The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตำราปลานิล รวม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by warong56, 2022-04-25 21:34:48

ตำราปลานิล รวม

ตำราปลานิล รวม

น า ย วิ ศ ณุ พ ร รั ต น ต รั ย ว ง ศ์
วุฒิ ปร.ด. (เพาะเล้ียงสัตว์น้า)
ตาแหน่ง ผู้เช่ียวชาญด้านพันธุกรรมสัตว์น้า
หน่วยท่ีเขียน บทท่ี 2 ตอนท่ี 1-4

น า ย ส ม นึ ก ค ง ท รั ต น์
วุฒิ วท.บ. (เพาะเล้ียงสัตว์น้า)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนา

พั น ธุ ก ร ร ม สั ต ว์ น้า อุ ต ร ดิ ต ถ์
หน่วยท่ีเขียน บทท่ี 2 ตอนท่ี 1

น า ย ฌั ฐ พ ง ศ์ ว ร ร ณ พั ฒ น์
วุฒิ วท.บ. (เพาะเล้ียงสัตว์น้า)
ตาแหน่ง ผู้เช่ียวชาญด้านการเพาะเล้ียงสัตว์น้าจืด
หน่วยท่ีเขียน บทท่ี 2 ตอนท่ี 2-4

ผ ศ . ด ร . ป ร ะ พั น ธ์ ศั ก ด์ิ ศ รี ษ ะ ภู มิ
วุฒิ Ph.D. Aquatic Biosciences

(Genetics and Biochemistry)
ตาแหน่ง อาจารย์คณะประมง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หน่วยท่ีเขียน บทท่ี 2 ตอนท่ี 5

ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง ป ล า นิ ล - 38 - TILAPIA CULTURE

ตอนที่
1

การเพาะพั นธุ์ปลานิล

เร่อื งท่ี 1

รู ปแบบการเพาะพันธุ์

การเพาะพันธุ์ปลานิลสามารถดาเนินการได้ทั้งในบ่อดิน กระชังไนล่อนตาถี่ และ
บ่อซีเมนต์ พ่อแม่พันธุ์ที่ใช้ในการเพาะพันธุ์ ควรเป็นปลาที่สมบูรณ์ ไม่มีบาดแผล
ปลอดจากโรค และมขี นาดไลเ่ ลี่ยกันคอื มีความยาวตง้ั แต่ 15 – 25 เซนตเิ มตร น้าหนักตง้ั แต่
150 – 200 กรัม ซึง่ ตามปกตปิ ลานลิ เพศเมยี จะวางไข่ครง้ั แรกเมอื่ มอี ายุประมาณ 22 สัปดาห์
โดยสามารถจาแนกวิธีการต่าง ๆ ได้ดังนี้

1.1 การเพาะพันธุ์ในบ่อดิน ภาพที่ 11 การเพาะพันธ์ปุ ลานลิ ในบ่อดิน

เ ป็ น วิ ธี ด้ั ง เ ดิ ม ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์
ปลานิล ขนาดของบ่อดินที่นิยมใช้ คือ
ตั้ง แ ต่ข น า ด 0 . 5 - 5 ไ ร่ ค ว า ม ลึก
ร ะ ห ว่า ง 1 - 1 . 2 เ ม ต ร ( ภ า พ ที่ 1 1 )
โ ด ย มี อั ต ร า ก า ร ป ล่ อ ย ป ล า เ พ ศ ผู้ ต่ อ เ พ ศ
เมียต้ังแต่ 1 ต่อ 2 จนถึง 1 ต่อ 5 ใน
ก า ร เ พ า ะ พัน ธุ์ไ ม ่ยุ ่ง ย า ก ซ ับ ซ ้อ น น ัก
ก ล่า ว คือ นา พ่อ แ ม่พัน ธุ์ป ล่อ ย ล ง สู่บ่อ
เ พ า ะ พัน ธุ์แ ล ะ ใ ห้ผ ส ม พัน ธุ์กัน เ อ ง โ ด ย
ธรรมชาติ ในราว 20 วันจะพบลูกปลา
ข น า ด เ ล ็ก เ ริ ่ม ว ่า ย น้ า เ ป ็น ก ลุ ่ม ๆ
เกษตรกรจะให้อาหารผงแก่ลูกปลา จน
เมื่อค รบ 4 5 วันก็สา มา ร ถคัดแ ยก ลูก
ปล านิลซึ่งมีขน าด 2 - 5 เ ซนติเ มต ร
นา ไ ป เ ลี้ย ง ห รือ นา ไ ป จา ห น่า ย ไ ด้ แ ต่
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ก า ร ใ ช้ วิ ธี ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ ใ น
บ่อดิน มีข้อด้อยในเรื่องของการใช้พ้ืนท่ี
แ ล ะ แ ร ง ง า น ใ น ก า ร ร ว บ ร ว ม ลูก ป ล า
ค่อ น ข้า งม า ก รว ม ทั้ง ลูก ป ล า ที่ไ ด้จ ะ มี
ข น า ด ไ ม่ส ม่า เ ส ม อ จึงไ ม่เ ป็นที่นิย มใ น
ปัจจุบัน

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 40 - ต อ น ที่ 1 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ ป ล า นิ ล

1.2 การเพาะพันธ์ุในกระชังตาถ่ี

นิยมใช้กระชังมุ้งสีฟา้ ขนาดช่องตา

16 - 18 ช่องตาต่อนิ้ว โดยตัดเย็บให้

มีขนาดพื้นที่ 50 - 100 ตารางเมตร

ขึง ใ น บ่อ ดิน โ ด ย ม ีร ะ ดับ น้ า ใ น ก ร ะ ช ัง

ประมาณ 80 เซนตเิ มตรขนึ้ ไป (ภาพที่ 12)

อัต ร า ก า ร ป ล่อ ย ป ล า เ พ ศ ผู้ต่อ เ พ ศ เ มีย

ตั้งแต่ 1 ต่อ 2 จนถึง 1 ต่อ 5 ปล่อย ภาพที่ 13 การเพาะพันธป์ุ ลานลิ ในบอ่ ซิเมนต์
พ่อแม่พันธุ์ด้วยความหนาแน่นไม่เกิน 5
ตัวต่อน้า 1 ลูกบาศก์เมตร เกษตรกร 1.3 การเพาะพันธ์ุในบ่อซีเมนต์
นิย ม ใ ช้วิธีก า ร ร ว บ ร ว ม ไ ข่แ ล ะ ตัว อ่อ น
จากปากแม่ปลาทุก 7 วัน แล้วนาไปฟกั เ ป็น วิธีก า ร ที่นิย ม ใ ช้ม า ก ที่สุด ใ น
ในระบบฟกั ไข่จนได้ตัวอ่อนที่ถุงไข่แดง ป ัจ จ ุบ ัน ข น า ด ข อ ง บ ่อ ที ่น ิย ม ใ ช ้อ ยู่
ยุบ แ ล้ว เ พื่อ นา ไ ป อ นุบ า ล ต่อ ไ ป ก า ร ระหว่าง 50-120 ตารางเมตร ที่ความลึก
ของน้า 80 เซนติเมตร ขึ้นไป (ภาพท่ี 13)

เพาะพันธุ์โดยวิธีน้ีสามารถประหยัดพื้นท่ี อั ต ร า ก า ร ปล่ อ ย ปล า เ พ ศ ผู้ ต่ อ เ พ ศ เ มีย

และแรงงานได้ดีกว่าการเพาะพันธุ์ในบ่อ ต้งั แต่ 1 ต่อ 2 จนถงึ 1 ต่อ 5 เชน่ เดยี วกัน

ดิน แ ต่ยัง มีข้อ จา กัด บ า ง ป ร ะ ก า ร คือ ปล่อยพ่อแม่พันธุ์ด้วยความหนาแน่นไม่
ส า ม า ร ถ เ ก็บ ไ ข่ไ ด้ต่อ เ นื่อ ง ไ ม่น า น นัก เ ก ิน 3 ต ัว ต ่อ น้ า 1 ล ูก บ า ศ ก ์เ ม ต ร

เพราะเมื่อพ่อแม่พันธุ์มีขนาดใหญ่จะเกิด เกษตรกรนิยมใช้วิธีการรวบรวมไข่และ

ความแออัดและมีอัตราการให้ไข่ลดลง ตัวอ่อนจากปากแม่ปลาทุก 7 วัน (ภาพ

อย่างมาก ที ่ 1 4 ) แ ล ้ว นา ไ ป ฟ กั ใ น ร ะ บ บ ฟ กั ไ ข่

เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ ใ น ก ร ะ ชั ง

ภาพที่ 12 การเพาะพันธใุ์ นกระชงั - 41 - ภาพท่ี 14 การรวบรวมไข่ปลานลิ

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง ต อ น ที่ 1 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ ป ล า นิ ล

จ า ก ก า ร ท ด ล อ ง เ พ า ะ พัน ธุ์ป ล า นิล จิต ร ล ด า 3 ข อ ง ศูน ย์วิจัย แ ล ะ พัฒ น า
พันธุกรรมสัตว์น้าอุตรดิตถ์ โดยใช้ปลานิลจิตรลดา 3 ชุดประชากรที่ไม่ผ่านการ
ปรับปรุงพันธุ์ที่มีอายุครบ 180 วัน ในบ่อซีเมนต์ขนาด 20 ลูกบาศก์เมตร ใน
อัตราพ่อพันธุ์ต่อแม่พันธุ์ 1 : 3 จานวน 3 บ่อ (เพศผู้ 14 ตัว : เพศเมีย 42 ตัว
ต่อบ่อ) เก็บรวบรวมไข่จากปากแม่ปลาทุก 7 วันต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 12 เดือน
ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2562 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 พบว่าแม่ปลา
ให้ไข่เฉลี่ยเดือนละ 85.17 ± 27.68 ตัว คิดเป็นร้อยละ 71.25 ± 23.71 ของ
จานวนแม่ปลาทั้งหมด มีปริมาณไข่รวม 1,274,357 ฟอง หรือ 106,196.42
ฟองต่อเดือน ปริมาณให้ไข่เฉลี่ยของแม่ปลาต่อตัวเท่ากับ 1,249.37 ฟอง และ
พบว่าแม่ปลานิลจิตรลดา 3 สามารถให้ไข่ได้มากกว่าร้อยละ 50 ของจานวนแม่
ปลาทั้งหมดเมื่อแม่ปลามีอายุ 11 เดือนขึ้นไป จนเมื่อแม่ปลามีอายุครบ 13 เดือน
จะสามารถให้ไข่ได้เกินกว่าร้อยละ 70 ของจานวนแม่ปลาทั้งหมดและมีปริมาณไข่
มากเกินกว่า 1,300 ฟองต่อแม่

เร่อื งท่ี 2

ระบบฟักไข่ปลานิล

ภาพโดย : ชุมพรซีลอน

ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ป ล า นิล ใ น ป ัจ จุบัน นิย ม ใ ช้วิธีก า ร ร ว บ ร ว ม ไ ข่แ ล ะ ตัว อ่อ น เ ข้า สู่
ระบบเพาะฟกั (ภาพที่ 15) ซึ่งในระบบเพาะฟกั จะประกอบด้วยกรวยฟกั ถาดฟกั
และระบบบาบัดน้า (ภาพที่ 16) ซ่ึงเม่ือเกษตรกรเก็บรวบรวมไข่และตัวอ่อนปลานิล
จะต้องนามาทาความสะอาดและแยกระยะของไข่และตัวอ่อนไปฟกั ในระบบฟกั โดย
ในระบบฟกั ไข่จะต้องมีการควบคุมคุณภาพน้าให้เหมาะสมอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้า (DO) และสารเคมีที่อาจเป็นพิษต่อไข่และ
ตัวอ่อนของปลานิล เมื่อตัวอ่อนพั ฒนาจนเป็ นระยะ Swim-up fry แล้วจึงนาไป
อนุบาลด้วยอาหารสาหรับปลาวัยอ่อนให้ได้ขนาดโตพอที่จะนาไปเล้ียงต่อไป

สาหรับพ่อแม่พันธุ์ในบ่อที่ได้รวบรวมไข่และตัวอ่อนแล้ว จะต้องมีการทาความ
ส ะ อ า ด ก ร ะ ชั ง ห รื อ ทา ค ว า ม ส ะ อ า ด บ่ อ พ ร้ อ ม ท้ั ง เ ป ลี่ ย น ถ่ า ย น้า เ พื่ อ ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ พ่ อ แ ม่ ป ล า
พร้อมท่ีจะผสมพันธุ์วางไข่ต่อไป โดยให้อาหารวันละ 1 ครั้ง ในอัตรา 1 - 2 เปอร์เซ็นต์
ข อ งน้า ห นั กตั วปลา ต่ อวัน ย ก เ ว้ นในวันท่ีเก็ บร วบร ว มไ ข่ แ ล ะ ตั ว อ่ อ น โ ด ย ปก ติ
แ ม่ ป ล า นิ ล จ ะ ส า ม า ร ถ ใ ห้ ไ ข่ แ ล ะ ตั ว อ่ อ น ที่ ส ม บู ร ณ์ แ ล ะ มี ป ริ ม า ณ ที่ คุ้ ม ค่ า ใ น ช่ ว ง อ า ยุ
1 ปีขึ้นไปแต่ไม่เกิน 3 ปี

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 42 - ต อ น ท่ี 1 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ ป ล า นิ ล

ภาพท่ี 15 แผนภาพแสดงระบบเพาะฟกั ไขป่ ลานลิ

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 43 - ต อ น ท่ี 1 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ ป ล า นิ ล

กรวยฟกั ไข่ ถาดฟกั ตัวอ่อน

ภาพที่ 16 ภาพแสดงกรวยฟกั ไขแ่ ละถาดฟกั ตัวออ่ นปลานิล

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 44 - ต อ น ที่ 1 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ ป ล า นิ ล

เร่อื งที่ 3

การผลิตปลานิล
เพศผู้ล้วน

เนื่องจากปลานิลเพศผู้เจริญเติบโตเร็วกว่าปลานิลเพศเมีย การเลี้ยงปลานิล
เพศผู้อย่างเดียวทาให้ไม่เกิดการแพร่พันธุ์ของลูกปลานิลในบ่อเลี้ยง ปลาเจริญเติบโต
ได้ขนาดสม่าเสมอเมื่อเก็บเก่ียว และได้ผลผลิตเพ่ิ มขึ้น เกษตรกรจึงนิยมเล้ียง
ปลานิลเพศผู้อย่างเดียวในเชิงการค้า การผลิตลูกปลานิลเพศผู้สามารถดาเนินการ
ได้ 4 วิธี คือ

วิธีที่ 1 การคัดเลือกปลานิลเพศผู้โดย วิธีที่ 3 ก า ร ใช้ฮ อร์โมนแ ปล งเ พศ ลูก

ดูลัก ษ ณ ะ เ พ ศ ภ า ย น อ ก ป ล า นิล ข น า ด ปลานิลให้เป็นเพศผู้ โดยการแช่ลูกปลา

ค ว า ม ย า ว ตั้ง แ ต่ 1 2 เ ซ นติเ ม ต ร แ ล ะ ในสารละลายฮอร์โมนแอนโดรเจนหรือ

น้าหนัก 50 กรัม ขึ้นไป สามารถแยก ฮอร์โมนเพศผู้ และการผสมฮอร์โมนใน

เพศ ได้โดย ดูจา ก ลัก ษ ณะสีใต้ค างของ อ า ห า ร ใ ห้ลูก ป ล า กิน ส า ม า ร ถ เ ป ลี่ย น

ป ล า ป ล า เ พ ศ ผู้จ ะ มีสีแ ด ง ห รือ สีช ม พู เ พ ศ ป ล า ใ ห้เ ป็น เ พ ศ ผู้ไ ด้ป ร ะ ม า ณ 9 5

ส่ว น ป ล า เ พ ศ เ มีย จ ะ มีสีเ ห ลือ ง ห ร ือ เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป วิธีนี้นิยมใช้ในประเทศ

สังเกตบริเวณช่องขับถ่ายเพศเมียจะมี ไทย และสาธารณรัฐฟิลิปปินส์

3 ช่อง ส่วนเพศผู้มี 2 ช่อง วิธีที่ 4 การผลิตลูกปลานิลเพศผู้จาก

วิธีที่ 2 การผสมข้ามสายพันธุ์ระหว่าง การ ผสมพันธุ์ร ะห ว่า งปลานิลเ พศ ผู้ที่มี

ปลานิล (Oreochromis niloticus) โครโมโซมเพศเป็น YY กับปลานิลเพศ

กับปลา O. aureus สามารถผลิตปลา เมียที่มีโครโมโซมเพศ XX วิธีนี้นิยมใช้

ลูกผสมเพศผู้ได้ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ ใ น สห ร า ช อ า ณ า จัก ร แ ล ะ สา ธ า ร ณ รัฐ

ขึ้ น ไ ป วิ ธี น้ี นิ ย ม ใ ช้ ใ น รั ฐ อิ ส ร า เ อ ล ฟิลิปปินส์

สาธารณรัฐประชาชนจีน และไต้หวัน

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 45 - ต อ น ท่ี 1 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ ป ล า นิ ล

