The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ppza777, 2019-12-09 00:43:15

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562 - 2565)

รวมเล่ม

แผนพัฒนาการศึกษาขันพนื ฐาน
ระยะ 4 ป

(พ.ศ. 2562 - 2565)

แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ระยะ 4 ปี
(พ.ศ.2562-2565)

สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

------------------------------------------------------------------------------------------

เอกสารลาดบั ที่ 4/2562
งานนโยบายและแผน กลุ่มนโยบายและแผน
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
เวบ็ ไซต์ : www.trang1.go.th

คานา

สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ได้จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ระยะ
4 ปี (พ.ศ.2562-2565) เพ่อื ใช้เป็นแนวทางการขบั เคลื่อนการบริหารจดั การศึกษา ของสานักงานเขตพน้ื ที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 โดยมสี าระสาคญั ประกอบด้วย สภาพท่ัวไปและสภาพการจดั การศึกษา
ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน การวเิ คราะหศ์ ักยภาพสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ตวั ชวี้ ดั /เปา้ หมาย
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562-2565 การบริหารแผนพัฒนาการศกึ ษาสูก่ ารปฏบิ ตั ิให้เกิดผลสาเรจ็

หวงั เป็นอยา่ งย่งิ ว่า แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562-2565) ฉบับน้ี จะเป็น
เครอื่ งมือสาคัญในการบริหารจัดการศึกษา ของสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 และ
สถานศึกษาในสงั กดั ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

สารบัญ

หนา้

ส่วนท่ี 1 สภาพทัว่ ไปและสภาพการจดั การศึกษา

- สภาพทวั่ ไปของจังหวดั ตรัง 1

- สภาพการจัดการศึกษา 3

- โครงสร้างสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 6

- ขอ้ มลู พน้ื ฐานทางการศกึ ษา 7

- ขอ้ มูลผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษา 10

- ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2561 20

สว่ นท่ี 2 ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

- รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย ฯ 34

- นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตร)ี 34

- ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) 37

- แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579 38

- จุดเน้นเชิงนโยบายของรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 41

(นายแพทยธ์ ีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์)

- ยุทธศาสตร์ปฏริ ปู การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (พ.ศ.2558-2563) 42

- นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 43

- นโยบายจงั หวัดตรัง 44

ส่วนที่ 3 การวเิ คราะห์ศกั ยภาพสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา และทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

- การวิเคราะหส์ ภาพองค์กร (SWOT @ TOWS Matrix) 46

- นโยบาย สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 52

- ทิศทางการจัดการศกึ ษา สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 53

- จุดเน้น/ตวั ชวี้ ัด/แนวทาง ตามแผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 66

ส่วนท่ี 4 ตัวช้วี ดั /เปา้ หมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2565 69

สว่ นท่ี 5 การบริหารแผนพัฒนาการศกึ ษาสู่การปฏิบัติให้เกดิ ผลสาเร็จ 83

ภาคผนวก
- คาสง่ั แต่งต้ังคณะกรรมการจัดทาแผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
และทบทวนแผนพัฒนาการศกึ ษาระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562-2565)
- คาสั่งแตง่ ต้ังคณะกรรมการประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ ทบทวนแผนพฒั นาการศกึ ษา
ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562-2565) และจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 1

ส่วนท่ี 1
สภาพท่วั ไปและสภาพการจดั การศกึ ษา

----------------------------------
1. สภาพทัว่ ไปของจงั หวัดตรงั

1.1 ท่ีตั้ง ตรังเป็นจังหวัดท่ีตั้งอยู่ทางภาคใต้ฝั่งทะเลตะวันตกของประเทศไทย ต้ังอยู่ภาคใต้ฝั่งตะวันตก

ติดกับทะเลอันดามันแห่งมหาสมุทรอินเดีย มีเน้ือท่ีทั้งสิ้น 4,917.519 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ
3,088,400 ไร่ มีขนาดพ้ืนที่ใหญ่เป็นลาดับที่ 4 ของภาคใต้ และลาดับท่ี 33 ของประเทศ อยู่ห่างจาก
กรุงเทพมหานคร ตามเส้นทางสายเพชรเกษม 828 กิโลเมตร มีพ้ืนท่ีฝ่ังทะเลตลอดแนวเขตจังหวัดยาว 119
กิโลเมตร ประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่จานวน 46 เกาะ โดยมีเกาะท่ีสาคัญ เช่น เกาะลิบง ซ่ึงเป็นเกาะท่ีมี
ขนาดใหญท่ ี่สุด เกาะมุก เกาะกระดาน เป็นต้น โดยมีอาณาเขตติดตอ่ จังหวดั ต่างๆ ดังน้ี .
ทิศเหนอื ติดต่อกับจงั หวัดนครศรีธรรมราชและ

จงั หวัดกระบ่ี
ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวดั สตูลและทะเลอนั ดามัน

มหาสมุทรอนิ เดีย
ทิศตะวันออก ติดตอ่ กับจงั หวัดพัทลงุ (มีเทือกเขาบรรทัด

กัน้ อาณาเขต)
ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับจงั หวดั กระบ่ีและทะเลอนั ดามนั

มหาสมุทรอนิ เดยี

1.2 ลักษณะพื้นที่ทางกายภาพ

สภาพพ้ืนท่ีส่วนใหญ่โดยท่ัวไปจะเป็นเนินสูง ๆ ต่า ๆ สลับด้วยภูเขาใหญ่เล็กกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป
พน้ื ท่รี าบเรียบมจี านวนน้อยซ่งึ ใชเ้ พาะปลูกข้าว ทางทิศตะวันออกมีเทือกเขาบรรทัดยาวจากเหนือจรดใต้ และ
เป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างจังหวัดตรังกับจังหวัดพัทลุง มีพื้นท่ีป่าประมาณร้อยละ 20 ของพ้ืนท่ีจังหวัด
สภาพปา่ เปน็ ปา่ ดิบชืน้ สาหรับพ้ืนท่ที ่อี ย่ตู ิดกบั ทะเลมปี า่ ชายเลนท่ียังคงมีความอุดมสมบูรณ์

1.3 ลกั ษณะภมู อิ ากาศ

1) ฤดูกาล จังหวัดตรังต้งั อยใู่ นเขตภมู อิ ากาศแบบมรสมุ เขตรอ้ น มอี ากาศรอ้ น โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูง
ตลอดปี มีฝนตกชุก อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมที่พัดผ่าน 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัด
ปกคลุมประเทศไทย ทาให้ภาคเหนือและภาคกลางมีอากาศหนาวและแห้งแล้ง ส่วนภาคใต้ตอนบนจะมีฝนตก
ชุก เพราะมรสุมได้พัดผ่านอ่าวไทย สาหรับตรังอยู่ทางฝั่งตะวันตกได้รับอิทธิพลของลมนี้น้อยจึงมีฝนตกเพียง
เลก็ น้อย ส่วนมรสุมอีกชนิดหน่ึง คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งจะพัดผ่านมหาสมุทรอินเดีย ส่งผลให้จังหวัด
ตรงั ซง่ึ ตง้ั อยใู่ นดา้ นรบั ลมมฝี นตกชุก จงั หวัดตรังมี 2 ฤดกู าล คือ

1.1 ฤดูฝน เร่ิมตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ โดยฤดูฝนช่วงแรกจะมีฝนตก
สมา่ เสมอในปรมิ าณ 118.7-730.2 มิลลเิ มตรต่อเดอื น และฤดูฝนชว่ งหลงั จะมีปริมาณฝนคอ่ นขา้ งนอ้ ย

1.2 ฤดูร้อน เริ่มต้ังแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม โดยได้รับอิทธิพลของลมมรสุม
จากแถบเสน้ ศนู ย์สตู รในชว่ งเปล่ยี นฤดกู าล

แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 2

2) ลักษณะอากาศทั่วไป จังหวัดตรังอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมท่ีพัดประจาเป็นฤดูกาล 2 ชนิด
คอื

2.1 ลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ ช่วงกลางเดอื นพฤษภาคมถงึ กลางเดอื นตลุ าคม
2.2 ลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ชว่ งกลางเดอื นตลุ าคมถึงกลางเดอื นพฤษภาคม
1.4 แหล่งน้าส้าคัญ แหล่งน้าธรรมชาติท่ีมีต้นกาเนิดอยู่ในพ้ืนท่ีภูเขาและเทือกเขาด้านทิศตะวันออกของ
จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นลาน้าสายส้ันๆ และมีความลาดชันสูง โดยระบายลงสู่ทางด้านทิศตะวันตก มีจานวนรวม
ทง้ั หมด 176 สาย ประกอบดว้ ยแม่น้าสายสาคัญ 2 สาย คอื
1) แมน่ ้าตรงั มีต้นกาเนิดจากเทือกเขาบรรทัด ในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุงและจาก
เทือกเขาเขตจังหวัดกระบี่ มีความยาวประมาณ 123 กิโลเมตร มีลาน้าสาขาท่ีสาคัญ 7 สาย ได้แก่ คลองชี
คลองท่าประดู่ คลองกะปาง คลองมวน คลองยางยวน คลองลาภรู า และคลองนางน้อย แม่น้านี้ไหลผ่านท้องที่
จงั หวดั ตรงั 5 อาเภอ คอื อาเภอรษั ฎา อาเภอห้วยยอด อาเภอวังวิเศษ อาเภอเมืองตรัง และอาเภอกันตัง แล้ว
ไหลลงทะเลอนั ดามนั มหาสมุทรอนิ เดยี ที่ปากนา้ กันตงั อาเภอกันตงั
2) แม่น้าปะเหลียน มีตน้ กาเนิดจากเทอื กเขาบรรทดั ในเขตจังหวดั พทั ลุง และจังหวัดสตูล มีความยาว
ประมาณ 58 กิโลเมตร มีลาน้าสาขาท่ีสาคัญ 7 สาย ได้แก่ คลองปะเหลียน คลองลาแคลง คลองลาปลอก
คลองห้วยด้วน คลองลาพิกุล คลองโพรงจระเข้ (คลองไหนุ้ย) และคลองลาชาน แม่น้าน้ีไหลผ่านท้องที่จังหวัด
ตรัง 2 อาเภอ คือ อาเภอย่านตาขาวและอาเภอปะเหลียน แล้วไหลลงสู่ทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย
ทปี่ ากแม่น้าปะเหลียน อาเภอปะเหลยี น

2. การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ

จังหวัดตรังมีเน้ือท่ีทั้งหมด 3,088,400 ไร่ แบ่งเป็นพื้นท่ีถือครองเพื่อการเกษตร 1,659,188 ไร่
คิดเป็นร้อยละ 53.72 และพื้นท่ีป่าไม้ 1,292,132 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 41.84 ของพื้นที่ โดยพื้นท่ีถือครอง
ทางการเกษตรแบ่งได้เป็นพื้นที่เพาะปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้น 1,732,813 ไร่ ส่วนใหญ่ใช้เพาะปลูกยางพารา
ปาล์มน้ามันและไม้ผล จากพวกทุเรียน มังคุด เงาะ ส่วนท่ีเหลือเป็นพื้นท่ีนา 12,292 ไร่ นอกจากนั้นเป็นที่อยู่
อาศัย พชื ไรส่ วนผักและไมด้ อก ทุง่ หญ้าเลย้ี งสัตวแ์ ละที่รกร้าง 136,580 ไร่

3. การปกครองและจา้ นวนประชากร

จังหวัดตรัง มีการแบ่งพื้นท่ีการปกครองออกเป็น 10 อาเภอ 87 ตาบล 723 หมู่บ้าน ประกอบด้วย
อาเภอเมืองตรัง อาเภอกันตัง อาเภอปะเหลียน อาเภอย่านตาขาว อาเภอสิเกา อาเภอห้วยยอด อาเภอ
วังวิเศษ อาเภอนาโยง อาเภอรษั ฏา อาเภอหาดสาราญ

จานวนประชากรจังหวัดตรัง ณ วันท่ี 30 เมษายน 2561 มีจานวน 642,869 คน ชาย 314,734 คน
หญิง 328,135 คน และมีจานวนครัวเรือนทั้งหมด 227,142 ครัวเรือน ประชากร ประกอบอาชีพทางการ
เกษตรเป็นหลัก อัตราความหนาแนน่ ของประชากรเท่ากบั 130.72 คน ต่อ 1 ตารางกิโลเมตร

4. ดา้ นการคมนาคม

การคมนาคมขนสง่ ในจังหวดั ตรังสามารถเดนิ ทางหรอื ขนสง่ สินคา้ ได้ 4 เส้นทาง คอื
1) การคมนาคมทางบก

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 3

1.1 ทางรถยนต์ ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เป็นถนนสายหลักในการ
คมนาคมขนส่งทางบก นอกจากน้ันยงั มถี นนเช่ือมโยงจากจงั หวัดไปอาเภอต่าง ๆ สามารถเดินทาง ติดต่อกันได้
สะดวกทกุ ฤดกู าล โดยมสี ายทางท้งั หมด 75 สายทาง

1.2 ทางรถไฟ มบี ริการรถไฟ 2 ขบวน คอื ขบวนรถเรว็ กันตัง-กรงุ เทพฯ ทุกวันๆ ละ 1 ขบวน และ
ขบวนรถด่วน ตรัง-กรุงเทพฯ ทุกวันๆ ละ 1 ขบวน

2) การคมนาคมทางอากาศ
ท่าอากาศยานตรัง มีบริการสายการบิน 3 สายการบิน คือ สายการบินนกแอร์ ทาการบินวันละ

3 เท่ยี วบิน และสายการบนิ Air Asia ใหบ้ รกิ ารวนั ละ 3 เท่ียวบิน สายการบินไทยไลออนแอร์ ทาการบินวันละ
2 เทยี่ วบนิ ในเสน้ ทางตรงั -ดอนเมือง ทกุ วนั

3) การคมนาคมทางนา้
จังหวดั ตรงั มีทา่ เรือพาณิชย์ จานวน 5 ทา่ คอื
(1) ท่าเทียบเรือกันตัง ขนาดไม่เกิน 20 ตันกรอส ท่ีตั้งบริเวณแม่น้าตรัง ตาบลกันตัง อาเภอกันตัง

จังหวัดตรัง ขนส่งสนิ คา้ ประเภทตูค้ อนเทนเนอร/์ เรอื ลาเลียงสินคา้
(2) ท่าเทียบเรือแสงทองขนส่งภาคใต้ เป็นท่าเทียบเรือขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส ที่ตั้งบริเวณ

แม่น้าตรัง ตาบลบางเป้า อาเภอกนั ตัง จงั หวัดตรัง ทา่ เทยี บเรือสนิ คา้ ประเภทเทกอง /เรอื ลาเลยี งสนิ ค้า
(3) ท่าเทียบเรือตรังฮาเบอร์ ท่าเทียบเรือขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส ที่ต้ังบริเวณแม่น้าตรัง ตาบล

นาเกลอื อาเภอกันตัง จังหวดั ตรัง ขนสง่ สินค้าประเภทเทกอง/ เรอื ลาเลียงสนิ ค้า ขนาด 1,500 ตนั กรอส
(4) ท่าเทียบเรือยุโสบ ขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส ต้ังบริเวณแม่น้าตรัง ตาบลบ่อน้าร้อน อาเภอ

กันตงั จังหวดั ตรงั สนิ ค้าประเภทตคู้ อนเทนเนอร์ / เรอื ลาเลียงสินค้า ขนาด 1,500-2,500 ตนั กรอส
(5) ท่าเทียบเรือนาเกลือ กว้าง 29.00 เมตร ยาว 185 เมตร ที่ตั้ง บริเวณแม่น้าตรัง หมู่ที่ 2 ตาบล

นาเกลอื อาเภอกันตงั จงั หวดั ตรงั ขนส่งทางทะเลในพื้นท่ีโครงการพัฒนาเศรษฐกิจสามฝ่าย ได้แก่ อินโดนีเซีย
มาเลเซีย และไทย (IMT-GT) โครงการร่วมมือเศรษฐกิจอนุทวีป ระหว่าง บังคลาเทศ - อินเดีย - พม่า –
ศรลี งั กา – ไทย
(ทม่ี า : แผนพฒั นาจังหวดั ตรัง พ.ศ.2561-2565)

2. สภาพการจัดการศึกษา

สภาพทัว่ ไป

2.1 ที่ตั้ง

สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ตั้งอยู่เลขท่ี 193 หมู่ที่ 12 ถนนตรัง-ปะเหลียน
ตาบลโคกหล่อ อาเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง โทรศัพท์ 075- 572030 โทรสาร 075- 224947
Website : http://www.trang1.go.th E-mail : [email protected]

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 4

2.2 เขตพ้นื ท่ีบรกิ าร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ต้ังอยู่ภาคใต้ของประเทศไทย อยู่ห่างจาก

กรุงเทพมหานคร 828 กิโลเมตร พ้ืนที่ความรับผิดชอบ 5 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองตรัง อาเภอปะเหลียน
อาเภอย่านตาขาว อาเภอนาโยง และอาเภอหาดสาราญ

อ้าเภอ พ้ืนที่ ต้าบล หมบู่ ้าน เทศบาล อบต.
(ตร.กม.)

