิบดีกรมสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพตามพระราชบญั ญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541 ในเขต
จังหวัดท่ีมีอานาจหน้าที่กากับดูแลและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ (รายละเอียดตามคาสั่งกรม
สนับสนนุ บริการสุขภาพ ท่ี 163/2563 ลงวนั ที่ 26 มกราคม 2564)

6. การติดตามกากับ ผ่านกลไกท้ังระดับกระทรวง ได้แก่ การตรวจราชการกระทรวง
สาธารณสุข ระดับกรม ได้แก่ การตรวจราชการและนิเทศงาน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เป็น
ประจาทุกปี
- กระบวนการร่วมทส่ี าคญั ดังน้ี

1. จัดให้มีการประชุมช้ีแจงแนวทางขับเคล่ือนนโยบายและยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภค
ด้านบริการสุขภาพในส่วนภูมิภาค ปีละ 1 คร้ัง เพื่อชี้แจงนโยบายและแนวทางการดาเนินงานการ
คุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพในส่วนภูมิภาค ถ่ายทอดตัวชี้วัด แจ้งสถานการณ์และความ
คบื หน้าด้านตา่ งๆ ตลอดจนกาหนดหลักเกณฑแ์ ละแนวทางการดาเนนิ งานใหบ้ รรลพุ นั ธกจิ

2. จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทางานขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การ
คุ้มครองผูบ้ รโิ ภคด้านบรกิ ารสุขภาพในส่วนภูมิภาค และจัดให้มีการประชุมปีละ 3-4 คร้ัง เพ่ือกาหนด
แผนงาน/โครงการแนวทางการปฏิบัติงาน SOP (Standard Operating Procedure) ร่วมกัน และ
ติดตามกากับการดาเนินงาน ถ่ายทอดประสบการณ์ ทั้ง Best Practice และที่มีปัญหา อุปสรรคใน
การดาเนินงาน เพื่อรว่ มกันหาแนวทางแกไ้ ข

3. จัดทาคมู่ อื การดาเนินงานคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภคด้านบริการสุขภาพ (ส่วนภูมิภาค) และถ่ายทอด
ลงส่สู ่วนภมู ภิ าค ซึง่ มกี ารทบทวน และปรับปรุงเปน็ ประจาทกุ ปี

4. จัดประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพพนักงานเจ้าหน้าท่ีในส่วนภูมิภาค เป็นประจาทุกปี และมี
การพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมให้กับเจ้าหน้าท่ี โดยคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรของกรมสนับสนุน
บริการสุขภาพ

4.2) ดา้ นระบบสุขภาพภาคประชาชน
กระบวนการ อสม. เคาะประตูบา้ น เฝูาระวงั ปอู งกัน ควบคุมโรคโควดิ 19
- มกี ารรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน อสม.เคาะประตูบ้าน เฝูาระวงั ปูองกนั ควบคมุ โรคโควิด 19 จาก
อสม. และสง่ ข้อมลู ให้โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล เพือ่ นาขอ้ มูลเขา้ ระบบ thaiphc.net
กระบวนการการพัฒนาศักยภาพ อสม. 4.0

90

1. การจัดทาหลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพ อสม. โดยกรมวิชาการ กระทรวงสาธารณสุขร่วมจดั ทา
2. การทดลองใชง้ าน
3. การปรบั ปรุงและจัดทาหลกั สูตร
4. การส่งเครือข่ายพัฒนา โดยมีหน่วยงานท่ีร่วมพัฒนา ได้แก่ สสม. สบส. และ สสจ.ร่วมพัฒนา
กลุ่มเปูาหมาย กากบั ติดตาม สุ่มประเมินศักยภาพ อสม.
5. การกากับ ติดตามและประเมินการพัฒนาศักยภาพ อสม. โดยมี รพ.สต. ร่วมประเมินและรายงาน
ผลการประเมนิ เข้าระบบ Thaiphc.net โดย อสม. ต้องเปน็ พ่เี ล้ยี ง พฒั นา อสค. ต่อไป
กระบวนการพฒั นาตาบลจดั การคุณภาพชีวติ
1. กรม สบส. จัดทาแนวทางการพัฒนาตาบลจดั การคุณภาพชวี ติ
2. โดยจัดส่งแนวทางคู่มือการพัฒนาตาบลจัดการคุณภาพชีวิตให้แก่ สบส. และ สสม. เพ่ือให้ สสจ.
ดาเนินการพัฒนาตาบลกลุม่ เปาู หมาย และมกี ารสุ่มตรวจประเมินมาตรฐานตาบลจดั การคณุ ภาพชวี ิต
3. การกากับติดตาม และตรวจประเมิน โดย รพ.สต. ประเมินตนเองเข้าระบบ และรายงานผลการ
ประเมนิ ผ่านระบบ Thaiphc.net
5) จากการเปลี่ยนรูปแบบการทางานมาเป็นระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ เช่น กรณีใหส้ ่งวีดิโอมา เพื่อพจิ ารณา
แลว้ ออกใบอนุญาตให้ จะทราบได้อยา่ งไรวา่ การส่งวีดโิ อดงั กล่าวมีความเชื่อถือได้ และมีมาตรฐาน
เทยี บเทา่ กับการออกไปตรวจในพ้ืนที่ ใหอ้ ธบิ ายมา
5.1) การตรวจมาตรฐานคลินิก กรณีใหส้ ่งวีดโิ อ เพื่อขออนญุ าตเปดิ คลนิ ิกต้งั ใหม่
จากสถติ กิ ารย่ืนขออนุญาตเปิดสถานพยาบาลท่ีไม่รับผู้ปุวยไว้ค้างคืน (คลินิก) ในเขตกรุงเทพมหานคร

