ศึกษาภาพสะท้อนวฒั นธรรมท่ีปรากฏในการต้ังชื่อ “บอนสี” ราชินีไม้ใบ
จดั ทาํ โดย
นางสาวกลุ ธิดา นารินรักษ์ รหัสนิสิต 621011444
นางสาวชลรดา สกลุ แก้ว รหสั นิสิต 621011448
เสนอ
อาจารย์ ศรีองั คาร ถาวโรฤทธ์ิ
รายงานฉบบั นีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของรายวชิ า ภาษากบั วฒั นธรรม (0111322)
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวชิ าภาษาไทย
มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ วทิ ยาเขตสงขลา
คาํ นํา
รายงานเล่มน้ีจดั ทาํ ข้ึนเพ่อื เป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ า ภาษากบั วฒั นธรรม รหสั วิชา 0111322 เพอื่
การศึกษาหาความรู้เก่ียวกบั ภาษาและวฒั นธรรมต่างๆ ท่ีปรากฏในการต้งั ช่ือ “บอนสี” ราชินีไมใ้ บ โดยมี
วตั ถุความประสงคท์ ่ีจะนาํ ความรู้ท่ีไดจ้ ากการศึกษาขอ้ มูลมาเป็ นแนวทางในการเรียนในรายวิชาภาษากบั
วฒั นธรรม ซ่ึงในรายงานเล่มน้ีมีเน้ือหา ดงั น้ีคือ เน้ือหาเกี่ยวกบั ค่านิยม ความเช่ือ ศาสนา วรรณคดีไทย วิถี
ชีวิตของผคู้ นในสงั คม บทเพลงไทย และสถาปัตยกรรมต่างๆ ซ่ึงวฒั นธรรมท้งั หลายเหล่าน้ีลว้ นเป็นสิ่งท่ีถูก
ถ่ายทอดออกมาจากภาษาท่ีใช้ในการต้ังชื่อบอนสีผ่านทางวฒั นธรรมหลากหลายสาขา ได้แก่ สาขา
มนุษยศาสตร์ สาขาศิลปะ สาขาช่างฝีมือ สาขาคหกรรม และสาขากีฬาและนนั ทนาการ นอกจากจะนาํ ความรู้
จากการทาํ รายงานไปใชใ้ นการเรียนแลว้ สามารถนาํ มาใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ได้
คณะผจู้ ดั ทาํ ตอ้ งขอขอบคุณ อาจารยศ์ รีองั คาร ถาวโรฤทธ์ิ ผใู้ หค้ วามรู้และแนวทางในการศึกษา คณะ
ผจู้ ดั ทาํ หวงั วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ผอู้ ่านหรือนกั เรียน นิสิตที่กาํ ลงั สนใจหรือหาขอ้ มูลเร่ืองน้ี
อยู่ หากมีขอ้ แนะนาํ หรือขอ้ ผดิ พลาดประการใด คณะผจู้ ดั ทาํ ขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่ีน้ีดว้ ย
คณะผจู้ ดั ทาํ
สารบญั หน้า
1
เร่ือง 1
1.บทนาํ 2
3
1.1 หลกั การและเหตุผล 3
1.2 วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา 5
1.3 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ 5
1.4 ขอบเขตการศึกษา 5
2. เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง 5
2.1 สาขามนุษยศาสตร์ 10
13
2.1.1 ค่านิยม 17
2.1.2 ความเชื่อ 18
2.1.3 ศาสนา 19
2.1.4 ประวตั ิศาสตร์ 19
2.1.5 การปกครอง 20
2.1.6 กฎหมาย 20
2.2 สาขาศิลปะ 24
2.2.1 ภาษา 24
2.2.2 ดนตรี 24
2.2.3 วรรณคดี 25
2.2.4 สถาปัตยกรรม 25
2.3 สาขาช่างฝี มือ 25
2.3.1 การเจียระไน 26
2.4 สาขาคหกรรม
2.4.1 การแต่งกาย 26
2.5 สาขากีฬาและนนั ทนาการ 27
2.5.1 การยงิ ธนู 28
ความรู้เกี่ยวกบั บอนสี 31
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
การจาํ เเนกบอนสี
การกาํ หนดคาํ ศพั ทใ์ นวงการบอนสี
หลกั ในการต้งั ช่ือบอนสี
สารบัญ หน้า
35
เรื่อง 35
3.วิเคราะห์ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมที่ปรากฏในการต้งั ชื่อ”บอนสี” ราชินีไมใ้ บ 35
36
3.1 สาขามนุษยศาสตร์ 42
3.1.1 ค่านิยม 45
3.1.2 ความเช่ือ 53
3.1.3 ศาสนา 61
3.1.4 ประวตั ิศาสตร์ 61
3.1.5 การปกครอง 61
3.1.6 กฎหมาย 65
70
3.2 สาขาศิลปะ 84
3.2.1 ภาษา 89
3.2.2 ดนตรี 89
3.2.3 วรรณคดี 91
3.2.4 สถาปัตยกรรม
92
3.3 สาขาช่างฝี มือ 92
3.3.1 การเจียระไน 93
95
3.4 สาขาคหกรรม 98
3.4.1 การแต่งกาย
3.5 สาขากีฬาและนนั ทนาการ
3.5.1 การยงิ ธนู
4. สรุปและอภิปรายผล
5.บรรณานุกรม
1
บทท่1ี
บทนํา
1. หลกั การเเละเหตุผล
ภาษาเป็ นเครื่องมือสําคญั ในการสื่อสารของมนุษย์ ท่ีช่วยถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดให้เกิดความ
เขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั และเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของตนเองในการอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนในสงั คม สอดคลอ้ ง
กบั ชนกพร องั ศุวิริยะ (2559:20) กล่าวไวว้ ่า เน่ืองจากสังคมมนุษยเ์ ป็ นสังคมภาษา จึงทาํ ให้มีภาษาเป็ น
ส่ือกลางให้มนุษยม์ ีความสัมพนั ธภาพระหว่างกนั ดว้ ยวิธีต่างๆ เช่น การถ่ายความรู้ การสร้างวฒั นธรรม
อารยธรรม รวมถึงภูมิปัญญาท่ีละเอียดอ่อนของมนุษย์ ภาษาจึงเป็ นสิ่งสําคญั ท่ีช่วยหล่อหลอมมนุษยไ์ ว้
ดว้ ยกนั ใหเ้ ป็นสงั คม
การใชภ้ าษาคือวฒั นธรรมในการดาํ รงชีวติ ของเผา่ พนั ธุม์ นุษย์ ท่ีมีการถ่ายทอดและเรียนรู้ของคนใน
สังคม ภาษาเป็นบ่อเกิดของวฒั นธรรมในสงั คม ผา่ นทางรูปแบบการส่ือสาร สืบทอดความคิดเชิงสร้างสรรค์
ความรู้ วิถีชีวติ และระเบียบการต่างๆ ดงั ท่ี ชนกพร องั ศุวิริยะ (2559: 56) กล่าววา่ ส่ิงสาํ คญั ในการดาํ รงความ
เป็ นวฒั นธรรมให้ยงั คงอยใู่ นสังคมอย่างยาวน้นั จาํ เป็ นจะตอ้ งมีส่ือกลางท่ีสําคญั นน่ั คือ “ภาษา” ในฐานะ
เครื่องมือนาํ สารทางวฒั นธรรมส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่น ภาษาจึงเป็นหวั ใจสาํ คญั ของวฒั นธรรม วฒั นธรรมของ
แต่ละสังคมไม่วา่ จะผา่ นวิวฒั นาการมาอยา่ งไร จาํ ตอ้ งอาศยั ภาษาเป็นสื่อท้งั สิ้น การสืบทอดทางวฒั นธรรม
ผา่ นภาษาจึงเป็นสิ่งที่ทาํ ใหว้ ฒั นธรรมน้นั ยงั คงอยสู่ ืบต่อไป จากท่ีนกั วิชาการไดก้ ล่าวขา้ งตน้ น้นั ทาํ ให้ผูว้ ิจยั
เห็นวา่ ภาษาเป็นเคร่ืองมือท่ีใชถ้ ่ายทอดวฒั นธรรม เนื่องจากภาษาทาํ ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลง สร้างสรรค์ เเละ
ก่อให้เกิดอารยธรรมต่างๆข้ึนในสังคม ดงั น้นั ภาษาจึงมีความสําคญั ในดา้ นวฒั นธรรมเเละอารยธรรมของ
มนุษยชาติ หากไม่มีภาษากจ็ ะไม่มีส่ิงท่ีเรียกวา่ วฒั นธรรม
อมรา ประสิทธ์ิรัฐสินธุ์ (2532:96) ได้ให้ความหมายของคาํ ว่า วฒั นธรรม (Culture) หมายถึง
แบบแผนหรือกฎเกณฑซ์ ่ึงกาํ หนดพฤติกรรมทุกอยา่ งของมนุษยใ์ นสงั คมใดสงั คมหน่ึง พฤติกรรมทางภาษา
ความเชื่อ การประดิษฐเ์ ครื่องมือ ศิลปะ ความบนั เทิง อาชีพของคนในสงั คมใดสงั คมหน่ึง ฯลฯ ผวู้ จิ ยั สรุปได้
วา่ ภาษามีความสมั พนั ธ์กบั วฒั นธรรม ดว้ ยภาษาเป็นสิ่งที่มนุษยส์ ร้างข้ึนเช่นดียวกบั วฒั นธรรม มนุษยส์ ร้าง
ภาษาข้ึนเพ่ือการสื่อสารระหว่างมนุษยด์ ว้ ยกนั ซ่ึงตอ้ งการปฏิสัมพนั ธ์หรือร่วมกนั สร้างส่ิงต่างๆ เกิดเป็ น
วฒั นธรรมข้ึนในสังคม ซ่ึงวฒั นธรรมจาํ เป็นตอ้ งมีภาษาเป็นเคร่ืองมือไวส้ าํ หรับขดั เกลาสังคมใหเ้ กิดความดี
งาม ดงั น้นั ภาษาจึงถือเป็นตวั กลางสาํ คญั ของวฒั นธรรม นอกจากจะทาํ ใหว้ ฒั นธรรมไดร้ ับการส่งต่อจากรุ่น
สู่รุ่นเเล้ว ยงั สามารถนําเอาวฒั นธรรมมาศึกษาเพื่อให้เห็นภาพสะท้อนของค่านิยม ความเช่ือ ศาสนา
วรรณกรรมไทย ศิลปกรรม เเละวิถีชีวิตของผคู้ นในสังคม วฒั นธรรมต่างๆเหล่าน้ีลว้ นถ่ายทอดออกมาจาก
ภาษา ดว้ ยความงดงามของภาษาไทย ดา้ นความไพเราะเเละความดีเด่นดา้ นความหมาย ทาํ ให้ภาษาไทยมี
เอกลกั ษณ์ที่โดดเด่นและเสน่ห์เฉพาะตวั ภาษาไทยถือเป็ นวฒั นธรรมอย่างหน่ึงท่ีสะท้อนลกั ษณะของ
2
สังคมไทยหลายๆอยา่ ง ดงั เช่น ความงดงามของภาษาไทยในการต้งั ชื่อบอนสี ท่ีสะทอ้ นให้เห็นวฒั นธรรม
ไทยในหลายๆดา้ น
บอนสีเป็ นไมป้ ระดับที่มีสีสันสวยงามเป็ นเอกลกั ษณ์ จนไดช้ ื่อว่าเป็ น “ราชินีเเห่งไมใ้ บ” ใน
บรรดาไมป้ ระดบั ท้งั หลาย นิยมปลูกกนั มาชา้ นานมีมาต้งั เเต่สมยั อยธุ ยา ซ่ึงในขณะน้นั เรียกกนั วา่ “บอนฝร่ัง”
จนถึงปัจจุบนั ก็ยงั เป็นที่นิยมอยา่ งเเพร่หลาย มีผนู้ ิยมปลูกเล้ียงบอนสีเป็นจาํ นวนมาก การต้งั ชื่อบอนสีเเต่ละ
ตน้ จึงมีความสาํ คญั ดงั่ ที่อุไร จิรมงคลการ (2538 : 38) กล่าววา่ สมยั โบราณนิยมต้งั ชื่อบอนสีกนั อยา่ งมีระบบ
โดยนาํ ช่ือของตวั ละครในวรรณคดี บุคคลหรือสถานที่สาํ คญั มาเป็นช่ือบอน ซ่ึงพิจารณาจากลกั ษณะทรงตน้
ใบ และสีสนั ของบอนสี เปรียบเทียบกบั รูปร่าง พฤติกรรม หรือลกั ษณะเด่นของตวั ละคร สถานท่ี หรือบุคคล
น้นั ๆ ให้สอดคลอ้ งกนั นอกจากน้ียงั มีนกั วิชาการท่ีอธิบายเกี่ยวกบั ความรู้ในการต้งั ชื่อบอนสี ความสาํ คญั
ของผตู้ ้งั ชื่อบอนสีจะตอ้ งมีความรู้ในเรื่องวรรณคดีเพ่ือใหก้ ารต้งั ชื่อน้นั สอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะตน้ บอนสี จึง
ถือว่ามีความเหมาะสม บุญนาค สีสด (2544:94) กล่าวว่าในอดีตต้งั ช่ือบอนแต่ละตน้ จะตอ้ งมีความรู้ท้ัง
ในทางวรรณคดีและลกั ษณะของตวั ละครท่ีจะนาํ มาถ่ายแบบลงในบอนสีแต่ละตน้ เช่น บอนสีท่ีถูกต้งั ช่ือให้
เป็นตวั นาง ตวั พระ รูปลกั ษณะ ตลอดจนองคป์ ระกอบของบอนสีตน้ น้นั จะตอ้ งผสมกลมกลืนกบั บุคลิกของ
ตวั ละครน้นั ได้ เเต่ในปัจจุบนั การต้งั ช่ือบอนสีจะไม่ยดึ หลกั การมากนกั เหมือนในอดีต ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ความ
พอใจของผปู้ ลูกเล้ียงตามหลกั เหตุผลเเละโอกาสอนั เหมาะสมของเเต่ละคน
สําหรับส่วนต่างๆ ของตน้ บอนที่นาํ มาพิจารณาน้นั จะใชล้ กั ษณะทรงตน้ ใบ รูปใบ ความเขม้ และ
อ่อนของสีพ้ืนใบ ความละเอียดของเมด็ บนใบ รวมถึงความอ่อนชอ้ ยและสีของกา้ นใบ เช่นบอนใบไทยชื่อ
"นางละเวง" มีใบสีขาวสะอาดหมายถึง หญิงสาวที่สวยงามมีเสน่ห์ บริสุทธ์ิสดใสและฉลาดหลกั แหลม เป็น
ลกั ษณะของนางละเวงในเร่ืองพระอภยั มณี บอนใบกลมชื่อ "หม่ืนหาญ"มีใบสีแดงเขม้ กระดูกและเสน้ สีแดง
หมายถึงชายหนุ่มท่ีมีความกลา้ แกร่ง เขม้ แขง็ เป็นตน้
ดว้ ยเหตุน้ีผวู้ จิ ยั เห็นวา่ การต้งั ชื่อบอนสีมีความสมั พนั ธก์ บั วฒั นธรรมไทยท่ีมีความน่าสนใจเป็นอยา่ ง
ย่ิง จึงเลือกท่ีจะศึกษาภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมที่ปรากฏในการต้งั ช่ือ “บอนสี” ราชินีไมใ้ บ เพื่อศึกษาเเละ
วิเคราะห์ความงดงามของภาษาไทยที่ปรากฏในชื่อบอนสีและวฒั นธรรมไทยที่สะทอ้ นผ่านในต้งั ชื่อบอน
สี นับว่าการต้งั ช่ือบอนสีเป็ นศิลปะเเขนงหน่ึงท่ีตอ้ งใชจ้ ิตนาการอนั ลึกซ้ึง ประณีต เเละละเอียดอ่อนเป็ น
อยา่ งมาก นอกจากจะทาํ ใหท้ ราบถึงความเป็นมาเเละความหมายของช่ือบอนสีที่มีปลูกเล้ียงในประเทศไทย
การศึกษาในคร้ังน้ียงั เป็นการช่วยอนุรักษแ์ ละสืบสานวฒั นธรรมอนั ดีงามของไมป้ ระดบั ของไทยอยา่ งดียง่ิ
2.วตั ถุประสงค์ในการศึกษา
ในการศึกษาคร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั ไดต้ ้งั วตั ถุประสงคไ์ ว้ ดงั น้ี
2.1 เพอื่ รวบรวมและศึกษาวเิ คราะห์ขอ้ มูลดา้ นวฒั นธรรมไทยท่ีปรากฏในการต้งั ช่ือบอนสี
2.2 เพือ่ ทราบถึงความเป็นมาของการต้งั ช่ือของบอนสีในแต่ละตน้
3
2.3 เพอื่ เผยแพร่ความรู้ที่ผา่ นวธิ ีการคน้ ควา้ วิเคราะห์อยา่ งเป็นระบบแก่ผสู้ นใจวฒั นธรรมไทย
จากการต้งั ช่ือบอนสี
2.4 เพอื่ อนุรักษช์ ่ือบอนสีในประเทศไทยใหค้ งอยสู่ ืบต่อไป
3.ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ
3.1 ทาํ ใหท้ ราบและเขา้ ใจวฒั นธรรมที่ปรากฏในการต้งั ชื่อบอนสี
3.2 ทาํ ใหท้ ราบถึงความเป็นมาของการต้งั ช่ือบอนสี
3.3 ทาํ ใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อผสู้ นใจวฒั นธรรมไทยที่ปรากฏในชื่อบอนสี
3.4 การศึกษาในคร้ังน้ีเป็นแนวทางในการอนุรักษภ์ าษาไทยและวฒั นธรรมไทย ซ่ึงสะทอ้ น
ออกมาจากการต้งั ชื่อบอนสี
3.5 ทาํ ใหไ้ ดเ้ รียนรู้การทาํ งานร่วมกนั กบั สมาชิกผจู้ ดั ทาํ รู้จกั การแบ่งงาน แบ่งปันขอ้ มูล
และฝึ กการคิดวิเคราะห์ร่วมกนั
4.ขอบเขตของการศึกษา
4.1 ขอบเขตด้านข้อมูล
4.1.1 ศึกษาชื่อบอนสีจากเอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง 3 เรื่อง ไดแ้ ก่
4.1.1.1 หนงั สือเรื่อง บอนสี ของ อรวรรณ วิชยั ลกั ษณ์
4..1.1.2 หนงั สือเรื่อง บอนสี : ราชินีไมใ้ บ ของ อุไร จิรมงคลการ
4.1.1.3 หนงั สือเรื่อง บอนสี : ฉบบั สมาคมบอนสีแห่งประเทศไทย ของ ประมวล โกมารทตั
4.1.2 ชื่อบอนสีที่ผูว้ ิจยั ใชใ้ นการศึกษาเป็นบอนสีท่ีมีปลูกในประเทศไทยมี จาํ นวนท้งั หมด 92
รายช่ือ สามารถจาํ เเนกประเภทบอนเป็น 4 ประเภท ไดเ้ เก่
4.1.2.1 บอนสีประเภทใบไทย จาํ นวน 22 รายชื่อ ไดเ้ เก่
เกล็ดเเก้ว โกเมน ขุนช้าง จอมสุรางค์ เจ้าเชียงของ ต้อยตีวิด เทพนารี นางเเก้วกิริยา
นางละเวง นางวนั ทอง ป้อมพระจันทร์ พระนางจามเทวี พระยาฟ้าลั่น พระยาเศวต พระศรีมโหสถ
เพชรน้าํ หน่ึง มนตรา เเม่พมิ พข์ องชาติ เเม่ศรีเรือน ราตรีประดบั ดาว เสน่หา เหลืองบุศราคมั
4.1.2.2 บอนสีประเภทใบยาว จาํ นวน 50 รายช่ือ ไดเ้ เก่
กินรี ขนั ธ์เขื่อนเพชร ขนุ สรร คมศร โคบุตร จงรัก จูกดั เหลียง จนั ทโครพ จะเดด็ เจา้ ฟ้ากุง้
ฉัตรมงคล ตะเภาทอง ตะเภาเเก้ว ท้าวรําไพ นายจันหนวดเข้ียว นายดอกรัก นางวิมาลา นายโชติ
นางเล่ือมลายวรรณ นางฮูหยนิ ปิ่ นรัตน์ พรพระร่วง พรหมเทพ พนั เรือง พญาพนั วงั เพชรราหู มณฑาทอง
มหาชนก มหาราชินี ราชวลั ลภ วเิ ศษไชยชาญ มหาเทพ มทั รี มหาฤกษ์ มหาโลหะ มา้ เฉียว เรือวาสุกรี ศรรัก
เศรษฐีพิจิตร สาครบุรี สุครีพครองเมือง เเสงเพชร หนุมานพลบั พลา อปั สรสวรรค์ อาจารยฮ์ กหลง องคุลีมาน
อินทรรังสรรค์ อ่ทู ่อง อมุ้ บุญ
4.1.2.3 บอนสีประเภทใบกลม จาํ นวน 8 รายชื่อ ไดเ้ เก่
4
จังหวดั กําเเพงเพชร จังหวดั ธนบุรี จังหวดั พระนคร จังหวดั ลพบุรี นครเขื่อนขันธ์
ป่ ูเจา้ สมิงพราย หม่ืนเเผว้ หม่ืนหาญ
4.1.2.4 บอนสีประเภทใบกาบ จาํ นวน 12 รายชื่อ ไดเ้ เก่
คเณศวร ครุฑ จนั ทรเกษม เถรขวาด ทา้ วบาดาล เทพนรสิงห์ เทพสุริยะ บางบาล บางปะอิน
บางรัก องั ศุมาลิน ยทุ ธนาวี
4.2 ขอบเขตด้านเนื้อหา
4.2.1 สาขามนุษยศาสตร์
4.2.1.1 ค่านิยม
4.2.1.2 ความเช่ือ
4.2.1.3 ศาสนา
4.2.1.4 ประวตั ิศาสตร์
4.2.1.5 การปกครอง
4.2.1.6 กฎหมาย
4.2.2 สาขาศิลปะ
4.2.2.1 ภาษา
4.2.2.2 ดนตรี
4.2.2.3 วรรณคดี
4.2.2.4 สถาปัตยกรรม
4.2.3 สาขาการช่างฝีมือ
4.2.3.1 การเจียระไน
4.2.4 สาขาคหกรรมศาสตร์
4.2.4.1 การแตง่ กาย
4.2.5 สาขากีฬาและนนั ทนาการ
4.2.5.1 การยงิ ธนู
5
บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้อง
1. สาขามนุษยศาสตร์
สาขามนุษยศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกบั มนุษย์ มุ่งทาํ ความเขา้ ใจ ความรู้สึกนึกคิด
ความรู้สึกทางอารมณ์ จินตนาการ ความหมาย คุณคา่ คุณธรรม และจริยธรรม ท่ีมนุษยใ์ นฐานะปัจเจกบุคคล
ไดแ้ สดงออกผา่ นท่าทาง การกระทาํ คาํ พดู งานเขียนหรือผา่ นผลงานสร้างสรรคใ์ นรูปแบบต่าง ๆ โดยสาขา
มนุษยศาสตร์จะประกอบไปดว้ ย ขนบธรรมเนียม ประเพณี คุณธรรม ศีลธรรม ค่านิยม ศาสนา ปรัชญา
ประวตั ิศาสตร์ โบราณคดี มารยาทในสงั คม การปกครอง กฎหมาย เป็นตน้ (Pattani Humanities, 2556) ซ่ึง
สาขามนุษยศาสตร์ สามารถจาํ แนกประเภทยอ่ ยได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1.1 ค่านิยม
คา่ นิยมของบคุ คลหรือสงั คมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลและเป็นสิ่งที่บุคคลใชย้ ดึ ถือเป็นแนว
