47
บางระจนั ซ่ึงเป็ นประวตั ิศาสตร์ชาติไทยที่น่าเชิดชู นายจนั หนวดเข้ียว เป็ นคนกลา้ หาญ มุทะลุ ใจร้อน แต่
ฉลาดเฉลียวและไหวพริบดี และลกั ษณะพ้ืนใบสีแดงเป็นมนั หมายถึง ความแกร่งกลา้ ใจร้อน มุทะลุ บู๊ลา้ ง
ผลาญ ขอบใบสีเขียว หมายถึง ความหนกั แน่น
นายดอกรัก
เป็นบอนท่ีอยใู่ น “ตบั วีรชน” ต้งั ช่ือโดยคุณบุญมี เพชรดี จงั หวดั นนทบุรี เม่ือปี พ.ศ. 2516 เป็นบอน
กดั สีประเภทใบยาว คลา้ ยรูปหอก แต่มีแผ่นใบกวา้ งและย่น เม่ือยงั เล็กพ้ืนใบมีสีเขียวอ่อนถึงขาว แลว้ จะ
เปล่ียนเป็ นสีขาวอมชมพู จนพอใบแก่จะเป็ นสีชมพูเขม้ ขอบใบมีสีเขียวเรื่อ กระดูกและเส้นสีขาวมีเส้นสี
เขียวอ่อนทบั จนใบแก่เต็มท่ีจึงมีสีเขียวและสีชมพูเพิ่มข้ึน กา้ นใบสีเขียว มีเส้ียนละเอียดสีน้าํ ตาลไหม้ นาย
ดอกรักเป็ นบุคคลทางประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ท่ีถูกระบุว่าอยู่ในบา้ นบางระจนั นายดอกรักเป็ นคนมีนิสัย
ววู่ าม จะดีกไ็ ม่ดี จะร้ายกไ็ ม่ร้าย มีนิสยั คร่ึง ๆ กลาง ๆ เชื่อใจไม่คอ่ ยได้ และลกั ษณะพ้ืนใบสีเขียวอ่อนถึงขาว
ในตน้ เล็กน้ัน หมายถึง ความร่มร่ืน ความสันติสุข ความบริสุทธ์ิ พอใบแก่กลายเป็ นสีชมพูเขม้ หมายถึง
ความหนุ่มสาว เลือดร้อน มุทะลุ
พนั เรือง
48
เป็ นบอนท่ีอยใู่ น “ตบั วีรชน” ผสมพนั ธุ์โดยพระอาจารยอ์ ิน ทนุตจโร ประมาณปี พ.ศ. 2520-2521
ชื่อโดยคุณบุญมี เพชรดี จงั หวดั นนทบุรี เม่ือปี พ.ศ. 2522 ต้งั เป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ ขอบใบเป็ น
คล่ืน มีใบอก พ้ืนใบสีชมพูอมแดงถึงแดง เม่ือแก่มีสีเหลือบเขียว มีเม็ดสีขาวอมชมพู กระดูกและเส้นสีแดง
กา้ นใบสีน้าํ ตาลเขม้ ถึงดาํ มีสาแหรกสีชมพู พนั เรืองเป็ นวีรชนผูก้ ลา้ แห่งบา้ นบางระจนั และมีชื่ออยู่ใน
ประวตั ิศาสตร์ชาติไทย พนั เรืองมีความสามารถในการรบ เป็ นผูค้ ิดวางแผนในการส่งคนเขา้ มาขอปื นใหญ่
และกระสุนดินดาํ ในเมืองหลวง และลกั ษณะพ้ืนใบสีชมพอู มแดงถึงแดง หมายถึง ความแกร่งกลา้ มุทะลุ บู๊
เม่ือแก่มีสีเหลือบเขียว หมายถึง การไตร่ตรอง ความหนกั แน่น
นายโชติ
เป็นบอนท่ีอยใู่ น “ตบั วีรชน” ผผู้ สมพนั ธุ์ คือ พระอาจารยอ์ ิน ทนุตจโร วดั บวั ทอง จงั หวดั ปทุมธานี
และต้งั ช่ือโดยคุณบุญมี เพชรดี จงั หวดั นนทบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2522 เป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสี
แดงเหลือบเขียวเป็นมนั กระดูกและเส้นสีแดงคล้าํ กา้ นใบสีน้าํ ตาล เม่ือแก่มีสีคล้าํ ข้ึน ในปี พ.ศ. 2523-2526
พนั ธุ์น้ีมีราคาสูงมาก นายโชติเป็นวีรชนผูก้ ลา้ แห่งบา้ นบางระจนั ซ่ึงถูกบนั ทึกไวใ้ นประวตั ิศาสตร์ชาติไทย
นายโชติน้นั เป็นคนเฉลียวฉลาด กลา้ หาญ ไม่เกรงกลวั ต่อความลาํ บาก รู้จกั วางแผน คร้ังน้นั ท่านไดน้ าํ พรรค
พวกไปลอบฆ่าทหารพม่าไดก้ ว่า 20 คน และลกั ษณะพ้ืนใบสีแดงเหลือบเขียว หมายถึง ความแกร่งกลา้ บู๊
ลา้ งผลาญ การไตร่ตรอง ความหนกั แน่น
-เจา้ ฟ้ากงุ้
49
เจา้ ฟ้ากงุ้
ผผู้ สมพนั ธุ์ คือ คุณเสริม พงศท์ อง เมื่อปี พ.ศ. 2532 เป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสีแดงอม
ชมพู มีจุดประสีขาวอมชมพแู ละเขียว ดู เลอะเทอะ ขอบใบสีเขียว กระดูกและเส้นสีแดง กา้ นใบสีชมพอู ่อน
มีเส้ียนและสะพานหนา้ สีดาํ เจา้ ฟ้ากงุ้ หรือ เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ กรมขนุ เสนาพทิ กั ษ์ พระองค์
ทรงมีความสามารถหลายดา้ น ท้งั เป็นผมู้ ีสติปัญญาเฉลียวฉลาด ทรงชาํ นาญในการใชอ้ าวธุ แทบทุกประเภท
ดา้ นภาษา วรรณกรรมและการประพนั ธ์ พระองคท์ รงเป็นกวีเอก แต่พระองคท์ รงหุนหนั พลนั แลน่ ปราศจาก
การไตร่ตรอง และลกั ษณะพ้นื ใบสีแดงอมชมพู หมายถึง ความแกร่งกลา้ ใจร้อน มุทะลุ ผมู้ ีอายนุ อ้ ย
-พระนางจามเทวี
พระนางจามเทวี
เป็นบอนผสมพนั ธุ์โดยคุณประเสริฐ เพียรสวรรค์ พระโขนง กรุงเทพฯ ประมาณปี พ.ศ. 2524-2525
เป็นบอนใบไทย พ้นื ใบสีชมพอู มแดงคล้าํ กระดูกและเสน้ สีแดง กา้ นใบสีแดงคล้าํ มีเส้ียน สีน้าํ ตาล เนื่องจาก
50
นางจามเทวีทรงเป็นปฐมกษตั ริยแ์ ห่งอาณาจกั รหริภุญชยั พระนางเป็นปราชญท์ ่ีมีคุณธรรม มีความสามารถ
และมีความกลา้ หาญ และลกั ษณะของพ้นื ใบสีชมพอู มแดงคล้าํ หมายถึง สตรีออ่ นวยั ท่ีสวยงาม กา้ นใบสีแดง
คล้าํ หมายถึง ความแกร่งกลา้
-จูกดั เหลียง
จูกดั เหลียง
ลกั ษณะรูปใบยาวปลายใบแหลม หูรัดรูปใบยกเป็นกระทง พ้ืนใบสีแดงเขม้ ขอบรอบใบสีเขียวอม
ดาํ รอบ ๆ หูท้งั สองดา้ นติดสะดือมีริ้วสีแดงซอ้ นเป็นช้นั กา้ นพ้นื สีดาํ จูกดั เหลียงหรือขงเบง้ เป็นกนุ ซือของก
องทัพเล่าปี่ เป็ นบุคคลสําคญั ทางประวตั ิศาสตร์ นั่นคือ สามก๊ก จูกัดเหลียงได้ชื่อว่าเป็ นผูห้ ยง่ั รู้ฟ้าดิน
เน่ืองจากเขาเช่ียวชาญการวางแผนกลศึก และเชี่ยวชาญดา้ นการเมืองการปกครอง มีไหวพริบปฏิภาณดี
วาทศิลป์ ดา้ นการทูตเป็ นเลิศ และลกั ษณะพ้ืนใบสีแดงเขม้ หมายถึง ความฉลาด ขอบรอบใบสีเขียวอมดาํ
หมายถึง การไตร่ตรอง ความหนกั แน่น อดทน เดด็ เด่ียว
-องั ศุมาลิน
51
องั ศุมาลิน
เป็นบอนลูกผสมระหวา่ ง "ลูกไมข้ องเกตุจุฬามณี" กบั "พนั เรือง" ลกั ษณะเป็นบอนใบกาบ มีแผน่ ใบ
คลา้ ยรูปใบโพธ์ิ ขอบใบเป็ นคลื่น พ้ืนใบสีแดงอมชมพู กระดูกและเส้นสีแดง กา้ นใบแผ่เป็ นกาบสีแดงอม
ชมพู และมีแขง้ เรียวแหลมสีเดียวกบั กา้ นใบ ชื่อบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขา
มนุษยศาตร์ ดา้ นประวตั ิศาสตร์ ดงั่ ท่ีปรากฏช่ือ “องั ศุมาลิน” ในวรรณกรรมเรื่องคู่กรรม องั ศุมาลินเป็ นตวั
ละครนางเอกในเรื่องคู่กบั โกโบริ (พระเอก)
-พระยาฟ้าลน่ั
พระยาฟ้าลน่ั
เป็นบอนนาํ มาจากต่างประเทศ ประมาณปี พ.ศ. 2445-2450 เป็นบอนใบไทย พ้ืนใบสีชมพูอมเขียว
อ่อน กระดูกและเส้นสีชมพูอ่อน มีเม็ดสีขาว สีขาวอม ชมพู และสีแดง กา้ นใบสีเขียว และมีเส้ียนสีน้าํ ตาล
เน่ืองดว้ ยพระยาฟ้าลนั่ แม่ทพั ท่ีคุมทพั หลวงของพระเจา้ เชียงใหม่ และลกั ษณะพ้ืนใบสีชมพู หมายถึง ความ
เฉียบขาด สีอมเขียวออ่ น หมายถึง การไตร่ตรอง ความหนกั แน่น
52
-จเดด็
จเดด็
เป็นบอนท่ีอยใู่ น “ตบั ผูช้ นะสิบทิศ” ผูผ้ สมพนั ธุ์ คือ คุณเจริญ ชา้ งเจริญ เม่ือปี พ.ศ. 2529 ต้งั ช่ือโดย
คุณประเสริฐ เพียรสวรรค์ พระโขนง กรุงเทพฯ ตน้ เต้ีย เป็ นบอนใบยาวรูปหอก ขอบใบเป็ นคล่ืน พ้ืนใบสี
แดงสด มีเส้นบางๆ สีชมพูอมแดง ก้านใบสีแดงสด พนั ธุ์น้ีมี 2 ต้น ตน้ เดิมผลิตเม่ือปี พ.ศ. 2512-2515
ปัจจุบนั สูญพนั ธุ์แลว้ จะเดด็ หรือบุเรงนอง ขนุ พลเอกของ พระเจา้ ตะเบงชะเวต้ี จะเดด็ น้นั ไดช้ ื่อวา่ เป็นผชู้ นะ
สิบทิศ เป็นคนที่เก่งครบท้งั บุ๋นและบู๊ กลา้ หาญ ไม่เกรงกลวั ศตั รูหนา้ ไหน อีกท้งั เป็นคนที่วางตวั ไดเ้ หมาะสม
และดว้ ยจะเด็ดเป็นคนท่ีเหนือคน จึงขวนขวายข้ึนเป็นพระเจา้ บุเรงนอง กษตั ริยพ์ ม่าองคท์ ่ี 3 ไดส้ าํ เร็จ และ
ลกั ษณะพ้ืนใบสีแดงสด หมายถึง ความแกร่งกลา้ มุทะลุ บู๊ลา้ งผลาญ บอนใบยาวรูปหอก อาจส่ือถึงอาวธุ ใน
การออกศึกในอดีต คือหอก
-มา้ เฉลียว
มา้ เฉียว
53
ลกั ษณะเป็นบอนรูปใบยาวปลายใบแหลม หูรัด สะโพกกวา้ ง กระดูกขาวอมเขียว เส้นขาวมีเมด็ แดง
ยาวพร่า ขอบใบสีเขียว กา้ นสีเขียวกา้ นมะลิ เม่ือพจิ ารณาตามความหมายของรูปใบ หมายถึง ตวั ละครในสาม
ก๊ก สอดคลอ้ งกบั ชื่อบอนดงั กลา่ วท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นประวตั ิศาสตร์
ดงั่ ที่ปรากฏชื่อ “มา้ เฉลียว” ในเรื่องสามก๊ก มา้ เฉียวหรือหม่าเชาในวรรณกรรมสามก๊ก มา้ เฉียวถูกมองใน
ฐานะนกั รบผกู้ ลา้ หาญและเป็นหน่ึงในหา้ ทหารเสือของเล่าป่ี
-อาจารร์ฮกหลง
อาจารยฮ์ กหลง
ลกั ษณะเป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ แต่มีหูใบส้นั พ้ืนใบสีชมพู กระดูกและเส้นสีเขียวถึงชาว มี
พร่าสีขาว พอใบแก่พ้ืนใบมีสีเขียวเพิ่มข้ึน ขอบใบชลิบเขียว กา้ นใบสีดาํ ช่ือบอนดงั กล่าวที่ปรากฏภาพ
สะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นประวตั ิศาสตร์ ดงั่ ท่ีปรากฏชื่อ “ฮกหลง” ในเร่ืองสามก๊ก
ฮกหลงเป็นช่ือที่ถูกเรียกขานมากจากตวั ละครที่ชื่อวา่ จูกดั เหลียงหรือขนุ เบง้ ผมู้ ีความรู้ความสามารถในทุก
ศาสตร์สาขา ท้งั การเมือง การปกครอง การทหาร ที่มาของชื่อฮกหลง หมายถึง มงั กรผซู้ ่อนกาย (มงั กรหลบั )
1.5 การปกครอง
ผศู้ ึกษาพบว่า ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมการปกครองที่ปรากฏในการต้งั ช่ือบอนสี มีจาํ นวน 3 ปะเภท
คือ
1.5.1 การปกครองแบบอาํ เภอ
54
เจา้ เชียงของ
ไม่ทราบผผู้ สมพนั ธุ์ คุณมนตรี เทียนขาว เป็นผนู้ าํ มาจากจงั หวดั ปราจีนบุรี และนาํ มาปลูกเล้ียงเป็น
คนแรก เป็นบอนใบไทย แผน่ ใบยน่ พ้นื ใบสีแดง กระดูกและเสน้ สีแดง ขอบใบเป็นคล่ืนขลิบสีเขียว กา้ นใบ
สีชมพอู มแดง มีเส้ียนหนาสีน้าํ ตาล เชียงของในอดีตเคยถูกยดึ ครองโดยพม่ามาก่อน ปัจจุบนั เชียงของเป็น
อาํ เภอหน่ึงในจงั หวดั เชียงราย และลกั ษณะของพ้นื ใบสีแดง หมายถึง ความแกร่งกลา้ อาจหมายถึง เจา้ เชียง
ของในอดีตที่เป็นผปู้ กครองเมืองท่ีมีความแกร่งกลา้
วเิ ศษไชยชาญ
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "สถานท่ีสาํ คญั " ลูกผสมระหวา่ ง "ลูกไมข้ องเจา้ ฟ้ากงุ้ " กบั "อุม้ บุญ" ลกั ษณะ
