Mugimba, K. K., A. A. Chengula, S. Wamala, E. D. Mwega, C. J. Kasanga,
D. K. Byarugaba, R. H. Mdegela, S. Tal, B. Bornstein, A. Dishon, S.
Mutoloki, L. David, Ø. Evensen, H. M. Munang'andu. 2018.
Detection of tilapia lake virus (TiLV) infection by PCR in farmed
and wild Nile tilapia (Oreochromis niloticus) from Lake Victoria. J
Fish Dis. 41(8): 1181–1189.
Nicholson, P., M. A. Fathi, A. Fischer, C. Mohan, E. Schieck, N. Mishra,
A. Heinimann, J. Frey, B. Wieland, J. Jores. 2017. Detection of
Tilapia Lake Virus in Egyptian fish farms experiencing high
mortalities in 2015. J Fish Dis. 40 (12):1925–1928.
Pumchan, A., S. Krobthong, S. Roytrakul, O. Sawatdichaikul, H. Kondo, I.
Hirono, et al. 2020. Novel Chimeric Multiepitope Vaccine for
Streptococcosis Disease in Nile Tilapia (Oreochromis niloticus
Linn.). Sci. Rep. 10(1): 1–13.
Ramos-Espinoza, F. C., V. A. Cueva-Quiroz, J. Yunis-Aguinaga and J.
R. E. de Moraes. 2020. A comparison of novel inactivation
methods for production of a vaccine against Streptococcus
agalactiae in Nile tilapia Oreochromis niloticus. Aquaculture 528:
735484. https://doi.org/10.1016/j.aquaculture.2020.735484.
Shahin, K., A. P. Shinn, M. Metselaar, J. G. Ramirez-Paredes, S. J.
Monaghan, K. D. Thompson, et al. 2019. Efficacy of an
inactivated whole-cell injection vaccine for nile tilapia,
Oreochromis niloticus (L), against multiple isolates of Francisella
noatunensis subsp. orientalis from diverse geographical regions.
Fish Shellfish Immunol. 89: 217–27.
Shoemaker, C. A., G. W.Vandenberg, A. Désormeaux, P. H. Klesius and
J. J. Evans. 2006. Efficacy of a Streptococcus iniae modified
bacterin delivered using Oralject technology in Nile tilapia
(Oreochromis niloticus). Aquaculture 255(1): 151–6.
Su, H., I. A. Yakovlev, A. van Eerde, J. Su and J. L. Clarke. 2021. Plant-
Produced Vaccines: Future Applications in Aquaculture. Front
Plant Sci. 12: 1592. https://doi.org/10.3389/fpls.2021.718775.
- 138 -
Tettelin, H., V. Masignani, M. J. Cieslewicz, J. A. Eisen, S. Peterson, M.
R. Wessels, et al. 2002. Complete genome sequence and
comparative genomic analysis of an emerging human pathogen,
serotype V Streptococcus agalactiae. Proc. Natl. Acad. Sci.
99(19): 12391–6.
Yao, Y. Y., D. D. Chen, Z. W. Cui, X. Y. Zhang, Y. Y. Zhou, X. Guo, et al.
2019. Oral vaccination of tilapia against Streptococcus
agalactiae using Bacillus subtilis spores expressing Sip. Fish
Shellfish Immunol. 86: 999–1008.
Yue, K. and Y. Shen. 2021. Review article: An overview of disruptive
technologies for aquaculture. Aquaculture and Fisheries
https://doi.org/10.1016/j.aaf.2021.04.009.
Zeng, W., Y. Wang, H. Hu, Q. Wang, S. M. Bergmann, Y. Wang, et al.
2021. Cell Culture-Derived Tilapia Lake Virus-Inactivated Vaccine
Containing Montanide Adjuvant Provides High Protection
against Viral Challenge for Tilapia. Vaccines 9(2): 86. doi:
10.3390/vaccines9020086.
Zhang, Z. 2021. Review: Research advances on tilapia streptococcosis.
Pathogens 10(5): 558. doi.org/10.3390/pathogens10050558.
Zhu, L., Q. Yang, L. Huang, K. Wang, X. Wang, D. Chen, et al. 2017.
Effectivity of oral recombinant DNA vaccine against
Streptococcus agalactiae in Nile tilapia. Dev. Comp. Immunol. 77:
77–87.