เมืองตรัง 533.873 15 121 4 12

ปะเหลยี น 973.130 10 86 3 9

ย่านตาขาว 431.057 8 67 3 6

นาโยง 165.017 6 53 1 6

หาดสาราญ 224.00 3 22 - 3

รวม 2327.077 42 349 11 36

2.3 ประชากรในเขตพนื้ ทบ่ี ริการ

อ้าเภอ ชาย หญงิ รวม ครวั เรือน
64,460
เมอื งตรัง 74,660 82,065 156,725 22,503
20,824
ปะเหลียน 33,215 34,247 67,462 14,445
4,684
ย่านตาขาว 31,465 33,018 64,483 126,916

นาโยง 21,600 23,022 44,622

หาดสาราญ 8,494 8,389 16,883

รวม 169,434 180,741 350,175

ท่ีมา : ที่ทาการปกครอง จงั หวัดตรงั (ข้อมลู ณ วันท่ี 3 เมษายน 2561)

3. อา้ นาจ หนา้ ที่

3.1 ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 มาตรา 37 ให้สานักงาน
เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา มอี านาจหนา้ ท่ี ดงั นี้

(1) อานาจหนา้ ท่ีในการบริหารและการจัดการศกึ ษา และการพัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

(2) อานาจหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการ และจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
รว่ มกบั สถานศึกษา

(3) รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษา และสานักงาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา

(4) ปฏบิ ัตหิ น้าท่อี ่นื ตามที่กฎหมายกาหนด

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 5

3.2 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
พ.ศ. 2560 ข้อ 5 ให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีอานาจหน้าท่ีดาเนินการให้เป็นไปตามอานาจหน้าที่ของ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และมีอานาจ
หนา้ ที่ ดงั ต่อไปน้ี

(1) จัดทา นโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษาให้สอดคล้องกับ
นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน และความต้องการของท้องถิน่

(2) วิเคราะห์การจัดต้ังงบประมาณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณทีไ่ ดร้ บั ใหห้ นว่ ยงานข้างตน้ รบั ทราบ รวมทั้งกากับตรวจสอบ ติดตาม
การใชจ้ า่ ยงบประมาณของหนว่ ยงานดงั กลา่ ว

(3) ประสาน สง่ เสริม สนบั สนนุ และพฒั นาหลักสูตรร่วมกบั สถานศึกษาในเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
(4) กากับ ดูแล ตดิ ตาม และประเมนิ ผลสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
(5) ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ัย และรวบรวมข้อมลู สารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพนื้ ที่การศึกษา
(6) ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมท้ังทรัพยากรบุคคล เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนการ
จัดการศกึ ษา และพฒั นาการศกึ ษาในเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา
(7) จดั ระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา และประเมินผลสถานศกึ ษาในเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
(8) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่น
ท่จี ดั การศึกษารูปแบบทีห่ ลากหลายในเขตพื้นที่การศกึ ษา
(9) ดาเนนิ การและประสาน ส่งเสริม สนบั สนุนการวจิ ัยและพัฒนาการศึกษาในเขตพนื้ ที่การศึกษา
(10) ประสาน ส่งเสริม การดาเนินการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทางาน
ดา้ นการศกึ ษา
(11) ประสานการปฏบิ ัตริ าชการทวั่ ไปกับองคก์ รหรอื หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทงั้ ภาครฐั เอกชน และ
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
(12) ปฏิบตั ิงานรว่ มกับหรือสนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานอน่ื ทเ่ี กยี่ วข้องหรอื ที่ไดร้ ับมอบหมาย

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 6

แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 7

ขอ้ มูลพ้นื ฐานทางการศกึ ษา

ตารางที่ 1 จานวนสถานศกึ ษา ในจงั หวัดตรัง ปีการศึกษา 2561 จาแนกตามระดับการศกึ ษา รายสงั กดั

ท่ี สถานศึกษาสังกดั จา้ นวน (แหง่ )

1 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 295

- สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 132
- สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 2 134
- สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 (โรงเรียน จ.ตรัง) 28

- ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 4 จงั หวดั ตรงั 1

2 สงั กัดสานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 11

3 สานักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน 35

4 องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ 156
5 สานักงานตารวจแหง่ ชาติ 2

6 สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 1

7 สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา 9
8 สานักงานคณะกรรมการอุดมศกึ ษา 5
9 สถาบนั พลศึกษา 2
10 สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2
518
รวมทั้งสนิ้

ท่ีมา : ขอ้ มูล 10 มิถนุ ายน 2561 สานกั งานศึกษาธิการจังหวัดตรงั

ตารางท่ี 2 ข้อมลู นักเรียน ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐานในจังหวดั ตรงั ปกี ารศกึ ษา 2561 จานวน(คน)
ท่ี สงั กัด 22,260
1 สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 24,448
2 สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 2 23,473
3 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 (โรงเรยี น จ.ตรงั ) 70,181
รวมท้ังสนิ้

ท่ีมา : ขอ้ มลู 10 มถิ นุ ายน 2561 สานักงานศึกษาธิการจังหวดั ตรงั

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 8

ตารางที่ 3 จานวนโรงเรียน นกั เรยี น ครู ห้องเรียน ครตู ่อนักเรียน และห้องเรยี นต่อนักเรยี น
สังกดั สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 จาแนกตามขนาดโรงเรยี น
ปีการศึกษา 2561

ขนาด จา้ นวนนกั เรียน โรงเรียน นกั เรียน ห้องเรียน
โรงเรียน
(1-120 คน) 0 4,934 691
1 นกั เรยี น 1-20 คน 5 0 0
นกั เรยี น 21-40 คน 14 149 46
2 นกั เรยี น 41-60 คน 15 706 214
3 นักเรียน 61-80 คน 14 145
4 นกั เรยี น 81-100 คน 16 1,044 121
5 นกั เรียน101-120คน 43 1,281 165
6 13 1,754 395
7 (121-200 คน) 9 6,279 141
(201-300 คน) 1 3,123 86
(301-499 คน) 2 3,292 10
(500-1,499 คน) 0 982 18
(1,500-2,499 คน) 132 3,650 0
(2,500 ขน้ึ ไป) 1,341
0
รวมท้ังส้นิ 22,260

ทม่ี า : ข้อมลู 10 มถิ ุนายน 2561

ตารางท่ี 4 จานวนโรงเรยี น ห้องเรียน นกั เรียน สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

ปีการศกึ ษา 2561 จาแนกรายอาเภอ

จา้ นวนนักเรยี น
ที่ อ้าเภอ โรงเรียน ห้องเรียน รวม กอ่ นประถม ประถม มัธยมศึกษาตอนตน้

1 เมอื งตรงั 35 332 8,468 2,038 6,054 376

2 ปะเหลยี น 37 368 4,453 890 3,362 201

3 ย่านตาขาว 33 379 4,511 1,146 3,280 85

4 นาโยง 17 172 3,322 861 2,157 304

5 หาดสาราญ 10 90 1,506 435 1,017 54

รวม 132 1,341 22,260 5,370 15,870 1,020

ทม่ี า : ขอ้ มลู 10 มิถุนายน 2561

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 9

ตารางที่ 5 จานวนโรงเรยี น นักเรยี น ห้องเรียน โรงเรยี นขนาดเลก็ สังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 จาแนกตามขนาด รายอาเภอ ปีการศึกษา 2561

ที่ อ้าเภอ โรงเรยี น นกั เรยี น หอ้ งเรียน 0-20 ขนาดสถานศกึ ษา (มีจา้ นวนนักเรยี น) 101-120
21-40 41-60 61-80 81-100
1,184
1 เมอื งตรงั 15 1,696 135 0 1 4 2 4 4
2 ยา่ นตาขาว 22 1,493
3 ปะเหลยี น 21 255 271 0 1 5 6 4 6
4 นาโยง 3 306
5 หาดสาราญ 3 4,934 230 0 3 5 6 2 5
64
รวม 30 0 0 0 1 2 0

25 0 0 0 0 2 1

691 0 5 14 15 14 16

ที่มา : ขอ้ มลู 10 มิถนุ ายน 2561

ตารางท่ี 6 จานวนขา้ ราชการครแู ละบุคลากรในสถานศกึ ษา สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 จาแนกรายอาเภอ ปกี ารศึกษา 2561

ท่ี อา้ เภอ ตาม จ. 18 ตามเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ.กา้ หนด

ผอ.รร. รอง ผอ.รร. ครู รวม ผอ.รร. รอง ผอ.รร. ครู รวม

1 เมืองตรัง 35 8 410 453 35 8 434 477

2 ยา่ นตาขาว 33 2 230 265 33 2 248 283

3 ปะเหลียน 37 2 274 313 37 2 276 315

4 นาโยง 17 2 176 195 17 2 190 209

5 หาดสาราญ 10 1 74 85 10 0 90 100

รวม 132 15 1,164 1,311 132 14 1,238 1,384

ที่มา : ขอ้ มลู 10 มถิ นุ ายน 2561

ตารางที่ 7 จานวนบคุ ลากรในสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

ท่ี กลมุ่ /หน่วย/ศนู ย์ จา้ นวน(คน)
1 ผอู้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา 1
2 รองผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา 4
3 ศกึ ษานิเทศก์ 15
4 บคุ ลากรทางการศึกษา ตามมาตรา 38 ค (2) 41

5 พนักงานราชการ 1
6 ลูกจ้างประจา/ชวั่ คราว 14
76
รวม

ท่มี า : ข้อมลู 10 มถิ นุ ายน 2561

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 10

ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา

ด้านคุณภาพ
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา
2561 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
ตารางที่ 8 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6

ปกี ารศกึ ษา 2561 ของโรงเรยี นสงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
ระดบั เขตพ้ืนที่ ระดับสพฐ. และระดบั ประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ เขตพน้ื ท่ี คะแนนเฉลยี่
58.36 สพฐ. +เพม่ิ /-ลด ประเทศ +เพ่มิ /-ลด
ภาษาไทย 36.70
ภาษาองั กฤษ 38.69 54.61 +3.75 55.90 +2.46
คณิตศาสตร์ 41.47 35.47 +1.23 39.24 -2.54
วทิ ยาศาสตร์ 35.65 +3.04 37.50 +1.19
รวม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 43.81 38.83 +2.64 39.93 +1.54

41.14 +2.67 43.14 +0.66

จากตารางท่ี 8 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพ้ืนท่ีกับระดับ สพฐ. พบว่า ผลการทดสอบใน
4 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่าระดับสพฐ. ร้อยละ 2.67 โดยมีคะแนนเฉล่ียสูงกว่าท้ัง 4 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ และเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ีย ระดับเขตพ้ืนที่กับระดับประเทศ พบว่าผลการทดสอบใน 4 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ ร้อยละ 0.66 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่า
ระดับประเทศ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ตามลาดับ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนน
เฉลีย่ ต่ากว่าระดับประเทศ คือ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ)

แผนภูมทิ ่ี 1 แสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ชน้ั ประถม
ศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2561 ของโรงเรยี นสงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ตรงั เขต 1 ระดบั เขตพืน้ ที่ ระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ

70

60 58.36 43.81 43.14
54.61 55.90
41.47 41.14
50 38.83 39.93
40 39.24 38.69 37.50 เขตพนื ้ ที่
30 36.70 35.47 สพฐ.
20 35.65 ประเทศ

10

0 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ รวม 4 กลุ่ม สาระ
ภาษาไทย

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 11

ตารางท่ี 9 การเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
ระหว่างปีการศึกษา 2559 - 2561 ของโรงเรียนสังกดั สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ปีการศกึ ษา คะแนนเฉล่ีย
2559 ปกี ารศึกษา +เพมิ่ /-ลด ปกี ารศกึ ษา +เพม่ิ /-ลด
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ 56.73 2560 (ปี 2559-2560) 2561 (ปี 2560-2561)
คณิตศาสตร์ 32.29
วิทยาศาสตร์ 43.96 50.03 -6.70 58.36 +8.33
รวม 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 43.50 34.47 +2.18 36.70 +2.23
44.12 39.11 -4.85 38.69 -0.42
39.93 -3.57 41.47 +1.54
40.89 -3.23 43.81 2.92

จากตารางที่ 9 คะแนนเฉล่ียของผลการทดสอบใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เม่ือเปรียบเทียบคะแนน
เฉลี่ย ระหว่างปีการศึกษา 2559 – 2560 พบว่า คะแนนเฉล่ียปีการศึกษา 2560 ต่ากว่าปีการศึกษา 2559 (ลดลง
ร้อยละ 3.23) โดยกลมุ่ สาระการเรียนรทู้ ่มี ีคะแนนเพมิ่ ขึ้น ไดแ้ ก่ ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ส่วนกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ที่มีคะแนนเฉล่ียลดลง ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย
ระหว่างปีการศึกษา 2560 – 2561 พบว่า ปีการศึกษา 2561 มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่า ปีการศึกษา 2560 (เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 2.92) โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเพ่ิมขึ้น คือ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ภาษาไทย
วิทยาศาสตร์ ส่วนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ทีม่ ีคะแนนเฉลย่ี ลดลง ได้แก่ คณิตศาสตร์

แผนภมู ิที่ 2 แสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ระหว่างปกี ารศกึ ษา 2559 - 2561 ของโรงเรยี น สงั กดั
สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

70

60 56.73 58.36

50.03

50

43.96 43.5 44.12 43.81
39.11 38.69 41.47
40.89
39.93
40
36.70 ปี การศึกษา 2559
34.47 ปี การศกึ ษา 2560
32.29 ปี การศกึ ษา 2561

30

20

10

0 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รวม 4 กลุ่ม สาระ
ภาษาไทย

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 12

ตารางท่ี 10 การเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3

ปกี ารศึกษา 2561 ของโรงเรยี นสังกัดสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

ระดบั เขตพื้นท่ี ระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คะแนนเฉล่ยี
เขตพนื้ ที่ สพฐ. +เพ่มิ /-ลด ประเทศ +เพิ่ม/-ลด

ภาษาไทย 51.61 55.04 -3.43 54.42 -2.81

ภาษาอังกฤษ 25.74 29.10 -3.36 29.45 -3.71

คณติ ศาสตร์ 23.97 30.28 -6.31 30.04 -6.07

วทิ ยาศาสตร์ 34.97 36.43 -146 36.10 -1.13

รวม 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 34.07 37.71 -3.64 34.33 -3.43

จากตารางที่ 10 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียระดับเขตพ้ืนท่ีกับระดับสพฐ. พบว่า ผลการทดสอบใน
4 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉล่ียต่ากว่าระดับสังกัด ร้อยละ 3.64 โดยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉล่ีย
ต่ากว่าระดับสพฐ. และเม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย ระดับเขตพื้นท่ีกับระดับประเทศ พบว่า ผลการทดสอบใน
4 กลุ่มสาระการเรียนรู้มคี ะแนนเฉลย่ี ต่ากว่าระดบั ประเทศ ร้อยละ 3.43 โดยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉล่ีย
ต่ากวา่ ระดับประเทศ

แผนภูมทิ ่ี 3 แสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษา
ปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2561 ของโรงเรยี นสงั กัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
ระดับเขตพนื้ ที่ ระดบั สพฐ. และระดับประเทศ

60

55.04 54.42
51.61

50

40 34.97 36.43 36.10 37.71 37.50
34.07

30 29.10 29.45 30.28 30.04 เขตพนื ้ ที่
สพฐ.
25.74 ประเทศ

23.97

20

10

0 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ รวม 4 กลุ่ม สาระ
ภาษาไทย

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 13

ตารางท่ี 11 การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ระหวา่ งปีการศึกษา 2559-2561 ของโรงเรยี นสังกัดสานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1

คะแนนเฉลย่ี

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา +เพิ่ม/-ลด ปีการศึกษา +เพ่ิม/-ลด
2559 2560 (ปี 2559-2560) 2561 (ปี 2560-
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ 43.47 46.15 +2.68 51.61 2561)
คณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ 26.62 26.94 +0.32 25.74 +5.46
รวม 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ -1.20
24.68 20.53 -4.15 23.97 +3.44
+4.42
33.66 30.55 -3.11 34.97
+3.03
32.11 31.04 -1.07 34.07

จากตารางที่ 11 คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ลดลง เม่ือเปรียบเทียบ
คะแนนเฉลี่ย ระหว่างปีการศึกษา 2559 – 2560 พบว่า คะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2560 ต่ากว่าปีการศึกษา 2559
(ลดลงร้อยละ 1.07) โดยกลุม่ สาระการเรียนรู้ท่ีมีคะแนนเพิ่มข้ึน ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยลดลง ได้แก่ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และเมื่อเปรียบเทียบคะแนน
เฉลีย่ ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2560 – 2561 พบว่า ปีการศึกษา 2561 มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่าปีการศึกษา 2560 (ร้อยละ
3.03) โดยกลมุ่ สาระการเรียนรูท้ ม่ี ีคะแนนเฉล่ียเพิ่มขึ้น คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์) ส่วนกลุ่มสาระ
การเรยี นรู้ท่ีมคี ะแนนเฉล่ยี ลดลง ไดแ้ ก่ ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

แผนภมู ทิ ี่ 4 แสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET)
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ระหว่างปกี ารศึกษา 2559 - 2561 ของโรงเรียนสังกดั สานักงาน
เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

60 33.66 34.97 34.07
32.11 31.04
51.61 30.55 ปี การศึกษา 2559
ปี การศกึ ษา 2560
50 26.62 26.94 25.74 24.68 ปี การศกึ ษา 2561
46.15
43.47 23.97

40 20.53

30

20

10

0 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ รวม 4 กลุ่ม สาระ
ภาษาไทย

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 14

ตารางที่ 12 แสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (National
Test : NT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2560 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา
ตรัง เขต 1 ระดับเขตพนื้ ท่ี ระดับสังกดั และระดับประเทศ

ความสามารถ เขตพนื้ ท่ี คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ +เพิ่ม/-ลด

ดา้ นภาษา 56.76 สงั กดั +เพมิ่ /-ลด ประเทศ +4.09
ดา้ นคานวณ 41.43 +3.68
ดา้ นเหตผุ ล 49.31 51.94 +4.82 52.67 +4.00
รวมความสามารถ 38.38 +3.05 37.75
49.16 44.98 +4.33 45.31 +3.91