ตอนที่
2

ก า ร อ นุ บ า ล ลู ก ป ล า

เร่อื งท่ี 1

รู ปแบบการอนุบาล

1.1 การอนุบาลปลานิลแปลงเพศ หรือให้ในปริมาณท่ีปลากินหมดในระยะเวลา
15 - 30 นาที หรือในบางแห่งอาจแขวน
ก า ร อ นุ บ า ล ป ล า นิ ล แ ป ล ง เ พ ศ นิ ย ม อ า ห า ร ใ น ภ า ช น ะ ใ ห้ ป ล า กิ น ต ล อ ด เ ว ล า ใ น
อนุบาลในกระชังที่แขวนบ่อดิน (ภาพท่ี 17) ปริมาณท่ีกินหมดในหนึ่งวัน ระยะเวลา
หรืออนุบาลในบ่อปูนท่ีมีขนาดไม่ใหญ่มาก อนุบาลโดยให้อาหารผสมฮอร์โมนแปลงเพศ
ขนาดพ้ืนท่ีท่ีนิยมได้แก่ กว้าง 2 เมตร ยาว 21 วัน หลงั จากนน้ั อนบุ าลต่อ 10 - 15 วัน
4 เมตร น้ าลึกประมาณ 1 เมตร โดย จะได้ลูกปลานิลแปลงเพศขนาด 2 - 3
กระชังที่นิยมในการอนุบาลลูกปลาเป็นอวนสี เซนติเมตร ซ่ึงพร้อมจาหน่ายหรือเลี้ยงใน
ฟา้ 20 ช่องตาต่อนิ้ว อนุบาลลูกปลาใน บอ่ ดิน
อัตราประมาณ 50 - 100 ตัวต่อลูกบาศก์
เมตร หรอื 4,000 – 8,000 ตวั ตอ่ กระชัง
การอนุบาลลูกปลานิยมทาในพื้นที่ท่ีมีขนาด
ไม่ใหญ่มาก เน่ืองจากปลาที่ได้จากการเคาะ
ปากแต่ละครั้งมีจานวนไม่มากพอสาหรับการ
อ นุ บ า ล ใ น บ่ อ ห รื อ ก ร ะ ชั ง ข น า ด ใ ห ญ่
นอกจากน้ีเพื่อให้ง่ายต่อการแยกรุ่นตามอายุ
และขนาดของปลา การให้อาหารและดูแลได้
อย่างท่ัวถึง ตลอดจนรวบรวมลูกและคัด
ขนาดได้ง่าย อาหารที่อนุบาลใช้ เป็นอาหาร
สัตว์น้าวัยอ่อนชนิดผงผสมฮอร์โมนในอัตรา
15 เปอร์เซ็นต์ของน้าหนักปลาต่อวัน ใน
สัปดาห์แรก โดยแบ่งให้วันละ 5 ม้ือจากนั้น
เพิ่มปริมาณเป็น 20 เปอร์เซ็นต์ของน้าหนัก
ปลาในสัปดาห์ท่ีสอง 25 เปอร์เซ็นต์ของ
น้ า ห นั ก ป ล า ใ น สั ป ด า ห์ ที่ ส า ม แ ล ะ 3 0
เปอรเ์ ซ็นตข์ องน้าหนกั ปลาในสัปดาห์ทีส่ ่ี

ภาพที่ 17 การอนบุ าลลูกปลานิลแปลงเพศ
ในกระชงั ท่แี ขวนลอยในบ่อดิน

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 47 - ต อ น ท่ี 2 ก า ร อ นุ บ า ล ลู ก ป ล า นิ ล

1.2 การอนุบาลปลานิลไม่แปลงเพศ

นิยมอนุบาลในบ่อดินจะมีการอนุบาลเป็น 2 แบบ คือ

1. 2 . 1 ก า ร อ นุบา ล ต่อ เ นื่อ ง จ า ก กา ร เ พ าะ พัน ธุ์ต าม ธ ร ร ม ช า ติ วิธีนี้เป็นการ
เพาะพันธ์ุตามธรรมชาติในบ่อดินโดยปล่อยเพศผู้เพศเมียในอัตรา เพศเมีย 2 ต่อเพศผู้ 1
โดยในบ่อขนาด 1 ไร่ ใช้เพศเมีย 600 - 1,000 ตัว ต่อเพศผู้ 300 - 500 ตัว
ให้อาหารพ่อแม่ปลาและลูกปลาวันละ 2 ครั้งในปริมาณที่ปลากินอิ่มโดยใช้อาหารเม็ด
สาเร็จรูปร่วมกับปลาปน่ ผสมรา หรือราอย่างเดียวก็ได้ในกรณีที่หาซื้อปลาปน่ ได้ยาก
หลังจากน้ันประมาณ 1.5 – 2 เดือน ทาการล้างบ่อเก็บผลผลิตลูกปลา จะทาให้ได้ลูก
ปลามีขนาดใกล้เคียงกัน แล้วนาพ่อแม่ปลาไปเพาะอีกครั้งในบ่อต่อไป ในปจั จุบันมีการ
ประยุกต์การเพาะปลานิลไม่แปลงเพศในบ่อดินเพื่อให้สะดวกขึ้น เช่น การเลี้ยงพ่อแม่
ปลานิลในกระชังตาห่าง หรือกั้นคอกสาหรับเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์แล้วให้ลูกปลาที่ได้ว่ายน้า
ออกหากินนอกกระชังหรือคอก แล้วรวมลูกอีกด้านหนึ่งนอกส่วนที่เลี้ยงพ่อแม่ปลา
ซึ่งวิธีการเหล่านี้ เหมาะสมสาหรับการผลิตลูกปลานิลที่ไม่แปลงเพศ สามารถทาเพื่อ
จาหน่ายและสาหรับใช้เองในฟาร์มได้โดยไม่ยาก ลงทุนไม่สูง และหากต้องการเลี้ยง
เฉพาะปลาเพศผู้ เกษตรกรสามารถอนุบาลปลาในกระชังให้ปลามีขนาดประมาณ 15 -
20 กรัม ขึ้นไป แล้วคัดเลือกปลาเพศผู้โดยใช้ความแตกต่างของลักษณะภายนอกได้
โดยไม่ยาก

1.2.2 การอนุบาลลูกปลาในบ่อดิน โดยใช้ลูกปลานิลระยะที่ 5 สาหรับอนุบาล
ลูกปลานิลระยะน้ีเป็นปลาที่อนุบาลง่ายเนื่องจากมีขนาดแรกฟกั ท่ีใหญ่ จึงมีอัตรารอดสูง
โดยเตรียมอาหารธรรมชาติก่อนปล่อยปลาอนุบาล โดยในบ่อดินขนาด 1 ไร่ อนุบาล
ลูกปลาจานวนประมาณ 100,000 - 200,000 ตัว ให้อาหารโดยใช้ ปลาปน่ ผสม
กับราละเอียดในอัตราปลาปน่ 1 ส่วน ราละเอียด 1 - 3 ส่วน วันละ 2 ครั้ง
ประมาณ 30 วันจะได้ปลาขนาด 2 - 3 เซนติเมตร และ 40 - 50 วันจะได้ปลา
ขนาด 3 - 5 เซนติเมตร

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 48 - ต อ น ท่ี 2 ก า ร อ นุ บ า ล ลู ก ป ล า นิ ล

เร่อื งท่ี 2

การเตรยี มอาหาร
และการให้อาหารในแต่ละช่วงวัย

โดยปกติแล้วอาหารท่ีใช้อนุบาลลูกปลานิลต้ังแต่แรกฟกั จนถึงขนาดความยาว

2 - 3 เซนติเมตร หรือ 3 - 5 เซนติเมตร ซึ่งเป็นขนาดที่นิยมในการจาหน่าย

ท่ัวไป แบ่ง 2 ประเภท คือ

2.1 อาหารอนุบาลสาหรับปลานิล ภาพท่ี 18 การเตรียมอาหารผสมฮอรโ์ มน
17 alpha methyltestosterone (17 α – MT)
แปลงเพศ
2.2 อาหารอนุบาลสาหรับปลานิล
อาหารส าหรั บปล านิ ลแปลงเพศเป็ น ไม่แปลงเพศ
อาหารผสมฮอรโ์ มนสงั เคราะหช์ นิด 17 alpha
methyltestosterone (17α–MT) (ภาพ โดยปกติการอนุบาลปลานิลไม่แปลง
ท่ี 18) เพื่อแปลงเพศปลานิลให้เป็นเพศผู้ เพศ มักนิยมอนุบาลในบ่อดินและเตรียม
โดยใช้ฮอร์โมนในอัตราความเข้มข้นประมาณ อาหารธรรมชาติก่อนปล่อยลูกปลา อาหารท่ี
60 มก. ต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ให้ลูกปลา ให้ มั กมี โปรตีนท่ี ไม่ สู งเน่ื องจากราคาที่
กินเมื่อเร่ิมเข้าสู่ระยะที่ 5 หรือระยะที่ถุงไข่ จาหน่ายถูกกว่าปลานิลแปลงเพศ เช่น ปลา
แดงเร่ิมยุบ เป็นระยะเวลา 21 วัน เน่ืองจาก ปน่ 1 สว่ น ตอ่ รา 1-2 สว่ น
เมอื่ ลูกปลานลิ เรม่ิ ฟกั อวยั วะสืบพันธ์ุยังไม่มี
การพัฒนาเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย อวัยวะ
สื บพั นธุ์ จ ะมี กา รพั ฒนา เม่ื อถุ งไข่ แ ดงยุ บ
จนถึงอายุประมาณ 3 – 4 สัปดาห์ โดย
อ า ห า ร ที่ ใ ช้ นิ ย ม ใ ช้ ส า ห รั บ ผ ส ม ฮ อ ร์ โ ม น
แปลงเพศได้แก่ อาหารสาเร็จรูปชนิดผง
ระดับโปรตีนประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ หรือ
อาหารทาเองจากปลาปน่ 3 ส่วน ต่อรา 1
ส่วน หลังจากให้อายุครบ 21 วัน ให้กิน
อาหารที่มีเปอร์เซ็นต์โปรตีนลดลง จนปลามี
ขนาดประมาณ 2 –3 เซนติเมตร หรือ 3 -
5 เซนติเมตร

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 49 - ต อ น ท่ี 2 ก า ร อ นุ บ า ล ลู ก ป ล า นิ ล

ตอนที่
3

ก า ร เ ล้ี ย ง ป ล า นิ ล

เร่อื งท่ี 1

การคัดเลือกลูกพันธุ์

การคัดเลือกลูกพันธุ์ควรพิจารณาซื้อลูกพันธุ์จากฟาร์มที่เชื่อถือได้ เช่น ฟาร์ม
เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ฟ า ร์ ม อ นุ บ า ล ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร รั บ ร อ ง ม า ต ร ฐ า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ท า ง ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง
สัตว์น้าที่ดี หรือ จีเอพี (Good Aquaculture Practices; GAP) หรือ จาก
ฟาร์มเพาะพันธุ์หรือแหล่งรวบรวมลูกพันธุ์ที่มีระบบการจัดการที่ดี โดยพิจารณาถึง
คุณภาพลูกพันธุ์ตามลักษณะที่สังเกตได้ เช่น มีอวัยวะครบถ้วนสมบูรณ์ ไม่พิการ
ลาตัวไม่คดงอ ไม่มีสีซีด หรือดาผิดปกติ เกล็ดและครีบครบถ้วน ไม่มีรอยโรค เช่น
เป็นรอยด่าง ช้าเลือด หรือมีแผลบริเวณลาตัว การว่ายน้าและการทรงตัวปกติ เป็นต้น

เร่อื งที่ 2

การลาเลียงและ
การขนส่งลูกพันธุ์

ใ น ก า ร ลา เ ลีย ง ลูก ป ล า เ พื่อ นา ม า เ ลี้ย ง ค ว ร ติด ต่อ ฟ า ร์ม เ พ า ะ พัน ธุ์ล่ว ง ห น้า
เพื่อ ให้ทรา บร าย ละเ อีย ดต่าง ๆ โดย เฉ พา ะเว ลา ใน การ รับ พันธุ์ปล า ในบ าง ครั้ง
เ ก ษ ต ร ก ร อ า จ ป ร ะ ส บ ป ัญ ห า ต้ อ ง ร อ เ ป็ น ร ะ ย ะ เ ว ล า น า น ใ น ก า ร ซื้ อ พั น ธุ์ ป ล า ซึ่ ง อ า จ ทา ใ ห้
ส่งผลถึงเวลาในการขนส่งลาเลียงพันธุ์ปลามายังบ่อเลี้ยง ในกรณีที่ต้องขนส่ง
ระยะไกลอาจเปลี่ยนเป็นการขนส่งในเวลากลางคืน โดยในการลาเลียงควรควบคุม
อุณหภูมิน้าในถุงปลาให้อยู่ในช่วง 23 - 28 องศาเซลเซียส (กรมประมง, ม.ป.ป.)
ใ น ก ร ณี ท่ี มี จา น ว น ไ ม่ ม า ก นั ก นิ ย ม นา ถุ ง บ ร ร จุ พั น ธุ์ ป ล า ไ ว้ ใ น ห้ อ ง โ ด ย ส า ร ป รั บ อ า ก า ศ ใ น
รถยนต์ สาหรับวิธีการลดอุณหภูมิในถุงบรรจุพันธุ์ปลา ได้แก่ การลาเลียงโดยใช้
รถยนต์มีหลังคา ลาเลียงโดยรถยนต์บรรทุกที่มีการใช้วัสดุเก็บรักษาความเย็น เช่น
ผ้านวม กระสอบ รองพื้นกระบะและรอบถุงบรรจุพันธุ์ปลา โดยรดน้าให้ชุ่ม หรือใส่
น้าแข็งให้กระจายให้ทั่วบริเวณวัสดุกันความร้อน นอกจากนี้ควรพิจารณากรณีที่
ลาเลียงปลานิลขนาดความยาว 3 - 5 เซนติเมตรซึ่งมีครีบหลังแข็ง อาจแทงถุงรั่ว
ได้จึงต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ บางฟาร์มใช้วิธีซ้อนถุงเพ่ิมจากปกติอีก 1 ช้ัน
ห รื อ ใ ช้ ก ร ะ ด า ษ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ร อ ง ร ะ ห ว่ า ง ถุ ง

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 51 - ต อ น ที่ 3 ก า ร เ ล้ี ย ง ป ล า นิ ล

เร่อื งท่ี 3

รู ปแบบการเล้ียง

ปลานิลเป็นปลาที่เพาะเลี้ยงง่าย และนิยมเลี้ยงในทุกพื้นที่ของประเทศไทย มี
รูปแบบในการเล้ียงที่หลากหลายแตกต่างไปตามความเหมาะสมของพื้นท่ี ดังน้ี

3.1 การเล้ียงปลานิลชนิดเดียว (monoculture) ส่วนมากเป็นการเลี้ยง

ปลานิลแปลงเพศ เช่น
3.1.1 การเลี้ยงปลานิลในกระชังในแม่น้า หรือ แหล่งน้า เป็นที่นิยมเนื่องจากมี

การถ่ายเทของน้าดี ปลาเจริญเติบโตดี เนื้อมีรสชาติดีปราศจากกลิ่นโคลน ผลผลิต
ต่อหน่วยสูง ต้นทุนการเลี้ยงค่อนข้างสูง ราคาจาหน่ายสูงกว่าการเลี้ยงปลาในบ่อดิน
เลี้ยงโดยใช้อาหารเม็ดสาเร็จรูป ในอัตราความหนาแน่นที่สูง อย่างไรก็ตามการเลี้ยง
ปลาในกระชังดังกล่าว มีความเสี่ยงในหลายด้าน เช่น ในช่วงฤดูน้าหลากคุณภาพน้า
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ทา ใ ห้ ป ล า ป รั บ ตั ว ไ ม่ ทั น ใ น บ า ง ค รั้ ง มั ก พ บ ว่ า มี ก า ร ต า ย ข อ ง
ปลายกทั้งกระชัง ความเสี่ยงจากน้าที่ระบายจากกิจกรรมอื่น ๆ ที่อาจส่งผลกระทบ
ต่อปลา นอกจากนี้ การเลี้ยงปลาในกระชังในแหล่งน้าสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
จะต้องดาเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องอีกด้วย (ภาพที่ 19)

ภาพท่ี 19 การเล้ียงปลานิลในกระชงั ในแมน่ ้า

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 52 - ต อ น ที่ 3 ก า ร เ ล้ี ย ง ป ล า นิ ล

3.1.2 การเลี้ยงปลานิลในกระชังในบ่อดิน การเลี้ยงปลานิลในกระชังในบ่อดิน
(ภาพที่ 20) เกิดจากการปรับเปลี่ยนประยุกต์จากการเลี้ยงกระชังในแหล่งน้ามาเลี้ยง
ในบ่อดิน ซึ่งเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงด้านต่าง ๆ ของการเลี้ยงในแหล่งน้าลง เลี้ยง
โดยใช้อาหารเม็ดสาเร็จรูป ในอัตราความหนาแน่นที่สูง มีการเพิ่มอากาศด้วยเครื่อง
ตีน้า หรือร ะบบ ลม บ างฟ าร์มอ าจมีกา รใ ช้น้า หมุนเ วียน ภา ยใ นฟา ร์ม เป ลี่ยน ถ่า ยน้า
ในระหว่างการเลี้ยง บางฟาร์มมีการปล่อยกุ้งก้ามกรามเสริมโดยไม่ให้อาหารด้านล่าง
ของกระชัง ต้นทุนในการเล้ียงและผลผลิตสูง

ภาพที่ 20 การเลี้ยงปลานิลในกระชังในบ่อดิน

3.1.3 การเลี้ย งปลานิล ชนิดเดีย วในบ่อดิน มีทั้งการเลี้ยงโดยใช้อาหารเม็ด
สาเร็จรูปเพียงอย่างเดียว หรือผสมผสานกันกับการสร้างอาหารธรรมชาติ และ
อาหารสมทบอื่น ๆ เช่น โครงไก่ โครงหมูบด หญ้าเนเปียร์ เกษตรกรบางรายเลี้ยง
ในอัตราความหนาแน่นที่สูงมีการเพิ่มอากาศด้วยเครื่องตีน้าหรือระบบลม (ภาพที่ 21)
ท า ง ฟ า ร์ ม อ า จ มี ก า ร ใ ช้ น้ า ห มุ น เ วี ย น ภ า ย ใ น ฟ า ร์ ม เ ป ลี่ ย น ถ่ า ย น้ า ใ น ร ะ ห ว่ า ง ก า ร เ ลี้ ย ง
บางฟาร์มใช้ระบบไบโอฟล๊อคเพื่อช่วยจัดการคุณภาพน้าระหว่างการเล้ียง (ภาพที่ 22)