เป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสีชมพอู มขาว มีพร่าสีขาวบาง กระดูกและเส้นแดงมีสีขาวบริเวณริม
หูใบติดสะดือ ปลายใบเรียวแหลม ก้านสีน้ําตาลอมด เมื่อพิจารณาตามความหมายของรูปใบ หมายถึง
สถานท่ีสาํ คญั สอดคลอ้ งกบั ชื่อบอนดงั กล่าวที่ปรากฎภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมทางสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นการ
ปกครอง ดง่ั ที่ปรากฏชื่ออาํ เภอ “วเิ ศษไชยชาญ” เป็นช่ือเดิมของอาํ เภอหน่ึงในจงั หวดั อา่ งทอง ก่อนจะเปล่ียน
มาเป็ นวิเศษชยั ชาญในปัจจุบนั ขอ้ มูลทางประวตั ิศาสตร์กล่าวว่าเมืองวิเศษไชยชาญ น้ีสันนิษฐานว่าต้งั ข้ึน
ราว พ.ศ. 2122–2127 โดยในพระราชพงศาวดารได้กล่าวถึงชื่อเมืองน้ีเป็ นคร้ังแรกเมื่อปี พ.ศ. 2127 ใน
55
แผน่ ดินสมเดจ็ พระมหาธรรมราชา ที่ต้งั ของเมืองวเิ ศษไชยชาญในสมยั น้นั อยฝู่ ั่งตะวนั ออกของแม่น้าํ นอ้ ย มี
โคกใหญ่ท่ีชาวบา้ นเรียกวา่ "บา้ นจวน" ซ่ึงเขา้ ใจว่าคงเป็ นที่ต้งั ของจวนผูว้ า่ ราชการเมือง อยใู่ กลว้ ดั ขมุ ทอง
ตาํ บลไผ่จาํ ศีลในปัจจุบนั ต่อมาในสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ แม่น้าํ นอ้ ยต้ืนเขินเป็นตอน ๆ การเดินทางทางเรือ
ไม่สะดวก ทางราชการจึงยา้ ยมืองวิเศษไชยชาญไปต้งั ที่ตาํ บลบางแกว้ ริมแม่น้าํ เจา้ พระยา (ท่ีต้งั ศาลากลาง
จงั หวดั อ่างทองในปัจจุบนั ) พร้อมเปลี่ยนช่ือเรียกว่า "เมืองอ่างทอง" ส่วนแขวงเมืองวิเศษไชยชาญถูกลด
ฐานะเป็นอาํ เภอ เรียกวา่ อาํ เภอไผจ่ าํ ศีล ข้ึนอยใู่ นความปกครองของเมืองอ่างทองต้งั แต่ปี พ.ศ. 2439 โดยต้งั
ท่ีว่าการอาํ เภอทางฝั่งตะวนั ออกของแม่น้ําน้อย หมู่ท่ี 3 ตาํ บลไผ่จาํ ศีล จนกระทั่งปี พ.ศ. 2451 รัชสมยั
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ มีพระบรมราชานุญาต ให้เปล่ียนช่ือ
อาํ เภอไผ่จาํ ศีลเป็ น อาํ เภอวิเศษไชยชาญ และปรากฏหลกั ฐานเกี่ยวกบั การใหใ้ ชช้ ่ือ "อาํ เภอวิเศษไชยชาญ"
ในหนังสือราชกิจจานุเบกษา 2 คร้ัง และราชการก็ใช้ชื่อ อาํ เภอวิเศษไชยชาญ มาจนถึงอย่างน้อยวนั ที่ ๔
มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๙ หลงั จากน้นั ก็พบว่า เม่ือ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๙ ราชการก็ใชช้ ื่อเป็ น อาํ เภอวิเศษ
ชัยชาญ (สืบค้นข้อมูลจาก สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง เว็บไซต์
https://district.cdd.go.th)
บางบาล
ลกั ษณะเป็ นบอนใบกาบ แผ่นใบค่อนขา้ งกลม ปลายใบแหลม พ้ืนใบสีชมพู ขอบใบขลิบสีเขียว
กระดูกและเส้นสีแดง มีพร่าสีปูนทว่ั ใบ กา้ นใบเป็นกาบใหญ่ สีชมพูเขม้ มีแขง้ ใหญ่ สีคลา้ ยพ้ืนใบ ช่ือบอน
ดงั กล่าวที่ปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นการปกครอง ดงั่ ที่ปรากฏช่ืออาํ เภอ “บาง
บาล” ชื่ออาํ เภอหน่ึงในจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา เป็น 1 ใน 77 จงั หวดั ของประเทศไทย และยงั เป็นบอนของ
ผผู้ สมพนั ธุท์ ่ีมีการอาศยั อยใู่ นอาํ เภอบางบาล จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา จึงใชช้ ่ืออาํ เภอน้ีแทนช่ือบอน
56
บางปะอิน
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "สถานที่สาํ คญั "เป็นบอนผา่ แผลงมาจากบอนกาบชื่อ "บางบาล" ลกั ษณะเป็น
บอนใบกาบ แผ่นใบค่อนขา้ งกลม พ้ืนใบสีขาวอมชมพูขลิบเขียว มีพร่าสีชมพูจางๆทวั่ ใบมีเม็ดขาวจางๆ
กระดูกและเส้นสีแดง ปลายใบแหลม โคนใบเป็ นกาบใหญ่สีชมพูเขม้ มีแขง้ ใหญ่สีคลา้ ยสีพ้ืนใบ ช่ือบอน
ดงั กล่าวที่ปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นการปกครอง ดง่ั ที่ปรากฏช่ืออาํ เภอ “บาง
ปะอิน” ชื่ออาํ เภอหน่ึงในจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา เป็น 1 ใน 77 จงั หวดั ของประเทศไทย และยงั เป็นบอน
ของผผู้ สมพนั ธุ์ท่ีมีการอาศยั อยใู่ นอาํ เภอบางปะอิน จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา จึงใชช้ ่ืออาํ เภอน้ีแทนชื่อบอน
1.5.1 การปกครองแบบจงั หวดั
สาครบุรี
57
บอนตน้ น้ีจดั อย่ใู นตบั " เบ็ดเตล็ด" ลกั ษณะเป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ แผ่นใบหนา พ้ืนใบสี
ชมพูอมเขียวกา้ นมะลิ กระดูกและเส้นสีขาวอมชมพู มีสีเขียวอ่อนแซมท่ีหูใบ ปลายใบแหลม กา้ นใบสีเขียว
มะลิ ชื่อบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นการปกครอง ดง่ั ท่ีปรากฏ
ช่ือจงั หวดั “สาครบุรี ” ซ่ึงเป็ นช่ือเดิมของจงั หวดั สมุทรสาครในปัจจุบนั ในสมยั แผ่นดินสมเด็จพระมหา
จกั รพรรด์ิ แห่งกรุงศรีอยธุ ยา (พ.ศ.2099) ไดโ้ ปรดให้ยก "บา้ นท่าจีน" ข้ึนเป็ น "เมืองสาครบุรี" เพื่อเป็ นหวั
เมืองสําหรับเรียกระดมพลเวลาเกิดสงครามและเป็ นเมืองด่านหนา้ ป้องกนั ผูร้ ุกรานทางทะเล ต่อมาในสมยั
กรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดให้เปลี่ยนช่ือเมืองสาครบุรี
เป็น "เมืองสมุทรสาคร" และในปี พ.ศ.2456 รัชกาลท่ี 6 ไดท้ รงโปรดใหท้ างราชการเปลี่ยนคาํ วา่ "เมือง" เป็น
"จงั หวดั " ทว่ั ทุกแห่งในพระราชอาณาจกั ร เมืองสมุทรสาคร จึงไดเ้ ปล่ียนเป็น "จงั หวดั สมุทรสาคร" ต้งั แต่บดั
น้นั เป็นมาจนถึงทุกวนั น้ี (สืบคน้ ขอ้ มูจาก กรมสรรพากร เวบ็ ไซต์ http://webinter.rd.go.th)
จงั หวดั กาํ เเพงเพชร
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ น "ตบั จงั หวดั " ลกั ษณะเป็ นบอนใบกลม เม่ือตน้ โตเต็มท่ีใบใหญ่ข้ึน และรูปร่าง
คลา้ ยใบไทย พ้ืนใบสีเขียวอมชมพกู ระดูกและเส้นสีชมพเู ขม้ มีเมด็ สีขาวกระจายทว่ั ใบ กา้ นใบสีชมพู มีเส้ียน
สีน้าํ ตาลเขม้ สอดคลองกบั ช่ือบอนดงั กล่าวที่ปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นการ
ปกครอง ดง่ั ที่ปรากฏชื่อจงั หวดั “กาํ เเพงเพชร” เป็น 1 ใน 77 จงั หวดั ของประเทศไทย และยงั เป็นบอนของผู้
ผสมพนั ธุ์ที่มีการอาศยั อยใู่ นจงั หวดั กาํ เเพงเพชร จึงใชช้ ื่อจงั หวดั น้ีแทนช่ือบอน
58
จงั หวดั ธนบุรี
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ น "ตบั จงั หวดั " ลกั ษณะเป็นบอนใบกลม พ้ืนใบสีแดงเขม้ มีเมด็ สีขาวอมชมพประ
ปราย กระดูกและเส้นสีแดงสดกา้ นใบสีแดงเขม้ คลา้ ยสีครั่ง สาแหรกและเส้ียนละเอียดหนา สอดคลองกบั ช่ือ
บอนดังกล่าวท่ีปรากฏภาพสะท้อนทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ด้านการปกครอง ดัง่ ท่ีปรากฏชื่อ
จังหวดั “ธนบุรี” เป็ นจงั หวดั ในอดีตท่ีอยู่ทางฝ่ังตะวนั ตกของแม่น้ําเจ้าพระยา ตรงขา้ มกับจงั หวดั พระ
นคร ซ่ึงมีมาต้งั แต่สมยั กรุงธนบุรี จนกระทง่ั ไดม้ ีการรวมจงั หวดั ธนบุรีกบั จงั หวดั พระนคร เป็ นนครหลวง
กรุงเทพธนบุรี และเปล่ียนชื่อเป็ นกรุงเทพมหานคร และยงั เป็ นบอนเก่าแก่โบราณของผูผ้ สมพนั ธุ์ที่มีการ
อาศยั อยใู่ นจงั หวดั ธนบุรี จึงใชช้ ่ือจงั หวดั น้ีแทนช่ือบอน
จงั หวดั พระนคร
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ น "ตบั จงั หวดั ” พนั ธุ์น้ีมี 2 ตน้ ตน้ หน่ึงแผลงมาจาก "นางไหม" ส่วนลกั ษณะตน้ น้ี
เป็นบอนใบกลมซ่ึงแผลงม"ขนุ ศรีชยั " พ้ืนใบสีเขียวเขม้ มีป้ายสีแดงทบั บนพ้นื สีเขียวเขม้ มีเมด็ สีขาว กระดูก
59
และเส้นสีเขียวอมแดง กา้ นใบสีแดงเขม้ สอดคลองกบั ช่ือบอนดงั กล่าวที่ปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรม
สาขามนุษยศาสตร์ดา้ นการปกครอง ดง่ั ท่ีปรากฏช่ือจงั หวดั “พระนคร” เป็ นชื่อเก่าของจงั หวดั กรุงเทพฯ
ต้งั อยทู่ างฝั่งตะวนั ออกของแม่น้าํ เจา้ พระยา ก่อนที่จะรวมกบั จงั หวดั ธนบุรี เป็นกรุงเทพมหานครในปัจจุบนั
และยงั เป็นบอนเก่าแก่โบราณของผูผ้ สมพนั ธุ์ท่ีมีการอาศยั อยใู่ นจงั หวดั พระนคร จึงใชช้ ื่อจงั หวดั น้ีแทนชื่อ
บอน
จงั หวดั ลพบุรี
บอนตน้ น้ีจดั อยปู่ ใน "ตบั จงั หวดั " ลกั ษณะเป็ นบอนใบกลม ปลายใบมนค่อนขา้ งแหลม พ้ืนใบสี
แดงเหลือบเขียวเล็กนอ้ ย มีเม็ดสีเขียวอมแดง กระดูกและเส้นสีแดง กา้ นใบสีแดงอมชมพู มีเส้ียนสีน้าํ ตาล
เขม้ สอดคลองกบั ช่ือบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นการปกครอง
ดงั่ ที่ปรากฏช่ือจงั หวดั “ลพบุรี” เป็ น 1 ใน 77 จงั หวดั ของประเทศไทย และยงั เป็ นบอนของผูผ้ สมพนั ธุ์ที่มี
การอาศยั อยใู่ นจงั หวดั ลพบุรี จึงใชช้ ่ือจงั หวดั น้ีแทนชื่อบอน
60
นครเขื่อนขนั ธ์
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ น "ตบั จงั หวดั " "นครเขื่อนขนั ธ์" เป็นช่ือเดิมของจงั หวดั สมุทรปราการ กลายพนั ธุ์
จาก "จงั หวดั พระนคร" ลกั ษณะเป็นพ้ืนใบสีแดงคล้าํ เหลือบเขียว กระดูกและเส้นสีแดง มีเมด็ เลก็ สีขาว ขอบ
ใบสีเขียวเร่ือๆ กา้ นใบสีน้าํ ตาลเขม้ สอดคลองกบั ช่ือบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขา
มนุษยศาสตร์ดา้ นการปกครอง ดง่ั ท่ีปรากฏช่ืออาํ เภอ “นครเข่ือนขนั ธ์” เป็ นเมืองหน้าด่านของปากแม่น้าํ
เจา้ พระยา สร้างโดย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั รัชกาลที่ 2 ซ่ึงเป็ นช่ือเดิมของอาํ เภอพระประแดง
จงั หวดั สมุทรปราการในปัจจุบนั ยงั เป็ นบอนเก่าแก่โบราณของผูผ้ สมพนั ธุ์ท่ีมีการอาศยั อยู่ในเขตอาํ เภอ
