The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ppza777, 2019-12-09 00:43:15

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562 - 2565)

รวมเล่ม

แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 47



แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 48



แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 49



แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 50

คา่ นยิ มองคก์ ร ผังความเช่อื มโยงสาระสาคญั ของแผนพัฒน

รักองค์กร ประสานความรว่ มมอื ยึดถอื คณุ ธรรม ก้าวนาสูส่ ากล

วสิ ยั ทศั น์ การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานของสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง
บนพนื้ ฐานของความเปน็ ไทย

พนั ธกิจ 1.จัดกระบวนการเรยี นรเู้ พอื่ 2. พฒั นาศักยภาพผูเ้ รียนเพื่อเพมิ่ ขีด
เปา้ ประสงค์ เสริมสร้างความมั่นคงของ ความสามารถในการแขง่ ขัน โดยพฒั นา
สถาบนั หลักของชาตแิ ละการ ด้านความรู้ ทักษะวชิ าการ ทักษะชวี ติ
กลยุทธ์ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมี
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ทักษะวิชาชีพ และทักษะทีจ่ าเป็นใน
ศตวรรษท่ี 21

1.ผู้เรยี นมคี วามรกั ในสถาบันหลักของ 2.ผูเ้ รยี นได้รบั การพัฒนาและ 3.ผู้เรยี นท่ีมคี วา
ชาติ และยดึ มั่นการปกครองระบอบ เสริมสรา้ งศกั ยภาพในแตล่ ะชว่ งวยั มพี ัฒนาการตาม
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ อย่างมคี ณุ ภาพ มีทักษะที่จาเป็น จัดการศึกษารา
ในศตรวรรษที่ 21 เปน็ เลิศด้าน
ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมอื งดีของ สามารถเขา้ สู่บร
ชาตมิ ีคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ มท่ีพึง วิชาการ มีทกั ษะสือ่ สาร การส่งต่อ สกู่ าร
ประสงค์ และจิตสาธารณะ ปอ้ งกัน ภาษาอังกฤษ ทกั ษะชวี ติ และ หรอื สูงขน้ึ หรือก

ตนเองจากภัยคกุ คาม และปัญหา ทักษะอาชีพตามความตอ้ งการและ ของแ
ยาเสพติดได้ ความถนดั

กลยุทธท์ ่ี 1 ส่งเสริมการจัด กลยุทธท์ ี่ 2 พฒั นาสมรรถนะผู้เรียนเพื่อสรา้ งขีด
การศกึ ษาเพอื่ ความมน่ั คง
ความสามารถในการแขง่ ขนั และทักษะการ
เรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21

จุดเน้น นักเรียนดี นกั เรยี นเกง่ นักเรียนมี เตรียมความ
การดาเนินงาน ความสขุ พร้อมระดับ

ปฐมวัย

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 51

นาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2562 – 2565)

ง เขต 1 มคี ณุ ภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

3.สง่ เสริม สนับสนุน 4. สรา้ งโอกาส ส่งเสริม 5. ส่งเสริมการจดั 6. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการแบบ
ข้าราชการครแู ละบุคลากร สนบั สนนุ ให้ผู้เรยี นไดร้ ับ การศึกษาเพื่อพัฒนา บูรณาการท่ีมุง่ ผลสมั ฤทธ์ิ โดยยดึ
ทางการศึกษา ให้เปน็ มืออาชีพ คุณภาพฃวี ติ ทเ่ี ป็นมิตร
บริการทางการศึกษา กับสง่ิ แวดล้อม ยดึ หลกั หลักธรรมาภบิ าลและหลกั ปรัชญา
ทัว่ ถึง เสมอภาคและ ปรัชญาของเศรษฐกิจ ของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมทุก

เท่าเทยี ม พอเพียง ภาคส่วน ใหม้ สี ่วนร่วมในการ
จดั การศึกษา

ามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ 4. ผู้บริหารสถานศึกษา 5.ประชากรวยั 6.สถานศึกษาจัด 7.สานกั งานเขตพ้นิ ทีก่ ารศึกษา
มศักยภาพตามแผนการ ครแู ละบคุ ลากรทาง เรียนทุกคน ได้รับ หลกั สตู ร แหล่ง และสถานศึกษา บรหิ าร
ายบุคคล มีความพร้อม จดั การได้อยา่ งมีคุณภาพ โดย
ศึกษาอืน่ มีทกั ษะท่ี โอกาสใน เรียนรู้ เพอ่ื ยึดหลกั ธรรมาภิบาล และหลกั
ริการช่วงเชอ่ื มต่อ หรอื เหมาะสม ทางาน การศึกษาขัน้ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
รศึกษาในระดับเดียวกนั มุง่ เน้นผลสมั ฤทธิ์ และมี พื้นฐาน ท่มี ี เสริมสรา้ ง ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมทกุ
การอาชีพตามศกั ยภาพ คุณภาพชีวิตเปน็
แต่ละบคุ คล จรรยา คุณภาพ ท่ัวถึง ภาคส่วน
และเปน็ ธรรม มติ รกบั
สิ่งแวดล้อม

กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาผบู้ ริหาร ครู และ กลยุทธท์ ี่ 4 สรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ กลยุทธ์ที่ 5 เพิม่ ประสิทธิภาพการ
บุคลากรทางการศึกษา ใหม้ ีสมรรถนะตาม บริหารจัดการตามหลักธรรมาภบิ าล
มาตรฐานวชิ าชีพ มีศักยภาพ มีคุณธรรม บริการการศึกษาทมี่ คี ณุ ภาพ มีมาตรฐาน และสง่ เสริมการมสี ่วนร่วมในการจัด
และลดความเหลื่อมลา้ ทางการศึกษา การศกึ ษา
จริยธรรม

โรงเรียนสะอาด ครูมอื ใช้เทคโนโลยี บริหารโดยใช้ สร้างความ
เป็นมิตรกบั อาชีพ การศกึ ษาทางไกล หลกั เข้มแขง็
สิ่งแวดล้อม เครือข่าย
(DLIT,DLTV) ธรรมาภิบาล การศึกษา

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 52

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้ดาเนินการวิเคราะห์ ระเบียบ กฎหมาย
แนวนโยบายด้านการศึกษาทุกระดับและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) โดยการมีส่วนร่วม
ของผู้ที่เก่ียวข้อง จึงกาหนดเป็นนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ จุดเน้น การดาเนินงานตาม
แผนงานโครงการ/กจิ กรรม ตวั ชี้วัดความสาเรจ็ ดังนี้

1. นโยบาย สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

ด้านคุณภาพวิชาการ
1. เร่งรัดปฏิรูปการจัดการศึกษาของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้มีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงระบบและ
กระบวนการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย ทันเหตุการณ์และทันโลก โดยความร่วมมือและสนับสนุน
ของเครือขา่ ยชมุ ชน องคก์ ร หน่วยงานทุกรปู แบบอยา่ งเปน็ รูปธรรม
2. เร่งพัฒนาความแข็งเเกร่งทางการศึกษา ทั้งในระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษาและ
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น รวมถึงเด็กพิเศษและเด็กดอ้ ยโอกาส มคี วามรู้และทกั ษะแหง่ โลกยุคใหม่ ควบคู่กันไป
โดยเฉพาะทักษะการอ่าน เขียนและคิด เพ่ือให้มีความพร้อมเข้าสู่การศึกษาระดับสูง และโลกของการทางาน
เพ่ือพัฒนาคุณภาพของคนไทยให้มีความสามารถเต็มศักยภาพ สามารถประกอบอาชีพและดารงชีวิตที่
เหมาะสมและเป็นคนดีของสังคมได้ รวมถึงพัฒนาทักษะทางภาษา และเรียนรู้วัฒนธรรมของประเทศ
เพ่อื นบ้าน เตรียมเข้าสูส่ งั คมอาเซียน

ด้านบริหารจัดการ
1. พัฒนาสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา ใหเ้ ปน็ องค์กรคณุ ภาพที่แขง็ แกร่ง และมีประสทิ ธิภาพเพื่อการ
ใหบ้ ริการท่ดี ี มีความรบั ผดิ ชอบการจัดการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ท่มี คี ุณภาพและได้มาตรฐาน
2. ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนเปน็ องคก์ รทม่ี ีความเข้มแขง็ มวี ิสัยทัศนใ์ นการจดั การศึกษาท่ีชดั เจน
เป็นสถานศกึ ษาคณุ ภาพ และมีประสทิ ธภิ าพทส่ี ามารถจดั การเรยี นการสอนไดอ้ ย่างมีคุณภาพไดม้ าตรฐาน
3. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศกึ ษา และระบบตดิ ตามประเมินผลอยา่ งเปน็ รูปธรรม
4. สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ ม และสรา้ งเครือขา่ ยพฒั นาการศึกษาจากทกุ ภาคส่วน สรา้ งวฒั นธรรมใหม่
ในการทางานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ เพื่อการใหบ้ ริการทดี่ ี
5. พฒั นาระบบการบริหารบคุ คลมงุ่ เนน้ ความถกู ตอ้ ง เหมาะสม เปน็ ธรรม ปราศจากคอรปั ช่ัน สรา้ ง
ขวญั และกาลงั ใจ สรา้ งภาวะจูงใจและความรับผดิ ชอบในความสาเร็จตามภาระหนา้ ท่ี
6. พฒั นาและยกระดบั คุณภาพโรงเรยี นท่ไี มไ่ ดค้ ุณภาพ ให้มีคุณภาพ โดยใช้เทคโนโลยีทุกรปู แบบเพ่อื
พัฒนาผูเ้ รียนให้ไดร้ บั โอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาค

ด้านบรหิ ารงานบุคคล
1. เร่งยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครูและผู้บริหารสถานศึกษา ให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถทักษะ
และสมรรถนะ เพ่ือการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน มุ่งเน้นให้ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี สอดคล้องกับ
จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
2. เร่งปรบั ระบบงานบรหิ ารบคุ คลทมี่ ุง่ เน้นความถกู ต้องเหมาะสมเปน็ ธรรม ปราศจากคอรัปชนั่
3. เร่งลดภาระงานอ่ืนของครผู สู้ อนให้น้อยลง ทนี่ อกเหนอื จากการจดั การเรยี นรู้

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 533
)

2. ทศิ ทางการจดั การศกึ ษา สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้ศึกษากรอบยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษา
แห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษา ระดับกระทรวง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จังหวัด
และนโยบายสาคัญทุกระดับ รวมท้ังได้วิเคราะห์บริบทด้านจัดการศึกษาของพ้ืนท่ี โดยการมีส่วนร่วมของ
ผ้เู ก่ียวขอ้ ง ไดก้ าหนดทศิ ทางการจดั การศึกษา ดังน้ี

วิสยั ทัศน์ (Vision)
การจดั การศึกษาขั้นพน้ื ฐานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีคุณภาพ โดย
ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บนพื้นฐานของความเปน็ ไทย

พนั ธกจิ (Mission)
1.จัดกระบวนการเรียนรู้เพอ่ื เสริมสร้างความมั่นคง ของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
2. พัฒนาศักยภาพผู้เรียน เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยพัฒนาด้านความรู้ ทักษะ
วชิ าการ ทักษะชวี ิตและทักษะทจ่ี าเป็นในศตวรรษท่ี 21
3. สง่ เสริม สนับสนนุ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ใหเ้ ปน็ มอื อาชีพ
4. สรา้ งโอกาส สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้ผู้เรยี นได้รับบริการทางการศกึ ษาท่ัวถงึ เสมอภาคและเท่าเทียม
5. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการแบบบูรณาการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาลและหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ส่งเสริมทกุ ภาคสว่ นให้มสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา

เป้าประสงค์ (Goals)
1. ผู้เรียนมคี วามรักในสถาบนั หลักของชาติ และยดึ ม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มี

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ เปน็ พลเมืองดขี องชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ มท่ีพึงประสงค์ และ
จิตสาธารณะ ปอ้ งกันตนเองจากภยั คุกคาม และปญั หายาเสพติดได้

2. ผูเ้ รยี นได้รับการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพในแต่ละช่วงวัยอยา่ งมีคณุ ภาพ มีทักษะทจี่ าเป็น
ในศตวรรษที่ 21 เปน็ เลิศด้านวชิ าการ มที ักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ทักษะชวี ติ และทักษะอาชีพตาม
ความต้องการและความถนัด

3. ผู้เรียนที่มคี วามต้องการจาเป็นพิเศษ มีพัฒนาการตามศักยภาพตามแผนการจัดการศึกษา
รายบคุ คล มีความพร้อมสามารถเขา้ สู่บรกิ ารชว่ งเชือ่ มต่อ (Transitional Services) หรอื การส่งต่อ (Referral)
สกู่ ารศกึ ษาในระดับเดยี วกนั หรือสูงขนึ้ หรือการอาชพี ตามศักยภาพของแต่ละบคุ คล

4. ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาอนื่ มที กั ษะท่ีเหมาะสม ทางานมุง่ เน้น
ผลสมั ฤทธ์ิ และมจี รรยาบรรณของวชิ าชีพ

5. ประชากรวยั เรียนทกุ คนไดร้ ับโอกาสในการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ทม่ี คี ณุ ภาพ ทวั่ ถึง และเปน็ ธรรม
6. สถานศกึ ษาจดั หลกั สูตร แหล่งเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือเสริมสรา้ ง
คณุ ภาพชีวิตเป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ผู้เรียนมจี ิตสานึกรกั ษ์สิ่งแวดล้อม น้อมนาหลักธรรมาภบิ าลสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
7. สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาและสถานศึกษา บริหารจดั การได้อย่างมีคุณภาพ โดยยึดหลัก
ธรรมาภิบาล และหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มจากทุกภาคสว่ น

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 544
)

จากวิสัยทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์ สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
ไดก้ าหนดกลยุทธ์ แนวทาง ตัวช้วี ัดความสาเรจ็ ดังนี้

กลยุทธ์ท่ี 1 สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาเพื่อความมน่ั คง
กลยุทธท์ ่ี 2 พัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั และทักษะ

การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21
กลยุทธท์ ่ี 3 พฒั นาผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐาน

วิชาชพี มีศกั ยภาพ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
กลยุทธท์ ่ี 4 สร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษาที่มคี ุณภาพ มมี าตรฐาน และลด

ความเหลื่อมลา้ ทางการศึกษา
กลยทุ ธท์ ี่ 5 เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาล และสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ ม

ในการจัดการศกึ ษา

คา่ นยิ มองคก์ ร

รักองคก์ าร ประสานความร่วมมือ ยึดถือคุณธรรม กา้ วนาสูส่ ากล

ผลผลิต

สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 มีการดาเนนิ งาน 2 ผลผลติ คอื
1. ผจู้ บการศกึ ษาระดับกอ่ นประถมศึกษา
2. ผจู้ บการศกึ ษาภาคบังคับ
ซง่ึ มสี ถานศึกษาเปน็ หนว่ ยปฏบิ ัติการจัดการศึกษา จานวน 132 แห่ง เพื่อให้ภารกิจดังกล่าว สามารถ
ตอบสนองสภาพปัญหา และรองรับการขับเคล่ือนนโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบาย
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และนโยบายสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง
เขต 1

กลยทุ ธ์ท่ี 1 สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาเพือ่ ความม่ันคง

แนวทาง
1.1) ส่งเสริมและสนบั สนุนให้สถานศกึ ษาปรับปรงุ หลักสูตร จดั บรรยากาศสิ่งแวดลอ้ ม และ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ใหผ้ ู้เรยี นแสดงออกถึงความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ มีทศั นคติที่ดีต่อบา้ นเมือง มหี ลักคดิ ที่ถกู ต้อง เป็นพลเมือง
ดีของชาติ และพลเมอื งโลกที่ดี มคี ณุ ธรรม จริยธรรม

1.2) สง่ เสริม สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษานอ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของ
ในหลวงรัชกาลท่ี 10 และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปบูรณาการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพื่อพฒั นา
ผเู้ รยี นใหม้ คี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามทีก่ าหนด

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 555
)

ตวั ชี้วัดความสาเรจ็

1. ร้อยละ 100 ของผู้เรยี นมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรกั ในสถาบันหลักของชาติ
ยดึ ม่นั การปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ

2. รอ้ ยละ 100 ของผู้เรียนมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงการมีทศั นคติที่ดีตอ่ บ้านเมือง มี
หลักคดิ ท่ีถูกต้อง เป็นพลเมอื งดขี องชาติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม

3. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาปรับปรุงหลกั สตู ร จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจดั
กจิ กรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรยี นแสดงออกถึงความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มนั่ การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข มีทศั นคติที่ดตี ่อบ้านเมอื ง มหี ลักคิดทีถ่ กู ต้อง เป็นพลเมืองดี
ของชาติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม

4. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของในหลวง
รัชกาลที่ 10 และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ี
กาหนดได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

กลยทุ ธท์ ่ี 2 พัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นเพอ่ื สรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขัน และมี
ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21

2.1) ปรบั ปรุง และพัฒนาหลกั สตู รทกุ ระดบั การศกึ ษา ใหเ้ อื้อตอ่ การพัฒนาสมรรถนะ
ผ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คล มีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 นาไปสู่การจดั การศึกษาเพ่อื การมีงานทา
(Career Education)

แนวทาง

1. พัฒนาหลกั สูตรระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ใหส้ อดคลอ้ งกับทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษ
ท่ี 21 โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นเป็นรายบุคคล มคี วามเปน็ เลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะชีวิตและ
ทักษะอาชพี ตามความต้องการ และมีทักษะชวี ติ ในการป้องกนั ตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่

2. ปรับปรงุ หลักสตู รปฐมวยั เพอ่ื ให้เดก็ ได้รับการพัฒนา ท้งั 4 ด้าน สอดคล้องกับทักษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

3. ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา และปรับเปลี่ยนการจดั การ
เรยี นรู้ให้ตอบสนองตอ่ ความต้องการของผู้เรียน และบริบทของพื้นท่ี

4. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษา จดั ทาแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล หรือแผนการ
ให้บรกิ ารชว่ ยเหลือเฉพาะครอบครวั ซ่งึ จดั ทาขนึ้ บนพื้นฐานความตอ้ งการจาเป็น เฉพาะของผเู้ รียนท่มี คี วามตอ้ งการ
จาเป็นพเิ ศษ หรอื ความสามารถพิเศษ

ตัวช้ีวดั ความสาเรจ็

1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษาพัฒนาหลักสตู รการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ให้สอดคลอ้ งกบั
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รียนเป็นรายบุคคล มีความเป็นเลศิ ทางด้าน
วิชาการ มีทกั ษะชีวิตและทักษะอาชีพตามความตอ้ งการ และมที ักษะในการป้องกนั ตนเองจากภยั คุกคาม
รูปแบบใหม่

2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามกี ารพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา ใหส้ อดคล้องกบั ความ
ตอ้ งการของผู้เรียนและพน้ื ที่

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 566
)

2.2) พฒั นาคณุ ภาพของผูเ้ รียน ใหม้ ีทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 มีความเป็นเลิศ
ด้านวชิ าการ นาไปสูก่ ารสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขนั

แนวทาง
1. พฒั นาผู้เรยี นระดบั ปฐมวัยให้มีความพร้อมด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคม สตปิ ญั ญา

เพื่อทจี่ ะเขา้ รับการพฒั นาการเรียนรู้ในระดับทส่ี ูงขน้ึ

2. สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มท้ังในและนอกห้องเรียน ให้เอ้ือต่อ

การพัฒนาการเรยี นรู้ของเด็กปฐมวัย

3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาจัดการเรยี นรู้ระดบั ปฐมวัย ในรปู แบบทห่ี ลากหลาย
4. สง่ เสรมิ การสร้างความรู้ความเข้าใจแกพ่ ่อแม่ผู้ปกครอง เกีย่ วกับการเลี้ยงดูเด็กปฐมวยั
ท่ีถูกต้องตามหลักจิตวิทยาพัฒนาการ
5. จัดใหม้ โี รงเรยี นตน้ แบบการจัดการศกึ ษาปฐมวัย ใหส้ ามารถพฒั นาเด็กก่อนประถม ใหม้ ี
พฒั นาการความพร้อม เพ่ือเตรียมตัวไปสกู่ ารเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21
6. พัฒนาผู้เรียนสคู่ วามเป็นเลศิ ทางวิชาการ โดยเนน้ การพัฒนาสมรรถนะท่ีจาเป็น 3 ด้าน

1) การรู้เรื่องการอา่ น (Reading Literacy)
2) การรูเ้ รื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy)
3) การรูเ้ รอ่ื งวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
7. พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีสมรรถนะด้านดิจทิ ัล (Digital Competence) และสมรรถนะด้าน
การสอ่ื สารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3
8. มคี วามรู้ และทักษะในการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรปู แบบใหม่
9. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจัดการเรยี นรู้ ทใี่ ห้ผู้เรียนไดเ้ รียนร้ผู า่ นกจิ กรรมการ
ปฏิบัติจริง (Active Learning)
10. ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษา ท่ีมีการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนในลักษณะของ STEM
ศึกษา
11. สง่ เสริม สนบั สนุนให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ขั้นตอน หรือบันได
5 ข้ัน (IS: Independent Study)
12. สง่ เสรมิ ให้สถานศึกษาจดั การเรยี นร้อู ย่างเป็นระบบ มุ่งเนน้ การใช้ฐานความรู้และ
ระบบความคดิ ในลกั ษณะสหวทิ ยาการ เช่น
1. ความรู้ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละการตั้งคาถาม
2. ความเข้าใจและความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
3. ความร้ทู างวศิ วกรรม และการคดิ เพ่อื หาทางแกป้ ัญหา
4. ความรแู้ ละทักษะในด้านศลิ ปะ
5. ความรู้ด้านคณติ ศาสตร์ และระบบคดิ ของเหตุผลและการหาความสมั พันธ์
13. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษาประเมินสมรรถนะตามแนวทางการประเมิน PISA ด้วย
ระบบการสอบ แบบ Online ให้กับผู้เรียนทุกคนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จนถึงมัธยมศึกษา
ตอนต้น
14. ส่งเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในทางการประเมินทักษะการคิดแก้ปัญหา ตาม
แนวทางการประเมนิ PISA ให้แก่ศกึ ษานิเทศก์และครผู ้สู อน

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 577
)

15. ใหบ้ รกิ ารเครื่องมือการวัดและประเมินองิ สมรรถนะ ตามแนวทางการประเมินผลผเู้ รียน
รว่ มกบั นานาชาติ (PISA) ดว้ ยระบบ Online Testing

