The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตำราปลานิล รวม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by warong56, 2022-04-25 21:34:48

ตำราปลานิล รวม

ตำราปลานิล รวม

ปลาที่ปว่ ยจะแสดงอาการตัวซีด (ในปลานิล ภาพท่ี 48 ลักษณะภายนอกและภายในของปลานิล
แดง) หรือตัวดาคล้าในปลานิล (ภาพท่ี ท่ีเป็นโรคติดเชอ้ื ไวรัส Tilapia lake virus (TiLV)
48) โดยอัตราการตายสามารถเกิดขึ้นได้
ต้ังแต่ 20% ถึง 90% จากรายงานใน ในปลานิล
ประเทศไทยพบการตายได้บ่อยท่ีสุดใ น
ช่ ว ง ห น่ึ ง เ ดื อ น ห รื อ สู ง ท่ี สุ ด ใ น ช่ ว ง ส อ ง
สัปดาห์แรกหลังจากทาการขนย้ายปลาจาก
โรงเพาะฟกั เข้าสู่บ่อดินหรือกะชัง (ภาพที่ 49)
(Dong et al., 2017b; Surachetpong
et al., 2017) รอยโรคภายในของปลาปว่ ย
เกิดข้ึนได้ในอวัยวะทุกส่วนแสดงให้เห็นถึง
ภาวะตดิ เชื้อในระบบ (Systemic infection)
โ ด ย ร อ ย โ ร ค ท่ี พ บ ไ ด้ บ่ อ ย เ กิ ด ขึ้ น ที่ ร ะ บ บ
ประสาทส่วนกลางหรือสมอง ตับ ไต และ
ม้าม ซ่ึงการเปล่ียนแปลงทางจุลพยาธิ
วิทยาจะพบการบวมหรือค่ังเลือดในอวัยวะ
ภายใน เกิดภาวะ Gliosis, encephalitis,
lymphocyte aggregation และ ..
perivascular cuffing ในสมอง
multifocal interstitial hemorrhage
ในไต multifocal hepatitis ในตับ
นอกจากนี้ยังสามารถพบรอยโรคเฉพาะที่
ตั บ คื อ ก า ร ร ว ม ตั ว กั น ข อ ง เ ซ ล ล์ ตั บ
(Syncytial cell formation หรือ
syncytial hepatitis) ถือเป็นรอยโรคท่ี
ช่วยในการวินิจฉัยโรคติดเชื้อ TiLV ได้
(ภาพที่ 50) (Dong et al., 2017b;
Eyngor et al., 2014; Fathi et al.,
2017; Surachetpong et al., 2017)

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 88 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

ภาพที่ 49 การตายของปลานิลในกระชัง การติดเช้อื ไวรัส Tilapia lake virus (TiLV)
ในปลานลิ ท่ีเลย้ี งในกระชัง

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 89 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

3.3.3 สาเหตุโน้มนา ในช่วงระยะเวลา

ท่ีผ่านมา การเกิดโรคที่เกิดจาก TiLV ใน

ปลานิลในประเทศไทยมีน้อยมาก โดยส่วน

ใหญ่จะพบในปลาขนาดเล็กท่ีเล้ียงในกระชัง

ในแหล่งน้าธรรมชาติ เช่น แม่น้าหรือเข่ือน

ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงช่วงที่มีการ

ห ล า ก ข อ ง น้ า แ ล ะ ช่ ว ง ป ล า ย ฤ ดู ฝ น ต่ อ ฤ ดู

หนาวที่พบวา่ น้ามีอุณหภูมิต่า

3.3.4 การป้องกันรักษา เป็นท่ีทราบ

กันดีแล้วว่าในการเกิดโรคที่มีสาเหตุมาจาก

ไวรัสส่วนใหญ่น้ันจะไม่สามารถใช้ยาในการ

รักษาได้ การป้องกันจึงเป็นมาตรการท่ีมี ภาพที่ 50 ลักษณะทางพยาธิสภาพของการรวมตวั กัน
ประสทิ ธภิ าพทส่ี ุดในการปอ้ งกันการเกิดโรค ของเซลล์ตับ (Syncytial cell formation) (บรเิ วณ
ซ่งึ สามารถทาได้หลายวิธี ซ่ึงได้แก่ ในดอกจันทร)์ อันเป็นผลมาจากการอกั เสบทร่ี นุ แรงใน
ตับ (Syncytial hepatitis) ในปลานิลทเ่ี ป็นโรคตดิ
1 ) โ ร ง เ พ า ะ แ ล ะ อ นุ บ า ล ค ว ร มี
ตรวจสอบการปนเป้ ื อน TiLV ในพ่ อแม่ เช้ือไวรสั Tilapia lake virus (TiLV) ท่มี า:
พันธ์ุและลูกปลาก่อนนาออกไปจาหน่ายแก่ Bacharach et al. (2016)

เกษตรกรผู้เล้ียงท่ัวประเทศ หากมีการ 3 ) ใ ห้อ า ก า ศ ใ น น้า ใ ห้ป ล า ไ ด้รับ

ปนเป้ ือนควรทาลายหรือกักกัน พ่อแม่พันธุ์ อากาศอย่างพอเพียง ซึ่งโดยทั่วไปควร

หรือลกู พันธุด์ งั กล่าวไม่ให้นาไปเล้ียงในพื้นที่ ม ีค ่า ม า ก ก ว ่า 3 ม ิล ล ิก ร ัม ต ่อ ล ิต ร

การเล้ียงอื่น ๆ ซ่ึงถือเป็นปัจจัยเส่ียงที่จะ โด ยเ ฉพ าะช่ว งปล าข นา ดใ หญ่ ใ นช่ว ง

กอ่ ใหเ้ กดิ การแพร่กระจายไวรสั ไปสปู่ ลานิลที่ ฤ ด ูฝ น ห ร ือ ช ่ว ง ฝ น ต ก ห ร ือ ฟ า้ ค รึ ้ม

เล้ียงหรอื ปลาท่ีอาศัยในธรรมชาติ ติ ด ต่ อ กั น ห รื อ ช่ ว ง ที่ มี ก า ร ห ล า ก ข อ ง น้า ที่

2) เม่ือปลาเกิด Tilapia lake virus มีสารอินทรีย์สูงเข้ามาในแหล่งเลี้ยงและ

disease แล้ว เกษตรกรควรงดอาหาร ช่ว ง ป ล า ย ฤ ดูฝ น ต้น ฤ ดูห น า ว ที่พ บ ว่า มี

ทนั ที หากพบปลาปว่ ยเป็นโรคให้พยายามนา อัตราการเกิดโรคบ่อยครั้ง

ปลาที่ปว่ ยออกจากระบบการเลี้ยงแล้วนาไป 4) แขวนเกลือแกงให้ปลาได้รับ

ฝงั หรือเผาทาลายให้มากท่ีสุด เพ่ือเป็นการ อ ย่า ง ต่อ เ นื่อ ง ด้ว ย วิธีก า ร ที่อ ธิบ า ย

ปอ้ งกันและหยุดการแพร่ระบาดของโรคใน มาแล้วข้างต้น ซ่ึงข้ึนอยู่กับวิธีการเลี้ยง

ระบบการเลยี้ ง

บ ท ท่ี 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง - 90 - ต อ น ท่ี 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

5) ผสมวิตามินซี ในอาหารในอัตรา 3-5 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ให้ปลากิน
ติดตอ่ กนั 3-5 วัน กอ่ นทจ่ี ะเขา้ สู่ช่วงวิกฤตของการเกดิ โรค

6) เมอ่ื เกิดภาวะวิกฤตเิ กดิ ขึน้ ให้เกษตรกรควบคุมการให้อาหารให้ดี โดยเฉพาะช่วง
วิกฤติของการเกิดโรค โดยเฉพาะช่วงที่มีการเกิดโรคดังกล่าวน้ี เกษตรกรควรควบคุม
ปรมิ าณอาหารที่ให้ โดยการงดหรือลดปรมิ าณการให้อาหารลง

บ ท ที่ 2 ก า ร เ พ า ะ พั น ธุ์ แ ล ะ ก า ร เ ลี้ ย ง - 91 - ต อ น ที่ 5 โ ร ค แ ล ะ ก า ร ป้อ ง กั น รั ก ษ า

เอกสารอ้างอิง

กรมประมง. 2549. ปลานลิ : ปลาพระราชทานเพ่ือปวงชนชาวไทย. ส่วนโครงการอันเนื่อง
มาจากพระราชดารแิ ละกิจกรรมพิเศษ, สานกั พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง,
กรมประมง. 135 หน้า.

กรมประมง. ไม่ปรากฏปีท่ีพิมพ์. เอกสารเผยแพร่ค่มู อื การลาเลยี งพันธ์ปุ ลา. ฝา่ ยเผยแพร่
สว่ นเผยแพรก่ ารประมง สานักพัฒนาและถา่ ยทอดเทคโนโลยีการประมง, กรมประมง.
11 หนา้ .

ประพันธ์ศกั ดิ์ ศีรษะภมู ิ. 2558. ปลานลิ : ผลกระทบของปจั จยั เสย่ี งในการเล้ยี งและแนวทาง
ท่เี ลี่ยงได้. สานักงานกองทุนสนับสนนุ การวจิ ยั (สกว.). 88 หน้า.

วิศณุ บุญญาวิวัฒน์, ทินวรรธน์ ศรีสุข และ วรวิทย์ วัชชวัลคุ. 2550. ประสิทธิภาพ
ของวัคซีนท่เี ตรยี มจากเช้ือแบคทีเรีย Streptococcus agalactiae ในการปอ้ งกัน
โรคสเตรปโตคอคโคซสี ในปลานิล. วารสารสัตวแพทยศาสตร์ มข. 17 (1): 43-52.

นลิ ุบล ยูฮาสะ, ชุติมา หาญจวนิช และ นงนชุ สวุ รรณเพ็ง. 2545. การพัฒนาวิธีการใน
การปอ้ งกนั รักษาโรคทีเ่ กิดกบั ปลานิลทเี่ ล้ยี งในกระชังในเขตภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื .
เอกสารประกอบงานวจิ ัยทุนอุดหนนุ ประจาปี 2545. มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.

นเรศ ซว่ นยุก, หริ ัญ กังแฮ, เรวตั ร คงประดษิ ฐ์ และ กิจการ ศภุ มาตย์. 2548. โรคติด
เชอ้ื แบคทีเรีย Streptococcuc agalactiae ในปลานลิ . วารสารสงขลานครนิ ทร์
วทท. 27 (1): 307-319.

Areechon, N., M. Endo, D. Jantawan, P. Srisapoome and N. Pirarat. 2005.
Streptococcal infection in tilapia culture of Thailand. In JSPS-NRCT
International Symposium Joint Seminar, Kasetsart University,
Bangkok, Thailand. pp. 166-174.

Bacharach, E., N. Mishra, T. Briese, M. C. Zody, J.E. Kembou Tsofack, R.
Zamostiano, A. Berkowitz, J. Ng, A. Nitido, A. Corvelo, N. C.
Toussaint, S. C. Abel Nielsen, M. Hornig, J. Del Pozo, T. Bloom, H.
Ferguson, A. Eldar and W. I. Lipkin. 2016. Characterization of a
novel Orthomyxo-like virus causing mass die-offs of tilapia. mBio.
5: 7 (2):e00431-16.

Bigarré, L., J. Cabon, M. Baud, M. Heimann, A. Body, F. Lieffrig, and J.
Castric 2009. Outbreak of betanodavirus infection in tilapia,
Oreochromis niloticus (L.), in fresh water. J. Fish. Dis. 32 (8): 667-73.

- 92 -

Dong , H. T., V. V. Nguyen , H. D. Le, P. Sangsuriya , S. Jitrakorn , V.
Saksmerprome, S. Senapin and C. Rodkhum. 2015. Naturally
concurrent infections of bacterial and viral pathogens in
disease outbreaks in cultured Nile tilapia (Oreochromis niloticus)
farms. Aquaculture. 448: 427-435.

Dong, H. T., S. Jitrakorn, P. Kayansamruaj, N. Pirarat, C. Rodkhum, T.
Rattanarojpong, S. Senapin and V. Saksmerprome. 2017a.
Infectious spleen and kidney necrosis disease (ISKND) outbreaks
in farmed barramundi (Lates calcarifer) in Vietnam. Fish Shellfish
Immunol. 68: 65-73.

Dong , H. T., S. Siriroob , W. Meemetta , W. Santimanawong , W.
Gangnonngiw, N. Pirarat, P. Khunrae, T. Rattanarojpong, R.
Vanichviriyakit and S. Senapin. 2017b. Emergence of tilapia lake
virus in Thailand and an alternative semi-nested RT-PCR for
detection. Aquaculture. 476: 111-118.

Eyngor, M., R. Zamostiano, J. E. Kembou Tsofack, A. Berkowitz, H.
Bercovier, S. Tinman, M. Lev, A. Hurvitz, M. Galeotti, E. Bacharach
and A. Eldar. 2014. Identification of a novel RNA virus lethal to
tilapia. J. Clinical Microbial. 52: 4137-4146.

Fathi, M., C. Dickson, M. Dickson, W. Leschen, J. Baily, F. Muir, K. Ulrich
and M. Weidmann. 2017. Identification of tilapia lake virus in
Egypt in Nile tilapia affected by ‘summer mortality’ syndrome.
Aquaculture. 473: 430-432.

Lindenstrøm, T., C. J. Secombes and K. Buchmann. 2004. Expression
of immune response genes in rainbow trout skin induced by
Gyrodactylus derjavini infections. Vet. Immunol. Immunopathol.
97: 137-148.

Müller, W., H. Bocklisch, G. Schüler, H. Hotzel, H. Neubauer and P. Otto.
2007. Detection of Francisella tularensis subsp. holarctica in a
European brown hare (Lepus europaeus) in Thuringia, Germany.
Vet Microbiol. 20: 225-229.

Nicholson, P., M. A. Fathi, A. Fischer, C. Mohan, E. Schieck, N. Mishra,
A. Heinimann, J. Frey, B. Wieland and J. Jores. 2017. Detection
of Tilapia lake virus in Egyptian fish farms experiencing high
mortalities in 2015. J. Fish Dis. 40 (12): 1925-1928.

- 93 -

OIE [World Organisation for Animal Health]. 2017. Tilapia lake virus
(TiLV)–A novel orthomyxo-like virus. Paris: OIE. OIE technical
disease card . Accessed 23 May 2017. ท่ีมาhttp://www.oie.int/
fileadmin/Home/eng/Internationa_ Standard_Setting/docs/pdf/
A_TiLV_disease_card.pdf.

Soto, E., J. P. Hawke, D. Fernandez and J. A. Morales. 2009. Francisella sp.,
an emerging pathogen of tilapia, Oreochromis niloticus (L.),
in Costa Rica. J. Fish Dis. 32 (8): 713-22.

Suebsing, R., P. J. Pradeep, S. Jitrakorn, S. Sirithammajak, J. Kampeera,
W. A. Turner, V. Saksmerprome, B. Withyachumnarnkul and W.
Kiatpathomchai. 2016. Detection of natural infection of
infectious spleen and kidney necrosis virus in farmed tilapia by
hydroxynapthol blue-loop-mediated isothermal amplification
assay. J. Appl. Microbiol. 121: 55-67.

Surachetpong, W., T. Janetanakit, N. Nonthabenjawan, P. Tattiyapong,
K. Sirikanchana and A. Amonsin. 2017. Outbreaks of tilapia lake
virus infection in Thailand, 2015-2016. Emerg. Infect. Dis. 23: 1031-1033.

Tattiyapong, P., W. Dachavichitlead and W. Surachetpong. 2017.
Experimental infection of Tilapia Lake Virus (TiLV) in Nile tilapia
(Oreochromis niloticus) and red tilapia (Oreochromis spp.). Vet.
Microbiol. 207: 170-177.