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 53 - ต อ น ท่ี 3 ก า ร เ ล้ี ย ง ป ล า นิ ล

ภาพท่ี 21 การเลยี้ งปลานิลในบ่อดิน

ภาพที่ 22 การเล้ียงปลานิลในบอ่ กลมระบบไบโอฟล๊อค

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 54 - ต อ น ท่ี 3 ก า ร เ ล้ี ย ง ป ล า นิ ล

3.2 การเลี้ย งป ลานิล ร่วมกับสัตว์น้าช นิดอื่น ( polyculture) นิยม

เล้ียงปลานิลร่วมกับสัตว์น้าหลายชนิด เช่น
3.2.1 การเลี้ยงปลานิลร่วมกับปลา ซึ่งเลี้ยงได้กับปลาหลายชนิด เช่น การ

เลี้ยงปลานิลกับปลากินพืช ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ในบ่อให้มากที่สุดตาม
ลักษณะการกินอาหารของปลา เช่น การเลี้ยงปลานิล ร่วมกับปลาตะเพียนขาวกินผิว
น้าและชอบกินพืชผัก กลุ่มปลากินระดับล่างและพื้นท้องน้าซากเน่าเป่ื อย ได้แก่ ปลา
ยี่สกเทศ ปลานวลจันทร์เทศ ปลาไน หรือเลี้ยงปลานิลไม่แปลงเพศร่วมกับปลากินเนื้อ
เพื่อให้กินลูกปลานิล เช่น การเลี้ยงปลานิลร่วมกับปลาช่อน ปลากราย ปลากดคัง
ห รือ ป ล า ก ะ พ ง เ ป็น ต้น ก า ร เ ลี้ย ง ลัก ษ ณ ะ เ ช่น นี้จ ะ เ ลี้ย ง ใ น บ่อ ดิน เ ป็น ส่ว น ใ ห ญ่
นอกจากนี้ยังพบการเล้ียงปลานิลร่วมกับปลาชนิดอ่ืน ๆ ในนาข้าว และในร่องสวน เป็นต้น

3.2.2 การเลี้ยงปลานิลร่วมกับกุ้งขาวแวนนาไม การเลี้ยงแบบนี้จะเลี้ยงปลานิล
แปลงเพศเป็นหลัก และกุ้งขาวเป็นผลผลิตเสริม มีการให้อาหารเฉพาะปลานิล กุ้งขาว
จะกินอาหารเหลือจากปลานิลและอาหารธรรมชาติที่เกิดขึ้น โดยจะทยอยเก็บผลผลิต
กุ้งขาวที่ได้ขนาด ตลอดระยะเวลาการเล้ียงจนกว่าจะเก็บผลผลิตปลานิลทั้งหมด

3.2.3 การเลี้ยงปลานิลร่วมกับกุ้งก้ามกราม ลักษณะเช่นเดียวกันกับการเลี้ยง
ร่วมกับกุ้งขาว คือ เลี้ยงปลานิลแปลงเพศเป็นหลัก และกุ้งก้ามกรามเป็นผลผลิต
เสริม มีการให้อาหารเฉพาะปลานิล กุ้งก้ามกรามจะกินอาหารเหลือจากปลานิลและ
อาหารธรรมชาติท่ีเกิดข้ึน ส่วนมากจะเก็บผลผลิตกุ้งก้ามกรามและกุ้งขาวพร้อมกัน

3.2.4 การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศในกระชังร่วมกับการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม และ
กุ้งขาวแวนนา ไมในบ่อดิน การเลี้ยงในรูปแบบนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม
ในเขตภาคกลางเป็นผู้คิดค้นวิธีการ โดยการเลี้ยงปลานิลแปลงเพศในกระชังขนาด
7×15×1.8 ลูกบาศก์เมตร แขวนลอยในบ่อดินจานวนไร่ละ 1 –2 กระชัง ปล่อยปลานิล
ขนาดน้าหนัก 5 – 6 ตัว/กิโลกรัม ในอัตรา 1,000 – 1,200 ตัว/กระชัง ให้อาหาร
เม็ดสาเร็จรูปในอัตรา 1.5 - 3 เปอร์เซ็นต์/วัน วันละ 3 เวลา ระยะเวลาเลี้ยง 80 -
100 วัน จะได้ปลานิลขนาด 1.0 - 1.2 กิโลกรัม/ตัว ผลผลิต 1,000 - 2,000
กิโลกรัม/ไร่ มีอัตรารอดมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ในส่วนการเลี้ยงกุ้งก้ามกรามกับ
กุ้งขาว ปล่อยกุ้งก้ามกรามที่อนุบาลมาแล้วจนได้ขนาด 200 - 300 ตัว/กิโลกรัม
ลงในบ่อในอัตรา 5,000 - 7,000 ตัว/ไร่ และปล่อยลูกกุ้งขาวแวนนาไมขนาด
P/12 - P/15 อัตรา 30,000 - 50,000 ตัว/ไร่ โดยการให้อาหารกุ้ง และอาหารปลา
แยกกัน เมื่อเลี้ยงกุ้งขาวได้ประมาณ 60 วัน จะเริ่มทยอยดักกุ้งขาวออกจาหน่าย
โดยใช้ลอยนอนแบบพับได้ (ไอ้โง่) และดักทุก ๆ 7 - 10 วัน จนกว่าปลานิลที่เลี้ยง-

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 55 - ต อ น ที่ 3 ก า ร เ ล้ี ย ง ป ล า นิ ล

ในกระชังจะได้ขนาดตลาดจึงจับปลานิลในกระชังออกจาหน่ายจนหมด แล้วสูบน้าจับ
กุ้งก้ามกรามและกุ้งขาวแวนนา ไม มีผลผลิตกุ้งก้ามกราม ขนาด 10 - 30 ตัว /
กิโลกรัม 250 - 350 กิโลกรัม/ไร่ และกุ้งขาวแวนนาไม ขนาด 40 - 80 ตัว/
กิโลกรัม จานวน 400 - 600 กิโลกรัม/ไร่ ในระยะเวลาเลี้ยงต่อรอบการผลิต
100 - 120 วัน (ภาพที่ 23)

ภาพที่ 23 การเล้ียงปลานิลแปลงเพศในกระชงั รว่ มกับกุ้งขาว
และกุ้งก้ามกราม ที่ฟารม์ พยงุ จังหวดั ราชบุรี

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 56 - ต อ น ที่ 3 ก า ร เ ล้ี ย ง ป ล า นิ ล

ตอนที่
4

อ า ห า ร แ ล ะ ก า ร ใ ห้ อ า ห า ร

เร่อื งที่ 1

การเลี้ยงโดยใช้
อาหารสาเร็ จรู ป

การเลี้ยงแ บบห นาแน่นในกระชังในแห ล่งน้า หรือในกระชังในบ่อดิน ห รือ
เลี้ยงแบบหนาแน่นในบ่อดิน นิยมใช้อาหารเม็ดสาเร็จรูปเป็นหลัก โดยปลาอายุ 1 -
2 เดือน (ขนาด 35 - 100 กรัม) ใช้อาหารระดับโปรตีนประมาณ 32 - 35
เปอร์เซ็นต์ ปลานิลขนาดกลางอายุ 2 - 3 เดือน (ขนาด 100 – 300 กรัม)
ใช้อาหารระดับโปรตีนประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ ปลานิลขนาดใหญ่อายุ 3 - 5
เดือน ( ขนาด 300 กรัม - ตลาด) ใช้อาหารระดับโปรตีนประมาณ 2 5
เปอร์เซ็นต์ เวลาในการให้อาหาร ให้ 2 เวลา ช่วงเช้า บ่าย ในปลาขนาดเล็กอาจ
เพิ่มเป็น 3 ช่วงเวลา โดยให้อาหารปริมาณตามที่ปลากินพอดีอิ่ม วิธีนี้จะใช้การ
สังเกตอาการกินอาหารของปลา ปกติแล้วปลาจะกินอาหารอิ่มและหมดในเวลา
ประมาณ 10 - 15 นาทีหลังจากนั้นปลาจะกินน้อยลงและไม่กินในที่สุด นอกจากนี้
เกษ ตร กร บา งร าย มีก าร ใช้เค รื่อง ให้อา หา รอัตโน มัติ ( ภา พที่ 24 ) หรือมีกา ร
ปร ะยุก ต์กา ร ใ ห้อ าห า ร อัต โนมัติแ บบง่า ย ( ภา พ ที่ 2 5) เ พื่อ ลด ต้น ทุน ใน ก า ร ใ ช้
แรงงาน โดยมีข้อพิจารณาในการใช้อาหารสาเร็จรูป ดังน้ี

(ก) เลือกใช้อาหารสาเร็จรูป ที่มีเลขทะเบียนปัจจัยการผลิตที่ได้รับอนุญาตให้
ขึ้น ท ะ เ บีย น แ ล้ว จ า ก ก ร ม ป ร ะ ม ง ห รือ ก ร ม ป ศุสัต ว์ เ พื่อ ใ ห้มั่น ใ จ ว่า มีคุณ ภ า พ
ปลอดภัยต่อสัตว์น้า ไม่มีการปนเป้ ือนของยาสัตว์และสารเคมีต้องห้าม

(ข) เลือกใช้อาหารที่ยังไม่หมดอายุ โดยดูวันที่ผลิตและวันล่วงอายุที่ปรากฏ
บนฉลาก เนื่องจากอาหารที่หมดอายุอาจมีการเสื่อมคุณค่าทางโภชนาการ รวมถึง
อาจมีเช้ือรา หรือเชื้อโรค หรือมีความช้ืนและการคงสภาพในน้าต่า

(ค) ตรวจดูภาชนะบรรจุต้องไม่ให้อยู่ในสภาพชารุด เป่ื อยยุ่ย ฉีกขาด ทะลุ
หรือดูว่ามีการปิดภาชนะอย่างเหมาะสม และควรตรวจสอบสภาพก่อนที่จะนาไปใช้
เลี้ยงสัตว์น้า โดยอาหารต้อง ไม่มีกล่ินเหม็นหืน ไม่มีสีผิดปกติไปจากเดิม

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 58 - ต อ น ที่ 4 อ า ห า ร แ ล ะ ก า ร ใ ห้ อ า ห า ร

(ง) โรงเรือนหรือสถานท่ีสาหรับเก็บอาหาร ควรแยกเป็นสัดส่วนโดยสามารถ
ปอ้ งกันความร้อน ความชื้น แสงแดด ฝน ควรมีอากาศถ่ายเทสะดวกเพื่อไม่ให้อับชื้น
เพ่ื อไม่ให้อาหารเส่ือมสภาพ อาหารเม็ดสาเร็จรูป ควรจัดวางถุงบรรจุอาหาร
บนแผ่นรองพื้นสูงอย่างน้อยประมาณ 10 เซนติเมตร เพื่อไม่ให้ถุงบรรจุอาหาร
สัมผัสกับพื้น และห่างจากผนัง เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพจากความชื้นและการ
เกิด เ ชื้อ ร า อ า ห า รผ ส ม ล่ว ง ห น้า ค ว ร เก็บ ไ ว้ใ น ตู้แ ช่ห รือ ตู้เ ย็น ต ล อ ด จ น มีก า ร
ป้องกันสัตว์เลี้ยงและสัตว์พาหะนาโรค เข้ามาในบริเวณเก็บอาหาร

ภาพท่ี 24 เครื่องใหอ้ าหารอัตโนมตั ิ
ในการเลยี้ งปลานลิ

ภาพที่ 25 การประยุกตก์ ารใหอ้ าหารแบบง่ายของ
ชมรมผูเ้ พาะเล้ียงสตั ว์น้าบางหัก
อาเภอพานทอง จังหวัดชลบรุ ี

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 59 - ต อ น ท่ี 4 อ า ห า ร แ ล ะ ก า ร ใ ห้ อ า ห า ร

เร่อื งท่ี 2

การสร้างอาหาร
ธรรมชาติ

อาหารธรรมชาติ เป็นอาหารที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติในบ่อดินหรือเกิดจาก
การเติมวัสดุต่าง ๆ ได้แก่ แพลงก์ตอนสัตว์ แพลงก์ตอนพืช พืชและสัตว์น้าขนาด
เล็ก การที่จะทาให้มีอาหารธรรมชาติอยู่ในบ่ออย่างอุดมสมบูรณ์ สามารถสร้างได้
โดยทยอยใส่มูลสัตว์แห้ง 100 - 300 กิโลกรัม/ไร่/เดือน หรือการการทาฟางหมัก
หรือหญ้าแห้งสลับกันเป็นชั้นๆ ลงในคอกโดยใช้ฟางประมาณ 100 กิโลกรัมต่อ
มูลสัตว์แห้ง 50 - 100 กิโลกรัม ต่อไร่ต่อเดือน เพ่ือให้เน่าเป่ ือยสลายเกิดอาหาร
ธรรมชาติ ทั้งนี้ปริมาณการใช้ขึ้นอยู่กับสภาพของบ่อ โดยน้าในบ่อสีต้องไม่เข้ม
เกินไปตรวจสอบโดยการยื่นแขนลงในน้า ระดับข้อศอก หงายฝา่ มือขึ้น ถ้าเห็นฝา่
มือลาง ๆ แสดงว่าสีของน้ามีความเหมาะสม ถ้าน้าใสเกินไปให้เพิ่มปุ๋ย กรณีที่น้ามี
สีเขียวเข้มเกินไปให้หยุดใส่ปุ๋ย หรือถ้าปลาลอยหัวให้ถ่ายน้า ข้อควรระวัง มูลสัตว์
แห้ง ควรทยอย ใส่แบ่งเป็นทุก 5 วัน หรือทุกสัปดาห์ โดยดูสีน้าประกอบ (ภาพที่ 26)

ภาพที่ 26 การทาฟางหมักเพื่อสรา้ งอาหารธรรมชาติในบ่อปลา

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 60 - ต อ น ที่ 4 อ า ห า ร แ ล ะ ก า ร ใ ห้ อ า ห า ร

เร่อื งที่ 3

อาหารสมทบอ่ืน ๆ

อาห ารสมทบเป็นอาห ารที่ช่ว ยเสริมนอกจากอาห ารธรรมช าติ อาห ารเม็ด
สาเร็จรูป เพื่อลดต้นทุนในการผลิต เช่น ราละเอียด ปลายข้าว กากถั่วเหลือง
กากถ่ัวลิสง เศษผัก แหนเป็ด ไข่น้า (ผา) หญ้าขน หญ้าเนเปียร์ เป็นต้น (ภาพท่ี 27)

ข้อควรระวัง การให้อาหารแต่ละครั้งไม่ควรให้มากเกินไป ควรให้เพียงพอต่อ
ความต้องการของปลาเท่าน้ัน โดยการสังเกตการกินอาหารของปลา การให้อาหาร
มากเกินไปจะทาให้สิ้นเปลือง คุณภาพน้าไม่เหมาะสมจนเกิดอันตรายต่อปลาได้
นอกจากนี้ปลาจะกินอาหารน้อยลง เมื่อออกซิเจนต่า อุณหภูมิต่าหรือสูงเกินไป
โ ด ย ต้อ ง ห มั่น สัง เ ก ต พ ฤ ติก ร ร ม ก า ร กิน อ า ห า ร ห า ก มีป ล า ป ว่ ย ห รือ เ ค รีย ด จ า ก
สภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงควรลดอาหารลง หรืองดให้อาหารจนกว่าปลา
อยู่ในสภาพปกติ

ภาพท่ี 27 อาหารผสมทีผ่ ลิตเองดว้ ยเครื่องทาอาหาร

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 61 - ต อ น ที่ 4 อ า ห า ร แ ล ะ ก า ร ใ ห้ อ า ห า ร

ตอนท่ี

5

โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป ้อ ง กั น
รั ก ษ า

ในช่วงเวลากว่า 10 ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงปลานิลของโลก
ได้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันเป็นผลมาจากที่ปลานิลเป็นปลาที่มีความ
ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ต ล า ด ทั้ ง ภ า ย ใ น แ ล ะ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ แ น ว โ น้ ม ข อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ยั ง เ พิ่ ม
สูงขึ้นตามของจานวนประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นเกษตรกรทั่วโลกส่วนใหญ่จึง
เร่งเพิ่มกาลังการผลิตต่อหน่วยพื้นที่ให้สูงขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงระบบการเลี้ยง
เป็นระบบหนาแน่น คือ มีการปล่อยปลาในอัตราที่หนาแน่นสูง ทั้งการเลี้ยงในบ่อ
ดินและการเลี้ยงในกระชัง และมีการให้อาหารที่มากไปทั้งปริมาณและคุณภาพ
นอกจากนี้ผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศตามธรรมชาติที่เริ่มจะรุนแรงมาก
ขึ้น มีส่วนส่งเสริมทาให้คุณภาพน้าทั้งเคมี ชีวภาพและกายภาพ เปลี่ยนแปลงใน
ช่วงกว้างและบ่อยครั้ง จึงเป็นสาเหตุที่ทาให้สิ่งแวดล้อมในบ่อเลี้ยงและสภาพการ
เลี้ยงไม่เหมาะสมต่อการอยู่อาศัย ทาให้ปลาเกิดความเครียดและอ่อนแอ จึงส่งผล
ทาให้เกิดโรคได้ง่ายข้ึนตามไปด้วย โดยโรคท่ีสาคัญได้แก่

เร่อื งที่ 1

โรคท่ีมีสาเหตุมาจาก
ปรสิตภายนอก

ปรสิตภายนอกที่ทาอันตรายต่อปลานิลมีหลายชนิด โดยปรสิตจะเข้าเกาะใน
บริเวณเหงือก ผิวหนังและครีบ ทาให้ปลาเกิดความระคายเคืองเกิดบาดแผล ส่วน
พวกที่เกาะบริเวณเหงือกจะทาให้มีผลต่อระบบการแลกเปลี่ยนก๊าซ ทาให้ปลาเกิด
ปัญหาขาดออกซิเจนได้ โดยมีชนิดของปรสิตภายนอก ดังน้ีคือ

1.1 โปรโตซัว (Protozoa) แต่ชนิดที่พบบ่อยครั้ง คือ Trichodina

1 . 1 . 1 ส า เ ห ตุ ป ร สิต ใ น ก ลุ่ม นี้จ ะ และ Epistylis (ภาพท่ี 28) ท่ีเป็นสาเหตุ

สร้างความเสียหายในลูกปลามากกว่า ข อ ง ก า ร เ กิด โ ร ค ใ น ป ล า นิล ม า ก ที่สุด

ปลาขนาดใหญ่ ชนิดของโปรโตซัวที่พบ โ ด ย จ ะ อ า ศัย พื้น ที่ผิว น อ ก ตัว ป ล า เ ป็น

บ่อย ไดแ้ ก่ โปรโตซัวในสกุล Trichodina, แ ห ล่ง ยึด เ ก า ะ ใ น ก า ร ดา ร ง ชีวิต แ ล ะ ห า

Ichthyophthirius, Epistylis, ... อาหาร

Scyphidia, Apiosoma และ .....