- 139 -
ตอนที่
2
ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง
โ ป ร ไ บ โ อ ติ ก
ใ น ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า นิ ล
เร่อื งที่ 1
บทนำ
ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าของประเทศไทย และประเทศอื่น ๆ ท่ัวโลกพบว่ามีการพัฒนา
เทคโนโลยี ต่าง ๆ มากมาย เพื่อให้การเลี้ยงประสบความสาเร็จ ได้ผลผลิตตามเปา้ หมายและ
มีความปลอดภัยสูงสุดกับผู้บริโภค นามาซึ่งความยั่งยืนของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการ
ประกอบอาชีพของเกษตรกรจากรุ่นสู่รุ่นด้วยความมั่นคงและมั่งค่ัง เทคโนโลยีสาคัญ ๆ
ที่ได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง เช่น การปรับปรุงพันธ์ุของสัตว์น้าเศรษฐกิจ เทคโนโลยี
การเล้ียงทเ่ี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีปญั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) และ
เทคโนโลยกี ารจัดการสขุ ภาพสตั ว์น้า เป็นตน้
การใช้โปรไบโอตกิ เป็นเทคโนโลยที ี่นามาใช้กับการเลี้ยงสัตว์มาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะใน
สัตว์ปีก สุกร และสัตว์เคี้ยวเอ้ือง เช่นเดียวกับการใช้ในสัตว์น้าซึ่งท่ีน่าสนใจมากคือเป็น
เทคโนโลยีท่ีได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมีการใช้กันอย่างแพร่หลายจนปจั จุบัน ด้วยท่ี
เป็ นหลั กการทางชี วภาพซ่ึ งมี ความปลอดภั ยต่ อสั ตว์ น้ าและไม่ มี ผลเชิ งลบต่ อผลผลิ ตและ
ผู้บริโภค รวมท้ังมีประสิทธิภาพที่เป็นประจักษ์กับนักวิชาการและผู้ประกอบการ ทาให้มีการ
วิจัยพัฒนาเก่ียวกับโปรไบโอติกมาอย่างต่อเน่ือง ทั้งในระดับประเทศและต่างประเทศ ปจั จุบัน
การเพาะเล้ียงสัตว์น้ามีการใช้โปรไบโอติกกันอย่างแพร่หลายในหลายรูปแบบ เช่น การผสม
อาหาร หรือ การใช้ในบ่อ โดยมีแหล่งของโปรไบโอติกค่อนข้างหลากหลาย เช่น ผลิตภัณฑ์ท่ี
ผลติ โดยภาครัฐ ภาคเอกชนและท่ีเกษตรกรผลิตเอง ด้วยประโยชน์ที่มีมากมายจึงทาให้การใช้
โปรไบโอตกิ เป็นท่ีนยิ มในการเล้ียงสัตวน์ ้าเศรษฐกิจของประเทศไทย
เร่อื งที่ 2
นิยำมของโปรไบโอติก
ในปี 2001 องคก์ ารอาหารและการเกษตรแหง่ สหประชาชาติ (Food and Agriculture
Organization of the United Nations [FAO]) และองคก์ ารอนามัยโลก (World Health
Organization [WHO]) มีข้อสังเกตว่า มีการใช้โปรไบโอติกกันมากทั้งในคนและสัตว์เล้ียง
เพ่ือให้การใช้มีความถูกต้องในเชิงวิชาการและเกิดประโยชน์สูงสุด หน่วยงานท้ังสองจึงได้ให้
คาจากดั ความของโปรไบโอตกิ ไว้ดงั น้ี “live microorganisms which when administered
in adequate amounts confer a health benefit on the host” หมายถึง
“จลุ นิ ทรยี ม์ ีชีวติ ซงึ่ เมอ่ื รา่ งกายไดร้ บั ในปรมิ าณที่เพียงพอจะเกิดประโยชน์กับสขุ ภาพ”
บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 141 - ตอนที่ 2 ประโยชนข์ องโปรไบโอตกิ ในการเล้ยี งปลานลิ
จุลนิ ทรียท์ ่ีนยิ มใช้ เชน่ แบคทีเรยี สกลุ Lactobacillus spp., Bifidobacterium spp.,
Bacillus spp. และยีสต์ในสกุล Saccharomyces spp. เป็นต้น โปรไบโอติกท่ี
นิยมใช้กับการเล้ียงปลาและกุ้งเป็นแบคทีเรียในสกุล Bacillus เช่น B. subtilis,
B. licheniformis, B. amyloliquefaciens และ B. megaterium เป็นตน้ ด้วยคณุ สมบัติ
ท่ีสามารถเข้าสปอร์ได้ ทาให้เหมาะสมในการผลิต การเก็บรักษา และการใช้งาน
กลไกสาคัญของโปรไบโอติกคือการสร้างความสมดุลในระบบทางเดินอาหารของ
สัตว์ ด้วยกิจกรรมของโปรไบโอติกที่สามารถดารงอยู่ในทางเดินอาหาร ช่วยปอ้ งกัน
ไม่ให้จุลินทรีย์ที่เป็นโทษเจริญเติบโตได้ เพราะโปรไบโอติกสามารถยึดครองพื้นที่ใน