- 94 -

บ ท ที่ 3

Unit 3

การตลาด

ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง ป ล า นิ ล - 95 - ภาพโดย : www.technologychaoban.com

TILAPIA CULTURE

น า ง ส า ว ณ า ต ย า ศ รี จั น ทึ ก
วุฒิ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

(เศรษฐศาสตร์เกษตร)
ตาแหน่ง หัวหน้ากลุ่มเศรษฐกิจการประมง
หน่วยท่ีเขียน บทท่ี 3 ตอนท่ี 1-2

น า ง ส า ว เ ก ว ลิ น ห นู ฤ ท ธ์ิ
วุฒิ เศรษฐศาตรมหาบัณฑิต

( เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ )
ตาแหน่ง เศรษฐกรชานาญการพิเศษ
หน่วยท่ีเขียน บทท่ี 3 ตอนท่ี 1-2

ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง ป ล า นิ ล - 96 - TILAPIA CULTURE

ตอนที่
1

ผ ล ผ ลิ ต ป ล า นิ ล

ป ล า น ิล เ ป ็น ส ัต ว ์น้ า เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ ร ว ม ทั้ง ข า ด แ ค ล น ลูก พัน ธุ์ ต่อ ม า ใ น ปี

ที่สาคัญของประเทศไทย โดยมีปริมาณ 2 5 5 8 - 2 5 6 1 ผ ล ผ ลิต เ พิ่ม ขึ้น โ ด ย มี

ผลผลิตมากที่สุดเมื่อเทียบกับสัตว์น้าจืด ปริมาณมากกว่า 200,000 ตันต่อปี

ช นิด อื่น ๆ ซึ่ง จ า ก ข้อ มูล ส ถิติผ ล ผ ลิต แม้ว่าในปี 2559 เกษตรกรประสบกับ

ก า ร เ ลี้ย ง สัต ว์น้ า จืด ใ น ช่ว ง 1 0 ปี ภัย แ ล้ง ข า ด แ ค ล น น้า ใ น ก า ร ผ ลิต ลูก

ระหว่างปี 2554-2563* พบว่า มีการ พ ัน ธุ ์แ ล ะ เ ลี ้ย ง ป ล า น ิล เ ก ษ ต ร ก ร

เ ลี ้ย ง ป ล า น ิล ใ น พื ้น ที ่ 4 3 7 , 1 7 1 ไ ร่ จาเป็นต้องชะลอการปล่อยลูกพันธุ์ และ

ผลผลิตเฉลี่ยปีละ 201,353 ตัน คิดเป็น ปล่อยในอัตราความหนาแน่นลดลง จึง

มูลค่า 9,900 ล้านบาทต่อปี โดยเนื้อท่ี ส่ง ผ ล ใ ห้ผ ล ผ ลิต ป ล า นิล ล ด ล ง ใ น ปี

เ ลี้ย ง มีอัต ร า ก า ร เ ป ลี่ย น แ ป ล ง เ พิ่ม ขึ้น 2 5 6 0 ป ริม า ณ น้ า ใ น อ่า ง เ ก็บ น้า แ ล ะ

เ ฉ ลี่ย ต่อ ปี ร้อ ย ล ะ 1 . 0 ส่ว น ป ริม า ณ แม่น้า ลา คล อ งมีสูง กว่าใ น ช่ว งส อง ปีที่

แ ล ะ มูล ค่า มีอัต ร า ก า ร เ พิ่ม ขึ้น ร้อ ย ล ะ ผ ่า น ม า ท า ใ ห ้ม ีป ร ิม า ณ น้ า เ พีย ง พ อ

3.7 และ 5.0 ตามลาดับ ท้ังน้ีเน่ืองจาก ส า ห ร ับ ก า ร เ ลี ้ย ง ป ล า ใ น ร อ บ ปี

ปลานิลเป็นสัตว์น้าจืดที่เลี้ยงง่าย จึงมี เกษตรกรสามารถขยายพื้นที่เลี้ยง เพิ่ม

การเลี้ยงอย่างแพร่หลาย ประกอบกับ อัต ร า ก า ร ป ล่อ ย ลูก พัน ธุ์แ ล ะ เ พิ่ม ร อ บ

ร ส ช า ต ิด ี เ ป ็น ที ่น ิย ม ข อ ง ผู ้บ ร ิโ ภ ค การเลี้ยง ประกอบกับเกษตรกรมีการ

ภายในประเทศ โดยมีสัดส่วนถึงร้อยละ อนุบาลลูกปลาให้ได้ขนาดใหญ่ก่อนลง

95 ส่วนอีกเพียงร้อยละ 5 ส่งออกไป บ่อเลี้ยง เพื่อเพิ่มอัตรารอด ส่งผลให้มี

ตลาดต่างประเทศ ผลผลิตปลานิลเพิ่มขึ้น สาหรับปี 2563

ใ น ปี 2 5 5 4 ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ป ร ะ ส บ ข้อมูลเบื้องต้นปริมาณผลผลิตปลานิล

กับ อุท ก ภัย ค รั้ง ยิ่ง ใ ห ญ่ ส ร้า ง ค ว า ม จากการเพาะเลี้ยงมีปริมาณ 205,911

เ สีย ห า ย แ ก่เ ก ษ ต ร ก ร ผู้เ ลี้ย ง ป ล า นิล ตัน ล ด ล ง ร้อ ย ล ะ 1 0 เ มื่อ เ ทีย บ กับ ปี

ค่อ น ข้า ง ม า ก ผ ล ผ ลิต ป ล า นิล ล ด ล ง 2 5 6 2 เ นื่อ ง จ า ก ส ถ า น ก า ร ณ์ภัย แ ล้ง

เ ห ล ือ เ พ ีย ง 1 5 5 , 5 4 4 ต ัน ต ่อ ม า ต่อเนื่องจากปี 2562 ทาให้หลายพื้นท่ี

เกษตรกรเริ่มฟ้ ืนฟู การเลี้ยง และขยาย ขาดแคลนน้าสาหรับเลี้ยงปลา ประกอบ

กา ลัง ก า ร ผ ลิต เ ข้า สู่ภ า ว ะ ป ก ติ โ ด ย มี กับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค

ผ ล ผ ลิต 2 0 3 , 0 2 9 ตัน ใ น ปี 2 5 5 5 ติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 กระทบต่อ

แต่หลังจากนั้นผลผลิตปลานิลมีแนวโน้ม ก า ร จา ห น่า ย ผ ล ผ ลิต ทา ใ ห้เ ก ษ ต ร ก ร

ล ด ล ง ใ น ปี 2 5 5 6 - 2 5 5 7 เ นื่อ ง จ า ก บางส่วนปรับเปลี่ยนการเลี้ยงหรือชะลอ

สภาพ อ าก าศ แ ปร ปร ว น สภา พอ าก า ศ การลงลูกพันธุ์ปลา (ตารางท่ี 1)

ร้อนจัด ปริมาณน้ามีน้อยกว่าปกติ

บ ท ที่ 3 ก า ร ต ล า ด - 98 - ต อ น ท่ี 1 ผ ล ผ ลิ ต ป ล า นิ ล

ตารางท่ี 1 เน้ือท่ีเลี้ยง ปริมาณ และมูลค่าปลานิลจากการเพาะเลี้ยง
ปี 2554 - 2563*

เน้อื ท่ีเลย้ี ง ปรมิ าณ %∆ มูลคา่ %∆
ปี ตนั ล้านบาท
155,544 30.5 7,017 37.3
ไร่ %∆ 203,029 -2.7 9,636 1.5
197,595 -3.9 9,785 0.2
2554 405,335 189,946 7.0 9,802 10.7
203,227 -1.2 10,853 -1.2
2555 450,699 11.2 200,764 5.6 10,724 -9.9
2556 439,854 -2.4 211,929 2.2 9,659 3.3
2557 425,786 -3.2 216,602 5.7 9,981 14.6
2558 435,252 2.2 228,982 -10.1 11,434 -11.6
2559 427,440 -1.8 205,911 3.7 10,108 5.0
2560 444,502 4.0 201,353 9,900
2561 447,016 0.6
2562 458,019 2.5
2563* 437,811 -4.4
เฉลีย่ 437,171 1.0

หมายเหตุ : *ข้อมูลเบ้ืองต้น ณ เดือนมิถุนายน 2564
ท่ีมา : กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง กรมประมง

บ ท ที่ 3 ก า ร ต ล า ด - 99 - ต อ น ท่ี 1 ผ ล ผ ลิ ต ป ล า นิ ล

ตอนท่ี

2

ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ
ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

เร่อื งท่ี 1

สถานการณ์ราคา

ราคาจาหน่ายปลานิลในระดับต่าง ๆ ในช่วงปี 2554 – 2563 พบว่า ราคา
ที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์ม ในพื้นที่ภาคกลาง ปลานิลขนาดใหญ่ (1 - 2 ตัว/
กิโลกรัม) ราคาเฉลี่ย 45.98 บาท/กิโลกรัม ราคาขายส่ง ณ ตลาดไท จังหวัด
ป ท ุม ธ า น ี เ ฉ ลี ่ย 5 6 . 6 4 บ า ท / ก ิโ ล ก ร ัม ส ่ว น ร า ค า ข า ย ป ล ีก ณ ต ล า ด
กรุงเทพมหานคร เฉลี่ย 69.82 บาท/กิโลกรัม จะเห็นได้ว่า ราคาในช่วง 10 ปี
ดังกล่าว ราคาหน้าฟาร์ม ราคาขายส่ง และราคาขายปลีกมีการเปลี่ยนแปลงใน
อัตราที่เพี่มขึ้นเฉลี่ยต่อปี ร้อยละ 0.02, 0.11 และ 1.97 ตามลาดับ (ตารางที่ 2
และภาพที่ 51)

ตารางที่ 2 ราคาจาหน่ายปลานิลในระดับต่าง ๆ ปี 2554 - 2563

ปี ราคาหน้าฟารม์ 1 ราคาขายส่ง 2 ราคาขายปลีก 3 อัตราการเปลี่ยนแปลง (รอ้ ยละ)

(บาท/กก.) (บาท/กก.) (บาท/กก.) หน้าฟารม์ ขายส่ง ขายปลีก

2554 45.66 58.43 61.58

2555 45.45 52.13 63.66 -0.46 -10.78 3.38

2556 47.82 63.70 65.20 5.21 22.19 2.42

2557 49.24 59.92 70.03 2.97 -5.93 7.41

2558 49.65 60.99 73.97 0.83 1.79 5.63

2559 51.36 57.46 74.27 3.44 -5.79 0.41

2560 44.27 52.22 71.58 -13.80 -9.12 -3.62

2561 39.48 49.50 71.81 -10.82 -5.21 0.32

2562 42.22 55.67 73.03 6.94 12.46 1.70

2563 44.69 56.42 73.11 5.85 1.35 0.11

เฉลี่ย 45.98 56.64 69.82 0.02 0.11 1.97

หมายเหตุ : เป็นราคาปลานิลขนาดใหญ่ (1 – 2 ตัว/กิโลกรัม)
ท่ีมา : 1 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2 ตลาดไท (https://www.talaadthai.com)
3 กระทรวงพาณิชย์ (http://www.price.moc.go.th)

บ ท ที่ 3 ก า ร ต ล า ด - 101 - ต อ น ท่ี 2 ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

ภาพท่ี 51 ราคาจาหนา่ ยปลานลิ ในระดับตา่ ง ๆ ปี 2554 – 2563

1.1 ราคาที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์ม อ ย ่า ง ไ ร ก ็ต า ม ใ น ช ่ว ง ไ ต ร ม า ส 3

ปี 2563 ราคาเฉลี่ยที่เกษตรกร ม า ต ร ก า ร ต่า ง ๆ เ ริ่ม มีก า ร ผ่อ น ป ร น
ขายได้หน้าฟาร์มภาคกลาง ปลานิล เช่น ร้านอาหาร ตลาดนัด สามารถ
ขนาดเล็ก 26.03 บาท/กิโลกรัม ขนาด ดาเนินกิจการได้ ความต้องการบริโภค
กลาง 35.74 บาท/กิโลกรัม และขนาด ปลานิลเริ่มกลับมา ประกอบกับภาครัฐ
ใหญ่ 44.69 บาท/กิโลกรัม โดยขนาด ดาเนินการช่วยเหลือเกษตรกรในการ
เล็กและขนาดกลางปรับตัวลดลงร้อยละ จาหน่ายสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์มาก
3.8 และ 3.0 ตามลาดับ ขณะที่ขนาด ขึ้น รวมทั้งจัดหาจุดจาหน่ายสินค้าสัตว์
ให ญ่ป รับ ตัว เพิ่มขึ้น ร้อ ยล ะ 5. 8 เมื่อ น้าโดยความร่วมมือทั้งจากภาครัฐและ
เทียบกับปี 2562 เนื่องจากสถานการณ์ ภาคเอกชน เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อน
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส ของเก ษตร กร แ ละก ระตุ้นการ บริโภค
โ ค โ ร น ่า 2 0 1 9 ร ะ ล อ ก แ ร ก ท า ใ ห้ ภายในประเทศ (ตารางท่ี 3 และภาพท่ี 52)
ภ า ค รัฐ ต้อ ง มีม า ต ร ก า ร ต่า ง ๆ เ พื่อ
จากัดการเดินทาง และการรวมตัวกัน
ของประชาชน ส่งผลให้การค้าปลานิล
ไม่สามารถจาหน่ายได้ตามปกติ ราคาจึง
ปรับตัวลดลงมาก

บ ท ท่ี 3 ก า ร ต ล า ด - 102 - ต อ น ที่ 2 ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

ตารางท่ี 3 ราคาปลานิลท่ีเกษตรกรขายได้หน้าฟาร์ม ภาคกลาง
ปี 2561 – 2563

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เดอื น ขนาดเล็ก (5 ตวั ขนึ้ ไป/กก.) ขนาดกลาง (3-4 ตวั /กก.) ขนาดใหญ่ (1-2 ตัว/กก.)

ม.ค. 2561 2562 2563 %∆63/62 2561 2562 2563 %∆63/62 2561 2562 2563 %∆63/62
ก.พ. 24.25 27.71 28.00 1.05 33.78 39.87 37.60 -5.69 39.16 41.07 43.89 6.87
ม.ี ค. 22.33 27.29 25.83 -5.35 32.33 38.82 37.12 -4.38 38.34 41.44 44.13 6.49
เม.ย. 21.07 28.48 25.00 -12.22 33.00 37.47 35.00 -6.59 39.65 43.95 43.57 -0.86
พ.ค. 22.22 27.08 27.19 0.41 30.17 38.67 35.21 -8.95 38.36 41.23 44.41 7.71
ม.ิ ย. 25.00 26.13 27.25 4.29 29.37 34.33 35.90 4.57 39.43 40.11 44.79 11.67
ก.ค. 23.88 29.92 26.77 -10.53 31.22 41.04 35.62 -13.21 38.14 42.16 45.17 7.14
ส.ค. 25.52 26.87 25.33 -5.73 32.50 36.73 36.45 -0.76 38.55 42.04 45.00 7.04
ก.ย. 24.50 28.05 27.00 -3.74 32.99 38.40 40.62 5.78 40.38 43.18 47.00 8.85
ต.ค. 22.71 26.84 27.12 1.04 31.46 35.94 37.81 5.20 39.14 43.54 45.55 4.62
พ.ย. 21.60 21.50 26.88 25.02 31.99 27.37 30.00 9.61 40.45 41.83 43.83 4.78
ธ.ค. 27.00 27.58 22.81 -17.30 38.90 36.20 33.75 -6.77 42.15 42.83 44.43 3.74
เฉลี่ย 26.57 27.25 23.12 -15.16 34.28 37.42 33.75 -9.81 39.96 43.28 44.45 2.70
23.89 27.06 26.03 -3.82 32.67 36.86 35.74 -3.04 39.48 42.22 44.69 5.83
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสท่ี 2 22.55 27.83 26.28 -5.57 33.04 38.72 36.57 -5.54 39.05 42.15 43.86 4.06
ไตรมาสท่ี 3
ไตรมาสที่ 4 23.70 27.71 27.07 -2.31 30.25 38.01 35.58 -6.41 38.64 41.17 44.79 8.80

24.24 27.25 26.48 -2.83 32.32 37.02 38.29 3.43 39.36 42.92 45.85 6.83

25.06 25.44 24.27 -4.61 35.06 33.66 32.50 -3.46 40.85 42.65 44.24 3.73

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ภาพท่ี 52 ราคาปลานิลทเี่ กษตรกรขายได้หน้าฟาร์ม ภาคกลาง ปี 2561 – 2563

บ ท ที่ 3 ก า ร ต ล า ด - 103 - ต อ น ท่ี 2 ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