ปฏิบตั ิในการดาํ เนินชีวิต เป็นส่ิงที่บุคคลไดพ้ จิ ารณา เลือก สรรมาแลว้ อยา่ งรอบคอบวา่ เป็นสิ่งมีคุณค่าเป็นท่ี
ยอมรับของบุคคลและสงั คม มีส่วนใน การสร้างความคิด ความเช่ือและเป็นหลกั การพ้นื ฐานในการเลือและ
ตดั สินใจ ซ่ึงไดม้ ีผู้ เช่ียวชาญสรุปไวด้ งั น้ี
ปรีชา วิหคโต (2534 : 411) กลา่ ววา่ คา่ นิยมหมายถึง ส่ิงที่บุคคลไดเ้ ลือกอยา่ ง เสรีจากทางเลือก
หลายทางเลือก ท้งั ไดพ้ จิ ารณาไตร่ตรองแลว้ ถึงผลกรรมของทางเลือกแต่ละ ทาง จนเกิดความชอบและมี
ความยนิ ดีกบั ทางเลือกที่เลือกแลว้ พร้อมท้งั เตม็ ใจจะเปิ ดเผยทาง เลือกของตนใหค้ นอ่ืนทราบ จากน้นั จึงทาํ
บางส่ิงบางอยา่ งกบั ทางเลือกท่ีเลือกแลว้ แลว้ ทาํ ซ้าํ แลว้ ซ้าํ อีก จนกลายเป็นแบบแผนในการดาํ เนินชีวติ
1.1.1 ทศั นคติของคนจีนที่มีต่อเพศหญิง
คนจีนโบราณใหค้ วามสาํ คญั กบั จิตใจอนั บริสุทธ์ิของผหู้ ญิง ท่วงท่าสง่างาม ปัจจุบนั ผชู้ ายจีนให้ ความสาํ คญั
กบั ความสามารถของผหู้ ญิง พวกเขามองวา่ ผหู้ ญิงที่มีความสามารถน้นั สวยและมีเสน่ห์ ผหู้ ญิงที่สวยและมี
ความสามารถ มีความกลา้ หาญ เดด็ เดี่ยว ผหู้ ญิงที่มีความสามารถและฉลาดหลกั แหลม ผหู้ ญิงท่ีมีจิตใจ
บริ สุทธ์ ิ
1.2 ความเช่ือ
ทศั นีย์ ทานตวณิช (2523: 4) กล่าววา่ ความเชื่อ คือการยอมรับนบั ถือวา่ เป็นความจริง หรือ มีอยจู่ ริง
การยอมรับหรือการยดึ มน่ั น้ีอาจมีหลกั ฐานเพียงพอท่ีจะพสิ ูจนไ์ ด้ หรืออาจไม่มีหลกั ฐานท่ี จะพิสูจนส์ ิ่งน้นั
ใหเ้ ห็นจริงได้
ชลอ บุญช่วย (2530: 17) กลา่ ววา่ ความเชื่อหมายถึงการยอมรับท่ีแสดงถึงความจงรักภกั ดี ความ
ศรัทธา และการยอมรับในอาํ นาจเร้นลบั อื่น ๆ
ธวชั ปุณโณทก (2530: 350) ใหค้ วามหมายไวว้ า่ ความเช่ือ คือ การยอมรับอนั เกิดอยใู่ น จิตสาํ นึก
ของมนุษย์ ต่อพลงั อาํ นาจเหนือธรรมชาติท่ีเป็นผลดีหรือผลร้ายต่อมนุษย์ แมว้ า่ พลงั อาํ นาจ เหนือธรรมชาติ
เหล่าน้ีไม่สามารถพิสูจน์ไดว้ า่ เป็นความจริง แต่มนุษยใ์ นสงั คมหน่ึงยอมรับ และใหค้ วามเคารพยาํ เกรง
6
1.2.1วนั ฉตั รมงคล
ความเป็ นมาของพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
การจดั พระราชพิธีบรมราชาภิเษกน้นั มีหลกั ฐานปรากฏในหลกั ศิลาจารึก วดั ศรีชุมของพญาลิไท วา่
เริ่มตน้ มาต้งั แต่คร้ังพ่อขนุ ผาเมืองไดอ้ ภิเษกพอ่ ขนุ บางกลางหาว หรือพอ่ ขนุ บางกลางท่าว ใหเ้ ป็นผปู้ กครอง
เมืองสุโขทยั จากน้ันในสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ไดท้ รง
ฟ้ื นฟูพระราชพิธีบรมราชาภิเษกให้ถูกตอ้ งสมบูรณ์ โดยพระมหากษตั ริยท์ ี่ยงั มิไดท้ รงประกอบพระราชพิธี
บรมราชาภิเษก จะไม่ใชค้ าํ วา่ “พระบาท” นาํ หนา้ “สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ” และคาํ สง่ั ของพระองคก์ ไ็ ม่เรียกวา่
“พระบรมราชโองการ” และอีกประการหน่ึงคือ จะยงั ไม่มีการใช้ นพปฎลเศวตฉตั ร หรือฉตั ร 9 ช้นั
ความเป็นมาของพระราชพธิ ีฉตั รมงคล
ก่อนหนา้ รัชสมยั ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระราชพิธีฉตั รมงคลถือเป็ นพิธีของ
เจา้ พนกั งานในพระราชฐาน ท่ีมีหนา้ ท่ีรักษาเครื่องราชูปโภคและพระทวารประตูวงั ไดจ้ ดั การสมโภชสงั เวย
เครื่องราชูปโภคที่ตนรักษาทุกปี ในเดือนหก และเป็ นงานส่วนตวั ไม่ถือเป็ นงานหลวงจนกระทง่ั สมยั
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสด็จข้ึนครองราชย์ ไดท้ รงกระทาํ พิธีฉตั รมงคลข้ึนเป็นคร้ังแรก ใน
วนั บรมราชาภิเษก เม่ือวนั ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2393 โดยมีพระราชดาํ ริวา่ วนั บรมราชาภิเษกเป็นมหามงคล
สมยั ที่ควรแก่การเฉลิมฉลองในประเทศท่ีมีพระเจา้ แผน่ ดิน จึงถือใหว้ นั น้นั เป็นวนั นกั ขตั ฤกษม์ งคลกาล และ
ควรที่จะมีการสมโภชพระมหาเศวตฉตั รให้เป็นสวสั ดิมงคลแก่ราชสมบตั ิ แต่เนื่องจากเป็นธรรมเนียมใหม่
ยากต่อการเข้าใจ อีกท้ังเผอิญที่วนั บรมราชาภิเษกไปตรงกับวนั สมโภชเคร่ืองราชูปโภคที่มีแต่เดิม
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จึงทรงอธิบายวา่ วนั ฉตั รมงคลเป็นวนั สมโภชเคร่ืองราชูปโภค จึงไม่มี
ใครติดใจสงสัย ดงั น้นั จึงไดม้ ีพระราชดาํ ริจดั งานพระราชกศุ ลพระราชทานช่ือวา่ “ฉตั รมงคล” น้ีข้ึน โดยได้
มีการเฉลิมฉลองดว้ ยการนิมนตพ์ ระสงฆม์ าสวดเจริญพุทธมนต์ ในวนั ข้ึน 13 ค่าํ เดือน 6 รุ่งข้ึนมีการถวาย
ภตั ตาหารแด่พระสงฆท์ ่ีพระท่ีนงั่ ดุสิตมหาปราสาทและพระท่ีนงั่ ไพศาลทกั ษิณ ดว้ ยเหตุน้ีจึงถือวา่ การเฉลิม
ฉลองพระราชพธิ ีฉตั รมงคล เร่ิมมีในรัชกาลของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เป็นคร้ังแรก
ต่อมาในสมยั รัชกาลท่ี 5 วนั บรมราชาภิเษก ตรงกบั เดือน 12 จึงโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั งานฉตั รมงคลในเดือน 12
แต่ไม่ไดร้ ับการยนิ ยอม พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จึงทรงแกไ้ ขดว้ ยการออกพระราชบญั ญตั ิ
วา่ ดว้ ยตราจุลจอมเกลา้ สาํ หรับตระกูลข้ึน ใหม้ ีพระราชทานตราน้ีตรงกบั วนั คลา้ ยบรมราชาภิเษก ท่านผหู้ ลกั
ผูใ้ หญ่จึงยินยอมให้เลื่อนงานฉัตรมงคลมาตรงกบั วนั บรมราชาภิเษก แต่ยงั ให้รักษาประเพณีสมโภชเครื่อง
ราชูปโภคอยตู่ ามเดิม รูปแบบงานวนั ฉตั รมงคลจึงเป็นเช่นน้ีจนถึงปัจจุบนั (สืบคน้ เมื่อ 20 มีนาคม 2565 จาก
https://www.bru.ac.th/วนั ฉตั รมงคล-๔-พฤษภาคม/)
1.2.2 จารึกตาํ นานสงกรานตว์ ดั พระเชตุพนฯ : ตาํ นานสงกรานตข์ องไทยท่ีเก่าท่ีสุด
จารึกเร่ืองมหาสงกรานตท์ ่ีวดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลารามน้ี นบั เป็นตาํ นานสงกรานต์ ฉบบั ลาย
ลกั ษณ์ที่เก่าแก่ที่สุดท่ีมีการคน้ พบ ณ ปัจจุบนั น้ี จารึกดว้ ยตวั อกั ษรไทยสมยั รัตนโกสินทร์ แม้ มิไดร้ ะบุปี ท่ี
จารึก แต่สามารถกาํ หนดอายจุ ากประวตั ิการสร้างจารึกในรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั
7
(รัชกาลที่ 3) ซ่ึงปรากฏในจดหมายเหตุเร่ือง “การปฏิสงั ขรณ์วดั พระเชตุพน” โดย ถอดจากโคลงด้นั พระ
นิพนธใ์ นสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมสมเดจ็ พระปรมานุชิตชิโนรส
ตาํ นานสงกรานตใ์ นจารึกแผน่ ท่ีหก ที่วา่ ดว้ ยช่ือนางสงกรานตท์ ้งั เจด็ น้ีเองที่นาํ มาสู่การสร้างสรรค์
“ประกาศสงกรานตฉ์ บบั ราษฎร์” ข้ึนเพือ่ พยากรณ์ชะตาบา้ นเมืองประจาํ ศกั ราช โดยมี การกาํ หนดเคร่ืองทรง
เครื่องประดบั อาวธุ และสตั วพ์ าหนะ ซ่ึงเป็นสญั ลกั ษณ์แสดงคุณลกั ษณะ ประจาํ ตนของนางสงกรานต์ ซ่ึง
สมั พนั ธก์ บั คาํ พยากรณ์บา้ นเมือง คุณลกั ษณะของนางสงกรานตท์ ้งั เจด็ วนั น้ีไม่ปรากฏในจารึก ไมป่ รากฏวา่
เริ่มมีมาแต่สมยั ใด ท้งั น้ีใน “ประกาศสงกรานตฉ์ บบั หลวง” เป็น ธรรมเนียมมีมาแต่ตน้ กรุงรัตนโกสินทร์ ที่
ทางการคือราชสาํ นกั จะแจง้ แก่ราษฎร ปรากฏหลกั ฐานในคาํ พยากรณ์สงกรานตใ์ นรัชกาลท่ี 3 ประชุมพระ
บรมราชาธิบายรัชกาลที่ 4 และ ราชกิจจานุเบกษา รัชกาลท่ี 5 ซ่ึงพบวา่ มีการระบุเร่ืองราวของนางสงกรานต์
เร่ือยมาจนกระทงั่ ถึงรัชกาลที่ 4 มีการตดั ส่วนที่กล่าวถึงนางสงกรานตอ์ อกและไมม่ ีปรากฏอีก คงเหลือเพียง
การบอกวนั สาํ คญั ประจาํ ปี แจง้ วนั มงคล ฤกษง์ ามยามดี และการเคลื่อนยา้ ยราศีต่างๆ เมื่อตรวจสอบกบั ตาํ รา
พรหมชาติ ซ่ึงเป็นคมั ภีร์ พยากรณ์สาํ คญั ในหมู่ราชสาํ นกั และชาวบา้ นพบวา่ มีกล่าวถึงนางสงกรานตไ์ วอ้ ยา่ ง
ละเอียดเช่นกนั และสื่อนยั แห่งการทาํ นายไว้ จึงทาํ ใหส้ นั นิษฐานวา่ รายละเอียดของนางสงกรานตใ์ นแต่ละปี
เกิดจาก วิธีคิดของโหราจารย์ ท่ีพยายามผกู โยงนางสงกรานตก์ บั การทาํ นายดวงชะตาบา้ นเมืองเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั
ท้งั น้ีในแต่ละปี นางสงกรานตแ์ ต่ละนางจะทาํ หนา้ ที่ผลดั เปลี่ยนกนั ตามวนั มหาสงกรานต์ ดงั น้ี
1.นางสงกรานตท์ ุงษเทวี ทุงษเทวเี ป็นนางสงกรานตป์ ระจาํ วนั อาทิตย์ ทดั ดอกทบั ทิม มี ปัทมราค
(แกว้ ทบั ทิม) เป็นเครื่องประดบั ภกั ษาหาร คือ อทุ ุมพร (มะเด่ือ) อาวธุ คกู่ าย พระหตั ถข์ วา 45 จาก 195 ถือ
จกั ร พระหตั ถซ์ า้ ยถือสงั ข์ เสดจ็ ไสยาสน์เหนือครุฑ
2.นางสงกรานตโ์ คราคเทวี โคราคเทวีเป็นนางสงกรานตป์ ระจาํ วนั จนั ทร์ ทดั ดอกปี บ มี มุกดาหาร
(ไขม่ ุก) เป็นเครื่องประดบั ภกั ษาหาร คือ เดละ (น้าํ มนั ) อาวธุ คู่กายพระหตั ถข์ วาถือพระ ขรรค์ พระหตั ถซ์ า้ ย
ถือไมเ้ ทา้ เสดจ็ ประทบั เหนือพยคั ฆ์ (เสือ)
3.นางสงกรานตร์ ากษสเทวี รากสเทวเี ป็นนางสงกรานตป์ ระจาํ วนั องั คาร ทดั ดอกบวั หลวง มีโมรา
(หิน) เป็นเคร่ืองประดบั ภกั ษาหาร คือ โลหิต (เลือด) อาวธุ คูก่ ายพระหตั ถข์ วาถือตรีศูล พระหตั ถซ์ า้ ยถือธนู
เสดจ็ ประทบั เหนือวราหะ (หมู)
4.นางสงกรานตม์ ณฑาเทวี มณั ฑาเทวเี ป็นนางสงกรานตป์ ระจาํ วนั พธุ ทดั ดอกจาํ ปา มี ไพฑูรย์
(พลอยสีเหลืองแกมเขียว) เป็นเครื่องประดบั ภกั ษาหาร คอื นมและเนย อาวธุ คู่กายพระหตั ถ์ ขวาถือเหลก็
แหลม พระหตั ถซ์ า้ ยถือไมเ้ ทา้ เสดจ็ ไสยาสน์เหนือคสั พะ (ลา)
5.นางสงกรานตก์ ิริณีเทวี กรณีเทวเี ป็นนางสงกรานตป์ ระจาํ วนั พฤหสั บดี ทดั ดอกมณฑา (ยหี่ ุบ) มี
มรกตเป็นเครื่องประดบั ภกั ษาหาร คือ ถว่ั และงา อาวธุ คกู่ ายพระหตั ถข์ วาถือพระขรรค์ พระ หตั ถซ์ า้ ยถือปื น
เสดจ็ ไสยาสนเ์ หนือคชสาร (ชา้ ง)
8
6.นางสงกรานตก์ ิมิทาเทวี กิมิทาเทวเี ป็นนางสงกรานตป์ ระจาํ วนั ศุกร์ ทดั ดอกจงกลนี มี บุษราคมั
เป็นเครื่องประดบั ภกั ษาหาร คือ กลว้ ยและน้าํ อาวธุ คูก่ ายพระหตั ถข์ วาถือพระขรรค์ พระ หตั ถซ์ า้ ยถือพิณ
เสดจ็ ประทบั ยนื เหนือมหิงสา (ควาย)
7.นางสงกรานตม์ โหทรเทวี มโหทรเทวีเป็นนางสงกรานตป์ ระจาํ วนั เสาร์ ทดั ดอกสามหาว
(ผกั ตบชวา) มีนิลรัตนเ์ ป็นเครื่องประดบั ภกั ษาหาร คือ เน้ือทราย อาวธุ คู่กายพระหตั ถข์ วาถือจกั ร พระหตั ถ์
ซา้ ยถือตรีศูล เสดจ็ ประทบั เหนือมยรุ าปักษา (นกยงู )
1.2.3 ความเช่ือเร่ืองราหู
ในสงั คมไทยส่วนใหญ่รับรู้กนั วา่ “ราหู” หมายถึงยกั ษห์ รืออสูรที่มีกายเพยี ง คร่ึงท่อน มกั ปรากฏใน
ลกั ษณะท่ีกาํ ลงั กลืนกินพระอาทิตยห์ รือพระจนั ทร์ หรือทาํ ท่าทางที่คอยดกั จบั พระอาทิตยห์ รือพระจนั ทร์ซ่ึง
มาจากตาํ นานสุริยคราสและจนั ทคราส ความหมายในลกั ษณะดงั กล่าวน้ีสร้างมาจากคติความเช่ือเกี่ยวกบั
ตาํ นานพระราหู ท่ีวา่ ยกั ษช์ ่ือวา่ พระราหูผเู้ ป็นโอรสของนางสิงหิกาในขณะประกอบพิธีกรรมกวนน้าํ อมฤต
ของเทวดาและอสูร พระราหูไดข้ โมยดื่มน้าํ อมฤต พระอาทิตยก์ บั พระจนั ทร์ซ่ึง นง่ั อยดู่ ว้ ยกนั ไดฟ้ ้องแก่พระ
นารายณ์วา่ มีอสูรตนหน่ึงไดด้ ่ืมน้าํ อมฤตแลว้ พระนารายณ์ จึงตดั เศียรอสูรคือพระราหูเพื่อลงอาญา แต่เพราะ
พระราหูไดด้ ื่มน้าํ อมฤตไปแลว้ ดงั น้นั จึงไม่ตายแตก่ ายขาดเหลือเพยี งคร่ึงท่อน ดว้ ยความแคน้ พระราหูจึง
คอย พยายามกลืนกินพระอาทิตยแ์ ละพระจนั ทร์ สาํ หรับมิติทางวฒั นธรรมไทย ความเช่ือเกี่ยวกบั พระราหู
เป็นความเช่ือที่ สืบมาจากท้งั พราหมณ์และพทุ ธ พร้อมท้งั ผสมกบั วฒั นธรรมความเชื่อด้งั เดิม กลา่ วคือความ
เชื่อที่สืบเนื่องมาจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ที่ไดร้ ับการอา้ งถึงบ่อย ไดแ้ ก่ ประเดน็ ท่ีกล่าวถึงการท่ีพระราหู
ขโมยน้าํ อมฤตในพิธีกวนเกษียรสมุทร สาํ หรับอิทธิพลความเชื่อในพทุ ธศาสนา ไดแ้ ก่ เรื่องเลา่ ในพระสูตรที่
กล่าวถึงพระราหู ไลจ่ บั พระอาทิตยแ์ ละพระจนั ทร์แต่ตอ้ งยอมแพต้ ่ออานุภาพของพระพทุ ธเจา้ รวมไปถึง
เรื่องเล่าพระราหูท่ีปรากฏในคมั ภีร์ไตรภูมิซ่ึงเป็นคมั ภีร์ท่ีมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตคนไทย สาํ หรับกลุม่ คนตระกลู
ไทเองกม็ ีความเชื่อเก่ียวกบั พระราหูวา่ เหตุการณ์สุริยคราสและ จนั ทคราสเกิดจากกบกินเดือนกินตะวนั
อยา่ งไรกต็ ามชุดความเชื่อท้งั พราหมณ์ พทุ ธ และทอ้ งถ่ินเหลา่ น้นั นาํ ไปสู่การเช่ือมโยงความเช่ือชุดเดียวกนั
วา่ ช่วงเวลาอุปคราส ดงั กลา่ วเป็นลางร้ายซ่ึงมีสาเหตุมาจากอิทธิพลของพระราหู ดงั น้นั ในช่วงเวลาคราส จึง
มีพิธีหรือวิธีการขบั ไลพ่ ระราหูต่างๆ เช่น การจุดประทดั ยงิ ปื น หรือตีเกราะเคาะ ไม้ เพ่อื เป็นการขบั ไล่ความ
ชว่ั ร้ายและอปั มงคลใหอ้ อกไป (ปฐม หงษส์ ุวรรณ, 2542)
1.2.4 พญานาค
ความเช่ือว่าพญานาคมีจริงในทศั นะของคนไทยทวั่ ไป คติความเช่ือของชาวพุทธ มีความเชื่อว่า
พญานาคมีจริง เป็ นพวกกายทิพยก์ ่ึงเทพ และ สัตวเ์ ดรัจฉาน มีอิทธิฤทธ์ิศกั ดานุภาพยิ่งนกั สามารถเนรมิต
ร่างกายเป็นมนุษยช์ าย หญิงและสตั ว์ อ่ืนตามสภาวะเหตุการณ์น้นั ๆ ได้
ความเชื่อวา่ พญาคมีจริง จากการไดฟ้ ังเรื่องพญานาคจากผมู้ ีประสบการณ์ที่ท่านรู้ และไดส้ มั ผสั ดว้ ย
ตนเองวา่ พญานาคมีจริง คือ ไดป้ รากฏมีพญานาคเงินและสมบตั ิมามอบใหเ้ ป็นทุนสร้างโบสถ์ วิหาร หลาย
คร้ัง ซ่ึงลกั ษณะการมาปรากฏตวั น้นั จะแปลงกายเป็นมานพหนุ่ม พร้อมบอกความประสงค์ แลว้ กล็ ากลบั ไป
9
พญานาคจะไม่ค่อยพูดมากสําเร็จวตั ถุประสงค์แลว้ ก็จะลากลบั ทนั ที การสังเกต ว่าใครเป็ นมนุษยห์ รือ
พญานาคแปลงกายมาจะมีขอ้ สังเกต คือ พญานาคแมจ้ ะแปลงกายเป็ น มนุษยม์ าแต่ท่ีไม่เปลี่ยนแปลง คือ
ดวงตาสีแดง ท่ีต่างจากมนุษย์ และมีความสงบเสง่ียม นอบนอ้ ม ต่อพระสงฆห์ รือผทู้ รงศีล คร้ังท่ีลากลบั ไปก็
จะถอยหลงั ไปเรื่อย ๆ จนกระทงั่ หายลบั ไปในท่ีสุด ที่ บริเวณแก่งอาฮงหรือท่ีเรียกวา่ สะดือแม่น้าํ โขง มีผพู้ บ
เห็นส่ิงประหลาดมองห่างจากเรือประมาณ 1 กิโลเมตร จะมีสิ่งหน่ึงคลา้ ยตน้ ตาลขนาดใหญ่ ไม่มีใบโผล่
ข้ึนมาจากน้าํ ประมาณ 5 เมตร มีละออง น้าํ เป็นฝอยโดยรอบ ตน้ ตาลน้นั สีดาํ มนั แต่เม่ือเดินเรือเขา้ ไปใกล้ ๆ
จะไม่มีอะไร ทาํ ให้ผูค้ นท่ี เดินทางตามลาํ น้าํ เกิดความเชื่อส่ิงที่โผล่ข้ึนมาเหนือน้าํ น้นั คือพญานาคเม่ือใคร
ผา่ นบริเวณน้ี ก็จะ นาํ หมากพลู เหลา้ ขาว โยนลงไปในน้าํ เพ่ือเป็นการเซ่นไหวเ้ จา้ แห่งน้าํ บางวนั ที่แก่งอาฮง
มีผูเ้ ห็น บางอย่างลกั ษณะเหมือนงูขนาดใหญ่ว่ายน้าํ ขา้ มจากฝ่ังไทยไปยงั ฝ่ังลาว ในลกั ษณะตรงน้าํ ผุดข้ึน
เป็ นฟองเคลื่อนไปเลื่อย ๆ จนถึงฝ่ังลาว บางคร้ังท่ีบริเวณริมฝ่ังโขงจะเห็นรอยการคืบคลานคลา้ ยการเล้ือย
ของงูขนาดใหญ่ ซ่ึงคนส่วนใหญ่เชื่อวา่ เป็นรอยพญานาคไปสกั การะพระพทุ ธรูปปาง ไสยาสนอ์ งคห์ น่ึงท่ีริม
แม่น้าํ โขง ในวนั ข้ึน 15 ค่าํ จะไดย้ ินเสียงไม่ใช่เสียงมนุษยม์ าชุมนุมกนั คลา้ ย ทาํ พิธีกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง
ไดย้ ินแต่เสียงไม่มีตวั ตน การเคลื่อนท่ีของฟองใตน้ ้าํ รอยประหลาด ที่เกิดข้ึนตามริมฝั่งโขง รอยประหลาด
บนหนา้ รถของชาวบา้ นที่จอดหนา้ วดั ไทย อาํ เภอโพนพิสัย จงั หวดั หนองคาย รอยเหมือนสัตวเ์ ล้ือยคลาน
เป็นรอยขนาดใหญ่ข้ึนทว่ั หลงั คารถ และบางรอย เกิดข้ึนตามริมฝ่ังแม่น้าํ โขง” อีกเหตุการณ์หน่ึงท่ีมีผพู้ บเห็น