ลาไส้ได้ดีกว่า รวมทั้งการสร้างสารบางชนิดที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของ
จุลิน ท รีย์ที่เ ป็น โ ท ษ ไ ด้ แ ล ะ ส่ง เ ส ริม ใ ห้จุลิน ท รีย์ที่เ ป็น ป ร ะ โ ย ช น์เ จ ริญ เ ติบ โ ต ไ ด้ดี
นอกจากน้ี โปรไบโอติกยังสามารถสร้างเอนไซม์ได้หลายชนิด เช่น โปรติเอส อะไมเลส
และไลเปส ซึ่งจะช่วยในการใช้อาหารของสัตว์ได้ดีขึ้น ทาให้สัตว์มีสมดุลของประชากร
จุลินทรีย์ในทางเดินอาหารอย่างต่อเนื่อง ช่วยให้สุขภาพดี มีการใช้อาหารและการดูด
ซึมและการเจริญเติบโตที่ดี จึงทาให้มีการใช้โปรไบโอติกในการเลี้ยงสัตว์น้ากันอย่าง
แพร่หลายจนกระทั่งปัจจุบัน
เร่อื งที่ 3
คุณสมบัติของโปรไบโอติกท่ีดี
3.1 ควรเป็นจุลินทรีย์ที่เล้ียงได้ง่าย สามารถเพิ่มจานวนได้รวดเร็วและไม่ยุ่งยาก ซึ่ง
เป็นคณุ สมบตั สิ าคญั ในการผลิตทางการค้า และการใช้งานในระดับฟารม์
3.2 จุลินทรีย์ที่สามารถเข้าสปอร์ได้ เช่น สกุล Bacillus จะมีข้อได้เปรียบที่สามารถ
พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีเก็บรักษาไว้ได้นาน ส่วนท่ีเข้าสปอร์ไม่ได้ เช่น Lactobacillus ก็
สามารถใช้ไดโ้ ดยการเตรียมและการใช้ที่เหมาะสม
3.3 สามารถเจริญเติบโตได้ดีภายใต้สภาวะต่าง ๆ เช่น อุณหภูมิ ความเค็ม ปริมาณ
ออกซเิ จน และความเป็นกรด-ดา่ ง (พีเอช) เป็นต้น
3.4 สามารถทนต่อสภาวะในทางเดินอาหารของสัตว์ เช่น ความเป็นกรด-ดา่ ง (พีเอช)
เอนไซม์ และน้าดี เป็นต้น
บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 142 - ตอนที่ 2 ประโยชน์ของโปรไบโอติกในการเลยี้ งปลานลิ
3.5 สามารถมชี ีวติ และเจรญิ เตบิ โตได้ดีในทางเดินอาหารของสัตว์ และสามารถยับย้ังการ
เจริญของจุลินทรีย์ที่เป็นโทษ ด้วยคุณสมบัติต่าง ๆ เช่น การยึดเกาะท่ีผนังลาไส้ การแข่งขัน
ในการใช้อาหาร/แร่ธาตุ หรือการสร้างสารยับย้ัง เช่น สาร bacteriocin กรดอินทรีย์ เช่น
กรดแลคติก สามารถส่งเสริมจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ ทาให้เกิดสมดุลของประชากร
จลุ ินทรยี ์ในทางเดินอาหาร
3.6 สร้างเอนไซม์ท่ีเป็นประโยชน์ในการย่อยอาหารของสัตว์ เช่น โปรติเอส อะไมเลส
และไลเปส
3.7 ช่วยกระตุ้นภมู ิคุ้มกันของสัตว์ ทาให้สตั วม์ คี วามต้านทานตอ่ เชือ้ โรคไดด้ ี
ภาพท่ี 62 ลกั ษณะเซลล์ของบาซิลลสั
ท่ีตดิ สยี ้อมแกรมบวก เป็นแท่งยาว
ภาพที่ 63 แสดงคณุ สมบตั กิ ารเขา้ สปอรข์ อง
บาซิลลสั (spored cell) เปรียบเทียบกบั
เซลล์ปกติ (vegetative cell)
ภาพที่ 64 การดารงชีวิตอยใู่ นทางเดินอาหารของ
สตั วน์ ้าเป็นคุณสมบัติสาคัญของโปรไบโอติกที่ดี
บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 143 - ตอนที่ 2 ประโยชนข์ องโปรไบโอตกิ ในการเล้ยี งปลานลิ
ภาพท่ี 65 การทดสอบคณุ สมบัติการยบั ยงั้ เช้ือกอ่ โรคในสตั ว์น้าของโปรไบติกกลุ่มบาซิลลัส
(เชอ้ื ในแนวตง้ั คอื เชือ้ ก่อโรคในสตั วน์ ้า; เช้อื ในแนวนอน คอื โปรไบโอตกิ ทีใ่ ชท้ ดสอบ)
เร่อื งที่ 4
ชนิดของโปรไบโอติก
และกำรใช้ในปลำนิล
การใช้โปรไบโอตกิ มีความหลากหลายของชนดิ ของจุลินทรยี ์ ซ่งึ สรุปได้ดังนี้
4.1 แบคทเี รียและทไี่ มใ่ ช่แบคทเี รีย ตัวอย่างของแบคทเี รยี ทใ่ี ชเ้ ป็นโปรไบโอตกิ เชน่ Bacillus,
Lactobacillus, Bifidobacterium และทไ่ี ม่ใช่แบคทเี รีย เช่น ยสี ต์ Saccharomyces
4.2 แบคทีเรียท่ีเข้าสปอร์ เช่น Bacillus และไม่เข้าสปอร์ เช่น Lactobacillus และ
Bifidobacterium ในการเลยี้ งสัตว์น้านิยมใช้แบคทีเรียทเี่ ขา้ สปอร์
4.3 ปัจจุบันในการเล้ียงสัตว์น้านิยมใช้โปรไบโอติกมากกว่าหนึ่งชนิด โดยเฉพาะ
Bacillus subtilis, B. licheniformis, B. amyloliquefaciens, B. megaterium และ