1.2 ราคาขายส่ง

ราคาขายส่ง ณ ตลาดไท จังหวัดปทุมธานี ปี 2563 ปลานิลขนาดเล็กราคา
เฉลี่ย 25.35 บาท/กิโลกรัม ขนาดกลาง 43.66 บาท/กิโลกรัม และขนาดใหญ่
56.42 บาท/กิโลกรัม ปรับตัวลดลงทุกขนาดเมื่อเทียบกับปี 2562 โดยขนาดเล็ก
และขนาดกลางปรับตัวลดลงร้อยละ 13.8 และ 1.8 ตามลาดับ ขณะที่ขนาดใหญ่
ปรับตัว เพิ่ม ขึ้น ร้อ ยล ะ 1 . 4 ทั้งนี้ ข น าด ใ หญ่เ ป็น ขน า ดที่ต ลา ด ที่ผู้บริโ ภค มีคว า ม
ต้องการสูง ราคาจึงปรับตัวเพิ่มข้ึน (ตารางท่ี 4 และภาพที่ 53)

ตารางที่ 4 ราคาขายส่ง ณ ตลาดไท จังหวัดปทุมธานี ปี 2561 – 2563

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เดอื น ขนาดเล็ก (5 ตวั ขน้ึ ไป/กก.) ขนาดกลาง (3-4 ตวั /กก.) ขนาดใหญ่ (1-2 ตวั /กก.)
2561 2562 2563 %∆63/62 2561 2562 2563 %∆63/62 2561 2562 2563 %∆63/62
ม.ค. 34.00 29.52 22.50 -0.13 42.50 39.81 42.50 -0.06 52.50 49.65 60.00 -0.05
ก.พ. 33.29 28.66 22.50 -0.14 42.50 40.59 42.50 -0.05 52.21 49.80 60.00 -0.05
ม.ี ค. 31.50 30.00 21.88 -0.05 42.50 45.50 42.50 0.07 51.50 52.50 60.00 0.02
เม.ย. 30.72 30.00 20.00 -0.02 40.33 45.50 42.60 0.13 48.53 52.50 59.90 0.08
พ.ค. 30.00 30.00 20.00 0.00 37.50 45.50 45.00 0.21 47.50 52.50 57.50 0.11
ม.ิ ย. 30.95 30.35 20.00 -0.02 38.50 45.27 45.00 0.18 47.50 54.25 54.50 0.14
ก.ค. 30.07 31.50 20.00 0.05 39.00 46.83 45.00 0.20 44.31 57.92 50.00 0.31
ส.ค. 30.00 31.50 24.33 0.05 39.00 47.34 45.00 0.21 50.00 60.00 51.20 0.20
ก.ย. 30.60 31.50 29.26 0.03 39.00 45.00 45.00 0.15 50.00 60.00 51.90 0.20
ต.ค. 31.65 31.30 33.76 -0.01 39.00 45.00 43.86 0.15 50.00 60.00 52.93 0.20
พ.ย. 31.50 26.21 35.00 -0.17 39.00 44.75 42.50 0.15 50.00 58.86 59.12 0.18
ธ.ค. 31.50 22.50 35.00 -0.29 39.00 42.50 42.50 0.09 50.00 60.00 60.00 0.20
เฉล่ีย 31.32 29.42 25.35 -13.83 39.82 44.47 43.66 -1.80 49.50 55.67 56.42 1.36
ไตรมาสท่ี 1
32.93 29.39 22.29 -24.16 42.50 41.97 42.50 1.27 52.07 50.65 60.00 18.46
ไตรมาสท่ี 2
30.56 30.12 20.00 -33.59 38.78 45.42 44.20 -2.69 47.84 53.08 57.30 7.94
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4 30.22 31.50 24.53 -22.13 39.00 46.39 45.00 -3.00 48.10 59.31 51.03 -13.95
31.55 26.67 34.59 29.68 39.00 44.08 42.95 -2.56 50.00 59.62 57.35 -3.81

ท่ีมา : 2 ตลาดไท (https://www.talaadthai.com)

บ ท ที่ 3 ก า ร ต ล า ด - 104 - ต อ น ที่ 2 ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

ภาพท่ี 53 ราคาปลานิลขายสง่ ณ ตลาดไท จังหวัดปทุมธานี รายไตรมาส ปี 2561 – 2563

1.3 ราคาขายปลีก

ราคาขายปลกี ตลาดกรุงเทพมหานคร ปี 2563 ปลานิลขนาดกลาง และขนาดใหญ่

ราคาเฉล่ีย 66.29 และ 73.11 บาท/กิโลกรัม ตามลาดับ โดยปรับตัวเพิ่ มข้ึน

ร้อยละ 0.9 และ 0.1 ตามลาดับ เมื่อเทียบกับปี 2562 จะเห็นว่าราคาที่ขายปลีก

ซึ่งเป็นราคาท่ีผู้บริโภคซ้ือค่อนข้างจะมีเสถียรภาพ ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก

(ตารางท่ี 5 และภาพที่ 54)

ตารางท่ี 5 ราคาขายปลีก ตลาดกรุงเทพมหานคร ปี 2561 – 2563

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เดอื น ขนาดกลาง (3-4 ตัว/กก.) ขนาดใหญ่ (1-2 ตวั /กก.)

2561 2562 2563 %∆63/62 2561 2562 2563 %∆63/62

ม.ค. 59.52 64.07 66.61 -0.13 70.07 71.26 73.89 -0.13

ก.พ. 59.67 64.18 66.73 -0.14 73.40 71.48 74.00 -0.14

ม.ี ค. 61.72 64.18 66.73 -0.05 73.45 71.48 74.00 -0.05

เม.ย. 62.80 64.18 66.50 -0.02 73.86 71.48 73.57 -0.02

พ.ค. 62.74 65.43 66.27 0.00 73.19 73.02 73.29 0.00

ม.ิ ย. 62.28 65.72 65.59 -0.02 72.93 73.29 72.59 -0.02

ก.ค. 62.34 66.74 66.05 0.05 73.14 74.27 72.48 0.05

ส.ค. 62.00 66.23 66.16 0.05 70.61 74.05 72.59 0.05

ก.ย. 61.52 66.74 65.93 0.03 70.17 73.62 72.70 0.03

ต.ค. 62.06 66.90 66.27 -0.01 70.12 73.95 72.70 -0.01

พ.ย. 62.24 67.13 66.27 -0.17 70.07 74.16 72.70 -0.17

ธ.ค. 62.95 66.84 66.39 -0.29 70.72 74.33 72.80 -0.29

เฉลี่ย 61.82 65.70 66.29 0.91 71.81 73.03 73.11 0.10

ไตรมาสที่ 1 60.30 64.14 66.69 3.97 72.31 71.41 73.96 3.58

ไตรมาสท่ี 2 62.61 65.11 66.12 1.55 73.33 72.60 73.15 0.76

ไตรมาสท่ี 3 61.95 66.57 66.05 -0.79 71.31 73.98 72.59 -1.88

ไตรมาสที่ 4 62.42 66.96 66.31 -0.97 70.30 74.15 72.73 -1.91

ที่มา : 3 กระทรวงพาณิชย์ (http://www.price.moc.go.th)

บ ท ท่ี 3 ก า ร ต ล า ด - 105 - ต อ น ที่ 2 ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

ภาพท่ี 54 ราคาปลานลิ ขายปลกี ตลาดกรงุ เทพมหานคร รายไตรมาส ปี 2561 – 2563

เร่ อื งที่ 2

สถานการณ์การค้า

ของประเทศไทย

2.1 การส่งออกปลานิลและผลิตภัณฑ์

ในช่วงปี 2554 – 2563 ประเทศไทยมีการส่งออกปลานิลและผลิตภัณฑ์เฉล่ีย
ปีละ 9,488.32 ตนั คิดเป็นมูลค่า 569.50 ลา้ นบาท โดยปรมิ าณเพ่ิมขน้ึ เฉลี่ยในอัตรารอ้ ยละ
0.74 ต่อปี ในขณะท่ีมูลค่ามีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ 8.32 สาหรับปี 2557
มีการส่งออกสูงสุดทั้งในเชิงปริมาณและมูลค่า ซึ่งการส่งออกท่ีเพ่ิมข้ึนมาก คือ ปลานิล
ท้ังตวั แชเ่ ยน็ และแช่แข็ง (ตารางท่ี 6 และภาพที่ 55)

สาหรับปี 2563 มีการส่งออกปลานิลและผลิตภัณฑ์ ปริมาณ 5,572.90 ตัน
มูลค่า 194.90 ล้านบาท ซ่ึงเมื่อเทียบกับปี 2562 ทั้งปริมาณและมูลค่าลดลงร้อยละ
42.65 และ 42.74 ตามลาดับ โดยลดลงเกือบทุกตลาด ยกเว้นกลุ่มแอฟริกา และ
ลดลงมากในตลาดกลุ่มตะวันออกกลาง รูปแบบผลิตภัณฑ์ปลานิลที่ส่งออกมากที่สุด
ใ น เ ชิง ป ริม า ณ คือ ป ล า นิล ทั้ง ตัว แ ช่เ ย็น คิด เ ป็น สัด ส่ว น ร้อ ย ล ะ 5 1 . 3 ข อ งก า ร
ส่งออกทั้งหมด รองลงมา คือ ปลานิลทั้งตัวแช่แข็ง ร้อยละ 43.4 ปลามีชีวิต ร้อยละ
3.8 เนื้อปลาแช่แข็ง ร้อยละ 1.5 และเนื้อปลาแช่เย็น ร้อยละ 0.01 โดยมีตลาดหลัก
คือ กลุ่มอาเซียน ร้อยละ 55.3 กลุ่มตะวันออกกลาง ร้อยละ 20.4 สหรัฐอเมริกา
ร้อยละ 13.9 กลุ่มสหภาพยุโรป ร้อยละ 4.7 กลุ่มแอฟริกา ร้อยละ 0.6 และประเทศอ่ืนๆ
รอ้ ยละ 5.1 (ตารางที่ 7 และ 8)

บ ท ท่ี 3 ก า ร ต ล า ด - 106 - ต อ น ที่ 2 ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

ต า ร า ง ที่ 6 ป ริม า ณ แ ล ะ มูล ค่า ก า ร ส่ง อ อ ก ป ล า นิล แ ล ะ ผ ลิต ภัณ ฑ์ ข อ ง
ประเทศไทย ปี 2554 – 2563

ปี ปริมาณ ล้านบาท มูลคา่
ตนั % %

2554 11,856.73 740.43

2555 9,528.91 -19.63 691.65 -6.59

2556 8,160.72 -14.36 599.04 -13.39

2557 15,496.09 89.89 1,075.19 79.49

2558 9,908.43 -36.06 717.02 -33.31

2559 7,975.43 -19.51 598.51 -16.53

2560 5,817.78 -27.05 344.71 -42.41

2561 10,848.53 86.47 393.18 14.06

2562 9,717.70 -10.42 340.40 -13.42

2563 5,572.90 -42.65 194.90 -42.74

เฉลี่ย 9,488.32 0.74 569.50 -8.32

ที่มา : กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง กรมประมง (ประมวลข้อมูลจากกรมศุลกากร)

ภาพท่ี 55 การส่งออกปลานลิ และผลิตภณั ฑ์ของประเทศไทย ปี 2554 - 2563

บ ท ที่ 3 ก า ร ต ล า ด - 107 - ต อ น ท่ี 2 ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

เม่ือพิจารณาถงึ ประเภทผลติ ภณั ฑ์ปลานลิ ทไ่ี ทยส่งออก ในชว่ ง 10 ปี (ปี 2554 –
2563) ส่วนใหญ่เป็นปลาทั้งตัวแช่แข็ง (73.5%) รองลงมา คือ ปลาท้ังตัวแข่เย็น
(11.8%) เนื้อปลาแช่แข็ง (11.3%) เนื้อปลาแช่เย็น (1.8%) ปลามีชีวิต (1.6%) และ
ปลาแห้งไม่รมควัน (0.02%) ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม ในช่วงปี 2561 - 2563
ผลิตภัณฑ์เนื้อปลาแช่เย็นและแช่แข็งมีแนวโน้มลดลง ในขณะท่ีปลาทั้งตัวแช่เย็นและ
แช่แข็งยัง คงมีก ารส่งออก ในป ริมาณ ที่สูง ส่วน ปลา นิลแห้งไม่รมควันไม่มีกา ร
ส่งออกตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา (ตารางที่ 7 และภาพท่ี 56)

ตารางที่ 7 ปริมาณการส่งออกปลานิลและผลิตภัณฑ์ แยกตามประเภท

ผลิตภัณฑ์ ปี 2554 - 2563

หน่วย : ตัน

ปี ปลาทั้งตัวแชแ่ ขง็ ปลาทั้งตัวแชเ่ ยน็ เน้ือปลาแชแ่ ขง็ เนื้อปลาแชเ่ ยน็ มชี วี ติ แห้งไมร่ มควนั รวม

2554 9,776.43 2.65 860.38 1,201.07 14.27 1.93 11,856.73

2555 6,880.89 110.88 2,274.08 232.13 11.74 19.18 9,528.90

2556 6,088.96 83.76 1,901.20 81.81 3.91 1.10 8,160.74

2557 12,770.85 278.26 2,400.15 31.62 14.43 0.78 15,496.09

2558 8,523.64 37.99 1,331.18 5.57 10.05 0.00 9,908.43

2559 6,536.02 153.33 1,093.48 97.33 95.27 0.00 7,975.43

2560 5,030.52 247.81 472.86 38.87 27.73 0.00 5,817.79

2561 6,674.14 3,746.17 116.21 0.00 312.02 0.00 10,848.54

2562 5,075.10 3,655.20 185.50 0.50 801.40 0.00 9,717.70

2563 2,417.40 2,861.30 82.30 0.40 211.50 0.00 5,572.90

เฉล่ีย 6,977.40 1,117.74 1,071.73 168.93 150.23 2.30 9,488.33

% สัดส่วน 73.54 11.78 11.30 1.78 1.58 0.02 100.00

ที่มา : กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง กรมประมง (ประมวลข้อมูลจากกรมศุลกากร)

ภาพท่ี 56 ปริมาณการ
สง่ ออกปลานิลและ
ผลิตภณั ฑ์ แยกตาม
ประเภทผลติ ภณั ฑ์
ปี 2554 - 2563

บ ท ท่ี 3 ก า ร ต ล า ด - 108 - ต อ น ท่ี 2 ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

ตลาดหลักที่สาคัญในการส่งออกปลานิลและผลิตภัณฑ์ของไทยในช่วงปี 2554 –
2563 ได้แก่ กลุ่มตะวันออกกลาง คิดเป็น 40.2% ของปริมาณการส่งออกทั้งหมด
รองลงมา คือ สหรัฐอเมริกา (16.8%) กลุ่มสหภาพยุโรป (15.9%) กลุ่มอาเซียน
(14.5%) กลุ่มแอฟริกา (4.9%) และอ่ืน ๆ (7.7%) ตามลาดับ จะเห็นว่า การส่งออก
ปลานิลของไทยในกลุ่มอาเซียนมีการขยายตัวค่อนข้างมาก ในขณะที่ตลาดในกลุ่ม
ตะวันออกกลาง และสหรัฐอเมริกากลับมีแนวโน้มลดลง ซ่ึงสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศ
ผนู้ าเขา้ ปลานิลอันดับหนึ่งของโลก (ตารางที่ 8 และภาพที่ 57)

ตาร างที่ 8 ปริมาณการส่งออกปลานิลและผลิตภัณฑ์ แยกตามตลาด

ส่งออกท่ีสาคัญ ปี 2554 - 2563

หน่วย : ตัน

ปี กลุ่มตะวนั ออกกลาง กลุ่มสหภาพยุโรป สหรฐั อเมริกา กลุ่มอาเซียน กลุ่มแอฟรกิ า อ่ืน ๆ รวม