คือ ภาพของสิ่งมีชีวิตลกั ษณะลาํ ตวั ยาว ๆ ที่คาดว่ามีหลายตวั เล่นน้าํ อยกู่ ลางลาํ น้าํ โขงใกล้ ๆ กบั พระธาตุ
กลางน้าํ (พระธาตุกลางน้าํ จะมองเห็นองค์พระธาตุเฉพาะฤดูแลง้ ) ซ่ึงเหตุการณ์ มีผูใ้ ห้ความสนใจเป็ น
จาํ นวนมาก และเช่ือกนั วา่ เป็นเหตุการณ์ท่ีพญานาคข้ึนมานมสั การพระธาตุกลางน้าํ ความเช่ือของชาวลาํ น้าํ
โขงว่าใน แม่น้าํ โขงมีเทพอาศยั อยู่ และบ่อยคร้ังที่ชาวลุ่มน้าํ โขงตอ้ งเสียชีวิตลงในระหว่างการเดินทางน้าํ
และเชื่อวา่ เขากระทาํ ผดิ ต่อเทพแห่งสายน้าํ หรือเจา้ แม่สองนาง คือ 1 คู่ตามริมฝั่งแม่น้าํ โขงจึง ไดม้ ีการสร้าง
หอเจา้ แม่สองนางเอาไว้ เพอ่ื เซ่นไหวเ้ จา้ แม่ก่อน ที่หว้ ยน้าํ เป มีผเู้ ห็นสตั วช์ นิดหน่ึงมี ลกั ษณะคลา้ ยงูกาํ ลงั วา่ ย
น้าํ ลกั ษณะมีหงอนที่ส่วนหัว และดวงตาสีแดงมีขนาดเท่าไข่ไก่ น้นั มี ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางประมาณ 20
เซนติเมตร วา่ ยน้าํ เล่นมว้ นตวั เป็นวงกลมบา้ ง เหยียดตวั ยาว เป็นเส้นตรงบา้ ง ประมาณ 10 นาที ก็จมหายลง
ไปในน้าํ ทุกอย่างก็สงบลงสู่สภาวะปกติ ซ่ึงทาํ ให้ผู้ พบเห็นเชื่อว่าเป็ นพญานาค และไดม้ ีการขอขมาดว้ ย
เครื่องเซ่นไหวท้ ี่บริเวณน้ีส่งผลทาํ ใหค้ นใน ชุมชนหมู่บา้ นน้าํ เปเกิดความสงบสุข มีอาหารอุดมสมบูรณ์ และ
ไม่เคยไดร้ ับอนั ตรายทางน้าํ น้ีเลย ที่หมู่บา้ นปลาปาก ดงนาํ เกิดรอยแยกตวั ของผิวถนนข้ึน เมื่อ 20 มีนาคม
2554 ไดม้ ีผถู้ ่ายภาพรอยถนนแยกไว้ เม่ือนาํ มาเปิ ดดูพบภาพประหลาด คลา้ ยเกล็ดหลงั ของพญานาคปรากฏ
อยู่ จึงไดน้ ่าภาพแจกจ่ายใหค้ นดู ทุกคนต่างยนื ยนั วา่ เป็นภาพพญานาคทีกาํ ลงั โผล่ตวั ส่วนหลงั ข้ึนมาใหเ้ ห็น
เป็นเหตุใหเ้ กิดการแยกตวั ของถนนภายหลงั คนในชุมชนหมู่บา้ นปลาปากดงอื่นได้ ทาํ พิธีเชิญสิ่งที่เชื่อวา่ เป็น
พญานาคน้ีไปสถิตยท์ ี่ศาลเจา้ ประจาํ หมู่บา้ น เมื่อ 19 สิงหาคม 2554 ท่ีบึงโขงหลง ไดม้ ีประชาชนท่ีรู้ข่าวนบั
พนั คนไดม้ ารอชมการปรากฏตวั ของพญานาคชื่อวา่ ป่ ูอือลือ
1.2.5 ครุฑ
10
ครุฑ จะเป็นหน่ึงในสตั วห์ ิมพานต์ สตั วใ์ นจินตนาการของอินเดียโบราณ แต่ในขณะเดียวกนั ครุฑ ก็
ถูกนาํ มาใช้เป็ นตราแผ่นดินไทยมาช้านาน ส่วนในแวดวงศิลปะไทย ครุฑ เป็ นท่ีนิยมของบรรดาศิลปิ น
หลากหลายแขนงท้งั งานประติมากรรม จิตรกรรม ท่ีศิลปิ นแต่ละคนต่างก็ถ่ายทอดรูปร่าง ท่าทาง และ
จินตนาการเก่ียวกบั ครุฑไวแ้ ตกต่างกนั มากมาย แมแ้ ต่ในวรรณกรรมคลาสสิก กากี ก็มีเร่ืองครุฑลงไป
ผสมผสานเร่ืองราวของครุฑมีเลา่ ขานอยหู่ ลายตาํ นานและพบเจอในหลายประเทศ เช่น อินเดีย ไทย ชวา และ
กมั พชู า ส่งผา่ นอิทธิพลของศาสนา โดยในศาสนาพรหมณ์ฮินดูเช่ือวา่ ครุฑคือพาหนะของพระนารายณ์ ดา้ น
พุทธศาสนาเช่ือว่าครุฑ คือ คร่ึงนกคร่ึงคน มีถ่ินท่ีอยูอ่ าศยั ในป่ าหิมพานต์ บริเวณวิมานฉิมพลี เชิงเขาพระ
สุเมรุ คอยจบั นาคกินเป็นอาหาร ถา้ สังเกตใหด้ ีในภาพจิตรกรรมป่ าหิมพานตส์ ่วนใหญ่ จะพบวา่ พญานาคมกั
ถูกวาดอยชู่ ายขอบล่างของป่ าหิมพานตเ์ พื่อหลบล้ีจากพญาครุฑอยเู่ สมอตามคติไทยโบราณ ครุฑ เป็ นสัตว์
วิเศษมีหวั ปี ก เลบ็ และปากงุม้ เป็นขอเหมือนนกอินทรี ส่วนตวั และแขนเป็นคนมีสีทอง ใบหนา้ ขาว ปี กแดง
หางแผท่ างกน้ เหมือนนก เครื่องประดบั ประจาํ ตวั มีทองกรสวมแขน กาํ ไลขอ้ มือ กาํ ไลขอ้ เทา้ สวมชฎาทรง
มงกุฎน้าํ เตา้ สวมสายสร้อย นุ่งผา้ ชายเฟื อยมีห้อยหนา้ สําหรับตราประจาํ แผ่นดินรูปครุฑน้นั มีใชม้ าต้งั แต่
สมยั กรุงศรีอยุธยา ตามจดหมายเหตุของลาลูแบร์ อคั รราชทูตฝรั่งเศสที่เขา้ มากรุงศรีอยุธยาในสมยั พระ
นารายณ์มหาราช ไดบ้ นั ทึกไวว้ า่ แมส้ มยั น้นั ไม่มีตาํ แหน่งเจา้ กรมราชลญั จกร แต่พระมหากษตั ริยก์ ท็ รงมีตรา
ประจาํ พระองค์แล้ว สันนิษฐานว่าน่าจะใช้ตรา ครุฑพ่าห์ ตามคติสมมุติเทพในยุคน้ันท่ีถือว่ากษตั ริย์
เทียบเท่าพระนารายณ์ลงมาปกครองบา้ นเมือง โดยมีครุฑเป็ นพาหนะ ซ่ึงครุฑพ่าห์น้ีก็มีการใช้มาจนถึง
แผน่ ดินกรุงธนบุรีตน้ รัตนโกสินทร์กย็ งั มีการใชค้ รุฑเป็นตราพระราชลญั กรอยา่ งต่อเน่ือง มีหลกั ฐานชดั เจน
ว่ารัชกาลท่ี 2 ก็ทรงใชต้ ราครุฑเพราะพระนามเดิมว่า “ฉิม” มาจาก “ฉิมพลี” แปลว่า ตน้ งิ้ว ท่ีต้งั ของวิมาน
ครุฑ หรือก็คือ “วิมานฉิมพลี” ส่วนสมยั รัชกาลท่ี 5 โปรดเกลา้ ฯ ให้เจา้ ฟ้ากรมพระยานริศรานุวตั ติวงศท์ รง
เขียนครุฑถวายใหม่ โดยตดั นาคออกไปเพราะทาํ ใหค้ รุฑดูตะกละตะกลามเตม็ ที ไปไหนกต็ อ้ งหิ้วอาหารไป
ดว้ ย ส่วนมือท่ีกางกเ็ ปล่ียนมาเป็นรําตามครุฑเขมร เปล่ียนลายกนกเป็นเปลวไฟ เพราะกนกเป็นพืชไม่เหมาะ
กบั สัตวท์ ่ีมีอิทธิฤทธ์ิเดินอากาศ ถดั มาในสมยั รัชกาลท่ี 6 ทรงใชค้ รุฑแบบเดิมแลว้ เพ่ิมพระปรมาภิไธยตาม
ขอบพระราชลญั จกรและเป็นแบบอยา่ งมาจนถึงปัจจุบนั
(สืบคน้ เม่ือ 20 มีนาคม 2565 จาก https://www.sarakadeelite.com/arts_and_culture/thai-garuda-culture/)
1.3 ศาสนา
ศาสนาในภาษาไทยโดยทวั่ ไปแปลวา่ คาํ สัง่ สอน การสัง่ สอน การอบรม ซ่ึงไดม้ ีผใู้ ห้ ความหมายไว้
มากมายดงั น้ีคือ ลทั ธิความเช่ือถือของมนุษยอ์ นั มีหลกั คือแสดงกาํ เนิดและความสิ้นสุด ของโลก เป็นตน้ อนั
เป็ นไปในฝ่ ายปรมตั ถ์ ประการหน่ึง แสดงหลกั ธรรมเก่ียวกบั บุญบาปอนั เป็ นไป ในฝ่ ายศีลธรรมประการ
หน่ึง พร้อมท้งั ลทั ธิพิธีกระทาํ ตามความเห็นหรือตามคาํ สง่ั สอนในความเชื่อ น้นั ๆ (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2525
: 758) และพจนานุกรมนักเรียน ไดใ้ ห้ความหมายว่า คาํ สั่งสอน ลทั ธิความเชื่อของมนุษย์ และลทั ธพิธีที่
11
กระทาํ ตามความเห็นหรือตามคาํ ส่ังสอนในความเช่ือถือน้นั ๆ (พจนานุกรมนกั เรียน ฉบบั ปรับปรุง 2539 :
481)
นอกจากน้ี สุจิตรา รณร่ืนไดใ้ หค้ วามหมายของศาสนาไวว้ ่า เป็นคาํ สอนที่ศาสดานาํ มา เผยแพร่ สั่ง
สอน แจกแจง แสดง ใหม้ นุษยล์ ะเวน้ จากความชว่ั กระทาํ แต่ความดี เพ่ือประสบสนั ติสุข ในชีวติ ท้งั ในระดบั
ธรรมดาสามญั และความสุขสงบนิรันดร ซ่ึงมนุษยย์ ึดถือปฏิบตั ิตามคาํ สอน ดว้ ยความเคารพเลื่อมใส และ
ศรัทธา ค่าสอนดงั กล่าวน้ีมีลกั ษณะเป็ นสัจธรรมที่มีอยู่ในธรรมชาติแลว้ ศาสดาเป็ นผูค้ น้ พบหรือจะเป็ น
องคก์ ารท่ีศาสดา บมาจากพระเจา้ กไ็ ด้ (สุจิตรา รณร่ืน, 2524 - 2 - 3)
วิชยั สุธีรชานนท์ ไดใ้ ห้ความหมายของศาสนาว่า ศาสนาและลทั ธิจะตอ้ งเป็นจุดเร่ิมตน้ ของ ความ
เช่ือถือ เม่ือมีผเู้ ชื่อถือคาํ สงั่ สอนของศาสดาองคใ์ ดองคห์ น่ึงเป็นจาํ นวนมากและมีผนู้ าํ การเผยแพร่ คาํ สอนน้นั
อย่างเป็ นระบบลทั ธิน้นั จึงเป็ นที่ยอมรับนับถือของชนกลุ่มใหญ่จึงเรียกว่าเป็ นศาสนา (วิชยั สุธรชานนท,์
2525 : 2)
1.3.1 ศาสนาพทุ ธ
สังคมไทยไดร้ ับนบั ถือพระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจาํ ชาติต้งั แต่สมยั สุโขทยั เป็ นราช ธานีเป็ น
ตน้ มาจนถึงปัจจุบนั น้ี ซ่ึงแต่ก่อนน้นั คนไทยนบั ถือภูตผี วิญญาณ เช่นเดียวกบั ชนชาติอ่ืนๆ ในยคุ โบราณ นกั
ประวตั ิทางพระพทุ ธศาสนาไดแ้ สดงหลกั ฐานการเขา้ มาเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา ในดินแดนสุวรรณภูมิ ท้งั ใน
แง่ประวตั ิศาสตร์และโบราณคดีไวโ้ ดยนัยท่ีแตกต่างกัน โดยส่วนมาก จะมีความเห็นสอดคลอ้ งกันว่า
พระพุทธศาสนาเขา้ สู่สุวรรณภูมิแห่งน้ี ต้งั แต่สมยั พระเจา้ อโศก มหาราช กษตั ริยร์ าชวงศโ์ มริยะของอินเดีย
ซ่ึงไดถ้ วายอุปถมั ภส์ งั คายนาคร้ังท่ี 3 ในราว พ.ศ. 248 ซ่ึงมีพระโมคคลั ลบุตรติสสเถระเป็นประธานสงฆใ์ น
การทาํ สังคายนา หลงั จากการทาํ สังคายนาแลว้ จึงไดส้ ่งพระสงฆ์เป็ นสมณะทูตจาํ นวนหน่ึงเป็ นไปเผยแผ่
พระพุทธศาสนา จาํ นวน 9 สาย ท้งั ใน ชมพูทวีปและประเทศใกลเ้ คียง โดยคณะสงฆจ์ าํ นวนหน่ึงมีพระโสณ
เถระและพระอุตรเถระเป็ น หัวหนา้ คณะไดเ้ ดินทางมาสู่สุวรรณภูมิ ในยุคน้นั สันนิษฐานว่า คนไทยยงั คง
อาศยั อยใู่ นบริเวณ ประเทศจีน ซ่ึงดินแดนสุวรรณภูมิแห่งน้ีมีชนเผา่ ต่างๆ เช่น มอญ ละวา้ หรือขอมโบราณ
อาศยั อยู่มาก่อน พระพุทธศาสนาไดถ้ ูกนาํ มาเผยแผ่สู่สังคมไทย ต้งั แต่สมยั โบราณต้งั แต่สมยั ขุนหลวงเมา้
ราว พ.ศ. 620 โดยผา่ นจีนเขา้ มาสมยั พระเจา้ ม่ิง โดยเป็นพระพทุ ธศาสนาแบบมหายาน เมื่อ อาณาจกั รพกุ ามมี
อาํ นาจเหนือสุวรรณภูมิ ทาํ ให้คนไทยนบั ถือพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบพุกาม เมื่ออาณาจกั รศรีวิชยั เรือง
อาํ นาจทางภาคใต้ ทาํ ใหค้ นไทยภาคใตน้ บั ถือพระพุทธศาสนาแบบ มหายาน จนกระทงั่ ราว พ.ศ. 1820 สมยั
สุโขทัยเป็ นราชธานี พ่อขุนรามคาํ แหงมหาราช ได้นํา พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์จาก
นครศรีธรรมราชมาเผยแผ่ ทาํ ให้คนไทยนับถือ พระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและเป็ นศาสนาประจาํ ชาติ
ต้งั แต่น้นั มา
1.3.2 ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
การเขา้ มาของศาสนาพราหมณ์ดูจากสภาพทางภูมิศาสตร์ การเดินทางของชาวอินเดียมาสู่ประเทศ
ไทยในรูปของการคา้ ขายโดยการเดินทางทะเลดว้ ยเรืออินเดียใตเ้ ป็นพ้ืนท่ีท่ีติดทะเลมากท่ีสุด พิธีกรรมของ
12
พราหมณ์ประเพณีวฒั นธรรมเป็นแบบอินเดียใต้ มีหลกั ฐานของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูท่ีเก่าท่ีสุดในดินแดน
ท่ีเป็น ประเทศไทยในปัจจุบนั และเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ คือ เทวรูปพระวาสุเทพ พบท่ีอาํ เภอไชยา จงั หวดั
สุราษฎร์ ธานี กาํ หนดอายุเวลาประมาณคร่ึงหลงั ของพุทธศตวรรษท่ี 9 น้ัน แสดงให้เห็นว่า มีการนับถือ
ศาสนาพราหมณ์ นิกายภาควตั ท่ีเนน้ การถวายภกั ดีแก่พระวาสุเทพ รูปศิวลึงค์ พบที่อาํ เภอท่าชนะ จงั หวดั สุ
ราษฎร์ธานีและจารึก หุบเขาช่องคอย ท่ีควนเกย อาํ เภอร่อนพิบูลย์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช จารึกดว้ ยอกั ษร
ปัลลวะ ภาษาสนั สกฤต ราวพทุ ธศตวรรษที่ 12
ในสมยั สุโขทยั มีหลกั ฐานวา่ พ่อขนุ ศรีอินทราทิตยไ์ ดท้ รงนบั ถือพุทธศาสนาแบบมหายาน ในขณะ
ที่ กษตั ริยข์ อมองคต์ ่อๆมาแมจ้ ะเป็ นผูน้ บั ถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แต่ก็เสื่อมอาํ นาจจากการยึดดินแดนลง
เรื่อย ๆ จนในท่ีสุดสุโขทยั จึงเป็นประเทศอิสระ ไม่ข้ึนกบั บอมอีกต่อไป เป็นปัจจยั ใหศ้ าสนาพราหมณ์-ฮินดู
ในประเทศไทย อิงอยกู่ บั สถาบนั กษตั ริยต์ อ้ งลดความสาํ คญั ลงไป และแทรกอยตู่ ามกิจกรรมต่าง ๆ ของพทุ ธ
ศาสนา เหลือเพียง ฐานะเป็นความเชื่อด้งั เดิมของประชาชน ดงั ท่ีไดก้ ล่าวไวใ้ นจารึกสุโขทยั หลกั ท่ี 13 (จารึก
ฐานพระอิศวร เมือง กาํ แพงเพชร) ซ่ึงจารึกข้ึนเม่ือปี พทุ ธศกั ราช 2053 ในโอกาสท่ีเจา้ พญาศรีธรรมาโศกราช
ประดิษฐานรูปพระอิศวร ข้ึนท่ีเมืองกาํ แพงเพชร มีขอ้ ความตอนหน่ึงว่า " จึงเจา้ พระยาศรีธรรมาโศกราช
ประดิษฐานพระอิศวรเป็นเจา้ ไวใ้ หค้ รองสตั ว์ ตีสองตีนในเมืองกาํ แพงเพชร แลช่วยเลิกพทุ ธศาสตร์และไสย
ศาตร์และพระเทพกรรมมิใหห้ ม่น ใหห้ มองใหเ้ ป็นอนั หน่ึงอนั เดียว....
ในสมยั กรุงศรีอยุธยามีความสัมพนั ธ์ทางดา้ นศาสนาพราหมณ์-ฮินดูระหว่างกรุงศรีอยุธยา เมือง
นครศรีธรรมราชและเมืองรามนครแห่งอินเดียเจา้ เมืองรามนครไดส้ ่งพราหมณ์ใหม้ าเผยแพร่ศาสนาและส่งั
สอน วิทยาการต่างๆ เป็นอยา่ งดีดว้ ยและพราหมณ์เหล่าน้ีกน็ ่าจะเขา้ มารับใชใ้ นราชสาํ นกั กรุงศรีอยธุ ยาโดย
เขา้ ไปปฏิบตั ิ หน้าที่ตามลทั ธิพราหมณ์ในวงราชการและในราชสํานักดว้ ย ในฐานะตาํ แหน่งพราหมณ์
ปุโรหิต ทาํ หนา้ ที่เป็นพระ อาจารยส์ อนศิลปวิทยาการต่างๆ เช่น ศิลปศาสตร์ ชา้ ง มา้ เพลงอาวธุ โหราศาสตร์
และแพทยศ์ าสตร์
ในปี พุทธศกั ราช 2310 เม่ือกรุงศรีอยุธยาพ่ายแพใ้ นสงครามแก่พม่า เมืองถูกเผา ขนบธรรมเนียม
ประเพณีตาํ รับตาํ ราต่างๆ ในการประกอบพระราชพิธีเกี่ยวขอ้ งกบั ศาสนาพรามณ์ไดถ้ ูกทาํ ลายไปจาํ นวนมาก
แต่ก็ ยงั มีหลกั ฐานระบุวา่ โบสถพ์ ราหมณ์ไดถ้ ูกสร้างข้ึนคร้ังแรกหลงั จากเสียกรุงในสมยั กรุงธนบุรี นายนอร์
มนั บาร์ตเลต ซ่ึงเคยพาํ นกั อยเู่ มืองไทยไดบ้ นั ทึกไวว้ า่ เทวสถานโบสถพ์ ราหมณ์ในปี พุทธศกั ราช 2323 ตรง
กบั สมยั ธนบุรี
ในสมยั รัตนโกสินทร์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงโปรดเกลา้ ฯใหพ้ ราหมณ์จากภาคใต้ และ
ท่ีอ่ืนๆ ข้ึนมารับสนองพระบรมราชโองการเป็ นพราหมณ์ประจาํ ราชสํานัก ปฏิบัติพระราชพิธีสําหรับ
พระองค์ และประเทศชาติโดยปรากฏในหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุ งรัตนโกสิ นทร์ว่า
พระมหากษตั ริยท์ รงรับคณะ พราหมณ์ให้เป็ นพราหมณ์ราชสํานกั มีหนา้ ท่ีให้คาํ ปรึกษาและประกอบพระ
13
ราชพิธีต่างๆ สาํ หรับองค์ พระมหากษตั ริยแ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์ ท้งั พธิ ีสาํ หรับพระนครและยงั ทรงยกยอ่ ง
ความสามารถ ดว้ ยการ พระราชทานราชทินนามและศกั ดินาแก่พราหมณ์ราชสาํ นกั ดว้ ย
1.4 ประวตั ิศาสตร์
ความหมายของประวตั ิศาสตร์
หลุยส์ กอตชลั ค์ (2525 : 28) ไดเ้ สนอไวว้ ่า ประวตั ิศาสตร์ ในภาษาองั กฤษคือ History มาจากภาษา
กรีก joropice มีความหมายวา่ การเรียนรู้ ตามปรัชญาเมธีอริสโตเติลไดใ้ ห้ ความหมายไวเ้ ช่นเดียวกนั วา่ เป็น
รายละเอียดของปรากฏการณ์ โดยเฉพาะกิจกรรมของมนุษย์ ซ่ึงเรียงลาํ ดบั ตามเวลา เป็ นเร่ืองในอดีตของ
มนุษยชาติ อี.เอช.คาร์ (2525, หนา้ 57) ไดเ้ สนอทศั นะเกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์ไว้ 4 ประการดว้ ยกนั ดงั น้ี
1. ประวตั ิศาสตร์เป็ นเรื่องท่ีศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองท่ีมีลกั ษณะพิเศษของตัวมันเองโดยเฉพาะ แต่
วทิ ยาศาสตร์เป็นเรื่องท่ีศึกษาเก่ียวกบั เรื่องทว่ั ๆ ไป
2. ประวตั ิศาสตร์ไม่ไดส้ อนบทเรียน
3. ประวตั ิศาสตร์ไม่สามารถทาํ นายอะไรได้
4. ประวตั ิศาสตร์น้นั มีความจาํ เป็นอยเู่ องท่ีตอ้ งเป็นอตั วสิ ยั เพราะวา่ มนุษยน์ ้นั สงั เกตตวั เอง
5. ประวตั ิศาสตร์น้นั ต่างจากวิทยาศาสตร์ เพราะประวตั ิศาสตร์น้นั เกี่ยวกบั เร่ืองศาสนา และศีลธรรม
โรบิน ยอร์ช คอลลิงวดู (2502, หนา้ 9) กลา่ ววา่ ประวตั ิศาสตร์คือศาสตร์ที่วา่ ดว้ ยความ พยายามที่จะ
ตอบคําถามเก่ียวกับพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต โรเบอร์ต วี. แดเนียส์ (2520, หน้า 1) อธิบายว่า
ประวตั ิศาสตร์คือความทรงจาํ วา่ ดว้ ย ประสบการณ์ของมนุษย์ ซ่ึงถา้ หากถูกลืมหรือละเลย ก็เท่ากบั วา่ เราได้
ยุติแนวทางอนั บ่งช้ีเราคือ มนุษย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ (2519, หน้า 171) ให้ความหมายว่าประวตั ิศาสตร์ คือ
การศึกษาความ - เป็ นมาของมนุษยชาติหรือสังคมใดสังคมหน่ึงต้งั แต่อดีต ปัจจุบนั ถึง อนาคต โดยอาศยั
วิธีการที่เป็นที่รู้จกั กนั วา่ วธิ ีของประวตั ิศาสตร์