45.10 +4.06 45.25

จากตารางท่ี 12 พบว่า คะแนนเฉล่ียร้อยละของรวมความสามารถ ระดับเขตพื้นท่ีสูงกว่าระดับสังกัด
(ร้อยละ 4.06) และระดับประเทศ (ร้อยละ 3.91) เมื่อพิจารณาเป็นรายความสามารถ พบว่า คะแนนเฉลี่ย
รอ้ ยละของความสามารถทง้ั 3 ดา้ น ระดบั เขตพื้นทส่ี ูงกวา่ ระดับสงั กดั และระดบั ประเทศ

แผนภมู ทิ ่ี 5 แสดงการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (National
Test : NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2560 สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ตรงั เขต 1 ระดบั เขตพ้นื ท่ี ระดบั สงั กดั และระดับประเทศ

ด้านภาษา 5512.9.65476.76
ดา้ นคา้ นวณ 3378..473158.43
ดา้ นเหตผุ ล
รวมความสามารถ 4445..934819.31
4455..12459.16
0
20 40 60

ประเทศ สงั กดั เขตพื้นที่

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 15

ตารางที่ 13 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National
Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ตรัง เขต 1 ระหวา่ งปีการศึกษา 2558 - 2560

ความสามารถ 2558 ปีการศึกษา (คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ) +เพิ่ม/-ลด

ด้านภาษา 49.42 2559 +เพ่มิ /-ลด 2560 -1.90
ด้านคานวณ 43.74 -1.67
ด้านเหตผุ ล 52.93 58.66 +9.24 56.76 -12.97
รวมความสามารถ 43.10 -0.64 41.43
48.69 62.28 +9.35 49.31 -5.52

54.68 +5.98 49.16

จากตารางท่ี 13 เม่ือเปรียบเทียบระหว่างปีการศึกษา 2558 กับปีการศึกษา 2559 คะแนนเฉล่ียร้อยละ
ของรวมความสามารถท้ัง 3 ด้าน ปีการศึกษา 2559 สูงกว่าปีการศึกษา 2558 ร้อยละ 5.98 เม่ือพิจารณาเป็น
รายความสามารถ พบว่า คะแนนเฉล่ียร้อยละของความสามารถด้านภาษาสูงกว่าร้อยละ 9.24 ด้านคานวณต่ากว่า
ร้อยละ 0.64 และความสามารถด้านเหตุผลสูงกว่าร้อยละ 9.35 และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีการศึกษา 2559 กับ
ปีการศึกษา 2560 คะแนนเฉล่ียร้อยละของรวมความสามารถทั้ง 3 ด้าน ปีการศึกษา 2560 ต่ากว่าปีการศึกษา
2559 ร้อยละ 5.52 เมื่อพิจารณาเป็นรายความสามารถ พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละของความสามารถท้ัง 3 ด้าน
ต่ากว่าเชน่ เดยี วกัน โดยคะแนนเฉลย่ี ดา้ นภาษาตา่ กว่ารอ้ ยละ 1.90 ดา้ นคานวณต่ากว่าร้อยละ 1.67 และด้านเหตุผล
ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 12.97

แผนภมู ทิ ่ี 6 แสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผูเ้ รียนระดบั ชาติ (National
Test : NT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2560 สังกดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 ระหวา่ งปีการศึกษา 2558 - 2560

ด้านภาษา 56.76
ด้านคานวณ 49.42 58.66
ดา้ นเหตุผล 41.43
รวมความสามารถ 4433.1.74
49.31
0 10 52.93 62.28
ปกี ารศึกษา 2560
49.1654.68
48.69

20 30 40 50 60 70

ปีการศกึ ษา 2559 ปกี ารศกึ ษา2558

แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 16

ตารางท่ี 14 ผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานดา้ นการอา่ นของผเู้ รยี น (Reading Test : NT)
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

สมรรถนะ คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ ส่วนเบีย่ งเบน ดีมาก ระดบั คุณภาพ ปรับปรุง
มาตรฐาน
การอ่านออกเสียง 73.91 ดี พอใช้
การอา่ นรู้เรื่อง 68.69 13.14 
รวม 2 สมรรถนะ 71.35 9.48 
11.53 

จากตารางท่ี 14 พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 2 สมรรถนะ อยู่ในระดับคุณภาพดี คือ มีคะแนนเฉล่ีย
ร้อยละ 71.35 เม่ือพิจารณาเป็นรายสมรรถนะ พบว่า คะแนนเฉล่ียร้อยละของสมรรถนะการอ่านออกเสียง
และสมรรถนะการอ่านรู้เร่ือง อยู่ในระดับคุณภาพดี คือ มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 73.91 และ ร้อยละ 68.69
ตามลาดบั

แผนภูมทิ ี่ 7 แสดงผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รยี น (Reading Test : NT)
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560 สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

การอ่านออกเสียง 73.91
การอ่านร้เู รอื่ ง
68.69 71.35 76
รวม 2 สมรรถนะ 68 70 72 74
66

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 17

ดา้ นประสิทธภิ าพ
 ผลการตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ าร และการจัดการศกึ ษาของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ตาม

มาตรฐานสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา (พ.ศ.2560) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ของสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มรี ายละเอียดดงั นี้

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ ระดบั คณุ ภาพ
มาตรฐานที่ 1 การบริหารจดั การองคก์ ารสคู่ วามเปน็ เลศิ
ตวั บ่งชท้ี ี่ 1 การบริหารจดั การที่ดี ดมี าก
ตวั บ่งชที้ ่ี 2 การพัฒนาสูอ่ งคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้ ดมี าก
ตัวบ่งช้ีที่ 3 การกระจายอานาจและการสง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มในการบรหิ าร และการจดั การศึกษา ดมี าก
มาตรฐานท่ี 2 การบริหารและการจัดการศกึ ษาที่มปี ระสิทธภิ าพ
ตวั บ่งชี้ท่ี 1 การบริหารงานดา้ นวชิ าการ ดี
ตัวบ่งชท้ี ี่ 2 การบรหิ ารงานดา้ นงบประมาณ ดี
ตวั บ่งชท้ี ี่ 3 การบรหิ ารงานด้านการบริหารงานบุคคล ดมี าก
ตวั บ่งชท้ี ี่ 4 การบรหิ ารงานด้านการบริหารทวั่ ไป ดีมาก
ตวั บง่ ชี้ท่ี 5 การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการจดั การศกึ ษาท่มี ีประสทิ ธภิ าพ พอใช้
มาตรฐานท่ี 3 สมั ฤทธผิ ลของการบริหารและการจัดการศกึ ษา ดมี าก
ตวั บง่ ชที้ ี่ 1 สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามผี ลงานท่ีแสดงความสาเรจ็ และเป็นแบบอยา่ งได้ พอใช้
ตวั บ่งชท้ี ี่ 2 สถานศกึ ษามคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เพื่อ ดมี าก
พอใช้
การประกนั คุณภาพการศึกษา ดเี ยีย่ ม
ตัวบง่ ชี้ท่ี 3 ผู้เรยี นทกุ ระดับปฐมวัย และระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน มคี ณุ ภาพตามหลักสตู ร
ตวั บง่ ชี้ที่ 4 ประชากรวัยเรยี นไดร้ บั สทิ ธิและโอกาสทางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานเท่าเทยี มกัน ดีมาก
ดเี ยยี่ ม
ศกึ ษาตอ่ ในระดับทสี่ งู ขึน้ หรอื มีความรทู้ ักษะพนื้ ฐานในการประกอบอาชีพ
ตวั บ่งชี้ที่ 5 ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พนกั งานราชการ ลกู จ้าง ในสานกั งาน พอใช้

เขตพนื้ ที่การศกึ ษาและสถานศกึ ษา มผี ลงานเชิงประจกั ษ์ ตามเกณฑไ์ ดร้ บั การยกย่อง ดีมาก
เชดิ ชูเกยี รติ
ตัวบ่งชท้ี ่ี 6 ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี มีความพึงพอใจในการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา ดีมาก
รวมทงั้ การให้บริการ

คดิ เป็นรอ้ ยละ

ผลการติดตามและประเมินผลการบรหิ ารและจดั การของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ตามมาตรฐาน
สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา (พ.ศ.2560) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 ได้รบั คะแนนรวมมาตรฐาน/ตัวบง่ ชี้ อยู่ในระดบั คณุ ภาพดมี าก

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 18

 ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2561 ของสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ได้ตรวจสอบและประเมินผลการรายงานการดาเนินงาน
ตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561สานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 อยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมาย และมีผลการประเมินองค์ประกอบ
ท่ี 1 สูงกวา่ เปา้ หมาย องคป์ ระกอบที่ 2 สูงกว่าเป้าหมาย องคป์ ระกอบท่ี 4 สูงกว่าเปา้ หมาย

สานักงานเขตพืน้ ที่ ระดับ ผลการประเมนิ องค์ประกอบที่
การศกึ ษา สูงกว่าเป้าหมาย
ประถมศึกษา 12 4
ตรัง เขต 1
สูงกว่าเป้าหมาย สงู กวา่ เปา้ หมาย สงู กวา่ เป้าหมาย

- องคป์ ระกอบที่ 1 ประสทิ ธิภาพในการดาเนนิ งานตามหลักภารกิจพ้ืนฐาน งานประจาหน้าที่ปกติ หรือ
งานตามหน้าท่ีความรับผิดชอบหลักงานตามกฎหมาย กฎ นโยบายของรัฐบาล หรือมติคณะรัฐมนตรี
(Functional Base)

- องค์ประกอบท่ี 2 ประสิทธิภาพในการดาเนินงานตามหลักการภารกิจยุทธศาสตร์หรือภารกิจท่ีได้รับ
มอบหมายเป็นพเิ ศษ (Agenda Base)

- องค์ประกอบที่ 4 ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการ
ระบบงาน งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล และการให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐ
(Innovation Base)

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 19

 ผลการติดตามและประเมินผล การบริหารจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (ตัวช้ีวัดความสาเร็จตาม
ยุทธศาสตร์แผนปฏิบัติราชการ) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

ที่ ยุทธศาสตร์ ผลประเมินตามตัวชว้ี ัด (ตชว.) คา่ เฉลี่ยและระดับคณุ ภาพ

1 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 : จัดการศกึ ษา ตชว.1 ตชว.2 ตชว.3 ตชว.4 - - - - เฉลีย่ คณุ ภาพ

เพอื่ ความมั่นคง - -43 3.50 ดเี ย่ยี ม

2 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 : พฒั นาคณุ ภาพ ตชว.5 ตชว.6 ตชว.7 ตชว.9 ตชว.10 ตชว. ตชว. ตชว.13 เฉลยี่ คณุ ภาพ
ผเู้ รยี นและส่งเสริมการจัด 12.1.1 12.1.2 ดีมาก
การศึกษา เพือ่ สรา้ งขีดความ
สามารถในการแข่งขัน 4 4 2 2 4 1 1 4 2.75

3 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 : ส่งเสรมิ ตชว. ตชว. ตชว. ตชว. - - - - เฉลย่ี คุณภาพ
สนบั สนุนการพัฒนาครแู ละ 14.1 14.2 15.1 15.2
บุคลากรทางการศกึ ษา
143 - 2.67 ดีมาก

4 ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 : ขยายโอกาส ตชว. ตชว. ตชว.17 - - - - - เฉล่ีย คณุ ภาพ
การเข้าถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษา
16.1 16.2

และการเรยี นร้อู ย่างมคี ณุ ภาพ 444 4 ดเี ย่ียม

5 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 : การจดั การ ตชว.18 - - - - - - - เฉลี่ย คุณภาพ

ศึกษา เพือ่ เสรมิ สร้างคุณภาพชวี ติ 4 4 ดเี ยีย่ ม
เปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม

6 ยทุ ธศาตร์ท่ี 6 : การพัฒนาระบบ ตชว.19 ตชว.20 เฉลย่ี คุณภาพ

บริหารจดั การและส่งเสรมิ ใหท้ กุ

ภาคสว่ นมสี ่วนร่วมในการจดั การ 4 3 3.5 ดีเยี่ยม

ศกึ ษา

ตัวชี้วัดเพ่ิมเตมิ 2 ดี

คา่ เฉล่ียรวม เฉล่ีย คุณภาพ
3.20 ดีมาก

ผลการตดิ ตามและประเมินผลการบริหารจดั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน (ตวั ชี้วดั ความสาเรจ็ ตามยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการ)ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ของสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 จดั การศึกษาเพ่ือความม่นั คง ผลการประเมินตามตวั ชว้ี ัด คา่ เฉล่ีย 3.50 ระดบั คุณภาพ ดเี ยย่ี ม
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 พัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี นและส่งเสริมการจดั การศึกษา เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
ผลการประเมนิ ตามตัวชว้ี ดั ค่าเฉลย่ี 2.75 ระดับคุณภาพ ดีมาก ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 สง่ เสริม สนับสนุนการพฒั นา
ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ผลการประเมินตามตัวชว้ี ดั ค่าเฉลย่ี 2.67 ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ยทุ ธศาสตร์ที่ 4
ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ ผลการประเมินตามตวั ชี้วดั คา่ เฉล่ีย
4.00 ระดบั คุณภาพ ดเี ย่ยี ม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การจัดการศึกษาเพ่อื เสริมสรา้ งคณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรกับ
สง่ิ แวดลอ้ ม ผลการประเมินตามตัวชว้ี ดั ค่าเฉลีย่ 4.00 ระดับคณุ ภาพ ดีเยย่ี ม ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพฒั นาระบบ
บรหิ ารจดั การและส่งเสริมให้ทุกภาคสว่ นมีสว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา ผลการประเมินตามตวั ชี้วัด คา่ เฉลีย่
3.5 ระดับคณุ ภาพ ดเี ย่ยี ม และผลการประเมนิ ตามตัวช้ีวัด ค่าเฉลย่ี รวม 3.20 ระดบั คุณภาพ ดมี าก

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 20

ผลการด้าเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจา้ ปงี บประมาณ พ.ศ.2561

กิจกรรมท่ีดา้ เนนิ การ
1. นเิ ทศ ตดิ ตามการขบั เคลอ่ื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่สถานศึกษา
2. ประเมินสถานศึกษาพอเพียง

ผลการด้าเนินงาน
1. สถานศึกษาในสังกัด สพป.ตรงั เขต 1 จานวน 12 แหง่ ได้แก่ โรงเรยี นวดั สารกิ าราม, โรงเรียน
วดั แจง้ , โรงเรยี นบา้ นทุ่งศาลา, โรงเรยี นวดั เกาะมะม่วง, โรงเรยี นวัดท่าพญา, โรงเรยี นบ้านสุโสะ, โรงเรยี น
บา้ นหาดเลา, โรงเรียนบ้านนาทงุ่ , โรงเรยี นวดั ควนวไิ ล, โรงเรยี นบา้ นยงู งาม, โรงเรียนบ้านคลองลาปรงิ ,
โรงเรยี นบา้ นเขาหลัก ได้รับการนิเทศติดตามการขับเคลื่อนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่สถานศึกษา
ส่งผลใหบ้ ุคลากรในสถานศกึ ษา มคี วามตระหนักในการขบั เคลือ่ นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศกึ ษา
มีความร้คู วามเขา้ ใจแนวทางในการนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปใช้ในสถานศกึ ษาให้เหมาะสม
กับบริบทของสถานศึกษา ในด้านการบรหิ ารจัดการ ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทบ่ี รู ณาการ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ และในด้านกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน เพือ่ บ่มเพาะ
ผ้เู รียนให้มีอปุ นิสัยอยู่อยา่ งพอเพยี ง
2. สถานศึกษาในสังกัด สพป.ตรงั เขต 1 จานวน 6 แห่ง ทีร่ บั การประเมนิ เปน็ สถานศกึ ษาพอเพยี ง
ปี 2561 ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ สถานศึกษาพอเพียง ในระดบั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา

กจิ กรรมที่ด้าเนนิ การ
จดั ประกอบพิธีงานวนั สมเด็จพระมหาธีรราชเจา้ ประจาปี 2560 เม่ือวนั ที่ 25 พฤศจิกายน 2560

ณ สนามกฬี าเทศบาลนครตรัง จังหวดั ตรงั

ผลการดา้ เนินงาน
1. ลูกเสอื เนตรนารี และผูบ้ งั คบั บญั ชาลูกเสือ ได้นอ้ มระลกึ ถึงพระมหากรุณาธิคณุ รชั กาลที่ 6

ที่ได้พระราชทานกาเนดิ ลูกเสอื ไทย
2. ลูกเสอื เนตรนารี มีระเบียบวนิ ยั และความสามัคคีในหม่คู ณะลกู เสือ และมีจติ สาธารณะ

กจิ กรรมท่ีดำเนนิ กำร
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 ไดน้ านกั เรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา

จานวน 125 คน ไปศกึ ษาเรียนรู้ชมนทิ รรศการงานพระราชพธิ ถี วายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ณ ท้องสนามหลวง กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันท่ี 27-29
พฤศจิกายน 2560

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 21

ผลการด้าเนินงาน
1. นักเรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีความรเู้ กย่ี วกบั พระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเดจ็

พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ท่ีได้เสียสละเพ่ือปวงชนชาวไทย และโครงการอันเน่ืองจาก
พระราชดาริ สามารถนามาปรับใชใ้ นชีวิตประจาวันได้

2. นกั เรยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา มีความรู้ดา้ นขนบธรรมเนียมประเพณีของไทยมาแต่โบราณ