2554 5,442.39 3,434.43 2,013.38 120.23 264.68 581.62 11,856.73

2555 4,769.58 1,468.15 2,220.03 302.62 195.62 572.91 9,528.91

2556 4,466.07 842.29 1,936.54 436.62 39.99 439.22 8,160.73

2557 5,412.49 2,893.91 2,800.75 441.70 2,533.92 1,413.31 15,496.08

2558 4,421.87 1,781.63 1,706.80 107.39 456.52 1,434.22 9,908.43

2559 3,225.79 1,495.25 1,684.75 397.07 410.64 761.92 7,975.42

2560 2,401.34 1,408.06 1,096.91 315.67 239.55 356.24 5,817.77

2561 3,640.75 1,067.39 734.91 4,112.01 474.49 818.99 10,848.54

2562 3,188.98 445.93 953.83 4,464.55 27.19 637.22 9,717.70

2563 1,135.35 259.87 773.19 3,083.40 34.36 286.72 5,572.89

เฉล่ีย 3,810.46 1,509.69 1,592.11 1,378.13 467.70 730.24 9,488.32

% สดั สว่ น 40.16 15.91 16.78 14.52 4.93 7.70 100.00

ภาพท่ี 57 ปริมาณการ
ส่งออกปลานลิ และ
ผลติ ภณั ฑ์ แยกตาม

ตลาดส่งออกทส่ี าคญั
ปี 2554 - 2563

บ ท ที่ 3 ก า ร ต ล า ด - 109 - ต อ น ท่ี 2 ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

2.2 การนาเข้าปลานิลและผลิตภัณฑ์ สาหรับปี 2563 ไทยนาเข้าปลา

ในช่วงปี 2554 - 2563 ไทยมี นิลและผลิตภัณฑ์ 976 .5 ตัน คิดเป็น

ก า ร นา เ ข้า ป ล า นิล แ ล ะ ผ ลิต ภัณ ฑ์โ ด ย มูลค่า 95.3 ล้านบาท โดยปริมาณและ

เ ฉ ลี่ย ปีล ะ 6 5 1 . 7 8 ตัน คิด เ ป็นมูล ค่า มูลค่าลดลงเมื่อเทียบกับปี 2562 ร้อย

71.63 ล้านบาท ทั้งปริมาณและมูลค่ามี ล ะ 2 4 . 7 แ ล ะ 2 1 . 4 ต า ม ลา ดับ โ ด ย

อัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อปี เป็นการนาเข้าเนื้อปลานิลแช่แข็ง ร้อย

ร้อ ย ล ะ 3 2 . 2 แ ล ะ 2 1 . 4 ต า ม ลา ดับ ละ 54.6 และปลาทั้งตัวแช่แข็ง ร้อยละ

โ ด ย มีก า ร นา เ ข้า เ พิ่ม ขึ้น อ ย่า ง ม า ก ใ น ปี 4 5 . 4 ข อ ง ป ริม า ณ ก า ร นา เ ข้า ทั้ง ห ม ด

2 5 6 1 เ นื ่อ ง จ า ก ร า ค า ป ล า น ิล ใ น แ ล ะ มีต ล า ด นา เ ข้า ห ลัก จ า ก ป ร ะเ ท ศ จีน

ต ล า ด โ ล ก ต ก ต่ า ส ่ง ผ ล ใ ห ้ไ ท ย ม ีก า ร ร้อ ย ล ะ 4 6 . 0 ก ลุ่ม ป ร ะ เ ท ศ อ า เ ซีย น

นาเข้าเพิ่มข้ึนทั้งในเชิงปริมาณและมูลค่า ร้อยละ 42.6 และประเทศอื่น ๆ ร้อยละ
ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่นาเข้าเป็นเนื้อปลาแช่ 11.4 (ตารางที่ 9, 10 และ 11)

แข็งและแช่เย็น ร้อยละ 58.6 ปลาทั้งตัว

แชแ่ ขง็ และแชเ่ ยน็ รอ้ ยละ 41.1 และปลามีชีวิต

ร้อยละ 0.3 ซ่ึงนาเข้าจากประเทศจีน กลุ่ม

ประเทศอาเซียน ไต้หวัน และอื่น ๆ ร้อยละ

47.8, 44.4, 5.3 และ 2.5 ตามลาดับ

ต า ร า ง ที่ 9 ป ริม า ณ แ ล ะ มูล ค่า ก า ร นา เ ข้า ป ล า นิล แ ล ะ ผ ลิต ภัณ ฑ์ ข อ ง

ประเทศไทย ปี 2554 – 2563

ปี ปรมิ าณ ลา้ นบาท มูลคา่
ตนั % %

2554 285.80 41.14

2555 492.11 72.19 28.24 -31.36

2556 231.90 -52.88 28.70 1.63

2557 417.51 80.04 55.77 94.32

2558 803.95 92.56 94.77 69.93

2559 414.25 -48.47 50.82 -46.38

2560 462.41 11.63 65.13 28.16

2561 1,137.05 145.90 135.16 107.52

2562 1,296.30 14.01 121.30 -10.25

2563 976.50 -24.67 95.30 -21.43

เฉลยี่ 651.78 32.25 71.63 21.35

ที่มา : กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง กรมประมง (ประมวลข้อมูลจากกรมศุลกากร)

บ ท ที่ 3 ก า ร ต ล า ด - 110 - ต อ น ท่ี 2 ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

ตารางที่ 10 ปริมาณการนาเข้าปลานิลและผลิตภัณฑ์ แยกตามประเภท

ผลิตภัณฑ์ ปี 2554 – 2563

ปริมาณ : ตัน

ปี เนื้อปลาแชแ่ ขง็ เนื้อปลาแชเ่ ยน็ ปลาท้ังตวั แชแ่ ขง็ ปลาท้ังตัวแชเ่ ยน็ มชี วี ติ รวม
0.01 0.04 285.80
2554 237.78 0.01 47.96 0.00 4.00 492.10
0.00 8.00 231.91
2555 363.99 21.79 102.32 53.00 11.00 417.51
0.01 0.00 803.96
2556 181.10 0.01 42.80 0.01 0.00 414.25
0.00 0.00 462.41
2557 227.41 0.00 126.10 0.50 0.00 1,137.05
0.00 0.00 1,296.30
2558 399.21 0.00 404.74 0.00 0.00 976.50
5.35 2.30 651.78
2559 193.78 0.00 220.46 0.82 0.35 100.00

2560 421.12 0.00 41.29

2561 672.38 0.00 464.17

2562 565.80 0.00 730.50

2563 532.90 0.00 443.60

เฉลี่ย 379.55 2.18 262.39

% สดั สว่ น 58.23 0.33 40.26

ที่มา : กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง กรมประมง (ประมวลข้อมูลจากกรมศุลกากร)

ตารางที่ 11 ปริมาณการนาเข้าปลานิลและผลิตภัณฑ์ แยกตามตลาด

นาเข้าท่ีสาคัญ ปี 2554 – 2563

ปริมาณ : ตัน

ปี จีน กลุ่มอาเซียน ไต้หวนั อ่ืน ๆ รวม
2554 257.74 28.00 0.04 0.02 285.80
2555 376.28 47.56 0.00 68.26 492.10
2556 162.78 45.02 0.00 24.10 231.90
2557 225.70 191.79 0.00 0.02 417.51
2558 403.73 353.14 6.10 40.98 803.95
2559 155.16 227.53 6.00 25.56 414.25
2560 284.85 107.44 70.10 0.02 462.41
2561 410.61 632.57 91.00 2.88 1,137.06
2562 386.30 847.06 63.00 0.00 1,296.36
2563 449.13 416.09 111.00 0.31 976.54
เฉลี่ย 311.23 289.62 34.72 16.22 651.79
47.75 44.43 5.33 2.49 100.00
% สดั ส่วน

ที่มา : กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง กรมประมง (ประมวลข้อมูลจากกรมศุลกากร)

บ ท ท่ี 3 ก า ร ต ล า ด - 111 - ต อ น ท่ี 2 ก า ร ค้ า ข า ย แ ล ะ ก า ร ต ล า ด ป ล า นิ ล

แหล่งท่ีมาของข้อมูล

1. สถิตผิ ลผลิตปลานิล : กลุ่มสถติ กิ ารประมง กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง
กรมประมง และคณะกรรมการพัฒนาคณุ ภาพขอ้ มูลด้านการเกษตร ณ มถิ ุนายน 2564

2. ราคาปลานลิ : สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, ตลาดไท, กระทรวงพาณิชย์
3. สถติ ิการสง่ ออกและนาเขา้ ปลานิลของประเทศไทย : กลุ่มวิเคราะหก์ ารค้าสนิ ค้าประมง
ระหวา่ งประเทศ, กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง กรมประมง

- 112 -

บ ท ที่ 4

Unit 4

เทคโนโลยี
และ

นวัตกรรม

ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง ป ล า นิ ล - 113 - ภาพโดย : www.technologychaoban.com

TILAPIA CULTURE

ร ศ . ด ร . น น ท วิ ท ย์ อ า รี ย์ ช น
วุฒิ Ph. D. (Aquatic Animal Health Management)

Auburn University
ตาแหน่ง รองศาสตราจารย์ ภาควิชาเพาะเล้ียงสัตว์น้า

คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หน่วยท่ีเขียน บทท่ี 4 ตอนท่ี 1-2

ร ศ . ด ร . ศ ศิ ม นั ส อุ ณ จั ก ร์
วุฒิ ปร.ด. (ชีวเคมี)

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ตาแหน่ง รองศาสตราจารย์ ภาควิชาชีวเคมี

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หน่วยท่ีเขียน บทท่ี 4 ตอนท่ี 1

ผ ศ . ด ร . มิ น ต ร า ศี ล อุ ด ม
วุฒิ Ph.D. (Applied Marine Bioscience)

Tokyo University of Marine Science and
Technology
ตาแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้า

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หน่วยท่ีเขียน บทท่ี 4 ตอนท่ี 2

ก า ร เ พ า ะ เ ล้ี ย ง ป ล า นิ ล - 114 - TILAPIA CULTURE

ตอนที่
1

วั ค ซี น ป ล า นิ ล

เร่อื งที่ 1

บทนำ

คาว่า “วัคซีน” มาจากคาภาษาอังกฤษ “Vaccine” มีพ้ืนฐานมาจากภาษาลาติน
“Vacca” ซ่ึงแปลว่าวัว สืบเนื่องจากการวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาวัคซีนชนิดแรกของโลก
ในปี 1798 โดย Dr. Edward Jenner นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เพื่อป้องกัน
โรคฝีดาษ (smallpox) หรือไข้ทรพิษซึ่งเกิดจากไวรัส โดยการเตรียมวัคซีนจากเชื้อ
ไว รัส ฝีด าษ ที่เ กิดใ นวัว ( cowpox) วัคซีนดังก ล่า ว จึงเป็นต้นแ บบใ นก าร พัฒนา
วัคซีนที่มีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยจนกระทั่งปัจจุบัน เทคโนโลยีทางด้าน
วัค ซีน มีก า ร พัฒ น า ม า อ ย่า ง ต่อ เ นื่อ ง โ ด ย เ กิด จ า ก ค ว า ม รู้ค ว า ม เ ข้า ใ จ ใ น ศ า ส ต ร์
ทางด้านภูมิคุ้มกัน (immunity) ที่นักวิทยาศาสตร์สามารถอธิบายระบบการทางาน
ในด้านการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน (immune response) ของสิ่งมีชีวิตได้อย่าง
สมบูรณ์มากข้ึน และนาหลักการดังกล่าวมาพัฒนาในเชิงประยุกต์ให้เกิดประโยชน์กับ
มนุษยชาติและส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ ได้นานับประการ โดยเฉพาะท่ีเก่ียวข้องกับการปอ้ งกันโรค

นิยามของวัคซีน

วัคซีนคือสารประกอบทางชีวภาพ
ที่เ ต รีย ม ขึ้น จ า ก เ ชื้อ โ ร ค ห รือ ส่ว น ใ ด
ส่วนหนึ่งของเชื้อโรค และเมื่อนาวัคซีน
ไ ป ใ ห ้สิ ่ง ม ีช ีว ิต แ ล ้ว ส า ม า ร ถ พัฒ น า
ภูมิคุ้ม กัน ก ับ เ ชื ้อ โ ร ค ดัง ก ล่า ว อ ย่า ง
เฉ พา ะเ จ า ะจ ง กา รใ ห้วัคซีนจึงเ ป็น
ม า ต ร ก า ร ห นึ ่ง ใ น ก า ร ป ้อ ง ก ัน โ ร ค
เ ป ้า ห ม า ย ใ ห ้ก ับ ม น ุษ ย ์ แ ล ะ ส ัต ว ์ที ่มี
ประสิทธิภาพมากที่สุดวิธีหน่ึง

บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 116 - ต อ น ท่ี 1 บ ท นา

เร่อื งท่ี 2

กำรใช้วัคซีนในปลำ

การใช้วัคซีนในสัตว์น้าเศรษฐกิจจัดเป็นสาขาที่ค่อนข้างใหม่เมื่อเทียบกับมนุษย์
สัตว์บก หรือสัตว์ปีก ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าของโลกท่ี
เกิดข้ึนไม่นานเมื่อเทียบกับการเล้ียงสัตว์กลุ่มอ่ืน ๆ ความต้องการวิธีการปอ้ งกันโรคในการเล้ียง
ปลาเศรษฐกิจในช่วงแรกเกิดขึ้นกับการเลี้ยงปลาในเขตหนาว โดยเฉพาะในกลุ่ม
ปลาแซลมอน และปลาเทร้าซึ่งประสบปญั หาการระบาดของโรคหลายชนิด ทาให้ผู้เลี้ยง
ปลาต้องใช้ยาต้านจุลชีพ (ยาปฏิชีวนะ) และสารเคมีจานวนมากเพื่อการควบคุมโรค ซึ่ง
กอ่ ให้เกิดปญั หาติดตามมากมาย เช่น การตกค้างของยาในปลา ส่ิงแวดล้อม และค่าใช้จ่าย
การค้นพบวัคซีนในปลาก็คล้าย ๆ กับในมนุษย์คือการค้นพบโดยบังเอิญจากการ
สังเกตพฤติกรรมของปลา เช่น ปลาที่รอดจากโรคระบาดจะเกิดภูมิคุ้มกันสามารถปอ้ งกัน
โรคเดิมในการระบาดครั้งต่อไปได้ นักวิจัยในสมัยนั้นจึงคิดการสร้างภูมิแบบง่าย ๆ กับ
ปลาที่เลี้ยงโดยนาปลาปว่ ยมาเล้ียงพร้อม ๆ กันซึ่งก็ประสบความสาเร็จในระดับหนึ่ง แต่
ก็ยังเป็นแนวปฏิบัติที่มีความเส่ียงสูงเพราะไม่สามารถควบคุมอะไรได้ อย่างไรก็ตามเมื่อ
ความรู้เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของปลามีมากขึ้นก็ทาให้การพัฒนาวัคซีนมีประสิทธิภาพ
และปลอดภัย การใช้วัคซีนกับปลา แซลมอนแอตแลนติก (Salmo salar) ประสบ
ความสาเร็จเป็นอย่างมากในการลดปัญหาการระบาดของโรค ลดการใช้ยาและสารเคมี
ได้มากถึง 80% ทาให้ได้ผลผลิตตามเปา้ หมายและมีความปลอดภัยกับผู้บริโภค

ปจั จุบันมีการใช้วัคซีนกันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะกับการเลี้ยงปลาในเขตหนาวที่
ระบบการเลี้ยงจะมีการให้วัคซีนกับปลาทุกตัวและทุกครั้งที่ทาการเลี้ยง จากข้อมูล ณ
ปจั จุบัน พบว่าในโลกนี้มีวัคซีนที่ขึ้นทะเบียนให้ใช้ทางการค้ากับการเพาะเลี้ยงปลาได้
ทั้งหมดจานวน 24 วัคซีน เตรียมจากเชื้อแบคทีเรีย 14 วัคซีน และไวรัส 10 วัคซีน
(Adam, 2019; Ma et al., 2019) โดยมีวัคซีนที่ใช้กับปลานิลเพียงหนึ่งชนิดเพื่อ
ปอ้ งกันโรค streptococcosis ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียในสกุล Streptococcus
วัคซีนท่ีขึ้นทะเบียนส่วนใหญ่ใช้กับปลาในเขตหนาว โดยเฉพาะปลาในกลุ่ม salmonids คือ
ปลาแซลมอน และปลาเทร้าท์ วัคซีนทุกชนิดที่จะนามาใช้กับการเลี้ยงปลาต้องผ่านการขึ้น
ทะเบียนกับหน่วยงานที่รับผิดชอบในแต่ละประเทศ สาหรับหน่วยงานที่กากับดูแลการใช้
วัคซีนของประเทศไทย คือ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
การขึ้นทะเบียนจะเป็นมาตรการที่ช่วยให้การใช้วัคซีนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีความ
ปลอดภัยต่อสัตว์ที่ได้รับวัคซีน และความปลอดภัยทางด้านอาหารของผลผลิตสัตว์