1.4.1สามก๊ก
เมื่อกล่าวถึงสามก๊ก คนทวั่ ไปเขา้ ใจวา่ เป็ นเรื่องราวในประวตั ิศาสตร์จีน หรือเป็ น เร่ืองแปลมาจาก
วรรณกรรมจีนยคุ โบราณเรื่องราวในสามก๊กน้นั ไดม้ ีการแปลเป็นภาษาไทยมาต้งั แต่ สมยั ตน้ รัตนโกสินทร์
แลว้ ต่อมาก็ไดร้ ับความนิยมอย่างแพร่หลาย กลายเป็ นวรรณคดีท่ีมีความผูกพนั อยู่ในสังคมไทย เร่ืองราว
หรือสาระสาํ คญั ในสามก๊ก จะกล่าวถึงการต่อสู้ขบั เคี่ยวแยง่ ชิงอาํ นาจ การ ทาํ สงคราม การใชเ้ ล่ห์เหลี่ยมกล
ยทุ ธ์เพื่อชิงไหวชิงพริบทางการเมืองและการทหารวีรกรรมของเหล่าผู้ กลา้ หาญ การแสดงถึงหลกั คุณธรรม
ของผนู้ าํ หรือผปู้ กครอง ภายใตส้ ภาวะที่บา้ นเมืองแตกแยกออกเป็นก๊กแลว้ นาํ โดยเหล่าขนุ ศึกในก๊กต่างๆ ซ่ึง
ต่างก็ไม่ข้ึนกบั อาํ นาจของฮ่องเตแ้ ลว้ พากนั ต้งั ตวั ข้ึน เป็ นใหญ่ เหตุการณ์ในสามก๊กเกิดข้ึนในปลายสมยั
ราชวงศฮ์ นั่ ตะวนั ออก ซ่ึงเป็นช่วงเวลาที่แผน่ ดินจีน ไดแ้ ตกแยกออกเป็นก๊กเป็นเหล่าโดยบรรดาขนุ ศึกท่ีเขา้
ทาํ ศึกแยง่ ชิงอาํ นาจระหวา่ งกนั จนกระทงั่ เหลือเพียงสามอาณาจกั ร ที่ต่างฝ่ ายก็คานอาํ นาจระหวา่ งกนั เป็น
เวลานานเกือบศตวรรษท้งั สาม อาณาจกั รหรือสามก๊กน้นั ไดแ้ ก่ วุยก๊ก (เว่ย = Wei) จ๊กก๊ก (สู่ = Shu) ง่อก๊ก
(หนู = Wu) และสุดทา้ ย เรื่องราวก็จบลงดว้ ยการกลบั มารวมเป็นอาณาจกั รเดียวกนั อีกคร้ังโดยลูกหลานใน
14
สกลุ สุมานน่ั คือพระ เจา้ สมาเง่ียน ปฐมฮ่องเตแ้ ห่งราชวงศจ์ ิ้น (Jin) สืบทอดอาํ นาจปกครองแผน่ ดินต่อไป ใน
สามก๊ก เรื่องราวส่วนมากจะเกิดข้ึนผ่านบรรดาตวั ละครชื่อดงั ท่ีคนไทยคุน้ หูกนั อย่างดี ตวั อย่างเช่น เล่าป่ี
(Liu Bei) โจโฉ (Cao Cao) ซุนกวน (Sun Quan) ซ่ึงเป็ นผูน้ าํ ของท้งั สามก๊ก และ ตวั ละครสําคญั อ่ืนๆ ท่ีมี
ชื่อเสียงมาก ไดแ้ ก่ กวนอู (Guan Yu) เตียวหุย (Zhang Fei) จูล่ง (Zhao Yun) จูกดั เหลียงหรือขงเบง้ (Zhuge
Liang) ลิโป้ (Lu Bu) จิวยี่ (Zhou Yu) สุมาอ้ี (Sima Yi) ฯลฯ เป็นตน้
จุดเริ่มของเร่ืองราวในยคุ สามก๊ก มีท่ีมาจากสภาพการปกครองอนั เหลวแหลกในรัชสมยั ของพระเจา้
ฮน่ั เลนเต้ ซ่ึงเป็นฮ่องเตอ้ งคท์ ่ี 28 ในราชวงศฮ์ น่ั (Han Dynasty) ฮ่องเตผ้ นู้ ้ีลุ่มหลงมวั เมา ในสุรานารี ไม่สนใจ
ในการบริหารราชการบา้ นเมือง จึงส่งผลใหอ้ าํ นาจการปกครองไดต้ กไปอยใู่ นมือ ของกลุ่มสิบขนั ที ซ่ึงพวก
เขาไดส้ ร้างความเดือดร้อน โกงกินกีดกนั คนดีมีความสามารถออกจาก ราชการ บา้ นเมืองเวลาน้นั ตกอยู่ใน
สภาพวุ่นวาย ผูค้ นอดอยากแร้นแคน้ แต่ทางราชสาํ นกั ก็ไม่ สามารถแกไ้ ขปัญหาไดเ้ ลย จากน้นั ต่อมา เดียว
ก๊ก ผูน้ าํ ลทั ธิไท่ผิง ซ่ึงไดร้ ับการยกย่องเป็ นผูว้ ิเศษท่ี สามารถช่วยรักษาโรคภยั ได้ ไดร้ ับความศรัทธาจาก
ชาวนาผยู้ ากไร้จาํ นวนมหาศาล ก่อต้งั กลุ่มโจร ผา้ เหลืองแลล้ ุกฮือข้ึนก่อการไปทวั่ หมายจะลม้ ลา้ งราชสาํ นกั
และเขา้ ปลน้ ชิงบา้ นเมือง สร้างความ วุน่ วายไปทวั่ ทางราชสาํ นกั จึงสั่งระดมขนุ ศึกและทหารอาสาจากทวั่
ประเทศเพื่อปราบปรามโจร ผา้ เหลือง ในบรรดากลุ่มบุคคลท่ีเขา้ ร่วมปราบโจรผา้ เหลืองน้ันมีผูท้ ี่แสดง
ตวั อย่างโดดเด่นไดแ้ ก่ เล่าปี่ โจโฉ ชุนเก๋ียน ซ่ึงต่อมาภายหลงั คนท้งั สามไดก้ ลายเป็ นผูท้ ่ีเริ่มก่อร่างสร้าง
รากฐานขุมกาํ ลงั ของตนเอง กระทง่ั แบ่งแยกอาณาจกั รออกเป็ นสามก๊ก เม่ือโจรผา้ เหลืองถูกปราบปรามได้
เรียบร้อย ไม่นานนกั พระเจา้ เลนเตก้ ็สิ้นพระชนม์ กลุ่มสิบขนั ทีจึงเขา้ แยง่ ชิงอาํ นาจในราชสาํ นกั จากน้นั ตงั๋
โต๊ะขนุ ศึกใหญ่จากเสเหลียงซ่ึงควบคุมอาํ นาจ ทหารอยใู่ นชายแดนภาคเหนือจึงถือโอกาสนาํ กองทพั เขา้ มา
สยบความวุน่ วายในเมืองหลวง แลว้ จึงเขา้ ต านาจทาํ รัฐประหารในราชสาํ นกั ปลดรัชทายาทลงจากตาํ แหน่ง
แลว้ แต่งต้งั องคช์ ายรองตนั ลิวอ๋อง ในวยั 8 ชนั ษาข้ึนเป็นพระเจา้ ฮนั่ เห้ียนเตเ้ พื่อใหเ้ ป็นหุ่นเชิด ส่วนตงั๋ โต๊ะก็
ใชอ้ าํ นาจปกครองเมืองหลวงตามใจชอบ สังหารขนุ นางท่ีขดั ขวาง เขา้ ปลน้ ซ่ึงผคู้ นสร้างความเดือดร้อนไป
ทว่ั เวลาน้ันโจโฉซ่ึงมี ตาํ แหน่งเป็ นขุนนางช้นั ผูน้ ้อยอยู่ในเมืองหลวงจึงหาทางหลบหนีออกมากลบั ไปต้งั
หลกั อยทู่ ี่บา้ นเกิด แลว้ จึงวางแผนปลอมแปลงพระราชโองการใหก้ ระจายไปทว่ั แผ่นดินเพ่ือประกาศระดม
พลกองทพั ของ เหล่าขนุ ศึกทวั่ แผน่ ดิน เพ่ือก่อต้งั กองทพั พนั ธมิตรเขา้ ปราบปราม งโต๊ะช่วยเหลือองเตแ้ ละ
ฟ้ื นฟู อา้ นาจของราชสาํ นกั นใหก้ ลบั คืนมา เล่าปี่ กวนอู เตียวหุย ท้งั สามพี่นอ้ งร่วมสาบานไดพ้ ากนั เขา้ ร่วม
เป็ นส่วนหน่ึงของ กองทพั พนั ธมิตร พวกเขาไดส้ ร้างวีรกรรมในการต่อสู้กบั ลิโป้ซ่ึงเป็ นยอดขนุ พลของตงั๋
โต๊ะ ผูไ้ ดช้ ื่อว่า เป็ นขุนพลท่ีแข็งแกร่งที่สุด หลงั จากน้นั ตง๋ั โต๊ะไดต้ ดั สินใจเผาเมืองหลวงลูกเลี่ยงและยา้ ย
เมืองหลวง และพาฮ่องเตห้ นีไปเตียงอนั ผลสุดทา้ ยกองทพั พนั ธมิตรก็สลายตวั เพราะทุกฝ่ ายต่างมุ่งหวงั
ผลประโยชน์ ไม่ไดค้ ิดทาํ เพื่อบา้ นเมืองจริงจงั ในขณะท่ีต้งั โตะ๊ และลิโป้กเ็ กิดผดิ ใจกบั ลิโป้สงั หารต้งั โตะ๊ จน
เกิดการแย่งชิงอาํ นาจในเมืองหลวง ส่งผลให้แผ่นดินจีนเขา้ สู่ยคุ แห่งความวุ่นวาย บรรดาขนุ ศึกต่าง สะสม
ไพร่พล ต้งั ตวั แยกเป็นก๊ก และทาํ สงครามแยง่ ชิงอาํ นาจกนั
1.4.2 บางระจนั
15
เอกสารท่ีเป็นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ท่ีกล่าวอา้ งถึงบางระจนั มีหลายชิ้นอนั ไดแ้ ก่ จดหมายเหตุ
ความทรงจาํ ของกรมหลวงนรินทรเทวี คาํ ใหก้ ารขนุ หลวงหาวดั พระราชพงศาวดารฉบบั บริติชมิวเซียม พระ
ราชพงศาวดารฉบบั พนั จนั ทนุมาศ (เจิม) พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา นอกจากน้ียงั มีหนงั สือ
เล่มสาํ คญั ของสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพเร่ืองไทยรบพม่า ท้งั หมดกล่าวถึงเรื่อง
บางระจนั วา่ เกิดข้ึนในรัชสมยั พระเจา้ เอกทศั น์ เมื่อกรุงศรีอยธุ ยาใกลจ้ ะเสียกรุงคร้ังท่ี 2 การต่อสู้ของชาวบา้ น
บางระจนั เพ่อื ตา้ นทานกองทพั พม่าน้นั ไดบ้ นั ทึกไวใ้ นลกั ษณะต่างกนั ดงั ต่อไปน้ี
1. เอกสารที่บนั ทึกเร่ืองบางระจนั เพียงช่ือ ไดแ้ ก่ จดหมายเหตุความทรงจาํ ของกรมหลวงนรินทรเทวี
และคาํ ให้การขนุ หลวงหาวดั เอกสารฉบบั แรกกล่าวถึง “บางระจนั ” ในฐานะท่ีเป็นชื่อค่ายท่ีพม่าต้งั ประชิด
ลอ้ มกรุงศรีอยธุ ยา และช่ือ “ค่ายบา้ นระจนั ” ไม่ใช่ “ค่ายบางระจนั ” ท่ีสาํ คญั ก็คือ ไม่มีวีรกรรมของชาวบา้ น
ไทยเกิดข้ึน ณ สถานที่แห่งน้ี ส่วนคาํ ให้การขุนหลวงหาวดั กล่าวถึง “บางระจนั ” ว่าเป็ นชื่อค่ายหน่ึงใน 18
ค่ายท่ีพม่าต้งั อยรู่ ายลอ้ มกรุงศรีอยธุ ยา และชื่อ “ค่ายบา้ นระจนั ” ไม่ใช่ “ค่ายบางระจนั ” เช่นเดียวกบั จดหมาย
เหตุความทรงจาํ ของกรมหลวงนรินทรเทวี
2. เอกสารที่บนั ทึกเร่ืองบางระจนั อยา่ งคร่าวๆ ไดแ้ ก่ พระราชพงศาวดารฉบบั บริติชมิวเซียม พระ
ราชพงศาวดารฉบบั พนั จนั ทนุมาศ (เจิม) พระราชพงศาวดารฉบบั สมเด็จพระพนรัตน์ เรื่องบางระจนั ในพระ
ราชพงศาวดารท้งั 3 ฉบบั มิใช่เป็ นเพียงการเรียกขานชื่อค่ายเหมือนเอกสาร 2 ฉบบั ท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ แต่
กล่าวถึงสถานที่ บุคคล และเหตุการณ์ สถานที่ยงั คงใชช้ ่ือ “บา้ นระจนั ” ส่วนช่ือบุคคลท่ีปรากฏในตอนน้ี
ไดแ้ ก่ พระอาจารยว์ ดั เขานางบวช นายจนั เขียว พระยารัตนาธิเบศ ชาวบา้ น และพม่า เหตุการณ์ก็คือพม่าตี
ค่ายบางระจนั เพราะชาวบา้ นไม่ยอมสวามิภกั ด์ิ แมว้ ่าจะพยายามเกล้ียกล่อมให้ยอมแพ้ แต่ชาวบา้ นกลบั ฆ่า
พม่าลม้ ตายเป็นอนั มาก พม่าพยายามจะตีค่ายบางระจนั หลายคร้ัง แต่ไม่สาํ เร็จ ชาวบา้ นพยายามต่อสู้ดว้ ยการ
เดินทางเขา้ มาขอปื นใหญใ่ นเมืองหลวง แต่ไม่ได้ เพราะเมืองหลวงเกรงวา่ หากค่ายแตก ปื นใหญจ่ ะกลายเป็น
อาวธุ ใหพ้ ม่าเขา้ มาตีกรุงศรีอยธุ ยา พระยารัตนาธิเบศจึงไปหล่อปื นใหญ่ให้ 2 กระบอก แต่กส็ ู้พม่าไม่ได้ ค่าย
แตก ชาวบา้ นลม้ ตายเป็นอนั มาก
การรบของชาวบา้ นบางระจนั ท่ีปรากฏในพระราชพงศาวดารกลุ่มน้ี จะมีรายละเอียดเพิ่มมากข้ึนกวา่
เอกสารกลุ่มแรกท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ อยา่ งไรกต็ าม การรบดงั กล่าวกย็ งั คงเป็นการปะทะคร้ังยอ่ ยๆ ระหวา่ งกอง
กาํ ลงั ของพม่ากบั ชาวบา้ น ตามเสน้ ทางที่พม่าเคลื่อนทพั ผา่ นจากทางเหนือเพื่อลงมาลอ้ มกรุงศรีอยธุ ยา และดู
เหมือนว่าผูบ้ นั ทึกจะไม่ใหค้ วามสําคญั ท่ีโดดเด่นเป็นพิเศษนกั เพราะจะกล่าวรวมๆ ไปกบั การรบท่ีปากน้าํ
ประสบ โดยตดั ฉากสลบั กนั ไปมา มิไดเ้ นน้ ย้าํ การรบท่ีบา้ นระจนั โดยละเอียดเพียงเหตุการณ์เดียว
3. เอกสารที่เล่าเร่ืองบางระจนั อยา่ งละเอียด ไดแ้ ก่ พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา และ
หนงั สือเร่ืองไทยรบพม่าเรื่องบางระจนั ที่บนั ทึกไวใ้ นพระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหัตถเลขาน้นั หาก
พิจารณาจากโครงเร่ืองใหญ่มิไดแ้ ตกต่างกบั เอกสารกลุ่มที่ 2 กล่าวคือ เป็นเรื่องของการต่อสู้ระหว่างนกั รบ
ชาวบา้ นไทยกบั กองกาํ ลงั ของพม่าและจบลงดว้ ยความพ่ายแพข้ องฝ่ ายไทย ส่วนรายละเอียดในพระราช
16
พงศาวดารฉบบั น้ี พิสดารกวา่ เร่ืองบางระจนั ในพระราชพงศาวดารทุกฉบบั ที่กล่าวมาแลว้ ท้งั ในแง่เน้ือเรื่อง
ตวั ละคร และการใชภ้ าษา
เร่ืองบางระจนั ในพระราชพงศาวดารฉบบั น้ี เปิ ดเรื่องดว้ ยเหตุการณ์ก่อนอนั เป็นมูลเหตุให้ชาวบา้ น
ลุกข้ึนสู้กับพม่า กล่าวคือ กองกาํ ลงั ของพม่าทาํ ตัวเยี่ยงโจรเขา้ มาปลน้ ทรัพยส์ ินเงินทองและบุตรหญิง
รายละเอียดในเรื่องบางระจนั ท่ีทาํ ใหพ้ ระราชพงศาวดารฉบบั น้ีแตกต่างกบั พระราชพงศาวดารฉบบั อ่ืนๆ ท่ี
กล่าวมาแลว้ ไดแ้ ก่ รายละเอียดเก่ียวกบั ตวั บุคคล อนั ไดแ้ ก่ชื่อและบทบาทของบุคคลในเร่ือง เหตุการณ์
รวมท้งั การแสดงทรรศนะเก่ียวกับการศึกสงคราม (สืบคน้ เม่ือ 20 มีนาคม 2565 จาก https://www.silpa-
mag.com/history/article_38982)
1.4.3 เจา้ ฟ้ากงุ้
เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศ ไชยเชษฐสุริยวงศ์ มีพระนามท่ีเรียกกนั เป็ นสามญั ว่า “เจา้ ฟ้ากุง้ " เป็ น พระราช
โอรสองค์ใหญ่ ในสมเด็จพระเจา้ บรมโกศ และสมเด็จพระพนั วสั สาใหญ่ ซ่ึงโปรดให้ สถาปนาเป็ นกรม
หลวงอภยั นุชิตเป็ นพระมารดา เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศทรงมีภคินีร่วมพรชนอีก 6 พระองค์ รวมเป็ น 7 พระองค์
ดว้ ยกนั คือ เจา้ ฟ้าหญิงบรม (กรมขุนเสนีนุรักษ์) 1 เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศ 1 เจา้ ฟ้าหญิงธิดา 1 เจา้ หญิงรัศมี 1
เจา้ ฟ้าหญิงสุริยวงศ์ 1 เจา้ ฟ้าหญิงสุริยา เจา้ ฟ้าหญิงนุ่ม หรือ อินทสุดาวดี 1 และทรงมีพระเจา้ นอ้ งยาเธอ และ
นอ้ งยาต่างพระชนนีอีกหลายองค์ เม่ือสมเดจ็ พระราชธิดาไดเ้ สวยราชยแ์ ลว้ โปรดใหส้ ถาปนาพระอิสริยยศ
เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศเป็นเจา้ ฟ้าต่างกรม มีพระนามวา่ เจา้ ฟ้ากรมขนุ เสนาพทิ กั ษ์ เม่ือ พ.ศ. 2276
เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศ กรมขนุ เสนาพิทกั ษ์ ทรงเป็นกวีเอกองคห์ น่ึงของไทยไดท้ รงนิพนธ์ บทร้อยกรอง
ไวห้ ลายเร่ือง แต่บทที่นบั ถือกนั ว่าไพเราะอยา่ งยอดเยยี่ มเป็นท่ีข้ึนชื่อลือชากค็ ือ บทเห่ เรือ 4 บท บทเห่เร่ือง
กากี 3 บทเห่สังวาส และเห่ครวญ อีกอย่างละ 1 บท กาพยห์ ่อโคลง นิราศธาร โศก และ นิราศธารมองแดง
รวม 2 เรื่อง บทเห่เรือกค็ ือ บทเห่ชมเรือกระบวน บทเห่ชมปลา และ ชมนกชมไม้ เป็นตน้ ซ่ึงเราท่านยอ่ มรู้จกั
ไดด้ ีแลว้ เป็นส่วนมาก เพราะเป็นฉบบั ของบทเห่เรือ สาํ นวนต่างๆ ซ่ึงแบ่งกนั ต่อมาในสมยั กรุงรัตนโกสินทร์
ส่วนกาพยห์ ่อโคลงน้นั ทรงนิพนธ์เป็น อยา่ งนิราศ นอกจากทรงนิพนธ์ร้อยกรองพรรณนาเร่ืองราวอยา่ งอ่ืน
แลว้ ยงั พรรณนาถึงลกั ษณะของ ป่ าและสตั วน์ านาพนั ธุไ์ วอ้ ยา่ งไพเราะ
วิถีชีวิตของเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศน้นั นอกจากเป็ นอจั ฉริยะในทางกวีแลว้ ในฐานะเป็ นเจา้ ฟ้า และเป็ น
พระราชโอรสพระองคใ์ หญ่ของพระเจา้ แผน่ ดิน ทรงดาํ รงอยใู่ นตาํ แหน่งรัชทายาท จะไดส้ ืบราชสมบตั ิเป็น
พระเจา้ แผ่นดินพระองคต์ ่อมาซ่ึงเป็นพระราชอิสริยยศอนั ย่งิ ใหญ่ แต่ก็ทรงมีวิถีชีวิตโลดโผน ประดุจทรงมี
เส้นชีวิตอยู่ 2 เส้น กล่าวคือ เส้นหน่ึงกาํ ลงั แล่นข้ึนสู่พระราชอิสริยยศ อนั ยงิ่ ใหญ่ และอีกเส้นหน่ึงกาํ ลงั แล่น
ลงต่าํ เพื่อรับพระราชอาชญากรรมอนั มหนั ต์ เส้นวถิ ีชีวติ ท้งั สองน้ีต่างกแ็ ข่งขนั ชิงความมีชยั ชนะแก่กนั ดงั จะ
เห็นไดต้ ่อไป
1.4.4 ยทุ ธนาวี
ยุทธนาวีเกาะชา้ งสืบเนื่องมาจากกรณีพิพาทอินโดจีนระหว่างไทยและฝร่ังเศส ซ่ึงก่อนฝร่ังเศสจะ
ประกาศสงครามกบั เยอรมนีในช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ฝร่ังเศสไดข้ อใหร้ ัฐบาลไทยลงนามในสนธิสัญญา
17
ห้ามรุกรานอินโดจีน ทางการไทยไดย้ ืน่ เงื่อนไขวา่ ไทยยินดีลงนามหากฝร่ังเศสยอมทาํ ตามขอ้ เรียกร้องใน
การปรับปรุงเส้นแบ่งเขตแดน ไทย-อินโดจีนฝร่ังเศสเสียใหม่ โดยใช้แนวร่องน้าํ ลึกเป็ นเกณฑ์ตามหลกั
กฎหมายระหว่างประเทศ เพ่ือความเป็ นธรรม และให้ฝร่ังเศสคืนดินแดนฝ่ังขวาแม่น้าํ โขงท่ีฝร่ังเศสยึดไป
จากเหตุการณ์ ร.ศ. 112 แต่ฝรั่งเศสปฏิเสธ
ในช่วงเวลาเดียวกบั การเดินขบวนของบรรดานกั ศึกษาฝ่ ายชาตินิยมที่รวมตวั กนั เรียกร้องดินแดน
พิพาทจากฝร่ังเศสในกรุงเทพฯ ไดเ้ กิดการปะทะอย่างต่อเน่ืองบริเวณชายแดนของท้งั สองฝ่ าย ซ่ึงฝ่ ายไทย
อา้ งว่า ฝร่ังเศสเป็นผูฉ้ วยโอกาสส่งเครื่องบินทิ้งระเบิดมาโจมตีนครพนมก่อนในวนั ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.
2483 นาํ ไปสู่การเผชิญหนา้ แบบเตม็ รูปแบบ ซ่ึงทางฝรั่งเศสตกเป็นฝ่ ายเสียเปรียบในการรบภาคพ้ืนดินและ
อากาศต่อกองทพั ไทยท่ีมีกาํ ลงั รบท่ีเยอะและทนั สมยั กวา่ ฝ่ ายฝรั่งเศสจึงตดั สินใจส่งกองเรือรบที่มีกาํ ลงั และ
ความพร้อมมากกว่าเขา้ โจมตีฝ่ ายไทยการสู้รบบริเวณเกาะชา้ งเร่ิมตน้ ข้ึนต้งั แต่เชา้ ตรู่ของวนั ท่ี 17 มกราคม
พ.ศ. 2484 กาํ ลงั รบทางเรือของฝ่ ายไทยที่รักษาการณ์อยู่ในบริเวณน้ัน ประกอบดว้ ย เรือหลวงธนบุรี เรือ
หลวงชลบุรี และเรือหลวงสงขลา ไดเ้ ขา้ ต่อสู้ขดั ขวางกองเรือฝร่ังเศส ซ่ึงมีกาํ ลงั ทางเรือถึง 7 ลาํ ประกอบดว้ ย
เรือลาดตระเวน 1 ลาํ เรือสลุป 2 ลาํ และเรือปื น 4 ลาํ ผลของการสู้รบทาํ ให้ฝ่ ายไทยตอ้ งเสียเรือท้งั 3 ลาํ
พร้อมชีวิตของทหารเรือรวม 36 นาย ขณะท่ีฝ่ ายฝรั่งเศสแทบไม่ไดร้ ับความสูญเสียใดๆ แต่กเ็ ป็นฝ่ ายล่าถอย
ออกไปเอง
หลงั การสูญเสียอย่างหนกั ของฝ่ ายไทยในการสู้รบที่เกาะชา้ ง ญี่ป่ ุนไดเ้ ขา้ มาแทรกแซงโดยให้ท้งั
สองฝ่ ายเจรจาสงบศึก ก่อนมีการลงนามในอนุสัญญาสันติภาพท่ีกรุงโตเกียว เม่ือวนั ท่ี 9 พฤษภาคม พ.ศ.