Ichtyobodo เป็นต้น

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 63 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

A1 A2
B1 B2

ภาพที่ 28 ปรสติ ภายนอกในกลุ่มโปรโตซวั ชนดิ Trichodina (เหบ็ ระฆัง)
(A1 และ A2) หรอื Epistylis (B1 และ B2) ที่เป็นสาเหตุหลักของการเกิด

โรคทเี่ กดิ จากปรสิตภายนอกในปลานลิ

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 64 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

1.1.2 อาการ โดยโปรโตซัวกลุ่มนี้

ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ค ว า ม รา ค า ญ ใ ห้ ป ล า นิ ล ไ ด้ A
ใ น ทุก ข น า ด เ นื่อ ง จ า ก เ กิด ก า ร ก ร่อ น

ข อ ง ผ ิว ห น ัง ห ร ือ เ นื ้อ เ ยื ่อ ที ่ป ก ค ล ุม

ร่างกาย ซึ่งจะพบได้ในบริเวณที่ปรสิต

เ ห ล่า นี้ยึด เ ก า ะ ป ล า จึง แ ส ด ง อ า ก า ร

ระคายเคืองว่ายน้าโดยถูลาตัวกับข้างบ่อ

หรือวัตถุในน้า ทาให้ผิวหนังเป็นแผลและ A
ถ ล อ ก ส่ง ผ ล ใ ห้เ ชื้อ โ ร ค ช นิด อื่น เ ช่น

เ ชื ้อ แ บ ค ท ีเ ร ีย เ ข ้า สู ่ร ่า ง ก า ย ไ ด ้ง ่า ย

ค ว า ม เ สี ย ห า ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ ะ พ บ ม า ก ใ น ป ล า

ขนาดเล็ก เนื่องจากเมื่อโปรโตโซเหล่านี้

เ ข้า ยึด เ ก า ะ ต า ม พื้น ที่ผิว โ ด ย เ ฉ พ า ะ

ผิวหนังครีบและเหงือกของปลา จะทาให้ B
ปลามีบาดแผลตกเลือดและเกล็ดหลุดร่วง

ถ้า มีป ริม า ณ ม า ก ๆ ที่เ ห งือ ก จ ะ ทา ใ ห้

เ นื้อ เ ยื่อ เ ห งือ ก ต า ย แ ล ะ ขัด ข ว า ง ก า ร

แลกเปลี่ยนแร่ธาตุในน้าและก๊าซต่าง ๆ

ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ห า ย ใ จ มีป ร ะ สิท ธิภ า พ

ลดลง ทาให้ปลาขนาดเล็กเครียดง่าย

กินอาหารลดลง อัตราการเจริญเติบโต ภาพท่ี 29 อาการของปลานิลวัยอ่อนที่ติดเชื้อ
ต่า แ ล ะ เ มื่อ ติด เ ชื้อ เ ห ล่า นี้น า น ๆ เ ข้า ปรสติ ภายนอก โปรโตซัวชนดิ Trichodina (เห็บ
ปลาจะเร่ิมผอม หัวโต ตัวลีบ มีสีดาคล้า ระฆัง) (A) หรอื Epistylis (B) ที่เป็นสาเหตุหลัก
ว่า ย น้า เ อื่อ ย ๆ ที่ผิว น้า แ ล ะ เ ริ่ม ท ย อ ย ของการเกิดโรคท่ีเกิดจากปรสิตภายนอกในปลานลิ

ต า ย เ ป็น ร ะ ย ะ ๆ ถ้า มีก า ร ร ะ บ า ด ใ น อย่างไรก็ตามเมื่อมีการแพร่ระบาดของ

อัต รา ที่สูง จ ะ ทา ใ ห้อัตร า กา รต า ยข ยับ ปรสิตกลุ่มนี้มาก ๆ มักจะทาให้ปลาเกิด

เ พิ่ม สูง ขึ้น อ ย่า ง ต่อ เ นื่อ ง ถ้า เ ป็น ป ล า บาดแผล และทาให้เชื้อโรคช นิดต่าง ๆ

ขนาดใหญ่ส่วนใหญ่จะทาให้ปลาระคาย เ ช่น แ บ ค ทีเ รีย ห รือ เ ชื้อ ร า เ ข้า เ ก า ะ ตัว

เคืองว่ายน้าผิดปกติ เอาตัวไปถูกับวัสดุ ปลา และเป็นสาเหตุของการเกิดการติด

ที่แข็ง อัตราการตายจะน้อยมาก เชื้อชนิดอ่ืนตามมาได้ (ภาพที่ 29)

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 65 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

1.1.3 สาเหตุโน้มนา สาเหตุโน้มนา หรือใช้เกลือแกงในอัตรา 0.01% (0.1

ที่สาคัญของการเกิดโรคปรสิตเหล่านี้ใน กิโลกรัมต่อน้า 1 ลูกบาศก์เมตร ) และ

ปลา คือ ปริมาณสารอินทรีย์ในน้าและ ให้อากาศอย่างเต็มที่และต้องระวังอย่า

ก า ร เ ลี้ย ง ป ล า ใ น อัต ร า ที่ห น า แ น่น สูง ให้มวลน้าเกิดการเคลื่อนที่อย่างรุนแรง

โดยปริมาณส ารอินทรีย์ที่เพิ่มสูงขึ้นจ ะ ซึ่งจะทาให้ปลามีอัตราการเกิดโรคท่ีเร็วข้ึน

เ ป ็น แ ห ล ่ง อ า ห า ร ทั ้ง ท า ง ต ร ง แ ล ะ การรักษา สาหรับการรักษาโรคที่

ท า ง อ้อ ม ใ ห้โ ป ร โ ต ซัว เ ห ล่า นี้ใ ช้ใ น ก า ร เกิดจากโปรโตซัวเหล่านี้ที่ดีที่สุด เมื่อนา

เจริญเติบโตและเพิ่มจานวน และยังเพิ่ม ปลาพักในบ่อพักควรให้เกลือแกงในอัตรา

ปริมาณแบคทีเรียในน้าซึ่งจะเป็นอาหาร 0.01% (0.1 กิโลกรัมต่อน้า 1 ลูกบาศก์

ที่สาคัญข อง โป รโ ตซัว ก ลุ่ม นี้ไ ด้เ ช่น กัน เมตร) เพื่อปอ้ งกันการเกิดความเครียด

ดัง นั้น ห า ก มีก า ร เ ลี้ย ง ป ล า ใ น อัต ร า ท่ี เมื่อสังเกตเห็นปลาที่แสดงอาการของโรค

หนาแน่นสูงและมีการให้อาหารที่มากไป ให้พยายามนาปลาที่แสดงอาการออกจาก

ทั้งปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนการ ระบบการเลี้ยงมากที่สุด และใช้ฟอร์มาลิน

จัด ก า ร คุณ ภ า พ น้า ที่ไ ม่มีป ร ะ สิท ธิภ า พ 2 5 ส่ว นใ นล้า นส่ว น ( 2 5 ซีซีต่อ น้า 1

จ ะ ส่ง ผ ล ทา ใ ห้อัต ร า ก า ร เ กิด โ ร ค แ ล ะ ลูกบาศก์เมตร) ทุก ๆ วัน ร่วมกับการ

ค ว า ม รุน แ ร ง ข อ ง โ ร ค เ พิ่ม สูง ขึ้น อ ย่า ง ถ่า ย น้ า ทุก ๆ วัน วัน ล ะ 2 0 - 5 0 %

รวดเร็ว จนกว่าอัตราการตายจะลดลง ระหว่าง

1.1.4 การป้องกันและรักษา การให้ฟอร์มาลิน ต้องมีการให้อากาศ

ก า ร ป้อ ง กัน สาห รับก า ร ป้อ งกัน อย่างเต็มที่และหลีกเลี่ยงการให้มวลน้า

โร ค ที่เ กิดจ า กโ ป ร โต ซัว เ ห ล่า นี้ที่ดีที่สุด เคลื่อนที่รุนแรงมากจนเกินไป จะทาให้

ค ือ ก า ร ค ว บ ค ุม ค ุณ ภ า พ น้ า แ ล ะ ประสิทธิภาพในการรักษาดีขึ้น

สารอินทรีย์ภายในบ่อเลี้ยง โดยเฉพาะ 1.2 ปลิงใส (Monogenea)

ใ น ป ล า ข น า ด เ ล ็ก ที ่น า ม า เ ลี ้ย ง ใ น บ ่อ 1.2.1 สาเหตุ ปลงิ ใสเป็นปรสิตภายนอก

ซีเ ม น ต์ก่อ น ก า ร ลา เ ลีย ง ข น ส่ง ห า ก มี ที ่จ ัด อ ยู ่ใ น ก ลุ ่ม ห น อ น ต ัว แ บ น ช น ิด ที่

ค ว า ม จา เ ป็น ต้อ ง พัก ป ล า ไ ว้ใ น อัต ร า ท่ี ก่อให้เกิดโรคในปลานิลที่พบได้บ่อยครั้ง

หนาแน่นสูง ต้องควบคุมคุณภาพน้าและ ที่สุด ไ ด ้แ ก ่ ส ก ุล Gyrodactylus แ ล ะ

ปริมาณสารอินทรีย์ในน้าให้อยู่ในระดับท่ี Dactylogyrus (ภาพที่ 30) ปรสิตกลุ่ม

เหมาะสม และควรแช่ลูกปลาด้วยสารเคมี นี้จะมีตั้งแต่ขนาดเล็กที่มองด้วยตาเปล่าไม่

บางชนิด เช่น ฟอร์มาลิน 25 ส่วนในล้านส่วน เห็น จนถึงขนาดใหญ่มากกว่า 3 มิลลิเมตร

(25 ซซี ตี อ่ น้า 1 ลกู บาศก์เมตร) โดยอวัยวะที่พบปรสิตกลุ่มน้ีมากที่สุดคือ

เหงือก เน่ืองจากเป็นบริเวณที่เหมาะสม

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 66 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

แ ล ะ เ ป็น แ ห ล ่ง แ ล ก เ ป ลี ่ย น ข อ ง ก ๊า ซ 1.2.2 อาการ โรคท่ีเกดิ จากปลงิ ใสนัน้

ออกซิเจนของปลา ซึ่งมีความสาคัญใน สามารถเกิดขึ้นได้กับทั้งปลาขนาดเล็ก

การดารงชีพของปรสิตเช่นกนั (Lindenstrøm แล ะ ป ล า ข น า ด ใ ห ญ่ อ า ก า ร ที่เ กิด ขึ้น จ ะ

et al., 2004) จากน้ันจึงดูดกินเย่ือเมือก เ ห ม ือ น ก ับ ก า ร เ ก ิด ป ร ส ิต ภ า ย น อ ก

และของเหลวจากเซลล์ในตัวปลา ทาให้ โดยทวั่ ไปคอื จะทาใหป้ ลามบี าดแผล ตกเลือด

เ กิด อัน ต ร า ย ต่อ เ นื้อ เ ยื่อ บ ริเ ว ณ ที่เ ก า ะ และเกล็ดหลุดร่ว ง ปลามีการ ขับเ มือ ก

ส่งผลต่อเนื่องให้จุลินทรีย์อื่น ๆ สามารถ ออกมาเป็นปริมาณมากบริเวณที่ปลิงใส

เ ข ้า ไ ป ใ น ร ่า ง ก า ย ท า ง บ ร ิเ ว ณ ที ่เ ก ิด เข้าเกาะ เนื่องจากปลิงใสจะเกาะและกัด

บาดแผลได้เช่นกัน กิ น เ นื้ อ เ ยื่ อ ห รื อ เ ยื่ อ เ มื อ ก บ ริ เ ว ณ ผิ ว ห นั ง

ของปลา ถ้ามีปริมาณมาก ๆ ที่เหงือก

จ ะ ขั ด ข ว า ง ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น แ ร่ ธ า ตุ ใ น น้ า

A และก๊าซต่าง ๆ ส่งผลทาให้กระบวนการ

ห า ย ใ จ มีป ร ะ สิท ธิภ า พ ล ด ล ง ป ล า จ ะ มี

ก า ร ห า ย ใ จ ห รื อ ก ร ะ ดู ก ปิ ด เ ห งื อ ก เ ปิ ด ปิ ด

เร็วกว่าปกติ ทาให้ปลาขนาดเล็กเครียดง่าย

กินอาหารลดลง อัตราการเจริญเติบโตต่า

และเมื่อติดเชื้อเหล่านี้นาน ๆ เข้า ระยะ

การติดเชื้อช่วงท้าย ๆ ปลาจะเริ่มผอม

B หัวโต ตัวลีบ มีสีดาคล้า ว่ายน้าเอื่อย ๆ
ที่ผิว น้า แ ล ะ เ ริ่ม ท ย อ ย ต า ย เ ป็น ร ะ ย ะ ๆ

ถ้า มีก า ร ร ะ บ า ด ใ น อัต ร า ที่สูง จ ะ ทา ใ ห้

อ ัต ร า ก า ร ต า ย ข ย ับ เ พิ ่ม ส ูง ขึ ้น อ ย ่า ง

ต่อ เ นื่อ ง ถ้า เ ป็น ป ล า ข น า ด ใ ห ญ่ส่ว น

ใ ห ญ่จ ะ ทา ใ ห้ป ล า ร ะ ค า ย เ คือ ง ว่า ย น้ า

ผิดปกติ เอาตัวไปถูกับวัสดุที่แข็ง อัตรา

ภาพที่ 30 ปลงิ ใสในสกุล Gyrodactylus (A) การตายจะน้อยมาก อย่างไรก็ตามเมื่อมี
และ Dactylogyrus (B) ทเ่ี ป็นสาเหตหุ ลักของ การแพร่ระบาดของปรสิตกลุ่มนี้มาก ๆ
การเกิดโรคทีเ่ กิดจากปรสติ ภายนอกในปลานิล มักจ ะทา ให้ปลา เกิด บาด แผ ล แ ละทาใ ห้

เชื้อโรคชนิดต่าง ๆ เช่น แบคทีเรียหรือ

เชื้อราเข้าเกาะตัวปลา และเป็นสาเหตุของ

การเกิดการติดเช้ือชนิดอื่นตามมาได้

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 67 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

1.2.3 สาเหตุโน้มนา สาเหตุโน้มนา ก า ร ร ัก ษ า ก า ร ร ัก ษ า โ ร ค ที ่มี

ที่สาคัญของการเกิดโรคที่เกิดจากปลิงใส สาเหตุมาจากปลิงใสนั้น ก็สามารถทาได้

คือ ป ริม า ณ ส า ร อิน ท รีย์ใ น น้า แ ล ะ ก า ร เช่นเดียวกับการรักษาโรคที่เกิดจากโปร

เ ลี้ย ง ป ล า ใ น อัต ร า ที่ห น า แ น่น สูง โ ด ย โตซัว แต่จะสามารถใช้ยาฆ่าแมลงกลุ่ม

ป ัจ จัย ทั้ง 2 นั้น จ ะ ทา ใ ห้ป ลิง ใ ส เ พิ่ม ออร์แกนโนฟอสเฟสขนิด Dipterex ใน

จานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้น หากมี อัตรา 0.25 - 0.5 สว่ นในลา้ นสว่ น (0.25 –

การเลี้ยงปลาในอัตราที่หนาแน่นสูงและ 0.5 กรมั น้า 1 ลกู บาศก์เมตร) แชไ่ ด้ตลอด

มีการให้อาหารที่มากไปทั้งปริมาณและ ซึ่งการรักษาจะได้ผลในปลาที่เลี้ยงหรือ

คุณภาพ ตลอดจนการจัดการคุณภาพ พัก ใ น บ่อ ซีเ ม น ต์ข น า ด ไ ม่ใ ห ญ่ม า ก นัก

น้า ที่ไ ม่มีป ร ะ สิท ธิภ า พ จ ะ ส่ง ผ ล ทา ใ ห้ ส่ว น ป ล า ที่เ ลี้ย ง ใ น บ่อ ดิน ห รือ ก ร ะ ชัง