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 117 - ต อ น ที่ 1 บ ท นา

2.1 การตอบสนองต่อวัคซีนของปลา

ปลานิล และปลากระดูกแข็งทุกชนิด เช่น ปลากะพงขาว ปลาดุก ปลาช่อน และอ่ืน ๆ
มีก า ร พัฒ น า ข อ ง ร ะ บ บ ภูม ิคุ ้ม ก ัน อ ยู ่ใ น เ ก ณ ฑ ์ใ ก ล ้เ ค ีย ง ก ับ สัต ว ์มีก ร ะ ด ูก สัน ห ล ัง
(Vertebrates) อื่น ๆ เช่น สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โดยภาพรวมพบว่าสัตว์มี
ก ร ะ ด ูก ส ัน ห ล ัง ม ีก า ร พัฒ น า ข อ ง ร ะ บ บ ภ ูม ิคุ ้ม ก ัน ด ีก ว ่า ส ัต ว ์ไ ม ่ม ีก ร ะ ด ูก ส ัน ห ล ัง
(Invertebrates) เช่น กุ้ง และปู

การทางานของระบบภูมิคุ้มกันของปลามีพื้นฐานที่สาคัญคือความสามารถในการ
ระบุว่ามีสิ่งแปลกปลอม เช่น เชื้อโรคเข้ามาในร่างกาย หลังจากนั้นระบบก็จะเริ่ม
ขบวนการในการกาจัดสิ่งแปลกปลอมนั้นทันที ระบบภูมิคุ้มกันของปลานิล และปลา
กระดูกแข็งชนิดอื่น ๆ ประกอบด้วย 2 ระบบหลัก

1) Innate immunity คือภูมิคุ้มกันที่พัฒนาขึ้นตั้งแต่เกิดและทางานได้สมบูรณ์
ขึ้นเรื่อย ๆ ตามอายุของปลา ระบบการทางานที่สาคัญที่สุดของภูมิคุ้มกันระบบนี้ คือ
phagocytosis ซึ่งเป็นกระบวนการที่เม็ดเลือดขาวทาลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม
โดยการใช้เยื่อหุ้มเซลล์โอบล้อมเชื้อโรคไว้จนในที่สุดเชื้อโรคนั้นหลุดเข้าไปอยู่ในเซลล์
และถูกย่อยทาลาย ระบบนี้จะทาลายเชื้อโรค/สิ่งแปลกปลอมทุกชนิดอย่างไม่จาเพาะ
เจาะจง (non-specific immunity)

2) Adaptive (acquired) immunity คือภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนอง
ต่อสิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรคที่เข้ามาในร่างกายของปลา ซึ่งเป็นระบบที่ตอบสนองต่อ
การใช้วัคซีน ภูมิที่เกิดขึ้นจะมีความจาเพาะกับเชื้อโรค หรือวัคซีนอย่างจาเพาะเจาะจง
(specific immunity) คุณสมบัติที่สาคัญของ adaptive immunity คือการมี
ความทรงจากับสงิ่ แปลกปลอม เชือ้ โรค และเช้อื ในวัคซนี (memory immune response)
ซึ่งเมื่อพบสิ่งแปลกปลอมเดิมอีกก็จะมีการตอบสนองได้เร็ว และในระดับสูงกว่าการ
ตอบสนองครั้งแรก ทาให้สามารถนาหลักการนี้มาประกอบการใช้วัคซีนในปลาได้อย่าง
มีประสิทธิภาพมากข้ึน

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 118 - ต อ น ที่ 1 บ ท นา

การวิจัยเก่ียวกับวัคซีนในปลานิลมีการดาเนินการมาไม่นาน ในช่วงแรกมีรายงาน
จากนักวิจัยในประเทศสหรัฐอเมริกา จนกระทั่งปจั จุบันมีการศึกษากันอย่างแพร่หลาย
ในทวีปเอเซีย เช่น จีน ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม ซึ่งเป็น
แหล่งผลิตปลานิลท่ีสาคัญในโลก มีผลผลิตรวมกันมากกว่า 60% ของผลผลิตปลานิล
ทั่วโลก (Kayansamruaj et al., 2020; Zhang, 2021) รายงานการวิจัยส่วน
ใหญ่เน้นการตอบสนองต่อวัคซีนของเชื้อแบคทีเรียสองชนิด คือ Streptococcus
agalactiae และ S. iniae และไวรัส Tilapia Lake Virus ซึ่งพบว่าปลานิลมีการ
ตอบสนองต่อวัคซีนได้ดี และเกิดภูมิคุ้มกันต่อต้านการเกิดโรคจากเชื้อดังกล่าวได้ดี
อย่างไรก็ตามยังมีรายงานการทดสอบวัคซีนในระบบการเลี้ยงปลานิลค่อนข้างน้อย

2.2 วิธีการใช้วัคซีนกับปลา

ป จั จ ุบ ัน ก า ร ใ ช ้ว ัค ซ ีน ก ับ ป ล า ม ี 3 ว ิธ ีก า ร ห ล ัก ( ภ า พ ที ่ 5 8 ) ขึ ้น อ ยู ่ก ับ
อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ที่สา คัญ บ า ง ป ร ะ ก า ร เ ช่น ข น า ด ข อ ง ป ล า แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง วัค ซีน
โดยท่ัวไปมีวิธีการใช้วัคซีนกับปลาดังน้ี

1) การฉีด (Injection) เป็นการให้วัคซีนที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะสามารถ
นาวัคซีนเข้าตัวปลาได้ดี และกระตุ้นการตอบสนองได้รวดเร็ว การฉีดส่วนใหญ่เป็นการ
ฉดี เข้าชอ่ งท้อง (intraperitoneal injection) และมีการฉีดเข้ากล้ามเนอ้ื (intramuscular
injection) สาหรับวัคซีนบางชนิด เช่น วัคซีน DNA (ภาพที่ 59)

การให้วัคซีนโดยการฉีด มีข้อพิจารณาในการปฏิบัติดังน้ี
1.1) การฉีดจะเหมาะสมกับปลาที่มีขนาดใหญ่พอในการจับมาฉีดทีละตัว
1.2) ควรใช้ยาสลบเพื่อลดการดิ้นรนของปลาระหว่างการฉีด ตัวอย่างยาสลบ
เช่น น้ามันกานพลู ยูจีนอล หรือ MS222
1.3) การฉีดจะไม่เหมาะสมกับปลาจานวนมาก เพราะอาจจะใช้เวลามากเกินไป
1.4) ผู้ฉีดวัคซีนต้องมีประสบการณ์เพื่อไม่ให้ใช้เวลามาก และไม่ให้ปลาเครียด

ภาพที่ 58 รปู แบบการให้วคั ซนี ในปลา สามารถมี
ไดท้ ง้ั หมด 3 รูปแบบ คือ วคั ซีนทางการฉดี

(injection) วคั ซีนทางการแช่ (immersion) และ
วคั ซนี ทางการกิน (oral administration)

บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 119 - ต อ น ที่ 1 บ ท นา

ภาพที่ 59 แสดงการฉดี วัคซนี เข้าช่องท้อง (IP) (ซา้ ย) และเข้ากล้ามเนือ้ (IM) ของปลานลิ
(วงกลมแสดงตาแหน่งที่ฉีดวัคซนี )

2) การแช่ (immersion) เป็นการให้วัคซีนที่มีประสิทธิภาพรองจากการฉีด การ
นาเข้าของเชื้อในวัคซีนโดยการแช่จะเกิดที่เหงือก และผิวหนัง เป็นหลัก ซึ่งอาจจะไม่
มากเท่าการฉีด อย่างไรก็ตามปจั จุบันมีนาเทคโนโลยีนาโนมาพัฒนาวัคซีนการแช่ให้มี
การดูดซึมได้ดีขึ้น การแช่วัคซีนสามารถดาเนินการได้สองวิธี คือ

2.1) Direct immersion แช่ในวัคซีนโดยตรง ด้วยสัดส่วนของปลากับปริมาณ
วัคซีนและเวลาแช่ที่เหมาะสม ข้ึนอยู่กับขนาดปลา และชนิดของวัคซีน การแช่วัคซีนส่วน
ใหญ่จะใช้ระยะเวลาสั้นไม่กี่นาที เพราะการแช่นานเกินไปจะทาให้ปลาเครียดได้ และต้อง
มีการให้อากาศตลอดระยะเวลาการแช่

2.2) Hyperosmotic immersion เป็นการแช่ปลาในน้าเกลือเข้มข้น 1 – 1.5%
นานประมาณ 1 – 2 นาที แล้วนาไปแช่ในวัคซีน หลักการของวิธีนี้เป็นการทาให้ปลาน้า
จืดเกิดการสูญเสียน้าออกจากร่างกาย (Dehydration) จากสภาวะ hyperosmotic
ของสิ่งแวดล้อม และเมื่อนาไปแช่ในวัคซีนจะช่วยให้มีการดูดซึมวัคซีนได้มากกว่าปกติ
ตามสภาพ Rehydration

การให้วัคซีนโดยการแช่ มีข้อดีคือสามารถใช้ได้กับปลาหลายขนาด กับปลา
จานวนมาก และไม่ทาให้ปลาเครียด เมื่อเปรียบเทียบกับการฉีด อย่างไรก็ตามปจั จุบัน
ก า ร แ ช ่ย ัง ม ีข ้อ จ า ก ัด ใ น ก า ร ก ร ะ ตุ ้น ภ ูมิคุ ้ม ก ัน ที ่ด ีพ อ ส า ห ร ับ ก า ร เ ลี ้ย ง ป ล า แ ต ่ล ะ ร อ บ
ดังนั้นการวิจัยในอนาคตต้องเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพของวัคซีนจากการแช่ ที่อาจ
พัฒนาจากรูปแบบของวัคซีน เช่น Nanovaccine หรือวิธีการให้วัคซีน เป็นต้น

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 120 - ต อ น ท่ี 1 บ ท นา

3) การผสมอาหาร (oral vaccine) เป็นการให้วัคซีนโดยการผสมอาหาร วิธีนี้
สามารถดาเนินการได้กับปลาทุกขนาด และกับปลาจานวนมาก แต่เป็นการให้วัคซีนที่มี
ประสิทธิภาพน้อยท่ีสุด เนื่องจากองค์ประกอบของวัคซีนอาจถูกทาลายในระบบทางเดิน
อาหารได้ ปจั จุบันมีงานวิจัยที่พยายามพัฒนาให้วัคซีนประเภทนี้มีความทนต่อน้าย่อยใน
ทางเดินอาหารของปลา เช่น การเคลือบอนุภาควัคซีน ด้วยสารบางชนิดที่ทนต่อ
น้ า ย ่อ ย เ ช ่น ส า ร ใ น ก ลุ ่ม alginate ห ร ือ ก า ร เ ต ร ีย ม ว ัค ซีน ใ น ล ัก ษ ณ ะ ก า ร ใ ช้
nanoparticles เป็นสารห่อหุ้มอนุภาควัคซีน เช่น ไคโตซาน หรือ poly (lactic-co-
glycolic acid) (PLGA) ซึ่งพบว่าช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของวัคซีนได้ดี น่าสนใจว่า
ปัจจุบันการพัฒนาในเชิงเทคโนโลยีสร้างความพลิกผัน (Disruptive Technology)
สาหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าได้เสนอให้มีการพัฒนาวัคซีนแบบผสมอาหารอย่างจริงจัง
เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายของการให้วัคซีนแบบฉีด (Yue and Shen, 2021)

การให้วัคซีนผสมอาห ารคว รเป็นการให้ในลักษ ณ ะการกระตุ้นซ้าครั้งที่สอง
ม า ก ก ว่า ก า ร ใ ห้เ ป็น ค รั้ง แ ร ก โ ด ย ก า ร ใ ห้ค รั้ง แ ร ก อ า จ เ ป็น ก า ร ฉีด ห รือ ก า ร แ ช่
โดยเฉพาะกับปลาที่ใช้เวลาเลี้ยงนาน การให้วัคซีนเพียงครั้งเดียวอาจไม่สามารถ
กระตุ้นภูมิตลอดรอบการเล้ียงได้

2.3 การใช้วัคซีนกับปลานิล

การเลี้ยงปลานิลและปลาทับทิมในประเทศไทยสามารถแบ่งออกเป็นสามกิจกรรม
หลัก ๆ คือ การเพาะและอนุบาล การชา และการเลี้ยงปลาขนาดตลาด โดยการเลี้ยง
ปลาจนจับขายดาเนินการในบ่อดิน และกระชัง ปัจจุบันการใช้วัคซีนมีเฉพาะกับปลาท่ี
เลี้ยงในกระชัง ซึ่งปล่อยปลาลงเลี้ยงขนาดประมาณ 20 –30 กรัม ที่สามารถให้
วคั ซีนได้โดยการฉีด โดยมุ่งเน้นวัคซีนจากเชอ้ื Streptococcus agalactiae (ภาพท่ี 60)
ซ่ึงการฉีดเพียงหน่ึงคร้ังก็สามารถปอ้ งกันโรคได้ตลอดรอบการเลี้ยง ส่วนเชื้ออื่น ๆ ท่ี
กาลังมีการวิจัยพัฒนาวัคซีนออกมาใช้ในอนาคต คือ วัคซีนของไวรัส Tilapia lake
virus (TiLV) และ แบคทีเรีย Aeromonas sp. และ Flavobacterium columnare
เป็นต้น ส่วนการให้วัคซีนกับปลานิลด้วยวิธีอื่น เช่น การแช่ ก็กาลังได้รับการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่องโดยมุ่งเน้นการเตรียมวัคซีนด้วยวิธีต่าง ๆ ที่สามารถนาวัคซีนเข้าตัวปลาให้
ได้มากพอ หรือสามารถกระตุ้นภูมิบริเวณผิวตัวของปลาเพื่อให้การใช้วัคซีนสามารถ
ดาเนินการได้ง่ายขึ้นกว่าการฉีดปลาทีละตัว การวิจัยในประเทศไทยพบว่าการแช่ปลานิล
ขนาดเลก็ (น้าหนกั ประมาณ 1 กรมั ) ในวัคซีนของเช้อื S. agalactiae ซีโรไทป์ Ia และ III
สามารถปอ้ งกันโรคได้ดีข้ึนอย่างมีนัยสาคัญ (ธารทิพย์, 2560)

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 121 - ต อ น ท่ี 1 บ ท นา

เนื่องด้วยการเลี้ยงปลานิลทั้งในประเทศไทยและทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เพราะความต้องการโปรตีนคุณภาพที่ราคาไม่แพงของประชากรทั่วโลก การวิจัยและ
พัฒนาเทคโนโลยีการจัดการสุขภาพของปลานิลจะมีบทบาทมากขึ้น โดยเฉพาะการใช้
วัคซีนท่ีต้องมีการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพสูง สามารถใช้งานได้กับการเลี้ยงและไม่เพิ่ม
ต้นทุนการผลิตมากเกินไป

ภาพท่ี 60 แสดงการฉดี วัคซีนให้ปลานิล
ลงเลยี้ งในกระชัง เพ่ือการปอ้ งกัน
โรคสเตรปโตคอคโคซิส

ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า นิ ล ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ผ ล ผ ลิ ต ต่ อ ปี ป ร ะ ม า ณ ส อ ง แ ส น ห้ า ห มื่ น ตั น
มูลค่าประมาณสองหมื่นล้านบาท จัดเป็นอันดับหนึ่งของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าจืด
ของประเทศ

ผลผลิตปลานิลมาจากการเลี้ยงในบ่อดิน และกระชัง การให้วัคซีนส่วนมากจะ
ดาเนินการกับการเลี้ยงในกระชัง

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 122 - ต อ น ที่ 1 บ ท นา

2.4 ข้อพิจารณาในการใช้วัคซีน

การใช้วัคซีนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกับการเลี้ยงปลานิล ควรมีข้อพิจารณา
ก่อนการดาเนินการดังน้ี