16. สง่ เสรมิ ใหส้ ถานศึกษาจัดหลักสตู ร และแผนการเรยี นนาไปสคู่ วามเปน็ เลศิ ในแตล่ ะดา้ น
17. ส่งเสริมผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ด้านศิลปะดนตรีและกีฬา โดยจัดเป็นห้องเรียน
เฉพาะด้าน และจัดกจิ กรรมท่หี ลากหลาย
18. พัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รยี นตามความถนดั และเปน็ นวัตกร ผสู้ ร้างนวตั กรรม
ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จดา้ นผเู้ รียน
1. รอ้ ยละ 100 ของผู้เรยี นระดับปฐมวัย ไดร้ ับการพฒั นารา่ งกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญา และมีความพร้อมทีจ่ ะเข้ารบั การศึกษาในระดบั ทสี่ ูงข้นึ
2. ร้อยละ100ของผู้เรยี นระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานได้รับการพฒั นารา่ งกาย จติ ใจ วนิ ัย
อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา มพี ฒั นาการทด่ี รี อบด้าน
3. ร้อยละ 100 ของผเู้ รียนอา่ นออกเขียนได้ คิดเลขเปน็ และมนี ิสยั รักการอา่ น
4. รอ้ ยละ 70 ของผู้เรยี นมที ักษะการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปญั หา คิดสรา้ งสรรค์ ผ่านกจิ กรรม
การปฏบิ ัติจริง (Active Learning )
5. รอ้ ยละ 80 ของผ้เู รยี นทผ่ี ่านการประเมนิ สมรรถนะทจ่ี าเป็นดา้ นการรู้เรอ่ื งการอ่าน
(Reading Literacy)
6. รอ้ ยละ 80 ของผู้เรียนทผี่ า่ นการประเมนิ สมรรถนะท่จี าเปน็ ดา้ นการรู้เร่ืองคณติ ศาสตร์
(Mathematical Literacy)
7. รอ้ ยละ 80 ของผ้เู รยี นท่ีผา่ นการประเมินสมรรถนะท่จี าเป็น ดา้ นการรู้เร่อื งวิทยาศาสตร์
(Scientific Literacy)
8. ร้อยละ 80 ของผู้เรยี นทม่ี ที ักษะสือ่ สารอังกฤษ และสื่อสารภาษาท่ี 3 ได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
9. รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รยี นท่มี ีทักษะด้าน Digital Literacy ในการเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ ง
มปี ระสทิ ธิภาพ
10. ร้อยละ 100 ของผเู้ รยี นทมี่ ีความรู้ และทกั ษะในการป้องกนั ตนเองจากภัยคุกคาม
รปู แบบใหม่
11. รอ้ ยละ 60 ของผเู้ รยี นที่มคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน
(O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ในแต่ละวิชาเพิ่มข้ึนจากปีการศกึ ษาท่ผี ่านมา
12. ร้อยละ 60 ของผู้เรยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นมสี มรรถนะการเรียนรเู้ รอ่ื งการอ่าน
ตงั้ แตร่ ะดบั ขนั้ พ้นื ฐานขึน้ ไป (ระดับ 2) ตามแนวทางการประเมนิ PISA
13. รอ้ ยละ 80 ของผ้เู รียนท้ังหมด ไดร้ ับการประเมินทักษะการคดิ แก้ปัญหา ตามแนวทาง
การประเมนิ PISA
ตวั ชีว้ ดั ความสาเรจ็ ดา้ นสถานศกึ ษา
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาจดั การเรยี นรู้ ทใี่ ห้ผเู้ รยี นได้เรียนร้ผู ่านกจิ กรรมการ
ปฏิบตั ิจริง (Active Learning)
2. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาจัดการเรียนรใู้ หผ้ ู้เรียนในลักษณะของ STEM ศกึ ษา

3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ข้ันตอน หรือบันได
5 ข้นั (IS: Independent Study)

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 588
)

4. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาจัดการเรยี นรู้ และบรรยากาศส่ิงแวดล้อม ท่สี ง่ เสรมิ
สนับสนนุ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นร้แู ละฝกึ ทักษะด้านภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

2.3) พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ที ักษะอาชีพและทกั ษะชีวิต มสี ุขภาวะทีด่ ีสามารถดารงชวี ิตอยู่
ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข

แนวทาง

1. สรา้ งกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษา เพื่อสง่ เสริมกระบวนการเรียนรู้ องิ
สมรรถนะและเตรียมความพร้อมสู่การประกอบสัมมาอาชีพ

2. พฒั นารายวชิ าที่สง่ เสริมการศกึ ษาตอ่ และการประกอบอาชพี
3. สง่ เสรมิ สนับสนุนให้สถานศึกษาจดั การเรยี นร้แู กผ่ เู้ รยี นตามความสนใจ ในทักษะอาชีพ
ทตี่ นเองถนดั เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเขา้ สตู่ ลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ
4. ส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และเป็นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐานของอนามัย
5. ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาด้านอารมณ์และสังคม (Social and Emotional
Learning : SEL) ในทกุ ช่วงวัย
6. สถานศกึ ษามรี ะบบการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาในสถานศึกษา
ตัวช้วี ดั ความสาเรจ็
1. ร้อยละ100 ของผู้เรยี น มี ID plan และ Portfolio เพ่ือการศึกษาต่อและการ
ประกอบอาชีพ
2. ร้อยละ100 ของสถานศกึ ษาจัดการเรียนรู้ และบรรยากาศส่ิงแวดล้อมทเี่ ออ้ื ตอ่ การ
พัฒนาทักษะอาชีพตามความถนดั
3. รอ้ ยละ100 ของผูเ้ รยี นทมี่ ีสขุ ภาวะทดี่ ีทกุ ชว่ งวัย
4. ร้อยละ100 ของสถานศึกษาท่มี ีระบบป้องกัน และแก้ไขปัญหาในสถานศกึ ษา
2.4) การจัดการศกึ ษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายโลกเพื่อการพฒั นาอย่างยั่งยนื (SDGs)
เพือ่ สรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทาง
1. ส่งเสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาจัดการเรียนรู้ เพ่อื พฒั นาผเู้ รียนตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
2. ส่งเสริม สนบั สนุนใหส้ ถานศกึ ษาจัดการศึกษาตามเป้าหมายโลก เพ่ือการพัฒนาอย่าง
ยัง่ ยืน (Global Goals for Sustainable Development)
3. ส่งเสรมิ สนับสนุน ใหส้ ถานศึกษาและหน่วยงานทกุ สังกดั จดั ส่ิงแวดล้อม สังคมและ
เศรษฐกจิ ใหส้ อดคล้องกบั หลัก Zero waste และมาตรฐานสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาท่ีย่งั ยืน (Environmental
Education Sustainable Development: EESD)
4. สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการประยุกตใ์ ช้
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งอย่างต่อเนื่อง
ตัวช้ีวัดความสาเร็จ
1. รอ้ ยละ 100 ของผูเ้ รยี นมีพฤติกรรมแสดงออกถึงการดาเนนิ ชวี ิตทีเ่ ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
และการประยกุ ต์ใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 599
)

2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามกี ารจัดสภาพแวดล้อมท่ีสอดคล้องกับมาตรฐาน ส่งิ แวดล้อม
สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาทยี่ ั่งยนื (Environmental Education Sustainable Development: EESD)

3. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาจดั การศกึ ษาเพื่อใหบ้ รรลุเป้าหมายโลก เพอื่ การพฒั นา
อยา่ งยงั่ ยนื (Global Goals for Sustainable Development)

2.5) พฒั นาคุณภาพผู้เรียนทมี่ คี วามตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ
แนวทาง
1. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาการจัดการศึกษาสาหรบั ผูเ้ รยี นที่มีความต้องการจาเปน็
พิเศษ ดว้ ยระบบและรปู แบบท่ีหลากหลาย
2. สง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดการศกึ ษาในโรงเรียนเรยี นรวม
3. ปรับปรุงและพฒั นากระบวนการวัดและประเมินผล ตามสภาพจรงิ
4. สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมเพื่อพฒั นาทกั ษะการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร การคิด
คานวณ การคิดวเิ คราะห์ และการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ
5. ส่งเสรมิ สนับสนุน การจดั การเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพ ทกั ษะการ
ดารงชวี ติ ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จิตสาธารณะ และการดารงชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ มตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. ส่งเสริม สนับสนุน การใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารอย่างถูกต้อง
เหมาะสม และสร้างสรรค์
7. สง่ เสริม สนับสนนุ เทคโนโลยี สงิ่ อานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลือ
อนื่ ใดทางการศกึ ษา
8. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนทม่ี ีความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ ทมี่ คี วามสามารถพิเศษในด้าน
วชิ าการ ดนตรี กีฬา ศิลปะ และอนื่ ๆ เพือ่ ยกระดบั สู่ความเป็นเลิศ
9. ส่งเสรมิ สนบั สนุนการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน
10. จัดให้มีระบบการนิเทศ กากบั ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาเชงิ บูรณาการ
11. ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานและสถานศึกษา จัดทา รวบรวม ผลิต พัฒนาและ
เผยแพร่ ส่ือ นวตั กรรม งานวิจยั ทางการศกึ ษา
12. ส่งเสริม สนับสนุนให้มีแนวทางปฏิบัติ และมาตรการรักษาความปลอดภัยของ
สถานศึกษาอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
13. ส่งเสริม สนับสนุนให้เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ และกลุ่มสถานศึกษา ขับเคล่ือน
การจัดการศึกษาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ
14. ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรปกครองใน
พืน้ ที่ พฒั นาระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น และระบบแนะแนวให้มีประสทิ ธภิ าพ
15. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจัดสภาพแวดล้อมและแหล่งเรยี นรู้ ให้เอ้ือตอ่ การจดั การศึกษา
ตัวชีว้ ัดความสาเรจ็
1. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนทม่ี ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ข้นั พ้นื ฐานของแตล่ ะระดบั
2. ร้อยละ 100 ของผเู้ รียนทม่ี ีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้รับการพัฒนาดา้ นทักษะอาชีพ
ทกั ษะการดารงชวี ติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมีจติ สาธารณะ

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 600
)

3. รอ้ ยละ 100 ของผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ไดร้ ับการส่งเสรมิ ให้มีความสามารถ
พเิ ศษด้านตา่ ง ๆ อาทิ ดนตรี กฬี า ศิลปะและเทคโนโลยี เปน็ ต้น

2.6) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา นา Digital Technology มาใช้ในการจัดการเรียนรู้
ให้แก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ ความต้องการ และความถนัด สร้างสังคมฐานความรู้
(Knowledge-Based Society) เพ่ือการเรยี นรู้อย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชีวิต

แนวทาง
1. พัฒนาระบบคลังข้อมูล องค์ความรู้ เพื่อให้บริการ Digital Textbook ตามเน้ือหา
หลักสูตรท่ีกาหนด สื่อ วิดีโอ และองค์ความรู้ประเภทต่าง ๆ และให้บริการแก่ผู้เรียนให้การพัฒนาตนเอง
อย่างตอ่ เน่ืองตลอดชวี ติ
2. พัฒนา Digital Platform เพื่อตอบสนองต่อการพฒั นาการเรยี นรู้ของผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคล
3. สถานศึกษาสนบั สนุน สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองผา่ น Digital Platform
ตวั ชว้ี ัดความสาเร็จ
1. ร้อยละ 100 ของผเู้ รียนท่เี รยี นรผู้ ่าน Digital Platform
2. ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษาท่จี ดั การเรียนรู้ เพอ่ื ให้พฒั นาตนเองผ่าน Digital Platform

กลยุทธท์ ี่ 3 พฒั นาผ้บู ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐาน
วิชาชพี มีศักยภาพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม

3.1) พฒั นาผูบ้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกประเภท ให้มีสมรรถนะตาม
มาตรฐานวิชาชีพ มศี ักยภาพ มคี ุณธรรม จริยธรรม

แนวทาง
1. ศึกษาวิเคราะห์ ความต้องการจาเป็นในการพัฒนาตนเอง (Need Assessment) ของ

ผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพือ่ วางแผนการพัฒนาอยา่ งเป็นระบบและครบวงจร
2. กาหนดกรอบและวิเคราะห์หลกั สูตร เพ่ือพัฒนาผบู้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา

ให้เชือ่ มโยงกับความกา้ วหนา้ ในวิชาชีพ (Career Path)
3. สนับสนนุ ให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา วางแผน และเข้ารับการพัฒนาตาม

หลกั สูตรที่กาหนดที่เชื่อมโยงความก้าวหน้าในวิชาชพี (Career Path)
4. ส่งเสริมและพฒั นาบุคลากรในรูปแบบชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional

Learning Community: PLC)
5. สง่ เสรมิ และพฒั นาครูใหอ้ อกแบบการเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับการวดั

ประเมนิ ผล ท่ีเนน้ ทักษะการคิดขั้นสงู (Higher Order Thinking) ผ่านกจิ กรรมการปฏิบตั จิ รงิ (Active
Learning)

6. ส่งเสริมและพัฒนาผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท ใหม้ ีความรูท้ ักษะ
ดา้ น Digital Literacy, Digital Pedagogy ทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ ทกั ษะส่ือสารภาษาท่ี 3

7. สง่ เสริมพัฒนาและยกระดับความร้ภู าษาอังกฤษของครทู ส่ี อนภาษาอังกฤษ โดยใช้ระดบั การ
พัฒนาทางด้านภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด

8. ส่งเสริมและพฒั นาครูให้มีความรแู้ ละทักษะในการจัดการเรยี นรู้ สาหรับผู้เรียนทม่ี คี วาม
แตกตา่ ง (Differentiated Instruction)

9. สง่ เสรมิ และพัฒนาครูให้มีความรู้ และทักษะในการสร้างเครื่องมือการวัด และประเมินผล
การเรียนรู้ด้านทักษะการคิดขนั้ สูง (Higher Order Thinking)

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 611
)

10. ส่งเสรมิ และพฒั นาครูและผบู้ ริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ใหม้ ีความรู้
ความสามารถจดั การเรียนรเู้ ป็นรายบุคคล และการสอนแบบคละช้ัน

11. สง่ เสรมิ และพัฒนาครูในการจดั การเรียนรู้ สาหรบั ผเู้ รียนทมี่ ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ
ตามศกั ยภาพของผ้เู รียนแต่ละบุคคล

12. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหค้ รพู ฒั นาตนเองผ่านระบบ Online และแบบ Face-to-Face Training
13. ปรบั เปลยี่ นกระบวนการ วิธกี ารประเมนิ ครู โดยเน้นการประเมินสมรรถนะ ในการ
จดั การเรียนการสอนโดยผลสัมฤทธ์ิของผู้เรยี นเปน็ หลกั และประเมินจรรยาบรรณ ของครูทุก ๆ 5 ปี (ประเมนิ
360 องศา)
ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็
1. ร้อยละ 100 ของผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท มีศกั ยภาพใน
การปฏบิ ตั งิ านครบตามความจาเปน็ ในการจดั การเรยี นรอู้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
2. รอ้ ยละ 100 ของผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา สามารถพัฒนาหลักสตู ร
สถานศึกษา การจดั การเรยี นรู้ และการวัดประเมนิ ผลอย่างมคี ณุ ภาพในรูปแบบทห่ี ลากหลาย ตามศกั ยภาพ
ของผู้เรยี นแตล่ ะบุคคล
3. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษามแี ผนความต้องการครูระยะ 20 ปี
4. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษา มีกรอบสมรรถนะครูทีส่ อดคลอ้ งกบั การพัฒนาใน
ศตวรรษ ท่ี 21 และสอดคล้องกบั บรบิ ทของพนื้ ที่
5. ร้อยละ 80 ของสถานศึกษามจี านวนครูอย่างเหมาะสม และพอเพยี งต่อการพฒั นา
คุณภาพของผเู้ รยี น
3.2) นา Digital Technology มาใช้ในการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทาง
การศกึ ษาทุกประเภททั้งระบบ
แนวทาง

1. พฒั นา Digital Platform เพ่ือใชใ้ นการพฒั นาผบู้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ทุกประเภททง้ั ระบบ

2. พัฒนา Digital Platform ระบบบริหารจัดการผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ทุกประเภททั้งระบบ

3. พฒั นา Digital Content ในองค์ความร้กู ารจดั การศึกษาในสาขาท่ีขาดแคลน เช่น
การพัฒนาทักษะการคดิ ข้นั สงู การจัดการศึกษาสาหรับผ้เู รียนทม่ี ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ และผเู้ รยี นที่มี
ความแตกต่าง เปน็ ตน้

4. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ผูบ้ รหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท พฒั นา
ตนเองอยา่ งต่อเน่ืองผ่านระบบ Digital Technology

ตัวชว้ี ดั ความสาเร็จ
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษา และเขตพื้นทีก่ ารศึกษา มีระบบฐานขอ้ มูลผู้บริหาร
ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เพ่อื วางแผนการพัฒนาครทู งั้ ระบบ
2. รอ้ ยละ 100 ของบุคลากรในสังกัดทพี่ ัฒนาตนเองผา่ นระบบ Digital Technology
3. รอ้ ยละ 100 ของ Digital Content เก่ยี วกับองค์ความรใู้ นสาขาทขี่ าดแคลน

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 622
)

กลยุทธ์ท่ี 4 สร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน

และลดความเหล่อื มล้าทางการศึกษา

4.1) ร่วมมอื กับองคก์ รปกครองระดับท้องถนิ่ ภาคเอกชน หนว่ ยงานที่เก่ยี วข้องใน
การจัดการศึกษาให้สอดคลอ้ งกับบริบทของพื้นท่ี

แนวทาง

1. สถานศึกษารว่ มกับองค์กรปกครองระดบั พืน้ ท่ี ภาคเอกชน และหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง
วางแผนการจัดการศึกษาใหส้ อดคล้องเหมาะสมกับบรบิ ทของพื้นท่ี

2. สถานศึกษาร่วมกับองคก์ รปกครองระดับพืน้ ที่ จดั ทาสามะโนประชากรวยั เรยี น
(0-6 ป)ี

3. สถานศกึ ษารว่ มมอื กบั องค์กรปกครอง ชมุ ชน เอกชน และหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง
ระดบั พ้ืนท่ี จัดทาแผนการนกั เรยี นทุกระดับ

4. สถานศึกษารว่ มกับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ ติดตาม ตรวจสอบเดก็ วัยเรียน ได้
เข้าถึงการบรกิ ารการเรยี นรไู้ ด้อย่างท่วั ถึง ครบถ้วน

5. สถานศึกษาจัดทาฐานข้อมูลประชากรวยั เรียน เพ่ือเก็บรวบรวม เชอ่ื มโยงขอ้ มูล
ศึกษา วเิ คราะห์ เพ่ือวางแผนการจดั การเรียนรูแ้ กผ่ ้เู รยี น

ตวั ชี้วัดความสาเรจ็

1. ร้อยละ 100 ของเด็กวยั เรยี นที่เข้ารบั การศึกษาในแต่ละระดับการศกึ ษา
2. นกั เรยี นออกกลางคันไมเ่ กินร้อยละ 0.1
3. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาท่ีมีระบบการดูแลช่วยเหลือ และคุ้มครองนักเรียน
และการแนะแนวท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ
4. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียน และสามารถ
นามาใช้ในการวางแผนจัดการเรยี นร้ใู ห้แก่ผู้เรยี น ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
4.2) สร้างความเข้มแขง็ ในการบริหารจัดการศึกษาสาหรับผ้เู รียนที่มีความต้องการ
จาเปน็ พเิ ศษ
แนวทาง

1. จดั ทาระบบขอ้ มลู สารสนเทศของการจดั การศึกษาพเิ ศษ ทเี่ ชื่อมโยงกบั หน่วยงานที่
เก่ียวขอ้ งทุกระดับ และนามาใชอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

2. ส่งเสรมิ สนบั สนุนระบบการจดั การศกึ ษาพเิ ศษ ทีผ่ ้เู รียนสามารถเขา้ ส่บู ริการชว่ ง
เช่ือมตอ่ (Transitional Services) หรอื การสง่ ต่อ (Referral) เขา้ สกู่ ารศึกษาในระดบั เดียวกนั และทสี่ งู ขน้ึ
หรือการอาชพี หรือการดาเนินชีวิตในสังคม ได้ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คล

3. สง่ เสริม สนับสนนุ ใหท้ ุกสถานศกึ ษาในสงั กัด มีความพร้อมท้ังระบบในการจัด
การศกึ ษาแบบเรยี นรวม

4. จัดใหม้ ศี กึ ษานเิ ทศกผ์ ้รู ับผดิ ชอบการจดั การศึกษาพเิ ศษ ในการติดตามชว่ ยเหลอื และ
สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาดาเนินการจดั การศึกษาพิเศษไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 633
)

ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็

1. มขี อ้ มูลสารสนเทศของการจัดการศกึ ษาพเิ ศษ ท่ีเชือ่ มโยงกบั หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง
ทกุ ระดับ

2. ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษาในสังกัดมคี วามพร้อมทัง้ ระบบ เพื่อสามารถจดั การศกึ ษา
แบบเรยี นรวม

4.3) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษา หนว่ ยงานทุกระดบั นา Digital Technology
มาใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี น

แนวทาง

1. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษามีโครงข่ายส่อื สารโทรคมนาคมทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ และ
ปลอดภยั

2. สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษามีระบบคอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์ท่ีใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือ
ในพัฒนาทักษะด้าน Digital Literacy แก่ผเู้ รียน

3. สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาปรับปรุงพัฒนาห้องเรยี นใหเ้ ป็นหอ้ งเรยี น Digital
4. สง่ เสริม สนับสนนุ Digital Device สาหรับผู้เรยี นทกุ ระดบั อยา่ งเหมาะสม เพอ่ื เปน็
เคร่อื งมือในการพฒั นาการเรียนรขู้ องตนเอง อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ิต
5. ส่งเสรมิ สนบั สนุน Digital Device และพัฒนา Digital Pedagogy สาหรบั ครูอย่าง
เหมาะสม เพ่ือเป็นเคร่อื งมือในการจดั กระบวนการเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาผเู้ รยี นไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
6. โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance
Learning Information Technology: DLIT)
7. โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม
ตัวช้ีวดั ความสาเร็จ

1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษามีระบบโครงข่ายสื่อสารโทรคมนาคม ที่สามารถเช่อื มตอ่
กับโครงข่ายอนิ เทอร์เนต็ ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และปลอดภัย

2. รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษามี Digital Device เพ่ือใชเ้ ป็นเครื่องมือในการเรยี นรู้ของ
ผูเ้ รยี น และเป็นเครือ่ งมือในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

กลยุทธ์ที่ 5 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและส่งเสริมการมี
สว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา

5.1) เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจดั การศึกษาของ สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา และสถานศกึ ษา

แนวทาง

1. กากบั ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพ่ือการบริหารจดั การทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ โดย
ยดึ หลกั ธรรมาภิบาล