B. pumilus เป็นตน้ โดยพิจารณาจากคณุ สมบตั ทิ ีโ่ ดดเด่นของบาซิลลสั แตล่ ะชนิด
4.4 โปรไบโอติกท่ีพบในทางเดนิ อาหารสตั ว์ หรอื ทนี่ ามาจากแหล่งอื่น ในสัตว์น้าพบว่า
ในทางเดินอาหารมีแบคทีเรียท่ีสามารถนามาใช้เป็นโปรไบโอติก เช่น Bacillus และ
Lactobacillus
4.5 หัวเชื้ออีเอ็ม (Effective microorganism [EM]) ประกอบด้วยจุลินทรีย์หลาย
ชนิด นิยมใช้กนั ในวงการเกษตรและการเล้ยี งสัตวน์ ้า
4.6 น้าหมักชีวภาพ ที่ได้จากการหมักหัวเชื้อจุลินทรีย์ กับอาหารที่ได้จากวัตถุดิบ
ธรรมชาตใิ นท้องถนิ่
บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 144 - ตอนท่ี 2 ประโยชน์ของโปรไบโอตกิ ในการเลี้ยงปลานิล
ในการเลี้ยงปลานิลของประเทศไทยพบว่ามีการใช้โปรไบโอติกจากหลายแหล่ง โดยส่วน
ใหญ่เป็นบาซิลลัสในรูปของสปอร์ที่ได้จากผลิตภัณฑ์ทางการค้า และของภาครัฐ (กรมประมง)
รวมถึงหัวเช้ืออีเอ็ม เกษตรกรต้องการลดต้นทุนก็จะเตรียมเชื้อเอง ส่วนที่นิยมในกลุ่ม
เกษตรกรผู้เล้ียงปลานิลบางแห่งคือ การใช้น้าหมักชีวภาพโดยใช้หัวเช้ือโปรไบโอติก เช่น
บาซิลลัส หรืออีเอ็ม หมักกับอาหารเลี้ยงเชื้อท่ีได้จากท้องถิ่น เช่น กล้วย และ ดอกกระเจี๊ยบ
เป็นต้น จากข้อมูลที่ได้จากโครงการปราชญ์ปลานิล พบว่าตรวจพบเชื้อบาซิลลัสจากน้าหมัก
เหล่านี้แต่มักจะมีปริมาณเช้ือน้อย ซึ่งการใช้เทคนิคแบบนี้นอกจากจะช่วยในการลดต้นทุนแล้ว
ยังสามารถนาวัสดุท้องถ่ินมาใช้ประโยชน์ได้ นอกจากการใช้ผสมอาหารยังพบว่ามีการใช้
จุลินทรีย์โปรไบโอติกลงในบ่อ เช่น บ่ออนุบาล/บ่อชาปลานิล เพ่ือรักษาสภาพพ้ืนบ่อ เพราะ
โปรไบโอติกหลายชนิดสามารถใช้สารอินทรีย์ได้ดีทั้งในสภาพท่ีมีและไม่มีออกซิเจน ซ่ึงก็จะทาให้
สามารถควบคุมปริมาณเลนพ้ืนบ่อได้ และทาให้คุณภาพน้าในภาพรวมของบ่อมีความเหมาะสม
ในการอนุบาลหรือเลี้ยงปลานิลไปด้วย อย่างไรก็ตาม ในการใช้โปรไบโอติกให้ได้ประโยชน์กับ
ปลา ควรพิจารณาในประเดน็ ต่าง ๆ เชน่
•การ ใช้ผลิต ภัณ ฑ์ท างก าร ค้า ต้อ งเ ลือก ใช้สิน ค้าที่น่า เชื่อ ถือ แ ละมีกา รขึ้น
ทะเบียนกับหน่วยงานภาครัฐ
•ควรเป็นจุลินทรีย์ท่ีมีคุณสมบัติท่ีดีของโปรไบโอติก (ตามข้างต้น)
•ควรมีปริมาณจุลินทรีย์ในระดับที่เหมาะสม ผลิตภัณฑ์โปรไบโอติกส่วนใหญ่
ระบุว่ามีปริมาณเชื้อประมาณ 109 ถึง 1012 CFU/กรัม การผสมอาหารให้ปลากินยัง
ไ ม่ มี ร า ย ง า น ว่ า ค ว ร จ ะ ต้ อ ง มี ป ริ ม า ณ เ ชื้ อ เ ท่ า ไ ร เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล อ ย่ า ง ชั ด เ จ น
ใ น ไ ก่เ นื้อ พ บ ว่า ใ น อ า ห า ร ไ ก่ที่มีโ ป ร ไ บ โ อ ติก ผ ส ม อ ยู่ที่ 108 CFU/ก ก . ไ ม่มีผ ล ต่อ
ประชากรจุลินทรีย์ที่ตรวจพบในมูลไก่ แต่ที่ 109 CFU/กก. พบว่าปริมาณเชื้อใน
กลุ่มโคลิฟอร์มในมูลจะลดลงอย่างมีนัยสาคัญ
•การใช้จุลินทรีย์น้าหมัก ควรให้แน่ใจว่ามีปริมาณโปรไบโอติกพอในการนาไป
ให้ปลา และไม่มีเช้ือท่ีเป็นโทษต่อปลาหรือผู้บริโภค
•การเตรียมน้าหมักชีวภาพ ควรใช้หัวเชื้อโปรไบโอติก (ผลิตภัณฑ์ทางการค้า
ภาครัฐ หรือ อีเอ็ม) ร่วมด้วย เพื่อให้แน่ใจว่าได้ปริมาณโปรไบโอติกที่เหมาะสมใน
ผลผลิตน้าหมักก่อนนาไปใช้ผสมอาหารเล้ียงปลา
• ค ว ร เ ลี้ ย ง ป ล า นิ ล ด้ ว ย อ า ห า ร ผ ส ม โ ป ร ไ บ โ อ ติ ก อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ รั บ ใ น
ปริมาณท่ีเพียงพอและเกิดประโยชน์กับปลา เช่น ให้สัปดาห์ละคร้ัง
บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 145 - ตอนท่ี 2 ประโยชนข์ องโปรไบโอตกิ ในการเลย้ี งปลานลิ
เร่อื งที่ 5
กำรแยกโปรไบโอติกจำกสัตว์นำ้
การแยก (isolation) โปรไบโอติกจากสัตว์น้า สามารถแยกไดจ้ ากลาไส้ของสัตวน์ ้า หรือ
จากสิ่งแวดล้อม จากดิน จากน้า โดยท่ัวไปแล้วมักจะแยกโปรไบโอติกจากลาไส้ของสัตว์น้า