นครเข่ือนขนั ธ์ จึงใชช้ ื่ออาํ เภอน้ีแทนชื่อบอน
1.5.1 การปกครองแบบแบ่งเขต
บางรัก
61
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "สถานท่ีสาํ คญั " ลูกผสมระหวา่ ง -บางปะอิน" กบั "บานชื่น" ผูผ้ สมพนั ธุ์คือ
คุณทวี ประสิทธ์ิ เม่ือปี พ.ศ. 2537 ต้งั ช่ือเมื่อปี พ.ศ. 2538เป็นบอนใบกาบค่อนขา้ งกลม พ้ืนใบสีเขียว มีพร่าสี
ชาวจางๆ สะดือสีแดง กระดูกและสันสีเขียว ปลายใบแหลม กา้ นสีน้าํ ตาลแดง ท่ีก่ึงกลางกา้ นมีแขง็ ลกั ษณะ
คลา้ ยธง สีสนั เหมือนพ้ืนใบ ช่ือบอนดงั กลา่ วท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นการ
ปกครอง ดง่ั ท่ีปรากฏชื่อเขต “บางรัก” บางรักเป็นเขตการปกครองของจงั หวดั กรุงเทพมหานคร
1.6 กฎหมาย
ผศู้ ึกษาพบวา่ ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมการกฎหมายท่ีปรากฏในการต้งั ชื่อบอนสี มีจาํ นวน 1 ปะเภท
คือ
อมุ้ บุญ
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "เบ็ดเตล็ด" ลกั ษณะเป็นบอนใบยาว ใบดก แผน่ ใบยกข้ึน พ้ืนใบสีแดงสด มี
หนุนทรายเขียวท้งั ใบ มีเมด็ ชมพูมอยหู่ ่างๆ ระหว่างหูใบ กระดูกและเส้นสีแดง กา้ นใบสีคลา้ ยสายบวั สอด
คลองกบั ชื่อบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นกฎหมาย ดงั่ ที่ปรากฏ
กฎหมายการ “อุม้ บุญ” สุรเดช จารุจินดา (2561 : 1) กล่าววา่ การมีบุตรยากเป็นปัญหาสุขภาพอยา่ งหน่ึงหน่ึง
ท่ีเกิดข้ึนกบั คู่สมรส ซ่ึงในอดีตหากคู่สมรสประสบปัญหาดงั กล่าวตอ้ งใชว้ ธิ ีรับเดก็ มาเล้ียงเป็นบุตรบุญธรรม
แต่ในปัจจุบนั วิวฒั นาการทาง การแพทยส์ ามารถใหผ้ อู้ ่ืนต้งั ครรภแ์ ทนหรือท่ีคนไทยส่วนใหญ่เรียกวา่ "การ
อุม้ บุญ" โดยแนวทางการกาํ หนดมาตรการทางกฎหมายในการคุม้ ครองเด็กที่เกิดโดย อาศยั เทคโนโลยีช่วย
การเจริญพนั ธุท์ างการแพทยแ์ ละมาตรการควบคุมทางกฎหมายของแต่ละประเทศ
2.สาขาศิลปะ
สาขาศิลปะ หมายถึง ส่ิงท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึนเพือ่ แสดงออกถึงฝีมือ และความคิดสร้างสรรค์ ความเช่ือ
รสนิยม บุคลิก มีทกั ษะความเพยี ร ความประณีต และภูมิปัญญา แต่สิ่งที่มนุษยไ์ ดร้ ับจากศิลปะ คือ ศิลปะเป็น
62
สิ่งที่เกี่ยวขอ้ งกบั จิตใจ มีจุดหมายไปสู่ความดี และความงาม และมีความแตกต่างกนั ออกไป โคยอิทธิพลของ
สิ่งแวดลอ้ มหลายดา้ น อาจกาํ หนดไดอ้ ยา่ งกวา้ ง ๆ คือ ศิลปะ ที่อาํ นวยประโยชนท์ างสงั คม ความจาํ เป็น และ
ศิลปะอาํ นวยประโยชนท์ างใจหรือศิลปะบริสุทธ์ิอนั เป็นวิจิตรศิลป์ ท่ีมิไดม้ ุ่งประ โยชนท์ างวตั ถุ และลาภผล
โดยสาขาศิลปะ จะประกอบไปดว้ ย วรรณคดี ดนตรี วจิ ิตรศิลป์ สถาปัตยกรรม การละคร ประติมากรรม เป็น
ตน้
ผศู้ ึกษาพบวา่ ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมสาขาสาขาศิลปะที่ปรากฎในการต้งั ชื่อบอนสี สามารถจาํ เเนก
ไดเ้ ป็น 4 ประเภท ไดเ้ เก่
2.1 ภาษา
ผศู้ ึกษาพบวา่ ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมภาษาท่ีปรากฏในการต้งั ช่ือบอนสี มีจาํ นวน 6 รายช่ือ คือ
พระยาเศวต
Caladium humboldtii Schott. มีมาต้งั แต่สมยั รัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2440) เป็ นบอนใบไทยท่ีมีขนาดเล็ก
พ้ืนใบสีเขียว กระดูก เส้น และพร่าสีขาว กา้ นใบสีน้าํ ตาลอ่อน นิยมปลูกเป็นไมก้ ระถาง หรือนาํ มาจดั สวน
กนั มาก เพราะมีทรงตน้ เลก็ กะทดั รัด เน่ืองดว้ ยพระยาเศวต ไม่ไดเ้ ป็นบุคคลสาํ คญั ทางประวตั ิศาสตร์แต่อยา่ ง
ใด จึงวิเคราะห์โดยคาํ ว่าพระยา หมายถึง บรรดาศกั ด์ิของขา้ ราชการผูใ้ หญ่ และเศวต หมายถึง สีขาว และ
ลกั ษณะพ้ืนใบสีเขียว หมายถึง การไตร่ตรอง ความหนกั แน่น ผทู้ รงศีล พร่าสีขาว เป็นลกั ษณะท่ีตรงกบั คาํ วา่
เศวต
63
แม่พิมพข์ องชาติ
เป็นบอนท่ีอยใู่ นตบั “เบ็ดเตล็ด” ผูผ้ สมพนั ธุ์และต้งั ช่ือคือ คุณสุทธิ กล่ินอุทยั เมื่อปี พ.ศ. 2528 เป็น
บอนใบไทย พ้ืนใบสีชมพูอ่อนขลิบสีเขียว มีพร่าสีขาวจางๆ มีเมด็ แดงอมน้าํ ตาล ประปราย กระดูกและเส้น
สีแดง ปลายใบแหลม ก้านใบสีแดงอมน้ําตาล และมีเส้ียนสีน้ําตาลเขม้ แม่พิมพ์ของชาติในด้านภาษา
หมายถึงครู ผเู้ ป็นพิมพเ์ บา้ หล่อสร้างคนดีมีความรู้ มีคุณภาพเพ่ือไปพฒั นาบา้ นเมือง และลกั ษณะของพิ้นใบ
สีชมพอู อ่ น หมายถึง ผอู้ ายนุ อ้ ย อาจสื่อถึงเดก็ นกั เรียนท่ีอยภู่ ายในเบา้ หลอม ขลิบสีเขียวท่ีอยรู่ อบใบ หมายถึง
ความหนกั แน่น ความร่มร่ืน สนั ติสุข ความสดช่ืน ความไตร่ตรอง ซ่ึงเป็นคุณสมบตั ิที่ดีของผเู้ ป็นครู
แม่ศรีเรือน
เป็นบอนท่ีอยใู่ นตบั “เบด็ เตลด็ ” ผผู้ สมพนั ธุค์ ือ คุณสุธงชยั แซ่โงว้ เมื่อปี พ.ศ. 2535 ต้งั ชื่อโดย คุณ
สุทธิ กล่ินอุทยั เม่ือปี พ.ศ. 2539 เป็นบอนใบไทย เมื่อตน้ ยงั เลก็ พ้นื ใบมีสีน้าํ ตาลอ่อน พ้ืนใบสีชมพู กระดูก
และเส้น สีแดง มีเส้นรอบขอบใบสีแดงออ่ น ปลายใบแหลม กา้ นใบสีเขียว กา้ นมะลิมีเส้ียนน้าํ ตาลอ่อน แม่
64
ศรีเรือนในดา้ นภาษาหมายถึง แม่บา้ นแมเ่ รือน กลุ สตรีท่ีเก่งงานบา้ นงานเรือน และลกั ษณะพ้นื ใบสีชมพู
หมายถึง สตรีเพศ ขอบใบสีแดงออ่ น หมายถึง สตรีท่ีอ่อนวยั
ป่ิ นรัตน์
ต้งั ชื่อโดยคุณลดั ดา ป่ิ นทอง กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2524 เป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสี
ขาว มีเมด็ สีแดงกระจายทวั่ ใบ กระดูกและเส้นสีขาว มีพร่าสีแดงอมชมพู ขอบใบเป็นคลื่น มีสีเขียว กา้ นใบสี
ชมพูอ่อน และมีเส้ียนสีน้าํ ตาลแก่ เน่ืองจากปิ่ นรัตน์ ไม่มีความหมายปรากฏ จึงวิเคราะห์เชิงภาษาไดว้ ่า ปิ่ น
หมายถึง เครื่องประดบั สาํ หรับใชป้ ักผมท่ีมวยไว้ และรัตน์ หมายถึง ของประเสริฐสุด ของยอดเยยี่ ม ดงั น้นั
ป่ิ นรัตน์ หมายถึง ป่ิ นวเิ ศษที่มีคา่ ยง่ิ และลกั ษณะพ้นื ใบสีขาว หมายถึง สตรีเพศ ความสะอาด ความบริสุทธ์ิ
พรพระร่วง
เป็ นบอนลูกผสมระหว่าง “หมอยอดเดช” กบั “นายโชติ” คุณทวี ประสิทธ์ิ เป็ นผูผ้ สมพนั ธุ์เมื่อปี
พ.ศ. 2530 เป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสีแดงคล้าํ เป็นมนั กระดูกและเส้นสีแดงเขม้ ถึงแดงคล้าํ มี
65
เม็ดสีแดงอ่อนกระจายห่าง ๆ กา้ นใบสีดาํ พรพระร่วง ไม่ปรากฏความหมายท่ีแน่ชดั หากวิเคราะห์ในเชิง
ภาษา พร หมายถึง คาํ แสดงความปรารถนาใหป้ ระสบสิ่งท่ีเป็นสิริมงคล และพระร่วง พระยาร่วง หรือพญา
ร่วง โดยร่วง เป็ นคาํ ไทยโบราณ แปลว่า รุ่งเรือง ดงั น้นั พรพระร่วง หมายถึง พรที่ประสงคจ์ ะให้ผูร้ ับน้ัน
ประสบแต่ความรุ่งเรือง และลกั ษณะพ้ืนใบสีแดงคล้าํ หมายถึง ความสดช่ืน ความกระปร้ีกระเปร่า
มหาราชินี
เป็ นบอนท่ีอยู่ใน “ตบั เทิดพระเกียรติ” คุณประเสริฐ เพียรสวรรค์ เป็ นผูผ้ สมพนั ธุ์ คาดว่าผลิตข้ึน
ประมาณปี พ.ศ. 2520 เป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปสามเหลี่ยม แผ่นใบเป็ นคล่ืน พ้ืนใบสีชมพูอมแดง ขอบใบ
ขลิบเขียว กระดูกและเส้นสีขาว พร่าสีแดง กา้ นใบสีเขียว คลา้ ย “พรหมเทพ” แต่หูใบ “พรหมเทพ” ค่อนขา้ ง
แหลม ส่วน “มหาราชินี” หูใบมน หากวิเคราะห์ตามหลกั ภาษา ความว่า มหา หมายถึง ใหญ่ ย่ิงใหญ่ และ
ราชินี หมายถึง พระมเหสี ดงั น้นั มหาราชินี หมายถึง พระมเหสีผูย้ ่งิ ใหญ่ และลกั ษณะพ้ืนใบสีชมพูอมแดง
หมายถึง สตรีเพศ ความสวยงาม ความแกร่งกลา้ ขอบใบขลิบเขียว หมายถึง ผูท้ รงศีล ความหนกั แน่น สันติ
สุข การไตร่ตรอง และใบยาวคลา้ ยรูปสามเหลี่ยม อาจมีลกั ษณะคลา้ ยกบั มงกฎุ
2.2 ดนตรี
ผศู้ ึกษาพบวา่ ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมดนตรีท่ีปรากฏในการต้งั ช่ือบอนสี มีจาํ นวน 7 คือ
66
เกลด็ แกว้
เป็นบอนท่ีอยใู่ นตบั “เพลงไทย” ลูกผสมระหว่าง “จอมสุรางค”์ กบั “นครพิงค”์ ผผู้ สมพนั ธุ์คือ คุณ
สลิดา พิเรนทร เมื่อปี พ.ศ. 2538 เป็นบอนใบไทย พ้ืนใบสีขาว มีเมด็ เลก็ สีแดงอมชมพกู ระจายทวั่ ใบ กระดูก
และเส้น สีเขียวเขม้ กา้ นใบสีเขียวอ่อน มีสะพานสีน้าํ ตาล โดยบอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั เพลงไทย ซ่ึงเพลงเกลด็
แกว้ น้นั มีเน้ือหาเพลงที่คร่ําครวญถึงหญิงคนรักท่ีเปลี่ยนใจทิ้งตนไป และดว้ ยลกั ษณะพ้ืนใบสีขาว หมายถึง
สตรีเพศ ความบริสุทธ์ิ ความจงรักภกั ดี ความซ่ือสตั ย์ ซ่ึงอาจจะส่ือในสองลกั ษณะ คือ สื่อถึงนางอนั เป็นที่รัก
และความซื่อสัตยข์ องฝ่ ายชายท่ียงั คงรักเธอ แมเ้ ธอจะทิ้งเขาไปแลว้ ก็ตาม ประจุเล็กที่ไม่เป็ นระเบียบ
หมายถึง สตรีเพศ
จอมสุรางค์
เป็ นชื่อเพลงไทยทาํ นองหน่ึง ลูกผสมของ “อาํ พนั มาลา” กบั “โคบุตร” ผสมพนั ธุ์และต้งั ช่ือ จด
ทะเบียนเมื่อวนั ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2530 โดยคุณสลิดา พิเรนทร เป็ นบอนใบไทย พ้ืนใบสีแดงสดเป็ นมนั
กระดูกและเส้นสีแดง มีเม็ดใหญ่สีชมพูอ่อนกระจายห่างกนั กา้ นใบสีแดง บางกา้ นมีสะพานหนา้ สีน้าํ ตาล
67
เดิมทีน้นั จอมสุรางค์ เป็นทาํ นองเพลงไทยท่ีใชใ้ นการเล่นโหมโรง เรียกอีกช่ือวา่ โหมโรงจอมสุรางค์ ทาํ นอง
เพลงมีความไพเราะ ฟังแลว้ รู้สึกผ่อนคลาย มีความสดช่ืนอยู่ในท่วงทาํ นอง และมีความหมายไปในทาง
สนุกสนาน มักเล่นในงานมงคลต่าง ๆ และด้วยลักษณะพ้ืนใบสีแดงสด หมายถึง ความสดช่ืน ความ
กระปร้ีกระเปร่า ประจุดใหญ่ห่างไม่เป็นระเบียบ หมายถึง เจา้ ทรัพย์ มีอาํ นาจ
ตอ้ ยตีวดิ