1) ผู้ท่ีจะให้วคั ซนี กับปลาต้องมีความชานาญ และมอี ปุ กรณ์ที่จาเป็นอยา่ งพร้อมเพรียง
2) วัคซนี ตอ้ งผา่ นการขน้ึ ทะเบยี นกบั หนว่ ยงานทก่ี ากบั ดูแลของภาครัฐ
3) ปลาที่จะได้รับวัคซีนต้องแข็งแรง ไม่ปว่ ยเป็นโรคใด ๆ การใช้วัคซีนเป็นวิธีการ
ปอ้ งกันโรค ไมใ่ ช่การรักษา
4) การเล้ียงปลาวัคซีนต้องดาเนินการให้เหมาะสมตามระบบการเลี้ยงท่ีดีตลอดรอบ
การเล้ียง สภาพการเลยี้ งท่ไี มด่ อี าจทาให้ประสทิ ธภิ าพของวัคซนี ด้อยลง
5) นอกจากสภาพการเล้ียงท่ีดีจะช่วยให้วัคซีนมีประสิทธิภาพสูงข้ึนแล้ว จากการวิจัย
พบว่าสารบางชนิด เช่น วิตามินซี และ เบต้ากลูแคน ท่ีผสมอาหารให้ปลากินก่อนได้รับ
วัคซนี จะชว่ ยใหป้ ลาตอบสนองตอ่ วคั ซีนไดด้ ขี ้นึ อย่างมนี ยั สาคัญ (Lee et al., 2017)

เร่อื งท่ี 3

ควำมก้ำวหน้ำของวัคซีน
ปลำนิลในปัจจุบัน

ปลานิล ถือได้ว่าเป็นปลาเศรษฐกิจที่การเพาะเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย และมีพื้นที่
เพาะเลี้ยงแทบจะทุกภูมิภาคและทุกแหล่งน้าในประเทศไทย นอกจากนี้ ยังเป็นสายพันธุ์
ปลาที่มีการเลี้ยงในหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศจีนและประเทศอินโดนีเซียที่มีพื้นที่
เพาะเล้ียง มีการผลิตและส่งออกมากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้น การควบคุมและ
ป ้อ ง ก ัน โ ร ค ติด เ ชื ้อ ใ น ป ล า นิล จ ึง เ ป็น ว ิธีก า ร ที่ส า ม า ร ถ ป ้อ ง กัน โ ร ค ไ ด้อ ย่า ง มี
ประสิทธิภาพวิธีการหนึ่ง และสามารถหลีกเลี่ยงการใช้ยาปฏิชีวนะในการควบคุมโรค
ซึ่งมักจะทาให้เกิดสารตกค้างในผลิตภัณฑ์ปลา และในสิ่งแวดล้อมที่อาจจะมีอันตราย
ต่อผู้บริโภคต่อไปได้อีกด้วย

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 123 - ต อ น ท่ี 1 บ ท นา

ประสิทธิภาพของวัคซีน ขึ้นอยู่กับอะไร ?

ที่ผ่านมา เกษตรกร หรือผู้ใช้งานวัคซีนปลา อาจจะมีข้อสงสัยถึงประสิทธิภาพ
วัคซีนปลาบางชนิดที่มีการใช้งานในพ้ืนที่เพาะเลี้ยง โดยพบว่าวัคซีนที่ใช้งานอยู่อาจจะมี
ประสิทธิผลที่ดีในบางพื้นที่ แต่ไม่สามารถคุ้มโรคหรือปอ้ งกันโรคได้ในพื้นที่เพาะเลี้ยง
บางแห่ง ซ่ึงปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพวัคซีน มีที่มาตั้งแต่ขั้นตอนการวางแผนวิจัย
และพัฒนา และสภาวะการใช้งานจริงในพื้นที่เพาะเล้ียง เช่น

1) ชนิดและสายพันธ์ุของเช้ือก่อโรคที่นามาพัฒนาเป็นวัคซีน
2) สายพันธ์ุเช้ือก่อโรคที่ใช้ในการเหนี่ยวนาปลาที่ได้รับวัคซีนให้เกิดโรคเพื่อศึกษา
ประสิทธิภาพของวัคซีน และสายพันธุ์ท่ีก่อโรคในพื้นท่ีเล้ียงจริง
3) ปริมาณวัคซีนที่ใช้ ช่วงเวลาที่วัคซีนสามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันในปลาและ
ระยะเวลาในการเล้ียงปลา และวิธีการให้วัคซีน (ฉีด แช่ หรือกิน)
4) ชนิดของสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันที่ใช้ร่วมกับวัคซีนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
5) อุณหภูมิน้าท่ีเล้ียงปลา และ
6) ขนาดของปลาท่ีให้วัคซีน
วัคซีนที่มีประสิทธิภาพ สามารถคุ้มโรคในปลานิลได้ดี จะต้องพัฒนาจากเชื้อ
ก่อโรคที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่เพาะเลี้ยงทั้ง ชนิด และสายพันธุ์ที่ก่อโรคในพื้นที่เลี้ยงนั้นๆ
ซึ่งหากใช้วัคซีนที่เตรียมจากเชื้อก่อโรคต่างสายพันธุ์ จะทาให้ไม่สามารถกระตุ้น
ภูมิคุ้มกันจาเพาะต่อเชื้อก่อโรคที่เกิดในพื้นที่ได้ นอกจากนี้ ในการทดสอบประสิทธิภาพ
วัคซีนในระดับห้องปฏิบัติการ โดยการเหนี่ยวนาให้ติดโรค หากใช้เชื้อก่อโรคต่างชนิด
กับที่เกิดในพื้นที่เลี้ยง ก็จะให้ผลของการคุ้มโรคไม่ตรงกับสายพันธุ์ที่เกิดจริงในพื้นท่ี
เช่นกัน ดังนั้น การวิจัยและพัฒนาวัคซีน จึงมีความสาคัญและต้องวางแผนการวิจัย
อย่างรัดกุม เพ่ือให้สามารถผลิตวัคซีนท่ีมีความสามารถในการคุ้มโรคในพื้นที่ได้จริง

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 124 - ต อ น ท่ี 1 บ ท นา

เร่อื งที่ 4

ประเภทของวัคซีน

วัคซีนที่ใช้ในปลานิล มี 4 ประเภท ซึ่งสามารถจาแนกได้ตามองค์ประกอบของ
แอนติเจนที่ใช้กระตุ้นภูมิคุ้มกัน ดังนี้

1) วัคซีนเช้ือตาย (Inactivated vaccines)

วัคซีนเชื้อตาย เป็นวัคซีนชนิดตั้งต้นที่มีการผลิตและใช้งานได้สะดวกที่สุดเมื่อ
เปรียบเทียบกับวัคซีนชนิดอื่นๆ ซึ่งการคัดเลือกเชื้อก่อโรคเพื่อใช้เป็นเชื้อตั้งต้นในการ
พัฒน าเ ป็น วัค ซีน เป็นขั้นต อนห ลัก ที่ทาใ ห้วัคซีนมีปร ะสิท ธิภ าพ ที่พึงป ระ สง ค์ เช่น
สามารถคุ้มโรคและเพิ่มอัตรารอดในปลาติดเชื้อได้สูงขึ้น และการเพิ่มประสิทธิภาพใน
การคุ้มโรคที่เกิดจากเชื้อก่อโรคหลากหลายสายพันธุ์ได้มากข้ึน และเน่ืองจากวัคซีนชนิดน้ี
เป็นวัคซีนที่สามารถผลิตได้ง่ายที่สุด จึงสามารถผลิตจากเชื้อก่อโรคที่แยกได้จากปลา
ปว่ ยโดยตรง โดยทาให้เชื้อก่อโรคนั้น ๆ ตายด้วยวิธีการทางเคมีหรือวิธีการทาง
กายภาพ เช่น การใช้ฟอร์มาลิน (formalin) การใช้รังสี (radiation) หรือการให้
ความร้อน (heat) เป็นต้น โดยส่วนใหญ่แล้ว การฆ่าเชื้อด้วยฟอร์มาลีนเป็นวิธีการตั้ง
ต้น ใ น ก า ร ผ ลิต วัค ซีน เ ชื้อ ต า ย แ ต่ใ น ป จั จุบัน พ บ ว่า วิธีก า ร อื่น ๆ ก็ส า ม า ร ถ ใ ห้
ประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อและให้ความคุ้มโรคได้ไม่แตกต่างจากการฆ่าเช้ือด้วยฟอร์มาลีน
เช่น การใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen peroxide – H2O2) 30% ผสม
เข้ากับเชื้อแบคทีเรียโดยตรงในอัตราส่วน 1 : 5 และแช่ไว้ท่ี 4 °C นาน 6 ชั่วโมง หรือ
การใช้โซดาไฟ (โซเดียมไฮดรอกไซด์ Sodium hydroxide – NaOH) ปรับ pH ของ
สารละลายแบคทีเรียให้มี pH เป็น 10 นาน 3 ชั่วโมง หลักจากนั้นจึงปรับ pH ให้เป็น
กลาง (pH 7) ดว้ ยการใช้กรด 1 M HCl เป็นตน้ (Ramos - Espinoza et al., 2020)

วิธีการดังกล่าวข้างต้น ทาให้เชื้อก่อโรคไม่สามารถเพิ่มจานวนได้ในเจ้าบ้านท่ีได้รับ
วัคซีน แต่ยังคงมีองค์ประกอบส่วนใหญ่ของเช้ือก่อโรคครบถ้วน จึงยังคงมีคุณสมบัติใน
การกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ แต่ไม่สามารถเจริญพันธ์ุได้ ดังน้ัน วัคซีนชนิดนี้จึงใช้องค์ประกอบ
ของเช้ือก่อโรคท้ังหมดในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันในเจ้าบ้าน ซึ่งมีรายงานการใช้วัคซีนชนิดนี้ใน
ปลาพบว่า ระดับภูมิคุ้มกันของปลาจะสูงขึ้น เมื่อมีการกระตุ้นภูมิคุ้มกันด้วยการให้วัคซีนเชื้อ
ตายกบั ปลาสองครัง้ ข้ึนไป

บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 125 - ต อ น ท่ี 1 บ ท นา

ข้อดีของวัคซีนชนิดนี้ คือ สามารถผลิตได้ในปริมาณมาก แต่วัคซีนชนิดนี้ ต้อง
ใช้ระบบการผลิตที่มีความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety) เนื่องจากมีโอกาสใน
การแพร่กระจายเชื้อก่อโรคสูง นอกจากนี้เชื้อก่อโรคบางชนิด เช่น ไวรัส อาจใช้
เวลานานในการเลี้ยงให้ได้ปริมาณมากพอในการนาไปเตรียมวัคซีน นอกจากนี้หากมี
การเลี้ยงเชื้อเป็นเวลานานหรือมีการเพาะเลี้ยงหลายรอบต่อกัน มักจะทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของเชื้อก่อโรคที่นามาใช้ผลิตเป็นวัคซีน จึงต้องมีการควบคุม
และเก็บรักษาเช้ือก่อโรคต้ังต้นอย่างเข้มงวดเพื่อใช้ผลิตวัคซีนท่ีมีคุณสมบัติคงที่

1.1) วัคซีนเช้ือตายสาหรับโรคแบคทีเรียในปลานิล
โรคติดเชื้อแบคทีเรียในปลานิล ถือเป็นสาเหตุหลักของความสูญเสียผลผลิตปลา
ในระหว่างการเพาะเลี้ยง เช่น โรคสเตรปโตคอคโคซิส (Streptococcosis) ที่มี
สาเหตุจากเช้ือ Streptococcus agalactiae โรคแอโรโมแนด (Aeromonad) ที่มี
สาเหตุจากเชื้อ Aeromonas spp. หรือโรคคอลัมนาริส (columnaris disease) ท่ี
มีสาเหตุมาจากเช้ือ Flavobacterium columnare เป็นต้น ซ่ึงพบว่า โรคติดเชื้อ
แบคทีเรียเหล่านี้สามารถเหนี่ยวนาให้เกิดการติดเชื้อไวรัสชนิดอื่นๆ ได้อีก และทาให้
เกิดความรุนแรงของโรคติดเช้ือได้สูงขึ้น
ในปร ะเทศ ไทย มีกา รพัฒน าวัค ซีนเชื้อตาย ป้อง กันโร คสเต รปโ ตคอค โคซิส
Strep-KU1 ที่มีองค์ประกอบของเชื้อก่อโรค S. agalactiae ต่างสายพันธุ์ที่แยกมา
จากปลาเป็นโรคในพื้นที่เพาะเลี้ยงในประเทศไทย และผ่านการพิสูจน์ในด้านความ
หลากหลายของสายพันธุ์ ความแตกต่างทางพันธุกรรม และคุณสมบัติของความ
รุนแรงในการก่อโรค และมีการปรับแต่งองค์ประกอบของวัคซีน จึงทาให้สามารถผลิต
วัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการคุ้มโรคได้กว่า 85% ด้วยการฉีดเพียงครั้งเดียวในพื้นที่
เลี้ยงปลานิลกระชังในจังหวัดกาญจนบุรี หนองคาย และกาแพงเพชร และมีผลการ
ทดสอบซ้าแล้วให้ผลใกล้เคียงกัน ดังนั้น การผลิตวัคซีนที่ใช้ต้นกาเนิดจากเชื้อก่อโรคที่
แยกได้ในแต่ละพื้นที่การเลี้ยง จึงมีศักยภาพในการคุ้มโรคได้สูงกว่าวัคซีนที่ใช้เชื้อก่อ
โรคสายพันธ์ุท่ีแตกต่างออกไป
1.2) วัคซีนเช้ือตายสาหรับโรคไวรัสในปลานิล
ไวรัส TiLV เป็นไวรัสที่ทาให้ปลานิลตายในช่วงระยะแรกของการเล้ียง ท่ีทาให้เกิด
ความเสยี หายได้สูงถงึ 70 – 90% และมพี ้ืนทท่ี พ่ี บการระบาดของไวรัสชนิดน้ีและทาให้เกิด
ความเสียหายในการเพาะเลีย้ งปลานิลใน 16 ประเทศในทวีปเอเชยี อฟั ริกา อเมรกิ าเหนือ และ
อเมรกิ าใต้ (del-Poso et al., 2017; Nicholson et al., 2017; Mugimba et al., 2018)

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 126 - ต อ น ที่ 1 บ ท นา

ดังนั้น วัคซีนที่ใช้ในการปอ้ งกันและควบคุมโรคนี้จึงมีความจาเป็น เพื่อเพิ่มอัตรา
รอดปลานิลเลี้ยงในช่วงแรกของการเลี้ยง เช่น ช่วงระยะเดือนแรกหลังจากย้ายปลา
ลงกระชัง เป็นต้น และในปัจจุบัน วัคซีนทางการค้าที่ใช้ในการควบคุมโรคไวรัสในปลา
นิลยังไม่มีจาหน่าย ดังนั้น การวิจัยและพัฒนาวัคซีนเพื่อควบคุมโรคไวรัสในปลานิลจึง
มีความจาเป็นเร่งด่วนเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคระบาดในระหว่างการเพาะเลี้ยง
ปลานิล

วัคซีนเชื้อตายสาหรับโรค TiLV ผลิตจากไวรัสเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ โดย
ใช้เซลล์เพาะเลี้ยงส่วนสมองของปลานิลในการเพิ่มจานวนไวรัส และใช้ฟอร์มาลดีไฮด์
(formaldehyde) และ บีต้า–โพรพิโอแลคโตน (-propiolactone หรือ BPL) ใน
การฆ่าเช้ือ ซึ่งจากผลการทดสอบประสิทธิภาพความคุ้มโรคในปลานิล พบว่าวัคซีนเชื้อตาย
โรค TiLV ทผ่ี สมแอดจแู วนทช์ นดิ Montanide IMS 1312 VG (SEPPIC, Paris, France)
สามารถคุ้มโรคได้มากกว่า 80% (Zeng et al., 2021) นอกจากนี้แล้ว พบว่าการ
กระตุ้นด้วยวัคซีนสองครั้ง จะสามารถเพิ่มอัตรารอดในปลานิลขนาดเล็กได้มากกว่า
80% เมื่อใช้วัคซีนเชื้อตายจากการใช้ความร้อนหรือการใช้ฟอร์มาลินในการฆ่าไวรัส
TiLV (heat-killed หรือ formalin-killed vaccine) (Mai et al., 2021)
อย่างไรก็ดีในปจั จุบัน ยังไม่มีวัคซีนทางการค้าที่สามารถใช้ควบคุมและปอ้ งกันโรคติด
เชื้อไวรัสได้ ดังนั้น วัคซีนสาหรับโรค TiLV จึงเป็นวัคซีนที่อยู่ในระดับงานวิจัย โดย
วัคซีนชนิดเชื้อตาย ซ่ึงเป็นวัคซีนชนิดท่ีเตรียมได้สะดวกและมีประสิทธิภาพสูงสุด