เจ้าบา้ น และสิ่งแวดล้อมที่เล้ียงสัตว์น้าภายในสัตว์น้ากลุ่มเดียวกัน เพื่อใช้ในสัตว์น้าชนิดน้ัน ๆ
เช่น การแยกเชื้อ Rummeliibacillus sp. จากลาไส้ของปลานิลเพื่อใช้เป็นโปรไบโอติกในปลานิล
(Tan et al., 2019) การแยกเชื้อ Bacillus spp. จากลาไส้ และ ดินในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดา
เพื่อใช้เป็นโปรไบโอติกในกุ้งกุลาดา และ กุ้งขาว เป็นต้น นอกจากน้ียังมีการพยายามใช้
ประโยชน์จากเชื้อในแหล่งน้าธรรมชาติ เช่น การแยกเชื้อแบคทีเรียกลุ่มผลิตกรดแลคติก
(Lactic Acid Bacteria; LAB) (Hamdan et al., 2016) และ แบคทีเรียกลุ่มท่ีทนต่อ
อุณหภูมิต่า (psychrotolerant bacteria) (Makled et al., 2017) จากตัวอย่างตะกอน
น้าทะเล สาหร่าย ฟองน้า และปะการังจากชายฝ่ งั ทะเล มาใชเ้ ป็นโปรไบโอตกิ ในปลานิลอีกดว้ ย
ขั้นตอนการแยกเชื้อจากลาไส้ปลานิล ทาการสุ่มเก็บตัวอย่างปลานิลท่ีมีสุขภาพดี
อดอาหารเป็นเวลา 72 ชั่วโมงก่อนผ่าหน้าท้อง ด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ ผ่าตัดนาลาไส้มาบดให้
เป็นเนื้อเดียวในสารละลายที่มีคุณสมบัติเป็นอาหารเลี้ยงเช้ือ หรือ saline solution และทาการ
บ่มท่ีอุณหภูมิ 28°C เป็นเวลา 24 ช่ัวโมง เพื่อเพ่ิมจานวนแบคทีเรียทั้งหมด จากนั้นทาการ
แยกเช้ือแบคทีเรียที่มีคุณสมบัติเป็นโปรไบโอติก ด้วยวิธีการหลากหลาย ขึ้นอยู่กับกลุ่ม
แบคทีเรยี โปรไบโอติกที่ต้องการ ดงั น้ี
1. การช็อกด้วยความร้อนและความเย็น (heat and cold shock) ทาได้โดยการแช่
หลอดทดลองท่ีมีสารละลายแบคทีเรียรวม ลงในอ่างน้าควบคุมอุณหภูมิ ท่ีอุณหภูมิ 80 °C
เป็นเวลา 20 นาที (Hamdan et al., 2016; Makled et al., 2017; Reda et al.,
2018; Tan et al., 2019) หรือ 75–80 °C เป็นเวลา 10–15 นาที (Song et al., 2011)
และทาให้เย็นลงทันที (on ice) 1 – 2 นาที (Sookchaiyaporn et al., 2020) เพ่ือลด
จานวนแบคทีเรียท่ีไม่มีคุณสมบัติสร้างเอนโดสปอร์ จากนั้นนา supernatant มาทาให้เชื้อ
กระจายในจานเพาะเชื้อ (spread plate) แ ละ ทาการแยกเชื้อให้บริสุทธิ์ด้วยการ
เข่ียเชื้อในจานเพาะเชื้อ (streak plate) เพ่ือนาไปทดสอบคณุ สมบตั ิในข้นั ตอนต่อไป
บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 146 - ตอนที่ 2 ประโยชน์ของโปรไบโอตกิ ในการเลย้ี งปลานิล
2. การแช่เยือกแข็ง (cryo-culture) คือ การใช้ความเย็นท่ีอุณหภูมิระดับแช่เชือกแข็ง
ในการแยกแบคทีเรียกลุ่มท่ีมีคุณสมบัติในการทนต่อความเย็นจัดได้ ซึ่งอาจมีคุณสมบัติในการ
สร้างหรือไม่สร้างเอนโดสปอร์ก็ได้ ทาได้โดยการเก็บรักษาลาไส้ หรือ สารละลายลาไส้
ในหลอดแช่แข็ง (cryo-vial) ที่ อุณหภูมิ -80 °C จากนั้นจึงใช้เทคนิคทางชีวโมเลกุลเพื่อทา
การจาแนกชนดิ ของเชื้อแบคทีเรยี (Wanka et al., 2018)
3. การเพาะเชื้อบนอาหารเล้ียงเชื้อแบบคัดเลือก (selective media) เป็นการแยกเชื้อ
จากคุณสมบัติเฉพาะของเชื้อที่จะสามารถเจริญได้บนอาหารเล้ียงเช้ือชนิด selective media
เฉพาะชนิด เช่น การแยกเชื้อแบคทีเรยี Lactobacillus spp. โดยการใช้อาหารเลย้ี งเช้ือ MRS
(De Man, Rogosa and Sharpe) (Hamdan et al., 2016) การแยกเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม
ที่ทนต่อความเค็ม (halotolerant bacteria) โดยการใช้อาหารเล้ียงเช้ือ marine medium
(Makled et al., 2017; Wanka et al., 2018) เป็นต้น
4. การเลี้ยงเช้ือภายใต้อุณหภูมิต่า (low-temperature cultivation) เป็นวิธีสาหรับ
แยกเช้ือแบคทีเรียในกลุ่มท่ีทนต่อความเย็น และเจริญได้ดีในอุณหภูมิต่า (psychrotolerant
bacteria) ทาได้โดยการบม่ ตัวอย่าง (ในรปู ของสารละลายท่ีอยู่ในอาหารเล้ียงเช้ือ) ท่ีอุณหภูมิ