กจิ กรรมทด่ี ้าเนนิ การ
1. ส่งโรงเรียนเขา้ ร่วมกิจกรรม จานวน 78 โรงเรียน 194 กจิ กรรม
- โรงเรยี นสังกัด สพฐ. จานวน 66 โรงเรยี น 147 กิจกรรม
- โรงเรียนสงั กดั เอกชน จานวน 9 โรงเรียน 34 กิจกรรม
- โรงเรยี นสังกดั เทศบาล จานวน 3 โรงเรียน 13 กิจกรรม
2. จดั นทิ รรศการมีชวี ิตของโรงเรยี นในงานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคใต้ ณ จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
3. สง่ รายชื่อตัวแทนนักเรียนที่เข้าแข่งขันระดับชาติ

ผลการด้าเนินงาน

1. นักเรยี นท่ีเข้าร่วมแขง่ ขันได้รับเหรยี ญรางวัล ดังน้ี

- ชนะเลิศ 8 รางวลั - รองชนะเลศิ อันดับที่ 1 จานวน 17 รางวัล

- รองชนะเลศิ อันดับท่ี 2 จานวน 9 รางวัล - เหรยี ญทอง 113 เหรยี ญ

- เหรยี ญเงนิ 49 เหรยี ญ - เหรียญทองแดง 19 เหรยี ญ

- เข้ารว่ ม 8 รายการ

ได้ลาดับที่ 15 ของระดับภาคใต้

2. โรงเรยี นได้รับการคัดเลือกเป็นตวั แทนเข้าแข่งขันในระดบั ชาติ ดงั นี้

- สังกดั โรงเรยี น สพฐ. โรงเรยี นทีไ่ ด้รบั การคดั เลือก จานวน 11 โรง 21 กจิ กรรม

- สังกดั โรงเรยี นเอกชน โรงเรยี นทไ่ี ด้รบั การคัดเลอื ก จานวน 4 โรง 6 กิจกรรม

- สงั กดั โรงเรยี นเทศบาล โรงเรยี นทีไ่ ดร้ ับการคัดเลือก จานวน 2 โรง 7 กิจกรรม

กิจกรรมทด่ี า้ เนินการ
ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความเข้าใจเร่ือง “การนามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ

เรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์” ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม” (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สู่การปฏิบัติ กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ผู้อานวยการโรงเรียน
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการหรือหัวหน้าฝ่ายวิชาการ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับ
ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ครูผู้สอนสาระวิทยาศาสตร์ สาระภูมิศาสตร์ ครูผู้สอนเนื้อหาเกี่ยวกับ

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 22

เทคโนโลยี ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน รวมท้ังส้ิน
จานวน 840 คน ในวนั ที่ 26 มกราคม 2561 ณ โรงแรมเรือรัษฎา อาเภอเมอื ง จังหวดั ตรัง

ผลการดา้ เนนิ งาน
ผู้บริหารโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ที่เข้าประชุมมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถนา

ความรู้ไปวางแผนจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานและตัวช้ีวัดของกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

กิจกรรมท่ดี ้าเนนิ การ
1. จัดคา่ ยวชิ าการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (O-NET) นกั เรียนชั้น ป.6 กลุ่มโรงเรยี น

จานวน 13 กล่มุ และโรงเรียนพ้ืนที่เกาะ จานวน 2 โรง
2. จดั ค่ายวชิ าการภาษาองั กฤษ เพ่ือพฒั นาทักษะการสื่อสารภาษาองั กฤษ นักเรยี นช้ัน ป.6

กลมุ่ โรงเรียนนาโยง
3. จดั ค่ายวิชาการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ นกั เรยี นชั้น ม.3 เครอื ข่ายส่งเสริม

ประสทิ ธิภาพมัธยมศกึ ษาตอนต้น จานวน 19 โรง และโรงเรียนพ้ืนทเ่ี กาะ จานวน 2 โรง

ผลการด้าเนนิ งาน
1.นักเรยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ไดร้ บั การเตรยี มความพร้อมกอ่ นการวดั ผลการประเมินคณุ ภาพ

การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (NT) ทาใหม้ ีความรู้และทักษะในการทาแบบทดสอบการประเมินคุณภาพการศึกษา
ข้ันพน้ื ฐานเพอื่ ประกนั คุณภาพผ้เู รยี น (NT) มากข้ึน

2.นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ได้รบั การเตรียมความพรอ้ มก่อนทดสอบระดบั ชาติ (O-net) ทาใหม้ ี
ความรู้ ทักษะในการสอบมากยงิ่ ขึน้ ซ่งึ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศกึ ษา
ปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2560 ของโรงเรยี นสงั กดั สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 มีผลการ
ทดสอบใน 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ มีคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 40.89 โดยกล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย มคี ะแนน
เฉลี่ยสูงสุด (ร้อยละ 50.03) และเม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียระดับเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษากับระดบั ประเทศ
พบวา่ ผลการทดสอบใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้มคี ะแนนเฉล่ียสงู กวา่ ระดับประเทศ รอ้ ยละ 1.10

3.นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 กลมุ่ โรงเรยี นนาโยง มคี วามสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการ
ส่ือสารได้เหมาะสมตามระดับชนั้

4.นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้รบั การเตรียมความพร้อมก่อนทดสอบระดบั ชาติ (O-net) ทาใหม้ ี
ความรู้ ทกั ษะในการสอบมากยงิ่ ขึ้น ซงึ่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศกึ ษา
ปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2560 ของโรงเรยี นสังกัดสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 มีผลการ
ทดสอบใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มีคะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 31.04 โดยกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มคี ะแนน
เฉล่ียสงู สุด (รอ้ ยละ 46.15) และเม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ยี ระดบั เขตพื้นท่ีการศึกษากบั ระดับระดับประเทศ
พบวา่ ผลการทดสอบใน 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้มีคะแนนเฉล่ยี ตา่ กว่าระดับประเทศ รอ้ ยละ 3.29

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 23

กิจกรรมท่ดี ้าเนินการ
จัดการแข่งขันฟุตซอล รุ่นอายุไมเ่ กนิ 12 ปี ชาย-หญงิ จานวน 20 ทมี จานวน 300 คน เป็นเวลา 2 วนั

ณ โรงยมิ 1 สนามกฬี าเทศบาลนครตรัง

ผลการด้าเนนิ งาน
นักเรียนได้มีการพัฒนาทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจและสังคม ได้แสดงออกถึงกจิ กรรมกีฬาทต่ี นเอง

ชอบและถนัด แสดงออกถงึ ความรักสามคั คี มรี ะเบียบวนิ ยั และมีน้าใจนักกีฬา รูจ้ ักใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์
และห่างไกลยาเสพตดิ และได้พฒั นาตนเองไปสู่การแข่งขันทส่ี งู ขึ้น

กิจกรรมทด่ี า้ เนนิ การ
อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารนาหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 ส่กู ารปฏบิ ตั ิ เป้าหมายได้แก่ ครู

ปฐมวยั จานวน 145 คน เม่ือวันที่ 19 -20 พฤษภาคม 2561 ณ ห้องประชมุ พระเทพวิมลเมธี สานกั งาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

ผลการดา้ เนนิ งาน
1.ครปู ฐมวัยทุกคน มีความรู้ ความเขา้ ใจ เร่ืองหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช2560 สกู่ ารปฏบิ ัติ
2.ครูปฐมวัยทกุ คนที่เขา้ ร่วมอบรมสามารถจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาและนาไปสู่การปฏบิ ัติไดอ้ ย่างมี

ประสิทธภิ าพ
3.โรงเรยี นทุกโรงในสังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต1 มหี ลักสตู รสถานศกึ ษา

และพร้อมนาไปใช้

กิจกรรมทดี่ ้าเนินการ
1.ประชุมอบรมเชิงปฏบิ ัติการพฒั นาบรรณารกั ษ์ และครผู รู้ ับผิดชอบงานห้องสมดุ โรงเรียนด้านการ

ดาเนนิ งานส่งเสรมิ นสิ ัยรกั การอา่ นและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน ในวันท่ี 18 สิงหาคม 2561 ณ หอ้ งประชมุ
พระเทพวมิ ลเมธี สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 เปา้ หมาย ได้แก่ ครูบรรณารักษแ์ ละ
ผรู้ บั ผิดชอบการดาเนนิ งานของโรงเรียน จานวน 132 โรงเรียน และเชญิ ครจู ากโรงเรียนต้นแบบการดาเนินงาน
ส่งเสริมนิสยั รกั การอา่ นละห้องสมดุ โรงเรียนดเี ดน่ รว่ มเปน็ วทิ ยากร และจดั นิทรรศการแสดงผลงานของ
โรงเรยี น

2.นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนินงานจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ นสิ ยั รกั การอ่านและการพัฒนา
ห้องสมดุ โรงเรียน)

3.ตดิ ตามประเมินผลการดาเนินงาน เพื่อเปน็ โรงเรียนต้นแบบการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอ่าน
ดีเดน่ และโรงเรยี นต้นแบบการดาเนนิ งานห้องสมุดโรงเรยี นดเี ด่น ประจาปี 2561 ในวันท่ี 24,27 สิงหาคม
2561 ณ โรงเรียนเป้าหมาย จานวน 6 โรงเรยี น จานวน 8 รายการ

4. สรปุ /รายงานผลการดาเนินงานโครงการ

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 24

ผลการด้าเนนิ งาน

1. บรรณารักษ์และครูผูร้ บั ผดิ ชอบงานห้องสมุดโรงเรยี น ด้านการดาเนินงานสง่ เสริมนิสัยรักการอา่ นและ
พฒั นาหอ้ งสมุดโรงเรียน มีความร้คู วามเขา้ ใจและสามารถดาเนินงานจดั กิจกรรมสง่ เสริมนสิ ัยรักการอ่านและ
พฒั นาห้องสมดุ โรงเรยี นอยู่ในระดับดี

2. โรงเรียนได้รับการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการดาเนนิ งานส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอา่ น และการ
พัฒนาหอ้ งสมดุ โรงเรียน ทาใหท้ ราบสภาพการดาเนนิ งานของโรงเรียนและได้รับการชว่ ยเหลอื พัฒนาจากผ้มู ี
สว่ นเกยี่ วขอ้ งท้ังภายในและภายนอกองค์กร และโรงเรียนสามารถดาเนินการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ นิสยั รักการ

อ่านและพฒั นาห้องสมดุ โรงเรียน และมีผลการประเมินตามมาตรฐานอยู่ในระดบั ดขี ึ้นไป
3. โรงเรียนสามารถดาเนินงานจัดกจิ กรรมส่งเสริมนิสัยรกั การอา่ นและพฒั นาห้องสมดุ โรงเรยี นได้ตาม

เกณฑ์มาตรฐานของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มผี ลการดาเนนิ งานเชงิ ประจักษ์อย่าง

ต่อเน่อื งและยั่งยนื และดาเนินงานตามนโยบายได้ประสบผลสาเรจ็ ได้รบั การยกย่องเชดิ ชูเกียรติ สามารถเปน็

แบบอย่างแก่สถานศึกษาอ่นื ได้ ดงั น้ี

 ด้านส่งเสรมิ นิสยั รักการอ่านดีเด่น  ดา้ นการดาเนนิ งานห้องสมดุ โรงเรียนดีเดน่

(1) โรงเรียนวดั ทุง่ หินผดุ (เลก็ ) (1) โรงเรยี นวัดทุ่งหนิ ผดุ (เล็ก)

(2) โรงเรยี นบา้ นหนองเจด็ บาท (กลาง) (2) โรงเรียนวัดหนองสมาน (กลาง)

(3) โรงเรยี นวดั หนองสมาน (กลาง) (3) โรงเรียนบ้านควนสวรรค์ (ใหญ่)

(4) โรงเรียนบา้ นนาทะเล (ใหญ่)

(5) โรงเรยี นบา้ นคลองเต็ง (ใหญ่)

- ประกาศผลการประเมนิ เพอื่ เปน็ โรงเรยี นต้นแบบฯ และมอบเกียรตบิ ัตรรางวลั ยกย่องเชิดชูเกียรติ

สถานศกึ ษาท่ีดาเนนิ งานได้ประสบผลสาเรจ็ ในที่ประชมุ ผบู้ รหิ ารโรงเรียน เมือ่ วนั ที่ 25 กันยายน 2561 ดังนี้

ผลการประเมินโรงเรียนต้นแบบการจดั กิจกรรมสง่ เสริมนสิ ยั รกั การอา่ นดีเดน่ ประจาปี 2561

(1) ประเภทโรงเรียนขนาดเล็ก ไดแ้ ก่ โรงเรียนวัดทุ่งหนิ ผุด

(2) ประเภทโรงเรียนขนาดกลาง ได้แก่ โรงเรยี นบา้ นหนองเจ็ดบาท และ โรงเรยี นวัดหนองสมาน
(3) ประเภทโรงเรียนขนาดใหญ่ ได้แก่ โรงเรยี นบา้ นนาทะเล และ โรงเรยี นบา้ นคลองเต็ง

ผลการประเมนิ โรงเรียนต้นแบบการดาเนนิ งานหอ้ งสมดุ โรงเรยี นดีเดน่ ประจาปี 2561

(1) ประเภทโรงเรยี นขนาดเล็ก ไดแ้ ก่ โรงเรียนวดั ทงุ่ หนิ ผุด

(2) ประเภทโรงเรียนขนาดกลาง ไดแ้ ก่ โรงเรยี นวดั หนองสมาน

(3) ประเภทโรงเรียนขนาดใหญ่ ได้แก่ โรงเรียนบ้านควนสวรรค์

4. รายงานผลการดาเนนิ งาน จานวน 3 เลม่

กจิ กรรมทีด่ า้ เนนิ การ
1. ประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารคณะกรรมการพฒั นากรอบหลักสูตรท้องถน่ิ ในวนั ท่ี 8-9 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรม
ธรรมรนิ ทรธ์ นา เปา้ หมายผู้เขา้ ประชมุ ไดแ้ ก่ ผู้อานวยการโรงเรยี นในสงั กดั จานวน 10 คน ครผู สู้ อน จานวน
19 คน ผู้ปกครอง จานวน 3 คน ปราชญท์ อ้ งถนิ่ จานวน 9 คน นกั ธุรกจิ จานวน 2 คน องค์กรปกครอง
สว่ นท้องถนิ่ จานวน 4 คน องค์กรวิชาชีพ จานวน 2 คน และบคุ ลากรทางการศกึ ษา จานวน 15 คน

แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 25

2. ประชมุ เชิงปฏิบัติการตรวจสอบกรอบหลกั สูตรทอ้ งถิ่น ในวันท่ี 14 กนั ยายน 2561 ณ หอ้ งประชุม
สมาคม-มูลนิธิ สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 เป้าหมายผู้เข้าประชุม ไดแ้ ก่
คณะกรรมการตรวจสอบกรอบหลกั สตู รท้องถิ่น จานวน 25 คน

ผลการดา้ เนนิ งาน
1.สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ไดพ้ ัฒนากรอบหลักสตู รระดับท้องถิน่ ที่มคี วาม
สอดคล้องกบั เปา้ หมาย จดุ เน้น สาระท้องถ่นิ และสอดคล้องกับแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
และสถานศึกษาในสงั กัด สามารถนากรอบหลักสตู รระดับท้องถิ่นไปพัฒนาให้สอดคลอ้ งกับหลักสูตรสถานศึกษา
ได้ตรงตามความต้องการ
2.คณะกรรมการตรวจสอบกรอบหลกั สตู รระดบั ท้องถนิ่ ไดป้ รบั ปรุงและแกไ้ ขให้กรอบหลักสูตรระดับ
ท้องถน่ิ ของสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 มคี วามสมบูรณ์ ครบถ้วนและสอดคล้องกบั
ความตอ้ งการของท้องถิน่ เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอยา่ งมีประสิทธิภาพ เกิดประสทิ ธิผลตอ่
ผเู้ รยี นอย่างสงู สดุ

กิจกรรมที่ดา้ เนินการ
1. ประชุมประธานกลมุ่ โรงเรียนและประธานศนู ย์สาระการเรียนรู้ ในวันที่ 27 กันยายน2561 ณ สานักงาน

เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ผเู้ ข้าประชมุ ได้แก่ ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 ,รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1, ผอู้ านวยการ
กล่มุ , ศกึ ษานิเทศก์และประธานกลมุ่ สาระ เข้าร่วมประชุมรายงานความพร้อม/สภาพปัญหา การเตรยี มการ
แขง่ ขนั งานมหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรมวิชาการและเทคโนโลยขี องนกั เรยี น ปีการศกึ ษา 2561
ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษา จานวน 37 คน

2. แข่งขันทักษะด้านศิลปหตั ถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยีของนกั เรยี น
- จัดทาขอ้ มลู นักเรียนท่ีเข้ารว่ มแข่งขนั
- ประชุมคณะกรรมการของแตล่ ะศนู ยส์ าระ

ผลการดา้ เนนิ งาน

1. ประธานศูนยส์ าระการเรยี นรู้แตล่ ะศูนย์ รายงานความพรอ้ มสถานทแ่ี ขง่ ขันและมคี วามพร้อมในการแข่งขัน

100 เปอรเ์ ซ็นต์

2. นกั เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรังเขต 1

สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน และเทศบาล ได้เข้ารว่ มกจิ กรรมการแข่งขนั ทกั ษะทางวิชาการ

จานวน 5,800 คน

3. นกั เรยี นทกุ สังกดั ทเ่ี ขา้ ร่วมแขง่ ขนั ไดร้ บั รางวัลดังน้ี

- ชนะเลิศ 213 รางวลั - รองชนะเลิศอันดับที่ 1 จานวน 167 รางวัล

- รองชนะเลศิ อนั ดบั ที่ 2 จานวน 141 รางวัล - เหรยี ญทอง 740 เหรียญ

- เหรยี ญเงนิ 440 เหรยี ญ - เหรยี ญทองแดง 278 เหรียญ

- เข้ารว่ ม 335 รายการ

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 26

กจิ กรรมท่ดี ้าเนินการ
1. คดั เลอื กข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาดเี ดน่
2. แขง่ ขันกีฬาเชอ่ื มความสมั พันธร์ ะหว่างข้าราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้แก่ กีฬาวอลเลยบ์ อล