1.3) วัคซีนเชื้อตายชนิดเช้ือรวม
ที่ผ่านมา ผู้ใช้วัคซีนอาจจะมีข้อกังขาด้านประสิทธิภาพวัคซีนทางการค้าที่ไม่คงที่
ท้ังนี้ เน่ืองจากในความเป็นจริงแล้ว ในระหว่างการเลี้ยงปลา มักจะมีโอกาสในการเกิด
โรคติดเชื้อชนิดใดชนิดหนี่งได้จากเชื้อก่อโรคมากกว่าหนึ่งชนิด หรืออาจจะเป็นเชื้อก่อ
โรคชนิดเดียวกันแต่ต่างสายพันธุ์ ดังนั้นจึงเป็นสาเหตุให้วัคซีนเชื้อตายที่ผลิตมาจาก
เชื้อก่อโรคที่มีสายพันธุ์แตกต่างออกไป มักจะไม่ให้ผลในการป้องกันหรือคุ้มโรคที่มี
ประสิทธิภาพมากนัก และจะสังเกตเห็นได้ว่าวัคซีนนี้มักจะมีประสิทธิภาพสูงสุดกับสาย
พันธุ์ที่จาเพาะที่ใช้ในการผลิตวัคซีนนั่นเอง หรือเข้าข่ายวัคซีนชนิด autogenous
vaccine

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 127 - ต อ น ท่ี 1 บ ท นา

การพัฒนาวัคซีนชนิดเชื้อรวม จึงเป็นแนวความคิดหนึ่งที่ใช้ในการพัฒนาวัคซีน
เพื่อให้มีครอบคลุมความเสี่ยงของโรคท่ีเกิดจากเชื้อหลายสายพันธุ์ และสามารถใช้ได้ใน
หลายพื้นที่เพาะเลี้ยง ซึ่งตัวอย่างของการพัฒนาวัคซีนเชื้อรวม มีได้ทั้ง วัคซีนเชื้อ
รวมเพื่อปอ้ งกันโรคติดเชื้อหลายชนิด และใช้ป้องกันโรคชนิดเดียวแต่ครอบคลุมโรคท่ี
สามารถเกิดจากเช้ือหลายสายพันธุ์ได้ เช่น

•วัคซีนเชื้อตายป้องกันโรคเดียวแต่เกิดได้จากเชื้อหลายสายพันธุ์
วัคซีนเชื้อตายสาหรับฟ รานซิลเซลล่า (Francisella) ที่ผลิตจากเชื้อก่อโรค
Francisella noatunensis subsp. orientalis (Fno) สายพันธุ์ Fno 1 (แยกได้
จากปลาปว่ ยในทวีปยุโรป ปี ค.ศ. 2012) นั้นจะให้อัตรารอดกับปลานิลที่ติดเชื้อสาย
พันธุ์เดียวกันได้ถึง 82.3% แต่จะมีอัตรารอดลดลงเมื่อเชื้อที่ก่อโรคเป็นสายพันธุ์อื่นๆ
เช่น อัตรารอดลดลงเหลือ 69.8% และ 65.9% เมื่อปลาติดเช้ือก่อโรคสายพันธุ์ Fno 1
(เช้ือจากทวีปอเมริกากลางในปี ค.ศ. 2006) และ สายพันธ์ุ Fno 2 (เช้ือจากทวีป
อเมริกาเหนือในปี ค.ศ. 2013) ตามลาดับ (Shanin et al., 2019)
•วัคซีนเชื้อตายป้องกันได้หลายโรค
วัคซีนปอ้ งกันสองโรค (bivalent vaccine) ต่อเชื้อ S. iniae และ Aeromonas
hydrophila เตรยี มได้จากการใช้ฟอร์มาลีนในการฆ่าเช้ือ สามารถคุ้มโรคให้กับปลานิลแดง
(hybrid red tilapia (Oreochromis mossambicus × O. niloticus) ได้กว่า 50%
เมอ่ื ปลาติดเชือ้ S. iniae หรือ A. hydrophila หรือการติดเชื้อแบบ co-infection ท่ีติด
ท้ัง S. iniae และ A. hydrophila พร้อมๆ กัน (Monir et al., 2020)
วัคซีนเช้ือรวมชนิด polyvalent vaccine เพ่ือปอ้ งกันโรคสเตรปโตคอคโคซิส
โรคแลคโคคอค-โคซิส (lactococcosis) และโรคเอนเทอโรคอคโคซสิ (enterococcosis)
(Mevac Aquastrept, ประเทศอียิปต์) เป็นวัคซีนทางการค้าที่มีเชื้อตายของแบคทีเรีย
S. agalactiae, S. iniae, Lactococcus garvieae และ Enterococcus faecalis
ซ่ีงเป็นวัคซีนชนิดแช่ พบว่าสามารถทาให้ปลานิลที่ได้รับวัคซีนมีอัตรารอดเม่ือได้รับเชื้อ
S. agalactiae, S. iniae, Lactococcus garvieae และ Enterococcus faecalis
สงู กว่า 60% ในเดือนท่ี 3 หลังจากได้รับวัคซนี (Abu - Elala et al., 2019)

บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 128 - ต อ น ท่ี 1 บ ท นา

2) วัคซีนชนิดอ่อนแรง (Attenuated vaccines)

วัคซีนชนิดนี้ คือเชื้อก่อโรคที่ยังคงมีชีวิตอยู่ แต่ขาดคุณสมบัติในการทาให้เกิด
โรค ซึ่งเมื่อปลาได้รับวัคซีนชนิดนี้แล้ว เชื้อก่อโรคจะสามารถเพิ่มจานวนได้ในเจ้าบ้าน
แต่ไม่มีความสามารถในการก่อโรค จึงทาให้ปลาที่ได้รับวัคซีนได้รับการกระตุ้นให้สร้าง
ภูมิคุ้มกันเพื่อต่อต้านเชื้อแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย และสามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกัน
ได้ยาวนานแม้ใช้วัคซีนในปริมาณน้อย

การผลิตวัคซีนชนิดนี้ ทาได้โดยการเพาะเลี้ยงและเพิ่มจานวนเชื้อที่ก่อโรครุนแรง
ในอาหารเพาะเลี้ยงหลายรอบติดต่อกัน จะทาให้คุณสมบัติของเชื้อเริ่มเปลี่ยนแปลงไป
โดยเฉพาะคุณสมบัติในการก่อโรค เชน่ การเลยี้ งแบคทเี รยี S. agalactiae ในอาหารเล้ียง
เชื้อชนดิ เหลว และทกุ 12 ชั่วโมงจะนาไปเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อใหม่ และทาซ้า ๆ หลาย
สิบครง้ั (Laith et al., 2019; Li et al., 2019; Mo et al., 2020) หรือการใช้สารเคมี
บางชนิดเหนี่ยวนาให้เชื้อเกิดการกลายพันธุ์และสูญเสียความรุนแรงในการก่อโรค เช่น
การเลี้ยงเชื้อในอาหารที่มีสี Acriflavine เป็นต้น (Laith et al., 2019) และการให้
วัคซีน S. agalactiae ชนิดอ่อนแรง สามารถคุ้มโรคสเตรปโตคอคโคซิสได้ถึง 100%
ได้นานถึง 84 วันหลังจากการฉีดวัคซีนครั้งแรก เมื่อใช้เชื้ออ่อนแรงที่ความเข้มข้น
1 x 10⁷ CFU/ml สองคร้ัง โดยฉีดวัคซีนคร้ังท่ีสองห่างจากครั้งแรก 14 วัน
(Mo et al., 2020)

ซึ่งข้อดีของวัคซีนชนิดนี้ที่คล้ายคลึงกับวัคซีนเชื้อตาย คือ สามารถผลิตได้ใน
ปริมาณมาก แต่อย่างไรก็ดี วัคซีนชนิดนี้อาจจะไม่เหมาะสมกับปลาหรือสิ่งมีชีวิตที่มี
ค ว า ม ไ ว ต่อ เ ชื้อ ก่อ โ ร ค เ นื่อ ง จ า ก เ ชื้อ ที่เ ป็น อ ง ค์ป ร ะ ก อ บ ข อ ง วัค ซีน ช นิด นี้อ า จ
เปลี่ยนแปลงคุณลักษณะให้กลับมามีความรุนแรงในการก่อโรคได้อีก

3) วัคซีนหน่วยย่อย (Subunit vaccines)

ว ัค ซีน ช นิด นี้ผ ล ิต ขึ ้น จ า ก อ ง ค ์ป ร ะ ก อ บ สา ค ัญ ข อ ง เ ชื้อ ก ่อ โ ร ค ที่ส า ม า ร ถ ก ร ะ ตุ ้น
ภูมิคุ้มกันในเจ้าบ้าน (host) ได้ดีเพียงพอ หรือที่เรียกว่า หน่วยย่อย (subunit)
ซึ่งแทนที่จะใช้เชื้อก่อโรคทั้งอนุภาคมาใช้เป็นวัคซีน แต่วัคซีนชนิดนี้สามารถใช้เพียง
โปรตีน (proteins) หรือโครงสร้างน้าตาล (sugars) ที่เป็นส่วนหนึ่งของเชื้อก่อโรค
เท่าน้ัน

บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 129 - ต อ น ที่ 1 บ ท นา

4) วัคซีนจากรหัสพันธุกรรม (Genetic vaccines)

ตวั อยา่ งของวัคซนี ชนิดน้ี ได้แก่ ดเี อน็ เอวัคซีน (DNA vaccine) หรอื อารเ์ อ็นเอวคั ซีน
(RNA vaccine) เป็นการนารหัสพันธุกรรมของเช้อื กอ่ โรคที่สามารถถอดรหัส (transcription)
หรือแปลรหัส (translation) ให้เป็นโปรตีนของเชื้อก่อโรคที่สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกัน
ได้เพียงพอในเจ้าบ้าน ซึ่งวัคซีนชนิดนี้สามารถใช้ทดแทนการใช้เชื้อก่อโรคทั้งอนุภาคใน
การผลิตวัคซีน ซึ่งเป็นหลักการเดียวกันกับวัคซีนหน่วยย่อยนั้นเอง

หลักการทางานของวัคซีนชนิดนี้ ใช้หลักการถอดรหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
โดยดีเอ็นเอ และอาร์เอ็นเอ ทาหน้าที่เป็นต้นแบบในการสังเคราะห์โปรตีนจาเพาะภายใน
เซลล์ ซึ่งดีเอ็นเอสามารถถอดรหัสและสังเคราะห์เป็นอาร์เอ็นเอ หลังจากนั้นอาร์เอ็นเอ
ก็จ ะ แ ป ล ร หัส ( translation) เ ป็น โ ป ร ตีน จา เ พ า ะ ดัง นั้น ก า ร คัด เ ลือ ก ชิ้น ส่ว น
พันธุกรรมจากเชื้อก่อโรคมาพัฒนาเป็นวัคซีนชนิดนี้นั้น ต้องเลือกบริเวณจาเพาะใน
พันธุกรรมของเชื้อก่อโรคที่สามารถสังเคราะห์เป็นโปรตีนจาเพาะท่ีกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้

ดังที่กล่าวไว้แล้วว่าวัคซีนปลาส่วนใหญ่จะใช้ในรูปของวัคซีนชนิดฉีด เช่น การ
ฉดี เขา้ ช่องท้อง (intraperitoneal injection) หรือการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (intramuscular
injection) ซึ่งถือได้ว่าเป็นช่องทางในการนาวัคซีนเข้าสู่ตัวปลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มากท่ีสุด และเนื่องจากเทคโนโลยีในการพัฒนาวคั ซีนปลาที่ผ่านมาน้นั เป็นการผลติ วัคซนี
เชอ้ื ตาย (inactivated vaccine) เป็นหลกั จงึ ทาให้การฉีดเข้าช่องท้องเป็นตาแหนง่ หลกั
ในการใหว้ คั ซนี

อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันมีการพัฒนาวัคซีนปลาข้ึนมาอีกหลายรูปแบบ เช่น
วัคซีนหน่วยย่อย (subunit vaccine) ซึ่งมีหลายรูปแบบ เช่น วัคซีนชนิดรีคอมบิแนนท์
โปรตีน (recombinant protein vaccine) หรอื ดเี อน็ เอวัคซนี (DNA vaccine)

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 130 - ต อ น ท่ี 1 บ ท นา

เร่อื งท่ี 5

เทคโนโลยีสมัยใหม่เพ่ือ
กำรพัฒนำวัคซีนปลำนิล

5.1 การพัฒนาวัคซีนหน่วยย่อยชนิดรีคอมบิแนนท์ และดีเอ็นเอวัคซีน

5.1.1 วัคซีนหน่วยย่อยชนิดรีคอมบิแนนท์โปรตีน (subunit recombinant
protein vaccine)

วัคซีนหน่วยย่อยชนิดรีคอมบิแนนท์โปรตีน เป็นวัคซีนทางเลือกหน่ึงที่สามารถเลือกใช้
เฉพาะโปรตีนของเช้ือก่อโรคท่ีมีคุณสมบัติในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันมาพัฒนาเป็นวัคซีน ซ่ึง
สามารถนาไปใชใ้ หป้ ลาได้ทั้งในรูปของวัคซีนแบบฉีด แบบกิน และแบบแช่

โปรตีน Sip (surface immunogenic protein) CAMP factor, R5 protein,
enolase, hyaluroni dase, hemolysin (cylE), และ pilus proteins ของแบคทีเรีย
S. agalactiae เป็นโปรตีนที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นวัคซีน (Tettelin et al., 2002)
ซึ่งหลายชนิดมีการพิสูจน์แล้วว่ามีคุณสมบัติในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้สูง และมีประสิทธิภาพ
ในการคุ้มโรคในปลาทิ่ติดเช้ือ S. agalactiae มักเป็นโปรตีนจากแบคทีเรีย S. agalactiae
ทีน่ ยิ มใชเ้ พ่ือศึกษาประสทิ ธิภาพวัคซีน และระบบนาสง่ ตา่ งๆ เพ่ือใช้ในปลานิล

ในปัจจุบัน มีการพัฒนาเทคโนโลยีในการพัฒนาวัคซีนหน่วยย่อยชนิดรีคอมบิแนนท์
โปรตีนที่ใช้เพียงชิ้นส่วนอิพิโทป (epitope) ซ่ึงสามารถนามาเช่ือมต่อกันได้หลายชิ้น ซ่ึง
สามารถนามาจากแอนติเจนได้มากกว่าหน่ึงชนิด การนาโครงสร้างโปรตีนที่มีลักษณะจาเพาะ
และเอื้อให้นาเสนอชิ้นส่วนอิพิโทปออกสู่ภายนอก เช่น การใช้ flavodoxin เป็นโครงสร้าง
หลัก เน่ืองจากโครงสร้างท่ีเป็นเกลียว helix หลายตาแหน่ง สามารถนาอิพิโทปมาแทนที่ได้
และทาให้โปรตีนยังคงสภาพการนาเสนอชิ้นส่วนอิพิโทปหรือแอนติเจน (antigen) ออกสู่
ภายนอกอยู่ ซ่ึงวัคซีนชนิดน้ีเรียกว่า chimeric recombinant protein vaccine
(ภาพท่ี 61) ดังน้ัน เม่ือนาช้ินส่วนอิพิโทปจากแบคทีเรีย S. agalactiae ท่ีแตกต่างกัน 5
ชนิดเข้าแทนท่ีในส่วนท่ีเป็นเกลียวน้ี ทาให้สามารถผลิตเป็นโปรตีนวัคซีนชนิดรีคอมบิแนนท์
ซ่งึ เมอ่ื นาไปทดสอบประสทิ ธภิ าพในปลาดว้ ยวิธกี ารฉีดแลว้ พบว่า ปลานิลท่ีได้รับวัคซีนชนิดน้ีมี
อัตรารอด 57 - 76% ซง่ึ ใกลเ้ คียงกบั การใช้วคั ซนี ชนิดเชื้อตาย (Pumchan et al., 2020)

บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 131 - ต อ น ที่ 1 บ ท นา

ภาพท่ี 61 โครงสร้างของวคั ซนี ชนดิ chimeric recombinant protein vaccine ที่ใชโ้ ครงสรา้ ง
flavodoxin ในการเป็นโครงสร้างหลกั และสามารถนาอิพิโทปเข้าแทนท่ใี นบริเวณ antigen (1 – 6) ได้