อัตราการเกิดโรคและความรุนแรงของ โดยทั่วไปทาได้ค่อนข้างยาก

โรคเพ่ิมสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับ

การเกิดโรคปรสิตภายนอกชนิดอ่ืน ๆ

1.2.4 การป้องกันและรักษา

การป้องกัน การป้องกันการเกิด

โ ร ค ที ่ม ีส า เ ห ต ุม า จ า ก ป ล ิง ใ ส นั ้น

ส า ม า ร ถ ทา ไ ด้เ ช่น เ ดีย ว กับ ก า ร ป ้อ ง กัน

การเกิดโรคจากโปรโต ซัว คือ การ

ค ว บ คุม ค ว า ม ห น า แ น่น แ ล ะ ป ริม า ณ

สารอินทรีย์ในน้า รวมทั้งต้องระวังการ

นา ป ล า ก ลุ่ม ใ ห ม่เ ข้า ม า ร ว ม กัน กับ ป ล า

กลุ่มเดิม หากจาเป็นต้องทา ควรมีการ

กักบริเวณในบ่อที่แยกออกจากปลากลุ่ม

เดิมเ พื่อ ดูแ ละ สัง เ กต อา กา รอ ย่า งน้อ ย

7 วัน เมื่อปลากลุ่มใหม่ผ่านการกักกัน

โรคแล้วจึงสามารถรวมปลาทั้ง 2 กลุ่ม

เข้าด้วยกันได้

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 68 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

เร่อื งที่ 2

โรคท่ีมีสาเหตุมาจาก
แบคทีเรยี

โรคแบคทีเรียจัดเป็น โรคที่สร้างความเสียหายมากที่สุด สาหรับอุตสาหกรรม
การเพาะเลี้ยงปลานิล เนื่องจากสามารถเกิดขึ้นได้ในทุกระยะหรือทุกขนาด และทา
ให้เกิดการตายและความเสียหายอย่างรุนแรงมากกว่าปรสิตภายนอก โรคชนิดที่
สาคัญท่ีมีสาเหตุมาจากแบคทีเรียในปลานิล ได้แก่

2.1 โรคตัวด่าง (Columnaris) ภาพที่ 31 ลักษณะสณั ฐานของเซลลแ์ บคทีเรยี
Flavobacterium columnare
2.1.1 สาเหตุ โรคตัวด่างในปลานิล
นั้นเกิดจากแบคทีเรีย Flavobacterium ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคตัวดา่ งในปลานิล
columnare (ช่ือเดิม Flexibacter
columnaris) พบในปลานิลที่เลี้ยงน้าจืด
ส่ ว น ป ล า นิ ล ที่ เ ลี้ ย ง น้ า ก ร่ อ ย จ ะ เ ป็ น ช นิ ด
F. maritimus โดย F. columnare..
นั้น จะสามารถกอ่ ใหเ้ กิดโรคไดใ้ นสัตว์น้าจืด
เ กือ บ ทุก ช นิด แ บ ค ทีเ รีย ใ น ก ลุ่ม นี้จ ะ มี
ลักษณะเป็นแบคทีเรียแกรมลบ ท่อนยาว
(Long rod) ยอ้ มตดิ สแี ดงของ Safranin O
(ภ า พ ที่ 3 1 ) เ ชื ้อ โ ร ค ใ น ก ลุ่ม นี ้มัก จ ะ
ก่อใ ห้เ กิด ก า รติดเ ชื้อ ภา ย น อก บริเ ว ณ
ผิวหนังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายก่อน
แ ล ะ จ ะ ส า ม า ร ถ พั ฒ น า ทา ใ ห้เ กิด ก า ร ติด
เชื้อภายในระบบต่าง ๆ ของร่างกายได้
ในภายหลัง

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 69 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

2.1.2 อาการ การเกิดโรคชนิดน้ี อัต ร า ก า ร ต า ย จ ะสูงมา ก ใ นปล า ข นา ด

ส่วนใหญ่จะสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งในปลา เล็กจะพบการเกิดครีบกร่อน โดยเฉพาะ

ข น า ด เ ล็ก แ ล ะ ป ล า ข น า ด ใ ห ญ่ ป ล า ท่ี ครีบ ห า งข า ด ลึกเ ข้า ไ ปถึง ลา ตัว ป ล า ที่

พบว่ามีอาการของโรคตัวด่างมักตายใน เกิดโรคตัวด่าง ระยะแรกรอยด่างจะเป็น

เวลาอันรวดเร็ว ถ้าไม่รีบทาการรักษาให้ สีข า ว แ ล ะ เ มื่อ น า น เ ข้า จ ะ เ ป ลี่ย น เ ป็น สี

ทันท่วงที อัตราการตายอาจสูงถึง 80 เหลืองจนถึงน้าตาลในระยะการติดเชื้อ

- 100 เปอร์เซ็นต์ ภายในเวลา 24 - ใ น ช่ว ง ท้า ย ๆ ซึ่ง ห า ก ป ล า มีสุข ภ า พ

4 8 ชั่ว โ ม ง โ ด ย เ ฉ พ า ะ ป ล า ข น า ด เ ล็ก กลับมาแข็งแรงรอยด่างที่เกิดขึ้นจะมีสี

ตั้งแต่ปลาใบมะขามจนถึงปลานิ้ว ที่มัก น้าตาลและมีตะกอนดินมาเกาะ (ภาพท่ี

เกิดขึ้นภายหลังจากการเคลื่อนย้ายหรือ 3 4 ) แ ล ะ จ ะ ก ล า ย เ ป็น ร อ ย แ ผ ล เ ป็น ใ น

การขนส่ง เช่น เดียวกับปลาขนาดใหญ่ ท่ีสุด

ซึ่ง จ ะ แ ส ด ง อ า ก า ร ภ า ย ใ น 1 สัป ด า ห์ อ า ก า ร ภา ย ใ น เ มื่อทาการผ่าช่อ ง

หลังจ า กก า รข น ส่ง แล ะ ยัง พ บว่า ปล า ที่ ท้อ ง ข อ ง ป ล า ที่ป ว่ ย ด้ว ย โ ร ค ตัว ด่า ง จ ะ

เลี้ยงในกระชังที่ได้รับผลกระทบมาจาก พบว่า ตับมีสีซีด ถุงน้าดีและม้ามบวมโต

ส ภ า พ น้ า ห ล า ก ก ็ส า ม า ร ถ เ ก ิด ก า ร อย่างชัดเจน (ภาพท่ี 35)

ร ะ บ า ด ข อ ง โ ร ค ช น ิด นี ้อ ย ่า ง ร ุน แ ร ง

เช่นเดียวกัน โดยปลาที่ที่ปว่ ยมักแสดง

อาการท่ีสาคัญ คือ

อาการภายนอก ปลาท่ีติดเช้ือจะว่าย

น้าเช่ืองช้าหรือว่ายลอยเอื่อย ๆ ที่บริเวณ

ผิวน้า เมื่อสังเกตลักษณะภายนอกจะเห็น

รอยด่างเป็นป้ ืนขาว บริเวณผิวหนังตาม

ลาตัว ครีบ โดยเฉพาะครีบหาง บางคร้ังมี

เกล็ดหลุดร่วง หากปลามีความแข็งแรง

เชื้อโรคจะพยายามทาลายเนื้อเย่ือบริเวณผิว

และพยายามทาลายลึกลงไปถึงกล้ามเน้ือ

จนทาให้เกิดแผลหลุมลึก (ภาพที่ 32) เมื่อ

ปลาติดเชอ้ื กรณที ่รี ุนแรงจะพบรอยด่างหรือ

เ น้ื อ เ ย่ื อ ต า ย ท่ี บ ริ เ ว ณ เ ห งื อ ก แ ล ะ เ น้ื อ เ ยื่ อ ภาพที่ 32 ลักษณะภายนอกของปลาทเี่ กิดโรค
บรเิ วณรอบปาก (ภาพท่ี 33) ตัวด่างในปลานิล

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 70 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

ภาพที่ 33 ลกั ษณะภายนอกของปลา
ท่ีเกดิ โรคตวั ดา่ งที่รุนแรงในปลานิล

ภาพท่ี 34 ลักษณะภายนอกของปลาทเ่ี กิด
โรคตัวด่างในปลานลิ ทเี่ รม่ิ ฟ้นื ตวั ภายหลงั

จากการติดเช้อื

ภาพที่ 35 ลกั ษณะภายในของปลาท่ีเกิด
โรคตัวด่างในปลานลิ

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 71 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

2.1.3 สาเหตุโน้มนา การเกิดโรค หรือใช้เกลือแกงในอัตรา 0.01% (0.1

ตัว ด่า ง นี้มัก พ บ ใ น ช่ว ง ที่อ า ก า ศ มีก า ร กิโลกรัมต่อน้า 1 ลูกบาศก์เมตร ) และ

เ ป ลี่ย น แ ป ล ง ก ะ ทัน หัน เ ช่น ใ น ช่ว ง ให้อากาศอย่างเต็มที่และต้องระวังอย่า

อ า ก า ศ เ ย ็น ใ น ช ่ว ง ฝ น ต ก ห น ัก แ ล ะ ให้มวลน้าเกิดการเคลื่อนที่อย่างรุนแรง

ห ล ัง จ า ก ก า ร ข น ย ้า ย ป ล า ใ น ช ่ว ง ที ่มี ซง่ึ จะทาใหป้ ลามีอัตราการเกิดโรคทีเ่ ร็วขนึ้

อากาศร้อนจัด หรือภาวะน้าหลาก ใ น ก า ร ล า เ ลี ย ง ข น ส่ ง ป ล า ค ว ร

ในกรณีของฟาร์มอนุบาลที่นาปลา หลีกเล่ียงการขนส่งในช่วงอากาศร้อนจัด

มาพักก่อนการขนส่งหรือจาหน่าย ไม่ว่า ระหว่างการขนส่งสามารถใช้เกลือละลายน้า

จ ะ เ ป็น ป ล า ใ บ ม ะ ข า ม ห รือ ป ล า นิ้ว จ ะ พ บ ความเข้มข้นในอัตรา 0.1 - 0.5% (1 - 5

ความเสียหายมากกว่าปลาขนาดใหญ่ท่ี กิโลกรัมต่อน้า 1 ลูกบาศก์เมตร) สาหรับ

เล้ียงในบ่อเลี้ยงหรือกระชัง โดยเป็นผล ปลาขนาดใบมะขามถึงปลานิ้ว หรือในอัตรา
มาจากการเกิดภาวะความเครียด หากมี 0.5 - 1.0% (5 - 10 กิโลกรัมต่อน้า 1

การกักขังปลาในอัตราที่หนาแน่นสูงและ ลูกบาศก์เมตร) สาหรับปลาขนาดใหญ่

มีก า ร ค ว บ คุม คุณ ภ า พ น้ า ไ ม่ดี แ ล ะ มี ตั้งแต่ 100 กรัมเป็นต้นไป หรือก่อนจะลง
สารอินทรีย์ปนเป้ื อนในน้าในปริมาณสูง ปลาควรแช่ปลาในฟอร์มาลิน 100 ส่วนใน

จะส่งผลให้อัตราการเกิดโรคและความ ล้านส่วน (100 ซีซีต่อน้ า 1 ลูกบาศก์

รุนแรงมีสูงมาก เมตร) จะสามารถลดอัตราการเกิดโรคตัว

2.1.4 การป้องกันและรักษา ด่ า ง ห รื อ โ ร ค ช นิ ด อื่ น ๆ ไ ด้ อ ย่ า ง มี

ก า ร ป้อ ง กัน สาห รับก า ร ป้อ งกัน ประสทิ ธิภาพ (ประพันธ์ศักด,์ิ 2558)

โ ร ค ตัว ด่า ง ที่มีส า เ ห ตุม า จ า ก เ ชื้อ F. ส่วนในปลาขนาดใหญ่ท่ีเลี้ยงในบ่อดิน

columnare คือ การควบคุมคุณภาพ จะไม่ค่อยได้รับผลกระทบจากการเกิดโรค

น้า แ ล ะ ส า ร อิน ท รีย์ภ า ย ใ น บ่อ พัก ป ล า ชนิดนี้ ยกเว้นกรณีท่ีสูบน้าจากแหล่งน้า

โดยเฉพาะในปลาขนาดเล็กที่นามาเลี้ยง ภายนอกเข้าไปในบ่อเล้ียงโดยตรง โดยไม่มี

ใ น บ่อ ซีเ ม น ต์ก่อ น ก า ร ลา เ ลีย ง ข น ส่ง การพักหรือเตรียมน้าให้มีคุณภาพดีก่อน

ห า ก มีค ว า ม จา เ ป็น ต้อ ง พัก ป ล า ไ ว้ใ น ส่วนปลาท่ีเลี้ยงในกระชังนั้น มักจะเกิดโรค

อ ัต ร า ที ่ห น า แ น ่น ส ูง ต ้อ ง ค ว บ ค ุม ในช่วงท่ีมีน้าหลากคร้ังแรก ๆ ท่ีชาวบ้าน

คุณภาพน้าและปริมาณสารอินทรีย์ในน้า เรียกว่า “น้าแดง” จะโน้มนาให้เกิดโรคตัว

ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม และควรแช่ลูก ด่างท่ีสามารถก่อให้เกิดการตายและความ

ปลาด้วย สารเคมีบางชนิด เช่น ฟอร์มาลิน สูญเสยี ในปริมาณมาก ๆ เช่นกัน
25 ส่ วนใ นล้ านส่ว น ( 25 ซี ซี ต่อ น้ า 1

ลูกบาศก์เมตร)

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 72 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

ด ัง นั ้น ก ่อ น ที ่จ ะ เ ก ิด ภ า ว ะ ด ัง ก ล ่า ว ทุก ๆ วัน ร่วมกับการถ่ายน้าทุก ๆ วัน

เกษตรกรควรมีการแขวนเกลือในอัตรา วันละ 20-50% จนกว่าอัตราการตาย

120 - 160 กิโลกรัมต่อไร่ หากเป็น จ ะ ล ด ล ง ร ะ ห ว่า ง ก า ร ใ ห้ด่า ง ทับ ทิม

บ่อขนาดใหญ่ เน้นเฉพาะพ้ืนที่ 2 - 3 ไร่ ต ้อ ง ม ีก า ร ใ ห ้อ า ก า ร อ ย ่า ง เ ต ็ม ที ่แ ล ะ

บริเวณที่ปลาขึ้นกินอาหาร (ภาพที่ 36) หลีกเลี่ยงการให้มวลน้าเคลื่อนที่รุนแรง

ส่วนปลาที่เลี้ยงในกระชังตามแหล่งน้า มากจนเกินไป จะทาให้ประสิทธิภาพใ น

ควรแขวนเกลือในอัตรา 1 - 5 กิโลกรัม การรักษาดีขึ้น นอกเหนือจากด่างทับทิม

ต่อ ก ร ะ ชัง ( ภ า พ ที่ 3 7 ) ใ ห้ป ล า ไ ด้รับ แ ล้ว ยัง ส า ม า ร ถ ใ ช้เ ก ลือ แ ก ง ใ น อัต ร า

อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง ภ า ย ห ลั ง ก า ร เ กิ ด ภ า ว ะ 0.1 - 0.5% (1 - 5 กิโลกรัมต่อน้า 1

ดงั กลา่ ว ลูกบาศก์เมตร ) ร่วมกับการถ่ายน้าทุก

นอกจากนเ้ี พ่ือเป็นการปอ้ งกันการเกิด ๆ วัน วันละ 20 - 50% จนกว่าอัตรา

โรคตัวด่างอันเป็ นผลมาจากการขนส่ง การตายจะลดลง

นอกเหนือจากการใช้เกลือแกงแล้ว ก่อนที่ ใ น ป ล า ข น า ด ใ ห ญ่ ที่ เ ล้ี ย ง ใ น บ่ อ ห รื อ

จ ะ ป ล่ อ ย ป ล า ล ง เ ลี้ ย ง ค ว ร แ ช่ ป ล า ใ น กระชัง การรักษาโรคตัวต่างทาได้ค่อนข้าง

ฟอร์มาลิน 100 ส่วนในล้านส่วน (100 ยาก เนื่องจากสภาพการเลี้ยงไม่เหมาะสม

ซีซีต่อน้า 1 ลูกบาศก์เมตร) จะสามารถลด ต่อการใช้ยาและสารเคมี นอกเหนือจากการ

อัตราการเกิดโรคตัวด่างหรือโรคชนิดอื่น ๆ ให้เกลือและนาปลาที่ปว่ ยหรือแสดงอาการ

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ประพั นธ์ศักดิ์, ออกไปฝงั หรือเผาทาลาย เพ่ือป้องกันการ

2558) และควรแขวนเกลือแกงด้วยวิธีต่าง เกิดโรคติดเช้ือชนิดอ่ืนแทรกซ้อน เกษตรกร

ๆ ข้างต้น จะสามารถลดความเสี่ยงในการ สามารถให้ยาปฏิชีวนะ เอ็นโรฟล็อกซาซิน

เกิดโรคตัวด่างในภาวะการณ์ดังกล่าวได้ (Enrofloxacin) ผสมในอาหารในอตั รา 3 - 5

อย่างมีประสทิ ธิภาพ กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ติดต่อกันเป็น

การรักษา สาหรับการรักษาโรคตัว เวลา 5 - 7 วันแล้วจึงหยุด โดยเม่ือพบ

ด่างที่ดีท่ีสุด คือ เม่ือนาปลาพักในบ่อพัก อาการปว่ ยของปลาให้งดอาหาร 2 - 3 วัน

ควรให้เกลือแกงในอัตรา 0.01% (0.1 ก่ อ น ก า ร ใ ห้ ย า แ ล ะ ค ว ร มี ร ะ ย ะ ห ยุ ด ย า

กิโลกรัมต่อน้ า 1 ลูกบาศก์เมตร) เพื่ อ (Withdrawal period) อยา่ งน้อย 14 - 21 วนั

ปอ้ งกันการเกดิ ความเครียด เมอื่ สงั เกตเห็น ก่อนจับผลผลิต เพื่อความปลอดภัยของ

ปลาที่แสดงอาการของโรค ให้พยายามนา ผู้บริโภค นอกจากน้ีควรให้ปลาได้รับอากาศ

ปลาท่ีแสดงอาการออกจากระบบการเล้ียง อย่างเพียงพอ โดยการใช้เคร่ืองให้อากาศ

มากท่ีสุด และให้ด่างทบั ทิม 0.5 - 1.0 สว่ น แบบต่าง ๆ จะทาให้ประสิทธิภาพในการ

ในลา้ นสว่ น (0.5 กรมั ต่อน้า 1 ลกู บาศกเ์ มตร) รักษาโรคมีสงู ขึ้น

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 73 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

ภาพที่ 36 รปู แบบของการใหเ้ กลือเพ่ือ
การปอ้ งกนั โรคในปลานลิ ในบอ่ ดนิ

ภาพที่ 37 รูปแบบของการใหเ้ กลอื เพ่ือการปอ้ งกนั โรค
ในปลานิลในการเล้ยี งปลาในกระชัง

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 74 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

2 .2 โร คท้อ งบ วมน้าห รือ ตก เลือ ด โดยเชื้อในกลุ่มนี้สามารถก่อให้เกิดโรค

ตามลาตัว ไ ด้ใ น สัต ว์น้า ห ล า ย ช นิด แ ล ะ ใ น ทุก ร ะ ย ะ

2.2.1 สาเหตุ โรคชนิดนี้ส่วนใหญ่ หรือทุกขนาด แต่จะทาให้เกิดความสียหาย

เ กิด จ า ก ก า ร ติด เ ชื้อ แ บ ค ทีเ รีย ใ น ก ลุ่ม มากกบั ปลาตง้ั แต่ 100 กรมั เป็นตน้ ไป

Aeromonas spp. ซ่งึ ไดแ้ ก่ Aeromonas

hydrophila, A. carviae, A. veronii

และ A. sorbia เป็นต้น แบคทีเรียเหล่านี้

กอ่ ใหเ้ กิดโรคท่เี รยี กวา่ “Motile aeromonas

disease หรือ Aeromonad septicemia”

เชื้อแบคทีเรียในกลุ่ม Aeromonas นี้

เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างเป็นแท่ง

สั้นตรงหรือท่อนสั้น (Short rod) ….