ฟุตบอล ฟุตซอล แชร์บอล เปตอง ในวันท่ี 16 มกราคม 2561 ณ สนามกีฬาเทศบาลนครตรงั
ผลการด้าเนนิ งาน
1. คดั เลือกข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาดีเด่น จานวน 2 ราย ดังนี้
- นางเฉลมิ ขวญั ศกุนตะฤทธ์ิ ศกึ ษานิเทศก์ ดเี ดน่
- นางสาววาสนา เจริญภักดิ์ บคุ ลากรทางการศกึ ษาดเี ด่น
2. ข้าราชการในกระทรวงศกึ ษาธิการ มีสุขภาพแข็งแรง มีนา้ ใจเป็นนักกีฬา สุขภาพจติ ที่ดี มีความ

พึงพอใจ มีความรัก ความสามคั คีในหมู่คณะ

กจิ กรรมที่ดา้ เนนิ การ
พัฒนาและนิเทศการบรหิ ารจดั การภายในสถานศึกษาตามบรบิ ทของพนื้ ที่จงั หวัด เพ่ือสร้างความรคู้ วาม

เข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานสถานศกึ ษา แก่ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา รักษาการในตาแหนง่
ผู้อานวยการสถานศกึ ษาท่วี า่ ง จานวน 35 คน ประกอบด้วย สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั
เขต 1 จานวน 22 คน สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 2 จานวน 13 คน ต้ังแตว่ นั ท่ี 16 –
18 มนี าคม 2561 ณ ห้องประชุมสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

ผลการด้าเนนิ งาน
ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ทีร่ ักษาการในตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา มคี วามเข้าใจ

บทบาทและอานาจหนา้ ท่ีของตนในการปฏบิ ตั ิงาน เกิดความม่นั ใจในการปฏบิ ตั งิ าน อนั จะส่งผลให้การบรหิ าร
จดั การสถานศึกษามีคุณภาพ

กจิ กรรมทด่ี า้ เนนิ การ
ฝึกประสบการณ์นิเทศการศึกษาแกข่ ้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารง

ตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์ จานวน 13 คน เจา้ หน้าที่ผเู้ กย่ี วข้อง จานวน 20 คน ระหวา่ งวนั ที่ 27 มนี าคม – 16
เมษายน 2561 ณ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 โดยดาเนินการดังนี้

1. ฝึกประสบการณ์นเิ ทศการศึกษา จานวน 20 วนั
2. ฝกึ ประสบการณ์ท่ีสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จานวน 17 วัน
3. ฝึกประสบการณ์ท่สี ถานศกึ ษา จานวน 3 วัน

แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 27

ผลการดา้ เนนิ งาน
1. ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และนาความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติได้
2. เพ่อื พัฒนาทกั ษะวชิ าชีพนิเทศการศึกษาแกผ่ ้เู ขา้ รับการพัฒนาได้ฝกึ ประสบการณ์ในการนา

ประสบการณ์จากการฝึกอบรมไปใช้ในกระบวนการวางแผนงานนิเทศการศึกษา การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
และการตดิ ตาม ประเมินผล

3. มีความตระหนักในความสาคญั และการมเี จตคตติ ่อวิชาชพี ศึกษานเิ ทศก์

กิจกรรมท่ดี ้าเนินการ
ประชมุ สัมมนาผู้บริหารสถานศกึ ษา ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ในวันท่ี 26 กนั ยายน 2561

ณ โรงแรมธรรมรินทร์ธนา อาเภอเมือง จงั หวดั ตรัง

ผลการดา้ เนินงาน
ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา เข้าร่วมประชุมสัมมนา จานวน 122 คน ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

ลูกจา้ งประจา จานวน 128 คน รวมทั้งส้นิ 250 คน ส่งผลใหผ้ ้บู รหิ ารสถานศึกษา ครู และบคุ ลากรทางการ
ศึกษา ไดร้ ับทราบข้อราชการ แนวทางการบรหิ ารจัดการศึกษาเพื่อนาสกู่ ารปฏิบัติ สามารถปรับประยกุ ต์ใช้
ความรู้ ทกั ษะจาการประชมุ สัมมนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กจิ กรรมท่ีด้าเนินการ
ประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารบรหิ ารจดั การภายในองคก์ รการศึกษาด้วย Google Form เช่น การจัดทา

แบบสอบถาม แบบฟอร์มจาก Google Form ใหแ้ ก่บคุ ลากรภายในสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
ตรงั เขต 1 จานวน 41 คน ระหว่างวนั ที่ 31 สิงหาคม – 1 กันยายน 2561 ณ หอ้ งประชมุ สมาคมมลู นธิ ิ
สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

ผลการด้าเนินงาน
บคุ ลากรในสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ Google Form

และใช้ประโยชนใ์ นการปฏบิ ตั ิงาน การสารวจงานต่างๆ อย่างทนั สมยั รวดเรว็ และได้ขอ้ มลู ท่ีถกู ต้องโดยตรง
จากหน่วยงานที่ต้องการ

กจิ กรรมทดี่ ้าเนินการ
1.ประชมุ เชงิ ปฎบิ ัตกิ ารสรา้ งการรับรูค้ วามเข้าใจเรื่องการจดั การความรู้ (knowledge Management)

และชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC) แกบ่ ุคลากรในสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต1
จานวน 73 คน

2.ศึกษาดูงานสานักงานเขตพื้นทสี่ จุ รติ /คุณธรรม สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 8
(ราชบรุ ี-กาญจนบรุ )ี การบริหารจัดการองคก์ รสู่ความเปน็ เลศิ สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา
นครราชสีมา เขต 4 และการบริหารจดั การทปี่ ระสบความสาเรจ็ ภาคเอกชนฟาร์มโชคชยั และไองุ่น Gran Monte

3.ประชุมแลกเปลีย่ นเรยี นรจู้ ากการศึกษาดงู าน

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 28

ผลการด้าเนินงาน
1. บคุ ลากรในสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 นาผลจากการจดั ความรู้มาพัฒนา

งานให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพ
2. บคุ ลากรในสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 นาผลจากการศึกษาดูงาน

ศกึ ษาแหลง่ เรยี นรู้ มาเพ่ือพัฒนาองค์กรใหม้ ีคณุ ภาพตามเป้าหมาย
3. บคุ ลากรในสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 นาผลจากการศกึ ษาดูงาน

แหล่งเรียนร้มู าแลกเปลย่ี นเรียนรู้ สรา้ งชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี Professional Learning Community
(PLC) เพื่อพัฒนากลมุ่ งานและองคก์ รใหเ้ ป็นองค์กรแห่งคุณภาพ

กจิ กรรมท่ีด้าเนินการ
ประชมุ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาในสงั กัดทุกโรงและศกึ ษาดงู านโรงเรยี นคณุ ธรรม ณ โรงเรียนเจตยิ าราม

สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 , ศกึ ษาแหล่งเรียนรู้โครงการศึกษาวิจยั และพัฒนา
ส่งิ แวดลอ้ มแหลมผักเบีย้ จงั หวดั เพชรบุรี ระหว่างวนั ท่ี 13 – 15 กันยายน 2561

ผลการดา้ เนนิ งาน

1.ผูบ้ ริหารสถานศึกษาในสังกัดมีความรู้ความเขา้ ใจการดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม เชน่ การออกแบบ

กิจกรรมพฒั นาคุณธรรมสู่คณุ ธรรมอตั ลักษณข์ องสถานศกึ ษา, การจดั ทาโครงงานคุณธรรมของการปลูกฝงั

คุณธรรมจริยธรรมให้นกั เรยี น การจดั ทาหนังสือป๊อบอัพ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ เช่น การนาโครงงาน

หนงั สือเล่มเลก็ มาใช้ในการพัฒนาตอ่ ยอดผลงานของนกั เรียน การขยายผลการปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรมนักเรยี น

โดยใช้โครงงานคุณธรรม การนากจิ กรรมในชีวิตประจาวนั ของนักเรียน สามารถนามาเป็นอตั ลักษณ์ของ

โรงเรยี นได้ เช่น การไหว้ รอยยิ้ม กจิ กรรมเพื่อนช่วยเพือ่ น กิจกรรมโรงเรียนสวยดว้ ยมอื เรา การฝึกสมาธิให้แก่

นกั เรียนก่อนเขา้ ห้องเรียน เป็นต้น

2.ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาในสังกัดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยกี ารบาบัดนา้ เสียตามแนว

พระราชดารทิ ี่ไดน้ ามาใช้ในแหลมผกั เบ้ีย จานวน 4 ระบบ ได้แก่

1) ระบบบ่อบาบัดน้าเสยี 2) ระบบพืชและหญ้ากรองนา้ เสยี

3) ระบบพืน้ ที่ชุ่มน้าเทียม 4) ระบบแปลงพชื ป่าชายเลน

กจิ กรรมทีด่ ้าเนินการ
ประเมินผลการเรยี นการจดั การศึกษาโดยครอบครัว บ้านเรียน จานวน 5 ครอบครัว นกั เรยี น 7 ราย
ระหวา่ งวนั ที่ 23 – 25 เมษายน 2561

ผลการด้าเนนิ งาน
ครอบครัว/ผู้จดั การศกึ ษา มีความรู้ ความเขา้ ใจตอ่ การจัดการศึกษาเพมิ่ ขึน้ ส่งผลต่อการพัฒนา

คุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิผล

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 29

กจิ กรรมทด่ี ้าเนนิ การ
จดั อบรมการจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มรูปแบบใหม่ NEW DLTV เปา้ หมายผู้เข้าอบรมได้แก่
ผอู้ านวยการสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ศกึ ษานเิ ทศก์
ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครทู ี่บรรจุใหม่ ระหว่างปีการศึกษา 2558 – 2561 และผู้มีสว่ นเกี่ยวขอ้ งในการ
จดั การศึกษา จานวน 300 คน จานวน 1 วัน
ผลการด้าเนนิ งาน
บุคลากรสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษาในสงั กัด มีความรู้ ความเข้าใจ การบริหาร
จัดการ และตระหนักถงึ ประโยชนแ์ ละความจาเป็นในการจัดการเรียนการสอน โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียมรูปแบบใหม่ NEW DLTV

กิจกรรมทดี่ ้าเนนิ การ
1. ประชมุ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
2. สรปุ รายงานผลการดาเนินงานโครงการ

ผลการดา้ เนินงาน
สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ได้ประชมุ คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ

ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา จานวน 4 ครัง้ ซงึ่ คณะกรรมการการฯ ได้เสนอแนวคดิ เพ่อื พัฒนาและ
ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา ส่งผลใหส้ านกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีระบบการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
และนเิ ทศการศึกษาทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ

กจิ กรรมทด่ี ้าเนินการ
1. สรรหาและเลอื กสรรพนกั งานราชการ จานวน 3 อตั รา
2. สอบคัดเลอื กครูอัตราจ้างขั้นวกิ ฤติ จานวน 9 อัตรา และครอู ัตราจา้ งวทิ ย์-คณิต จานวน 6 อตั รา
3. สอบคดั เลอื กพนักงานทาความสะอาด นักการภารโรงและพนักงานขบั รถยนต์ จานวน 3 อตั รา

ผลการด้าเนินงาน
สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ได้ดาเนนิ การสรรหา/คดั เลือก ผลปรากฏดงั นี้
1.มผี ้ผู ่านการสรรหาและเลอื กสรรและแต่งตัง้ เปน็ พนกั งานราชการ จานวน 3 คน
2.มีผ้ผู ่านการคดั เลือกเปน็ ครูอัตราจา้ งขั้นวิกฤติ จานวน 71 คน และครูอัตราจา้ งวิทย์-คณิต จานวน

69 คน ดังนี้
ครูอตั ราจ้างข้นั วกิ ฤติ
- ปฐมวยั จานวน 34 คน, ภาษาองั กฤษจานวน10คน,ภาษาไทยจานวน22คนคณติ ศาสตร์ จานวน5คน

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 30

ครูอัตราจ้างวทิ ย์-คณติ ฯ
- บุคลากรวิทยาศาสตร์ จานวน 45 คน, บุคลากรคณิตศาสตร์ จานวน 24 คน
3. มผี ู้ผ่านการคัดเลือกและแตง่ ตง้ั เปน็ พนักงานทาความสะอาด จานวน 1 คน , นกั การภารโรง
จานวน 1 คน และพนักงานขับรถยนต์ จานวน 1 คน

กจิ กรรมทด่ี า้ เนนิ การ
1. ประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารวเิ คราะห์ SWOT และกาหนดจดุ เน้นการดาเนนิ งาน เพื่อจดั ทาแผนปฏิบัติการ

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561
2. ประชุมคณะกรรมการจดั ทาแผนปฏิบัติการ
3. ประชุมใหค้ วามรใู้ นการจัดทาโครงการแก่บคุ ลากรในสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
4. ประชุมคณะกรรมการกลนั่ กรองโครงการ เพ่ือบรรจไุ วใ้ นแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี พ.ศ. 2561

ผลการดา้ เนินงาน
1. สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 มจี ดุ เน้นการดาเนนิ งานของสานักงาน

เขตพื้นท่กี ารศึกษา จานวน 6 ด้าน
2. สพป.ตรงั เขต 1 มีแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เพ่ือเปน็ กรอบแนวทางในการ

บริหารจดั การและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
3. บคุ ลากรในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีความร้ใู นการจัดทาโครงการท่ถี ูกตอ้ งเพ่ิมขึ้น
4. แผนงาน/โครงการของ สพป.ตรัง เขต 1 มคี วามถกู ต้องสมบรู ณ์ สนองต่อกลยุทธ์ จดุ เนน้ ตวั ช้วี ัด

ใชจ้ ่ายงบประมาณได้ถูกต้อง ตามระเบยี บหลักเกณฑ์ที่กาหนด

กจิ กรรมทดี่ ้าเนนิ การ
1. ประชมุ พจิ ารณาจัดต้งั งบประมาณ งบลงทุน คา่ ครุภณั ฑ์ ที่ดนิ และสิ่งก่อสรา้ งของสถานศึกษา/
เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา
2. ประชมุ พิจารณาจัดทาแผนพัฒนาโครงการพน้ื ฐาน อาคารและส่งิ ก่อสร้าง ระยะ 3 ปี
3. ประชุมพิจารณาจัดสรรงบประมาณ งบดาเนินงาน
4. ประชุมพิจารณาเงินเหลือจ่าย
5. ติดตาม ตรวจสอบ สภาพอาคารเรียนอาคารประกอบสิ่งก่อสรา้ งอื่น (ระบบไฟฟ้า–ประปา) ของสถานศึกษา

ผลการด้าเนินงาน
1. สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ได้จดั สรร จดั ตง้ั งบประมาณ งบลงทุน

งบดาเนนิ งาน ให้สถานศึกษาในสังกัดไดร้ ้อยละ 90 ส่งผลให้สถานศกึ ษา มีอาคารเรยี น อาคารประกอบ อยู่ใน
เกณฑ์ดี ปลอดภัย เอื้อต่อการจดั การเรยี นการสอน

2. สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 สามารถจดั ต้งั งบประมาณใหโ้ รงเรยี น ทนั
ตามเวลา ถูกต้อง สมบรู ณ์ทกุ คร้งั

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 31

กิจกรรมที่ดา้ เนนิ การ
1. ประชุมคณะกรรมการสร้างเครื่องนิเทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การดาเนินงานตามจดุ เนน้ ตวั ชี้วดั

มาตรการตามแผนปฏบิ ัตกิ าร
2. ประชมุ คณะกรรมการนเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การดาเนินงานตามจุดเน้น ตัวชีว้ ดั มาตรการตาม

แผนปฏบิ ัติการ
3. ดาเนินการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ การดาเนินงานตามจุดเน้น ตัวช้วี ัด มาตรการตาม

แผนปฏิบตั กิ ารของโรงเรยี นในสังกดั ทุกโรง
4. สรปุ ผลการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ การดาเนินงานตามจดุ เน้น ตวั ชวี้ ดั มาตรการตามแผนปฏิบตั ิการ

ผลการด้าเนินงาน
โรงเรียนในสังกัดจานวน 132 โรง ได้รับการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ การดาเนินงานตามจดุ เน้น

ตวั ชี้วัด มาตรการตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี และได้รับการสนับสนุน สง่ เสรมิ ชว่ ยเหลอื ใหส้ ามารถจัด
การเรยี นสอนได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และนักเรยี น ชั้นป.1-ม.3 มผี ลสมั ฤทธสิ์ ูงขึน้ และสานกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มขี อ้ มูลสารสนเทศสาหรบั เป็นข้อมูลในการพัฒนาการศึกษาให้มี
ประสทิ ธิภาพย่งิ ข้นึ

กิจกรรมทด่ี า้ เนินการ
ประชุมสัมมนาผู้บรหิ าร สพป.ตรงั เขต 1 และผู้บริหารสถานศกึ ษาในเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถม

ศกึ ษาตรงั เขต 1 เพ่ือมอบนโยบายและข้อราชการ มีผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ จานวน 170 คน จานวน 4 คร้ัง

ผลการดา้ เนนิ งาน
1.ผ้บู รหิ ารโรงเรยี นได้รบั ทราบนโยบายต่าง ๆ ของรฐั บาล ,สพฐ. นาไปปฏบิ ตั ใิ ห้เปน็ ไปตามนโยบาย