2. สง่ เสรมิ ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เขม้ แข็ง
3. ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติสถานศึกษา ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาและองค์คณะ บคุ คลที่
มีผลงานเชงิ ประจักษ์

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 644
)

4. กาหนดให้เขตพ้ืนท่แี ละสถานศึกษา ใช้ระบบการบรหิ ารจัดการท่มี งุ่ เน้นคณุ ธรรม
และความโปร่งใสในการทางาน ตามหลกั การประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของ
หนว่ ยงานภาครฐั (ITA: Integrity & Transparency Assessment)

ตวั ชีว้ ัดความสาเร็จ

1. สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพมาตรฐานสานักงาน
เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ระดับดีมากขน้ึ ไป

2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีผลการประเมนิ ภายนอกในระดบั ดขี ึ้นไป
3. สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ผ่านการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการ
ดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั (ITA: Integrity & Transparency Assessment) ระดับสงู มาก
5.2) สรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมือ และส่งเสริมใหท้ กุ ภาคส่วนของสังคมเขา้ มามี
สว่ นร่วมบรหิ ารจดั การศึกษา
แนวทาง

1. สง่ เสริม การมีสว่ นรว่ ม จัดทาแผนบรู ณาการจัดการศึกษาในระดบั พน้ื ท่ี
2. สรา้ งความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือข่าย เช่น
เครอื ขา่ ยสง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษา ศูนยพ์ ฒั นากล่มุ สาระการเรยี นรู้กลมุ่ โรงเรยี น ฯลฯ
3. สง่ เสริมใหท้ กุ ภาคสว่ นของสงั คม มีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาแบบบรู ณาการ
ทต่ี อบสนองความต้องการของประชาชนและพน้ื ท่ี
4. สง่ เสริม สนบั สนุน ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน ใหม้ ีความรู้ ความ
เขา้ ใจ และมีสว่ นร่วมรับผิดชอบ (Accountability) ในการบรหิ ารจัดการศึกษา
ตวั ชี้วดั ความสาเร็จ
1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษา และเขตพ้ืนที่การศึกษา มีการบริหารจดั การแบบมี
ส่วนร่วม
5.3) ยกระดับการบรหิ ารงานของสถานศึกษาใหม้ อี สิ ระ นาไปสกู่ ารกระจาย
อานาจ 4 ดา้ น ให้สถานศึกษาเปน็ ศนู ยก์ ลางในการจัดการศกึ ษาตามบรบิ ทของพืน้ ที่
แนวทาง
1. ยกระดับสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นแหล่งเรยี นรู้ตลอดชวี ิต เปน็ ศูนยก์ ลางในการพฒั นา
ทักษะและคณุ ภาพชีวติ ของชุมชน
2. สรา้ งความเข้มแข็ง และยกระดับคุณภาพสถานศึกษาตามบริบทของพนื้ ท่ี เชน่
โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนนวตั กรรม โรงเรยี นรว่ มพัฒนา โรงเรียนประชารฐั โรงเรียนคณุ ธรรม โรงเรียน
หอ้ งเรยี นกีฬา ฯลฯ
3. นาผลการประกนั คุณภาพการศกึ ษา มาใชใ้ นการวางแผนการปฏบิ ัติการตรวจสอบ
ตดิ ตาม เพื่อการปรบั ปรงุ พฒั นาสถานศกึ ษา ใหม้ ีคุณภาพและเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา
4. สรา้ งมาตรฐาน และกาหนดแนวทางในการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การ
โรงเรียนขนาดเล็ก
5. ส่งเสริม สนบั สนุน ใหโ้ รงเรยี นขนาดเลก็ มรี ะบบการบรหิ ารจัดการทห่ี ลากหลาย เช่น
การบรหิ ารจัดการแบบกลุม่ โรงเรยี น การสอนแบบคละช้ัน

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 655
)

6. พจิ ารณาแต่งตงั้ ผบู้ รหิ ารที่มีศกั ยภาพในโรงเรยี นขนาดเล็ก พิจารณาค่าตอบแทนพิเศษ
และสวสั ดกิ ารอ่ืน ๆ สาหรับผู้ปฏิบตั งิ านในโรงเรยี นขนาดเล็ก

7. สถานศกึ ษามีอสิ ระในการบริหารงาน และจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาผู้เรยี นให้ได้
ตามมาตรฐานคุณภาพผู้เรียน สอดคลอ้ งกบั ความต้องการท้องถ่ิน นาไปสู่การพฒั นาทักษะชวี ติ ทกั ษะอาชีพ
ของผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็

1. มรี ปู แบบและแนวทางในการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก ให้เกดิ คุณภาพ
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน (มาตรฐานการศึกษาระดับ
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน/ปฐมวัย/ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ)
3. จานวนโรงเรียนขนาดเลก็ ลดลง
4. ร้อยละ 60 ของผ้เู รียนท่ีอยใู่ นโรงเรยี นขนาดเล็ก มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสูงขนึ้
5.4) ส่งเสริม สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษานา Digital Technology มาใชใ้ นการ
เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารอย่างเปน็ ระบบ นาไปส่กู ารนาเทคโนโลยี Big Data เพอื่ เช่ือมโยงข้อมลู
ดา้ นต่าง ๆ ตง้ั แตข่ ้อมูลผ้เู รยี น ข้อมูลครู ข้อมูลสถานศึกษา ข้อมูลงบประมาณ และขอ้ มลู อ่นื ๆ ที่
จาเปน็ มาวเิ คราะห์เพือ่ ให้สถานศึกษา สามารถจดั การเรียนรู้เพือ่ พฒั นาผ้เู รียนเปน็ รายบุคคลตาม
สมรรถนะ และความถนดั
แนวทาง
1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรพั ยากรมนุษย์ด้านการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ทส่ี ามารถเชื่อมโยง
และบูรณาการข้อมลู ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระหว่างกระทรวง หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยการเชื่อมโยง
ข้อมลู รายบุคคลท่ีเกี่ยวกับการศึกษา การพัฒนาตนเอง สุขภาพและการพัฒนาอาชีพในตลอดชว่ งชวี ิต เป็น
ฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทย ทมี่ ีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล สามารถประเมนิ จุดอ่อน
จุดแขง็ และศักยภาพบุคคลของประเทศ นาไปสู่การตัดสินใจระดับนโยบายและปฏบิ ัติ
2. พัฒนา Digital Platform ดา้ นการเรียนรผู้ ้เู รียน และบุคลากรทางการศกึ ษา
เพอื่ ให้สถานศึกษา และหนว่ ยงานในสังกดั ใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจ
3. พัฒนา Digital Platform ด้านการบริหารงาน เพอื่ สนองตอบต่อการปฏิบัติงานของ
บคุ ลากรตามภารกิจทร่ี ับผดิ ชอบ นาไปสูก่ ารพัฒนาฐานข้อมลู บุคลากร ท่ีเช่อื มโยงกันทั้งระบบ ตง้ั แตก่ าร
คดั สรร บรรจุ แตง่ ตง้ั ตลอดจนเชอ่ื มโยงถึงการพฒั นาครู เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับความกา้ วหน้าในอาชีพ
4. พฒั นา Digital Platform ระบบขอ้ มูลสารสนเทศของผูเ้ รียนเปน็ รายบคุ คล
ตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนจบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ที่สามารถเช่อื มโยงกบั หน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง นาไปส่กู ารพัฒนา
ฐานข้อมลู ประชากรดา้ นการศกึ ษาของประเทศ
5. พฒั นา Big Data เพ่ือเชอ่ื มโยง วเิ คราะหข์ ้อมลู ทุกมติ ิ นาไปสู่การวางแผนการ
จัดการเรยี นรู้ใหแ้ ก่ผ้เู รียนเป็นรายบคุ คล
ตัวชี้วัดความสาเร็จ
1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษา มรี ะบบข้อมูลสารสนเทศทส่ี ามารถใชใ้ นการ
วางแผนการจัดการศกึ ษาได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
2. รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษามีข้อมลู ผเู้ รียนรายบุคคล ทสี่ ามารถเช่อื มโยงกับข้อมูล
ตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารวเิ คราะหเ์ พอื่ วางแผนการจัดการเรียนรู้ใหผ้ เู้ รยี นได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 666
)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้กาหนดจุดเน้น ตัวช้ีวัด แนวทาง
ตามแผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 6 จดุ เน้น ดงั นี้

1. โรงเรียนสะอาด
ตัวชีว้ ดั ร้อยละ 80 ของโรงเรียนมคี วามสะอาดเปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อม
แนวทางการดาเนนิ งาน
1. โรงเรยี นปลอดขยะ
2. กจิ กรรม 5 ส.
3. กจิ กรรมตามหลักสตู รและกจิ กรรมเสริมหลกั สูตร
4. การแสวงหาความรว่ มมอื กับชุมชน
5. กิจกรรมอ่นื ๆ ทสี่ ง่ ผลให้บรรลตุ ามตัวชี้วัด

2. ครูมืออาชีพ
ตัวชี้วัด
1. ร้อยละ 80 ของครจู ัดการเรยี นรู้ท่ยี ดึ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั
2. ร้อยละ 80 ของครูตรวจสอบและประเมินความรู้ ความเข้าใจของผูเ้ รียน อยา่ งเปน็ ระบบและ

มปี ระสิทธิภาพ
3. รอ้ ยละ 100 ของครปู ระพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณของวชิ าชพี
แนวทางการดาเนนิ งาน
1. การพัฒนาครูดว้ ยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย
2. ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC)
3. การนเิ ทศภายใน โดยผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ,ศึกษานิเทศก,์ คณะกรรมการ
4. การยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

3. นักเรียนดี
ตวั ชว้ี ัด
1. ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานึกท่ีดี ไม่ขัดกับกฎหมายและ

วฒั นธรรมอันดขี องสงั คม
2. ร้อยละ 100 ของผ้เู รยี นมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างเป็น

รปู ธรรม
3. ร้อยละ 100 ของนกั เรียนมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไทยและ

แสดงออกได้อยา่ งเหมาะสมในชวี ติ ประจาวนั
แนวทางการดาเนนิ งาน
1. โรงเรยี นคณุ ธรรม
2. กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
3. กิจกรรมค่ายคุณธรรม จริยธรรม
4. กิจกรรมคา่ ยรักษ์พงไพร
5. กระบวนการจัดการเรยี นร้ตู ามหลกั สูตร
6. บวร หรอื บรม
7. คา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 677
)

4. นักเรยี นเกง่
ตวั ชว้ี ดั
1. รอ้ ยละ 100 ของนกั เรยี นมีความสามารถในการอา่ นและเขียน ได้เหมาะสมตามระดบั ชัน้
2. ร้อยละ 90 ของนักเรียนมคี วามสามารถในด้านการส่อื สารภาษาไทย ไดเ้ หมาะสมตามระดบั ชั้น
3. ร้อยละ 60 ของนกั เรียนมีความสามารถในการใชภ้ าษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร ได้เหมาะสมตาม

ระดับช้ัน
4. ร้อยละ 90 ของนักเรยี นมคี วามสามารถดา้ นการคดิ คานวณ เหมาะสมตามระดับชน้ั
5. ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย

แลกเปลยี่ นความคิดเห็น แก้ปัญหาและนาไปประยกุ ต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม
6. ร้อยละ 90 ของผ้เู รียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้อย่าง

เหมาะสม ปลอดภยั มปี ระสิทธิภาพ
7. รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ รียนมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ขนึ้
8. คา่ เฉล่ียผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียนมีพัฒนาการสูงขนึ้ รอ้ ยละ 3
9. ร้อยละ 70 ของนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ เช่น กีฬา ศิลปะ ดนตรี ทักษะทางวิชาการ