เป็นช่ือเพลงไทยเพลงหน่ึง ผสมพนั ธุ์และต้งั ช่ือจดทะเบียนเมื่อวนั ท่ี 1 มิถุนายน พ.ศ. 2528 โดยคุณ
ไพชยนต์ พิเรนทร เป็ นบอนใบไทย พ้ืนใบสีแดง เมื่อใบยงั อ่อนมีสีเหลืองจางๆ พอแก่มีสีเขียวตามขอบใบ
กระดูก และเส้นสีแดง มีเมด็ สีขาวกระจายทว่ั ใบ กา้ นใบสีเขียวอมน้าํ ตาล ตอ้ ยตีวิด เป็นเพลงไทยท่ีกล่าวถึง
นกน้อยตอ้ ยตีวิด ทาํ นองเพลงมีความสนุกสนาน มีความน่ารักสอดแทรกอยู่ในเน้ือเพลง มกั ใชเ้ ป็ นเพลง
กล่อมเด็ก และดว้ ยลกั ษณะของพ้ืนใบสีแดง หมายถึง ความแกร่งกลา้ สีเหลือง หมายถึง ความยินดี ความ
ซ่ือตรง สีจางอ่อน หมายถึง ผูม้ ีอายุนอ้ ย สีเขียว หมายถึง ความร่มร่ืน ความสดช่ืน ประจุดเล็กห่างไม่เป็ น
ระเบียบ หมายถึง ความมกั นอ้ ย สนั โดษ
68
ราตรีประดบั ดาว
เป็ นช่ือเพลงเพลงหน่ึง ผสมพนั ธุ์โดยคุณสลิดา พิเรนทร เป็ นบอนใบไทย พ้ืนใบสีแดงเขม้ กระดูก
และเส้นสีแดง มีเม็ดสีขาวกระจายทวั่ ใบ คลา้ ย “ตอ้ ยตีวิด” บริเวณขอบใบและใบมีสีเขียวเรื่อๆ กา้ นใบสี
น้าํ ตาลเขม้ คอใบมีสีชมพู ราตรีประดบั ดาว วิเคราะห์ในเชิงภาษา ราตรี เป็ นคาํ ไวพจน์ หมายถึง กลางคืน
เวลามืด คาํ วา่ ประดบั ดาว หมายถึง เตม็ ไปดว้ ยดวงดาว เนื่องจากในเวลากลางคืน เมื่อฟ้ามืดก็จะเต็มไปดว้ ย
ดวงดาวพร่างพราว และลกั ษณะพ้ืนใบสีแดงเขม้ หมายถึง ความสดชื่น ความกระปร้ีกระเปร่า เม็ดสีขาว
กระจายทว่ั ไป อาจสื่อแทนดวงดาวมากมายในยามค่าํ คืน
เสน่หา
เป็ นบอนท่ีอยู่ในตบั “เพลงไทย” ลูกผสมระหว่าง “อาํ พนั มาลา” กบั “โคบุตร” ผูผ้ สมพนั ธุ์คือ คุณ
สลิดา พิเรนทร เม่ือปี พ.ศ. 2527 เป็นบอนใบไทย แผน่ ใบตึง พ้ืนใบสีแดงอมชมพู กระดูกและเส้นสีแดงเขม้
กา้ นใบสีแดง เน่ืองจากเน้ือเพลงเสน่หาจะพร่ําถึงการเรียกร้องหาความเมตตาจากคนรัก ที่คน ๆ หน่ึงพยายาม
ขอความรักที่ดีจากอีกคน ซ่ึงเม่ือเกิดรัก ยอ่ มเกิดความเสน่หาในตวั คนสองคน หรือเม่ือความเสน่หาเกิดข้ึน
มากกว่าคนสองคน ก็จะนาํ มาซ่ึงความเสียใจและหยาดน้าํ ตา และลกั ษณะพ้ืนใบสีแดงอมชมพู หมายถึง ใจ
ร้อน มุทะลุ ลา้ งผลาญ สตรีเพศ
69
จงรัก
เป็ นชื่อเพลงเพลงหน่ึง ผสมพนั ธุ์โดยคุณสลิดา พิเรนทร เป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสี
แดงเขม้ เป็ นมนั กระดูกและเส้นสีแดง ขอบใบเป็ นคล่ืน กา้ นใบสีแดง มีสะพานหน้าและสะพานหลงั สี
น้าํ ตาล เนื่องจากเน้ือเพลงจงรักพร่ําเพอ้ ถึงความรักที่มนั่ คงและรักตลอดไปชวั่ นิรันดร์ และลกั ษณะพ้ืนใบสี
แดงเขม้ หมายถึง ความรัก ลกั ษณะส่วนใหญ่ของบอนสีจงรักเป็นสีแดง ดงั น้นั จึงเนน้ ส่ือไปถึงความรัก และ
ตรงกบั เน้ือหาในเพลงจงรัก
มหาฤกษ์
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "เพลงไทย" ลูกผสมระหวา่ ง "อาํ พนั มาลา" กบั "โคบุตร" ลกั ษณะเป็นบอนใบ
ยาวท่ีแขง็ แรง แผน่ ใบหนา พ้นื ใบสีแดงเขม้ อมชมพคู ลา้ ย "นายโชติ" กระดูกและเส้นสีแดง กา้ นใบสีแดงเมื่อ
พิจารณาสีพ้ืนใบสีแดงเขม้ อมชมพู หมายถึงความรัก ความสดช่ืน สอดคลอ้ งกบั ช่ือบอนดงั กล่าวที่ปรากฏ
ภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขาศิลปะ ดา้ นดนตรี ดงั่ ท่ีปรากฏชื่อบทเพลง “มหาฤกษ”์ เป็นเพลงสาํ คญั ของ
ประเทศไทยที่นาํ มาบรรเลงอยา่ งแพร่หลาย โดยทาํ นองตอ้ งการสื่อความหมายใหเ้ กิดความรัก ความสามมคั คี
ของคนในชาติ ใชบ้ รรเลงเพื่อแสดงฤกษง์ ามยามดี และความสวสั ดีมีโชคชยั ในโอกาสต่าง ๆ เพลงมหาฤกษ์
70
จอมพถ ลมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้าบริพตั รสุขุมพนั ธุ์ กรมพระนครสวรรควรพินิต ขณะทรงดาํ รง
ตาํ แหน่งเสนาบดีกระทรวงทหารเรีอ ไตท้ รงพระนิพนธ์ตดั แปลงจากทาํ นองไทยในชุดทาํ ขวญั เวียนเทียน
เป็ นทางสากล และเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับแตรวงบรรเลง ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้
เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯใหใ้ ชเ้ ป็นเพลงเกียรติยศ บรรเลงในเวลาไดษ้ เ์ ปิ ดงานหรือสถานที่เป็ น
พิธีสําคญั สําหรับประธานในพิธีท่ีเป็ นเจา้ นายต้งั แต่ช้ันต่าํ กว่าพระบรมวงศ์ลงมา จนถึงขา้ ราชการและ
สามญั ชน
2.3 วรรณคดี
ผศู้ ึกษาพบวา่ ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมวรรณคดีท่ีปรากฏในการต้งั ชื่อบอนสี มีจาํ นวน 10 เรื่อง ไดแ้ ก่
2.3.1 ขนุ ชา้ งขนุ แผน
ขนุ ชา้ ง
เป็นบอนท่ีอยใู่ นตบั “ขนุ ชา้ งขนุ แผน” เป็นบอนเก่าที่อาจารยห์ วน่ั ให้ช่ือไวแ้ ต่เดิม เป็นบอนใบไทย
พ้ืนใบสีเขียว กระดูกและเส้นสีเขียว มีป้ายสีแดงทบั ปลายใบแหลม กา้ นใบมีเส้ียนสีดาํ ละเอียดและสะพาน
หนา้ ลกั ษณะ พ้ืนใบสีแดงหนุนทรายบาง ๆ กระดูกแดงเส้นแดง วิ่งพร่าขา้ งกระดูกสีแดงสด เม็ดเล็กสีชมพู
อมขาวกระจายทว่ั ไป กา้ นสีแดงอมม่วง สีสะพานหนา้ กบั สาแหรกตาํ มวั่ โดยบอนสีตน้ น้ีนาํ ช่ือของขนุ ชา้ ง
จากวรรณคดีเร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผนมาต้งั ดงั จะเห็นในลกั ษณะของขนุ ชา้ งท่ีเป็นคนใจร้อน เจา้ เล่ห์ และมีใจท่ี
มน่ั คง รักเพียงนางวนั ทองแคเ่ พยี งผเู้ ดียว และดว้ ยลกั ษณะพ้นื ใบสีเขียว หมายถึง ความหนกั แน่น ความพอใจ
ป้ายสีแดงทบั หมายถึง ใจร้อน มุทะลุ ประจุดเลก็ ที่ไม่เป็นระเบียบ หมายถึง สตรีเพศ
71
นางแกว้ กิริยา
เป็นบอนท่ีอยใู่ น “ตบั ขนุ ชา้ งขนุ แผน” มาจากต่างประเทศในสมยั รัชกาลที่ 5 ประมาณปี พ.ศ. 2445-
2450 ต้งั ช่ือโดยคุณเปล้ือง สุเดช เป็ นบอนใบไทย ขอบใบเป็ นคลื่นเล็กน้อย พ้ืนใบสีแดงเหลือบสีเขียวอม
เหลือง มีเม็ดเล็ก สีชมพูอ่อน กระดูกและเส้นสีแดงสด กา้ นใบสีแดง มีสะพานหนา้ และสาแหรกสีดาํ เน่ือง
ดว้ ยนางแกว้ กิริยาเป็นเมียอีกคนของขนุ แผน โดยนางถือเป็นเมียที่ดีคนหน่ึง เจียมเน้ือเจียมตวั อยตู่ ลอดเวลา
อีกท้งั นางยงั ปฏิบตั ิตนต่อขุนแผนอยา่ งเสมอตน้ เสมอปลาย และลกั ษณะพ้ืนใบสีแดง หมายถึง ความแกร่ง
กลา้ สีเขียว หมายถึง การไตร่ตรอง ความหนกั แน่น ความร่มร่ืน สีเหลือง หมายถึง ความซื่อตรง ความเสมอ
ตน้ เสมอปลาย ประจุดเลก็ ถ่ีไม่เป็นระเบียบ หมายถึง สตรีเพศ
นางวนั ทอง
เป็ นบอนท่ีอยู่ใน “ตบั ขุนช้างขุนแผน” มีมาต้งั แต่ปี พ.ศ. 2474 2475 กล่าวกันว่ามี 2 ตน้ ตน้ แรก
ใบแดงคล้าํ อีกตน้ ใบมีสีแดงอ่อนกวา่ เป็นตน้ ที่พบในปัจจุบนั เป็นบอนใบไทย พ้ืนใบสีแดงคล้าํ เหลือบเขียว
กระดูกและเส้นสีแดง มีเม็ดสีขาวอมชมพู กา้ นใบสีแดง มีสะพานหนา้ และสะพานหลงั สีน้าํ ตาลเขม้ เน่ือง
72
ดว้ ยนางวนั ทองเป็ นสาวชาวบา้ นจึงเป็ นคนซื่อ ไม่ค่อยฉลาดเท่าไรนกั มีความละเอียดอ่อน มีสาํ นึกรู้จกั ถึง
บุญคุณ มีน้าํ ใจเมตตา ซื่อสัตยต์ ่อความรัก และลกั ษณะของพ้ืนใบสีแดงคล้าํ หมายถึง ความรัก เหลือบเขียว
หมายถึง ความหนกั แน่น
หมื่นเเผว้
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "ขนุ ชา้ งขนุ แผน" ลกั ษณะเป็นบอนผา่ แผลงมาจากบอนใบไทยช่ือ "ศรีมาลา"
เป็นบอนใบกลม แผน่ ใบยน่ พ้ืนใบสีเขียวอ่อนอมชมพู มีเมด็ ใหญ่สีขาว กระดูก เส้นและพร่าสีชมพู กา้ นใบ
สีเขียว มีเส้ียนสีน้าํ ตาลแดง ชื่อบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขาศิลปะดา้ นวรรณคดี
ดงั่ ที่ปรากฏชื่อตวั ละคร “หม่ืนแผว้ ” ในวรรณคดีเร่ืองขุนชา้ งขุนแผน ตวั ละครหม่ืนแผว้ เป็ นพ่อของนาง
แก่นแกว้ ซ่ึงเป็นพอ่ ตาขนุ ชา้ ง
หมื่นหาญ
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "ขนุ ชา้ งขนุ แผน" ลกั ษณะเป็นบอนใบกลม แผลงจาก "นกยบิ " พ้ืนใบสีแดง
เขม้ อมเขียว กระดูกและเส้นสีแดง มีพร่าสีชมพู กา้ นใบสีแดงเขม้ และมีสะพานหนา้ สีดาํ กบั ช่ือบอนดงั กลา่ ว
73
ท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นวรรณคดี ดงั่ ท่ีปรากฏช่ือตวั ละคร “หม่ืนหาญ”
ในวรรณคดีเรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผน ตวั ละครหม่ืนหาญ มีฉายาวา่ กระดูกดาํ เป็นหวั หนา้ โจรอยทู่ ี่ถ้าํ แห่งหน่ึง เป็น
พอ่ ของนางบวั คลี่
เถรขวาด
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "ขนุ ชา้ งขนุ แผน" มีมานานแลว้ ประมาณปี พ.ศ. 2474-2475 กล่าวกนั วา่ เดิมมี
3คือ พ้ืนใบสีเขียว มีเมด็ ขาวกระจายทวั่ ใบ เรียกวา่ "ซีขวาด" อีกตน้ มีสีสนั เหมือนตน้ แรก แต่มีใบสีแดงทบั ท่ี
หูท้งั สองขา้ ง และตน้ ที่มีพ้นื ใบสีแดงขลิบสีเขียวที่ขอบใบ ซ่ึงเป็นตน้ ที่พบในปัจจุบนั น้ีเป็นบอนใบกาบ แผน่
ใบกลมยน่ พ้นื ใบสีแดงอมเขียว กระดูกและเสน้ สีแดง ขอบใบสีเขียวกา้ นใบเป็นกาบสีเขียว ชื่อบอนดงั กล่าว
ที่ปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขาศิลปะด้านวรรณคดี ด่ังที่ปรากฏช่ือตวั ละคร “เถรขวาด” ใน
วรรณคดีเร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผน พระภิกษลุ าวเป็นเถรในวรรณคดี เรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผน เป็นผชู้ าํ นาญในเรื่องเวท
มนต์ คาถากฤตยาคม มีช่ือเสียงในการทาํ เสน่ห์ ฝังรูปฝังรอย มีอิทธิฤทธ์ิสะเดาะโซ่ตรวนได้ ตลอดจนแปลง
ร่างเป็นนก เป็นจระเข้ และอื่น ๆ อีกไดเ้ ป็นอนั มาก
2.3.2 พระอภยั มณี
74
นางละเวง
เป็นบอนท่ีอยใู่ น “ตบั พระอภยั มณี” เป็นบอนสีขาวตน้ แรกในประเทศไทย ซ่ึงสงั่ มาจากต่างประเทศ