และเปน็ รูปธรรม ตลอดถึงแนวทาง/แนวปฏิบัติ ในเร่อื งราชการตา่ ง ๆ และเป็นเวทีในการมอบโลร่ างวลั และ
เกียรตบิ ตั รรางวลั ซ่งึ เปน็ การสรา้ งขวญั และกาลงั ใจในการทางานใหก้ ับบคุ ลากร

2.การลงนามบนั ทึกข้อตกลงความร่วมมือการดาเนินงานตามจดุ เนน้ ของ สพป.ตรัง เขต 1
3.โรงเรยี นได้รับประสบการณ์ของการเตรียมตัวของโรงเรียน ครู และนกั เรยี นอยา่ งไร ในเรื่องการ
ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
4.ผบู้ ริหารสถานศึกษา ไดร้ ับความรเู้ รือ่ งการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี นาไประยกุ ต์ใช้ให้
เข้ากับบรบิ ทของแต่ละโรงเรียน
5.การใช้ระบบบรจิ าคอเิ ล็กทรอนกิ ส์สาหรับสถานศกึ ษา
6.โรงเรยี นได้รับประสบการณ์และนาไปเป็นแนวทางในการทางาน จากการเสวนาแลกเปลย่ี นเรียนรู้
โครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา “ป้องกนั การทุจรติ ”
7.โรงเรยี นได้รับประสบการณ์ และนาไปเป็นแนวทางการดาเนินงานจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์
และถอดบทเรยี นโรงเรยี นทปี่ ระสบความสาเรจ็ ในการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET)
ปกี ารศึกษา 2560

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 32

8. โรงเรียนไดก้ าหนดเปา้ หมายในการยกระดบั ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน
(O-NET) ปกี ารศึกษา 2561

9. ทาความเขา้ ใจ ตอบข้อหารือ ในเรือ่ งการบรหิ ารงานบุคคล การประเมินระดบั ชาติ การจัดสรร
งบประมาณ และเร่ืองอืน่ ๆ

กจิ กรรมทีด่ า้ เนนิ การ
ประชุมรองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1, ผอู้ านวยการกลมุ่ /
หนว่ ย และผูเ้ ก่ียวขอ้ ง จานวน 20 คน จานวน 4 คร้ัง

ผลการดา้ เนนิ งาน
ผ้บู รหิ ารสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1/ผ้อู านวยการกล่มุ /หนว่ ย ได้รบั ความรู้
เกยี่ วกบั ระเบยี บ ข้อบงั คบั ตลอดจนนโยบายของรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน รวมทั้งขอ้ ส่ังการท่ีสาคัญเรง่ ด่วน สามารถปฏิบัติงานตามข้อสง่ั การและ
บทบาทหนา้ ที่ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

กิจกรรมท่ดี า้ เนินการ
1. ตรวจสอบการบริหารงบประมาณ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ระบบ GFMIS การบริหารเงินทดรอง
ราชการ การเบกิ จ่ายเงินวทิ ยฐานะ และสอบทานการควบคุมภายในของสานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
2. ตรวจสอบดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ การเงิน บญั ชี การจดั ซื้อจดั จา้ ง การใชจ้ า่ ยเงนิ อื่น ๆ ที่
สถานศึกษาได้รับ การประเมินผลการดาเนินงานโครงการของสถานศกึ ษา และสอบทานความเพียงพอของ
ระบบการควบคุมภายในของสถานศึกษาในสังกดั จานวน 20 โรง

ผลการดา้ เนนิ งาน
1. สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 และสถานศึกษาในสงั กัด จานวน 20 โรง ที่
ได้รบั การตรวจสอบภายใน มีการพัฒนางานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และมรี ะบบการควบคุมภายในท่ีดี
2. สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 และสถานศึกษาในสังกัด ปฏบิ ตั งิ านถูกต้องตาม
ระเบยี บปฏิบตั ิของทางราชการ มีระบบควบคุมภายในที่ดี เหมาะสมไมเ่ กิดผลเสยี หายตอ่ ทางราชการ

กจิ กรรมที่ด้าเนินการ
ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารคณะทางานและวทิ ยากร และประชุมเชิงปฏิบตั ิการให้แก่บคุ ลากรท่ีรับผิดชอบ
งานขอ้ มลู ในสถานศึกษา โรงละ 1 คน รวมจานวน 132 คน ระยะเวลา 1 วัน

ผลการด้าเนินงาน
1. สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 และสถานศึกษาในสงั กดั จานวน 132
โรงเรียน มีระบบฐานข้อมลู ท่ีถกู ต้อง ครบถว้ นทกุ โรงเรยี น และเพอ่ื เปน็ ฐานข้อมลู ในการรายงานตัวชวี้ ัดตาม
คารบั รองปฏบิ ตั ิราชการ ปงี บประมาณ พ.ศ.2561 (KRS)

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 33

2. สพป.ตรัง เขต 1 มีข้อมลู การศึกษาให้บริการอย่างทว่ั ถึงและถกู ต้อง ครบถ้วน โรงเรียนในสงั กดั
ได้รบั งบประมาณครบถ้วนทุกรายการ

3. ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษามีฐานขอ้ มลู การศึกษาท่ถี ูกต้อง เปน็ ปัจจุบัน ได้รบั งบประมาณค่าใชจ้ า่ ยในการ
จดั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน การจัดสรรงบประมาณค่าท่ีดินส่งิ ก่อสร้างเพื่อการบริหาร ครบถ้วน

กจิ กรรมท่ดี า้ เนนิ การ
ประชมุ รอง ผอ.สพป./ผอ.กลุ่ม/ผู้รบั ผิดชอบตวั ชี้วดั เพอ่ื ร่วมวเิ คราะห์ประเดน็ ท่ีเป็นปัญหา อปุ สรรค

ในการรายงานผลการติดตามและประเมินผลการบรหิ ารจดั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (ยุทธศาสตร์ การดาเนินงาน
เชงิ พื้นท่ี และนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 จานวน 1 ครัง้

ผลการดา้ เนนิ งาน
1. ผรู้ ับผิดชอบตวั ชีว้ ดั ทุกคนมีความเข้าใจในการรายงานผลการดาเนินงานตามยทุ ธศาสตร์ นโยบาย

กระทรวงศึกษาธิการ ตามแบบติดตามทีส่ พฐ.กาหนด และมีเอกสาร/รอ่ งรอยการดาเนินงานครบถว้ นตาม
ประเด็น ตวั ช้ีวดั

2. ผรู้ บั ผิดชอบตัวชว้ี ดั ตามยทุ ธศาสตร/์ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการทกุ คน สามารถรายงานผลการ
ดาเนินงานในระบบ e-MES ได้

กิจกรรมท่ีดา้ เนินการ
ประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารจดั ทาข้อมลู ผเู้ กษยี ณอายรุ าชการปี 2561 เป้าหมายได้แก่ ข้าราชการครแู ละ

บุคลากรทางการศึกษาทีเ่ กษยี ณอายรุ าชการปี 2561 จานวน 99 คน ลกู จ้างประจาที่เกษยี ณอายุราชการ
จานวน 7 คน และเจ้าหน้าทธี่ ุรการโรงเรยี นและเจ้าหน้าท่ีการเงินและบญั ชี สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 จานวน 28 คน รวมทัง้ ส้ิน 134 คน

ผลการดา้ เนินงาน
ข้าราชการครแู ละบุคลการทางการศึกษาและลกู จ้างประจา ท่ีเกษียณอายรุ าชการปี 2561 มีความรู้

ความเขา้ ใจในสทิ ธปิ ระโยชน์ของตนเองหลงั เกษียณอายรุ าชการ และเจา้ หนา้ ที่ธรุ การบนั ทกึ ข้อมลู ขอรับเงิน
บาเหน็จบานาญในระบบ E-filing ได้ถูกตอ้ ง

แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 34

ส่วนท่ี 2
ทิศทางการพัฒนาการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

-----------------------

1.รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก 6 เมษายน
2560

มาตรา ๕๔ รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ ก่อนวัยเรียนจน
จบการศึกษาภาคบังคบั อยา่ งมีคุณภาพโดยไมเ่ กบ็ ค่าใช้จา่ ย

รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพ่ือพัฒนา
ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่นิ และภาคเอกชนเขา้ มสี ่วนร่วมในการดาเนนิ การดว้ ย

รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มี
การเรียนรู้ตลอดชวี ติ และจดั ใหม้ กี ารร่วมมอื กนั ระหวา่ งรฐั องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชน ในการ
จัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีดาเนินการ กากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าว มี
คุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งน้ี ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ซ่ึงอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติ
เกี่ยวกับการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดาเนินการ ตรวจสอบการดาเนินการ ให้เป็นไปตาม
แผนการศึกษาแห่งชาติด้วย

การศึกษาทัง้ ปวงต้องมุง่ พัฒนาผเู้ รยี นให้เปน็ คนดี มีวินยั ภมู ิใจในชาติ สามารถเช่ียวชาญได้ ตามความ
ถนดั ของตน และมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

ในการดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา
ตามวรรคสาม รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา ตามความ
ถนดั ของตน

ให้จัดตง้ั กองทนุ เพือ่ ใชใ้ นการชว่ ยเหลือผู้ขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ เพ่ือลดความเหล่ือมล้าในการศึกษา และ
เพ่ือเสริมสรา้ งพัฒนาคุณภาพและประสทิ ธภิ าพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุน หรือใช้มาตรการ
หรือกลไกทางภาษี รวมท้ังการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีด้วย ทั้งนี้
ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกาหนดให้การบริหารจัดการกองทุน เป็นอิสระและ
กาหนดให้มีการใช้จา่ ยเงินกองทนุ เพอ่ื บรรลุวัตถปุ ระสงค์ดงั กลา่ ว

มาตรา 65 รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเปูาหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลัก
ธรรมาภิบาลเพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพ่ือให้เกิดเป็นพลัง
ผลักดันร่วมกันไปสู่เปูาหมายดังกล่าว การจัดทา การกาหนดเปูาหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุเปูาหมาย และ
สาระที่พึงมีในยุทธศาสตร์ชาติ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ทั้งน้ี กฎหมายดังกล่าว
ตอ้ งมีบทบญั ญตั ิเกยี่ วกบั การมีส่วนรว่ ม และการรบั ฟงั ความคดิ เห็นของประชาชนทุกภาคส่วนอย่างทวั่ ถงึ ด้วย

2. นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตร)ี

นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายรัฐบาลต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันท่ี 12 กันยายน 2557 ใน
ด้านการบริหารราชการแผ่นดินอันเป็นหน้าท่ีหลักของรัฐบาลทุกยุคทุกสมัย รัฐบาลมีนโยบายในเร่ืองต่าง ๆ
จาแนกเป็น 11 ด้าน ซึ่งรัฐบาลได้นายุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ว่าด้วยการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาตาม
แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นหลักสาคัญ ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่ง

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 35

ทรงเน้นความพอดีพอสมพอควรแก่ฐานะ ความมีเหตุมีผล และการมีภูมิคุ้มกัน มาเป็นแนวคิด ใช้แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 แนวทางของคณะรักษาความสงบแห่งชาติและความต้องการของ
ประชาชน

โดยมีนโยบายทเ่ี กี่ยวข้องกับภารกจิ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ดงั น้ี
นโยบายท่ี 1 การปกปอู งและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบ
สาคัญของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย รฐั บาลจงึ ถือเปน็ หน้าท่ีสาคัญยิ่งยวด ในอันที่จะเชิดชูสถาบันนี้
ไว้ด้วยความจงรักภักดีและปกปูองรักษาพระบรมเดชานุภาพ เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และ
เป็นจริงเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ และพระราชกรณียกิจเพื่อประชาชน ท้ังจะสนับสนุนโครงการ
ทั้งหลาย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ส่งเสริมให้เจ้าหน้าท่ีสถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานทั้งหลายของรัฐ
เรียนรู้เข้าใจหลักการทรงงาน สามารถนาหลักดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการ และการพัฒนา
ตลอดจนเร่งขยายผลตามโครงการ และแบบอย่างทท่ี รงวางรากฐานไว้ให้แพร่หลาย
นโยบายท่ี 2 การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ โดยเร่งแก้ไขปัญหาการใช้ความ
รุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนายุทธศาสตร์เข้าใจ เข้าถึงและพัฒนา มาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตร
แบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุย สันติสุขกับผู้มีความคิดเห็นต่างจากรัฐ สร้างความเชื่อม่ันในกระบวนการ
ยุตธิ รรมตามหลักนิติธรรม และหลักสิทธมิ นษุ ยชนโดยไมเ่ ลือกปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นท่ีซ่ึงเป็นพหุสังคม ขจัดการฉวยโอกาสก่อความรุนแรง
แทรกซ้อนเพ่ือซ้าเติมปัญหา ไม่ว่าจากผู้มีอิทธิพลในท้องถ่ินหรือเจ้าหน้าท่ีฝุายบ้านเมือง ทั้งจะเพิ่มระดับ
ปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศที่อาจช่วยคลี่คลายปัญหาได้ รวมท้ังเสริมสร้าง
ความสมั พนั ธ์อันดกี ับนานาประเทศ เชน่ การคมุ้ ครองดูแลคนไทยและผลประโยชน์ของคนไทยในต่างแดน การ
แลกเปลี่ยนทางการศึกษา วัฒนธรรม การค้า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการเปิดโลกทัศน์ให้มีลักษณะ
สากล เปน็ ตน้
2.1 ในระยะเร่งด่วน รัฐบาลให้ความสาคัญต่อการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมการเมือง และความ
มั่นคงอาเซียนในกิจการ 5 ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการชายแดน การสร้างความมั่นคงทางทะเล การแก้ไข
ปญั หาอาชญากรรมขา้ มชาติ การสรา้ งความไว้วางใจกับประเทศเพ่ือนบ้าน และการเสริมสร้างศักยภาพในการ
ปฏบิ ตั ิการทางทหารร่วมกันของอาเซียน โดยเน้นความร่วมมือเพ่ือปูองกัน แก้ไขข้อพิพาทต่างๆ และการแก้ไข
ปัญหาเส้นเขตแดน โดยใช้กลไก ทั้งระดบั ทวภิ าคีและพหุภาคี ทั้งจะจัดระเบียบการพัฒนาตามกรอบประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน และการบริหารจัดการพ้ืนท่ีชายแดนทั้งทางบกและทางทะเล รองรับการพัฒนา
เขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวชายแดน โดยใช้ระบบเฝูาตรวจท่ีมีเทคโนโลยีทันสมัย กาหนดให้ปัญหายาเสพติด
การค้าอาวุธ การค้ามนุษย์ การกระทาอันเป็นโจรสลัด การก่อการร้ายสากลและอาชญากรรมข้ามชาติ เป็น
ปัญหาเฉพาะหน้าท่ีต้องไดร้ บั การปอู งกนั และแก้ไขโดยการบังคบั ใช้กฎหมายท่ีเข้มงวด และจัดการปัญหาอ่ืน ๆ
ทีเ่ ช่อื มโยงต่อเนอ่ื งใหเ้ บ็ดเสร็จ เช่น ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล การปรับปรุงระบบการเข้าเมือง การจัด
ระเบยี บแรงงานต่างดา้ ว เปน็ ตน้
2.2 เร่งแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนายุทธศาสตร์เข้าใจ เข้าถึง
และพัฒนามาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุยสันติสุข กับผู้มีความคิดเห็นต่างจาก
รัฐ สร้างความเช่ือมั่นในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรม และหลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือกปฏิบัติ
ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ซ่ึงเป็นพหุสังคม
ขจัดการฉวยโอกาสก่อความรุนแรงแทรกซ้อน เพื่อซ้าเติมปัญหาไม่ว่าจากผู้มีอิทธิพลในท้องถ่ินหรือเจ้าหน้าท่ี

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 36

ฝุายบ้านเมือง ทั้งจะเพิ่มระดับปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศท่ีอาจช่วยคลี่คลาย
ปญั หาได้