เคลื่อนท่ีได้โดยใช้ Flagella (ภาพท่ี 38)

เ จ ริ ญ ไ ด้ ทั้ ง ใ น ส ภ า พ มี แ ล ะ ไ ม่ มี อ อ ก ซิ เ จ น

โ ด ย ทั่ ว ไ ป ดา ร ง ชี วิ ต อ ยู่ ใ น น้า เ ป็ น ป ก ติ อ ยู่

แล้ว ( Water-borne organisms)

ทั้งในน้าและตัวสัตว์น้า แต่เมื่อตัวสัตว์

น้ า เ ก ิด ค ว า ม อ ่อ น แ อ ห ร ือ ภ ูม ิคุ ้ม ก ัน

ป ร ะ สิท ธิภ า พ ต่า ล ง อัน เ ป็น ผ ล ม า จ า ก

การเกิดสภาวะเครียด จะส่งผลให้เกิด

โรคตดิ เช้อื แบบฉวยโอกาส (Opportunistic ภาพท่ี 38 ลกั ษณะสณั ฐานของเซลล์แบคทเี รยี
infection) ต า ม ม า ไ ด้ แ บ ค ทีเ รีย นี้จ ะ ในสกลุ Aeromonas ทเ่ี ป็นสาเหตขุ องการเกิด
ทา ใ ห้ ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ใ น ร ะ บ บ ภ า ย ใ น ร่ า ง ก า ย โรคทอ้ งบวมน้าหรอื ตกเลือดตามลาตัวในปลานิล
และแพร่ไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
โ ด ย อ า ศัย ก ร ะ แ ส เ ลือ ด ( Systemic 2.2.2 อาการ แบคทีเรียในกลุ่มนี้
infection) โดยที่เชื้อจะเข้าสู่ปลาทาง ส า ม า ร ถ ก่อ ใ ห้เ กิด โ ร ค ไ ด้ใ น สัต ว์น้า จืด
ป า ก ท า ง ผ ิว ห น ัง ห ร ือ เ ห ง ือ ก ที ่เ ก ิด แ ท บ ทุก ช นิด ซึ่ง ก่อ ใ ห้เ กิด อ า ก า ร ข อ ง
บา ด แ ผ ล ใ นสภ า พปก ติเ ชื้อ จ ะ ไ ม่ทา ใ ห้ โรคที่สาคัญดัง นี้คือ ปล าจ ะ มีบา ดแผ ล
เกิดโรค ต า มลา ตัว ค รีบก ร่อ น ต ก เ ลือ ด ห รือ มี
แ ผ ล ต า ม ลา ตัว ท้อ ง บ ว ม เ มื่อ ผ่า ช่อ ง
ท้ อ ง จ ะ พ บ ว่ า มี เ ลื อ ด ป น น้า เ ห ลื อ ง ใ น ช่ อ ง

ท้อง ตับ ไตและม้ามโตผิดปกติ เป็นต้น

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 75 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

(ภาพที่ 39) ปลาที่ปว่ ยส่วนใหญ่จะว่าย โดยเฉพาะปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้า

น้า เอื่อย ๆ ที่บ ริเ ว ณผิวน้า ซุกตัวเ อ ง และค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของน้ามี

บ ริเ ว ณ ข อ บ บ่อ ห รือ ท้า ย บ่อ ห รือ ข อ บ ก า ร เ ป ลี่ย น แ ป ล ง ใ น ช ่ว ง ก ว้า ง ค ว า ม

กระชัง อัตราการตายจะทยอยเพิ่มสูงขึ้น ร ุน แ ร ง ข อ ง โ ร ค ม ัก ขึ ้น อ ยู ่ก ับ ก า ร

ตั้งแต่ 1 - 5% และสามารถเพิ่มสูงขึ้นถึง เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมเป็นหลัก

5 0 - 6 0 % ไ ด้ ทั้ง นี้ขึ้น อ ยู่กับ ค ว า ม หรือคุณภาพน้าในบ่อหรือแหล่งน้าตาม

รุนแรงของการแปรปรวนของสภาพแวดล้อม ธรรมชาติ ซึ่งเมื่อปลาเกิดความเครียด

และคุณภาพน้า แ ล ้ว มัก จ ะ ทา ใ ห ้ร ะ บ บ ภูมิคุ ้ม ก ัน ใ น ก า ร

ปอ้ งกันตัวจากเชื้อโรคชนิดต่าง ๆ ด้อย

ประสิทธิภาพลง ส่งผลทาให้เชื้อโรคที่อยู่

ร า ย ล ้อ ม ต ัว ป ล า ห ร ือ อ ยู ่ใ น ต ัว ป ล า ที ่ป ก ติ

ดา ร ง ชีวิต เ ป็น เ ชื้อ ปร ะ จา ถิ่น ( Normal

flora) ถูกกระตุ้นให้มีความสามารถใน

การสร้างสารพิษออกมาทาลายตัวปลาท่ี

เป็นเจ้าบ้าน (Host) ปกติ และทาให้เกิด

โรคที่รุนแรงตามมาได้แบบฉวยโอกาส

2.2.4 การปอ้ งกันรักษา

การปอ้ งกนั การปอ้ งกันการเกิดโรคท่ี

เกิดจากเชื้อในกลุ่ม Aeromonas spp. นั้น

ตอ้ งมีการควบคุมสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะ

คุณภาพน้าและควบคุมอัตราการกินอาหาร

ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม โดยเฉพาะช่วง

ภาพท่ี 39 ลกั ษณะปลานลิ ท่ีเป็นโรคทอ้ งบวมน้า รอยต่อของฤดูกาลที่พบว่าสภาพอากาศจะมี
และตกเลอื ดตามทีเ่ กิดจากเชื้อในสกลุ ความแปรปรวนสูง ซ่ึงจะส่งผลต่อการ
Aeromonas ในปลานลิ เปล่ียนแปลงของคุณภาพน้าและพฤติกรรม
การกนิ อาหารของปลา ซึ่งจะเป็นส่วนโน้มนา
2.2.3 สาเหตุโน้มนา การเกิดโรค ทาให้ปลาเกิดภาวะความเครียด อ่อนแอ
ช น ิด นี ้ม ัก จ ะ เ ก ิด ขึ ้น ใ น ช ่ว ง ที ่ป ล า เ ก ิด ยอมรับเช้ือโรคได้ง่าย จนโน้มนาทาให้เกิด
ความเครียด ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ตลอด โรคใน ที่สุด โดยจะ พบว่า เมื่อเข้ าสู่ช่ว ง
รอยต่อของฤดูกาล ที่พบว่าเป็น “ช่วงวิกฤติ
ทั้งปีโดยเฉพาะช่วงรอยต่อระหว่างฤดูกาล ของการเกิดโรค” เชน่ อากาศร้อนตดิ ตอ่ กนั

เช่น ร้อนต่อกับฝน หรือปลายฤดูฝนต้น
ฤดูหนาว โดยจะมีคุณภาพน้าบางชนิด

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 76 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

ฝนตกหรือฟา้ ครึ้มติดต่อกัน ร้อนแล้วมี ซ่ึงจะเป็นคุณภาพน้าที่สาคัญในการควบคุม

ฝนตกติดต่อกัน สภาพน้าหลาก อากาศ คุ ณ ภ า พ น้ า ท า ง ด้ า น เ ค มี ชี ว ภ า พ แ ล ะ

เปลี่ยนแปลงฉับพลันหรืออุณหภูมิของน้า กายภาพของน้า ให้เหมะสมในช่วงท่ีมีการ

ต่ า ล ง น ้อ ย ก ว ่า 2 5 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซ ีย ส แปรปรวนของสภาพอากาศ

เกษตรกรควรเพิ่มการจัดการคุณภาพน้า 5) เม่ือเกิดภาวะวิกฤติเกิดข้ึน ให้

การให้อาหารและการจัดการสุขภาพปลา เ ก ษ ต ร ก ร ค ว บ คุ ม ก า ร ใ ห้ อ า ห า ร ใ ห้ ดี

ควบคูก่ นั ดงั นี้ โ ด ย เ ฉ พ า ะช่ ว ง วิ ก ฤ ติ ข อ ง ก า ร เ กิ ด โ ร ค

1) ให้อากาศในน้าให้ปลาได้รับอากาศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงท่ีมีอุณหภูมิสูง

อ ย่ า ง พ อ เ พี ย ง ซ่ึ ง โ ด ย ท่ั ว ไ ป ค ว ร มี ค่ า มากกวา่ 32 องศาเซลเซียส เกษตรกรควร

มากกว่า 3 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยเฉพาะ ควบคุมปริมาณอาหารท่ีให้ โดยการงดหรือ

ช่วงปลาขนาดใหญ่ ในช่วงฤดูฝนหรือช่วง ลดปริมาณการใหอ้ าหารลง

ฝนตกหรือฟา้ คร้ึมติดต่อกัน ท่ีพบว่ามีอัตรา การรักษา

การเกิดโรคบอ่ ยครัง้ 1) เมื่อปลาเกิดโรคท้องบวมหรือแผล

2) แขวนเกลือแกงให้ปลาได้รับอย่าง ต ก เ ลื อ ด อั น เ ป็ น ผ ล ม า จ า ก เ ช้ื อ ใ น ก ลุ่ ม

ต่อเนื่อง ด้วยวิธกี ารท่ีอธบิ ายมาแลว้ ข้างต้น Aeromonas spp. แลว้ เกษตรกรควรงด

ซ่งึ ขึน้ อยู่กับวิธกี ารเลีย้ ง อาหารทันที หากพบปลาป่วยเป็ นโรคให้

3) ผสมวิตามิน ซี ในอาหารในอัตรา พยายามนาปลาที่ปว่ ยออกจากระบบการ

3 - 5 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ให้ปลา เลี้ยงแล้วนาไปฝงั หรือเผาทาลายให้มากที่สุด

กินติดต่อกัน 3 - 5 วัน ก่อนที่จะเข้าสู่ช่วง เพื่อเป็นการปอ้ งกันและหยุดการแพร่ระบาด

วกิ ฤตของการเกดิ โรค ของโรคในระบบการเลย้ี ง

4) ในช่วงฤดูฝน กรณีที่เล้ียงปลาใน 2) งดอาหาร 2 - 3 วันแล้ว ผสมยา

บ่อดิน ควรมีการให้วัสดุปูนในอัตรา ปฏชิ วี นะ เอน็ โรฟล็อกซาซิน (Enrofloxacin)

30 - 50 กิโลกรัมต่อไร่ โดยหากน้ามีสี ในอาหารในอัตรา 3 - 5 กรัมต่ออาหาร

เขียวหรือน้าตาลเข้มอยู่แล้วให้ใช้ปูนมาร์ล 1 กิโลกรัม ให้ปลากิน ติดต่อกันเป็นเวลา

(CaCO3) หรอื หากน้ามีสีน้าอ่อน เช่น เขียว 5 - 7 วันแล้วจึงหยุด ระหว่างน้ีพิจารณา
อ่ อ น น้ า ต า ล อ่ อ น ใ ห้ ใ ช้ ปู น โ ด โ ล ไ ม ท์ มาตรการในการจัดการตามข้อเสนอแนะใน

[CaMg(CO3)2] โดยผสมน้าแล้วท้ิงไว้อย่าง การปอ้ งกันโรคขา้ งตน้ และควรมรี ะยะหยดุ ยา
น้อย 30 นาที แล้วนาไปสาดให้ท่ัวบ่อใน (Withdrawal period) อย่างนอ้ ย 14-21 วัน

ช่วงเวลา 20.00 - 21.00 น. โดยทาวัน ก่อนจับผลผลิต เพ่ือความปลอดภัยของ

เว้นวันติดต่อกัน 2 - 3 คร้ัง เพื่อรักษา ผู้บรโิ ภค

ระดับความเป็นด่าง (Alkalinity)

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 77 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

2 . 3 โ ร ค ส เ ต ร ป โ ต ค อ ค โ ค ซี ส ไ ท ย นั้น ส่ว น ใ ห ญ่มีส า เ ห ตุม า จ า ก เ ชื้อ

(Streptococcosis) Streptococcus agalactiae การ

2.3.1 สาเหตุ โรคชนิดนี้เกิดจากเช้ือ แ พ ร่ร ะ บ า ด ข อ ง โ ร ค ที่ติด เ ชื้อ ส เ ต ร ป โ ต
แบคทีเรีย Streptococcus spp. มีการ ค อ ค โ ค ซีส ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย พ บ ทั้ง ก า ร
แพร่กระจายอย่างกว้างขวางท่ัวโลก เ ลี้ ย ง ป ล า นิ ล ใ น บ่ อ ดิ น แ ล ะ ใ น ก ร ะ ชั ง ท า ง
ใ น ป ล า ห ล า ย ช นิ ด ไ ด้ แ ก่ ป ล า เ ท ร า ท์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (นิลุบล และ
(Oncorrhynchus mykiss) ปลาคาร์พ คณะ, 2545) และเช่นเดียวกับ Areechon
(Cyprinus carpio) และปลานิลลูกผสม et al. (2005) ไดร้ ายงานการแพรร่ ะบาด
(O. aureus x O. niloticus) โดยเฉพาะ ข อ ง โ ร ค ช นิ ด นี้ ใ น ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า นิ ล แ ถ บ
ในระบบการเลีย้ งปลาแบบหนาแนน่ ซึ่งโรคน้ี ภาคกลาง รวมท้ังในเขตพื้นท่ีภาคใต้ด้วย
ทาให้เกิดความสูญเสียต่ออุตสาหกรรมการ (นเรศ และคณะ, 2548)
เ พ า ะ เ ล้ี ย ง ป ล า ข อ ง โ ล ก คิ ด เ ป็ น มู ล ค่ า ไ ม่ ต่ า
กว่า 150 ล้านดอลล่าสหรัฐอเมริกาต่อปี เ ช้ื อ แ บ ค ที เ รี ย Streptococcus
เชื้อที่ก่อให้เกิดโรค Streptococcosis ใน agalactiae ร ว ม ทั้ ง เ ชื้ อ ใ น ส กุ ล น้ี เ ป็ น
ปลาน้ัน มีอยู่หลายชนิด นอกเหนือจาก แบคทีเรียแกรมบวก รูปร่างกลมขนาด
แบคทีเรียในสกุล Streptococcus โดย ประมาณ 1 - 2 ไมโครเมตร อาจจะอยู่เป็น
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มด้วยกัน เซลล์เดี่ยว ๆ อยู่เป็นคู่หรืออยู่เป็นสายยาว
กลมุ่ แรกคือ Cool-water streptococcosis ย้อมติดสีม่วงน้าเงินของ Crystal violet
คือเช้ือที่ก่อโรคในสภาวะที่น้ามีอุณหภูมิต่า (ภาพที่ 40) เช้ือ S. agalactiae ท่ีก่อให้
กว่า 15 องศาเซลเซียส ได้แก่เช้ือแบคทีเรีย เกิดโรคในปลาส่วนใหญ่ มีความสามารถใน
Lactococcus piscium, Vagococcus การทาให้เม็ดเลือดแดงแตก โดยสามารถ
salmoninarum และ Carnobacterium แบ่งออกเป็น 3 แบบ ได้แก่ การทาให้เม็ด
piscicola กลุ่มที่สองคือ Warm-water เ ลื อ ด แ ด ง แ ต ก อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ ( ẞ-
streptococcosis คอื เชอื้ ทก่ี ่อโรคในสภาวะ haemolytic) (ภาพท่ี 41) การทาให้เม็ด
ที่น้ามีอุณหภูมิสูงกว่า 15 องศาเซลเซียส เลือดแดงแตกได้บางสว่ น (a-haemolytic)
ซ่ึ ง ไ ด้ แ ก่ เ ช้ื อ แ บ ค ที เ รี ย Lactococcus และชนิดที่ไมส่ ามารถทาใหเ้ ม็ดเลือดแดงแตก
garvieae, Streptococcus parauberis, ได้ (g-haemolytic หรอื Non-haemolytic)
Streptococcus iniae และ Streptococcus ซึ่งสามารถก่อให้เกิดโรคท้ังแบบเรื้อรังและ
agalactiae (วิศณุ และคณะ, 2550) เฉียบพลันโดยทาให้เกิดการอักเสบและเกิด
โดยโรคสเตรปโตคอคโคซีสในประเทศ บาดแผลตามอวั ยวะต่ าง ๆ ของร่ างกาย
(Inflammatory และ granulomatous
lesions)