รุ่นหลงั ประมาณปี พ.ศ. 2470-2475 ต้งั ช่ือโดยคุณเปล่ียน ประตูนกยงู ที่บาร์ไก่ขาว เป็นบอนใบไทย พ้ืนใบ
สีขาว มีกระดูกและเส้นสีขาว เมื่อใบแก่พ้นื ใบเร่ิมมีสีเหลือบเขียว กา้ นใบมีสีเขียวอ่อน (เขียวกา้ นมะลิ) เนื่อง
ดว้ ยนางละเวงเป็นธิดาของกษตั ริยเ์ มืองลงั กา เป็นหญิงท่ีกลา้ หาญ ฉลาด เจา้ เล่ห์ มีฝีมือในการรบ และเป็นคน
ตดั สินใจเด็ดขาด และลกั ษณะของพ้ืนใบสีขาว หมายถึง สตรีเพศต่างชาติ ความซื่อสัตย์ ความจงรักภกั ดี สี
เหลือบเขียว หมายถึง ความหนกั แน่น
2.3.3 หลวชิ ยั คาวี
โคบุตร
เป็ นช่ือตวั ละครเรื่อง “หลวิชยั คาวี” คาดว่าผูผ้ สมพนั ธุ์ คือ พระอาจารยอ์ ิน ทนฺตจโร วดั บวั ทอง
จงั หวดั ปทุมธานี เมื่อปี พ.ศ. 2524 เป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ สีพ้ืนใบดูเลอะเทอะ กระดูกและเส้นสี
เขียว มีพร่าสีแดงปน สีน้าํ ตาลและเหลือบเขียว เมด็ สีขาวอมชมพกู ระจายทว่ั ใบ กา้ นใบสีขาว มีเส้ียนสีน้าํ ตาล
75
อมแดง เน่ืองจากตวั ละครในเร่ืองหลวิชยั คาวีน้นั หลวิชยั เป็นเสือ ส่วนคาวีเป็นววั ดงั น้นั ชื่อบอนสีโคบุตรจึง
น่าจะนาํ มาจากลกั ษณะนิสัยของคาวี โดยคาวีน้นั มีนิสัยอ่อนโยน ใจดี ไม่ทาํ ร้ายใคร มีความพยายามฝึ กฝน
วิชาการต่อสู้ และมีความกลา้ หาญ และลกั ษณะพ้ืนใบท่ีดูเลอะเทอะน้นั เป็นสีพ้ืนใบที่ประกอบไปดว้ ยสีแดง
หมายถึง ความแกร่งกลา้ บู๊ สีเขียว หมายถึง ความหนักแน่น พร่าสีขาว หมายถึง ความซื่อสัตย์ สีอมม่วง
หมายถึง เตา้ ความคิด เจริญเติบโตอยา่ งงอกงาม
2.3.4 จนั ทโครพ
จนั ทโครพ
เป็นช่ือตวั ละครจากเร่ือง “จนั ทโครพ” ผผู้ สมพนั ธุ์ คือ พระอาจารยอ์ ิน ทนฺตจโร วดั บวั ทอง จงั หวดั
ปทุมธานี เมื่อปี พ.ศ. 2521 เป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสีชมพู ขอบใบมีสีเขียวเรื่อ มีเม็ดสีขาว
กระดูกและเส้น สีแดง กา้ นใบสีน้าํ ตาล เน่ืองจากตวั ละครจนั ทโครพน้นั เป็ นพระเอก อีกท้งั เป็ นเจา้ ชาย จึง
เพียบพร้อมไปดว้ ยรูปทรัพยแ์ ละรูปลกั ษณะท่ีงดงาม และลกั ษณะพ้นื ใบสีชมพู หมายถึง ผมู้ ีอายนุ อ้ ย
2.3.5 พระเวสสนั ดร
76
มทั รี
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ น "ตบั มหาชาติ" ลูกผสมระหวา่ ง "จงั หวดั พษิ ณุโลก" กบั "พลายแกว้ " ลกั ษณะเป็น
บอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้นื ใบสีชมพอู มแดง กระดูกและเสน้ สีเขียวอมน้าํ ตาล ชอบไมสีเขียวเขม้ กา้ นใบ
สีน้าํ ตาลเขม้ คอใบสีชมพู เมื่อพิจารณาตามความหมายของรูปใบ หมายถึง บุคคลสาํ คญั มีนิสัยใจคอกวา้ ง
ขวา้ ง ความเอ้ือเฟ้ื อเผื่อแผ่ และโอบออ้ มอารี และพ้ืนใบสีชมพูอมแดง หมายถึง ความรัก ความฉลาด สตรี
อ่อนวยั ที่สวยงาม สอดคลอ้ งกบั ช่ือบอนดงั กลา่ วท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขดา้ นวรรณคดี ดง่ั ท่ี
ปรากฏช่ือตวั ละคร “นางมทั รี” ในร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กณั ฐ์มทั รี เป็ นสตรีที่มีคุณลกั ษณะสตรีใน
อุดมคติ วิชุดา พรายยงค์ (2563 : 55-56) กล่าววา่ พระนางมทั รีเป็นตวั ละครหญิงท่ีเป็นตน้ แบบของสตรีไทย
ที่มีหลายบทบาท หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบมากมาย ท้งั หนา้ ท่ีความเป็นแม่ที่รักและปกป้องลูก ความเป็นภรรยา
ที่ซื่อสัตยแ์ ละจงรักภกั ดีต่อสามี แมพ้ ระนางจะอยใู่ นชนช้นั กษตั ริย์ แต่มิไดบ้ กพร่องต่อหนา้ ที่ พระนางมทั รี
เป็ นตวั ละครหญิง ที่เพียบพร้อมไปดว้ ยความดีงาม รูปสมบตั ิและคุณสมบตั ิของสตรีไทย ปัจจุบนั ยุคสมยั
เปล่ียนแปลงไป สตรีไทยในปัจจุบนั มีความรู้มากข้ึน ทาํ งานเท่าเทียมกบั ผูช้ าย มิไดเ้ ป็ นชา้ งเทา้ หลงั เช่นแต่
ก่อน มีความมนั่ ใจในตนเอง มีความคิดเป็นของตนเอง แต่เรื่องราวของมหาเวสสนั ดรชาดก ซ่ึงเป็นวรรณคดี
เก่ียวกบั ศาสนา ยงั คงถูกสืบทอดมาในสังคมไทย และพระนางมทั รี ก็ยงั คงไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็นแบบอยา่ ง
ของสตรีไทยเช่นเดิม
77
องคุลีมาน
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "พระเวสสันดร" ลกั ษณะเป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ แผน่ ใบหนา เม่ือ
ตน้ ยงั เลก็ พ้ืนใบมีสีเขียว พอโตเตม็ ที่เป็นบอนกดั สี พ้ืนใบสีเขียวคล้าํ มีพร่าสีแดงเขม้ กระจายทว่ั ใบ กระดูก
และเส้นสีดาํ ปลายใบหนา กา้ นใบสีดาํ จากลกั ษณะของสีพ้ืนใบเมื่อเติบโตเต็มท่ีแลว้ จะมีพร่าสีแดงเขม้
หมายถึง ความแกร่งกล้า สอดคลองกับชื่อบอนดังกล่าวท่ีปรากฏภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมสาขา
มนุษยศาสตร์ดา้ นวรรณคดี ดง่ั ท่ีปรากฏชื่อตวั ละคร “องคุลีมาน” ในวรรณคดีศาสนาเรื่อง องคุลิมาน โจร
กลบั ใจ จากโจรท่ีปลน้ ฆ่าจาการตดั นิ้วคนเอามาแขวนคอตนเอง ภายหลงั มีศรัทธาในพทุ ธศาสนา จึงไดก้ ลบั
ใจบวชเป็นพระภิกษบุ รรลุเป็นพระอรหนั ต์ และไดเ้ ป็นพระมหาสาวกองคห์ น่ึงของพระพทุ ธเจา้
2.3.6 ลิลิตพระลอ
ป่ ูเจา้ สมิงพราย
78
บอนตน้ น้ีอยใู่ นตบั "พระลอ"เป็นบอนเก่าผา่ แผลงมาจากบอนใบไทยช่ือ "พลายกดุ นั่ " ลกั ษณะเป็น
บอนใบกลม แผ่นใบหนาและย่น พ้ืนใบสีแดงอมเขียวเขม้ มีเม็ดใหญ่สีแดงและขาวกระจายห่างๆ กระดูก
และเส้นสีแดงคล้าํ ปลายใบมน กา้ นใบสีดาํ มีเส้ียนสีน้าํ ตาล เม่ือพิจารณาตามความหมายของเมด็ จุดที่เกิดบน
ใบ หมายถึง ความมีอาํ นาจ สอดคลอ้ งกบั ช่ือบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขาศิลปะ
ดา้ นวรรณคดี ดงั่ ท่ีปรากฏชื่อตวั ละคร “ป่ ูเจา้ สมิงพราย” ในวรรณคดีเร่ืองลิลิตพระลอ ป่ ูเจา้ สมิงพรายเทพเจา้
ผูม้ ีวิชาเก่งกลา้ ประจาํ ภูเขาใหญ่แห่งหน่ึงในป่ าใกลเ้ มืองสอง ซ่ึงเป็ นเมืองของพระเพื่อนพระแพง ใน
วรรณคดีลิลิตเรื่องพระลอ พระเพื่อนพระแพงไดไ้ ปพบปู่เจา้ สมิงพรายเพื่อขอให้ทาํ เสน่ห์ให้พระลอ
หลงใหล จากบา้ นเมืองมาหานางท่ีเมืองสอง ทาํ ใหต้ วั ละครป่ ูเจา้ สมิงพรายมีความสาํ คญั ต่อวรรณคดีเรื่องน้ี
2.3.7 ไกรทอง
ตะเภาแกว้
เป็ นบอนท่ีอยู่ในตับ “ไกรทอง” ผูผ้ สมพนั ธุ์คือ พระอาจารย์อิน ทนุตจโร วดั บัวทอง จังหวดั
ปทุมธานี เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2521 2523 เป็นบอนใบยาวขนาดกลาง พ้นื ใบสีชมพเู ขม้ กระดูกและเสน้ สีขาว
มีพร่าสีชมพูแดง ตลอดท้งั เส้นและกระดูก กา้ นใบสีคลา้ ยสายบวั ตะเภาแกว้ เป็ นนางในวรรณคดีเร่ืองไกร
ทอง โดยลกั ษณะนิสยั ของตะเภาแกว้ น้นั เป็นลูกที่ดี เช่ือฟังคาํ สง่ั สอนของพอ่ แม่ เป็นกลุ สตรีท่ีอ่อนนอ้ มถ่อม
ตน มีความจงรักภกั ดีต่อสามี แต่ไม่มีความรอบคอบ ไม่มีการคิดไตร่ตรอง และลกั ษณะพ้ืนใบสีชมพูเขม้
หมายถึง สตรีเพศท่ีอ่อนหวาน กระดูกและเส้นสีขาว หมายถึง ความบริสุทธ์ิ ความซ่ือสัตย์ พร่าสีชมพูแดง
หมายถึง ใจร้อน
79
ตะเภาทอง
เป็ นบอนท่ีอยใู่ น “ตบั ไกรทอง” ต้งั ชื่อโดยคุณเสน่ห์ ศรีเพง็ จงั หวดั นนทบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2516 เป็ น
บอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสีชมพูถึงแดง กระดูกและเส้นสีแดง บริเวณหูใบมีจุด กระสีเขียว กา้ นใบ
สีชมพูอ่อน มีเส้ียนสีน้าํ ตาล ตะเภาทองเป็นนางในวรรณคดีเรื่องไกรทอง ตะเภาทองน้นั เป็นแฝดกบั ตะเภา
แกว้ ลกั ษณะนิสัยของนางจึงคลา้ ยกนั มาก และลกั ษณะพ้ืนใบสีชมพูถึงแดง หมายถึง สตรีเพศ ความแกร่ง
กลา้ กระดูกและเสน้ สีแดง หมายถึง ใจร้อน กระสีเขียว หมายถึง ความพอใจ
ทา้ วราํ ไพ
เป็ นบอนท่ีอยู่ใน “ตบั ไกรทอง” เป็ นลูกผสมระหว่าง “พลาย กุดนั่ ” กบั “กวนอู” พระอาจารยอ์ ิน
ทนุตจโร วดั บวั ทอง จงั หวดั ปทุมธานี ต้งั ชื่อเม่ือปี พ.ศ. 2523 เป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสีเขียว
เขม้ มีป้ายสีแดงทบั ขอบใบเป็นคล่ืนเล็กนอ้ ย กระดูกและเส้น บนป้ายมีสีแดง กา้ นใบสีเขียวอ่อนอมแดง มี
เส้ียนสีน้าํ ตาล พอแก่กา้ นใบมีสีคล้าํ ข้ึน พนั ธุ์น้ีเล้ียงใหเ้ กิดป้ายสีแดงค่อนขา้ งยาก เมื่อนาํ หวั มาผา่ ตน้ ใหม่ท่ี
ไดม้ ีโอกาสเกิดเป็นบอนป้ายนอ้ ยมาก พนั ธุ์น้ีจึงมี 2 ลกั ษณะ คือ พ้ืนใบสีเขียวมีป้ายแดงทบั และพ้ืนใบสีแดง
ขลิบเขียว ทา้ วรําไพ เป็นตวั ละครในวรรณคดีเรื่องไกรทอง โดยทา้ วรําไพน้นั เป็นจระเขเ้ ฒ่าผทู้ รงศีล ไม่กิน
80
เน้ือมนุษยแ์ ละสัตว์ เป็ นผูม้ ีสติสัมปชญั ญะ คอยเตือนสติลูกหลานอยู่เสมอ และลกั ษณะพ้ืนใบสีเขียวเขม้
หมายถึง ผทู้ รงศีล เงียบขรีม ผสู้ ูงอายุ ความหนกั แน่น ความอดทน มีป้าสีแดงทบั หมายถึง ความแกร่งกลา้
นางวิมาลา
ลกั ษณะรูปใบยาวปลายใบแหลม พ้ืนแดงอมชมพู กระดูกและเส้นสีแดง มีเมด็ เลก็ ขาวประปราย รูป
ใบยกสะโพกรัด คอใบชมพู กา้ นสีชมพู มีเส้ียนละเอียดและสาแหรกสีน้าํ ตาล อาจารย์ อิน ธนปัตโร ใหช้ ่ือไว้
เม่ือ พ.ศ. 2516 นางวมิ าลา คือนางในวรรณคดีเร่ืองไกรทอง ซ่ึงเป็นภรรยาของชาละวนั มีนิสยั หึงหวงสามีตน
เป็นอยา่ งมาก แต่นางก็ถูกมนตข์ องไกรทอง และสมสู่กนั ในท่ีสุด และลกั ษณะพ้ืนใบสีแดงอมชพู หมายถึง
ความรัก ความกระปร้ีกระเปร่า สตรีที่สวยงาม
นางเล่ือมลายวรรณ
ลกั ษณะรูปใบยาวปลายใบแหลม พ้ืนใบสีแดงไหมใ้ บเป็ นมนั กระดูกแดงเขม้ มีเม็ดใหญ่ขาวพร่า
ประปราย รูปใบยกสะโพกรัด กา้ นสีแดงครั่ง มีเส้ียนหยาบสีน้าํ ตาลไหม้ คุณ บุญมี เพชรดี ใหช้ ่ือไวเ้ มื่อ พ.ศ.