และทักษะอาชพี ได้รับการพัฒนา
10. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดี พร้อมท่ีจะศึกษาต่อในระดับช้ันที่

สูงขนึ้
แนวทางการดาเนินงาน
1. การจดั การเรยี นรูท้ ่มี คี ุณภาพ
2. การพฒั นาครภู าษาอังกฤษ
3. การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ รกั การอ่าน
4. การจัดกจิ กรรมค่ายภาษาอังกฤษ
5. การจัดกิจกรรมเสริมทกั ษะวชิ าการและทกั ษะอาชพี
6. ค่ายทักษะชวี ิต กจิ กรรมด้านกีฬา ศลิ ปะ ดนตรี
7. การศกึ ษาผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล
8. การนิเทศภายใน

5. นกั เรียนมีความสุข
ตัวชวี้ ดั
1. ร้อยละ 100 ของนกั เรยี น ยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผอู้ น่ื และมีมนุษยสมั พนั ธ์ท่ีดี
2. ร้อยละ 100 ของผูเ้ รยี น มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
3. ร้อยละ 100 ของผู้เรียน รู้และมวี ิธีการป้องกันตนเองจากการล่อลวง ขม่ เหงรงั แกและยาเสพตดิ
แนวทางการดาเนินงาน
1. กิจกรรมส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย
2. โรงเรียนสจุ รติ
3. เศรษฐกจิ พอเพยี ง

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 688
)

6. ปฐมวัย
ตวั ชีว้ ดั
- ร้อยละ 100 ของเด็กอายุ 3 - 6 ขวบ ได้รับการเตรียมความพร้อม ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม

สติปัญญา และพร้อมเข้าเรยี นในระดบั ทส่ี ูงขึ้น
แนวทางการดาเนินงาน
- การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดประสบการณ์ระดับการศึกษาปฐมวัย พัฒนาการเรียนรู้ด้าน

การทางาน สงั คม อารมณ์ จติ ใจ สติปัญญา และรา่ งกาย


ตวั ชีว้ ดั /เป้าหมาย ปงี บประมาณ 2

กลยทุ ธ์ แนวทาง

1. ส่งเสริมการจดั 1) สง่ เสริม สนับสนนุ ให้ 1.รอ้ ยละของผเู้ รียนมพี ฤติกรรมทแี่ สดงออกถ

การศึกษาเพอ่ื ความ สถานศกึ ษาปรบั ปรุงหลกั สตู ร ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหาก

มน่ั คง จัดบรรยากาศสง่ิ แวดล้อม และ 2.รอ้ ยละของผู้เรยี นมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถ
จดั กจิ กรรมการเรียนรูใ้ ห้ผู้เรยี น เปน็ พลเมอื งดีของชาติ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม
แสดงออกถงึ ความรักในสถาบัน 3. ร้อยละของสถานศึกษาปรับปรงุ หลกั สตู ร
หลักของชาติ ยดึ มัน่ การปกครอง เรียนร้ใู หผ้ ้เู รยี น แสดงออกถงึ ถงึ ความรกั ในสถ
ระบอบประชาธิปไตยอนั มี ประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ป
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ถูกต้อง เปน็ พลเมืองดีของชาติ มีคณุ ธรรม จริย
มที ศั นคติที่ดีตอ่ บ้านเมอื ง มหี ลัก

คิดทถี่ ูกต้อง เป็นพลเมืองดีของ

ชาติ และพลเมอื งโลกทด่ี ี มี

คุณธรรม จริยธรรม

2) ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้ 4. รอ้ ยละของสถานศึกษาน้อมนาพระบรมรา

สถานศึกษาน้อมนาพระบรม และหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไปพัฒ

ราโชบายของในหลวงรชั กาลท่ี 10 กาหนดไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงไปบูรณาการจดั การเรยี นรู้

เพอ่ื พัฒนาผูเ้ รียนมคี ุณลกั ษณะอนั

พึงประสงคต์ ามท่กี าหนด

2. พฒั นาสมรรถนะ 1) ปรับปรุงและพัฒนาหลักสตู ร

ผ้เู รยี นเพื่อสร้างขีด ทุกระดับการศกึ ษา

ความสามารถในการ

แขง่ ขนั และมี

ทกั ษะการเรียนร้ใู น

ศตวรรษท่ี 21

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 69

สว่ นท่ี 4
2562-2565 ของ สพป.ตรงั เขต 1

ตัวชี้วัด ขอ้ มูล ค่าเปา้ หมาย/ตัวชวี้ ัด
ฐาน (ปงี บประมาณ)
ถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยดึ ม่ันการ ปี 2561
กษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข 2562 2563 2564 2565
ถงึ การมที ศั นคตทิ ด่ี ตี ่อบา้ นเมือง มีหลกั คดิ ทถี่ ูกตอ้ ง 100
100 100 100 100

100 100 100 100 100

จดั บรรยากาศสิ่งแวดลอ้ มและจดั กิจกรรมการ 100 100 100 100 100
ถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ ม่นั การปกครองระบอบ
ประมุข มที ัศนคตทิ ่ีดตี อ่ บา้ นเมอื ง มีหลกั คดิ ที่
ยธรรม

าโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรชั กาลท่ี 10 100 100 100 100 100
ฒนาผเู้ รียนใหม้ คี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ตามที่

กลยทุ ธ์ แนวทาง ตวั

1.1 พฒั นาหลักสตู รระดับ 5.ร้อยละของสถานศึกษาพฒั นาหลักสูตรการศ

การศึกษาขนั้ พื้นฐาน ให้ ศตวรรษที่ 21 โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะผู้เร

สอดคลอ้ งกบั ทักษะการเรยี นรู้ มีทกั ษะชีวิตและทกั ษะอาชีพตามความตอ้ งการ

ในศตวรรษท่ี 21 โดยเนน้ การ รูปแบบใหม่

พฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนเป็น

รายบคุ คล มีความเปน็ เลศิ 6.ร้อยละของสถานศึกษามกี ารพฒั นาหลกั สตู ร
ทางด้านวชิ าการ มที ักษะชีวิต ผู้เรยี นและพ้ืนที่
และทักษะอาชีพตามความ

ต้องการได้ และมที ักษะชีวติ ใน

การป้องกนั ตนเองจากภยั คกุ คาม

ทกุ รูปแบบใหม่

1.2 ปรบั ปรุงหลักสตู รปฐมวัย

เพอื่ ใหเ้ ด็กไดร้ ับการพฒั นาท้ัง

4 ดา้ น สอดคล้องกับทกั ษะการ

เรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21

1.3 สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้

สถานศกึ ษาพฒั นาหลกั สูตร

สถานศึกษาและปรบั เปลี่ยนการ

จัดการเรยี นร้ใู ห้ตอบสนองตอ่

ความต้องการของผู้เรียนและ

บรบิ ทของพ้นื ที่

1.4 สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้

สถานศึกษาจดั ทาแผนการจดั

การศกึ ษาเฉพาะบคุ คลหรอื

แผนการให้บรกิ ารช่วยเหลอื

เฉพาะครอบครัว ซึ่งจัดทาขนึ้ บน

พืน้ ฐานความต้องการจาเปน็

เฉพาะของผเู้ รยี นที่มีความ

ต้องการจาเป็นพิเศษ หรอื

ความสามารถพิเศษ

แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 70

วชีว้ ดั ขอ้ มลู คา่ เปา้ หมาย/ตัวชว้ี ัด (ปีงบประมาณ)
ฐาน 2562 2563 2564 2565
ศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ให้สอดคล้องกบั ทกั ษะการเรยี นรูใ้ น ปี 2561
รยี นเป็นรายบุคคล มคี วามเปน็ เลิศทางดา้ นวชิ าการ 100 100 100 100
ร และมีทักษะในการปอ้ งกนั ตนเองจากภยั คกุ คาม 85

รสถานศกึ ษา ใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการของ 95 100 100 100 100

กลยทุ ธ์ แนวทาง

2) พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น ให้มที ักษะ 7.รอ้ ยละของผเู้ รยี นระดบั ปฐมวยั ได้รบั การ
การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 สติปัญญา มคี วามพรอ้ มในการศกึ ษาระดับ
2.1 พัฒนาผเู้ รียนระดับปฐมวยั ใหม้ ี
ความพรอ้ มดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ 8. ร้อยละของผ้เู รยี นระดับการศึกษาขั้นพน้ื
สงั คม สตปิ ญั ญา เพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ สงั คม และสติปญั ญา มีพัฒนาการท่ดี ีรอบด
ในระดับท่สี งู ขี้น 9. รอ้ ยละของผเู้ รยี นอ่านออกเขียนได้ คดิ เล

2.2 ส่งเสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาจดั
สภาพแวดล้อมเอือ้ ตอ่ การเรยี นรขู้ องเด็ก
ปฐมวยั

2.3 สง่ เสริม สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษา
จัดการเรยี นรู้รปู แบบทหี่ ลากหลาย

2.4 ส่งเสรมิ การสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ 10. รอ้ ยละของผูเ้ รยี นมที ักษะการคิดวเิ ครา
แกพ่ ่อแม่ผู้ปกครอง เก่ยี วกับการเล้ียงดู การปฏบิ ัตจิ รงิ (Active Learning)
เดก็ ปฐมวยั ที่ถูกต้องตามหลักจติ วทิ ยา
พัฒนาการ 11.รอ้ ยละของผูเ้ รียนท่มี คี ะแนนผลทดสอบ
2.5 จัดให้มีโรงเรยี นต้นแบบการจดั ร้อยละ 50
การศกึ ษาปฐมวยั พัฒนาการความ
พรอ้ ม สู่การเรยี นรศู้ ตวรรษที่ 21 12. รอ้ ยละของผเู้ รียนท่ผี า่ นการประเมนิ สม
2.6 พฒั นาผูเ้ รยี นสคู่ วามเปน็ เลิศทาง Literacy)
วิชาการ 3 ดา้ น 13. รอ้ ยละของผูเ้ รยี นท่ผี ่านการประเมินสม
วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษและสอื่ สารภาษ
2.7 พฒั นาผู้เรยี นให้มสี มรรถนะดา้ น การป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรปู แบบให
ดิจิทลั และการสื่อสารภาษาอังกฤษและ
ภาษาที่3 14. ร้อยละของสถานศกึ ษาจดั การเรียนร้ใู ห
2.8 มีความรู้ และทกั ษะในการปอ้ งกนั Learning)
ตนเองจากภัยคุกคามรปู แบบใหม่ 15. ร้อยละของสถานศึกษาจดั การเรยี นรใู้ ห
2.9 ส่งเสรมิ การจดั การเรียนรผู้ า่ น
กิจกรรมปฏบิ ัติจรงิ

2.10 ส่งเสริมการเรยี นรู้ STEM ศกึ ษา

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 71

ตัวชวี้ ดั ขอ้ มลู ค่าเปา้ หมาย/ตัวชีว้ ัด 2565
ฐาน (ปงี บประมาณ) 100
รพัฒนาร่างกาย จติ ใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คมและ ปี 2561
บทสี่ ูงข้ึน 2562 2563 2564
100
100 100 100

นฐานไดร้ ับการพัฒนารา่ งกาย จติ ใจ วินยั อารมณ์ 100 100 100 100 100
ด้าน
85 100 100 100 100
ลขเป็น และมีนสิ ัยรักการอา่ น 65 70 80 90 100