5 °C นาน 7 – 10 วัน จากน้ันนา supernatant มาทาให้เช้ือกระจายในจานเพาะเช้ือ และ
ทาการแยกเชอ้ื ให้บรสิ ุทธิ์ และนาไปทดสอบคุณสมบัติการทนต่ออุณหภูมิอีกคร้ังท่ีช่วงอุณหภูมิ
ระหว่าง 5 – 40 °C หรือ คุณสมบัติอื่น ๆ ด้วย เช่น การทนต่อช่วงความเค็ม 0 – 10 %
NaCl และ ช่วง pH 4.0 – 9.0 (Makled et al., 2017)
เม่ือทาการแยกเช้ือที่ต้องการได้แล้ว นาเช้ือที่ผ่านการทาให้บริสุทธ์ิแล้วมาทาการจาแนก
ชนิดของเชื้อที่แยกได้ ด้วยการตรวจสอบลักษณะสัณฐาน การทดสอบทางจุลชีววิทยา การ
ทดสอบทางชีวเคมี และระบุชนิดของแบคทีเรียด้วยวิธีทางชีวโมเลกุลโดยการเพ่ิมปริมาณดีเอ็น
เอของยีน 16S rRNA ในแบคทีเรีย ด้วยไพรเมอร์สากล (universal primer) และวิเคราะห์
ลาดับเบส (DNA sequencing analysis) และนาไปเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลลาดับเบสใน
GenBank โดยใช้ BLAST (http://www.ncbi.nlm.nih.gov/blast)
นอกจากการระบุชนิดของเช้ือแล้ว ในการแยกและจัดจาแนกเช้ือเพื่อนาไปใช้ประโยชน์เป็น
โปรไบโอติก ควรต้องมีการประเมินคุณสมบัติด้านอ่ืน ๆ ของเช้ือท่ีแยกได้ด้วย เช่น การทดสอบ
ความเป็นพิษต่อสัตวน์ ้า การประเมินการผลติ สารพิษ ความสามารถในการเจริญในทางเดินอาหาร
ของสตั วน์ ้า ความตา้ นทานต่อยาปฏชิ ีวนะ (Hamdan et al., 2016) ความตา้ นทานทางเคมกี ายภาพ
ระหว่างการผลิต (physicochemical stresses during production) และ ความเสถียร
ระหว่างการผลิตและการเก็บรักษา (Mingmongkolchai and Panbangret, 2018) การทนต่อ
ระดบั pH และ เกลือน้าดี (bile salts tolerance) (Sookchaiyaporn et al., 2020) เป็นต้น
บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 147 - ตอนที่ 2 ประโยชนข์ องโปรไบโอติกในการเล้ยี งปลานลิ
เร่อื งท่ี 6
งำนวจิ ัยโปรไบโอติก
กับปลำนิล
การใช้โปรไบโอติกในปลานิล มีการศึกษาวิจัยอย่างแพร่หลายต่อเนื่อง มีการศึกษาผล
ของการใชโ้ ปรไบโอติกในปลานลิ หลากหลายสายพันธ์ุ ในสกุล Oreochromis sp. หรอื ในสายพันธ์ุ
ลกู ผสม โดยเฉพาะอย่างย่ิง Oreochromis niloticus ซ่ึงเป็นสายพันธุ์ที่สาคัญและนิยมเล้ียง
มากท่ีสุด รูปแบบและวธิ กี ารใชโ้ ปรไบโอติกในปลานิลส่วนใหญ่เป็นการให้ผ่านการเสริมในอาหาร
(dietary supplementation) ท้ังการใช้ โปรไบโอติกเพียงชนิดเดียว หรือ แบบผสมตั้งแต่
สองชนิดข้ึนไป จากโปรไบโอติกสายพันธุ์ที่แยกได้เอง หรือ สายพันธ์ุทางการค้า ท้ังน้ีอาจมี
การใช้โปรไบโอติกร่วมกับพรีไบโอติก หรือ สารอ่ืน ๆ ท่ีมีคุณสมบัติช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน
มกี ารศกึ ษาอตั ราการใช้ ระยะเวลาการใช้ ซึง่ ผลจากการใชโ้ ปรไบโอติกดังกลา่ วสง่ ผลตอ่ ปลานลิ
ทั้งในด้าน การเจริญเติบโต ภูมิคุ้มกัน ความต้านทานโรค ปริมาณเชื้อในลาไส้ และกิจกรรม
ของเอนไซม์ในลาไส้ โดยได้รวบรวมผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์เมื่อไม่นานมาน้ี ดังแสดงใน
ตารางที่ 13
ตารางท่ี 13 ผลงานวิจัยการใช้โปรไบโอติกในปลานิล
บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 148 - ตอนที่ 2 ประโยชน์ของโปรไบโอติกในการเล้ยี งปลานลิ
ตารางท่ี 13 ผลงานวิจัยการใช้โปรไบโอติกในปลานิล (ต่อ)
บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 149 - ตอนท่ี 2 ประโยชน์ของโปรไบโอติกในการเลีย้ งปลานลิ
ตารางท่ี 13 ผลงานวิจัยการใช้โปรไบโอติกในปลานิล (ต่อ)
บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 150 - ตอนท่ี 2 ประโยชนข์ องโปรไบโอตกิ ในการเลยี้ งปลานลิ
เอกสำรอ้ำงอิง
Dawood, M. A. O., F. I. Magouz, M. F. I. Salem and H. A. Abdel-Daim. 2019.