2484 ทาํ ให้ไทยไดด้ ินแดนพิพาทมาอยู่ในปกครอง แต่เป็ นช่วงระยะเวลาเพียงส้ันๆ เนื่องจากเมื่อสิ้นสุด
สงครามโลกคร้ังท่ี 2 ไทยจาํ เป็นตอ้ งคืนพ้นื ท่ีพพิ าทดงั กล่าวกลบั คืนใหก้ บั ฝร่ังเศสยทุ ธนาวีเกาะชา้ ง การสูร้ บ
คร้ังน้ีแมจ้ ะมิไดเ้ ป็นการประจญั บานคร้ังใหญ่ แต่ก็ถือเป็นเหตุการณ์สาํ คญั ในประวตั ิศาสตร์ของกองทพั เรือ
ไทยในการรบหลงั ยคุ การปรับปรุงกองทพั เรือสู่ความเป็นสมยั ใหม่ และกองทพั เรือไทยยงั ไดเ้ ลือกวนั น้ีเป็น
“วนั สดุดีวีรชนกองทพั เรือ” อีกดว้ ย
(สืบคน้ เมื่อ 20 มีนาคม 2565 จาก https://www.silpa-mag.com/this-day-in-history/article_5721)
1.5 การปกครอง
การเมืองเป็ นเร่ืองเกี่ยวกบั วิธีการไดม้ าซ่ึงอาํ นาจในการปกครองและการบริหารราชการแผ่นดิน
และการใช้อาํ นาจท่ีได้มาเพื่อสร้างความผาสุกให้แก่ประชาชนส่วนการปกครองเป็ นการทาํ งานของ
เจา้ หนา้ ที่ ของรัฐซ่ึงจะดาํ เนินการตามกฎหมายและนโยบายที่รัฐมอบใหด้ าํ เนินการ โดยมุ่งที่จะสร้างความ
ผาสุก ความ เป็ นระเบียบความสงบเรี ยบร้อยให้เกิดข้ึนในสังคมภายใต้รูปแบบการปกครองแบบ
ประชาธิปไตยและแบบเผดจ็ การมีนกั วชิ าการไดก้ ล่าวไวด้ งั น้ี
ธเนศวร์ เจริญเมือง (2550, หนา้ 16) ไดก้ ล่าวไวว้ า่ ระบบการเมืองการปกครอง หมายถึง แบบแผน
เก่ียวกบั ความสัมพนั ธ์ระหว่างมนุษยท์ ี่ก่อใหเ้ กิดขอ้ ตกลงใจรวมท้งั มีอาํ นาจบงั คบั สมาชิกในสังคมให้ ตอ้ ง
ปฏิบตั ิในปัจจุบนั การเมืองเป็นเรื่องท่ีเก่ียวกบั วิธีการไดม้ าซ่ึงอาํ นาจในการปกครองและการบริหารราชการ
18
แผน่ ดินและการใชอ้ าํ นาจที่ไดม้ าเพื่อสร้างความผาสุกใหแ้ ก่ประชาชนหรืออาจมีความหมายวา่ เป็นกิจกรรม
ที่ เกี่ยวขอ้ งกบั บุคคลหรือกลุ่มบุคคลเพื่อท่ีจะกาํ หนดแนวทางขอ้ บงั คบั หรือนโยบายให้คนในสังคมปฏิบตั ิ
ตามและ อยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุขส่วนการปกครองหมายถึง การทาํ งานของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ไดแ้ ก่
ขา้ ราชการพนกั งาน ส่วนทอ้ งถ่ินและรัฐวิสาหกิจท้งั หลาย ตามกฎหมายและนโยบายของรัฐบาล
ชลธิศ ธีระฐิติ (2551, หน้า 278-280) ได้กล่าวไวว้ ่า การเมืองในความหมายท่ีผูกติดกับระบบ
การเมืองและหรือรัฐการเมือง หมายถึง การจดั สรรสิ่งท่ีมีคุณค่าหรือทรัพยากร โดยมีอาํ นาจที่เป็นที่ยอมรับ
กนั มาทาํ ใหเ้ กิดการปฏิบตั ิตาม หรือการเมืองเป็นเรื่องของการท่ีมีคนกลุ่มหน่ึงใชอ้ ิทธิพลต่อคนอีกกลุ่มหน่ึง
เพื่อให้ ไดม้ าซ่ึงสิ่งท่ีมีคุณค่าทางสังคม การเมืองจึงเป็นกิจกรรมและกระบวนการท่ีเกิดข้ึนในระบบการเมือง
โดยมีเป้าหมายเพื่อให้สังคมบรรลุถึงขอ้ ตกลงทางผลประโยชน์ร่วมกนั น่ันก็คือ เป้าหมายในการจดั สรร
ทรัพยากร และสิ่งท่ีมีคุณค่าร่วมกนั ในสังคม ซ่ึงเป็ นมิติหน่ึงของพฤติกรรมความสัมพนั ธ์หรือสถาบนั ของ
มนุษยท์ ่ีเกี่ยวขอ้ ง กบั การควบคุม การใชอ้ ิทธิพล การใชอ้ าํ นาจและอาํ นาจหนา้ ที่ภายในระบบการเมือง กลา่ ว
อีกนยั หน่ึงก็คือ การเมืองเป็นเร่ืองของการก่อร่างสร้างและแบ่งปันอาํ นาจภายในระบบการเมืองหรือภายใน
รัฐ ซ่ึงจากมิติของ การแสวงหาและแบ่งปันอาํ นาจดงั กล่าวน้ี การเมืองจะมีความหมายแคบลงมาเป็นเร่ืองที่คู่
กบั การปกครอง แต่ การจดั สรรสิ่งที่มีคุณค่าในสังคมโดยรัฐหรือผูม้ ีอาํ นาจและอิทธิพลน้ัน ไม่ว่าจะดว้ ย
วตั ถุประสงคใ์ ด อาจมองไดว้ า่ เป็นเร่ืองของการครอบงาํ หรือการมีอาํ นาจเหนือผอู้ ื่น ผา่ นสถาบนั ต่างๆ ของ
รัฐ สะทอ้ นใหเ้ ห็นลกั ษณะของรัฐ ซ่ึงเป็นชุมชนของมนุษยใ์ นพ้ืนท่ีอนั มีเขตแดนที่แน่นอน สามารถใชก้ าํ ลงั
และความรุนแรงบนพ้นื ฐานของการอา้ ง ความชอบธรรม หรือเป็นท่ียอมรับได้
1.6 กฎหมาย
เมื่อกลา่ วถึงการใหค้ วามหมายกฎหมายของนกั กฎหมายของไทยต่างกใ็ ห้ ความหมายที่มีความหมาย
ของกฎหมายไปแนวทางเดียวกนั กบั สํานกั คิดปฏิฐานนิยม (Positive Law) เช่น กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ
พระบิดาแห่งกฎหมายไทยใหค้ วามหมายของกฎหมาย หมายถึง คาํ สั่งท้งั หลายของผปู้ กครองวา่ การแผน่ ดิน
ต่อราษฎรท้ังหลาย เมื่อไม่ทาํ ตามแล้วธรรมดาต้องรับโทษ ส่วนหลวงจาํ รูญเนติศาสตร์ ได้อธิบายว่า
กฎหมาย ไดแ้ ก่ ขอ้ บงั คบั ว่าดว้ ยการปฏิบตั ิ ซ่ึงผูม้ ีอาํ นาจของประเทศไดบ้ ญั ญตั ิข้ึน และ บงั คบั ว่าดว้ ยการ
ปฏิบตั ิ ซ่ึงผมู้ ีอาํ นาจของประเทศน้นั ถือปฏิบตั ิตาม ดา้ นศาสตราจารย์ พเิ ศษประสิทธ์ิ โฆวิไลกลุ ไดอ้ ธิบายวา่
กฎหมาย คือ ระเบียบ ข้อบังคบั ของสังคม ซ่ึงมนุษยเ์ ป็ นผูก้ าํ หนดข้ึนจะเป็ นกฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษร
(Statute) หรือกฎหมายจารีตประเพณี (Customary Law) เพ่อื ใหใ้ ชบ้ งั คบั สมาชิกในสงั คม และในพจนานุกรม
ฉบบั ราชบณั ฑิตย สถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายว่า กฎหมาย คือ กฎที่สถาบนั หรือผูม้ ีอาํ นาจสูงสุดในรัฐ
ตราข้ึนหรือท่ีเกิดข้ึนจากจารีตประเพณีอนั เป็ นท่ียอมรับนบั ถือเพ่ือใชใ้ นการบริหารประเทศ เพื่อใชบ้ งั คบั
บุคคลให้ปฏิบตั ิตาม หรือเพ่ือกาํ หนดระเบียบแห่งความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล หรือระหว่างบุคคลกบั รัฐ
เป็ นตน้
กรณีความหมายของกฎหมายของนกั ปรัชญา จะพบวา่ ส่งผลต่อการเมืองการ ปกครองของประเทศ
ซ่ึงจะพบวา่ มีแนวคิดปรัชญากฎหมายท่ีสาํ คญั ท่ีใหค้ วามหมาย คือ แนวคิดปรัชญากฎหมายปฏิฐานนิยมทาง
19
กฎหมายหรือกฎหมายบา้ นเมือง (Positive Law) ให้ทศั นะว่า กฎหมาย คือ กฎระเบียบขอ้ บงั คบั ที่ควบคุม
ความประพฤติของรัฐ ออกโดย ผูม้ ีอาํ นาจสูงสุดในรัฐใชบ้ งั คบั ถา้ ไม่ปฏิบตั ิก็จะถูกลงโทษ” ส่วนแนวคิด
ปรัชญากฎหมาย ธรรมชาติ (Natural Law) เห็นวา่ กฎหมาย คือ กฎระเบียบขอ้ บงั คบั ควบคุมความประพฤติ
ของรัฐ ท่ีโดยผปู้ กครองท่ีไดร้ ับการยอมรับของคนในสงั คมออกกฎหมายใชบ้ งั คบั โดยความ ยนิ ยอมร่วมกนั
ในสงั คม
ดงั น้นั สรุปไดว้ า่ กฎหมาย คือ บรรดากฎเกณฑท์ ี่สถาบนั หรือผมู้ ีอาํ นาจสูงสุดใน สงั คมกาํ หนดแบบ
แผน ความประพฤติของบุคคลในความสัมพนั ธ์ระหว่างกนั และกนั ท้งั น้ี โดยจุดมุ่งหมายให้คนในสังคมมี
ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และยตุ ิธรรม ท่ีทาํ ใหส้ งั คมเกิดความสงบสุข
2.สาขาศิลปะ
สาขาศิลปะ หมายถึง ส่ิงที่มนุษยส์ ร้างข้ึนเพื่อแสดงออกถึงฝีมือ และความคิดสร้างสรรค์ ความเช่ือ
รสนิยม บุคลิก มีทกั ษะความเพียร ความประณีต และภูมิปัญญา แต่สิ่งที่มนุษยไ์ ดร้ ับจากศิลปะ คือ ศิลปะเป็น
สิ่งท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั จิตใจ มีจุดหมายไปสู่ความดี และความงาม และมีความแตกต่างกนั ออกไป โคยอิทธิพลของ
สิ่งแวดลอ้ มหลายดา้ น อาจกาํ หนดไดอ้ ยา่ งกวา้ ง ๆ คือ ศิลปะ ที่อาํ นวยประโยชน์ทางสงั คม ความจาํ เป็น และ
ศิลปะอาํ นวยประโยชน์ทางใจหรือศิลปะบริสุทธ์ิอนั เป็นวจิ ิตรศิลป์ ท่ีมิไดม้ ุ่งประ โยชนท์ างวตั ถุ และลาภผล
โดยสาขาศิลปะ จะประกอบไปดว้ ย วรรณคดี ดนตรี วจิ ิตรศิลป์ สถาปัตยกรรม การละคร ประติมากรรม เป็น
ตน้ (พจนานุกรมศพั ทศ์ ิลปะองั กฤษ-ไทย, 2541 : 2) ซ่ึงสาขาศิลปะ สามารถจาํ แนกประเภทยอ่ ยได้
ดงั ต่อไปน้ี
2.1 ภาษา
ภาษา คือ เสียงพดู ท่ีมีระเบียบและมีความหมาย ซ่ึงมนุษยใ์ ชเ้ ป็นเครื่องมือ สาํ หรับส่ือความคิด
ความรู้สึก ความตอ้ งการ และใชใ้ นการประกอบกิจกรรมร่วมกนั โดยทวั่ ไป ภาษามกั หมายถึงเสียงพดู ไม่ใช่
ตวั อกั ษร แต่เสียงพดู กเ็ ก่ียวกบั ตวั อกั ษรในแง่ที่วา่ ตวั อกั ษร ประดิษฐข์ ้ึนเพือ่ ใชแ้ ทนเสียงพดู อีกทีหน่ึง และมี
ระเบียบในการใชต้ วั อกั ษร การผสมอกั ษรไวเ้ ป็น กฎเกณฑใ์ นการสะกดการันต์ หรือเรียกวา่ ระบบการเขียน
วิจินตน์ ภาณุพงศ,์ 2528 : 6)
อาจกลา่ วไดว้ า่ ภาษาพดู มีความสาํ คญั มากเท่าเทียมหรือมากกวา่ ภาษาเขยี น เพราะประการแรกภาษา
พดู เกิดก่อนภาษาเขียน และประการที่สอง ภาษาพดู เป็นภาษาท่ีใชก้ นั เป็น ประจาํ และใชก้ นั ทุกคน เม่ือภาษา
เขียนเกิดข้ึนทีหลงั และเป็นภาษาท่ีใชส้ าํ หรับบนั ทึกภาษาพดู อีกทีหน่ึง ดงั น้นั ภาษาพดู และภาษาเขยี นจึงตอ้ ง
มีระเบียบท่ีสาํ คญั ร่วมกนั อาจมีความแตกตา่ งกนั ในรายละเอียดปลีกยอ่ ย กลา่ วคือระเบียบของภาษาเขียน
น้นั อาจจะยงุ่ ยากและซบั ซอ้ นมากกวา่ ภาษาพดู โดยเฉพาะการเขยี นในการส่ือสารระดบั ทางการ อีกประการ
หน่ึงในการเขียนผเู้ ขียนตอ้ ง พยายามใหข้ อ้ ความที่เขียนมีความหมายชดั เจนท่ีสุดเท่าที่จะทาํ ได้ เพราะผอู้ า่ น
อาจไม่มีโอกาสจะ ซกั ถามได้ หากขอ้ ความตอนใดมีความหมายไม่ชดั เจนกจ็ ะทาํ ใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจไขวเ้ ขวได้
ต่างกบั เวลาพดู นอกจากผฟู้ ังจะมีโอกาสซกั ถามแลว้ ยงั ไดอ้ าศยั สถานการณ์ขณะพดู กนั น้นั ช่วยใหเ้ ขา้ ใจ
ความหมายของขอ้ ความท่ีพดู กนั ไดด้ ว้ ย (วจิ ินตน์ ภาณุพงศ,์ 2828 : 13)
20
2.2 ดนตรี
ดนตรีเป็นส่วนหน่ึงของชีวติ มีพระราชดาํ รัสตอนหน่ึงวา่ “ดนตรีลว้ นอยใู่ นตวั คนทุกคน เป็นส่วนที่
ย่ิงใหญ่ในชีวิตคนเรา” (วารสารเพ่ือการท่องเที่ยวและอนุรักษ์ธรรมชาติ ศิลป วฒั นธรรม, 2539, หนา้ 48)
ดนตรีเกิดจากการท่ีมนุษยร์ ้องเลียนเสียงสัตวต์ ่าง ๆ เพื่อจุด ประสงคใ์ นการล่า ทาํ ให้นักล่าสัตวเ์ หล่าน้ัน
เรียนรู้ท่ีจะทาํ เสียงจากการเป่ าหรือผิวเขาสัตว์ หรือ ปลอ้ งไมไ้ ผ่ เกิดเป็ นนกหวีดอยา่ งง่าย ๆ ข้ึน เพื่อเลียน
เสียงนกร้อง ซ่ึงถือไดว้ า่ เป็นเคร่ืองดนตรี ชนิดแรกของมนุษย์
เม่ือวิถีชีวิตของมนุษยพ์ ฒั นาข้ึน ดนตรีก็ถูกนาํ มาประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิต ไดแ้ ก่ ใชก้ ล่อม
เด็กให้นอนหลบั ดว้ ยเพลงท่ีสงบและอ่อนโยน นาํ มาประกอบการทาํ งานเช่น มีการร้องรําทาํ เพลงขณะเก็บ
เกี่ยวพืชผล นาํ มาใชใ้ นการส่ือสาร เช่น เพื่อเตือนภยั เพ่ือบอก เวลา เกี่ยวกบั กิจกรรมทางทหารดว้ ยสัญญาณ
จากแตร นาํ มาประกอบการแข่งขนั กีฬา นาํ มาใช้ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เช่นเพลงสวด และเพ่ือการ
พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ จะเห็นไดว้ า่ มีการนาํ ดนตรีมาใชเ้ พื่อการดาํ รงชีวติ ในรูปแบบที่แตกต่างกนั ออกไป
ดนตรี คือเสียงต่าง ๆ ที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษยไ์ ดน้ าํ มาปรุงแต่งใหม้ ีจงั หวะ ทาํ นอง และเน้ือหา
สาระ (ดุษฎี พนมยงค์ บุญทศั นกุล, 2539, หนา้ 3) ดนตรีเป็ นศาสตร์ แขนงหน่ึงท่ีแสดงออกถึงสุนทรียภาพ
(esthetics) ซ่ึงเป็ นความงามที่ไม่สามารถมองเห็นไดด้ ว้ ย ตา แต่เป็ นความงามท่ีมองเห็นดว้ ยจิตใจและพลงั
ความนึกคิด นอกจากน้นั พิชยั ปรัชญานุสรณ์ (2534 อา้ งถึงใน พิมพา ม่วงศิริธรรม, 2538) ไดก้ ล่าววา่ ดนตรี
มีความสัมพนั ธ์กบั มนุษยต์ ้งั แต่ เริ่มมีมนุษยชาติแลว้ ไม่วา่ จะเป็นจงั หวะชีพจรการเตน้ ของหวั ใจ หรือแมแ้ ต่
ลมหายใจของมนุษย์ ลว้ นแลว้ แต่มีจงั หวะที่เราสังเกตได้ เสียงต่าง ๆ ในส่ิงแวดลอ้ มของมนุษยเ์ ป็ นส่ิงเร้า
สําคญั ท่ีก่อให้เกิดการพฒั นา และการเรียนรู้ข้ึน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเสียงดนตรีน้ันจะให้คุณค่ามาก เพราะ
ไดร้ ับการจดั ระเบียบของเสียงไว้ จึงทาํ ให้เกิดความอบอุ่น ความมน่ั คงทางจิตใจ ไดส้ ูงกว่าเสียง ที่เกิดข้ึน
อยา่ งขาดระเบียบ หรือท่ีเรียกวา่ เสียงรบกวน ดนตรีเป็นงานศิลปะที่มนุษยส์ ร้างข้ึนโดย อาศยั เสียงเป็นส่ือใน
การถ่ายทอดความรู้สึกของศิลปิ น เสียงดนตรีเป็ นเสียงที่มีความงามมา เรียบเรียงอย่างมีศิลปะข้ึนเป็ นบท
เพลง ความแตกต่างระหว่างเสียงดนตรีกบั เสียงอื่น ๆ คือเสียง ดนตรีเป็นเสียงที่ประดิษฐ์ข้ึนโดยอาศยั ความ
งดงามของเสียง ศิลปิ นผูส้ ร้างเสียงไดส้ อดแทรก อารมณ์ลงไปในเสียง เพื่อให้เสียงมีความรู้สึกทางศิลปะ
ส่วนเสียงอื่น ๆ ท่ีไม่ใช่เสียงดนตรีเป็ น เพียงเสียงที่ขาดคุณสมบตั ิทางศิลปะ กล่าวคือขาดความรู้สึกทาง
ศิลปะในเสียง ขาดวญิ ญาณ ศิลปิ นในเสียงนน่ั เอง (สุกรี เจริญสุข, 2532 หนา้ 8)
2.3 วรรณคดี
วรรณคดี ตามตัวอักษรหมายความว่า “แนวทางแห่งหนังสือ” คําว่าวรรณคดีเป็ น คําสมาส
ประกอบด้วยคาํ ว่า “วรรณ " จาก ศพั ท์สัน วรณ แปลว่าหนังสือ กับคาํ ว่า "คดี” จากรากศพั ท์บาลี “คติ”
แปลวา่ การดาํ เนินการไป ความเป็นไปแบบอยา่ งทางลกั ษณะ
ความหมายของวรรณคดี เป็ นที่เข้าใจกันก็คือ “หนังสือท่ีได้รับการยอกย่องว่าแต่งดีและ มี
ความหมายตามท่ีภาษาองั กฤษ Literature หนงั สือท่ีแต่งดี ไดแ้ ก่ บทประพนั ธ์ทุกชนิดท่ีผแู้ ต่งมี วิธีท่ีดีมีศิลปะ
ก่อให้เกิดความประทบั ใจแก่ผูอ้ ่าน สร้างความสนุกเพลิดเพลินแก่ผูอ้ ่าน ทาํ ให้ ผูอ้ ่านมีมโนภาพไปตาม
21
จินตนาการของผูแ้ ต่ง เร้าให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ และบางคร้ังผูแ้ ต่งจะ สอดแทรกความรู้และทศั นคติ แต่
มิไดม้ ีจุดมุ่งหมายให้ความรู้ ปรัชญา ศีลธรรมหรือเร่ืองราว ชีวิตโดยตรง ท้งั น้ีเพราะวรรณคดีไม่ไดม้ ุ่งสอน
ความรู้เป็ นสําคญั อีกท้งั วรรณคดียงั เป็ นที่รวม ความรู้สึกนึกคิด ความรอบรู้ ความฉลาดและสติปัญญาอนั
ลึกซ้ึง
ในมาตรา 8 แห่งพระราชกฤษฎีกาทางวรรณคดีสโมสร ลงวนั ท่ี 23 กรกฎาคม 2458 กล่าวถึงลกั ษณะ
ของวรรณคดีไวว้ า่
1. เป็ นหนงั สือ กล่าวคือ เป็ นเรื่องท่ีสมควรซ่ึงสาธารณชนจะไดอ้ ่าน โดยไม่เสีย ประโยชน์คือไม่
เป็ นเร่ืองทุภาษิต หรือเป็ นเร่ืองชกั จูงผูอ้ ่านไปในทางไม่เป็ นแก่นสาร หรือ ซ่ึงจะ ชวนให้คิดวุ่นวายในทาง
การเมือง อนั เป็นเรื่องราํ คาญแก่รัฐบาลสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ดงั น้ีเป็นตน้
2. เป็นหนงั สือแต่ง วิ เรียบเรียงอยา่ งไรก็ตาม แต่ตอ้ งเป็นภาษาไทยอนั ดี ถูกตอ้ งตามเยย่ี งอยา่ งท่ีใช้
ในโบราณกาลหรือปรัตยบุ นั กาลกไ็ ด้ ไม่ใชภ้ าษาเลียน ภาษาต่างประเทศ
พระยาอนุมานราชธน (2541:4) กล่าวถึงวรรณคดีว่า วรรณคดีคือการแสดง ความคิดออกมาโดย
เขียนไวเ้ ป็นหนงั สือ ขอ้ เขียนหรือบทประพนั ธ์ “ไม่วา่ ดว้ ยภาษาใด ๆ เร่ืองใดๆ ยกเวน้ เรื่องวทิ ยาศาสตร์” บท
พรรณนาโวหาร หรือขอ้ เขียนซ่ึงมีโวหารเพราะพริ้ง มีลกั ษณะเด่นใน เชิงประพนั ธ์ ตวั ละครในเรื่อง ฯลฯ
นอกจากน้นั วรรณคดีตอ้ งใชภ้ าษาไทยเลือกเฟ้นอยา่ งประณีต มีคุณค่าหลายประกนั อ่านแลว้ ติดใจนาภิรมย์
ไม่รู้สึกเบื่อ เป็นหนงั สือท่ีมีพฒั นาการทางอารมณ์สูง
สิทธา พินิจภูวดล (2515:5-6) กล่าวถึงวรรณคดีวา่ วรรณคดีเป็นคาํ ที่ใชใ้ นปัจจุบนั เราเทียบกบั คาํ วา่
“Literature” ในภาษาองั กฤษ หมายถึง บทประพนั ธท์ ุกชนิดที่ผแู้ ต่งมีวธิ ีเขียนอยา่ ง ดี มีศิลปะ ก่อใหเ้ กิดความ
ประทบั ใจแก่ผูอ้ ่าน สร้างความสนุกสนานเพลิดเพลินแก่ผูอ้ ่าน เพ่ือให้ ผูอ้ ่าน มโนภาพไปตามจินตนาการ
ของผูเ้ ร่ืองต่าง ๆ ลงไปในทางของตนดว้ ย แต่ง เร้าให้เกิด อารมณ์สะเทือนใจไปตามความรู้สึกของผูแ้ ต่ง
บางคร้ังผแู้ ต่งจะสอดแทรกความรู้และทศั นคติ
วิทย์ ศิวะศรียานนท์ (2519:5) กล่าวถึงวรรณคดีว่า บทประพนั ธ์ที่มุ่งให้เกิด ความเพลิดเพลิน เกิด
ความนึกคิดต่าง ๆ แก่ผเู้ รียน นอกจากน้นั บทประพนั ธ์ท่ีเป็นวรรณคดีตอ้ งมีรูป ศิลปะ และรูปศิลปะน่ีเองทาํ
ใหว้ รรณคดีเกิดความงาม
2.3.1 ขนุ ชา้ งขนุ แผน
ขนุ ชา้ งขนุ แผน เป็นวรรณคดีนิทาน แต่งเป็นกลอนเสภา สันนิษฐานว่าน่าจะได้ ใชข้ บั เล่าเรื่องดว้ ย
ทาํ นองร้องต่าง ๆ โดยใชก้ รับเป็นเครื่องประกรอบจงั หวะมาแต่คร้ังกรุงศรีอยธุ ยา ในกฎหมายตราสามดวงมี
ขอ้ ความระบุถึงพระราชานุกิจวา่ “หกทุ่มเบิกเสภาดนตรี " แสดงวา่ การ เล่าเร่ืองดว้ ยการขบั ร้องมีมานานแลว้
ดนตรีที่ใชป้ ระกอบการขบั น้นั กน็ ่าจะเป็นเครื่องดนตรีเก่าแก่ ด้งั เดิมท่ีแพร่มาแต่อินเดีย หรือตะวนั ออกกลาง
พร้อม ๆ กบั การเลา่ นิทานเรื่องรามเกียรต์ิ
เน้ือเร่ืองขุนชา้ งขุนแผนแปลกกว่านิทานพ้ืนบา้ นทว่ั ไป เนื่องจากเป็ นเร่ืองรักสามเส้าแบบสมจริง
ของคนธรรมดา สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพทรง สันนิษฐานว่าน่าจะเป็ นเร่ือง
22
ของคนที่มีชีวิตอยจู่ ริง ในราวสมยั พระรามาธิบดีท่ี 2 แต่มีผูน้ าํ มาเล่า สืบกนั มาอยา่ งนิยายและเป็นท่ีนิยมกนั
แพร่หลายจนกระทงั่ ถึงกรุงรัตนโกสินทร์
สมยั รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั โปรดเกลา้ ฯ ใหก้ หลายท่าน ช่วยกนั แต่งต่อเติม
ข้ึนเป็ นฉบบั หลวง และทรงพระราชนิพนธ์เองบางตอน เช่น ตอนพลายแกว้ เป็ นชู้ - กบั นางพิมถึงตอน