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 78 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

จากปลาที่ปว่ ย โดยท่ัวไปการเกิดโรคโรค

สเตรปโตคอคโคซีส จะมีอยู่ 2 ลักษณะคือ

ก า ร เ กิ ด โ ร ค แ บ บ เ ฉี ย บ พ ลั น ( Acute

infection) ซึ่งการเกิดโรคประเภทน้จี ะสามารถ

ทาให้เกิดอัตราการตายที่สูงถึง 40-60%

ภายใน 1 สัปดาห์ และการเกิดโรคแบบ

เรือ้ รัง (Chronic infection) ซงึ่ จะมอี ตั รา

ภาพที่ 40 ลักษณะสัณฐานของเซลลแ์ บคทเี รยี การตายที่ต่า โดยปลาจะแสดงอาการของ
Streptococcus agalactiae ท่เี ป็นสาเหตุ โรคและมีอัตราการตายออกมาให้เห็นอย่าง
ของการเกดิ โรคสเตรปโตคอคโคซสี ในปลานิล ช้า ๆ และต่ ากว่า 5% ของจานวนปลา
ท้ั ง ห ม ด ซึ่ ง ลั ก ษ ณ ะ อ า ก า ร ข อ ง โ ร ค จ ะ

แ ต ก ต่ า ง กั น ไ ป ต า ม ช นิ ด ข อ ง ป ล า ซ่ึ ง

สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ

อ า ก า ร ภ า ย น อ ก ป ล า ที ่ป ว่ ย จ ะ มี

ล ัก ษ ณ ะ ร ่ว ม ที ่เ ห ็น ไ ด ้ช ัด เ จ น ค ือ จ ะ ว ่า ย น้ า

เชื่องช้า สีตัวเข้มขึ้น ตาโปนตกเลือดหรือ

ขาวขุ่น (ภาพที่ 42) มีการตกเลือดบน

แผ่นปิดเหงือกและที่ฐานครีบ พบบาดแผล

ภาพท่ี 41 ความสามารถในการทาให้เม็ดเลอื ดแดง ตามลาตัว แต่ในปลาบางชนิดที่มีความไว
ต่อเชื้อมาก โดยเฉพาะเมื่อปลาที่ติดเชื้อ
แตกอย่างสมบูรณ์ (ẞ-haemolysis) ของแบคทีเรยี แล้วตาย แทบจะไม่พบอาการภายนอกให้
Streptococcus agalactiae ที่เป็นสาเหตุ เห็น จ ะ มีเ พีย งบา ด แ ผ ล ที่เ กิด ขึ้นเ พีย ง
เล็กน้อยเท่านั้น (ภาพที่ 43) ซึ่งส่วนใหญ่
ของการเกิดโรคสเตรปโตคอคโคซีสในปลานิล จะกลายเป็นแผลเปิดมีขอบนูนและมีสีเข้ม
รอบ ๆ มักพบบริเวณส่วนบนของลาตัว
2.3.2 อาการ เชอ้ื S. agalactiae ... แผ่นปิดเหงือก รอบปากหรือบริเวณช่อง
น้ีสามารถก่อให้เกิดโรคในปลานิลทุกขนาด ขับถ่ายของเสีย ปลาที่ติดเชื้อแบคทีเรีย
โดยเฉพาะปลาขนาดต้ังแต่ 100-300 Streptococcus นี้ ในระยะเริ่มแรกจะมี
กรัมเป็นตน้ ไป จะมีความไวในการรับเช้ือและ อาการตาโปน และมีเลือดคั่งหรือตกเลือด
มี ค ว า ม เ สี ย ห า ย จ า ก ก า ร ต า ย ท่ี รุ น แ ร ง ใ น ต า บ ร ิเ ว ณ Retina ซึ ่ง จ ะ ล ุก ล า ม
ม า ก ก ว่ า เ มื่ อ เ ที ย บ กั บ ป ล า ข น า ด อื่ น ๆ จนกระทั่งเป็นแผลเปิดที่กระจกตาในที่สุด
(ประพันธ์ศักดิ์, 2558) การแพร่กระจาย
ของเช้ือเข้าสู่ตัวปลาสามารถเกิดขึ้น โดย
การสัมผัสโดยตรงหรือสัมผัสกับของเสีย

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 79 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

(ภาพที่ 44) และอาจพบเลือดคั่งในเส้น ภาพท่ี 43 ลักษณะภายนอกของปลานิลทเี่ ป็น
เ ล ือ ด บ ร ิเ ว ณ เ ห ง ือ ก แ ล ะ จ ะ พ บ เ ซ ล ล์ โรคสเตรปโตคอคโคซสี ชนิดรนุ แรง (เฉยี บพลนั )
Macrophage รวมตัวกันอยู่ในบริเวณนี้
เป็นจานวนมาก ในกรณีที่เกิดโรคแบบ ซง่ึ เกดิ จากเชอ้ื S. agalactiae ในปลานลิ
เ รื้อ รัง ที่บ ริเ ว ณ ใ ต้ค า ง จ ะ มีตุ่ม สีแ ด ง
หรือบริเวณคอดหางจะมีตุ่มฝีบวม ถ้ากด
จะนิ่มเหลว เมื่อใช้มีดกรีดลงไปจะมีหนอง
สีเหลืองขาวขุ่นทะลักออกมา อาการบวม
จะพบได้ทั่วไปตามลาตัว และเมื่อผ่าดูจะ
พบหนองภายในกล้ามเนื้อ (ภาพที่ 45)
โดยลักษณะอาการดังกล่าวจะพบมากในปลา
ขนาดตลาดหรือใกล้ระยะท่กี าลงั จะจบั ขาย

ภาพท่ี 44 ลักษณะภายนอกที่เรียกวา่ “อาการตาโปน”
ของปลานิลท่ีเป็นโรคสเตรปโตคอคโคซสี ซ่ึงเกิดจาก

เชอื้ S. agalactiae ในปลานลิ

ภาพท่ี 42 ลักษณะภายนอกของปลานลิ ทเี่ ป็น
โรคสเตรปโตคอคโคซสี ซงึ่ เกิดจากเชื้อ
S. agalactiae ในปลานิล

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 80 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

ภาพที่ 46 ลกั ษณะภายในของปลานลิ ท่เี ป็นโรค
สเตรปโตคอคโคซีส ซ่ึงเกดิ จากเช้อื
S. agalactiae ในปลานลิ

2.3.3 สาเหตุโน้มนา การเกิดโรค

แบคทีเรียชนิดนี้มักจะเกิดขึ้นในช่วงที่ปลา

เ กิด ค ว า ม เ ค รีย ด โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่า ง ยิ่ง

ภาพที่ 45 ลกั ษณะภายนอกของการเกิดตุ่มฝี ในช่วงต้นฤดูร้อนจนถึงฤดูฝน โดยเฉพาะ
ของปลานิลทเี่ ป็นโรคสเตรปโตคอคโคซสี ชนิดเรอื้ รัง ช่วงที่อากาศร้อนติดต่อกันจ นส่งผลให้
อุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่า 30 องศาเซลเซยี ส
ซงึ่ เกิดจากเชื้อ S. agalactiae ในปลานิล

อาการภายใน เม่ือทาการผ่าช่องท้อง โดยเฉพาะระดับ 32 - 33 องศาเซลเซียส

แล้วสังเกตจะพบว่ามีการตายของเซลล์และ และอัตราการเกิดโรคจะรุนแรงมากยิ่งขึ้น

เน้ือเย่ือในลาไส้และมีเลือดค่ัง เยื่อบุช้ัน ถ้าปลาอยู่ในสภาพที่อยู่กันอย่างหนาแน่น
Mucosa หลุดออกมาอยู่ภายในช่องว่าง และปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้าอยู่ใน

อวัยวะภายในท่ีได้รับผลกระทบมากท่ีสุดคือ ระดับที่ต่า (Sublethal) ตั้งแต่ 1.5 - 2

ม้า มแ ล ะตั บ ร อ งล งมา คื อ หั ว ใ จ แ ล ะไ ต มิลลิกรัมต่อลิตร ความรุนแรงของโรคมัก

บริเวณตับของปลาท่ีปว่ ยอาจพบการตาย ขน้ึ อยูก่ ับการเปล่ยี นแปลงของสภาพแวดลอ้ ม
ของเซลล์เกิดขึ้น ม้ามโตและมีสีซีด สาหรับ เป็นหลักหรือคุณภาพน้าในบ่อหรือแหล่ง

ปลานิลซึ่งเป็นปลาท่ีมีความไวต่อโรคนี้ จะมี น้าตามธรรมชาติ ซึ่งในอดีตจะพบการเกิด

อาการภายนอกท่ีสังเกตเห็นได้ชัดเจนคือ โ ร ค ใ น ช่ว ง ต้น เ ดือ น มีน า ค ม ห รือ ใ น ปีท่ี

ตาโปน ท้องบวมน้า ซ่ึงภายในมีของเหลว อุณหภูมิอากาศสูงเร็วหรือการเปลี่ยนเข้าสู่

รอบชอ่ งขบั ถ่ายของเสียอักเสบและบวมแดง ฤดูร้อนเร็วกว่าปกติและอัตราการเกิดโรค

(ภาพท่ี 46) (ประพันธ์ศกั ด,ิ์ 2558) จะสูงข้ึนสูงสุดในช่วงกลางเดือนเมษายน

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 81 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ใ น ปัจ จุ บั น ก ลั บ พ บ ว่ า ช่ ว ง 2.3.4 การป้องกันรักษา

ร อ ย ต่ อ ร ะ ห ว่ า ง เ ดื อ น พ ฤ ษ ภ า ค ม แ ล ะ การป้องกัน การเกิดโรคสเตรป

มิถุนายน กลับเป็นช่วงท่ีมีการะบาดของโรค โ ต ค อ ค โ ค ซีส นั้น จ ะ มีค ว า ม สัม พัน ธ์กัน

สูงสุด เนื่องจากช่วงดังกล่าวนอกเหนือจาก อย่างใกล้ชิดกับการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ

อุณหภูมิน้าและอากาศจะเพ่ิมสูงขึ้นแล้ว ยัง ข อ ง น้ า แ ล ะ ก า ร เ ป ลี ่ย น แ ป ล ง ข อ ง

พบว่าปลายังพฤติกรรมในการกินอาหาร สภาพแวดล้อม เกษตรกรควรเพิ่มการ

เพ่ิมสูงขึ้น เกษตรกรมีการให้อาหารปลา จัด ก า ร คุณ ภ า พ น้า ก า ร ใ ห้อ า ห า ร แ ล ะ

มากขึ้นกว่าปกติ ประกอบกับช่วงดังกล่าว การจัดการสุขภาพปลา ควบคู่กันดังน้ี

จะมีปรากฏการณ์ฝนตกหรือฝนตกฟา้ คร้ึม 1 ) ใ ห้อ า ก า ศ ใ น น้ า ใ ห้ป ล า ไ ด้รับ

ติดต่อกัน ซึ่งเมื่อปลาอยู่ในสภาวะการเกิด อากาศอย่างพอเพียง ซึ่งโดยทั่วไปควร

ความเครียดดังกล่าวแล้ว มักจะทาให้ระบบ ม ีค ่า ม า ก ก ว ่า 3 ม ิล ล ิก ร ัม ต ่อ ล ิต ร

ภูมิคุ้มกันในการปอ้ งกันตัวจากเชื้อโรคชนิด โดยเฉพาะช่วงปลาขนาดใหญ่ ในช่วงที่

ต่าง ๆ ด้อยประสิทธิภาพลง ทาให้ปลา อุณหภูมิน้าและอากาศเพิ่มสูงขึ้นเกินกว่า

อ่อนแอ ไวต่อการรับเช้ือและสามารถโน้มนา 32 องศาสเซลเซียส หรือช่วงรอยต่อ

ทาให้เกิดการติดเชื้อ S. agalactaie ... ร ะ ห ว่า งป ล า ย ฤ ดูร้อ น แ ล ะ ต้นฤ ดูฝ น ท่ี

แพร่กระจายออกไปติดต่อกับปลาตัวอ่ืน ๆ พ บ ว่า น อ ก เ ห นือ จ า ก อุณ ห ภูมิข อ ง น้า ที่

ในระบบการเลี้ยงอย่างรวดเร็ว อีกท้ังยัง เพิ่ม สูง ขึ้นแ ล้ว ยังพ บ ว่า มีภา ว ะฝ น ต ก

พบว่าเชื้อ S. agalactaie นั้นจะสามารถ หรือฟาครึ้มติดต่อกัน เข้ามาร่วมด้วย ยิ่ง

เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ห รื อ เ พิ่ ม จ า น ว น ใ น ส ภ า พ ทาให้การเกิดโรคมีความรุนแรงมากย่ิงขึ้น

ดังกล่าวได้อย่างดี ทั้งยังมีความแข็งแรง 2) แขวนเกลือแกงให้ปลาได้รับ

และสามารถสร้างสารพิษและมีความรุนแรง อ ย่า ง ต่อ เ นื่อ ง ด้ว ย วิธีก า ร ที่อ ธิบ า ย

(Virulence) ในการก่อโรคเพิ่มสูงข้ึนมาก มาแล้วข้างต้น ซึ่งข้ึนอยู่กับวิธีการเล้ียง

ทาให้การเกิดโรคในช่วงดังกล่าวทวีความ 3) ผสมวิตามินซี ในอาหารในอัตรา

รนุ แรงมากยงิ่ ขน้ึ อยา่ งชดั เจน 3 - 5 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ให้ปลา

กินติดต่อกัน 3 - 5 วัน ก่อนท่ีจะเข้าสู่ช่วง

วิกฤตของการเกดิ โรค

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 82 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

4 ) ใ นช่ ว งต้ นห รื อ ร ะห ว่ า งฤ ดู ฝ น การรักษา

กรณีที่เลี้ยงปลาในบ่อดิน ควรมีการให้วัสดุ 1) เมื่อปลาเกิดโรคโรคสเตรปโต

ปูนในอัตรา 30 - 50 กิโลกรัมต่อไร่ โดย คอคโคซีสแล้ว เกษตรกรควรงดอาหาร

หากน้ามีสีเขียวหรือน้าตาลเข้มอยู่แล้วให้ใช้ ท ัน ท ี ห า ก พ บ ป ล า ป ว่ ย เ ป ็น โ ร ค ใ ห้

ปูนมาร์ล (CaCO3) หรือหากน้ามีสีน้าอ่อน พยายามนาปลาที่ปว่ ยออกจากระบบการ
เ ช่ น เ ขี ย ว อ่ อ น น้ า ต า ล อ่ อ น ใ ห้ ใ ช้ ปู น เลี้ยงแล้วนาไปฝังหรือเผาทาลายให้มาก

โดโลไมท์ [CaMg(CO3)2] โดยผสมน้าแล้ว ที่สุด เพื่อเป็นการป้องกันและหยุดการ
ทิ้งไว้อย่างน้อย 30 นาที แล้วนาไปสาดให้ แพร่ระบาดของโรคในระบบการเลี้ยง

ทั่วบ่อในช่วงเวลา 20.00 - 21.00 น. 2) งดอาหาร 2 - 3 วัน แลว้ ผสมยา

โดยทาวันเว้นวันติดต่อกัน 2 - 3 ครั้ง ปฏิชีวนะ อะม็อกซีซิลลิน (Amoxicillin)

เพ่ือรักษาระดับความเป็นด่าง (Alkalinity) ในอาหารในอัตรา 3 - 5 กรัมต่ออาหาร

ซ่ึงจะเป็นคุณภาพน้าที่สาคัญในการควบคุม 1 กิโ ล ก รัม ใ ห้ป ล า กิน ติด ต่อ กัน เ ป็น

คุ ณ ภ า พ น้ า ท า ง ด้ า น เ ค มี ชี ว ภ า พ แ ล ะ เวลา 5 - 7 วันแล้วจึงหยุด ระหว่างนี้

กายภาพของน้า ให้เหมะสมในช่วงที่มีการ พิจ า ร ณ า มา ต ร ก า ร ใ น ก า ร จัด ก า ร ต า ม

แปรปรวนของสภาพอากาศ ข้อ เ ส น อ แ น ะ ใ น ก า ร ป ้อ ง กัน โ ร ค ข้า ง ต้น

5) เมื่อเกิดภาวะวิกฤติเกิดขึ้นในช่วง แ ล ะ ค ว ร มีร ะ ย ะ ห ยุด ย า ( Withdrawal