2520 นางเลื่อมลายวรรณ คือนางในวรรณคดีเรื่องไกรทอง ซ่ึงเป็นภรรยาของชาละวนั อีกคนหน่ึง มีนิสัยหึง
หวงสามีตนเป็นอยา่ งมาก ตอนหลงั นางเล่ือมลายวรรณกต็ กเป็นเมียของไกรทองเช่นกนั และลกั ษณะพ้ืนใบ
สีแดงไหม้ หมายถึง ความรัก สตรีงาม ความเศร้า
เศรษฐีพจิ ิตร
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั “ไกรทอง” ลกั ษณะเป็นบอนรูปใบยาวปลายใบแหลมพ้ืนใบสีชมพูอมแดง
กระดูกและเส้นสีน้าํ ตาล มีเมด็ ใหญ่ขาวพร่า สะโพกรัด กา้ นสีชมพอู มดาํ และมีเส้นหยาบสีน้าํ ตาล ช่ือบอน
ดังกล่าวท่ีปรากฏภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมสาขาศิลปะด้านวรรณคดี ด่ังท่ีปรากฏช่ือตัวละคร
“เศรษฐี พิจิตร” ในวรรณคดีเรื่ องไกรทอง ผู้แต่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้นภาลัย
เรื่องไกรทองมีที่มาจากนิทานพ้ืนเมืองของจงั หวดั พิจิตร ซ่ึงชาวบา้ นเชื่อกนั ว่ามีเคา้ จากเรื่องจริง มีการ
เรียกชื่อสถานท่ีต่างๆตามตวั ละครในเร่ือง เช่น ท่ีเมืองพิจิตรเก่ามีตาํ บลชื่อวงั ชาลวนั และบา้ นดงเศรษฐี
(สืบคน้ ขอ้ มูจาก นามานุกรมวรรณคดีไทย เวบ็ ไซต์ https://www.sac.or.th) สรุปไดว้ ่า เศรษฐีพิจิตร ชื่อบอน
น้ีมีการต้งั ช่ือตามตวั ละครท่ีชื่อวา่ เศรษฐีพิจิตร ในเร่ืองไกรทองตวั ละครเศรษฐีเมืองพิจิตรมีลูกสาวสองคน
คือตะเภาแกว้ และตะเภาทอง
2.3.8 รามเกียรต์ิ
81
สุครีพครองเมือง
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "รามเกียรต์ิ" ลกั ษณะเป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้นื ใบสีชมพสู ด
กระดูกและเสน้ สีขาว ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบยกเป็นคล่ืน กา้ นใบสีเขียวสมอ มีเส้ียนสีน้าํ ตาลจางๆ ช่ือ
บอนดงั กลา่ วที่ปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นวรรณคดี ดง่ั ที่ปรากฏชื่อตวั ละคร
“สุครีพ” ในวรรณคดีเร่ืองรามเกียรต์ิ สุครีพเป็นพญาวานร มีกายสีแดง ลูกชายของพระอาทิตยก์ บั นางกาล
อจั นา เป็นทหารเอกของพระรามท่ีมีอาวโุ สและมกั เป็นผจู้ ดั ทพั ในการรบเป็นผทู้ ี่มีความกตญั และเป็นผรู้ อบรู้
ในดา้ นการศึกสงคราม
หนุมานพลบั พลา
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ น "ตบั รามเกียรต์ิ" ลกั ษณะเป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ ขอบใบเป็ นคลื่น พ้ืน
ใบสีขาว ขอบใบขลิบเขียว กระดูกและเส้นสีแดงอมชมพู มีพร่าสีแดงอมชมพูเช่นกนั กา้ นใบสีน้าํ ตาลแดง
ช่ือบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขามนุษยศาสตร์ดา้ นวรรณคดี ดง่ั ที่ปรากฏช่ือฉาก
“หนุมานพลบั พลา” ในวรรณคดีเรื่องรามเกียรต์ิ บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา
โลกมหาราช หนุมานพลบั พลาเป็นฉากหน่ึงของรามเกียรต์ิในตอนศึกไมยราพท่ีกล่าวถึง คราวเคราะห์ของ
82
พระรามท่ีพิเภกทาํ นายจากความฝัน ทาํ ให้หนุมานอาสาอมพลบั พลาพระรามไวจ้ ากการที่ไมยราพตามรอย
สะกดทบั พระราม
2.3.9 มหากาพยม์ หาภารตะ
อปั สรสวรรค์
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "เบด็ เตล็ด" ลกั ษณะเป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบเป็นไมป้ ้ายสองสี
คือ สีแดงและสีเขียวตองออ่ นเมด็ มีสีแดงและสีขาว ขนาดเลก็ อยหู่ ่างๆ กนั กระดูกและเส้นสีตามพ้นื ของสีใบ
ริมกระดูกมีพร่าสีขาว กา้ นใบสีเขียวอ่อน ช่ือบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขาศิลปะ
ดา้ นวรรณคดี ดง่ั ที่ปรากฏชื่อตวั ละคร “อปั สร” ในวรรณคดีเร่ืองมหากาพยม์ หาภารตะ ตามพจนานุกรม
ราชบณั ฑิตยสถาน ไดใ้ ห้ความหมายว่า อปั สร หมายถึง (สก. อปฺสรสฺ = ผูข้ ้ึนจากน้าํ ) นางฟ้าพวกหน่ึงท่ี
เกิดข้ึนจากน้ําเมื่อเวลากวนน้ําอมฤต เทพอัปสรเป็ นนางฟ้าพวกหน่ึง รูปสวย เสียงเพราะ จริตกิริยา
กระชดกระชอ้ ย เดินงามฉลาด ยวั่ ชายใหเ้ กิดความรักไดง้ ่าย ๆ การกาํ เนิดของนางอปั สร เม่ือพระเป็นเจา้ สั่ง
เทวดาอสูรใกวนเกษียรสมุทรเพื่อไดน้ ้าํ อาํ มฤต สิ่งท้งั หลายอ่ืน ๆ ผดุ ข้ึนมาก่อน แลว้ ส่ิงหน่ึงคืออปั สรผดุ ตาม
ข้ึนมา (สืบคน้ ขอ้ มูลจากนิตยสาร ศิลปวฒั นธรรม ฉบบั มีนาคม 2536 เวบ็ ไซต์ https://www.silpa-mag.com)
2.3.10 วรรณคดีเรื่องอ่ืนๆ
83
กินรี
เป็ นบอนท่ีอยู่ในตับ เบ็ดเตล็ด” ผูผ้ สมพนั ธุ์คือ พระอาจารย์อิน ทนฺตจโร วดั บัวทอง จังหวดั
ปทุมธานี ต้งั ชื่อโดยคุณเสน่ห์ ศรีเพง็ เม่ือปี พ.ศ. 2523 เป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสีชมพู มีพร่าสี
ขาว กระดูกและเส้นนูนสีขาว ปลายใบเรียวแหลม กา้ นใบสีเขียวกา้ นมะลิ กินรีมีลกั ษณะคร่ึงคนคร่ึงนก คือมี
คร่ึงบนเหมือนคน ท้งั หน้าตา ลาํ ตวั แขน แต่ร่างกายท่อนล่างกลบั เป็ นนก กินรีใช้เรียกในเพศหญิง และ
ลกั ษณะพ้ืนใบสีชมพู หมายถึง สตรีเพศ พร่าสีขาว หมายถึง ความสะอาด ความบริสุทธ์ิ
พญาพนั วงั
ลกั ษณะรูปใบยาวปลายใบแหลม พ้ืนใบสีแดง กระดูกและเส้นสีขาวอมเขียว มีเม็ดเล็กยาวสีขาว
กระจายทวั่ ไป รูปใบยกสะโพกรัดคอใบนวล กา้ นสีสมอมีเส้ียนและสาแหรกสีน้าํ ตาลไหม้ คุณบุญมี เพชรดี
ให้ช่ือไวเ้ มื่อ พ.ศ. 2520 เดิมทีพญาพนั วงั หรือพระยาพนั วงั น้ัน เป็ นตาํ นานจระเขแ้ ห่งพระประแดง ตน้
ตระกูลชาละวนั เมืองพิจิตร เล่าว่า พญาพนั วงั อาศยั อยู่ในแม่น้าํ เจา้ พระยาใกลป้ ากน้าํ ทะเลอ่าวไทย และ
ลกั ษณะพ้ืนใบสีแดง หมายถึง ความแกร่งกลา้ มุทะลุ ใจร้อน บู๊ลา้ งผลาญ ลวดลายของใบบอนมีความ
84
คลา้ ยคลึงกบั เกล็ดบนลาํ ตวั ของจระเข้ อีกท้งั ใบที่แหลมเรียวยาวก็เหมือนกบั ลกั ษณะของลาํ ตวั จระเขท้ ่ียาว
แขง็ แรง กาํ ยาํ
2.4 สถาปัตยกรรม
ผูศ้ ึกษาพบว่า ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมสถาปัตยกรรมท่ีปรากฏในการต้งั ช่ือบอนสี มีจาํ นวน 2
ประเภท ไดแ้ ก่
2.4.1 ป้อมรอบพระราชวงั
ป้อมพระจนั ทร์
เป็ นชื่อป้อมในจงั หวดั สมุทรปราการ ผูผ้ สมพนั ธุ์ คือ คุณโกวิทย์ ธูปวงค์ พระประแดง จงั หวดั
สมุทรปราการ ประมาณปี พ.ศ. 2521-2522 เป็ นบอนใบไทย ค่อนขา้ งป้อม พ้ืนใบสีขาว กระดูกและเส้นสี
ขาว เมื่อใบแก่เริ่มมีสีเขียวเรื่อ กระดูกและเส้นสีเขียวอ่อน กา้ นใบสีเขียว ในอดีตป้อมพระจนั ทร์ถูกสร้างข้ึน
เพ่ือป้องกนั พระนคร อยดู่ า้ นทิศตะวนั ตกแม่น้าํ เจา้ พระยา ปัจจุบนั คือบริเวณท่าพระจนั ทร์ และไดร้ ับการร้ือ
ถอนไปแลว้ และลกั ษณะของพ้นื ใบสีขาว หมายถึง ความจงรักภกั ดี สีเขียวเร่ือ หมายถึง ความหนกั แน่น
85
ขนั ธ์เขื่อนเพชร
เป็ นบอนท่ีอยู่ในตบั “ป้อมรอบพระบรมมหาราชวงั ” ลูกผสมระหว่าง “เล่าเส้ียน” กับ “จังหวดั
แม่ฮ่องสอน” ผูผ้ สมพนั ธุ์คือ คุณสุทธิ กล่ินอุทยั เมื่อปี พ.ศ. 2538 จดทะเบียนต้งั ชื่อเม่ือ 11 สิงหาคม พ.ศ.
2539 เป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ เม่ือตน้ ยงั เลก็ พ้ืนใบมีสีเขียวตองอ่อน พอโตเตม็ ท่ี พ้ืนใบสีขาวนวล มี
พร่าสีชมพูกระจายทวั่ ใบ กระดูกและเส้นสีแดง ขอบใบยกเป็นลอน กา้ นสีน้าํ ตาลอมแดง มีเส้ียนสีแดงอ่อน
ป้อมขนั ธ์เขื่อนเพชร อยู่ทางดา้ นทิศเหนือระหว่างประตูวิเศษไชยศรี ป้อมรอบพระบรมมหาราชวงั แต่เดิม
เป็นป้อมมีหอรบ มีหลงั คามุงกระเบ้ืองโบกปูนทบั และลกั ษณะพ้ืนใบมีสีเขียวตองอ่อน หมายถึง ความหนกั
แน่น ความร่มรื่น สนั ติสุข พิน้ ใบสีขาวนวล หมายถึง ความจงรักภกั ดี
มหาโลหะ
บอนตน้ น้ีจดั อยู่ในตบั "ป้อมรอบพระบรมมหาราชวงั " ลูกผสมระหว่าง "ร่มโพธ์ิ" กบั "โคบุตร'
ลกั ษณะเป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสีน้าํ ตาลอมชมพู มีพร่าขาวจางๆ กระดูกและเส้นสีน้าํ ตาลปน
สีเขียว ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบยกเป็นคลื่น กา้ นใบสีน้าํ ตาลเขม้ เมื่อพิจารณาตามความหมายของรูปใบ
หมายถึง สถานท่ีสาํ คญั สอดคลอ้ งกบั ช่ือบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นสาขาศิลปะดา้ นสถาปัตยกรรม
86
ดงั่ ที่ปรากฎช่ือป้อมรอบกาํ แพงพระบรมราชวงั “ มหาโลหะ” พระราชพงษาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาล
ที่2 ให้ขอ้ มูลว่า “อน่ึง เมื่อมาสอบแผนท่ีแลชื่อป้อมรอบพระบรมมหาราชวังพิเคราะห์ดู เข้าใจว่าเมื่อแรก
สร้างพระบรมมหาราชวังในรัชกาลท่ี 1 เห็นจะมปี ้อมรอบพระบรมมหาราชวังแต่ 8 ป้อม เปนป้อมมมุ 4 ป้อม
กลางย่าน 4 แต่ข้างด้านตวันตกป้อมเหล่านีอ้ ยู่กับกาํ แพงเมือง ด้วยด้านนั้นกาํ แพงเมืองอยู่ชิดกับกาํ แพง
พระบรมมหาราชวัง รูปป้อมท่ีสร้ างในรัชกาลท่ี 1 เปนแปดเหลี่ยม แลมีชื่อคล้องกันทั้ง 8 ป้อม คือ ป้อม
อินทรังสรรค์ 1 ป้อมขนั ธ์เข่ือนเพช็ ร 9 ป้อมเผดจ็ ดษั กร 1 ป้อมสิงขรขณั ฑ์ 1ป้อมอนันตคิรี 1ป้อมมณีปราการ
1 ป้อมพิศาลสีมา 1ป้อมมหาโลหะ 1 ” (สืบคน้ ขอ้ มูจากพระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 2
เวบ็ ไซต์ https://vajirayana.org) สรุปไดว้ ่า ป้อมมหาโลหะ เป็ นหน่ึงในป้อมรอบพระบรมราชวงั ท่ีสร้างข้ึน
ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลท่ี1)
อินทรรังสรรค์
บอนตน้ น้ีอยใู่ นตบั "ป้อมรอบพระบรมมหาราชวงั " ลกั ษณะเป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ แผ่น
ใบหนา พ้ืนใบสีชมพอู มแดงเป็นมนั มีพร่าสีขาวอมชมพกู ระจายทว่ั กระดูกสีเขียวอมน้าํ ตาล เส้นสีเขียว ใตห้ ู
ใบมีสีชมพอู มเขียว ปลายใบแหลม กา้ นใบสีเขียวตองอ่อน มีเส้ียนสีน้าํ ตาลอ่อน เมื่อพจิ ารณาตามความหมาย
ของรูปใบ หมายถึง สถานที่สําคญั สอดคลอ้ งกบั ช่ือบอนดงั กล่าวท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นสาขาศิลปะดา้ น