Modulation of digestive enzyme activity, blood health, oxidative
responses and growth-related gene expression in GIFT by heat-
killed Lactobacillus plantarum (L-137). Aquaculture 505:127–136.
Dawood, M. A. O., F. I. Magouz, M. F. I. Salem, Z. I. Elbialy and H. A. Abdel-
Daim. 2020. Synergetic Effects of Lactobacillus plantarum and
beta-Glucan on Digestive Enzyme Activity, Intestinal Morphology,
Growth, Fatty Acid, and Glucose-Related Gene Expression of
Genetically Improved Farmed Tilapia. Probiotics and Antimicrobial
Proteins 12(2):389–399.
Gobi, N., B. Vaseeharan, J. C. Chen, R. Rekha, S. Vijayakumar, M. Anjugam
and A. Iswarya. 2018. Dietary supplementation of probiotic Bacillus
licheniformis Dahb1 improves growth performance, mucus and
serum immune parameters, antioxidant enzyme activity as well as
resistance against Aeromonas hydrophila in tilapia Oreochromis
mossambicus. Fish and Shellfish Immunology 74:501–508.
Guimarães, M. C., A. I. C. da Silva Guimarães, M. M. Natori, M. F. F.
Alarcon, D. d. C. Dias, C. M. Ishikawa, S. Tapia-Paniagua, M. Á.
Moriñigo, F. J. Moyano and L. Tachibana. 2021. Oral administration
of Bacillus subtilis and Lactobacillus plantarum modulates the gut
microbiota and increases the amylase activity of Nile tilapia
(Oreochromis niloticus). Aquaculture International 29(1):91–104.
Hamdan, A. M., A. F. El-Sayed and M. M. Mahmoud. 2016. Effects of
a novel marine probiotic, Lactobacillus plantarum AH 78, on growth
performance and immune response of Nile tilapia (Oreochromis
niloticus). Journal of Applied Microbiology 120(4):1061–1073.
Li, H., Y. Zhou, H. Ling, L. Luo, D. Qi and L. Feng. 2019. The effect of
dietary supplementation with Clostridium butyricum on the growth
performance, immunity, intestinal microbiota and disease resistance
of tilapia (Oreochromis niloticus). PLoS ONE 14(12):e0223428
.https://doi.org/10.1371/ journal.pone.0223428.
- 151 -
Liu, H., S. Wang, Y. Cai, X. Guo, Z. Cao, Y. Zhang, S. Liu, W. Yuan, W.
Zhu, Y. Zheng, Z. Xie, W. Guo and Y. Zhou. 2017. Dietary
administration of Bacillus subtilis HAINUP40 enhances growth,
digestive enzyme activities, innate immune responses and
disease resistance of tilapia, Oreochromis niloticus. Fish and
Shellfish Immunology 60:326–333.
Makled, S. O., A. M. Hamdan, A. M. El-Sayed and E. E. Hafez. 2017.
Evaluation of marine psychrophile, Psychrobacter namhaensis
SO89, as a probiotic in Nile tilapia (Oreochromis niloticus) diets.
Fish and Shellfish Immunology 61:194–200.
Mingmongkolchai, S. and W. Panbangred. 2018. Bacillus probiotics: an
alternative to antibiotics for livestock production . Journal
of Applied Microbiology 124(6):1334–1346.
Opiyo, M. A., J. Jumbe, C. C. Ngugi and H. Charo-Karisa. 2019. Dietary
administration of probiotics modulates non-specific immunity
and gut microbiota of Nile tilapia (Oreochromis niloticus)
cultured in low input ponds. International Journal of Veterinary
Science and Medicine 7(1):1–9.
Reda, R. M., K. M. Selim, H. M. El-Sayed and M. A. El-Hady. 2018. In
Vitro Selection and Identification of Potential Probiotics Isolated
from the Gastrointestinal Tract of Nile Tilapia, Oreochromis
niloticus. Probiotics and Antimicrobial Proteins 10(4):692–703.