ของการเกิดโรค ใหเ้ กษตรกรควบคุมการให้ period) อย่างน้อย 14 - 21 วัน ก่อนจับ

อาหารให้ดี โดยเฉพาะช่วงวิกฤติของการ ผลผลิต เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค

เกิดโรค โดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงท่ีมี

อุณหภูมิสูงมากกว่า 32 องศาเซลเซียส

เกษตรกรควรควบคุมปริมาณอาหารที่ให้

โดยการงดหรอื ลดปรมิ าณการให้อาหารลง

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 83 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

2 . 4 โ ร ค ฟ ร า น ซี ส เ ซ ล โ ล ซี ส 2.4.2 อาการ ในประเทศไทยใน

(Franciscellosis) ปัจ จุบัน ก็มีก า ร ร า ย ง า น ก า ร ร ะ บ า ด ข อ ง

2.4.1 สาเหตุ โรคฟรานซีสเซลโลซีส โ ร ค ฟ ร า น ซ ีส เ ซ ล โ ล ซ ีส ใ น ป ล า น ิล

เกิดจากเช้อื Franciscella spp. หลายชนดิ เ ช่น เ ดีย ว กัน โ ด ย ป ล า ที่เ ป็น โ ร ค จ ะ ไ ม่

สามารถเกิดในปลาทั้งในการเลี้ยงและ แ ส ด ง อ า ก า ร แ น่ชัด บ า ง ค รั้ง จ ะ พ บ ว่า

ธ ร ร ม ช า ติ โ ด ย มี ทั้ ง ที่ เ ป็ น แ บ บ เ ร้ื อ รั ง ปลามีการว่ายน้าไร้ทิศทาง ไม่กินอาหาร

(Chronic infection) และเฉียบพลัน โลหิตจาง มีตาโปน ลาตัวดาคล้า (ภาพ

(Acute infection) ยังพบว่าสามารถทา ที่ 47) บางครั้งถ้าเป็นอาการที่รุนแรง

ให้เกิดโรคได้อย่างกว้างขวางในสัตว์เลี้ยง ปลาจะมีอัตราการตายที่สูงใน 3 - 5 วัน

ลูกด้วยน้านม สัตว์ปีก สัตว์สะเท้ินน้าสะเทิ้น เมื่อตรวจดูอวัยวะภายในพบว่า ม้ามและ

บก กุ้ง ปู รวมทั้งแมลงอีกหลายชนิด โดย ไ ต มีข น า ด ข ย า ย ใ ห ญ่ แ ล ะ พ บ จุด ข า ว

อาศัยในดินและน้าเป็นหลัก Muller et al. ก ร ะ จ า ย อ ยู่ทั่ว ไ ป เ มื่อ ต ร ว จ ส อ บ จุล

(2007) ซึ่ ง เ ม่ื อ ไ ม่ น า น ม า นี้ จ า ก ผ ล พยาธิพบว่าในอวัยวะภายในดังกล่าวจะ

การศึกษาของ Soto et al. (2009) ได้ พบ Multifocal granulomatous

รายงานวา่ มีการเกิดโรค Franciscellosis กระจายอยู่เป็นจานวนมาก

ในปลานิลท่ีเล้ียงเช่นเดียวกัน โดยพบว่า

ก า ร เ กิ ด โ ร ค มี ทั้ ง ท่ี เ ป็ น แ บ บ เ รื้ อ รั ง แ ล ะ

เฉยี บพลัน และนาปลาที่ปว่ ยไปตรวจวินิจฉัย

ด้ ว ย เ ท ค นิ ค ท า ง จุ ล ชี ว วิ ท ย า ส า ม า ร ถ พ บ

แบคทีเรียที่มีรูปร่างเป็น Cocco-bacillui

ก ร ะ จ า ย อ ยู่ ทั่ ว ไ ป แ ล ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ยื น ยั น

แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ ด้ ว ย เ ท ค นิ ค ท า ง อ ณู

ชี ว วิ ท ย า พ บ ว่ า มี ค ว า ม ค ล้ า ย ค ลึ ง กั บ เ ชื้ อ

Franciscella tularensis ท่ีพบว่าเป็น

สาเหตุของการเกดิ โรคในคนถงึ 97%

ภาพที่ 47 ลักษณะภายนอกและภายในในของปลานิลท่ี
เป็นโรคฟรานซีสเซลโลซสี ซง่ึ เกดิ จากเชอ้ื
Franciscella tularensis ในปลานลิ

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 84 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

2.4.3 สาเหตุโน้มนา โดยทั่วไปโรค ห ร ือ ช ่ว ง ที ่ม ีก า ร ห ล า ก ข อ ง น้ า ที ่มี

ฟ ร า น ซี ส เ ซ ล โ ล ซี ส เ ป็ น โ ร ค ท่ี พ บ ไ ด้ ไ ม่ สารอินทรีย์สูงเข้ามาในแหล่งเลี้ยงและ

บ่อยครั้งนักในปลานิล และยังพบว่าปลา ช่ว ง ม ว ล น้า ไ ม่เ ค ลื่อ น ที่เ ป็น เ ว ล า น า น ท่ี

จะยงั ไมแ่ สดงอาการตายออกมาให้เห็นแม้ว่า พบว่ามีอัตราการเกิดโรคบ่อยครั้ง

จะเกิดรอยโรคภายในร่างกายแล้วก็ตาม 2) แขวนเกลือแกงให้ปลาได้รับ

อาการของปลาท่ีเกิดโรคและการตายของ อ ย่า ง ต่อ เ นื่อ ง ด้ว ย วิธีก า ร ที่อ ธิบ า ย

ปลาท่ีป่วยจะแสดงให้เห็นออกมาเด่นชัด มาแล้วข้างต้น ซึ่งข้ึนอยู่กับวิธีการเลี้ยง

เ มื่ อ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ใ น บ่ อ เ ล้ี ย ง ป ล า 3) ผสมวิตามิน ซี ในอาหารใน

โดยเฉพาะคุณภาพน้ามีการเปลี่ยนแปลง อัตรา 3 - 5 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม

ในสภาพที่เลวร้ายลง โดยเฉพาะการเล้ียง ให้ปลากินติดต่อกัน 3-5 วัน ก่อนที่จะ

ปลาในกระชงั ในแหล่งน้าตามธรรมชาติ เช่น เข้าสู่ช่วงวิกฤตของการเกิดโรค

มีสารอินทรีย์ปนเป้ ื อนอยู่ในปริมาณมาก 4) เมื่อเกิดภาวะวิกฤติเกิดขึ้น ให้

มีการหลากของน้าท่ีมีสารอินทรีย์สูงเข้ามา เ ก ษ ต ร ก ร ค ว บ คุม ก า ร ใ ห้อ า ห า ร ใ ห ้ดี

ใ น แ ห ล่ ง เ ลี้ ย ง ม ว ล น้ า ไ ม่ เ ค ล่ื อ น ท่ี โ ด ย เ ฉ พ า ะช่ว ง วิก ฤ ติข อ ง ก า ร เ กิด โ ร ค

เป็นเวลานาน เหล่าน้ีจะเป็นสาเหตุโน้มนาให้ โดยเฉพาะช่วงที่มีการเกิดโรคดังกล่าวนี้

ปลานิลแสดงอาการของการเกิดโรคชนิดนี้ เกษตรกรควรควบคุมปริมาณอาหารที่

ออกมาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ยง่ิ ขึน้ ใ ห้ โ ด ย ก า ร ง ด ห รือ ล ด ป ริม า ณ ก า ร ใ ห้

2.4.4 การป้องกันรักษา เน่ืองจาก อาหารลง

การเกิดโรคฟรานซีสเซลโลซีสน้ัน มักเกิด การรักษา

ขึ้ น กั บ ก า ร เ ล้ี ย ง ป ล า นิ ล ใ น ก ร ะ ชั ง เ ป็ น ส่ ว น 1) เมื่อปลาเกิดโรคฟรานซีสเซลโล

ใหญ่ และมคี วามเก่ยี วพันธ์กบั สภาพแวดล้อม ซีส แ ล้ว เ ก ษ ต ร ก ร ค ว ร ง ด อ า ห า ร ทัน ที

ทั้งทางตรงและทางอ้อม เกษตรกรควรเพิ่ม หากพบปลาปว่ ยเป็นโรคให้พยายามนาปลา

การจัดการคุณภาพน้า การให้อาหารและ ที่ปว่ ยออกจากระบบการเลี้ยงแล้วนาไปฝงั

การจดั การสขุ ภาพปลา ควบคกู่ ันดังนี้ หรือเผาทาลายให้มากที่สุด เพื่อเป็นการ

1) ให้อากาศในน้าให้ปลาได้รับอากาศ ปอ้ งกันและหยุดการแพร่ระบาดของโรคใน

อ ย่ า ง พ อ เ พี ย ง ซ่ึ ง โ ด ย ท่ั ว ไ ป ค ว ร มี ค่ า ระบบการเล้ียง

มากกว่า 3 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยเฉพาะ

ช่วงปลาขนาดใหญ่ ในช่วงฤดูฝนหรือ

ช่ ว ง ฝ น ต ก ห รื อ ฟ้า ค ร้ึ ม ติ ด ต่ อ กั น

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 85 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

2) งดอาหาร 2 - 3 วนั แลว้ ผสมยาปฏชิ ีวนะ เอน็ โรฟล็อกซาซิน (Enrofloxacin)

ในอาหารในอัตรา 3 - 5 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ให้ปลากิน ติดต่อกันเป็นเวลา 5 – 7 วัน

แล้วจึงหยุด ระหว่างน้ีพิจารณามาตรการในการจัดการตามข้อเสนอแนะในการปอ้ งกันโรค

ข้างต้น และควรมีระยะหยุดยา (Withdrawal period) อย่างน้อย 14 - 21 วัน ก่อนจับ

ผลผลติ เพ่ือความปลอดภัยของผู้บรโิ ภค

เร่อื งท่ี 3

โรคไวรัสท่ีเกิดจากเช้ือ Tilapia lake virus

(TiLV) (Tilapia lake virus disease)

การเกิดโรคไวรัสในปลานิลในประเทศไทยหรือในหลาย ๆ พื้นที่ทั่วโลกในช่วง
หลายปีที่ผ่านมาถือว่ามีรายงานอย่างจากัด อย่างไรก็ตามเมื่อไม่นานมานี้ Bigarre
et al. (2009) ได้รายงานการระบาดของโรคท่ีมีการตายที่รุนแรง โดยเฉพาะปลานิล
วัยอ่อนที่เลี้ยงในพื้นที่ทางตะวันตกของทวีปยุโรป ที่พบว่าปลาที่เป็นโรคจะแสดง
อ า ก า ร ว่า ย น้า อ ย่า ง ไ ร้ทิศ ท า ง แ ล ะ เ มื่อ ต ร ว จ ส อ บ ท า ง พ ย า ธิส ภ า พ พ บ ร อ ย โ ร ค ที่มี
ลักษณะคล้ายกับ Betanodavirus ที่เกิดกับปลาหลายชนิด โดยเฉพาะการเกิด
Vacuolation ใ นร ะ บบ ปร ะ สา ทต่า ง ๆ ข อง ป ลา โร ค ดัง กล่า วจ ะเ กิดขึ้นแ ล ะแ พ ร่
ร ะ บ า ด ม า ก ใ น ช ่ว ง ฤ ดูห น า ว แ ล ะ มีอัต ร า ก า ร ต า ย สูง ขึ้น ใ น ส ภ า พ ที่มีอุณ ห ภูมิสูง ใ ก ล้
30°C จากการตรวจสอบโดยการใช้เทคนิคทางจุลพยาธิและอณูชีววิทยาพบว่า
เชื้อโรคดังกล่าวมีความคล้ายคลึงกับ กลุ่มของไวรัสที่อยู่ในกลุ่ม Betanodavirus
ท่ีเกิดขึ้นในปลา Red-spotted grouper

อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันพบว่าอุบัติการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสในปลานิลมี
จา น ว น เ พิ่ม ม า ก ขึ้น โ ด ย โ ร ค ที่มีค ว า ม สา คัญ เ ป็น อัน ดับ ต้น ๆ ไ ด้แ ก่โ ร ค ติด เ ชื้อ
“Tilapia lake virus (TiLV)” ซึ่งจัดเป็นเชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคอุบัติใหม่ท่ี
กา ลั ง เ ป็ น ป ัญ ห า สา คั ญ ข อ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง ป ล า นิ ล ไ ม่ เ ฉ พ า ะ แ ค่ ใ น ป ร ะ เ ท ศ
ไทย แต่ยังส่งผลในระดับโลกเช่นกัน ในปัจจุบันมีรายงานของการตรวจพบเชื้อ
TiLV ในทวีปเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาใต้ ในขณะน้ีองค์กรนานาชาติหลายแห่งได้
แ ส ด ง ถึง ค ว า ม กัง ว ล ต่อ ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง เ ชื้อ TiLV ที่อ า จ แ พ ร่ก ร ะ จ า ย แ ล ะ ส่ง ผ ล
ก ร ะ ท บ อ ย่ า ง ม ห า ศ า ล ต่ อ ห ล า ย อุ ต ส า ห ก ร ร ม ที่ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว เ นื่ อ ง กั บ ก า ร ผ ลิ ต ป ล า นิ ล
ดังเช่นองค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE) ได้ตีพิมพ์เอกสารรวบรวม

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธ์ุ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 86 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

ข้อมูลทางชีววิทยาของเช้ือไวรัสชนิดน้ี (OIE, 2017) อย่างไรก็ตาม การเกิดโรคไวรัส

ชนิดนี้ในประเทศไทยนั้น ยังถือว่ามีความเสียหายต่ออุตสาหกรรมในภาพรวมอยู่ใน

ระดับต่าเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ที่มีการเลี้ยงปลานิลและมีการรายงานการระบาด

ของโรคไวรัสชนิดน้ี

น อ ก จ า ก เ ชื้อ ไ ว รัส TiLV แ ล้ว ป ัจ จ ุบัน ยัง พ บ อุบัติก า ร ณ์ข อ ง ไ ว รัส ใ น

ครอบครัว Iridoviridae คือ ไวรัส Infectious spleen and kidney necrosis

virus (ISKNV) ซึ่งเป็นดีเอ็นเอไวรัสซึ่งเป็นสาเหตุการตายของปลานิลวัยอ่อนได้ถึง

75% โดยปลาปว่ ยมักไม่แสดงอาการจาเพาะแต่จะสามารถตรวจพบการเปลี่ยนแปลง

ทางพยาธิวิทยาได้ในอวัยวะภายใน เช่น ม้าม ตับ ไต สมองและหัวใจ โดยพบการ

ตายและลักษณะ Enlarged basophilic inclusion body ในเซลล์ นอกจากน้ี

ยังสามารถตรวจพบการติดเชื้อในอวัยวะภายใน รวมทั้งอวัยวะสืบพันธุ์ของปลานิล

พ่อ แ ม่พัน ธุ์ทา ใ ห้ส า ม า ร ถ สัน นิษ ฐ า น ถึง ค ว า ม เ ป็น ไ ป ไ ด้ข อ ง ก า ร ส่ง ผ่า น เ ชื้อ ไ ว รัส

ISKNV สู่ลูกปลา ปัจจุบันมีการรายงานการตรวจพบเชื้อไวรัสดังกล่าวจากปลานิลที่

ปว่ ยในประเทศไทยทั้งปลาที่เลี้ยงในกระชังและปลาพ่อแม่พันธ์ในโรงเพาะฟกั (Dong

et al. 2015, Suebsing et al. 2016)

3.3.1 สาเหตุ จากข้อมูลในปัจจุบัน 3.3.2 อาการ ปลาที่ติดเช้ือจะแสดง

จะพบว่าเมื่อนาข้อมูลการเกิดโรคท่ีมีสาเหตุ อาการไดห้ ลากหลายตั้งแตอ่ าการภายนอกท่ี

มาจากไวรัสในปลานิลของประเทศไทยจะ ไม่จาเพาะเช่น เซ่ืองซึม ไม่กินอาหารตาขุ่น

พ บ ว่ า โ ร ค ไ ว รั ส ท่ี มี ส า เ ห ตุ ม า จ า ก เ ชื้ อ ตาโปน เกล็ดหลุด มีจุดเลือดออก ครีบ

“Syncitial hepatits virus หรอื Tilapia กร่อน ตัวซีดหรือสีเข้ม ท้องบวม เหงือก

lake virus (TiLV)” ไวรัสชนิดนี้จัดเป็น ซีด (Eyngor et al., 2014; Nicholson

ไวรัสท่ีมีสารพันธุกรรมเป็น RNA อยู่ใน et al., 2017; Tattiyapong et al., 2017)

Family Orthomyxoviridae สามารถ อย่างไรกต็ าม ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมายงั ไม่พบ

ก่อให้เกดิ โรคในปลากลุ่ม Tilapia หลายชนดิ การระบาดทีร่ นุ แรงในประเทศไทย โดยมักจะ

โดยเฉพาะปลา Sarotherodon (Tilapia) เกิดกับปลาท่ีมีขนาดเล็ก (น้าหนักน้อยกว่า

galilaeus, หรือปลานิล (Oreochromis 100 กรมั ) ซ่งึ เล้ียงในกระชังเป็นหลัก โดย

niloticus) และปลานลิ ลกู ผสม (O. niloticus ไม่พบการรายงานในปลาที่เลี้ยงในบ่อดิน

X O. aureus) ซ่ึงต่างกับต่างประเทศที่มีการรายงานใน

ปลาขนาดใหญ่เป็นหลักและมักเกิดกับปลาที่

เลยี้ งในแหล่งน้าขนาดใหญ่

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 87 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า


Click to View FlipBook Version