สถาปัตยกรรม ดง่ั ที่ปรากฎชื่อป้อมรอบกาํ แพงพระบรมราชวงั “ อินทรรังสรรค”์ พระราชพงษาวดารกรุง
รัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี2 ใหข้ อ้ มูลวา่ ป้อมอินทรรังสรรคอ์ ยมู่ ุมกาํ แพงพระบรมมหาราชวงั ดา้ นทิศตะวนั ตก
ตรงท่าพระจนั ทร์ เป็ นหน่ึงในป้อมรอบพระบรมราชวงั ที่สร้างข้ึนในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด
ฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่1)
2.4.2 พระราชวงั
87
จนั ทรเกษม
ลูกผสมระหวา่ ง "ยทุ ธชาติ" กบั ลูกไมข้ อง "กวนอิม" ลกั ษณะเป็นบอนใบกาบ ปลายใบเรียวแหลม
พ้ืนใบสีชมพูอมแดง และจางลงจนถึงขอบใบท่ีมีสีเขียวอ่อน กระดูกและเส้นสีขาวอมชมพู เมื่อแก่มีสีเขียว
เพ่ิมข้ึน สีชมพูอมแดงจางลงเป็นสีขาวเกือบท้งั ใบกา้ นใบเป็นกาบเลก็ ๆ สีชมพูอ่อน มีเส้ียนหนา และมีแขง้
สองขา้ งสีคลา้ ยพ้ืนใบ สอดคลอ้ งกบั ช่ือบอนดังกล่าวท่ีปรากฎภาพสะท้อนวัฒนธรรมทางสาขาศิลปะดา้ น
สถาปัตยกรรม ดงั่ ท่ีปรากฏพระราชวงั “จนั ทรเกษม” เดิมเป็นพระราชวงั โบราณฐานะเป็นวงั หนา้ ของกรุงศรี
อยธุ ยาหลกั ฐานตามพระราชตามพระราชพงศาวดารสันนิษฐานไดว้ ่า สร้างข้ึนในรัชสมยั สมเด็จพระมหาธรรม
ราชา ประมาณ พ.ศ.๒๑๒๐ ด้วยมีพระราชประสงค์เพื่อให้เป็ นท่ีประทบั ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
(สืบคน้ ขอ้ มูลจาก สาํ นกั งานราชบณั ฑิตยสภา เวบ็ ไซต์ http://legacy.orst.go.th)
2.4.3 เรือพระราชพิธี
เรือวาสุกรี
88
ลกั ษณะเป็นบอนใบยาวรูปหอก พ้ืนใบสีชมพอู มแดงหรือสีชมพู ขอบใบขลิบเขียว กระดูกและสน้ สี
ชมพู เม่ือใบแก่เริ่มมีสีเขียวเพิม่ ข้ึน กา้ นใบสีเขียว ชื่อบอนดงั กลา่ วที่ปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรมสาขา
ศิลปะดา้ นสถาปัตยกรรม ดงั่ ที่ปรากฏช่ือเรือพระราชพิธี “เรือวาสุกรี” ในกาพยเ์ ห่เรือ บทชมกระบวนเรือ ผู้
แต่งคือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ (เจา้ ฟ้ากุง้ ) เรือวาสุกรี ตามพจนานุกรมราชบณั ฑิตยสถาน ได้
ให้ความหมายวา่ วาสุกรี หมายถึง พญานาค และยงั มีชื่อท่ีเรียกกนั เป็นอยา่ งอ่ืนก็มากเช่น ภุชงค์ วาสุกิหรือ
วาสุกรี นาค นาคา อนนั ตินาครหรือเศษนาค เป็นตน้
2.4.3 สถานที่สาํ คญั ทางประวตั ิศาสตร์อื่นๆ
อ่ทู อง
บอนตน้ น้ีจดั อยใู่ นตบั "สถานท่ีสาํ คญั "ลกั ษณะเป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ เม่ือตน้ ยงั เลก็ พ้ืนใบ
มีสีเหลืองนวลและมีสีแดงเพ่ิมข้ึนเมื่อตน้ โตพ้ืนใบสีเหลืองนวล มีพร่าสีแดงอมชมพูกระจายทว่ั ใบ กระดูก
และเส้นสีเหลืองนวลปลายใบเรียวแหลม ขอบใบยกเป็นคล่ืน กา้ นใบสีเขียวกา้ นมะลิ สอดคลอ้ งกบั ชื่อบอน
ดังกล่าวท่ีปรากฎภาพสะท้อนวัฒนธรรมทางสาขาศิลปะดา้ นสถาปัตยกรรม ดงั่ ท่ีปรากฏชื่ออาํ เภอ “อู่ทอง”
อู่ทองเป็ นช่ืออาํ เภอในจังหวดั สุพรรณบุรี เป็ นสถานที่สําคัญทางประวตั ิศาสตร์ฐาน มีหลักฐานทาง
โบราณคดีท่ีสันนิษฐานไดว้ ่าเคยเป็ นเมืองหลวงของอาณาจกั รทวาราวดีและเป็ นศูนยก์ ลางของดินแดน
สุวรรณภูมิ หลกั ฐานทางสถาปัตยกรรมสมยั อยธุ ยาท่ียงั หลงเหลืออยู่ ไดแ้ ก่ เจดียบ์ นยอดเขาดีสลกั เจดียบ์ น
ยอดเขาพระ เจดียแ์ ละอโุ บสถบนยอดเขาทาํ เทียม และโบราณสถานหมายเลข 1 เมืองอ่ทู อง (วดั ปราสาทร้าง)
ท่ีแสดงออกถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีตของเมืองโบราณแห่งน้ี มีผลจากการผสมผสานวฒั นธรรมทอ้ งถิ่น
เขา้ กบั การรับวฒั นธรรมจากประเทศอินเดีย ก่อให้เกิดรูปแบบทางวฒั นธรรมที่เรียกว่า “ทวารวดี” (สืบคน้
ขอ้ มูลจากพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ อทู่ อง สุพรรณบุรี เวบ็ ไซต์ https://www.finearts.go.th)
89
3. สาขาช่างผมี ือ
งานชา่ งฝีมือ หมายถงึ ภมู ปิ ัญญา ทกั ษะฝีมือของช่าง การเลือกใชว้ สั ดุ และกลวธิ ีการสรา้ งสรรคท์ ่ีแสดงถงึ อตั
ลกั ษณ์ เพ่อื สะทอ้ นพฒั นาการทางสงั คม และวฒั นธรรมของกลมุ่ ชน โดยสาขาช่างฝีมือจะประกอบไปดว้ ย การเยบ็ ปักถกั
รอ้ ย การแกะสลกั การทอผา้ การจกั สาน การทาํ ต๊กุ ตา การทอเส่ือ การประดษิ ฐ์ การทาํ เคร่อื งปั้นดินเผา เป็นตน้ (ศนู ย์
วฒั นธรรมเฉลิมราช, 2557)
ผศู้ ึกษาพบวา่ ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมสาขาสาขาสาขาช่างฝี มือท่ีปรากฎในการต้งั ช่ือบอนสี สามารถ
จาํ เเนกไดเ้ ป็น 1 ประเภท ไดเ้ เก่
3.1 การเจียระไนเพชร พลอย
โกเมน
ผผู้ สมพนั ธุ์ คือ คุณประเสริฐ เพียรสวรรค์ พระโขนง กรุงเทพฯ เม่ือปี พ.ศ. 2518-2519 เป็นบอนใบ
ไทย พ้นื ใบสีแดงถึงแดงคล้าํ มีเมด็ เลก็ สีขาวอมชมพกู ระจายทวั่ ไป กระดูกและ เส้นสีแดง กา้ นใบสีแดงสด มี
เส้ียนสีน้าํ ตาลหนา โดยบอนตน้ น้ีใชช้ ื่อว่าโกเมน ซ่ึงโกเมนน้นั จดั เป็นแร่ตะกูลพลอย สีที่เด่นชดั ที่สุดคือสี
แดง มีความวาววบั คลา้ ยแกว้ มีความคงทนค่อนขา้ งดีจึงนิยมนาํ มาทาํ เป็นเครื่องประดบั และดว้ ยลกั ษณะพ้ืน
ใบสีแดง หมายถึง ความแกร่งกลา้ และดว้ ยลกั ษณะของตน้ บอนสีที่ประกอบไปดว้ ยสีแดงเป็นหลกั จึงตรง
กบั ลกั ษณะท่ีเด่นชดั อยา่ งสีแดงของพลอยโกเมน
90
เพชรน้าํ หน่ึง
เป็ นบอนท่ีอยู่ในตบั “เบ็ดเตล็ด” ลูกผสมระหว่าง “สายธาร” กบั “มนตรา” ผูผ้ สมพนั ธุ์คือ คุณทวี
ประสิทธ์ิ เม่ือปี พ.ศ. 2536 และจดทะเบียนต้งั ชื่อเม่ือ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2538 เป็ นบอนใบไทย พ้ืนใบสีขาว
กระดูกและเส้นสีเขียว มีพร่าสีเขียวเล็กนอ้ ย ขอบใบ มีสีเขียวเรื่อ มีเส้นสีเขียวพาดจากสะดือถึงระหว่างหู
กา้ นใบสีเขียว เนื่องจากเพชรน้าํ หน่ึงน้นั เป็นสาํ นวนไทย หมายถึง ดีเป็นพิเศษยอดเยยี่ ม โดยท่ีมาของสาํ นวน
มาจากระบบเก่าของการจดั เกรดเพชร ซ่ึงพิจารณาจากสีหรือความแวววาว ซ่ึงเพชรท่ีสวา่ งท่ีสุดจะถือว่าเป็น
เพชรน้าํ หน่ึง ปัจจุบนั ไดเ้ ลิกใชร้ ะบบน้ีแลว้ และลกั ษณะพ้ืนใบสีขาว หมายถึง ความสะอาด ความบริสุทธ์ิ อา
จะเปรียบไดก้ บั สีของเพชรที่ใสสะอาด ไม่มีตะกอนอ่ืนเจือปน สีเขียวเร่ือ หมายถึง ความหนักแน่น อาจ
เปรียบกบั ความแขง็ แรงของเพชร ซ่ึงเป็นแร่ที่มีความแขง็ แรงท่ีสุด
เหลืองบุศราคมั
91
ลูกผสมระหวา่ ง “เหลืองแหวก” กบั “เหลืองสังฆราช” คุณชวลิต สาํ เภาพานิช เป็นผผู้ สมพนั ธุ์ เม่ือปี
พ.ศ. 2530 และต้งั ชื่อจดทะเบียนเม่ือวนั ที่ 14 กนั ยายน พ.ศ. 2537 โดยคุณสลิดา พิเรนทร เป็ นบอนใบไทย
พ้ืนใบสีเหลือง กระดูกและเส้นสีชมพู มีพร่าสีชมพู กา้ นใบสีชมพอู ่อน มีสะพานหนา้ และสาแหรกสีน้าํ ตาล
คาํ วา่ บุศราคมั น้นั ไม่ปรากฏความหมายในภาษาไทย แต่น่าจะเล่นคาํ กบั พลอยที่ชื่อวา่ บุษราคมั ซ่ึงมีสีเหลือง
เป็ นอญั มณีเสริมโชคลาภ เสริมบารมี วาสนา นาํ พาความโชคดี ความมงั่ คงั่ ร่ํารวยมาสู่ผูค้ รอบครอง ทรง
อาํ นาจในการผูม้ ิตร ทาํ ให้เกิดความซ่ือสัตยต์ ่อกนั และลกั ษณะพ้ืนใบสีเหลือง หมายถึง ความยินดี ความ
สวา่ ง ความซ่ือตรง
เเสงเพชร
ลกั ษณะเป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ แต่มีแผน่ ใบแคบ ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเป็นคลื่นพ้ืน
ใบสีขาว เม่ือใบแก่เร่ิมเปล่ียนเป็นสีขาวอมเขียวอ่อน และมีลายริ้วสีเขียวอ่อนพาดตามแนวยาวของใบ กา้ น
ใบสีเขียวอ่อน เหมาะที่จะเล้ียงเป็ นไม้กระถางขนาดเล็ก ชื่อบอนดังกล่าวท่ีปรากฏภาพสะท้อนทาง
วัฒนธรรมสาขาช่างฝี มือ ด้านการเจียระไน ด่ังที่ปรากฏช่ืออัญมณี “เพชร” ตามพจนานุกรม
ราชบณั ฑิตยสถาน ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ เพชร หมายถึง ช่ือแกว้ ที่แขง็ ท่ีสุดและมีน้าํ แวววาวมากกวา่ พลอยอ่ืน
ๆ ใชท้ าํ เครื่องประดบั หรือใชป้ ระโยชน์ในทางอุตสาหกรรม การเจียระไนเพชรคือการสร้างเพชรจากหิน
หยาบให้กลายเป็นอญั มณีเหล่ียมเพชรพลอยท่ีมีความแวววาว สวยงาม และมีมูลค่า ท้งั น้ีการเจียระไนเพชร
จะตอ้ งใชผ้ มู้ ีความรู้และมีความเช่ียวชาญฌเฉพาะทางเท่าน้นั
4.สาขาคหกรรมศาสตร์
สาขาคหกรรม หมายถึง เป็นวชิ าทีวด่ ว้ ยการ ใชก้ ารพฒั นา และการจดั การทรัพยากรมนุษย์ และวตั ถุ
เพอื่ ประ โยชน์สุดของบุคคล ครอบครัว สถาบนั และชุมชนทว่ั ไป ท้งั ปัจจุบนั และอนาคต รวมท้งั การศึกษา
92
วิจยั ในทางวิทยาศาสตร์ และศิลปะในแง่ต่าง ๆ ของชีวิต ครอบครัว ซ่ึงเกี่ยวพนั กบั ส่ิงแวดลอ้ มทางกาย ใจ
เศรษฐกิจ และสังคม โดยสาขาคหกรรมจะประกอบไปดว้ ย เรื่องอาหาร การแต่งกาย การตกแต่งบา้ น การ
รักษาโรค การดูแลเดก็ ครอบครัว มารยาทในการกิน การตอ้ นรับแขก การประกอบอาชีพ เป็นตน้ (มณี โกสุ
มาศ. 2537)
ผศู้ ึกษาพบวา่ ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมสาขาคหกรรมศาสตร์ที่ปรากฎในการต้งั ชื่อบอนสี สามารถจาํ
เเนกไดเ้ ป็น 1 ประเภท ไดเ้ เก่
4.1 การเเต่งกาย
ราชวลั ลภ
เป็นบอนท่ีอยใู่ นตบั “เบด็ เตลด็ ” ผผู้ สมพนั ธุ์คือ คุณทวี ประสิทธ์ิ ต้งั ช่ือโดยคุณสุทธิ กลิ่นอทุ ยั เม่ือปี
พ.ศ. 2537 เป็ นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ เม่ือตน้ ยงั เล็กพ้ืนใบมีสีน้าํ ตาลอ่อน พอโตเต็มที่พ้ืนใบสีน้าํ ตาล
เขม้ มีเมด็ สีม่วงอมน้าํ ตาลกระจายเล็กนอ้ ย กระดูกสีดาํ เส้นสีน้าํ ตาลเขม้ กา้ นใบสีเขียวคล้าํ มีเส้ียนสีน้าํ ตาล
เขม้ กา้ นใบสีเขียวสมอ เดิมทีน้นั มหาดเลก็ รักษาพระองคฯ์ จะมีช่ือเรียกเฉพาะวา่ ทหารมหาดเลก็ ราชวลั ลภ
รักษาพระองค์ เนื่องดว้ ยเป็นหน่วยที่ถวายการรับใชต้ ่อองคพ์ ระมหากษตั ริยอ์ ยา่ งใกลช้ ิดท่ีสุด และคาํ วา่ ราช
วลั ลภ หมายถึง ผเู้ ป็นท่ีรัก สนิท คุน้ เคยของพระราชา และลกั ษณะพ้ืนใบสีน้าํ ตาล หมายถึง ความอดทน เด็ด