Sewaka, M., C. Trullas, A. Chotiko, C. Rodkhum, N. Chansue,
S. Boonanuntanasarn and N. Pirarat. 2019. Efficacy of synbiotic
Jerusalem artichoke and Lactobacillus rhamnosus GG-supplemented
diets on growth performance, serum biochemical parameters,
intestinal morphology, immune parameters and protection
against Aeromonas veronii in juvenile red tilapia (Oreochromis
spp.). Fish and Shellfish Immunology 86:260–268.
Song, Z. F., J. An, G. H. Fu and X. L. Yang. 2011. Isolation and
characterization of an aerobic denitrifying Bacillus sp. YX-6
from shrimp culture ponds. Aquaculture 319(1-2):188–193.
Sookchaiyaporn, N., P. Srisapoome, S. Unajak and N. Areechon. 2020.
Efficacy of Bacillus spp. isolated from Nile tilapia Oreochromis
niloticus Linn. on its growth and immunity, and control of
pathogenic bacteria. Fisheries Science 86(2):353–365.
- 152 -
Srisapoome, P. and N. Areechon. 2017. Efficacy of viable Bacillus
pumilus isolated from farmed fish on immune responses and
increased disease resistance in Nile tilapia (Oreochromis
niloticus): Laboratory and on-farm trials. Fish and Shellfish
Immunology 67:199–210.
Tachibana, L., G.S. Telli, D. de Carla Dias, G. S. Gonçalves, C. M.
Ishikawa, R. B. Cavalcante, M. M. Natori, S. B. Hamed and M. J. T.
Ranzani-Paiva. 2020. Effect of feeding strategy of probiotic
Enterococcus faecium on growth performance, hematologic,
biochemical parameters and non-specific immune response of
Nile tilapia. Aquaculture Reports.16:100277.
Tan, H.Y, S. W. Chen and S. Y. Hu. 2019. Improvements in the growth
performance, immunity, disease resistance, and gut microbiota
by the probiotic Rummeliibacillus stabekisii in Nile tilapia
(Oreochromis niloticus). Fish and Shellfish Immunology 92:265–275.
Van Doan, H., S. H. Hoseinifar, M. A. O. Dawood, C. Chitmanat and K.
Tayyamath. 2017. Effects of Cordyceps militaris spent mushroom
substrate and Lactobacillus plantarum on mucosal, serum
immunology and growth performance of Nile tilapia (Oreochromis
niloticus). Fish and Shellfish Immunology 70:87–94.
Van Doan, H., S. H. Hoseinifar, W. Tapingkae, M. Seel-Audom, S.
Jaturasitha, M. A. O. Dawood, S. Wongmaneeprateep, T. N. N. Thu
and M. A. Esteban. 2020. Boosted Growth Performance, Mucosal
and Serum Immunity, and Disease Resistance Nile Tilapia
(Oreochromis niloticus) Fingerlings Using Corncob-Derived
Xylooligosaccharide and Lactobacillus plantarum CR1T5.
Probiotics and Antimicrobial Proteins 12(2):400–411.
Van Nguyen, N., S. Onoda, T. Van Khanh, P. D. Hai, N. T. Trung, L.
Hoang and S. Koshio. 2019. Evaluation of dietary Heat-killed
Lactobacillus plantarum strain L-137 supplementation on growth
performance, immunity and stress resistance of Nile tilapia
(Oreochromis niloticus). Aquaculture 498:371–379.
Wanka, K.M., T. Damerau, B. Costas, A. Krueger, C. Schulz and S.
Wuertz. 2018. Isolation and characterization of native probiotics
for fish farming. BMC Microbiology 18(1):119.
- 153 -
Won, S., A. Hamidoghli, W. Choi, Y. Park, W. J. Jang, I. S. Kong and S.
C. Bai. 2020. Effects of Bacillus subtilis WB60 and Lactococcus
lactis on Growth, Immune Responses, Histology and Gene
Expression in Nile tilapia, Oreochromis niloticus. Microorganisms
8, 67; doi:10.3390/microorganisms8010067.
Xia, Y., M. Lu, G. Chen, J. Cao, F. Gao, M. Wang, Z. Liu, D. Zhang, H.
Zhu and M. Yi. 2018. Effects of dietary Lactobacillus rhamnosus
JCM1136 and Lactococcus lactis subsp. lactis JCM5805 on the
growth, intestinal microbiota, morphology, immune response and
disease resistance of juvenile Nile tilapia, Oreochromis niloticus.
Fish and Shellfish Immunology 76:368–379.
Zhang, D., Y. Gao, X. Ke, M. Yi, Z. Liu, X. Han, C. Shi and M. Lu. 2019.
Bacillus velezensis LF01: in vitro antimicrobial activity against
fish pathogens, growth performance enhancement, and disease
resistance against streptococcosis in Nile tilapia (Oreochromis
niloticus). Applied Microbiology and Biotechnology. 103(21-
22):9023–9035.
Zhai, Q., H. Wang, F. Tian, J. Zhao, H. Zhang and W. Chen. Dietary
Lactobacillus plantarum supplementation decreases tissue lead
accumulation and alleviates lead toxicity in Nile tilapia
(Oreochromis niloticus). Aquaculture Research 48(9):5094–5103..
- 154 -
ก า ร เ พ า ะ เ ล้ี ย ง ป ล า นิ ล
TILAPIA CULTURE
กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Department of Fisheries. Ministry of Agriculture and Cooperatives
คณะประมง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
Faculty of Fisheries. Kasetsart University