แต่งงาน ขุนแผนข้ึนเรือนขุนชา้ งถึงเขา้ ห้องนางแกว้ กิริยา นางวนั ทองทะเลาะกบั สาวทอง และเท่าท่ีรู้จาก
ตาํ นานหรือสันนิษฐานไดจ้ ากสํานวน บางตอนโปรดเกลา้ ฯ ให้ผูอ้ ื่นแต่ง เช่น พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลา้
เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชนิพนธ์ดอนขนุ ชา้ งบอนางพิม และขนุ แผน พานางวนั ทองหนี ส่วนสุนทรภู่แต่งตอน
กาํ เนิดพลายงาม เป็นตน้
ในระยะเดียวกนั น้นั กวีเชลยศกั ด์ิก็แต่งและขบั เสภาเร่ืองขุนช้างขุนแผนเป็ น มหรสพชาวบา้ นกนั
ทว่ั ไป แต่มกั มิไดจ้ ดฉบบั ลงไวเ้ ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรอยา่ งฉบบั หลวงเสภาเรื่อง ขุนชา้ งขุนแผนฉบบั หลวง
เผยแพร่เป็ นฉบบั พิมพค์ ร้ังแรกในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว โดยโรงพิมพห์ มอสมท
นาํ มาพิมพข์ ายใน พ.ศ. 2415 ยงั มีขาดตกบกพร่องอยมู่ าก กรรมการหอพระสมุดวชิรญาณ มีสมเด็จ กรมพระ
ยาดาํ รงราชานุภาพและกรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา ร่วมกนั ทรงชาํ ระสอบทานตน้ ฉบบั เสภาท้งั ของเก่า ฉบบั
ของหลวงคร้ังรัชกาลท่ี 2 และรัชกาลที่ 3 และฉบบั เชลยศกั ด์ิ เช่น สาํ นวนครูแจง้ เลือกสรรแต่ท่ีดีเลิศในดา้ น
ต่าง ๆ ท้งั โวหารและความ ต่อเน่ืองแต่ตน้ เร่ืองจนถึงตอนพลายชุมพลปราบเลนขวาด แลว้ จึงทรงจดั พมิ พข์ ้ึน
เป็ นฉบบั สมบูรณ์ ของหอพระสมุด ใน พ.ศ. 2460 เป็ นคร้ังแรกและนบั แต่น้นั มาก็ถือว่าเป็ นฉบบั หลกั ที่ใช้
อา้ งอิงใน การวิเคราะห์วิจารณ์ตลอดจนเป็ นฐานสําหรับปรับปรุงเป็นบทในการแสดงเสภา และละครแบบ
ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนตามมาในสมยั หลงั
ลกั ษณะท่ีวรรณคดีไทยไดร้ ับการยกย่องซ่ึงกล่าวถึงในหนงั สือต่างๆ น้นั เป็ นเรื่อง ของบทกลอนดี
ใชศ้ พั ทส์ าํ นวนถูกตอ้ ง และแสดงประเพณีใหค้ นรุ่นหลงั เขา้ ใจ ซ่ึงเป็นเร่ืองของศิลปะการแต่งหรือวรรณศิลป์
มากกวา่ ดา้ นเน้ือหาและปรัชญา
หากพิจารณาจากความนิยมประชาชนทวั่ ไป วรรณคดีเร่ืองท่ีเป็นที่รู้จกั คนมาก ทว่ั ไปไดแ้ ก่ ขนุ ชา้ ง
ขนุ แผน อิเหนา รามเกียรต์ิ และพระอภยั มณี แต่ในหมู่คนที่มีความพิถีพิถนั ใน ระบวนการกลอนกลอนหรือ
กระบวนการประพนั ธ์ จะกล่าววา่ พระอภยั มณีมีความงามเทียบอิเหนา หรือขนุ ชา้ งไม่ได้
ท้งั ยงั มองว่าละครว่า ขุนชา้ งขุนแผนเป็ นเรื่องที่มีความยอดเย่ียมที่สุด เพราะอิเหนาเป็ น วรรณคดี
กล่าวถึงแต่กษตั ริยแ์ ละตวั ละครมีแต่คนสวยท้งั น้ัน ส่วนพระอภยั มณีน้ันตวั ละครไม่ไดเ้ ป็ นที่ประทบั ใจ
ผอู้ ่านเท่าใดเมื่อเทียบกบั อิเหนาแต่ขนุ ชา้ งขนุ แผนน้นั มีครบหมดจึงถือเป็นวรรณคดี “สจั นิยม" ท้งั ตวั ละครท่ี
เป็นที่รู้จกั และจดของของผคู้ น กระบวนกลอนกไ็ พเราะหลายตอน
ความนิยมของประชาชนรุ่นเก่าในวรรณคดีเรื่องใดน้นั จะดูไดอ้ ีกประการหน่ึงคือ สงั เกตจากบทที่ใช้
ร้องกับเครื่องสายและมโนรี จะเห็นได้ว่ามาจากเสภาขุนช้างขุนแผนและอิเหนาเสียประมาณเก้าสิบ
เปอร์เซ็นต์
23
เสภาขนุ ชา้ งขนุ แผนประกอบดว้ ยสาํ นวนกลอน 3 สมยั คือ สมยั กรุงศรีอยธุ ยา, สมยั รัชกาลท่ี 2 สมยั
รัชกาลท่ี 3 การท่ีจะทราบไดว้ า่ สาํ นวนใดเป็นของผใู้ ดแต่งตอ้ งอาศยั การสันนิษฐานเป็นส่วนใหญ่ มีจาํ นวน
ท้งั หมด 43 ตอน
2.3.2พระอภยั มณี
จุดมุ่งหมายในการแต่ง
สมเด็จพระบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่าสุนทรภู่คิดแต่ง หนงั สือข้ึน
เพ่ือเล้ียงตวั ในเวลาติดคุกพระพทุ ธศาสนา และคงจะแต่งทีละเล่มสองเล่มเร่ือยมาเพราะ เป็นหนงั สือเล่มยาว
ต่อมาสุนทรภู่ไปพ่ึงพระบารมีของพระองคเ์ จา้ ลกั ษณานุคุณ (พระเจา้ ลูกยาเธอ ในพระบาทสมเด็จพระนง่ั
เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ) พระองคไ์ ดท้ อดพระเนตรเห็นหนงั สือเรื่องพระอภยั มณี จึงมีรับส่ังให้แต่งถวายอีก สุนทรภู่
จึงแต่งเรื่องพระอภยั มณีอีกตอนหน่ึง แต่ไปคา้ งอยเู่ พยี งใดไม่ ปรากฏเพราะสุนทรภูพ่ ่ึงพระบารมีพระองคเ์ จา้
ลกั ษณานุคุณอยไู่ ดป้ ระมาณ พ.ศ. 2375 พระองคเ์ จา้ ลกั ษณานุคุณสิ้นพระชนมแ์ ละต่อมากรมหม่ืนอปั สรสุดา
เทพ (พระพ่ีนางของพระองคเ์ จา้ ลกั ษณา คุณพระเจา้ ลูกยาเธอในพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ) ทรง
พระเมตตาสุนทรภู่มากอีก พระองคห์ น่ึง เหตุท่ีทรงอปุ การะสุนทรภู่น้นั กลา่ วกนั วา่ หนงั สือเรื่องพระอภยั มณี
เป็นท่ีพอ พระหฤทยั ทรงเห็นวา่ เรื่องแต่งไวย้ งั คา้ งอยจู่ ึงมีรับสง่ั ใหแ้ ต่งถวายต่อไป สุนทรภู่แต่งเรื่อง พระอภยั
มณีมาได้ 49 เล่มสมุดไทยจะจบเรื่องในตอนพระอภยั มณีออกบวช แต่กรมหม่ืนอปั สรสุดา เทพมีรับส่ังให้
แต่งต่อไปอีก ดว้ ยเหตุน้ีสุนทรภู่จึงตอ้ งคิดเรื่องพระอภยั มณี (สมเด็จพระบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดาํ ารงรา
ชานุภาพ, 2513, 38)
จากขอ้ ความดงั กล่าวจะเห็นไดว้ า่ เรื่องพระอภยั มณี สุนทรภู่แต่งข้ึน โดยมี จุดมุ่งหมายในการแต่งอยู่
2 ประการคือ 1) แต่งเพื่อขายหาเล้ียงชีพตนในยามที่ตกทุกข์ไดย้ าก 2) แต่งถวายเจา้ นายท่ีอุปการะ ไดแ้ ก่
พระองค์เจา้ ลกั ษณานุคุณ และพระเจา้ ลูกยาเธอกรมหม่ืนอปั สร สุดาเทพ ส่วนตอนใดจะแต่งเพ่ือเล้ียงชีพ
หรือตอนไดแต่งเพอ่ื ถวายเจา้ นายน้นั ไม่มีหลกั ฐานแน่ชดั
ท่ีมาของเรื่องพระอภยั มณี จากการศึกษาเรื่องที่มาของพระอภยั มณีสามารถสรุปสาระสาํ คญั เกี่ยวกบั
ที่มาของวรรณคดี
ประจกั ษ์ ประภาพิทยากร (2529, 49) กล่าวว่า “สุนทรภู่เริ่มแต่งพระอภยั มณีเม่ือคร้ัง ตอ้ งโทษใน
รัชกาลท่ี 2 เพราะดื่มสุราแลว้ ทะเลาะกบั ญาติผใู้ หญ่ สุนทรภู่จึงแต่งเร่ืองพระอภยั มณีข้ึน เพ่ือตอ้ งการขายเอา
เงิน แลว้ ยงั มีความประสงคท์ ี่จะหวงั ในพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทาน อภยั โทษจึงให้ตวั เองและใชช้ ่ือ
หนงั สือว่า "พระอภยั มณี” มีคาํ ว่า “อภยั ” ก็เพราะตอ้ งการ พระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้
นภาลยั เร่ืองน้ีจะจริงหรือเทจ็ อยา่ งไรไม่ทราบได้ เป็นเรื่องเล่ามาไม่ทราบแหล่งที่มา
จากขอ้ ความดงั กล่าวจะเห็นไดว้ า่ เป็นจริงไดเ้ พราะท่านผรู้ ู้ส่วนมากลงความเห็นวา่ สุนทร แต่งพระ
อภยั มณีในคุก ดงั น้นั เมื่อสุนทรภู่แต่งพระอภยั มณีในคุกใหม่ ๆ น้นั คงจะยงั ไม่ไดร้ ับพระราชทานอภยั โทษ
ทนั ที
24
ส่วน เจือ สตะเวทิน (2501, 114) กล่าวว่า “สุนทรภู่ต้งั ช่ือเร่ืองพระอภยั มณีจากเหตุท่ี สมเด็จฯ กรม
พระปรมานุชิตชิโนรสทรงใหอ้ ภยั สุนทรภู่คือ สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรสทรงถือวา่ สุนทรภู่เป็นกวี
เมื่อจะเขา้ เฝ้าพระองคเ์ มื่อใดกท็ รงอนุญาตเสมอ สุนทรภูจ่ ึงใหช้ ื่อผลงานน้ี วา่ พระอภยั มณี”
สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ (อา้ งใน ทศพร วงศร์ ัตน์, 2550, 3) กล่าววา่
“เร่ืองพระอภยั มณี สุนทรภู่ต้งั ใจแต่งโดยประณีตท้งั ตวั เรื่อง ถอ้ ยคาํ และสํานวนส่วนตวั เรื่องน้ันพยายาม
ตรวจตราหาเรื่องราวท่ีปรากฏอยใู่ นหนงั สือต่าง ๆ บา้ ง เร่ืองท่ีรู้โดยผอู้ ่ืนบอกเล่า บา้ ง เอามาตริตรองเลือกคดั
ประดิษฐ์แต่งต่อ ประกอบกบั ความคิดของสุนทรภู่เอง เช่น เรื่องอาหรับ ราตรี ซ่ึงสมเด็จพระพุทธเจา้ หลวง
ทรงพบน้นั มีหลายแห่งเป็นตน้ วา่ ท่ีสุนทรภู่คิดใหพ้ ระอภยั มณี ชาํ นาญในการเป่ าป่ี ซ่ึงแปลกใจจากวีรบุรุษ
ในหนังสือเร่ืองอ่ืน ๆ น้นั ก็มีเคา้ มูลอยู่ในหนังสือ พงศาวดารจีนเร่ืองไซ่ฮน่ั " และ "ท่ีสุนทรภู่แต่งหนงั สือ
เรื่องพระอภยั มณีท่านบอกไวอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ เป็นเรื่องแต่งเล่นคือ มิไดม้ ีประสงคท์ ี่จะใหใ้ ครเชื่อวา่ เป็นความ
จริงอยา่ งในพงศาวดาร
สรุปไดว้ า่ สุนทรภู่น่าจะสร้างงานจากความรู้ทางประวตั ิศาสตร์เรื่องในสมุดภาพ ไตรภูมิ เหตุการณ์
บา้ นเมือง และคนแวดลอ้ มส่วนใหญใ่ นกรุงเทพฯ ในสมยั น้นั ตลอดจนความรู้รอบตวั ของตนมาแต่งเป็นเรื่อง
พระอภยั มณี
2.4 สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมในความหมายที่เป็ นศาสตร์ของสถาปัตยกรรม หรือท่ีเป็ นสาขาวิชาที่เรียกกนั ว่า
“สถาปัตยกรรมศาสตร์” น้นั เป็นสหวทิ ยาการในตวั เอง ท่ีรวมหลากหลายสาขาวิชาไวด้ ว้ ยกนั (complexes of
multidisciplines) (วิมลสิทธ์ิ หรยางกูร, 2541 ก : 1 และ 2541 ข : 104 ) โดยมีแกนวิชาหลกั ของศาสตร์เองที่
คลอบคลุม แต่ไม่ชดั เจน แมว้ ่าแต่เดิมเคยเขา้ ใจวา่ การออกแบบ ทางดา้ นทศั นศิลป์ เป็ นหวั ใจของสาขาวิชา
สถาปัตยกรรม แต่ปัจจุบนั การออกแบบมีสาระทาง วิชาการที่คลอบคลุมทุกแขนงวิชาที่เกี่ยวขอ้ งไม่มากก็
น้อย ในทาํ นอง “ไมจ้ ิ้มฟันยนั เรือรบ” สาขา วิชาสถาปัตยกรรมย่อมไม่ใช่ส่วนหน่ึงของสาขาวิชาปรัชญา
ไม่ใช่เป็ นเพียงศาสตร์หน่ึงในดา้ น มนุษยศาสตร์ หรือในดา้ นวิศวกรรมศาสตร์หรือเป็ นศาสตร์ทางดา้ น
เทคโนโลยี อย่างใดอยา่ งหน่ึง อย่างแน่นอน แต่เป็ นศาสตร์ท่ีเป็ นสหวิทยาการในตวั เอง ที่ไม่มีทฤษฎีหรือ
หลกั วิชาของตวั เองที่ ชัดเจนอย่างท่ีปรากฏในสาขาวิชาอื่น ๆ แต่อาศยั หลกั ทฤษฎีจากสาขาวิชาอ่ืน ๆ ที่
เก่ียวขอ้ ง
3 สาขาการช่างฝี มือ
งานช่างฝี มือ หมายถึง ภูมิปัญญา ทกั ษะฝี มือของช่าง การเลือกใชว้ สั ดุ และกลวิธีการสร้างสรรคท์ ี่
แสดงถึงอตั ลกั ษณ์ เพื่อสะทอ้ นพฒั นาการทางสังคม และวฒั นธรรมของกลุ่มชน โดยสาขาช่างฝี มือจะ
ประกอบไปดว้ ย การเย็บปักถกั ร้อย การแกะสลกั การทอผา้ การจกั สาน การทาํ ตุ๊กตา การทอเสื่อ การ
ประดิษฐ์ การทาํ เคร่ืองป้ันดินเผา เป็นตน้ (ศูนยว์ ฒั นธรรมเฉลิมราช, 2557 ซ่ึงสาขาช่างฝีมือ สามารถจาํ แนก
ประเภทยอ่ ยได้ ดงั ต่อไปน้ี
3.1 การเจียระไน
25
เจียระไนพลอย หมายถึง การนาํ พลอยท่ีผ่านการแต่งพลอยแลว้ นาํ มาติดบนไมท้ วน เพ่ือทาํ การ
เจียระไนพลอยใหเ้ ป็นเหลี่ยมมุมต่าง ๆ และข้ึนเงามีความวาวสวยงามจนกลายเป็นพลอยสาํ เร็จ
ส่วนอุตสาหกรรมอญั มณีและเคร่ืองประดบั สาํ นกั งานพฒั นาอุตสา หกรรมรายสาขากรมส่งเสริม
อุตสาหกรรม (2549) กล่าววา่ ประเทศไทยเป็นแหล่งพลอยสีที่สาํ คญั ของโลก ไม่วา่ พลอยสีจะมีแหล่งกาํ เนิด
จากท่ีใดกจ็ ะมารวมอยทู่ ี่ประเทศไทย เพอื่ ทาํ การเจียระไนจนกลายเป็นพลอยสาํ เร็จ เสียก่อน แลว้ จึงนาํ ไปเขา้
กบั ตวั เรือนเครื่องประดบั ท่ีสามารถสร้างมูลคา่ ไดม้ หาศาล หรือขายเป็น พลอยสาํ เร็จท่ียงั ไม่เขา้ ตวั เรือน ท้งั น้ี
เพราะวา่ ประเทศไทยเป็นแหล่งที่มีช่างเจียระไนพลอยที่มี ความสามารถ และมีเทคนิคการเจียระไนช้นั เลิศ
แหล่งชุดพลอยท่ีสาํ คญั ในประเทศไทย ไดแ้ ก่ จงั หวดั จนั ทบุรี ตราด และกาญจนบุรี นอกจากน้นั ยงั
มีการขุดพบในอีกหลายจังหวดั เช่น จังหวดั แพร่ ศรีสะเกษ และสุโขทัย และยงั มี พลอยท่ีขุดพบจาก
ต่างประเทศในเอเชียและแอฟริกา ไดแ้ ก่ กมั พูชา เวียดนาม ลาว พม่า อินเดีย แทน ชาเนีย มาดากสั การ์
ไนจีเรีย โมซมั บิก เป็นตน้
ช่างเจียระไนพลอยถือไดว้ ่าเป็ นบุคคลสําคญั เนื่องจากเป็ นผูท้ ี่เจียระไนพลอยกอ้ นให้เป็ น พลอย
เจียระไนท่ีสามารถเพิม่ มูลคา่ ใหก้ บั พลอยไดม้ าก
4. สาขาคหกรรมศาสตร์
สาขาคหกรรม หมายถึง เป็นวชิ าทีวด่ ว้ ยการ ใชก้ ารพฒั นา และการจดั การทรัพยากรมนุษย์ และวตั ถุ
เพอ่ื ประ โยชนส์ ุดของบุคคล ครอบครัว สถาบนั และชุมชนทว่ั ไป ท้งั ปัจจุบนั และอนาคต รวมท้งั การศึกษา
วิจยั ในทางวิทยาศาสตร์ และศิลปะในแง่ต่าง ๆ ของชีวิต ครอบครัว ซ่ึงเกี่ยวพนั กบั ส่ิงแวดลอ้ มทางกาย ใจ
เศรษฐกิจ และสังคม โดยสาขาคหกรรมจะประกอบไปดว้ ย เร่ืองอาหาร การแต่งกาย การตกแต่งบา้ น การ
รักษาโรค การดูแลเดก็ ครอบครัว มารยาทในการกิน การตอ้ นรับแขก การประกอบอาชีพ เป็นตน้ (มณี โกสุ
มาศ. 2537) ซ่ึงสาขาคหกรรม สามารถจาํ แนกประเภทยอ่ ยได้ ดงั ต่อไปน้ี
4.1 การแต่งกาย
การแต่งกาย หมายถึง การตกแต่งร่างกายดว้ ยเส้ือผา้ และเครื่องประดบั ทุกอยา่ งต้งั แต่ศีรษะจรดเทา้
หากรู้จกั เลือกเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมกบั ตนเอง จะทาํ ใหม้ ีบุคคลมีบุคลิกภาพที่ดี นอกจากตอ้ งแต่งกายให้
เหมาะสมกบั ตนเองแลว้ ตอ้ งเหมาะสมกบั กาละ คือเหมาะสมกบั เวลากลางวนั กลางคืน งานโอกาสต่าง ๆ
และเหมาะสมกับเทศะคือเหมาะสมกับสถานที่ เช่น สถานท่ีราชการ โรงเรียน สถานที่ท่องเที่ยว โรง
ภาพยนตร์ หา้ งสรรพสินคา้ เป็นตน้
(สื บ ค้น เ ม่ื อ 20 มี น า ค ม 2565 จ า ก https://sites.google.com/site/kruneethongkum/hnwy-thi-
4?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1)
5 สาขากฬี าและนันทนาการ
วฒั นธรรมสาขากีฬาและนนั ทนาการวา่ ดว้ ยเร่ืองการละเล่น เช่น มวยไทย ฟันดาบ กระบ่ี กระบอง
ฯลฯ (ประภาศรี สีหอาํ ไพ, 2538, น.3) กีฬาและนนั ทนาการ เป็ นการละเล่นท่ีให้ความสนูกสนานแก่คนใน
กลุ่มชน เป็ นกิจกรมผ่อนคลายท่ีสร้างเสริมสุขภาพท้งั ร่างกายและจิตใจ อีกท้งั ยงั ทาํ ให้เกิดความสามคั คีใน
26
หมู่คณะ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2554 (ราชบณั ฑิตยส์ ถาน,2556, น.132) ,ไดใ้ หค้ วามหมาย
ของกีฬาวา่ กิจกรรมหรือการเล่นที่มีกฎกติกากาํ หนด เพ่ือความสนุกเพลิดเพลินผอ่ นคลายความเครียด หรือ
เสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง และอาจใช้เป็ นการแข่งขนั เพื่อความเป็ นเลิศ และได้ให้ความหมายของ
นนั ทนาการว่า กิจกรรมท่ีทาํ ตามสมคั รใจในยามว่าง เพ่ือให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและผอ่ นคลาย
ความตึงเครียด (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2556 ,น.616) ในปัจจุบนั กีฬาบางชนิดไม่ไดเ้ ป็ นกิจกรรมท่ีมุ่งเอาชนะ
เพียงเท่าน้ัน หากแต่ใช้เป็ นกิจกรรมยามว่างเพื่อผ่อนคลาย ซ่ึงสาขากีฬาและนันทนาการ สามารถจาํ แนก
ประเภทยอ่ ยได้ ดงั ต่อไปน้ี
5.1 การยงิ ธนู
เน่ืองจากในปัจจุบนั กีฬายิงธนูได้เป็ นท่ีนิยมเล่นอย่างแพร่หลายท้ังในระดบั นักเรียนนักศึกษา
ตลอดจนประชาชนทวั่ ไป เริ่มมีการแข่งขนั มากข้ึนแต่การเล่นและการแข่งขนั น้นั มีวตั ถุประสงค์ ที่ต่างกนั
ออกไป เช่น เพอ่ื การนนั ทนาการหรือเพอ่ื ความเป็นเลิศ ดงั น้นั การมีหลกั โปรแกรมฝึกที่ดี เป็นส่วนหน่ึงท่ีจะ
เขา้ มาช่วยในการพฒั นาความสามารถของนกั กีฬาใหม้ ีสมรรถภาพทางกายและจิตใจ
ยิงธนูเป็ นกีฬาท่ีตอ้ งอาศยั ทกั ษะการฝึ กกลา้ มเน้ือซ้ําๆ จนร่างกายเคยชินกบั การยิงในท่าทาง ท่ี
เหมือนกนั ทุกคร้ังในการยิงเพ่ือให้เกิดความแม่นยาํ การที่นกั กีฬาจะสามารถปฏิบตั ิไดเ้ หมือนกนั ทุกคร้ัง
จาํ เป็นจะตอ้ งมีสติ สมาธิ ยง่ิ ในการแข่งขนั ท่ีใชร้ ะยะเวลานาน 3-4 ชว่ั โมงติดต่อกนั และ ต่อเน่ืองหลายวนั ทาํ
ใหน้ กั กีฬาตอ้ งใชส้ มาธิในการอยกู่ บั การแขง่ ขนั เป็นเวลานาน
ความรู้เกย่ี วกบั บอนสี
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
บุญนาค สีสด ( 2544: 6-7) กล่าวถึงลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ของบอน ไวด้ งั น้ี บอนเป็นพืชลมั ลุก
ท่ีมีถ่ินทาํ เนิดในเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาใตแ้ ถบบราซิล ลาํ ตน้ มีลกั ษณะเป็นหวั หรือเป็นเหงา้ อยใู่ ตด้ ิน มี
ท้านงอกจากหัวซูใบเหนือพ้ืนดิน ก้านบอนมีลักษณะอวบน้ํา ใบเป็ นรูปหัวใจหรือรูปทีบเท้าสัตว์ รูป
สามเหลี่ยมหรือกลมมนคลา้ ยกบั ใบบวั กม็ ี พืชท่ีจดั อยใู่ นตระกลู บอน มีมากมายหลายชนิด ส่วนมากพบในบาํ
ดงดิบ บาํ ที่มีความชุ่มช้ืนสูง เช่นบริเวณกาคใตข้ องประเทศไทย พืชจาํ พวกเป็นว่านก็มี ใชเ้ ป็นอาหารไดก้ ็มี
เช่นเดียวกนั พืชระกูลบอน (ARACEAC) ที่จดั เป็ นว่านก็ไดแ้ ก่ ว่านเสน่ห์จนั ทร์ขาว จนั ทร์แดง จนั ทร์เขียว
จนั ทร์ดาํ อุตพิษ บุก กระทิงเพาะ นางกวกั ใบโพธ์ิเเกว้ หนา้ มา้ พญาจงอาง กระดาษขาว สบู่เลือดบอนเผือกที่
เราใชห้ วั เป็นอาหารกจ็ ดั อยใู่ นตระกลู ท้งั สิ้น
ลกั ษณะของพชื ที่จดั อยใู่ นจาํ พวกบอน (ARACEAC)
วงศบ์ อน ARACEAC (ARUM FAMILY)
ลกั ษณะ เป็นพชื ลมั ลุกมียางใส กดั ทาํ ใหค้ นั มาก หวั แขง็ หรือเป็นเหงา้
27
ใบ งอกจากหัวท่ีโคนตนั หรือจากลาํ ตน้ มีใบเดี่ยวหรือใบรวมก็มี กา้ นยาว ใบกวา้ ง เส้นใบ
ประสานเป็ นร่ างแห
ช่อดอก เป็นดอกชนิดรวมเป็นแท่ง (SPADIX) และมีกาบหุม้ (SPATHE)
ดอก มีท้ังสองเพศหรือเพศเดียว สําหรับบอนสี (FANCY LEAF CALADIUM) มีสองเพศใน
ดอกเดียวกนั เมื่อดอกบานบางชนิดมีกล่ินเหม็นไม่ชวนดม ดอกบอนสีมีกล่ินหอมรุนแรง
มาก บานในเวลากลางคืนระหวา่ ง 20.00 น.