นโยบายที่ 4 การศกึ ษาและเรียนรู้ การทะนบุ ารงุ ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
นโยบายที่ 4.1 การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความสาคัญทั้งการศึกษาในระบบและ
การศกึ ษาทางเลอื กไปพร้อมกัน เพ่ือสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ
ประกอบอาชีพและดารงชีวิตได้โดยมีความใฝุรู้และทักษะที่เหมาะสม เป็นคนดีมีคุณธรรมสร้างเสริมคุณภาพ
การเรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรู้เพื่อสร้างสัมมาชีพในพื้นที่ ลดความเหล่ือมล้า และพัฒนากาลังคนให้เป็นท่ี
ต้องการเหมาะสมกับพน้ื ท่ี ทง้ั ในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจบริการ
นโยบายที่ 4.2 ในระยะเฉพาะหน้า จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกบั ความจาเป็นของผเู้ รยี นและลักษณะพ้นื ท่ขี องสถานศึกษา และปรับปรุง และบูรณาการระบบการ
กู้ยมื เงินเพือ่ การศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเพ่ิมโอกาสแก่ผู้ยากจนหรือด้อยโอกาส จัดระบบการสนับสนุนให้
เยาวชนและประชาชนทั่วไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษา ท้ังในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียนโดยจะ
พจิ ารณาจดั ให้มคี ปู องการศึกษาเป็นแนวทางหนง่ึ
นโยบายท่ี 4.3 ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและประชาชน
ทั่วไปมีโอกาสร่วมจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ ทั่วถึง และร่วมในการปฏิรูปการศึกษา การเรียนรู้กระจายอานาจ
การบริหารจัดการศึกษาสู่สถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินตามศักยภาพและ
ความพร้อม โดยใหส้ ถานศึกษาสามารถเป็นนิตบิ คุ คล และบรหิ ารจัดการได้อย่างอสิ ระและคลอ่ งตัวขนึ้
นโยบายท่ี 4.4 พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้มีความรู้และทักษะใหม่ที่
สามารถประกอบอาชีพไดห้ ลากหลายตามแนวโน้มการจา้ งงานในอนาคต ปรบั กระบวนการเรียนรู้และหลักสูตร
ใหเ้ ช่อื มโยงกบั ภมู สิ ังคม โดยบูรณาการความรู้และคุณธรรมเข้าด้วยกัน เพ่ือให้เอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียน ท้ังใน
ด้านความรู้ ทกั ษะ การใฝุเรียนรู้ การแก้ปัญหา การรับฟังความเห็นผู้อ่ืน มีคุณธรรม จริยธรรม และความเป็น
พลเมอื งดี โดยเน้นความร่วมมือระหว่างผู้เกี่ยวขอ้ งทง้ั ในและนอกโรงเรียน
นโยบายท่ี 4.6 พฒั นาระบบการผลติ และพฒั นาครทู ี่มีคณุ ภาพและมีจติ วิญญาณของความเป็นครู เน้น
ครูผู้สอนใหม้ วี ุฒิตรงตามวิชาท่สี อน นาเทคโนโลยสี ารสนเทศและเครอ่ื งมอื ทเี่ หมาะสมมาใช้ในการเรียน
การสอน เพื่อเป็นเคร่ืองมือช่วยครูหรือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น การเรียนทางไกล การเรียนโดยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น รวมท้ังปรับระบบการประเมินสมรรถนะ ท่ีสะท้อนประสิทธิภาพการจัดการเรียน
การสอนและการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเปน็ สาคญั
นโยบายท่ี 8 การพฒั นาและสง่ เสรมิ การใชป้ ระโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา
และนวัตกรรม
นโยบายท่ี 8.2 เร่งเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม โดยส่งเสริมระบบการเรียนการสอนท่ีเช่ือมโยงระหว่าง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ การผลิตกาลังคนในสาขาท่ีขาดแคลน การ
เชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้กับการทางาน การให้บุคลากรด้านการวิจัยของภาครัฐสามารถไปทางาน
ในภาคเอกชน และการใหอ้ ุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม มีช่องทางใช้เทคโนโลยีโดยความร่วมมือจาก
หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาภาครฐั
นโยบายที่ 9 การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการ
ใช้ประโยชน์อย่างยง่ั ยนื
นโยบายท่ี 9.5 เรง่ รดั การควบคุมมลพิษท้ังทางอากาศ ขยะ และน้าเสีย ท่ีเกิดจากการผลิตและบริโภค
เพื่อสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมท่ีดีให้แก่ประชาชน โดยให้ความสาคัญในการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการจัดการขยะ

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 37

เป็นลาดับแรก ส่งเสริมให้เกิดกลไกการคัดแยกขยะ เพ่ือนากลับมาใช้ใหม่ให้มากท่ีสุด เร่งกาจัดขยะมูลฝอย
ตกค้างสะสมในสถานท่ีกาจัดขยะในพ้ืนท่ีวิกฤติ ซ่ึงจะใช้ท่ีดินของรัฐเป็นหลักในพ้ืนที่ใด ท่ีสามารถจัดการขยะ
มูลฝอยโดยการแปรรูปเป็นพลังงาน ก็จะสนับสนุนให้ดาเนินการ ส่วนขยะอุตสาหกรรมนั้น จะวางระเบียบ
มาตรการการบริหารจัดการเป็นพิเศษ โดยกาหนดให้ท้ิงในบ่อขยะอุตสาหกรรมท่ีสร้างข้ึนอย่างถูกต้องตาม
มาตรฐานและให้แยกเป็นสดั สว่ นจากบ่อขยะชุมชน สาหรับขยะของเสยี อันตรายขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และขยะ
ติดเชื้อจะพัฒนาระบบกากับติดตามตรวจสอบ และเฝูาระวังไม่ให้มีการลักลอบทิ้ง รวมทั้งจัดการสารเคมีโดย
ลดความเส่ียงและอันตรายท่ีเกิดจากการร่ัวไหล และการเกิดอุบัติเหตุให้ความสาคัญในการจัดการอย่างครบ
วงจร และใช้มาตรการทางกฎหมายและการบงั คับใชก้ ฎหมายอย่างเดด็ ขาด

นโยบายท่ี 10 การส่งเสรมิ การบรหิ ารราชการแผน่ ดินทีม่ ีธรรมาภบิ าล และการปูองกันปราบปรามการ
ทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบในภาครัฐ

นโยบายที่ 10.5 ใช้มาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมและจิตสานึก
ในการรักษาศักดิ์ศรีของความเป็นข้าราชการและความซ่ือสัตย์สุจริต ควบคู่กับการบริหารจัดการภาครัฐที่มี
ประสิทธิภาพ เพื่อปูองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกระดับอย่าง
เคร่งครัด ยกเลิก หรือแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่ไม่จาเป็น สร้างภาระแก่ประชาชนเกินควร
หรือเปิดช่องโอกาสการทจุ รติ เช่น ระเบยี บการจดั ซ้ือ จัดจ้าง การอนุญาต อนุมัติ และการขอรับบริการจากรัฐ
ซ่งึ มขี ัน้ ตอนยดื ยาวใชเ้ วลานาน ซ้าซอ้ น และเสียค่าใชจ้ ่ายท้ังของภาครัฐและประชาชน

3. ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

สาระสาคัญของยทุ ธศาสตรช์ าติ ประกอบด้วย วสิ ัยทศั นแ์ ละเปูาหมายในการพัฒนาประเทศ ท่ีคนไทย
ทกุ คนต้องการบรรลรุ ว่ มกัน รวมท้ังนโยบายแห่งชาติและมาตรการเฉพาะซ่ึงเป็นแนวทาง ทิศทางและวิธีการท่ี
ทุกองค์กรและคนไทยทุกคนตอ้ งมุง่ ดาเนินการไปพร้อมกันอย่างประสานสอดคล้อง เพื่อให้บรรลุซึ่งส่ิงที่คนไทย
ทุกคนต้องการ คือ ประเทศไทยม่ันคง ม่ังคั่ง และย่ังยืน ในทุกสาขาของกาลังอานาจแห่งชาติ อันได้แก่
การเมืองภายในประเทศ การเมืองต่างประเทศ เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีการพลงั งาน ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

3.1 วสิ ัยทัศน์
“ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจําชาติว่า “ม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน” เพ่ือสนองตอบต่อ
ผลประโยชนแ์ หง่ ชาตอิ นั ได้แก่ การมเี อกราช อธิปไตย การดารงอยู่อย่างมั่นคง และย่ังยืนของสถาบันหลักของ
ชาตแิ ละประชาชนจากภยั คกุ คามทกุ รปู แบบ การอยรู่ ่วมกนั ในชาตอิ ย่างสันติสุข เปน็ ปกึ แผ่น มีความม่ันคงทาง
สังคมท่ามกลางพหุสังคมและการมีเกียรติและศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของชาติ ความ
เป็นธรรมและความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความย่ังยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อม ความมั่นคง
ทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชน์ของชาติ ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวะ
แวดล้อมระหว่างประเทศ และการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติประสาน สอดคล้องกันด้านความมั่นคงในประชาคม
อาเซียนและประชาคมโลก อย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี ความม่ันคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัย
และการเปลี่ยนแปลงทงั้ ภายในประเทศ
3.2 เปูาหมายในการพัฒนาประเทศ

คือ “ประเทศชาตมิ ่นั คง ประชาชนมคี วามสขุ เศรษฐกจิ พฒั นาอย่างต่อเนอื่ ง สงั คมเปน็ ธรรม
ฐานทรพั ยากรธรรมชาตยิ ง่ั ยืน” โดยยกระดบั ศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ พัฒนาคนในทุกมิติและ
ในทกุ ชว่ งวัยใหเ้ ปน็ คนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบน

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 38

คณุ ภาพชีวิตที่เปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม และมภี าครัฐของประชาชน เพื่อประชาชนและประโยชน์สว่ นรวม
โดยการประเมินผลการพฒั นาตามยทุ ธศาสตรช์ าติ ประกอบด้วย

๑) ความอยู่ดีมสี ขุ ของคนไทยและสังคมไทย
๒) ขีดความสามารถในการแข่งขนั การพฒั นาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้
๓) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ
๔) ความเทา่ เทยี มและความเสมอภาคของสังคม
๕) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม และความยั่งยนื ของทรัพยากรธรรมชาติ
๖) ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการและการเขา้ ถึงการให้บริการของภาครัฐ
3.3 ยุทธศาสตรช์ าติ
ในการท่ีจะบรรลุวิสัยทัศน์และทาให้ประเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคตท่ีพึงประสงค์นั้น จาเป็น
จะต้องมีการวางแผนและกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะยาว และกาหนดแนวทางการพัฒนาของ
ทกุ ภาคสว่ นให้ขับเคล่อื นไปในทิศทางเดียวกนั ดังนน้ั จงึ จาเป็นจะตอ้ งกาหนดยุทธศาสตร์ชาติในระยะยาว เพื่อ
ถ่ายทอดแนวทางการพัฒนาสู่การปฏิบัติในแต่ละเวลาอย่างต่อเน่ือง และมีการบูรณาการ สร้างความเข้าใจถึง
อนาคตของประเทศไทยร่วมกัน และเกิดการรวมพลังของทุกภาคส่วนในสังคม ทั้งประชาชน เอกชน ประชา
สังคม ในการขับเคล่ือนการพัฒนาเพ่ือการสร้างและรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ และบรรลุวิสัยทัศน์
“ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” หรือคติพจน์ประจาชาติ “ม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน” เพ่ือให้ประเทศมีขีดความสามารถในการ
แข่งขัน มีรายได้สูงอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว คนไทยมีความสุข อยู่ดี กินดี สังคมมีความมั่นคง เสมอ
ภาคและเป็นธรรม ซ่ึงยุทธศาสตร์ชาติท่ีจะได้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ 20 ปี ต่อจากน้ีไป
ประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่

1) ยุทธศาสตร์ด้านความมัน่ คง
2) ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
3) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
4) ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
5) ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม

6) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั

4. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579

วิสยั ทัศน์ จุดมุ่งหมาย เป้าหมาย ตวั ช้ีวัด และยุทธศาสตรข์ องแผนการศึกษาแห่งชาติ
แผนการศกึ ษาแห่งชาตฉิ บับน้ี กาหนดวสิ ยั ทศั น์ (Vision) ไว้ดังนี้
“คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดํารงชีวิตอย่างเป็นสุข
สอดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21”
โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา 4 ประการ คือ 1) เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการ
จัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2) เพ่ือพัฒนาคนไทยเป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและ
สมรรถนะทส่ี อดคล้องกับบทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
และยทุ ธศาสตรช์ าติ 3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 39

และร่วมมอื ผนกึ กาลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 4) เพ่ือ
นาประเทศไทยกา้ วข้ามกับดกั ประเทศที่มีรายไดป้ านกลาง และความเหลอ่ื มล้าภายในประเทศลดลง

เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้น แผนการศึกษาแห่งชาติ
ไดว้ างเปาู หมายไว้ 2 ดา้ น คอื

เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะ และ
ทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs) ประกอบด้วย ทักษะและคุณลักษณะต่อไปน้ี

3RS ได้แก่ การอ่านออก (Reading) การเขียนได้ (Writing)และการคดิ เลขเปน็ (Arithmetics)
8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking
and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้าน
ความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross –cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ
การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration,Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and media Literacy) ทักษะด้าน
คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และ
ทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม
(Compassion)
เปูาหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) 5 ประการ ซ่ึงมีตัวช้ีวัดเพ่ือการบรรลุเปูาหมาย
53 ตวั ช้ีวัด ประกอบดว้ ย เปาู หมายและตัวชี้วดั ท่สี าคัญ ดงั นี้
1) ประชากรทุกคนเขา้ ถงึ การศกึ ษาท่มี คี ณุ ภาพและมมี าตรฐานอยา่ งทั่วถงึ (Access) มตี ัวชี้วัดท่ี
สาคัญ เชน่ ประชากรกลุ่มอายุ 6-14 ปี ทกุ คนได้เขา้ เรียนในระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หรือ
เทียบเท่าที่รัฐต้องจัดให้ฟรี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ผู้เรียนพิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทาง
การศกึ ษาทเี่ หมาะสมทุกคน และประชากรวยั แรงงานมกี ารศกึ ษาเฉลี่ยเพ่มิ ขึน้ เปน็ ตน้
2) ผเู้ รียนทุกคน ทุกกลมุ่ เปา้ หมาย ได้รบั บริการการศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพตามมาตรฐานอย่าง
เทา่ เทยี ม (Equity)
3) ระบบการศึกษาที่มีคณุ ภาพ สามารถพฒั นาผ้เู รยี นให้บรรลุขีดความสามารถเตม็ ตามศกั ยภาพ
(Quality)
4) ระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษาท่มี ปี ระสิทธภิ าพ เพื่อการลงทุนทางการศกึ ษาที่คมุ้ คา่ และบรรลุ
เป้าหมาย (Efficiency)
5) ระบบการศกึ ษาท่สี นองตอบและกา้ วทนั การเปลยี่ นแปลงของโลกทเี่ ปน็ พลวัต และบริบทที่
เปลีย่ นแปลง (Relevancy)
ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และตัวชี้วัด แผนการศึกษาแห่งชาติ ได้กาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
การศึกษาภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์หลัก ท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพ่ือให้แผนการศึกษาแห่งชาติ
บรรลเุ ปูาหมายตามจุดมุ่งหมาย วสิ ัยทศั น์ และแนวคิดการจดั การศกึ ษาดงั กลา่ วข้างต้น ดงั น้ี
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 : การจัดการศกึ ษาเพอื่ ความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ มีเปูาหมาย ดังนี้
1. คนทกุ ชว่ งวัยมคี วามรักในสถาบันหลกั ของชาติ และยดึ ม่นั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ
2. คนทกุ ชว่ งวยั ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้และพน้ื ท่ีพิเศษ ไดร้ ับการศึกษา
และเรยี นรู้อย่างมีคณุ ภาพ
3. คนทุกชว่ งวยั ได้รับการศกึ ษา การดูแลและปอู งกันจากภัยคุกคามในชีวติ รปู แบบใหม่

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 40

ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 : การผลติ และพัฒนากาํ ลงั คน การวิจัย และนวตั กรรม เพอื่ สรา้ งขดี ความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศ มีเปูาหมาย ดังน้ี

1. กาลังคนมที ักษะที่สาคัญจาเปน็ และมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการ
พฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ

2. สถาบนั การศึกษาและหนว่ ยงานทีจ่ ัดการศกึ ษาผลิตบัณฑติ ท่ีมีความเชี่ยวชาญและเปน็ เลิศ
เฉพาะดา้ น

3. การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างองคค์ วามรู้และนวัตกรรมทีส่ รา้ งผลผลิตและมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกจิ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 : การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ มีเปูาหมาย
ดังน้ี
1) ผเู้ รียนมที กั ษะและคณุ ลักษณะพน้ื ฐานของพลเมืองไทย และทกั ษะคณุ ลกั ษณะทจ่ี าเปน็ ใน
ศตวรรษที่ 21
2) คนทกุ ชว่ งวยั มีทักษะ ความรคู้ วามสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐาน
วชิ าชพี และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ได้ตามศกั ยภาพ
3) สถานศึกษาทกุ ระดบั การศึกษาสามารถจัดกจิ กรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสตู รอย่างมี
คณุ ภาพและมาตรฐาน
4) แหลง่ เรยี นรู้ สื่อตาราเรยี น นวัตกรรม และสอ่ื การเรียนรู้มคี ุณภาพและมาตรฐาน ประชาชน
สามารถเข้าถึงได้โดยไม่จากดั เวลาและสถานที่
5) ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมนิ ผลมปี ระสทิ ธภิ าพ
6) ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาไดม้ าตรฐานระดบั สากล
7) ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ได้รับการพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 : การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศึกษา มเี ปาู หมาย
ดงั นี้
1. ผู้เรียนทุกคนไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศึกษาที่มคี ุณภาพ
2. การเพมิ่ โอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพ่อื การศึกษาสาหรบั คนทกุ ชว่ งวยั
3. ระบบขอ้ มูลรายบคุ คลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถกู ต้องเปน็ ปัจจบุ นั เพ่อื การ
วางแผนการบริหารจดั การศึกษา การตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 : การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีเปูาหมาย
ดังน้ี
1. คนทกุ ชว่ งวัย มีจิตสานึกรักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบตั ิ
2. หลกั สตู ร แหล่งเรียนรู้ และส่อื การเรียนร้ทู ี่ส่งเสรมิ คุณภาพชวี ิตที่เปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม
คุณธรรม จรยิ ธรรม และการนาแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ารปฏิบตั ิ
3. การวจิ ัยเพื่อพฒั นาองคค์ วามรู้ และนวตั กรรมด้านการสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มติ รกบั
ส่ิงแวดลอ้ ม