เดี่ยว และดว้ ยลกั ษณะโดยรวมของตน้ บอนชนิดน้ีมีลกั ษณะคลา้ ยกบั ชุดของทหารราชวลั ลภรักษาพระองคฯ์
5.สาขากฬี าและนันทนาการ
วฒั นธรรมสาขากีฬาและนนั ทนาการวา่ ดว้ ยเรื่องการละเล่น เช่น มวยไทย ฟันดาบ กระบี่ กระบอง
ฯลฯ (ประภาศรี สีหอาํ ไพ, 2538, น.3) กีฬาและนนั ทนาการ เป็ นการละเล่นท่ีใหค้ วามสนูกสนานแก่คนใน
กลุ่มชน เป็ นกิจกรมผ่อนคลายที่สร้างเสริมสุขภาพท้งั ร่างกายและจิตใจ อีกท้งั ยงั ทาํ ให้เกิดความสามคั คีใน
หมู่คณะ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2554 (ราชบณั ฑิตยส์ ถาน,2556, น.132) ,ไดใ้ หค้ วามหมาย
ของกีฬาว่า กิจกรรมหรือการเล่นที่มีกฎกติกากาํ หนด เพื่อความสนุกเพลิดเพลินผ่อนคลายความเครียด หรือ
93
เสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง และอาจใช้เป็ นการแข่งขนั เพ่ือความเป็ นเลิศ และได้ให้ความหมายของ
นนั ทนาการว่า กิจกรรมที่ทาํ ตามสมคั รใจในยามวา่ ง เพ่ือใหเ้ กิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและผอ่ นคลาย
ความตึงเครียด (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2556 ,น.616) ในปัจจุบนั กีฬาบางชนิดไม่ไดเ้ ป็ นกิจกรรมท่ีมุ่งเอาชนะ
เพยี งเท่าน้นั หากแต่ใชเ้ ป็นกิจกรรมยามวา่ งเพ่ือผอ่ นคลาย
ผูศ้ ึกษาพบว่า ภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมสาขาสาขากีฬาและนนั ทนาการท่ีปรากฎในการต้งั ชื่อบอนสี
สามารถจาํ เเนกไดเ้ ป็น 1 ประเภท ไดเ้ เก่
5.1 การยงิ ธนู
คมศร
ลูกผสมระหวา่ ง “ก่ึงกาํ กง” กบั “สกั กบรรพ” ผสมพนั ธุเ์ มื่อวนั ที่ 1 กนั ยายน พ.ศ. 2528 ต้งั ช่ือจด
ทะเบียนโดยคณุ เสริม พงศท์ อง เม่ือวนั ที่ 6 กนั ยายน พ.ศ. 2529 เป็นบอนใบยาวคลา้ ยรูปใบโพธ์ิ พ้ืนใบสีแดง
สด กระดูกและเส้นสีแดง กา้ นใบสีแดง มีสะพานหนา้ และสาแหรกสีน้าํ ตาล เหมาะที่จะเล้ียงเป็นไมก้ ระถาง
ขนาดเลก็ คมศร วเิ คราะหใ์ นเชิงภาษา คม หมายถึง ส่วนที่บางมากจนสามารถบาดได้ และศร หมายถึง อาวธุ
ชนิดหน่ึง ประกอบดว้ ยคนั สาํ หรับยงิ เรียกวา่ คนั ศร กบั ลกู ปลายแหลม เรียกวา่ ลูกศร ดงั น้นั คมศร หมายถึง
ลูกศรท่ีแหลมคม ซ่ึงเป็นความหมายที่ดี และลกั ษณะพ้นื ใบสีแดงสด หมายถึง ความแกร่งกลา้ มุทะลุ บู๊ ลา้ ง
ผลาญ
94
ศรรัก
ลกั ษณะเป็นบอนใบยาว ตน้ เลก็ มีใบดก พ้ืนใบสีชมพูเรื่อ กระดูก เส้น และพร่าสีขาวอมเขียวอ่อน
ขอบใบสีเขียว กา้ นใบสีชมพอู ่อน มีเส้ียนหนาสีน้าํ ตาล ชื่อบอนดงั กลา่ วท่ีปรากฏภาพสะทอ้ นทางวฒั นธรรม
สาขากีฬาและนนั ทนาการ ดา้ นกีฬาการยงิ ธนู ดง่ั ที่ปรากฏช่ืออาวธุ “ศร” ตามพจนานุกรมราชบณั ฑิตยสถาน
ไดใ้ ห้ความหมายว่า ศร หมายถึง อาวุธชนิดหน่ึง มีคนั สําหรับยิงรูปโคง้ มีสายขึง เรียกว่า คนั ศร กบั ลูก
สาํ หรับยงิ เป็นไม้ หรือโลหะยาวปลายแหลม เรียกวา่ ลูกศร เมื่อยงิ ตอ้ งเอาลูกศรมาเกี่ยวกบั สายศร ดึงใหต้ ึง
แลว้ ปล่อยออกไปโดยแรง, เรียกอาการท่ียิงว่า ยิงศร หรือแผลงศร หรือเรารู้จกั กนั ในกีฬาท่ีเรียกวา่ “การยิง
ธนู”
95
บทที่ 4
สรุปและอภปิ รายผล
จากการศึกษาภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมท่ีปรากฏในการต้งั ช่ือ “บอนสี” ราชินีไมใ้ บ ผวู้ ิจยั พบภาพสะทอ้ น
วฒั นธรรมจากการต้งั ชื่อบอนสี ซ่ึงสามารถจาํ แนกได้ 5 สาขา ไดแ้ ก่
1.สาขามนุษยศาสตร์ ซ่ึงสามารถจาํ แนกได้ 6 ประเภท ดงั น้ี
1.1 คา่ นิยม ไดแ้ ก่ นางฮูหยนิ
1.2 ความเช่ือ ไดแ้ ก่ เทพนารี มนตรา ฉตั รมงคล พรหมเทพ มณฑาทอง เพชรราหู ครุฑ ทา้ วบาดาล
เทพสุริยะ
1.3 ศาสนา ไดแ้ ก่ พระศรีมโหสถ มหาชนก มหาเทพ คเณศวร เทพนรสิงห์
1.4 ประวตั ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ พระนางจามเทวี พระยาฟ้าลน่ั ขนุ สรร จูกดั เหลียง จะเดด็ เจา้ ฟ้ากงุ้ นายจนั
หนวดเข้ียว นายดอกรัก นายโชติ พนั เรือง ยทุ ธนาวี องั ศุมาลิน มา้ เฉียว อาจารยฮ์ กหลง
1.5 การปกครอง ไดแ้ ก่ เจา้ เชียงของ วิเศษไชยชาญ สาครบุรี จงั หวดั กาํ เเพงเพชร จงั หวดั ธนบุรี
จงั หวดั พระนคร จงั หวดั ลพบุรี นครเข่ือนขนั ธ์ บางบาล บางปะอิน บางรัก
1.6 กฎหมาย ไดแ้ ก่ อมุ้ บุญ
2.สาขาศิลปะ ซ่ึงสามารถจาํ แนกได้ 4 ประเภท ดงั น้ี
2.1 ภาษา ไดแ้ ก่ พระยาเศวต แม่พิมพข์ องชาติ แม่ศรีเรือน ราตรีประดบั ดาว ป่ิ นรัตน์ พรพระร่วง
มหาราชินี
2.2 ดนตรี ไดแ้ ก่ เกลด็ แกว้ จอมสุรางค์ ตอ้ ยตีวดิ เสน่หา จงรัก มหาฤกษ์
2.3 วรรณคดี ไดแ้ ก่ ขุนชา้ ง นางแกว้ กิริยา นางละเวง นางวนั ทอง กินรี โคบุตร จนั ทโครพ ตะเภา
แกว้ ตะเภาทอง ทา้ วรําไพ นางวิมาลา นางเล่ือมลายวรรณ พญาพนั วงั มทั รี เศรษฐีพิจิตร สุครีพครองเมือง
หนุมาน พลบั พลา อปั สรสวรรค์ องคุลีมาน ป่ ูเจา้ สมิงพราย หมื่นเเผว้ หมื่นหาญ เถรขวาด
2.4 สถาปัตยกรรม ไดแ้ ก่ ป้อมพระจนั ทร์ ขนั ธ์เข่ือนเพชร มหาโลหะ เรือวาสุกรี อินทรรังสรรค์ อู่
ทอง จนั ทรเกษม
3.สาขาการช่างฝี มือ ซ่ึงสามารถจาํ แนกได้ 1 ประเภท ดงั น้ี
3.1 การเจียระไน ไดแ้ ก่ โกเมน เพชรน้าํ หน่ึง เหลืองบุศราคมั เเสงเพชร
4.สาขาคหกรรมศาสตร์ ซ่ึงสามารถจาํ แนกได้ 1 ประเภท ดงั น้ี
4.1 การแต่งกาย ไดแ้ ก่ ราชวลั ลภ
5.สาขากฬี าและนันทนาการ ซ่ึงสามารถจาํ แนกได้ 1 ประเภท ดงั น้ี
1.1 การยงิ ธนู ไดแ้ ก่ คมศร ศรรัก
อภิปรายผล
จากการศึกษาภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมท่ีปรากฏในการต้งั ชื่อ “บอนสี” ราชินีไมใ้ บ ผวู้ จิ ยั พบวา่ ในการ
ต้งั ชื่อน้นั มีการสะทอ้ นภาษา และวฒั นธรรมท่ีทาํ ให้ผูว้ ิจยั และบุคคลที่ตอ้ งการศึกษาไดเ้ ห็นอยา่ งชดั เจนดงั
96
เรื่องท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ ซ่ึงจากการศึกษาภาพสะทอ้ นวฒั นธรรมที่ปรากฏในการต้งั ช่ือ “บอนสี” ราชินีไมใ้ บมี
การถ่ายทอดวฒั นธรรมไทยท่ีปรากฏอยใู่ นช่ือของบอนสีแต่ละตน้ ประกอบดว้ ยกนั ท้งั หมด 5 สาขา ดงั น้ี
สาขามนุษยศาสตร์ จะทาํ ใหเ้ ห็นถึงคา่ นิยมที่สงั คมไทยไดร้ ับอิทธิพลบางประการมาจากค่านิยมของ
คนจีน เนื่องจากคนจีนมากมายก็ไดอ้ พยพจากจีนแผ่นดินใหญ่เขา้ มาอาศยั อย่ใู นแผ่นดินไทย ทาํ ให้ค่านิยม
เหล่าน้ีคอ่ ย ๆ แทรกซึมเขา้ มาเป็นส่วนหน่ึงของทศั นคติของคนไทย หรือชายไทยท่ีตอ้ งการหาคูค่ รองซ่ึงเป็น
สตรีท่ีเพียบพร้อมท้งั กริยามารยาท และความเฉลียวฉลาด โดยปกติชายไทยจะใหภ้ รรยาเป็ นผูต้ าม แต่ดว้ ย
ค่านิยมของคนจีนท่ีตอ้ งการให้ภรรยาน้ันมีความเป็ นผูน้ าํ เกือบทดั เทียมเสมอสามีก็เขา้ มามีอิทธิพลต่อ
ชายไทยเช่นกนั ส่วนในดา้ นของความเช่ือน้ันมีอิทธิพลหลายทางท่ีคนไทยรับมา ท้งั ความเชื่อท่ีเกิดจาก
ความคิด ความศรัทธาของตนเอง อิทธิพลทางศาสนา อิทธิพลจากการรับมาจากบรรพบุรุษ เม่ือป่ ูย่าตายาย
เชื่อมาเช่นน้นั ลูกหลานกต็ อ้ งเชื่อแบบน้นั ต่อไปเช่นกนั ซ่ึงความเชื่อน้นั เป็นความคิดส่วนบุคคลท่ีไม่สามารถ
กา้ วก่ายหรือบงั คบั ใหผ้ ใู้ ดเลือกที่จะเช่ือ หรือเลิกท่ีจะเช่ือส่ิงใดส่ิงหน่ึงที่ยดึ ถือมานานได้ ในส่วนของศาสนา
น้นั ถือวา่ เป็นสิ่งท่ีไดร้ ับมาโดยกาํ เนิด เมื่อพ่อแม่นบั ถือศาสนาใด ลูกก็จะตอ้ งนบั ถือศาสนาน้นั ไปดว้ ย และ
ในบางคร้ังคนไทยบางกลุ่มก็รับอิทธิพลของศาสนาอ่ืนเขา้ มาดว้ ย อย่างที่ทราบว่าศาสนาพุทธเป็ นศานา
ประจาํ ชาติไทย แต่กม็ ีคนไทยบางส่วนที่รับอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์เขา้ มาใชใ้ นการดาํ เนินชีวิต ในส่วน
ของประวตั ิศาสตร์น้นั ทุกชาติลว้ นมีอดีตท่ียง่ิ ใหญ่และน่าจดจาํ แมเ้ รื่องราวทางประวตั ิศาสตร์น้นั จะน่าหดหู่
หรือเจ็บปวดเพียงใด แต่ก็เต็มไปด้วยเรื่องราวที่น่าจดจาํ และน่าศึกษาเพราะบรรพชนล้วนสร้างความ
ภาคภูมิใจไวใ้ หแ้ ก่เยาวชนรุ่นหลงั ในส่วนของการปกครองน้นั มีหลากหลายสถานท่ี ท้งั สถานที่ในอดีตและ
สถานที่ปัจจุบนั ท่ียงั ปรากฏอยู่ โดยแต่ละพ้ืนที่การปกครองจะมีผูน้ าํ เป็นของตนเอง มีการจดั การที่แตกต่าง
กนั แต่ถึงจะมีการปกครองคนละภาคส่วน คนไทยทุกคนก็สามารถอาศยั อยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสงบสุข ในส่วน
ของกฎหมายน้นั ถือว่าเป็ นหนา้ ท่ีที่ทุกคนตอ้ งปฏิบตั ิร่วมกนั ฝ่ าฝื นไม่ได้ อีกท้งั เป็ นกรอบท่ีคอยควบคุมให้
ผคู้ นดาํ เนินชีวติ ไดอ้ ยา่ งเป็นระเบียบและสามารถใชช้ ีวิตร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ติ
สาขาศิลปะ เป็ นสาขาท่ีทาํ ให้ผูค้ นมีความบนั เทิง มีสุนทรียภาพทางอารมณ์ร่วมกนั ไดง้ ่ายท่ีสุด ใน
ส่วนแรกคือภาษา ซ่ึงภาษาบนโลกใบน้ีมีอยมู่ ากมาย และภาษาไทยเองก็เป็นอีกหน่ึงภาษาท่ีน่าศึกษาคน้ ควา้
และในบางคร้ังก็มีการยืมคาํ จากภาษาต่างประเทศมาใชด้ ว้ ยเช่นกนั ส่วนของดนตรีน้นั เป็ นส่ิงท่ีจรรโลงใจ
ผคู้ นไดท้ ุกเพศทุกวยั ทุกเช้ือชาติ เนื่องจากดนตรีไม่มีพรมแดน ไม่วา่ จะเป็นชนชาติ ภาษาใดก็สามารถรับฟัง
ดนตรีไดอ้ ย่างไม่ขดั หู ส่วนวรรณคดีน้ันถือว่าเป็ นสิ่งจรรโลงใจท่ีสามารถทาํ ให้ผูอ้ ่านรู้สึกสะเทือนใจ มี
อารมณ์ร่วมไปกบั เน้ือเร่ืองที่แต่งข้ึนมาได้ อีกท้งั วรรณคดีหลายเรื่องก็ไดร้ ับการอนุรักษใ์ ห้คงอยู่มาจนถึง
ปัจจุบนั แลว้ ไดร้ ับการบรรจุลงในหนงั สือแบบเรียนภาษาไทยในทุก ๆ ช้นั ปี อีกเช่นกนั ส่วนสถาปัตยกรรม
น้นั บ่งช้ีถึงความเจริญรุ่งเรืองของบา้ นเมืองท้งั ในอดีตและปัจจุบนั โดยสามารถประเมินมูลค่าทางความคิด
ของผกู้ ่อสร้างและออกแบบไดจ้ ากตวั สถาปัตยกรรมท่ีจบั ตอ้ งได้
สาขาช่างฝี มือ หากพูดถึงฝี มือของคนไทยแลว้ น้นั งดงามไม่แพช้ าติใดในโลก อีกท้งั คนไทยมีความ
ใจเยน็ และประณีต ชอบประดิดประดอยสิ่งสวย ๆ งาม ๆ ซ่ึงงานฝี มือท่ีพบในการวิจยั คร้ังน้ีกม็ ีเพียงสิ่งเดียว