กลีบดอก ในดอกท่ีมีเพศเดียวไม่มีกลีบดอก
ผล มีเน้ือน่ิม มีเมลด็ ต้งั แต่ 1 ถึงจาํ นวนมาก
ระยะพกั ของเมลด็ ใชร้ ะยะเวลาประมาณ 45 วนั หลงั จากเมลด็ สุกเตม็ ที่และร่วง
การจําเเนกบอนสี
ประมวล โกมารทตั (2540 :15) กล่าววา่ บอนสีน้นั ความแปลกและแตกต่างอยทู่ ี่ลกั ษณะของใบบอน
ที่มีสีสันลวดลายสวยงาม มีขนาดและรูปแบบใบแตกต่างกันซ่ึงสามารถแบ่งรูปแบบของใบบอนเป็ น4
ลกั ษณะใหญๆ่ คือ
1.บอนใบไทย มีรูปร่างคลา้ ยหัวใจ มกั มีขนาดใหญ่ กา้ นใบอยู่ก่ึงกลางใบ ปลายใบแหลมบา้ งมนบา้ ง หรือ
บางพนั ธุ์ปลายใบเรียวแหลมและหูใบไม่ฉีกถึงสะดือ
2.บอนใบยาว มีรูปใบเรียวหรือป้อมปลายใบเรียวแหลม กา้ นใบอยตู่ รงรอยหยกั บริเวณโคนใบพอดี และมี
ลกั ษณะที่เด่นชดั คือ หูใบท่ีฉีกถึงสะดือ สาํ หรับบอนใบยาวน้ียงั แบ่งได้ 3 ลกั ษณะ คือ
1)ใบยาวธรรมดา คือ บอนท่ีมีใบยาวปลายเรียวแหลม และมีหูใบยื่นยาวคลา้ ยใบโพธ์ิ บางพนั ธุ์มี
สะโพกกวา้ ง
2)ใบยาวรูปหอก คือ บอนที่มีใบเรียวปลายใบเรียวแหลม หูใบส้นั หรือไม่มีหูใบเลย
3)ใบยาวธูปใบไผ่ คือ บอนท่ีมีใบแคบเรียวยาวเป็นเสน้ ปลายใบเรียวแหลม ไม่มีหูใบ มองดูคลา้ ยใบ
ของตน้ ไผ่
3.บอนใบกลม มีรูปร่างใบคอ่ นขา้ งกลมหรือรี ปลายใบมนสม่าํ เสมอ กา้ นใบส่วนใหญจ่ ะอยกู่ ่ึงกลางใบพอดี
4.บอนใบกาบ กา้ นใบจะแผแ่ บนต้งั แต่โคนใบถึงคอใบ ลกั ษณะคลา้ ยใบผกั กาด
28
รูปภาพ ประเภทของใบบอนสี
การกาํ หนดคาํ ศัพท์ในวงการบอนสี
ประมวล โกมารทตั (2540 :11-14) กล่าวว่า ในวงการผูป้ ลูกเล้ียงบอนสีน้นั มีถอ้ ยคาํ ผูป้ ลูกเล้ียงใช้
สนทนากนั ซ่ึงอาจทาํ ใหผ้ ทู้ ่ีนิยมปลูกเล้ียงบอนสีรุ่นใหม่บางท่านไม่เขา้ ใจความหมายไดด้ ี เป็นเหตุใหไ้ ม่ได้
อรรถรสในการฟังที่สมบูรณ์ ถ้อยคาํ เหล่าน้ีใช้สืบต่อมาจากนักเลงบอนสีรุ่นเก่าในอดีตจนถึงปัจจุบนั
สามารถอธิบายความหมายตามที่เขา้ ใจได้
ดงั น้ี
1. บอนตับ หมายถึง บอนที่ต้ังช่ือสมมติไวเ้ ป็ นพวกเดียวกัน ซ่ึงมกั นิยมต้ังชื่อเป็ นตัวละครใน
วรรณคดี เช่น ขุนชา้ งขุนแผน ไกรทอง สามกกั รามเกียรต์ิ รวมท้งั บุคคลท่ีกลา้ หาญในประวตั ิศาสตร์ของ
ไทยก็ไดร้ ับการต้งั ช่ือเป็ นบอนสีตบั วีรชนบา้ นบางระจนั เเละสถานท่ีสําคญั ในเมืองไทยก็ไดร้ ับการต้งั ชื่อ
เช่น ตบั ป้อมรอบพระบรมมหาราชวงั เเละตบั จงั หวดั เป็นตน้ นอกจากน้ียงั มีการต้งั ชื่อเป็นบอนตบั เพลงไทย
ตบั นางสงกรานต์ ตบั วรี สตรีผกู้ ลา้ หาญ ตบั ปื นใหญโ่ บราณ เป็นตน้
29
2. บอนป้าย หมายถึง บอนท่ีมีบริเวณของสีอื่นอีกสีหน่ึงปรากฎอยบู่ นพ้ืนใบ ซ่ึงเป็นสีท่ีต่างไปจากสี
ของพ้ืนใบ เช่น บอนพ้ืนเขียวมีสีแดงป้ายทบั , บางตน้ พ้ืนใบสีแดงมีสีขาวป้ายทบั หรือบางตน้ ใบพ้ืนสีเขียว
อาจสีเหลือง สีขาว สีแดงป้ายทบั
3. บอนเมด็ หมายถึง บอนท่ีพ้ืนใบมีพ้ืนแดงหรือชมพเู ขียว แต่มีเมด็ สีขาว สีเหลืองกระจายอยทู่ ว่ั ใบ
โดยเมด็ อาจมีสีเดียวหรือ 2-3 สีรวมอยดู่ ว้ ยกนั
4. เมด็ ลอย หมายถึง บอนที่สามารถมองเห็นเม็ดไดง้ ่ายและเด่นชดั บนใบ ประหน่ึงว่าเมด็ น้นั อยสู่ ูง
กวา่ ระดบั พ้ืนใบ
5. เม็ดจม หมายถึง บอนท่ีมีสีของเม็ดใกลเ้ คียงกบั สีของใบบอน บางคร้ังตอ้ งใช้การสังเกตจึงจะ
มองเห็น ดูประหน่ึงวา่ เมด็ น้นั อยตู่ ่าํ กวา่ พ้นื ใบ
6. เม็ดก่ึงจมก่ึงลอย หมายถึง บอนท่ีมีสีของเม็ดท่ีใกลเ้ คียงหรือแตกต่างกบั พ้ืนใบเล็กน้อย มองดู
คลา้ ยกบั อยรู่ ะดบั เดียวกบั ระดบั ของพ้นื ใบบอน สามารถมองเห็นเมด็ ไดง้ ่ายพอประมาณ
7. เม็ดเป็ นระเบียบ หมายถึง บอนท่ีมีปริมาณของเม็ดบนใบใกลเ้ คียงกันเกือบทุกใบ หรือมีการ
กระจายของเมด็ อยา่ งสม่าํ เสมอดูเป็นระเบียบเหมือนกนั ทุกใบ
8. สาแหรก หมายถึง เส้นท่ีปรากฎอยบู่ ริเวณกาบตน้ วิ่งจากบริเวณโคนกาบของตน้ บอนข้ึนไปตาม
กา้ นของเป็นเพยี งเสน้ ส้นั ๆ เท่าน้นั อาจเป็นเสน้ เด่ียว เส้นคู่หรือเสน้ หมู่กไ็ ด้
9. เส้ียน หมายถึง เส้นท่ีปรากฎอยบู่ ริเวณรอบกา้ น เป็นเสน้ ขนาดเลก็ และส้นั
10. หนุนทราย หมายถึง ใบบอนที่มีเมล็ดสีขนาดเล็กละเอียดจาํ นวนมาก ดุจทรายสาดอยใู่ ตส้ ีของ
พ้นื ใบ ซ่ึงมีผลทาํ ใหส้ ีของพ้นื ใบเปลี่ยนไป
11. ใบเบ้ีย หมายถึง ใบที่เกิดข้ึนขณะที่ตน้ บอนสียงั มีขนาดเลก็ ส่วนมากเป็นใบท่ียงั ไม่กดั สีและมีสี
เขียว ซ่ึงลกั ษณะสีสนั ไม่เหมือนใบของตน้ บอนสีท่ีโตเตม็ ที่แลว้
12. กดั สี หมายถึง ลกั ษณะที่พ้ืนสีเขียวของใบบอนเร่ิมเปล่ียนสีเป็นไปตามลกั ษณะเฉพาะของบอน
สีพนั ธุ์น้นั อาจเปลี่ยนเป็นจุดสีก่อนแลว้ คอ่ ยขยายบริเวณกวา้ งข้ึนตามลาํ ดบั จนกระทง่ั เหมือนใบบอนตน้ โต
13. บอนหนกั หมายถึง บอนท่ีตอ้ งใชเ้ วลาเล้ียงอย่รู ะยะหน่ึงจึงปรากฎเป็ นสี (กดั สี)ส่วนมากบอน
หนกั มกั จะมีสีของพ้ืนใบเป็นสีเขียว บางตน้ อาจใชร้ ะยะเวลาเป็นเดือนๆจึงปรากฎสีสนั เหมือนบอนตน้ โต
14. บอนเบา หมายถึง บอนที่ใชเ้ วลาปลูกเล้ียงเพียงไม่นานกป็ รากฎสีสนั เหมือนบอนตน้ โต
15. ช้นั ของใบ หมายถึง อตั ราการเจริญเติบโตของใบแต่ละใบท่ีเพิ่มพนู ข้ึนในแต่ละตน้ ท่ีเรียกกนั มี
2-3 ลกั ษณะ คือช้นั เสมอ หมายถึง บอนตน้ น้นั มีอตั ราการเจริญเติบโตของใบแต่ละใบเป็นไปอยา่ งสม่าํ เสมอ
ทาํ ให้ตน้ บอนสีน้นั มีลกั ษณะทรงตน้ เป็ นพุ่มเหมือนช่อฉัตร ช้นั กระโดด หมายถึง ช่วงการเจริญเติบโตของ
ใบแต่ละใบกวา้ งมาก มีความสูงไม่แน่นทึบ จนทรงพมุ่ มีลกั ษณะโหรงเหรง
16. กระดูกคมเส้นคม หมายถึง กระดูกและเส้นบนใบบอนตน้ น้นั มีมองเห็นไดช้ ดั เจนไม่พร่า และ
เส้นกระดูกท่ีดูชดั เจนน้นั ตอ้ งมีสีแตกต่างไปจากสีของพ้นื ใบบอน
30
17. พร่า หมายถึง การกระจายของสีอีกสีหน่ึงท่ีต่างไปจากสีบนพ้ืนใบเดิม ซ่ึงปลายบริเวณของสีที่
กระจายน้ันกลืนหายไปกบั สีพ้ืนของใบบอน หรืออาจหมายถึงสีของกระดูกและเส้นที่ไม่คมชดั เนื่องจาก
บริเวณขอบเส้นมีสีกระจายจางออกไป
18. สะดือ หมายถึง จุดของเสน้ ใบมาจรดกนั บริเวณกลางใบ ซ่ึงอยตู่ รงกบั กา้ นใบพอดี
19. หู หมายถึง ส่วนของใบบอนซ่ึงมีดา้ นหน่ึงแยกออกจากช่วงทา้ ยของใบ มีลกั ษณะเวา้ เขา้ หา
สะดือมากบา้ งนอ้ ยบา้ งจะยาวหรือส้นั ข้ึนอยกู่ บั พนั ธุข์ องบอนสีบางตน้ อาจไม่มีหูเลย
20. กาบ หมายถึง ส่วนหน่ึงของโคนกา้ นที่ติดกบั หวั บอน และไม่กลมเหมือนกา้ นบอนทวั่ ไป หรือ
อาจกลา่ วไดว้ า่ มีลกั ษณะคลา้ ยกาบผกั กาด เป็นที่พกั ของใบออ่ น
21. กา้ น หมายถึง ลกั ษณะรวมๆ ของกา้ นใบ รวมท้งั เส้ียน สาแหรก สะพานหนา้ และสะพานหลงั
22. ขอบใบ หมายถึง ส่วนริมสุดโดยรอบของใบ บางใบจะมีสีเหมือนพ้ืนใบหรือต่างจากพ้ืนใบ บาง
พนั ธุอ์ าจมีขอบใบเรียวหรือหยกิ ยน่ เป็นลอน
23. หูใตใ้ บ หมายถึง ส่วนที่เป็นติ่งเลก็ ๆ ย่นื ออกมาใตใ้ บบริเวณกระดูก จะพบเห็นไดเ้ ฉพาะบอนสี
บางพนั ธุ์
24. แขง้ คือ ส่วนท่ียน่ื มาจากกา้ นใบมีลกั ษณะคลา้ ยใบเลก็ ๆ บางพนั ธุ์อาจมี 2 ใบมองดูเป็นแฉก มกั
พบในบอนสีประเภทใบกาบ
25. แผลง หมายถึง บอนตน้ ใหม่ที่ไดจ้ ากการผ่าหวั ขยายพนั ธุ์ ซ่ึงมีลกั ษณะที่ไม่เหมือนตน้ เดิมหรือ
ตน้ แม่ท่ีนาํ มาผา่ หวั บางคร้ังอาจจะไดบ้ อนตน้ แผลงท่ีสวยกวา่ ตน้ เดิม แต่นานๆ จะพบสกั คร้ัง ส่วนใหญ่แลว้
จะแผลงไปมีลกั ษณะที่ไม่สวยไปกวา่ ตน้ เดิม
31
รูปภาพ ส่วนตา่ งๆ ของตน้ บอนสี
หลกั ในการต้งั ช่ือบอนสี
อุไร จิรมงคลการ (2538 : 38-39)กล่าววา่ การต้งั ช่ือบอนสี สมยั โบราณนิยมต้งั ช่ือบอนสีกนั อยา่ งมี
ระบบ โดยนาํ ช่ือของตวั ละครในวรรณคดี บุคคลหรือสถานที่สาํ คญั มาเป็นชื่อบอน ซ่ึงพิจารณาจากลกั ษณะ
ทรงตน้ ใบ และสีสันของบอนสีเปรียบเทียบกบั รูปร่าง พฤติกรรม หรือลกั ษณะเด่นของตวั ละคร สถานท่ี
หรือบุคคลน้ันๆ ให้สอดคลอ้ งกนั จดั เป็ นกลุ่มๆ ตามเรื่องของวรรณคดีท่ีเรียกว่า "ตบั "/แช่น ตบั ขุนช้าง
ขนุ แผน ตบั พระอภยั มณีตบั รามเกียรต์ิ ตบั จงั หวดั ตบั เรือพระท่ีนงั่ ตบั ประตูเมือง เป็นตน้
สําหรับส่วนต่างๆ ของตน้ บอนท่ีนาํ มาพิจารณาน้นั จะใชล้ กั ษณะทรงตน้ ใบ รูปใบความเขม้ และ
อ่อนของสีพ้ืนใบ ความละเอียดของเม็ดบนใบ รวมถึงความอ่อนชอ้ ยและสีของกา้ นใบ เช่นบอนใบไทยชื่อ
"นางละเวง" มีใบสีขาวสะอาดหมายถึง หญิงสาวที่สวยงามมีเสน่ห์ บริสุทธ์ิสดใสและฉลาดหลกั แหลม เป็น
ลกั ษณะของนางละเวงในเรื่องพระอภยั มณี บอนใบกลมชื่อ "หม่ืนหาญ"มีใบสีแดงเขม้ กระดูกและเสน้ สีแดง
หมายถึงชายหนุ่มท่ีมีความกลา้ แกร่ง เขม้ แขง็ เป็ นตน้ นบั ว่าการต้งั ชื่อบอนสีเป็ นศิลปะแขนงหน่ึงที่ตอ้ งใช้
จินตนาการอนั ลึกซ้ึง ประณีต และละเอียดออ่ น
แต่ในปัจจุบนั การต้งั ช่ือบอนสีจะไม่ยึดหลกั การมากนกั ข้ึนอยู่กบั ความพอใจของผูผ้ สมพนั ธุ์ตาม
เหตุผลและโอกาสอนั เหมาะสมของแต่ละคนเช่น บอนใบยาวช่ือ "ฉัตรมงคล" เป็ นตน้ บอนสีที่นาํ มาแสดง
32
คร้ังแรกในงานประกวดวนั ฉัตรมงคลเมื่อปี พ.ศ. 2528 บอนใบไทยชื่อ "ป้อมพระจนั ทร์" เป็ นบอนของผู้
ผสมพนั ธุท์ ี่อยใู่ นจงั หวดั สมุทรปราการจึงใชช้ ื่อป้อมในจงั หวดั น้ีแทนช่ือบอน
ความหมายจากสีของพืน้ ใบ
สีจางอ่อน มีความหมายถึง ผมู้ ีอายนุ อ้ ย สตรีเพศ
สีจางอ่อนซีด มีความหมายถึง ผเู้ ยาวห์ รือสตรีเพศ ผอู้ ่อนแอและแปรปรวนง่าย ไมบ่ ริสุทธ์ิ
สีสดใสสวา่ ง มีความหมายถึง ความสวยงาม สดช่ืน เบิกบาน เฉียบขาด ความหนุ่มสาว
สีสลวั มืดไม่ชดั เจน มีความหมายถึง ความเศร้าหมอง โศกเศร้า หดหู่ ไม่แน่นอนใจ รวมท้งั ความไม่มน่ั คง
สีดาํ เขม้ หนกั ชดั เจน มีความหมายถึง ความเศร้า เงียบขรึม ผสู้ ูงอายคุ วามหนกั แน่น อดทน เดด็ เดี่ยว
สีโศก มีความหมายถึง พราหมณ์ฝร่ัง ความสงบเยอื กเยน็ และเทพเจา้
สีเขียวออ่ น มีความหมายถึง การไตร่ตรอง ความพอใจผทู้ รงศีล ความหนกั แน่น ความร่มรื่น สนั ติสุข
และความสดช่ืน
สีขาว มีความหมายถึง สตรีเพศต่างชาติ นกั พรต ความสะอาด บริสุทธ์ิไร้เดียงสา ความซ่ือสตั ย์
ความจงรักภกั ดี ความเมตตา
สีทอง มีความหมายถึง ความแกร่งกลา้ กลา้ หาญ เอาจริงเอาจงั ความเขม้ แขง็
สีเหลือง มีความหมายถึง นกั บวช อาจารยผ์ ทู้ รงศีล ความยนิ ดี ความสวา่ ง ความจริง ความซื่อตรง
เสมอตน้ เสมอปลาย
สีแดงชาด มีความหมายถึง ความรัก ความสดชื่น ความ กระปร้ีกระเปร่า ความฉลาด สตรีออ่ นวยั ที่
สวยงามมีความหมายถึง ความแกร่งกลา้ ใจร้อน มุทะลุ บูแ๊ ละลา้ งผลาญ
สีแดง มีความหมายถึง เจา้ ความคดิ เจริญเติบโตงอกงามความสาํ รวย และความประทบั ใจ
สีม่วง มีความหมายถึง เจา้ ความคิด เจริญเติบโตงอกงาม ความสาํ รวย และความประทบั ใจ
ความหมายจากรูปลกั ษณะใบแบบต่างๆ
รูปใบบอนมีหลายลกั ษณะท้งั ใบรี ใบไทย ใบกวา้ ง ใบกลม ใบแคบใบโพธ์ิ ใบไผ่ รูปใบแต่ละ
ลกั ษณะกจ็ ะใหค้ วามหมายแตกต่างกนั การจดั บอนเขา้ ตบั ควรคาํ นึงถึงรูปใบเป็นเกณฑด์ ว้ ยเหมือนกนั
ใบกวา้ ง ใบกลม มีความหมายถึง ความสวา่ ง ความมีสกลุ ใจคอ กวา้ งขวาง บุคคลสาํ คญั สถานท่ี
สาํ คญั ความเอ้ือเฟ้ื อเผอื่ แผ่ โอบออ้ มอารี ความมีมงคล
ใบเเคบ มีความหมายตรงขา้ มกบั ใบกวา้ ง
ใบโพธ์ิพงุ่ ช้ียาว มีความหมายถึง ตวั ละครในตบั สามก๊ก ไซอิว้ ไซ่ฮนั่ ฯลฯ
ใบโพธ์ิหูซอ้ นพ้ืนใบยาว มีความหมายถึง เทพยดา
ใบโพธ์ิหูยอ้ ยกลม มีความหมายถึง ลิง ยกั ษ์ ส่วนใหญจ่ ะอยใู่ นตบั รามเกียรต์ิ
ใบไผม่ ี ความหมายถึง อาวธุ เช่น ทวน หอก ดาบ แหลน หลาว
33
ใบไทย จะเป็นบอนตบั ขนุ ชา้ งขนุ แผนและตบั นก
ลกั ษณะและสภาพของประจุด แสดงออกถงึ ความหมายต่างๆ ดงั นี้
ประจุดลอย มีความหมายถึง ความเด่น โลดโผนบรรดาศกั ด์ิ
ประจุดกบั ทะลุใบ มีความหมายถึง สามญั ชน
ประจุดจม (สีเสมอ) มีความหมายถึง ความละเอียดอ่อน ลึกซ้ึง ความสุขมุ
ประจุดก่ึงลอยก่ึงจม มีความหมายถึง ความมีสกลุ บรรดาศกั ด์ิ ความสวยงาม
ประจุดยาว มีความหมายถึง สามญั ชน ความแปลกประหลาด นกั รบกลา้ หาญ
ประจุดกลม มีความหมายถึง ความสวยงาม มีสกลุ ความสง่า ความสูงส่ง คุณประโยชน์ และ
คุณธรรม
ประจุดพร่า มีความหมายถึง ความแปรปรวน ความเปลี่ยนแปลง
ความหมายจากทรวดทรง
ความหมายของทรวดทรง ดูจากลกั ษณะของกา้ นใบและความไดร้ ะดบั ช้นั ของลาํ ตน้ หรือทรวดทรง
ลกั ษณะและขนาดของก้านใบ
กา้ นยาวใหญ่ มีความหมายถึง บุรุษเพศ ความแขง็ แรง ความสูงส่ง ความกลา้ หาญ ความสง่างาม
กา้ นยาวเลก็ มีความหมายถึง สตรีเพศ ความออ่ นแอ ความสนั โดษ
กา้ นส้นั ใหญ่ มีความหมายถึง ความบึกบึน กลา้ หาญ แขง็ แรง นกั รบ นกั กีฬา
กา้ นส้นั เลก็ มีความหมายถึง ความขลาดกลวั อ่อนแอ
ลกั ษณะจากทรวดทรง
ลกั ษณะเป็นพมุ่ กลม มีความหมายถึง ความเสมอตน้ เสมอปลาย ซ่ือสตั ย์ ความมีสกลุ สวยงาม
ลกั ษณะเป็นช่อฉตั ร มีความหมายเช่นเดียวกบั ลกั ษณะเป็นกอพมุ่ กลม
ลกั ษณะเอียงเฉไม่มีทรวดทรง มีความหมายตรงกนั ขา้ มกบั สองลกั ษณะแรก
ความหมายจากขนาดลาํ ต้นบอน ความหมายจากขนาดลาํ ตน้ บอน ดูจากขนาดสูงต่าํ ของลาํ ตนั
ขนาดใหญ่ มีความหมายถึง ยกั ษ์ เทวะ บคุ คลสาํ คญั สถานท่ีสาํ คญั ความแขง็ แรง
ขนาดกลาง มีความหมายถึง สามญั ชน บุรุษเพศที่สะโอดสะอง สตรีเพศท่ีเขม้ แขง็ นกั พรต ผทู้ รงศีล
ฯลฯ
ขนาดเลก็ ลกั ษณะผกู พนั กบั ชื่อ เช่น นกเลก็ สตรีเพศ ความออ่ นแอ
ขนาดจ๋ิว ความเด่น คนแคระ ความออ่ นแอ ข้ีขลาด ความวติ ถาร ผดิ ปกติ
34
ลกั ษณะต่างๆ และความหมายของบอนสีที่กล่าวมาน้ี กเ็ พ่ือจะใหเ้ ป็นแนวทางในการคดั เลือกบอนสี
ท่ีผสมข้ึนมาใหม่ มาทาํ การต้ังชื่อให้มีความหมายเหมาะสมกลมกลืน ไม่ขดั แยง้ หรือสะเปะสะปะไร้
หลกั เกณฑ์
35
บทท่ี 3
วเิ คราะห์ภาพสะท้อนวฒั นธรรมท่ีปรากฏในการต้งั ช่ือ”บอนสี” ราชินีไม้ใบ
ในบทน้ี ผศู้ ึกษไดร้ วบรวมและวเิ คราะห์ขอ้ มูลช่ือบอนสีจาํ นวนท้งั หมด รายชื่อ จากหนงั สือท้งั หมด
3 เล่ม ได้แก่ หนังสือเร่ือง บอนสี ขอ อรวรรณ วิชัยลกั ษณ์ หนังสือเรื่องบอนสี : ราชินีไมใ้ บ ของ อุไร
จิรมงคลการ เเละหนังสือเรื่องบอนสี : ฉบับสมาคมบอนสีแห่งประเทศไทย ของ ประมวล โกมารทตั
พบภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมที่ปรากฏในการต้งั ชื่อบอนสี 5 สาขา ไดเ้ เก่ 1.สาขามนุษยศาสตร์ 2.สาขาศิลปะ 3.
สาขาช่างผมี ือ 4.สาขาคหกรรมศาสตร์ และ 5.สาขากีฬาและนนั ทนาการ มีรายละเอียดดงั น้ี
1.สาขามนุษยศาสตร์
สาขามนุษยศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกบั มนุษย์ มุ่งทาํ ความเขา้ ใจ ความรู้สึกนึกคิด
ความรู้สึกทางอารมณ์ จินตนาการ ความหมาย คุณค่า คุณธรรม และจริยธรรม ท่ีมนุษยใ์ นฐานะปัจเจกบุคคล
ไดแ้ สดงออกผา่ นท่าทาง การกระทาํ คาํ พดู งานเขียนหรือผา่ นผลงานสร้างสรรคใ์ นรูปแบบต่าง ๆ โดยสาขา
มนุษยศาสตร์จะประกอบไปดว้ ย ขนบธรรมเนียม ประเพณี คุณธรรม ศีลธรรม คา่ นิยม ศาสนา ปรัชญา
ประวตั ิศาสตร์ โบราณคดี มารยาทในสงั คม การปกครอง กฎหมาย เป็นตน้ (Pattani Humanities, 2556)
ผูศ้ ึกษาพบว่า ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ท่ีปรากฎในการต้งั ชื่อบอนสี สามารถจาํ
เเนกไดเ้ ป็น 6 ประเภท ไดเ้ เก่
1.1 ค่านิยม
ผศู้ ึกษาพบวา่ ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมค่านิยมท่ีปรากฏในการต้งั ชื่อบอนสี มีจาํ นวน 1 ประเภท คือ
1.1.1 ค่านิยมเก่ียวกบั ภรรยาที่ดี (ในฐานะคนจีน) ไดแ้ ก่
นางฮูหยนิ (ฮูหยนิ )
36
ลกั ษณะบอนรูปใบยาวปลายใบแหลม พ้ืนใบสีแดงอมดาํ กระดูกแดง เส้น แดง ว่ิงพร่าขา้ งกระดูก
แดง มีเมด็ ขาวเล็กกระจายทวั่ ไป ขอบใบสีเขียวเขม้ หุรัด กา้ นสีสายบวั มีเส้ียน สีน้าํ ตาลละเอียด เน่ืองจากฮู
หยิน เป็นคาํ ยืมจากภาษาจีน แปลว่า คุณหญิง คุณนาย ใชเ้ รียกหญิงท่ีแต่งงานกบั ตระกูลที่รับราชการเท่าน้นั
โดยกฎท่ีฮูหยนิ สาวชาวจีนตอ้ งปฏิบตั ิน้นั มีความเคร่งครัด ฮูหยนิ จะตอ้ งปฏิบตั ิตวั เป็นภรรยาท่ีดี เป็นหนา้ เป็น
ตาใหแ้ ก่สามีของตน มีการวางตวั ที่ดี เคร่งขรึม มีสติในการแกป้ ัญหา พูดจาอ่อนหวานและอ่อนนอ้ มถ่อมตน
อยเู่ สมอ กริยามารยาทตอ้ งดงาม และลกั ษณะพ้ืนใบสีแดงอมดาํ หมายถึง ความรัก ความฉลาด สตรีที่งดงาม
เงียบขรึม หนกั แน่น อดทน เดด็ เด่ียว มีเมด็ ขาวเลก็ กระจายทวั่ ไป หมายถึง ความสะอาด ความบริสุทธ์ิ ความ
ซ่ือสัตย์ ประจุดเล็กกระจายทว่ั ไป หมายถึง ความสวยงาม มีสกุล ความสง่า ความสูงส่ง คุณประโยชน์และ
คุณธรรม
1.2 ความเช่ือ
ผศู้ ึกษาพบวา่ ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมความเชื่อท่ีปรากฏในการต้งั ชื่อบอนสี มีจาํ นวน 7 ปะเภท คือ
1.2.1 ความเช่ือเก่ียวกบั เทพต่างๆ ไดแ้ ก่
พรหมเทพ
เป็นบอนลูกผสมระหวา่ ง “นายแท่น” กบั “เกตุจุฬามณี” ผสมพนั ธุโ์ ดยคุณเสริม พงศท์ อง เม่ือปี พ.ศ.