าะห์ คดิ แก้ปญั หา คิดสรา้ งสรรค์ ผา่ นกิจกรรม

บทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (O-NET) มากกวา่ 34 55 60 65 70

มรรถนะท่ีจาเปน็ ดา้ นการรเู้ รื่องการอา่ น (Reading - 80 85 90 100
- 80 85 90 95
มรรถนะท่จี าเป็นดา้ นการรู้เรอ่ื งคณติ ศาสตร์
ษาท่ี 3 ทกั ษะด้าน Digital Literacy และทักษะใน
หม่

หผ้ เู้ รยี นผ่านกิจกรรมการปฏิบัตจิ รงิ (Active 65 70 80 90 100
หผ้ เู้ รยี นในลักษณะของ STEM ศึกษา 100 100 100 100 100

กลยทุ ธ์ แนวทาง

2.11 จดั การเรียนรูบ้ นั ได้ 5 ข้นั 16.รอ้ ยละของสถานศึกษาจดั การเรยี นรตู้
2.12 จัดการเรยี นอย่างเปน็ ระบบ (IS: Independent Study)

2.13 ใหส้ ถานศกึ ษาประเมนิ 17.รอ้ ยละของผู้เรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาต

สมรรถนะ PISA ดว้ ยระบบOnline ขั้นพ้นื ฐานข้ึนไป (ระดับ 2) ตามแนวทาง
2.14 สรา้ งความเขา้ ใจแนวทาง

การประเมิน PISA แกศ่ ึกษานเิ ทศกแ์ ละ

ครผู สู้ อน

2.15 บรกิ ารเครอื่ งมือวดั และ
ประเมนิ ผลร่วมกบั นานาชาติ

2.16 ส่งเสริมจดั หลักสตู รและ
แผนการเรียนสคู่ วามเปน็ เลศิ
2.17 ส่งเสริมความสามารถพิเศษ

2.18 พัฒนาศกั ยภาพตามความถนัด

3) พฒั นาผเู้ รียนให้มที กั ษะอาชีพ 18. ร้อยละของผู้เรียน มี ID plan และ P
และทกั ษะชีวิต

3.1 สรา้ งกลไกระบบแนะแนว
ทางการศกึ ษา ส่งเสริมการเรยี นรู้

เตรียมพร้อมสูก่ ารประกอบสมั มาอาชีพ

3.2 จดั การเรยี นรู้ตามความสนใจและ 19. ร้อยละสถานศกึ ษาจดั การเรยี นรู้ แล
ถนัด อาชพี ตามความถนัด

3.3 น.ร.ทกุ คนได้รบั ประทานอาหาร
ตามหลกั โภชนาการตามเกณฑ์
มาตรฐานของกรมอนามัย

3.4 ส่งเสริมการเรียนรู้ทกุ ช่วงวยั 20. ร้อยละของผ้เู รยี นมสี ขุ ภาวะทด่ี ีทกุ ชว่

3.5 สถานศกึ ษามรี ะบบการป้องกนั 21. ร้อยละของสถานศกึ ษาทีม่ รี ะบบปอ้ ง
และแกไ้ ขปญั หาสถานศกึ ษา

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 72

ตามกระบวนการ 5 ขน้ั ตอน หรอื บนั ได 5 ข้นั ขอ้ มูล ค่าเป้าหมาย/ตวั ชี้วัด 2565
ฐาน (ปงี บประมาณ) 100
ปี 2561
2562 2563 2564
-
100 100 100

ตอนตน้ มสี มรรถนะการเรยี นรเู้ รือ่ งการอา่ นตั้งแต่ระดับ - 80 85 90 100
งการประเมนิ PISA

Portfolio เพื่อการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชพี - 100 100 100 100

ละบรรยากาศสิ่งแวดล้อมท่ีเออื้ ต่อการพัฒนาทกั ษะ - 100 100 100 100

วงวัย 85 100 100 100 100
งกันและแกไ้ ขปญั หาในสถานศึกษา 100 100 100 100 100

กลยทุ ธ์ แนวทาง ตัว

4) จดั การศกึ ษาใหบ้ รรลุ 22. ร้อยละของผู้เรียนมพี ฤตกิ รรมแสดงออก
เป้าหมายโลกเพ่อื พัฒนายงั่ ยนื และการประยุกตใ์ ช้หลักปรชั ญาของเศรษฐก
4.1 สง่ เสริม สนับสนุนใหจ้ ดั การ

เรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาผู้เรียนตามหลัก

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

4.2 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษา 23. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาเพื่อ
จดั การศกึ ษาตามเปา้ หมายโลกเพอ่ื (Global Goals for Sustainable Developmen
การพฒั นาอย่างยั่งยนื

4.3 ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ 24.รอ้ ยละของสถานศกึ ษามีการจดั สภาพแวด

สถานศึกษาและหนว่ ยงานจดั และเศรษฐกจิ เพือ่ การพฒั นาทยี่ ั่งยนื (Environ
สิ่งแวดล้อม สงั คม เศรษฐกจิ ให้
EESD

สอดคลอ้ งกับหลกั Zero waste

และมาตรฐานส่งิ แวดลอ้ ม

4.4 ส่งเสริม สนบั สนุน ให้

สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมอนรุ กั ษ์

สง่ิ แวดล้อมและประยกุ ต์ใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ตอ่ เนือ่ ง

5)พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนทม่ี ีความ 25.รอ้ ยละของผ้เู รียนทม่ี ีความต้องการจาเป

ตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ ของแต่ละระดบั

5.1 ส่งเสริม สนับสนุนและ
พฒั นาการจดั การศึกษาสาหรับ

ผเู้ รยี นที่มคี วามจาเปน็ พิเศษ ด้วย

ระบบและรปู แบบทีห่ ลากหลาย

5.2ส่งเสรมิ การจดั การศึกษา
โรงเรยี นเรยี นรวม

5.3 ปรับปรุงกระบวนการวดั และ

ประเมินผลตามสภาพจรงิ

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 73

วชีว้ ดั ขอ้ มลู ค่าเป้าหมาย/ตวั ช้ีวัด (ปีงบประมาณ)
ฐาน
กถงึ การดาเนนิ ชวี ิตที่เป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อม ปี 2561 2562 2563 2564 2565
กจิ พอเพียง 100 100 100 100
100

อให้บรรลุเปา้ หมายโลก เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยนื - 100 100 100 100
nt) 100 100 100 100 100

ดล้อมทส่ี อดคลอ้ งกบั มาตรฐานสิ่งแวดล้อม สงั คม
nmental Education Sustainable Development:

ป็นพเิ ศษ มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 80 85 90 95 100

กลยทุ ธ์ แนวทาง

5.4 จัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะการอ่าน การ 26.รอ้ ยละของผเู้ รยี นทม่ี คี วามต้องกา
เขยี น การส่อื สาร การคดิ คานวณ คิดวิเคราะห์ อาชพี ทักษะการดารงชีวิต มีคุณธรร
และการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
27.ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องกา
5.5 ส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการเรียนการ ความสามารถพิเศษ ด้านต่าง ๆ อาทิ
สอนเพอ่ื พัฒนาทกั ษะอาชพี ทกั ษะการ
ดารงชวี ิต ปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม
จติ สาธารณะและการดารงชวี ิตท่เี ป็นมิตร
กับสง่ิ แวดล้อม

5.6 ส่งเสริมการใชส้ ่ือเทคโนโลยี ฯ อยา่ ง
ถูกตอ้ ง เหมาะสม สร้างสรรค์

5.7 สง่ เสริม สนับสนนุ เทคโนโลยี ส่ือ บริการ
สิ่งอานวยความสะดวก

5.8 สง่ เสริมพฒั นาผู้เรยี นท่ีมีความต้องการ
จาเปน็ พิเศษ

5.9 ส่งเสรมิ สนบั สนุนเทคโนโลยีสารสนเทศมา
ใช้ในการจัดการเรียนการสอน

5.10 จดั ให้มรี ะบบนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม
และประเมนิ ผลเชงิ บูรณาการ

5.11 สง่ เสริม ให้มกี ารจดั ทา รวบรวม ผลิต
พัฒนาเผยแพรส่ ื่อ นวัตกรรม

5.12 สง่ เสรมิ สนับสนุนมาตรการรกั ษา
ความปลอดภัยของสถานศกึ ษา

5.13 สง่ เสริม สนบั สนนุ เครือข่ายสง่ เสรมิ
ประสิทธภิ าพและกลมุ่ สถานศกึ ษา

5.14 สง่ เสริม สนับสนนุ สถานศึกษาร่วมมอื กบั
ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรปกครองท้องถน่ิ
พัฒนาระบบดแู ลชว่ ยเหลอื น.ร.

5.15 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจดั สภาพแวดลอ้ ม
และแหล่งเรียนรใู้ ห้เอือ้ ตอ่ การจดั การศกึ ษา

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 74

ตัวช้วี ัด ข้อมูล ค่าเปา้ หมาย/ตัวชีว้ ัด (ปีงบประมาณ)
ฐาน 2562 2563 2564 2565
ารจาเปน็ พเิ ศษ ไดร้ บั การพัฒนาด้านทกั ษะ ปี 2561
รม จริยธรรม และมจี ติ สาธารณะ 80 90 100 100
70

ารจาเป็นพเิ ศษ ได้รบั การส่งเสรมิ ใหม้ ี 75 85 95 100 100
ดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี เปน็ ตน้

กลยทุ ธ์ แนวทาง

6) สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษา 28. รอ้ ยละของผเู้ รยี นที่เรยี นรผู้ ่าน Digita
นา Digital Technology 29. รอ้ ยละของสถานศึกษาที่จดั การเรยี นร
6.1 พัฒนาระบบคลงั ขอ้ มลู
องคค์ วามรู้ เพื่อใหบ้ ริการ
Digital Textbook ตามเนอื้ หา
หลกั สตู รทีก่ าหนด สอื่ วีดโี อ
และองค์ความรู้ประเภทต่าง ๆ
และใหบ้ ริการแก่ผเู้ รียนใหก้ ารพฒั นา
ตนเองอยา่ งต่อเนื่อง ตลอดชวี ติ

6.2 พฒั นา Digital Platform
เพ่อื ตอบสนองตอ่ การพฒั นาการ
เรียนรเู้ ป็นรายบุคคล

6.3 สถานศึกษาสนบั สนุน ส่งเสรมิ
ผเู้ รยี นเรยี นรผู้ ่าน Digital Platform

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 75

ตวั ชว้ี ดั ขอ้ มูล ค่าเปา้ หมาย/ตัวช้วี ัด (ปีงบประมาณ)
al Platform ฐาน 2562 2563 2564 2565
ปี 2561
100 100 100 100
-

รู้ เพือ่ ให้พัฒนาตนเองผา่ น Digital Platform - 100 100 100 100

กลยทุ ธ์ แนวทาง

3. พฒั นาผู้บริหาร ครู 1) พฒั นาผู้บริหาร ครแู ละ 30.รอ้ ยละของผบู้ ริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางกา
ครบตามความจาเป็น ในการจัดการเรยี นรอู้ ยา่ ง
และบคุ ลากรทางการ บุคลากรทางการศึกษาทกุ

ศกึ ษา ใหม้ สี มรรถนะ ประเภท

ตามมาตรฐานวิชาชีพ มี 1.1 ศึกษา วเิ คราะห์ความ

ศักยภาพ มคี ณุ ธรรม ตอ้ งการจาเป็นในการพัฒนา

จริยธรรม ตนเองของบุคลากรในสงั กดั

1.2 กาหนดกรอบ วเิ คราะห์ 31.ร้อยละของผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางกา

หลกั สตู ร จัดการเรยี นรู้ และการวดั ประเมนิ ผลอยา่ งมีคณุ

ผ้เู รยี นแตล่ ะบุคคล

1.3 สนับสนนุ บุคลากรเขา้ รบั 32. รอ้ ยละของสถานศึกษามแี ผนความตอ้ งการ

การพัฒนาตามหลักสตู รท่ี

กาหนด

1.4 สง่ เสรมิ และพัฒนา 33. รอ้ ยละสถานศึกษามีกรอบสมรรถนะครทู ีส่

บคุ ลากรรปู แบบชมุ ชนแห่ง สอดคล้องกบั บรบิ ทของพืน้ ท่ี

การเรยี นรทู้ างวิชาชพี

1.5 สง่ เสริมและพัฒนาครู 34. รอ้ ยละของสถานศึกษา มีครูอยา่ งเหมาะสม

ออกแบบการเรยี นรู้ การ

จัดการเรยี นรู้ ใหส้ อดคล้องกับ

การวัดประเมนิ ผลทเี่ นน้ ทักษะ

การคิดขนั้ สูง ผ่านกจิ กรรม

ปฏบิ ตั จิ รงิ

1.6 สง่ เสรมิ บคุ ลากรให้มี

ความรู้ด้าน Digital Literacy

Digital Pedagogy ทักษะ

ส่อื สารภาษาองั กฤษ และ

ภาษาท่ี 3

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ.2562-2565) 76

ตัวชี้วัด ข้อมูล ค่าเป้าหมาย/ตวั ช้วี ัด (ปีงบประมาณ)
ฐาน 2562 2563 2564 2565
ารศึกษาทุกประเภท มศี ักยภาพในการปฏบิ ัตงิ าน ปี 2561
งมีประสิทธิภาพ 100 100 100 100
100

ารศึกษา สามารถพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา การ 100 100 100 100 100
ณภาพในรปู แบบท่หี ลากหลาย ตามศกั ยภาพของ 95 100 100 100 100
รครูระยะ 20 ปี 90 100 100 100 100
85 100 100 100 100
สอดคล้องกับการพัฒนาในศตวรรษท่ี 21 และ

ม และพอเพยี งต่อการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น

กลยทุ ธ์ แนวทาง

1.7 พัฒนายกระดับความรู้
ภาษาองั กฤษ
1.8 สง่ เสรมิ พัฒนาครูใหม้ ี
ความรู้และทกั ษะจัดการ
เรียนรู้ใหผ้ เู้ รยี นทมี่ คี วาม
แตกตา่ ง
1.9 สง่ เสรมิ พฒั นาครใู หม้ ี
ความรู้ทักษะสร้างเคร่ืองมอื
การวดั และประเมนิ ผลทกั ษะ
การคดิ ข้ันสงู
1.10 พฒั นาครูร.ร.ขนาดเล็ก
ให้จดั การเรียนเป็นรายบคุ คล
และสอนแบบคละช้ัน
1.11 พฒั นาครจู ดั การเรยี นรู้
สาหรับผ้เู รยี นที่มีความ
ต้องการจาเปน็ พิเศษตาม
ศกั ยภาพ
1.12 พฒั นาครพู ฒั นาตนเอง
ผ่านระบบ Online
1.13 ปรบั เปล่ียนวธิ กี าร
ประเมินครู เนน้ ประเมนิ
สมรรถนะในการจดั การเรียน
การสอนโดยผลสมั ฤทธ์ิผเู้ รยี น
เป็นหลกั และประเมิน
จรรยาบรรณครทู ุก ๆ 5 ปี

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 77

ขอ้ มลู

ตวั ชี้วดั ฐาน ค่าเปา้ หมาย/ตัวชี้วัด (ปีงบประมาณ)
ปี 2561

2562 2563 2564 2565

กลยุทธ์ แนวทาง

2) นา Digital Technology 35.รอ้ ยละของสถานศึกษาและเขตพน้ื ท
มาใชใ้ นการพัฒนาผู้บรหิ าร ครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา เพอ่ื วางแผนกา
บคุ ลากรทางการศึกษา
2.1 พัฒนา Digital Platform 36.รอ้ ยละของบุคลากรในสงั กดั พฒั นา
เพอ่ื ใชพ้ ัฒนาผบู้ รหิ าร ครูและบคุ ลากร
ทางการศึกษาทกุ ประเภททั้งระบบ 37.ร้อยละของ Digital Content เกย่ี

2.2 พฒั นา Digital Platform 38.รอ้ ยละของเดก็ วัยเรียนทเี่ ข้ารบั การ
ระบบบรหิ ารจดั การผูบ้ รหิ าร
ครูและบคุ ลากรทกุ ประเภท 39.นักเรียนออกกลางคันไมเ่ กินรอ้ ยละ
ทงั้ ระบบ 40.รอ้ ยละของสถานศึกษาทีม่ รี ะบบกา
แนวท่ีมีประสทิ ธภิ าพ
2.3 พฒั นา Digital Content
ในองคค์ วามรใู้ นสาขาทขี่ าดแคลน

2.4 ส่งเสรมิ ใหบ้ คุ ลากรทุกประเภท
พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่องผ่านระบบ
Digital
Technology

4. สรา้ งโอกาสในการ 1) รว่ มมือกบั องคก์ รปกครอง

เขา้ ถงึ บรกิ าร ระดบั ท้องถิน่ เอกชน หน่วยงาน

การศึกษาทมี่ ี ท่เี กยี่ วขอ้ งวางแผนการจัดการศกึ ษา

คณุ ภาพ มีมาตรฐาน 1.1 วางแผนการจัดการศกึ ษาให้

และลดความเหลื่อม สอดคลอ้ งเหมาะสมกบั บริบทของพื้นท่ี

ลา้ ทางการศึกษา 1.2 จัดทาสามะโนประชากร

วยั เรยี น (0-6ป)ี

1.3 จัดทาแผนการรบั นักเรียน

ทกุ ระดับ

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน (พ.ศ.2562-2565) 78

ตัวชวี้ ัด ขอ้ มลู ค่าเปา้ หมาย/ตัวชี้วัด (ปีงบประมาณ)
ฐาน 2562 2563 2564 2565
ทกี่ ารศึกษามีระบบฐานข้อมลู ผบู้ ริหาร ครูและ ปี 2561
ารพัฒนาครูทงั้ ระบบ 100 100 100 100
100

าตนเองผา่ นระบบ Digital Technology - 100 100 100 100
ยวกบั องคค์ วามร้ใู นสาขาที่ขาดแคลน - 100 100 100 100

รศึกษาในแตล่ ะระดับการศึกษา 100 100 100 100 100

ะ 0.1 0.03 0.02 0.01 0.0 0.0
ารดแู ลช่วยเหลอื และคมุ้ ครองนักเรยี นและการแนะ 100 100 100 100 100

กลยทุ ธ์ แนวทาง

1.4 ตดิ ตาม ตรวจสอบเดก็ วยั เรยี นไดร้ ับบริการ 41. รอ้ ยละของสถานศึกษา
อยา่ งทั่วถงึ ครบถ้วน นามาใช้ในการวางแผนจดั ก

1.5 จัดทาฐานข้อมลู ประชากรวยั เรยี น รวบรวม 42. มีข้อมลู สารสนเทศของ
เชือ่ มโยงขอ้ มูลศึกษา วิเคราะห์ วางแผนการเรียนรู้ ระดบั

2) สรา้ งความเข้มแขง็ ในการจดั การศกึ ษาผู้เรียนท่ี
ตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ
2.1 จดั ทาระบบขอ้ มลู สารสนเทศ

2.2 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาพเิ ศษ สู่

บริการชว่ งเชอื่ มตอ่ หรือการส่งต่อในระดับเดยี วกนั

และสูงข้นึ

2.3 ส่งเสริม สนบั สนุนระบบจดั การศกึ ษาแบบเรยี น 43. ร้อยละของสถานศึกษา

รวม การศกึ ษา แบบเรียน

2.4 ตดิ ตามช่วยเหลอื การจดั การศึกษาพเิ ศษ

3) สง่ เสริม สนับสนนุ นาDigital 44. ร้อยละของสถานศึกษา

Technology เป็นเครอ่ื งมอื พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน เชือ่ มต่อกับโครงข่ายอินเทอ

3.1 ส่งเสรมิ ใหส้ ถานศึกษามโี ครงขา่ ยส่ือสาร

โทรคมนาคม

3.2 ส่งเสรมิ ใหม้ ีระบบคอมพิวเตอร์ 45. ร้อยละของสถานศึกษา

พัฒนาดา้ น Digital Technology ผู้เรยี น และเป็นเครือ่ งมือใน

3.3 ปรบั ปรงุ พฒั นาหอ้ งเรียนเป็น
หอ้ งเรียน Digital Technology

3.4 สนบั สนุน Digital Technology
แก่นกั เรยี นทุกระดับอยา่ งเหมาะสม

3.5 พฒั นา Digital Device สาหรบั ครู อย่าง
เหมาะสม

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ.2562-2565) 79

ตวั ชวี้ ดั ข้อมลู คา่ เปา้ หมาย/ตวั ชวี้ ัด (ปีงบประมาณ)
ฐาน 2562 2563 2564 2565
าท่ีมรี ะบบฐานขอ้ มูลประชากรวัยเรียนและสามารถ ปี 2561
การเรยี นรใู้ ห้แกผ่ ูเ้ รียน ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 100 100 100 100
100

งการจดั การศกึ ษาพเิ ศษ ท่เี ช่ือมโยงกบั หนว่ ยงานทกุ 85 100 100 100 100

าในสงั กดั มคี วามพร้อมทง้ั ระบบ เพ่อื สามารถจดั 85 100 100 100 100
นรวม 100 100 100 100 100

ามรี ะบบโครงขา่ ยสอ่ื สารโทรคมนาคม ทสี่ ามารถ
อร์เน็ตไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และปลอดภยั

ามี Digital Device ใช้เป็นเคร่ืองมอื ในการเรยี นรขู้ อง - 100 100 100 100
นการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

กลยทุ ธ์ แนวทาง

3.6 พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

ทางไกลผา่ นเทคโนโลยี

สารสนเทศ

3.7 พฒั นาคุณภาพการศึกษา

ดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษา

ทางไกลผา่ นดาวเทียม

5. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ 1) เพิ่มประสทิ ธิภาพในการ 46. สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาผา่ นเกณฑก์
การบริหารจดั การตาม
หลกั ธรรมาภิบาล และ บริหารจดั การ การศึกษา ระดบั ดมี ากขึ้นไป
ส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ ม
ในการจดั การศึกษา 1.1 กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ

และประเมนิ ผล เพ่อื การบรหิ าร

จดั การท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ ยึดหลกั

ธรรมาภบิ าล

1.2 สง่ เสริมระบบประกัน 47. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทม่ี ผี ลการประเม

คณุ ภาพภายในสถานศึกษาให้

เข้มแขง็

1.3 ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ

สถานศึกษา ครแู ละบุคลากร

ทางการศกึ ษาและองค์คณะ

บุคคลทม่ี ผี ลงานเชิงประจกั ษ์

1.4 กาหนดใหเ้ ขตพ้นื ท่แี ละ 48. ร้อยละของสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา

สถานศึกษาบรหิ ารจดั การ ดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ (ITA: Integ

มุง่ เนน้ คณุ ธรรมและความ

โปร่งใสในการดาเนนิ งานของ

หนว่ ยงานภาครัฐ (ITA)


Click to View FlipBook Version