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 41

ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 : การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา มเี ปูาหมาย ดังน้ี
1. โครงสรา้ ง บทบาท และระบบการบริหารจัดการศึกษามคี วามคลอ่ งตัว ชดั เจน และสามารถ
ตรวจสอบได้
2. ระบบการบริหารจดั การศึกษามปี ระสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลส่งผลต่อคณุ ภาพและมาตรฐาน
การศึกษา
3. ทุกภาคสว่ นของสังคมมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา ที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน
และพนื้ ท่ี
4. กฎหมายและรปู แบบการบริหารจดั การทรัพยากรทางการศกึ ษา รองรบั ลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั ของ
ผเู้ รยี น สถานศกึ ษา และความตอ้ งการกาลงั แรงงานของประเทศ
5. ระบบบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามคี วามเปน็ ธรรม สร้างขวญั
กาลงั ใจ และส่งเสรมิ ให้ปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ย่างเต็มตามศกั ยภาพ

5. จดุ เน้นเชิงนโยบายของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นายแพทยธ์ รี ะเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป)์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายแพทย์ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์) ได้กาหนดจุดเน้น
เชงิ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีสาระสาคญั ดังน้ี

น้อมนาแนวพระราชดาริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกูร มาขับเคล่ือนงานด้านการศึกษาให้เกิดเป็นรูปธรรม เพราะพระราชปณิธานของ
พระองค์ท่าน ถือเป็นพรอันสูงสุด และมอบเป็นนโยบาย เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติแก่หน่วยงานงานใน
สงั กัด ดังน้ี

1. พระบรมราโชวาทด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวราง
กูร มีใจความสาคัญว่า (1) “การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียนใน 2 ด้าน คือ ส่งเสริมให้นักเรียนมี
ทัศนคติทีถ่ ูกต้อง (2) การศึกษาต้องมุ่งสร้างพ้ืนฐานชีวิตหรืออุปนิสัยท่ีม่ันคงเข้มแข็ง อาทิ การสร้างบุคลิกและ
อุปนสิ ัยทด่ี ีงาม (Character Education)”

2. สืบสานพระราชปณิธานด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ท่ีทรงมแี นวพระราชกระแสฯ ทรงพระราชทานในวโรกาสต่างๆ เกยี่ วกับนักเรียน ครู และการศกึ ษา

1) นกั เรยี น
“ครูต้องสอนให้เด็กนักเรียนมีน้าใจ เช่น คนเรียนเก่งช่วยติวเพ่ือนท่ีเรียนล้าหลังมิใช่สอนให้

เดก็ คดิ แตจ่ ะแขง่ ขนั (Compete) กบั เพอื่ น เพื่อให้คนเก่งได้ลาดับดี ๆ เช่น สอบได้ท่ีหน่ึงของชั้นแต่ต้องให้เด็ก
แขง่ ขนั กับตนเอง ” (11 ม.ิ ย.2555)

“ครูไมจ่ าเป็นตอ้ งมีความรู้ทางเทคโนโลยีมาก แต่ต้องมุ่งปลกู ฝงั ความดใี ห้นักเรียนช้ันต้น ต้อง
อบรมบ่มนสิ ยั ใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี เด็กโตก็ต้องทาเชน่ กนั ” (6 ม.ิ ย.2555)

“เราต้องฝึกหัดให้นักเรียนรู้จักทางานร่วมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะมากขึ้น จะได้มีความ
สามคั คี ร้จู กั ดแู ลช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน เออื้ เฟือ้ เผ่อื แผ่ความรแู้ ละประสบการณ์แก่กัน” (5 ก.ค.2555)

“ทาเปน็ ตวั อย่างให้นักเรยี นเป็นคนดี นกั เรียนรกั ครู ครูรักนกั เรียน” (9 ก.ค.2555)
2) ครู

เร่ืองครูมีความสาคัญไม่น้อยกว่านักเรียน ปัญหาหนึ่ง คือ การขาดครู เพราะจานวนไม่พอ
และครูย้ายบ่อย ดังน้ัน ก่อนคัดเลือกเด็กที่จะพัฒนาต้องพัฒนาครูก่อน ให้พร้อมที่จะสอนเด็กให้ได้ผลตาม
ตอ้ งการ จึงจะตอ้ งคดั เลอื กครูและพฒั นาครู ตอ้ งตัง้ ฐานะในสังคมของครูให้เหมาะสม และปลูกจิตสานึกโดยให้

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 42

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิธีการคือ การให้ทุนและอบรม กล่าวคือ ต้องมีความรู้ทางวิชาการในสาขาที่
เหมาะสมที่จะสอน ต้องอบรมวิธกี ารสอนใหม้ ีประสิทธิภาพ มีความเป็นครูที่แท้จริง คือ มีความรักความเมตตา
ต่อเด็ก ควรเป็นครูท้องทเ่ี พอ่ื จะได้มีความผูกพันและคิดที่จะพัฒนาท้องถ่ินที่เกิดของตน ไม่คิดย้ายไป ย้ายมา”
(11 ม.ิ ย.2555)

“ต้องปรับปรุงครู ครูจะอายุ 40-50 ปี ก็ตอ้ งเรียนใหมต่ ้องปฏิวตั คิ รอู ย่างจรงิ จัง” (6ม.ิ ย.2555)
“ปัญหาปจั จุบนั คือ ครูมุ่งเขยี นงานวิทยานิพนธ์ เขียนตาราสง่ ผบู้ ริหารเพ่ือให้ได้ตาแหน่งและ
เงินเดือนสูงขึ้น แล้วบางทีก็ย้ายไปที่ใหม่ ส่วนครูที่มุ่งการสอนหนังสือกลับไม่ได้อะไรตอบแทน ระบบ
ไมย่ ตุ ิธรรม เราต้องเปล่ียนระเบียบตรงจุดน้ี การสอนหนังสือต้องถือว่าเป็นความดีความชอบ หากคนใดสอนดี
ซงึ่ ส่วนมากคือมีคณุ ภาพและปริมาณ ตอ้ งมี reward” (5 ก.ค.2555)
“ครูบางส่วนเวลาสอนนักเรียนจะสอนไม่หมดแต่เก็บไว้บางส่วน หากนักเรียนต้องการรู้
ทั้งหมดวิชา ก็ต้องเสียเงินไปสมัครเรียนพิเศษกับครูเท่าน้ัน จะเป็นการสอนในโรงเรียนหรือส่วนตัวก็ตาม”
(5 ก.ค.2555)

6. ยทุ ธศาสตรป์ ฏริ ปู การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ.2558-2563)

ยุทธศาสตร์ระยะเร่งด่วน ของคณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
(ซปุ เปอร์บอรด์ การศกึ ษา มติคณะรฐั มนตรี เมือ่ วันที่ 3 มีนาคม 2558 ) มีวัตถุประสงค์เพ่ือดูแลการศึกษา โดย
มเี ปาู หมาย 6 ประการ ได้แก่

1. เด็กจบ ป.1 ต้องอ่านออกเขียนได้และต้องมีการประเมนิ ผลที่เป็นรปู ธรรม
2. การจดั การศึกษาขั้นพื้นฐานเสรมิ ทกั ษะอาชีพเด็กช้ัน ม.1-6 ต้องเลอื กเรยี นวิชาเสริมเปน็ สาขา
วชิ าชพี เพือ่ การวางแผนอาชีพในอนาคตได้
3. การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาองั กฤษระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
4. การปฏิบัติตามค่านิยม 12 ประการ
5. การขยายผลการพฒั นาการจดั การเรียนการสอนประวตั ศิ าสตรแ์ ละหนา้ ที่พลเมอื ง
6. ผลิตครทู ม่ี คี วามเข้มขน้ อาทิ คุรุทายาททีม่ ีความสามารถตอบรับการสอนของเด็กได้อย่างแทจ้ รงิ
ยทุ ธศาสตร์ท่ตี ้องดําเนนิ การตลอดยุทธศาสตร์ จนถงึ พ.ศ.2563
1. ยทุ ธศาสตรป์ ฏิรปู การเรยี นการสอน

1. ปฏริ ูปหลักสตู ร ตารา หนงั สอื เรยี น
2. ปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้
3. ปฏิรปู สื่อเทคโนโลยี นวตั กรรม และแหล่งเรียนรเู้ พอ่ื การศกึ ษา
4. ปฏิรูปการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
5. ปฏิรูปการนิเทศเพอ่ื พฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอน
2. ยทุ ธศาสตร์ปฏริ ูปการพัฒนาวิชาชีพ
1. ปฏิรปู ระบบการสรรหา
2. ปฏิรปู ระบบความก้าวหน้าทางวชิ าชีพ
3. ปฏิรปู ระบบการพฒั นาครู
4. ปฏริ ปู การตอบแทนการปฏบิ ตั ิงานและการเสริมสร้างขวญั กาลงั ใจ
3. ยุทธศาสตรป์ ฏิรปู ระบบการบรหิ ารจดั การ
1. ปฏิรูปวฒั นธรรมใหม่ของสถานศึกษา
2. ปฏริ ปู ระบบวางแผน

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 43

3. ปฏิรปู ระบบงบประมาณ
4. ปฏิรปู โครงสร้างอานาจหนา้ ท่ี
5. ปฏิรปู ระบบการนเิ ทศ กากบั ติดตาม และประเมนิ ผล
6. ปฏริ ูปโอกาสและคุณภาพการศึกษา

7. นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีภารกิจหลักในการจัดและส่งเสริมการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน ได้กาหนดนโยบายเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไปในทิศทางท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 และยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ประกอบดว้ ย นโยบาย วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ เปาู หมายและยุทธศาสตร์ ดงั น้ี

นโยบายที่ 1 จดั การศึกษาเพอ่ื ความมัน่ คง
นโยบายที่ 2 พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน
นโยบายท่ี 3 พัฒนาผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
นโยบายท่ี 4 สร้างโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศกึ ษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความ

เหลอ่ื มล้าทางการศึกษา
นโยบายที่ 5 เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การ

วิสัยทศั น์
สรา้ งคณุ ภาพทนุ มนุษย์ สสู่ งั คมอนาคตที่ย่ังยนื

พันธกิจ
1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบนั หลักของชาติ และการปกครองในระบอบ

ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
2. พฒั นาศักยภาพผเู้ รยี นเพอื่ เพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั โดยพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นให้มี

ความรทู้ ักษะวชิ าการ ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชพี คุณลกั ษณะในศตวรรษที่ 21
3. ส่งเสรมิ การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ มืออาชพี
4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้า ให้ผ้เู รยี นทุกคนได้รับบรกิ ารทางการศกึ ษาอย่าง

ทัว่ ถงึ และเทา่ เทียม
5. ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ิตทีเ่ ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อม ยึดหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง และเปาู หมายโลกเพื่อการพฒั นาท่ีย่ังยืน (SDGs)
6. พัฒนาระบบบริหารจดั การแบบบูรณาการ และสง่ เสริมใหท้ ุกภาคส่วนมสี ่วนรว่ มในการจัด

การศกึ ษา

เปา้ หมาย
1. ผู้เรียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะและ
คุณลกั ษณะของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 มสี ขุ ภาวะท่ีเหมาะสมตามวยั มคี วามสามารถในการพึ่งพาตนเอง และ
ปรบั ตัวเป็นพลเมอื งและพลโลกที่ดี

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 44

2. ผูเ้ รียนท่ีมคี วามต้องการจาเป็นพิเศษ กลุ่มชาตพิ ันธุ์ กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส และกลุ่มท่อี ย่ใู นพ้นื ท่ี
หา่ งไกลทุรกนั ดารไดร้ บั การศึกษาอยา่ งทัว่ ถึง เทา่ เทียม และมีคุณภาพ พร้อมก้าวส่สู ากลตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

3. ครู เปน็ ผู้เรียนรู้ มจี ิตวญิ ญาณความเป็นครู มีความแม่นยาทางวชิ าการ และมีทักษะการ
จดั การเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลายตอบสนองผูเ้ รียนเป็นรายบุคคล เปน็ ผู้สรา้ งสรรคน์ วัตกรรม และทกั ษะในการใช้
เทคโนโลยี

4. ผู้บริหารสถานศึกษา มีความเป็นเลิศส่วนบุคคล คิดเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม มีภาวะผู้นา
ทางวชิ าการ มีสานกึ ความรับผดิ ชอบ (Accountability) และการบริหารแบบรว่ มมอื

5. สถานศึกษามคี วามเปน็ อสิ ระในการบริหารงาน และจัดการเรียนรู้ ร่วมมือกับชมุ ชน ภาคเอกชน
และผเู้ กย่ี วข้องในการจัดการศกึ ษาระดบั พ้นื ที่ จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพื่อการเรียนรู้ในทุกมิติ เป็น
โรงเรียนนวตั กรรม

6. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มีการบริหารงานเชิงบูรณาการ เป็นสานักงานแห่งนวัตกรรม
ยุคใหม่ ใช้ข้อมูลสารสนเทศ การวิจัย และพัฒนาในการขับเคลื่อนคุณภาพ กากับ ติดตาม ประเมินและ
รายงานผลอยา่ งเปน็ ระบบ

7. สานกั งานสว่ นกลาง ปรับเปล่ียนวัฒนธรรมการทางาน โดย กระจายอานาจการบริหารงานและ
การจัดการศึกษาให้สถานศึกษา บริหารเชิงบูรณาการ มีระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพ กากับ
ติดตาม ประเมินผล และการรายงานผลอย่างเป็นระบบ ใชว้ จิ ยั และนวัตกรรมในการขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพ

8. นโยบายจงั หวัดตรัง

วสิ ยั ทัศน/์ เปา้ หมายการพัฒนาจังหวดั ตรัง
“เมอื งแห่งคณุ ภาพชวี ติ ที่ดีและย่งั ยนื ”
พนั ธกิจ
1. มุ่งสร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว ให้มีความม่ังคั่ง
และมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม
2. พัฒนาสังคม การศกึ ษา และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความม่ันคง สามารถดารงชีวิตได้อย่าง
มีคุณภาพ
3. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้ย่ังยืน และสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีบนความหลากหลายทาง
ชีวภาพ
4. ส่งเสริมการขบั เคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในทุกภาคสว่ น
5. เสรมิ สรา้ งธรรมาภิบาลในการบรหิ ารจัดการภาครัฐ
เปา้ ประสงค์รวม
1. เศรษฐกิจของจงั หวดั ขยายตวั อย่างมั่นคงและยั่งยนื
2. ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน สร้างความเข้มแข็งทางสังคมและส่งเสริมการศึกษาเรียนรู้
อย่างมคี ณุ ภาพ
3. ฐานทรัพยากรธรรมชาติมีความสมบูรณ์และมีสิ่งแวดล้อมดี ตลอดจนมีการบริหารจัดการแบบ
บรู ณาการ

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 45

ยุทธศาสตร์/ประเด็นการพฒั นาจังหวัด
1. สร้างฐานเศรษฐกจิ ของจังหวัดดา้ นเกษตรกรรม และอตุ สาหกรรมท่มี น่ั คงและยั่งยนื
2. สง่ เสรมิ และพัฒนาการท่องเทย่ี วเชิงนเิ วศน์ ใหม้ ีคุณภาพเพ่ือสร้างรายไดใ้ ห้เติบโตอย่างต่อเนื่อง
3. เสรมิ สร้างความมนั่ คงทางสงั คม พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และการศกึ ษาเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ
4. บริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอยา่ งเหมาะสมกับชุมชน/พื้นที่ และมีความยง่ั ยืน

แผนพัฒนาจงั หวัดตรงั พ.ศ. 2561-2565
- เปาู ประสงค์รวม
เพ่ือยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของประชาชน สรา้ งความเขม้ แขง็ ทางสังคม และส่งเสรมิ การศึกษาเรยี นรู้
อยา่ งมีคณุ ภาพ
- ตวั ชี้วดั /เปาู หมาย
รอ้ ยละของค่าเฉลี่ย (O-Net) ม.3 เพิ่มขนึ้
- ข้อมลู ฐาน ปี 2560
อตั ราคา่ เฉล่ยี O-net ม.3 ปี 2557-2559 เฉลีย่ ร้อยละ 39.03

ทีม่ า: แผนพฒั นาจังหวดั ตรงั พ.ศ. 2561-2565

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2561-2564) 46

สว่ นท่ี 3
การวเิ คราะห์ศักยภาพสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา

และทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
------------------------------

การวเิ คราะห์สภาพองค์กร (SWOT @ TOWS Matrix)

การกาหนดประเด็น SWOT ที่สาคัญ อาศัยการมสี ่วนร่วมของผู้บรหิ ารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา
ศึกษานิเทศก์ บุคลากรทางการศึกษาอ่ืนและเครือข่ายกลุ่มโรงเรียน โดยใช้เทคนิคเทาว์เมทริกซ์
(TOWS Matrix ) มาใชใ้ นการประเมินสถานการณ์ 4 รปู แบบ กาหนดเปน็ กลยทุ ธ์ดาเนินงานการจัดการศึกษา
ของสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ในระยะ 4 ปี ดังนี้

1. การวิเคราะห์เชิงรับ หรือ WT การวางแผนกลยุทธ์มุ่งเน้นปัจจัยสาคัญ ท่ีช่วยลดหรือขจัดจุดอ่อน
ลงให้ได้มากที่สุด

2. การวเิ คราะหเ์ ชงิ พัฒนา หรือ WO การวางแผนกลยุทธ์มุ่งเน้นใช้โอกาส ช่วยลดหรือขจัดจุดอ่อนลง
ใหไ้ ด้มากท่ีสดุ

3. การวเิ คราะหเ์ ชงิ ป้องกัน หรือ ST การวางแผนกลยทุ ธ์ มุง่ เน้นใชจ้ ุดแข็งปอ้ งกัน และลดอุปสรรค
4. การวเิ คราะห์เชงิ รกุ หรอื SO การวางแผนกลยทุ ธ์ มงุ่ เนน้ ใชจ้ ดุ แขง็ สร้างโอกาส


Click to View FlipBook Version