2530 เป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปสามเหล่ียม แผ่นใบเป็ นคลื่น พ้ืนใบสีชมพู ขอบใบสีเขียว กระดูก และเส้นสี
ขาว มีพร่าสีแดงจากกระดูก กา้ นใบสีเขียว พอแก่มีสีเขียวอมน้าํ ตาล คาํ ว่าพรหมเทพหากวิเคราะห์ในเชิง
ภาษา จะไดค้ วามวา่ พรหม หมายถึง ช่ือพระเป็นเจา้ ผสู้ ร้างโลกตามศาสนาพราหมณ์ หรือเทพในพรหมโลก
และเทพ หมายถึง เทวดา ดงั น้นั พรหมเทพ ไม่ไดห้ มายถึงแหลมพรหมเทพในจงั หวดั ภูเกต็ แต่หมายถึง พระ
พรหมผสู้ ร้างโลก และลกั ษณะพ้ืนใบสีชมพู หมายถึง ความสวยงาม ความเบิกบาน ขอบใบสีเขียว หมายถึง
ผทู้ รงศีล ความร่มร่ืน ความสนั ติสุข
37
เทพสุริยะ
เป็นบอนลูกผสมระหวา่ ง "ยา่ ยพลแสน" กบั ลูกไมข้ อง “ชื่นบาน" ลกั ษณะเป็นบอนใบกาบ แผน่ ใบ
ค่อนขา้ งกลมและยน่ พ้ืนใบสีแดงคล้าํ ขอบใบสีเขียวเรื่อ กระดูกและเส้นสีแดง กา้ นใบเป็นกาบเล็กๆ สีแดง
คล้าํ ช่ือบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นความเชื่อ ดง่ั ท่ีปรากฏชื่อ
เทพ “เทพสุริยะ” เทพีแห่งดวงอาทิตยห์ รือดวงอาทิตยพ์ ระเจา้ เช่น อามุน เร ฮาเธอร์ ฮารัส โซเบค เป็ นตน้
ซ่ึงสุริยเทพและการบูชาดวงอาทิตยส์ ่วนใหญ่สามารถพบไดใ้ นประวตั ิศาสตร์ในประเทศอียปิ ต์
เทพนารี
เป็ นบอนลูกผสมของ “ก่ึงกาํ กง” ผสมพนั ธุ์โดยคุณทวี ประสิทธ์ิ ประมาณปี พ.ศ. 2530-2531 เป็ น
บอนใบไทย พ้ืนใบสีชมพูอมแดง มีเม็ดสีขาวอมชมพู กระดูกและเส้นสีแดงอมชมพู กา้ นใบสีชมพูอ่อน มี
สะพานหนา้ และสะพานหลงั สีน้าํ ตาล เทพนารีถือเป็ นเทพแห่งสตรีท้งั หลาย เป็ นผูป้ กครองและให้กาํ เนิด
38
สตรีตามความเช่ือ และลกั ษณะของพ้ืนใบสีแดงอมชมพู หมายถึง ความแกร่งกลา้ ประจุดเล็กถี่ไม่เป็ น
ระเบียบ หมายถึง สตรีเพศ
1.2.2 ความเชื่อเก่ียวกบั เวทมนต์ ไดแ้ ก่
มนตรา
เป็ นบอนอย่ใู นตบั “เบ็ดเตล็ด” ลูกผสมระหว่าง “มหาราช” กบั “หมอยอดเดช” ผูผ้ สมพนั ธุ์คือ คุณ
ทวี ประสิทธ์ิ เม่ือปี พ.ศ. 2533 จดทะเบียนต้งั ช่ือเม่ือวนั ท่ี 14 สิงหาคม พ.ศ. 2537 เป็นบอนใบไทยขนาดใหญ่
พ้ืนใบสีชมพอู ่อน กระดูกและเส้นสีน้าํ ตาลเขม้ กา้ นใบสีดาํ มนตรา หมายถึง ผมู้ ีเวทยม์ นต์ ส่วนใหญ่ใชเ้ รียก
นกั เวทยท์ ่ีเป็นหญิง และลกั ษณะพ้ืนใบสีชมพอู ่อน หมายถึง ผมู้ ีอายนุ อ้ ย สตรีเพศ และกา้ นใบสีดาํ อาจส่ือถึง
เวทยม์ นตท์ ี่มวั หมองและดาํ มืด
1.2.3 ความเชื่อเกี่ยวกบั วนั ฉตั รมงคล ไดแ้ ก่
39
ฉตั รมงคล
บอนพนั ธุ์น้ีมี 2 ตน้ ตน้ เดิมคาดว่าจะสูญพนั ธุ์แลว้ เป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ ค่อนขา้ งป้อม
ขอบใบเป็ นคลื่น พ้ืนใบสีชมพูแดงถึงแดง กระดูกและเส้นสีแดง กา้ นใบสีน้าํ ตาลเขม้ ถึงดาํ ฉัตรมงคล มี
ความหมายตามพจนานุกรมว่า พระราชพิธีฉลองพระเศวตฉตั ร ซ่ึงจะกระทาํ ในวนั คลา้ ยวนั บรมราชาภิเษก
และลกั ษณะของรูปใบที่มีความคลา้ ยใบโพธ์ิน้ันถือเป็ นสิริมงคล เน่ืองจากโพธ์ิเป็ นสัญลกั ษณ์แห่งพุทธะ
เป็นดงั่ เครื่องหมายที่บ่งบอกถึง การรู้ ต่ืน และเบิกบาน พ้นื ใบสีชมพแู ดงถึงแดง หมายถึง ความแกร่งกลา้
1.2.4 ความเชื่อเก่ียวกบั นางเทววี นั สงกรานต์ ไดแ้ ก่
มณฑาทอง
ผผู้ สมพนั ธุ์ คือ คุณเจริญ ชา้ งเจริญ ต้งั ชื่อโดยคุณเพง็ เทนสิทธ์ิ ประมาณปี พ.ศ. 2519-2520 เป็นบอน
ใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ แต่มีแผน่ ใบแคบ ปลายใบเรียวแหลม พ้ืนใบสีชมพูอมแดง ขอบใบสีเขียว กา้ นใบสี
เขียวอมน้าํ ตาล มีเส้ียนสีน้าํ ตาลกระจายทวั่ กา้ น หากกล่าวถึงดอกมณฑาทอง ถือเป็นดอกไมท้ ิพยแ์ ห่งสวรรค์
เป็ นดอกไมป้ ระจาํ ตวั ของนางกิริณีเทวี ซ่ึงเป็ นนางเทวีสงกรานตป์ ระจาํ วนั พฤหสั บดี ดอกมณฑาทองน้นั มี
กล่ินหอม แลว้ เช่ือกนั ว่าหากกลีบบานแลว้ บา้ นท่ีปลุกไวจ้ ะมีแต่ความรื่นรมย์ และลกั ษณะพ้ืนใบสีชมพูอม
แดง หมายถึง สตรีเพศ ความสดชื่น ความสวยงาม ความเบิกบาน ขอบใบสีเขียว หมายถึง ความพอใจ ความ
ร่มรื่น สนั ติสุข
1.2.5 ความเช่ือเก่ียวกบั ราหู ไดแ้ ก่
40
เพชรราหู
อยใู่ นตบั “เบด็ เตลด็ ” ลูกผสมระหวา่ ง “วาสิฏฐี” กบั “ศรีบางพนู ” ผผู้ สมพนั ธุ์คือ คุณ สุธงชยั แซ่โงว้
เมื่อปี พ.ศ. 2538 จดทะเบียนต้งั ช่ือเม่ือ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 เป็นบอนใบยาว พ้ืนใบสีชมพู มีหนุนทราย
สีเขียว กระดูกและเส้นสีน้าํ ตาล กา้ นใบสีน้าํ ตาลและมีเส้ียน เดิมทีเพชรราหูไม่ปรากฏความหมายท่ีแน่ชดั
หากวิเคราะห์ในเชิงภาษา ความว่า เพชร หมายถึง โดยปริยายหมายความวา่ แขง็ ที่สุด และราหู หมายถึง ช่ือ
อสูรตนหน่ึงมีตวั ขาดคร่ึงท่อน เชื่อกนั วา่ เมื่อเวลามีสุริยคราสหรือจนั ทรคราสเป็นเพราะดวงอาทิตยห์ รือดวง
จนั ทร์ถูกราหูอมเอาไว้ ในตาํ ราโหรวา่ เป็นเทวดาพระเคราะห์ มีอาภรณ์และพาหนะสีคล้าํ ดงั น้นั เพชรราหู
อาจจะหมายถึง ราหูที่แข็งแกร่งที่สุด เนื่องจากชาวไทยมีความเชื่อเร่ืองราหูอมจนั ทร์ และลกั ษณะพ้ืนใบสี
ชมพู หมายถึง สตรีเพศ อาจส่ือถึงดวงจนั ทร์ ซ่ึงในความเชื่อของคนไทย เชื่อว่าดวงจนั ทร์น้นั เป็ นนอ้ งสาว
ของราหู
1.2.6 ความเชื่อเกี่ยวกบั ครุฑ ไดแ้ ก่
41
ครุฑ
เป็นบอนลูกผสมระหวา่ ง "ชื่นบาน" กบั ลูกไมใ้ บไทย ลกั ษณะเป็นบอนใบกาบ แผน่ ใบคอ่ นขา้ งกลม
ปลายใบเรียวแหลม พ้ืนใบสีแดงเขม้ กระดูกและเสน้ สีแดง กา้ นใบสีแดงขม้ มีแขง้ ลกั ษณะคลา้ ยแผน่ ใบ กา้ น
ใบส่วนบนกลม ส่วนล่างใตแ้ ขง้ แผ่เป็ นกาบ ช่ือบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขา
มนุษยศาสตร์ด้านความเช่ือ ดัง่ ท่ีปรากฏช่ืออมนุษย์ “ครุฑ” ธิดา มิตรกูล (2527 : 32) กล่าวว่าครุฑ เป็ น
อมนุษยก์ ่ึงสตั วก์ ่ึงเทพตามความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ มีรูปร่างคร่ึงนกคร่ึงคนเป็นพาหนะของพระนารายณ์
มีความฉลาด พลงั อาํ นาจมหาศาลย่ิงใหญ่ ตามความเช่ือครุฑเป็ นเทพศกั ด์ิสิที่คนนิยมบูชาในสัญญะท่ีแทน
อาํ นาจบารมี ความเคารพ เมตตามหานิยม สามารถลบลา้ งอาถรรพแ์ ละคุณไสยได้ ตลอดจนปกป้องคุม้ ครอง
ภยั
1.2.7 ความเช่ือเก่ียวกบั พญานาค ไดแ้ ก่
ทา้ วบาดาล
เป็นบอนลูกผสมระหวา่ ง "พญานาคราช" กบั ลูกไมใ้ บยาวสีแดงคล้าํ ลกั ษณะเป็นบอนใบกาบ ปลาย
ใบเรียวแหลม พ้ืนใบสีแดงท้งั ใบ กา้ นใบเป็นกาบแคบ สีแดงคล้าํ ก่ึงกลางกา้ นมีแขง้ สีคลา้ ยพ้ืนใบ ชื่อบอน
ดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นความเชื่อ ดงั่ ที่ปรากฏชื่อเทพ“ทา้ ว
บาดาล” เป็ นเทพที่คอยปกปักษร์ ักษาอย่ใู ตผ้ ืนน้าํ กล่าวคือ พญานาค อาศยั ในดินแดนท่ีเรียกว่าบาดาลโลก
หรือเมืองบาดาล ความเช่ือของชาวไทยเกี่ยวกบั พญานาค โดยส่วนใหญ่จะเชื่อวา่ พญานาคเป็นสัตวก์ ่ึงเทพ มี
อิทธิฤทธ์ิศกั ดานุภาพ สามารถเนรมิตร่างกายเป็นมนุษยช์ ายและหญิงได้ ท้งั ยงั มีความเช่ือวา่ พญานาคน้นั เป็น
สัญลกั ษณ์แห่งสายน้าํ เป็ นผูพ้ ิทกั ษร์ ักษาและเป็ นสัญลกั ษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ในดา้ นการสร้างความ
สามคั คีปรองดอง สงบสันติ สุขในสังคม นอกจากน้นั พญานาคมีอิทธิพลในดา้ นต่างๆ (จิตรกร เอมพนั ธุ์,
2545)
42
1.3 ศาสนา
ผศู้ ึกษาพบวา่ ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมศาสนาที่ปรากฏในการต้งั ช่ือบอนสี มีจาํ นวน 2 ปะเภท คือ
1.3.1 ศาสนาพทุ ธ ไดแ้ ก่
พระศรีมโหสถ
เป็นบอนท่ีอยใู่ น “ตบั พระโพธิสตั ว”์ ผผู้ สมพนั ธุ์ คือ คุณวิฑูรย์ กญุ ชร ณ อยธุ ยา และต้งั ช่ือโดย คุณ
ถวิล ณ ตะกวั่ ทุ่ง ประมาณปี พ.ศ. 2526 เป็ นบอนใบไทย พ้ืนใบสีขาวอมเขียวอ่อน บริเวณหูใบมีจุดประสี
เขียวเล็กนอ้ ย พอใบแก่เร่ิมมี สีเขียวเพิ่มข้ึน สะดือสีแดง และลากเป็นเส้นมาจรดหูใบ กระดูกและเส้นสีขาว
กา้ นใบสีขาว เนื่องจากพระศรีมโหสถอยใู่ นตบั พระโพธิสัตว์ จึงเนน้ ไปทางธรรม และการละทางโลกเป็ น
ส่วนใหญ่ และลกั ษณะพ้ืนใบสีขาวอมเขียวอ่อน หมายถึง นกั พรต ความสะอาด ความเมตตา ผทู้ รงศีล ความ
ร่มร่ืน สนั ติสุข กา้ นใบสีขาว หมายถึง การยดึ มน่ั คงมน่ั อยใู่ นศีลธรรมอนั บริสุทธ์ิ
มหาชนก
43
เป็นบอนลูกผสมของ “มนตรา” คุณทวี ประสิทธ์ิ ผสมพนั ธุเ์ มื่อปี พ.ศ. 2535 เป็นบอนใบยาวขนาด
ใหญ่คลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสีชมพอู มแดงอ่อน ๆ คลา้ ย “เทพประสิทธ์ิ” ต่างกนั ที่มีทรงตน้ สูงใหญก่ วา่
กระดูกและเสน้ เรียวเลก็ กวา่ สีแดงคล้าํ กา้ นใบสีดาํ ช่ือมหาชนก มาจากพระมหาชนก ซ่ึงเป็นหน่ึงในงาน
พระราชนิพนธใ์ นในหลวงรัชกาลท่ี 9 โดยพระมหาชนกน้นั มีเคา้ เรื่องวา่ พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาติเป็น
พระมหาชนก พระองคท์ รงพบวบิ ากกรรมตอ้ งวา่ ยน้าํ ถึงเจด็ วนั เจด็ คืน ทาํ ใหเ้ ห็นวา่ พระองคเ์ ป็นผไู้ ม่ยอ่ ทอ้
ต่อความยากลาํ บาก มีความอดทนและมุมานะ และลกั ษณะพ้นื ใบสีชมพอู มแดงออ่ น ๆ หมายถึง ความหนุ่ม
สาว ความสวยงาม ความเบิกบาน เฉียบขาด ความแกร่งกลา้
1.3.2 ศาสนาพราหมณ์ฮินดู ไดแ้ ก่
มหาเทพ
ลกั ษณะเป็นบอนกดั สี ใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ ขอบใบเป็นคลื่น พ้ืนใบสีแดงเขม้ เป็นมนั ต่อมาขอบ
ใบเริ่มมีสีเขียวเพิ่มข้ึน กระดูกและเส้นสีขาว และมีเส้นสีเขียวทึบ กา้ นใบสีดาํ มีสะพานหนา้ สีดาํ สาแหรกสี
ขาว เมื่อพิจารณาตามความหมายของรูปใบหมายถึง ความเป็ นมงคล และพ้ืนใบสีแดงเขม้ หมายถึง ความ
แกร่งกลา้ ใจร้อน มุทะลุ และลา้ งผลาญ สอดคลอ้ งกบั ช่ือบอนดงั กล่าวที่ปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรม
สาขามนุษยศาสตร์ดา้ นศาสนา ดงั่ ท่ีปรากฏช่ือเทพหรือเทวดาผเู้ ป็นใหญ่ “มหาเทพ” เป็นศพั ทท์ ่ีใชเ้ รียกพระ
ศิวะ หรือที่คนไทยส่วนใหญ่เรียกว่าพระอิศวรมหาเทพแห่งการทาํ ลายลา้ งทุกสรรพสิ่ง พระศิวะเป็ นเทพ
สาํ คญั องคห์ น่ึงในศาสนาพรหมณ์ฮินดู เป็นหน่ึงในพระตรีมูรติ (3 เทพสูงสุดของศาสนาพราหมณ์ฮินดู) ซ่ึง
เป็ นที่รู้จกั กนั ดีว่าพระศิวะเป็ นเทพแห่งการทาํ ลาย มีท้งั รูปแบบท่ีดุร้ายและไม่ดุร้ายตามความเช่ือพระองค์
เป็นเทพท่ีจะคอยขบั ไล่สิ่งชว่ั ร้ายใหห้ ่างไกล และทาํ ใหเ้ กิดความดีงามเป็นศิริมงคลเกิดข้ึน (Wilkins, 1983,
p. 263)
44
คเณศวร
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "เทวะ" ลูกผสม "พญานาคราช" ลกั ษณะเป็นบอนใบกาบ แผน่ ใบห่อข้ึน พ้ืน
ใบสีแดง กระดูกและเส้นสีขาวเรื่อๆ มีขลิบสีเขียวตามขอบใบ ปลายใบเรียวแหลม กา้ นใบเป็ นกาบขลิบสี
เขียวและสีชมพูเร่ือ เม่ือตน้ ยงั เล็กกา้ นใบจะไม่มีแขง้ เมื่อโตเต็มท่ีแผน่ ใบจะแตกเป็นแขง้ ลกั ษณะคลา้ ยแผน่
ใบ ชื่อบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นศาสนา ดงั่ ท่ีปรากฏช่ือเทพ
หรือเทวดาผเู้ ป็นใหญ่ “คเณศวร” ตามพจนานุกรมราชบณั ฑิตยสถาน ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ คเณศวร หมายถึง
ชื่อเทพองคห์ น่ึงมีเศียรเป็ นชา้ งถือว่าเป็ นเทพแห่งศิลปะ คนไทนนิมเรียกว่า พระพิฆเณศวร เป็ นเทวดาใน
ศาสนาฮินดูท่ีไดร้ ับการเคารพบูชาอยา่ งแพร่หลายท่ีสุดพระองคห์ น่ึง พระลกั ษณะท่ีโดดเด่นจากเทพองคอ์ ื่น
ๆ คือพระเศียรเป็นชา้ งเป็นที่เคารพกนั โดยทวั่ ไปในฐานะของเทพเจา้ ผูข้ จดั อุปสรรค, องคอ์ ุปถมั ภแ์ ห่งศิลป
วิทยาการ วิทยาศาสตร์ และศาสตร์ท้งั ปวง และทรงเป็นเทพเจา้ แห่งความฉลาดเฉลียวและปัญญาในฐานะท่ี
พระองคย์ งั ทรงเป็นเทพเจา้ แห่งการเร่ิมตน้ ในบทสวดบูชาต่าง ๆ ก่อนเริ่มพิธีการหรือกิจกรรมใด ๆ กจ็ ะเปลง่
พระนามพระองคก์ ่อนเสมอ
เทพนรสิงห์
45
เป็นบอนลูกผสมระหวา่ ง "มหาเทพ" กบั "เกตุจุฬามณี" ลกั ษณะเป็นบอนกดั สีประเภทใบกาบ คลา้ ย
รูปใบโพธ์ิ ขอบใบเป็นคลื่น พ้ืนใบสีชมพู กระดูกและเสน้ ลีเขียว มีพร่าสีเขียวและขาว พอใบแก่สีชมพจู างลง
จนเป็นสีเขียวเกือบท้งั ใบ กา้ นใบสีเขียว โคนกา้ นมีแขง้ ลกั ษณะเช่นเดียวกบั พ้ืนใบ ช่ือบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏ
ภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นศาสนา ดงั่ ที่ปรากฏชื่ออวตาร“นรสิงห์” นรสิงห์ เป็นภาค
อวตารปางท่ีสี่ของพระนารายณ์ตามเน้ือเร่ืองในคมั ภีร์ปุราณะ อุปนิษทั และคมั ภีร์อื่น ๆ ของศาสนาฮินดู โดย
มีร่างกายท่อนลา่ งเป็นมนุษย์ และร่างกายท่อนบนเป็นสิงโต
1.4 ประวตั ิศาสตร์
ผศู้ ึกษาพบวา่ ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมประวตั ิศาสตร์ท่ีปรากฏในการต้งั ชื่อบอนสี มีจาํ นวน 2 ปะเภท
คือ
1.4.1 เหตุการณ์หรือเร่ืองราวประวตั ิศาสตร์ ไดแ้ ก่
ยทุ ธนาวี
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "เบด็ เตลด็ " ลูกผสมระหวา่ ง "บานช่ืน" กบั "บางปะอิน" ลกั ษณะเป็นบอนใบ
กาบ แผน่ ใบค่อนขา้ งกลมรี พ้ืนใบสีขาวปนสีเขียวออ่ น ขลิบสีเขียวอ่อนมีพร่าสีชมพอู มแดง กระดูกและเสน้
สีขาว ปลายใบแหลม กา้ นใบกลมสีเขียวตองอ่อน มีแขง้ ใหญ่สีคลา้ ยพ้ืนใบ ช่ือบอนดงั กล่าวที่ปรากฎภาพ
สะทอ้ นวฒั นธรรมทางสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นประวตั ิศาสตร์ ดงั่ ท่ีปรากฏชื่อเหตุการณ์ “ยทุ ธนาวี” เป็นการ
รบท่ีเกาะชา้ ง หรือท่ีรู้จกั กนั ในนาม ยทุ ธนาวีเกาะชา้ ง เป็นเหตุการณ์รบทางเรือท่ีเกิดข้ึนในกรณีพิพาทไทย-
อินโดจีนฝรั่งเศส อนั เป็นผลสืบเน่ืองมาจากการที่ไทยเรียกร้องใหป้ รับปรุงเส้นแบ่งเขตแดน ไทย-อินโดจีน
ฝรั่งเศส ยทุ ธภูมิในการรบคร้ังน้ีเกิดข้ึนที่บริเวณดา้ นใตข้ องเกาะชา้ ง จงั หวดั ตราด เม่ือวนั ท่ี 17 มกราคม พ.ศ.
2484 และถือเป็ นการรบทางทะเลคร้ังเดียวในประวตั ิศาสตร์กองทพั เรือไทย และรัฐบาลวิชีฝร่ังเศสในช่วง
สงครามโลกคร้ังที่สอง (สืบคน้ ขอ้ มูลจาก อนุสรณ์สถานเรือหลวงธนบุรี เวบ็ ไซต์ http://www.rtna.ac.th)
46
1.4.2 ประวตั ิศาสตร์เกี่ยวกบั วีรชนและบุคคลต่างๆ ไดแ้ ก่
- วรี ชนชาวบา้ นบางระจนั
ขนุ สรร
ลกั ษณะรูปใบยาวพ้ืนใบสีแดงอมดาํ กระดูกแดงเส้นแดงมีเม็ดใหญ่สีขาวอมชมพู ขอบรอบใบสี
เขียวแก่ หวา่ งหูมว้ นสะโพกใหญ่ กา้ นสีแดงครั่ง มีเส้ียนละเอียดถึงคอใบ คุณบุญมี เพชรดี ใหช้ ่ือไวเ้ มื่อ พ.ศ.
2513 ขนุ สรร หรือพอ่ ขนุ สรรค์ วีรบุรุษแห่งลุ่มแม่น้าํ นอ้ ย ท่านอาสาป้องกนั ชาติไทยเป็นคนแรกของชยั นาท
ท่ีเสียสละชีวติ ต่อสูก้ บั พม่า และลกั ษณะพ้ืนใบสีแดงอมดาํ หมายถึง ความแกร่งกลา้ บู๊ อดทน เดด็ เดี่ยว ความ
หนกั แน่น
นายจนั หนวดเข้ียว
เป็นบอนท่ีอยใู่ น “ตบั วีรชน” ต้งั ชื่อโดยคุณบุญมี เพชรดี จงั หวดั นนทบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2512 เป็นบอน
ใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสีแดงเป็นมนั ขอบใบสีเขียวเขม้ กระดูกและเส้นสีแดงสด มีเมด็ สีขาวอมชมพู
ประปราย กา้ นใบสีแดงคล้าํ มีสะพานหนา้ สีดาํ สาแหรกสีชมพู นายจนั หนวดเข้ียว เป็นวีรชนผกู้ ลา้ แห่งบา้ น