เพื่อใหโ้ ปรตีนนีส้ ามารถนาเสนอชนิ้ ส่วนอิพิโทปออกสู่ภายนอกได้ (Pumchan et al., 2020)

5.1.2 ดีเอน็ เอวคั ซนี
ดเี อน็ เอวคั ซีน เป็นวคั ซนี ทใี่ ช้เฉพาะส่วนดีเอน็ เอทแ่ี ปลรหัสให้เป็นโปรตีนของเชอ้ื ก่อโรคท่ี
มีคุณสมบัติในการกระตนุ้ ภมู ิค้มุ กันมาพัฒนาเป็นวัคซีน เชน่ การนา Sip protein ใส่ในเวคเตอร์
pVAX-1 ทาให้ปลานิลที่ติดเชื้อ S. agalactiae มีอัตรารอดสูงถึง 50 – 60% (Zhu et
al., 2017) และการใช้โครงสร้างโปรตีนที่มีลักษณะจาเพาะและเอื้อให้นาเสนอชิ้นส่วนอิพิโทป
ออกสู่ภายนอก เช่น flavodoxin เพื่อสร้างเป็นดีเอ็นเอวัคซีน สามารถเพิ่มอัตรารอดใน
ปลานลิ ทตี่ ิดเชอื้ S. agalactiae ได้ถึง 57 - 76% (Pumchan et al., 2020)

5.2 การพัฒนาระบบนาส่งเพื่อเป็นทางเลือกในการให้วัคซีนทางการแช่และ
วัคซีนทางการกิน

5.2.1 การพัฒนาวัคซีนแช่ (Immersion vaccine)
การใช้วัคซีนชนิดแช่ในปลา เป็นวิธีการให้วัคซีนท่ีไม่สร้างความเครียดให้กับปลา และไม่
ต้องการแรงงานและอุปกรณ์ในการให้วัคซีนเหมือนกับวิธีการฉีด ซึ่งมีเทคโนโลยีในการ
พัฒนาระบบนาส่งเพ่ือใช้นาส่งวัคซีนทางการแช่ท่ีหลากหลาย แต่ระบบนาส่งชนิดน้ี ต้องมี
ขนาดเล็ก และเหมาะสมกับการตรึงและถูกตรวจจับได้ด้วยระบบภูมิคุ้มกันชนิดเย่ือเมือก
(mucosal immunity) ซงึ่ เป็นระบบภูมคิ ุม้ กนั ท่ีพบได้ท่ีเหงือก ผิวหนัง และลาไส้ของปลา และ
ระบบนาส่งนี้ต้องยังคงรักษาสภาพของแอนติเจน (antigen) ให้นานเพียงพอที่จะถูก
ตรวจจับได้ด้วยระบบภูมิคุ้มกันชนิดลิมฟอยด์ (lymphoid tissues) ต่อไป ซ่ึงตัวอย่างวัคซีน
แชท่ ีม่ ีในปจั จุบนั มดี ังนี้

บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 132 - ต อ น ท่ี 1 บ ท นา

•การใช้ nano-particulate delivery system (O/W adjuvant) โดยการ
ใช้แอดจูแวนท์ (adjuvant) ชนิด Montanide IMS 1312 VG (Seppic Co.,
ประเทศฝรั่งเศส) ผสมกับเชื้อตายในอัตราส่วน 1:1 และกวนผสมที่อุณหภูมิห้อง ทาให้
สารผสมที่มีลักษณะเป็นอิมัลชั่น (emulsion) ที่มีอนุภาคขนาดเล็ก (ประมาณ 100
นาโนเมตร) ที่หุ้มวัคซีนไว้ภายใน การแช่วัคซีนชนิดนี้ ทาได้โดยใช้วัคซีน 1 ส่วน ผสม
กับน้า 9 ส่วน และแช่ปลานิลอายุ 1 เดือนได้ถึง 500 ตัว โดยแช่นาน 2 นาที แล้ว
จึงย้ายไปยังบ่อเลี้ยงปลาตามปกติ ซึ่งพบว่าเมื่อปลาถูกทดสอบด้วยเชื้อก่อโรค
S. agalactiae, S. iniae, L. garvieae และ E. faecalis มีอัตรารอดสูงกว่า
60% ในเดือนที่ 3 (Abu - Elala et al., 2019)

•การใช้ไคโตซาน (chitosan) ในการนาส่งวัคซีนเชื้อตาย F. columnare ที่ทา
ให้แตกตัวด้วย sonication และผสมแบคทีเรียที่แตกตัวนี้ด้วยไคโตซานและองค์ประกอบ
อื่น ๆ ทาให้ได้อนุภาคทีม่ ีขนาดเล็กระดับนาโนเมตร และมีประจุภายนอกเป็นบวกซึ่งเหมาะสมกับการ
ตรึงกับส่วนเหงือกของปลา และเมื่อนาปลานิลไปแช่ด้วยวัคซีนนี้นาน 30 นาที พบว่า
สามารถทาให้อตั รารอดของปลานิลที่ติดเช้ือ F. columnare เป็น 60% ในขณะที่วัคซีนเชื้อ
ตายที่ไม่ได้ทาให้แตก ไม่ให้ความคุ้มโรคเมื่อมีการติดเชื้อซึ่งแสดงให้เห็นว่า วัคซีนเชื้อ
ตายที่ไม่ได้มีการปรับแต่งให้มีประจุบนพื้นผิว และขนาดที่เหมาะสมนี้ ไม่สามารถตรึง
และถูกตรวจจับได้ด้วยระบบภูมิคุ้มกันปลา (Kitiyodom et al., 2019)

5.2.2 การพัฒนาวัคซีนทางการกิน (Oral administration vaccine)
วัคซีนทางการกิน เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันในปลาได้ตลอด
ช่วงระยะเวลาเลี้ยง โดยไม่ต้องใช้แรงงานเพิ่มเติมในการจับและดาเนินการกับปลา
ซ่ีงวัคซีนชนิดน้ี สามารถผสมกับอาหารปลานิล และให้ได้บ่อยคร้ังตามท่ีต้องการ
•การใชน้ ้ามนั ปาล์ม 10% ผสมเขา้ กบั วัคซนี เชื้อตาย S. iniae (6.7 x 10⁹ CFU/ml)
และ A. hydrophila (6.7 x 10⁹ CFU/ml) และนาไปใส่ในอาหารปลานิลสาเร็จรูปได้ทั้ง
การสเปรย์ลงบนอาหารโดยตรง หรือ ผสมลงไปในอาหารปลานิลสาเร็จรูปที่บดเป็นผง
แล้วนาไปขึ้นรูปอีกครั้ง ซึ่งปลาที่ได้รับวัคซีนชนิดนี้นาน 5 วัน และให้ซ้าที่เวลา 14 และ
42 วัน สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันและเพ่ิมอัตรารอดในปลาได้ประมาณ 50% เม่ือปลา
ติดเชอื้ S. iniae เชือ้ A. hydrophila หรอื ติดท้ัง S. iniae + A. hydrophila (Monir
et al., 2020)

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 133 - ต อ น ท่ี 1 บ ท นา

•การใช้แบคทีเรียชนิดอื่น หรือโปรไบโอติกส์ (probiotics) ในการนาส่งวัคซีน
เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถบรรจุวัคซีนหน่วยย่อย (subunit protein vaccine)
เข้าไปได้ด้วยการใช้เทคนิคการตัดต่อพันธุกรรม เช่น Bacilllus subtilis (G5) ที่มี
ยีน Sip protein ของแบคทีเรีย S. agalactiae สามารถเล้ียงให้เข้าสปอร์ (spore) ได้
และเมื่อให้ปลากิน สามารถพบสปอร์แบคทีเรียได้ที่ผนังลาไส้เล็ก พบว่ามีแอนติบอดี
จาเพาะต่อ Sip protein ผลิตขึ้นในปลานิล และสามารถคุ้มโรคโดยให้อัตรารอดปลา
ประมาณ 41.7% เมื่อปลาติดเชื้อ S. agalactiae (Yao et al., 2019)

นอกจากนี้การใช้ Salmonella typhimurium SL720 ชนิดอ่อนแรง ในการ
นาส่งดีเอ็นเอวัคซีน pVAX1-Sip โดยการนาดีเอ็นเอวัคซีนเข้าไปใน S. typhimurium
และเหนี่ยวนาให้ดีเอ็นเอวัคซีนแทรกตัวเข้าไปในจีโนมของ S. typhimurium ด้วยใช้ยา
ปฏิชีวนะในการคัดเลือก ทาให้สามารถผลิต S. typhimurium มี Sip protein อยู่
ภายในอย่างถาวร และเมื่อปลานิลได้รับวัคซีนชนิดนี้ทางการกิน พบว่าสามารถพบ
แบคทีเรียนี้ได้ในทางเดินอาหาร ม้าม และตับ และพบได้นานกว่า 4 สัปดาห์ แม้ว่าหยุด
การให้อาหารผสมวัคซีนแล้วก็ตาม อย่างไรก็ดี อัตรารอดของปลามีประมาณ 20 –
30% เมื่อได้รับวัคซีนทางการกินเพียงครั้งเดียว และอัตรารอดจะเพิ่มขึ้นเป็น 47%
และ 57% เมื่อได้รับวัคซีนซ้าสอง และสามคร้ังตามลาดับ (Huang et al., 2014)

•การใช้ Oralject™ technology ในการนาส่งวัคซีนเชื้อตาย S. iniae และทา
ใหเ้ ป็นผงดว้ ยวิธเี ยือกแข็ง ทาให้มอี ตั รารอดของปลานิลท่ีตดิ เชอ้ื S. iniae ไดส้ ูงถึง 63.1%
เม่ือเปรียบเทียบกับวคั ซนี ชนิดตายแบบฉดี (อตั รารอด 100%) (Shoemaker et al., 2006)

•การใช้ cationic-PLGA ในการนาส่งดีเอ็นเอวัคซีน Sip protein โดยทา
เป็น nanoparticle ที่มีขนาดเล็กระดับนาโนเมตร สามารถให้อัตรารอดปลานิลที่ติดเชื้อ
S. agalactiae ในช่วง 41.67%–95.83% โดยอัตรารอดแปรผันตามปริมาณของ
ดีเอ็นเอวัคซีนที่ใช้ (Ma et al., 2017)

5.3 การเปรียบเทียบวัคซีนแต่ละชนิด

วัคซีนปลาในปัจจุบันมีการพัฒนาและจาหน่ายหลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละชนิดมี
คุณสมบัติ การเก็บรักษา ความสามารถในการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน และความสามารถ
ในการคุ้มโรคแตกต่างกัน ดังน้ัน การเลือกใช้วัคซีนเพื่อควบคุมและป้องกันโรค จึง
ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า ถึ ง ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ค ว า ม พ ร้ อ ม ข อ ง ท รั พ ย า ก ร ใ น ก า ร ใ ห้ วั ค ซี น ป ล า
ดังแสดงในตารางท่ี 12

บ ท ที่ 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 134 - ต อ น ที่ 1 บ ท นา

ตารางที่ 12 การเปรียบเทียบคุณสมบัติ และข้อจากัดของวัคซีนปลาทั้ง
สามชนิด (Su et al., 2021)

บ ท ท่ี 4 เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม - 135 - ต อ น ที่ 1 บ ท นา

เอกสำรอ้ำงอิง

ธารทิพย์ วอ่ งไวไพโรจน์. 2560. การตอบสนองทางภมู ิคมุ้ กนั ของปลานิล (Oreochromis
niloticus Linn.) ต่อวัคซีนเช้ือ Streptococcus agalactiae ที่เตรียมด้วยวิธี
ต่างกัน. วิทยานพิ นธ์ปริญญาโท, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.

Abu-Elala, N. M., A. Samir, M. Wasfy and M. Elsayed. 2019. Efficacy of
Injectable and Immersion Polyvalent Vaccine against Streptococcal
Infections in Broodstock and Offspring of Nile tilapia (Oreochromis
niloticus). Fish Shellfish Immunol. 88: 293–300.

Adams, A. 2019. Progress, challenges and opportunities in fish vaccine
development. Fish Shellfish Immunol. 90: 210–214.

del-Pozo, J., N. Mishra, R. Kabuusu, S. Cheetham, A. Eldar, E. Bacharach,
W. I. Lipkin, and H. W. Ferguson. 2017. Syncytial Hepatitis of Tilapia
(Oreochromis niloticus L.) is Associated With Orthomyxovirus-Like
Virions in Hepatocytes. Vet Pathol. 54(1): 164–170.

Huang, L. Y., K. Y. Wang, D. Xiao, D. F. Chen, Y. Geng, J. Wang, et al.
2014. Safety and immunogenicity of an oral DNA vaccine encoding
Sip of Streptococcus agalactiae from Nile tilapia Oreochromis
niloticus delivered by live attenuated Salmonella typhimurium. Fish
Shellfish Immunol. 38(1): 34–41.

Kayansamruaj, P., N. Areechon and S. Unajak. 2020. Development of fish
vaccine in Southeast Asia: A challenge for the sustainability of SE
Asia aquaculture. Fish Shellfish Immunol. 103:73–87.

Kitiyodom, S., T. Yata, J. Yostawornkul, S. Kaewmalun, N. Nittayasut, K.
Suktham, et al. 2019. Enhanced efficacy of immersion vaccination
in tilapia against columnaris disease by chitosan-coated
“pathogen-like” mucoadhesive nanovaccines. Fish Shellfish Immunol.
95:213–9.

Laith, A. A., M. A. Abdullah, W. W. I. Nurhafizah, H. A. Hussein and J. Aya,
A. W. M. Effendy, et al. 2019. Efficacy of live attenuated vaccine
derived from the Streptococcus agalactiae on the immune
responses of Oreochromis niloticus. Fish Shellfish Immunol. 90: 235–
43.

- 136 -

Lee, Y., P. Srisapoome, S. Unajak, K. Kannika and N. Areechon. 2017.
Innate and adaptive immunity response of Nile tilapia
(Oreochromis niloticus Linn.) to dietary supplementation of
vitamin c and beta-glucan, pp. 617-628. In Proceedings of 55th
Kasetsart University Annual Conference: Plants, Animals,
Veterinary Medicine, Fisheries, Agricultural Extension and Home
Economics.

Li, L. P., R. Wang, W. W. Liang, T. Huang, Y. Huang, F. G. Luo, et al.
2019. Development of live attenuated Streptococcus agalactiae
vaccine for tilapia via continuous passage in vitro. Fish Shellfish
Immunol. 45(2): 955–63.

Ma, Y., H. Ke, Z. Liang, J. Ma, L. Hao and Z. Liu. 2017. Protective
efficacy of cationic-PLGA microspheres loaded with DNA
vaccine encoding the sip gene of Streptococcus agalactiae in
tilapia. Fish Shellfish Immunol. 66: 345–53.

Ma, J., T. J. Bruce, E. M. Jones and K. D. Cain. 2019. A review of fish
vaccine development strategies: conventional methods and
modern biotechnological approaches. Microorganisms 7(11): 569.
doi:10.3390/microorganisms7110569.

Mai, T. T., P. Kayansamruaj, S. Taengphu, S. Senapin, J. Z. Costa, J.
del-Pozo, et al. 2021. Efficacy of heat-killed and formalin-killed
vaccines against Tilapia tilapinevirus in juvenile Nile tilapia
(Oreochromis niloticus). BioRxiv. doi: 10.1111/jfd.13523.

Mo, X. B., J. Wang, S. Guo and A. X. Li. 2020. Potential of naturally
attenuated Streptococcus agalactiae as a live vaccine in Nile
tilapia (Oreochromis niloticus). Aquaculture 518: 734774.
https://doi.org/10.1016/j.aquaculture.2019.734774.

Monir, M. S., S. bin M. Yusoff, Z. binti M. Zulperi, H. binti A. Hassim, A.
Mohamad, M. S. bin, M. H. Ngoo, et al. 2020. Haemato-
immunological responses and effectiveness of feed-based
bivalent vaccine against Streptococcus iniae and Aeromonas
hydrophila infections in hybrid red tilapia (Oreochromis
mossambicus × O. niloticus). BMC Vet. Res. 16(1): 226.
https://doi.org/10.1186/s12917-020-02443-y.

- 137 -


Click to View FlipBook Version