มีแนวโน้มการย่ืนขออนุญาตเพ่ิมข้ึน โดยพบว่า เม่ือประมาณ 5 ปี ที่ผ่านมา มีคลินิกที่ย่ืนขออนุญาตเปิด

สถานพยาบาลที่ไม่รับผู้ปุวยไว้ค้างคืน (คลินิก) เป็นคลินิกตั้งใหม่ ประมาณ 422 แห่ง (เฉลี่ย 35-45 แห่งต่อ

เดอื น) มีคลนิ ิกเวชกรรมที่ย่ืนขออนญุ าต เปิดบริการเพิ่มเติมห้องผ่าตัดใหญ่ ประมาณเดือนละ 2 แห่ง และห้อง

ผา่ ตัดเล็ก เดอื นละ 5 แหง่ แต่ปงี บประมาณ 2563 พบว่า มีคลินิกตั้งใหม่ที่ย่ืนขออนุญาตเปิดสถานพยาบาล

ท่ีไม่รับผู้ปุวยไว้ค้างคืน (คลินิก) เป็นคลินิกต้ังใหม่มีจานวนเพ่ิมมากข้ึน ประมาณ 610 แห่ง (เฉล่ีย 60-80

แห่งต่อเดือน) มีคลินิกเวชกรรมท่ียื่นขออนุญาต เปิดบริการเพ่ิมเติมห้องผ่าตัดใหญ่ ประมาณเดือนละ 5

แหง่ และห้องผ่าตดั เล็ก เดอื นละ 15-20 แห่ง

จากขอ้ มลู ดงั กลา่ ว แสดงให้เหน็ วา่ ผปู้ ระกอบกิจการภาคเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ความสนใจ

และมีความพร้อมในการขออนุญาตเปิดสถานพยาบาลท่ีไม่รับผู้ปุวยไว้ค้างคืน (คลินิก) มากขึ้น ดังนั้นเพื่อเป็น

การรองรับการให้บริการท่ีคงไว้ซึ่งมาตรฐานสถานพยาบาล ตาม พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ.2541 ท่ีมี

ความคล่องตัว และรวดเร็วข้ึนมากข้ึน ตอบสนองนโยบายการปฏิรูประบบสาธารณสุข (Thailand 4.0 ด้าน

สาธารณสุข) จึงเป็นที่มาของการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทางานมาเป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น กรณีให้ส่ง

วีดโิ อ เพอื่ ขออนุญาตเปิดสถานพยาบาลทไี่ ม่รับผู้ปวุ ยไว้ค้างคืน (คลนิ กิ ) เพื่อเปดิ คลนิ กิ ตง้ั ใหม่

มาตรฐานการควบคุมกากบั คลินิกที่ยื่นขออนุญาตเปิดสถานพยาบาลท่ีไม่รับผู้ปุวยไว้ค้างคืน ด้วยวีดิโอ

และภาพน่งิ โดยพิจารณา ใน 4 องคป์ ระกอบหลัก คือ

1. อาคารสถานที่
2. ผู้ดาเนนิ การ และผู้ประกอบวิชาชพี ในสถานพยาบาล
3. เครอ่ื งมือ เคร่อื งใช้ และยาเวชภณั ฑ์
4. ช่ือสถานพยาบาลและการโฆษณา


Click to View FlipBook Version