The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2565 นครศรีธรรมราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 2565 นครศรีธรรมราช

รายงานประจำปี 2565 นครศรีธรรมราช

ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช เป็นหน ่วยงำนรำชกำรในสังกัดกรมส่งเสริม สหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้ำที่และภำรกิจในกำรก ำกับดูแล และแนะน ำส่งเสริมสหกรณ์/ กลุ ่มเกษตรกร และประชำชนทั ่วไปให้เข้ำใจถึงหลักกำร อุดมกำรณ์ และวิธีกำรสหกรณ์ ที ่ถูกต้อง ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช มีกำรแนะน ำส่งเสริมสหกรณ์ จ ำนวน 145 แห่งกลุ่มเกษตรกร จ ำนวน 84 แห่ง กลุ่มอำชีพ จ ำนวน 6 แห่ง ซึ่งมีกำรปฏิบัติงำนตำมแผนงำน/ โครงกำร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ งำนตำมนโยบำยส ำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ส ำเร็จลุล่วงตำม เป้ำประสงค์ที่ก ำหนด ส่งผลให้ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช ได้รับรำงวัลต่ำงๆ มำกมำย ทั้งจำกหน่วยงำนภำยนอก และกรมส่งเสริมสหกรณ์ ดังนี้ 1. รำงวัลเลิศรัฐ กำรบริหำรรำชกำรแบบมีส่วนร่วม ประเภทรำงวัลร่วมใจแก้จน ระดับดี ผลงำน “เปลี่ยนผืนนำ สู่แปลงปำล์ม สร้ำงรำยได้ สมำชิกสหกรณ์ปำล์มควนชะลิก จ ำกัด” จำก ส ำนักงำน ป.ย.ป 2. รำงวัลหน่วยงำนที่มีผลกำรปฏิบัติงำนและผลกำรใช้จ่ำยงบประมำณ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ระดับคุณภำพดีมำก อันดับที่ 1 จำกกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. รำงวัลผลกำรด ำเนินงำนดีเยี่ยม กำรบริหำรจัดกำรเงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ ประจ ำปี งบประมำณ พ.ศ. 2564 จำกกรมส่งเสริมสหกรณ์ 4. รำงวัลหน่วยงำนที่ส่งเสริมสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรท ำสวนยำงค้อม ได้รับรำงวัลสถำบัน เกษตรกรดีเด่นแห่งชำติ ประเภทกลุ่มเกษตรกรท ำสวน ประจ ำปี พ.ศ. 2565 จำกกรมส่งเสริมสหกรณ์ ทั้งนี้ รำงวัลต่ำงๆ ที่ได้รับ เกิดจำกควำมร่วมมือร่วมใจ ควำมสำมัคคีของบุคลำกรของส ำนักงำนสหกรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมรำชทุกคน กำรบูรณำกำรงำนระหว่ำงหน่วยงำนภำครัฐ ภำคเอกชน และสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร/กลุ่มอำชีพ ในจังหวัดนครศรีธรรมรำช ที่มีส่วนในกำรขับเคลื่อนงำนให้เกิดผลลัพธ์ ผลสัมฤทธิ์ เป็นที่ประจักษ์แก่ประชำชนทั่วไปทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศ จึงขอขอบคุณทุกท่ำนมำ ณ โอกำสนี้ (นำยเฉลิม นวมนิ่ม) สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช มกรำคม 2566 สารจากสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช


ท ำเนียบบุคลำกร ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช 1. ฝ่ายบริหารทั่วไป จ านวน 17 ราย 1. นางจุฑามาศ สุวรรณบูรณ์นักจัดการงานทั่วไปช านาญการ 2. นางรุจิรา ข าพล นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 3. นางสาวสุมนา นาคแก้ว นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 4. นางสาวนิรฌา เทพวารินทร์ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ 1. นางสุจารี ธาตุมาศ พนักงานพิมพ์ ส 4 2. นายประคิ่น โททอง พนักงานพิมพ์ ส 4 3. นายสมมารถ แสนเสนา พนักงานธุรการ ส 4 4. นายพยุงศักดิ์ มณีวงศ์ พนักงานขับรถยนต์ ส 2 5. นายวิมล ศรีรักษา พนักงานขับรถยนต์ ส 2 6. นายประมุกข์ ทองนอก พนักงานขับรถยนต์ ส 2 7. นายไพบูรณ์ สินภูมิ พนักงานขับรถยนต์ ส 2 8. นายจงดี คันธานุกูล พนักงานขับรถยนต์ ส 2 1. นางจุฑารัตน์ บัวศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 2. นางนิรัตน์ เกาะแก้ว เจ้าพนักงานธุรการ 3. นายธวัชชัย รักษ์รอด เจ้าพนักงานธุรการ 4. นางสาวสุภาพร พรมแก้ว เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 5. นางกฤษณา แดงขาว เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ นางสาวปรานอม จันทร์ใหม่ สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช (ระยะเวลาด ารงต าแหน่ง 3 พฤษภาคม – 5 ธันวาคม 2565) ข้าราชการ 4 ราย พนักงานราชการ 5 ราย ลูกจ้างประจ า 8 ราย นางจุฑามาศ สุวรรณบูรณ์ นักจัดการงานทั่วไปช านาญการ หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป


2. กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ จ านวน 7 ราย 1. นายชวรัตน์ มณีโลกย์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ 2. นายมนัย ขาวมานิตย์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 3. นางปัญญ์ณัฎฐ์ ศรีสัจจัง นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 4. นางสาวณัฐสิริ อุดมพฤกษา นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ 1. นางสาวสุภาภรณ์ แซ่จู้ นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางสาวอุไรวรรณ รามทัศน์ นักวิชาการสหกรณ์ 3. นางสาวธัญญาภรณ์ พรมมินทร์ นิติกร 3. กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ จ านวน 6 ราย 1. นางสาวสุภาวดี ภูมา นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ 2. นางสาววิไล ดิษสระ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 3. นางสาวนันท์นภัส แทนโป นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 4. นางสาวสุคนธ์รัตน์ คงแก้ว นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 1. นางกฤตพร คงด า เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ 2. นางรัตนะ ศรีสุวรรณ์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ 4. กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์จ านวน 6 ราย 1. นางยุพิน ยาจาติ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ 2. นางอาภรณ์ รัตนสมบูรณ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 3. นางสาวเกษราภรณ์ มลิวัลย์นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 4. นางสาวรุ่งนภา ทองสงฆ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 1. นางสาวอาภรณ์ คงศรีพุฒ นักวิชาการมาตรฐานสินค้า 2. นางสาวสุดารัตน์ สุขส าราญ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ นายชวรัตน์มณีโลกย์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ ผู้อ านวยการกลุ่มฯ ข้าราชการ 4 ราย พนักงานราชการ 3 ราย นางสาวสุภาวดี ภูมา นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ ผู้อ านวยการกลุ่มฯ ข้าราชการ 4 ราย พนักงานราชการ 2 ราย นางยุพิน ยาจาติ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ ผู้อ านวยการกลุ่มฯ พนักงานราชการ 2 ราย ข้าราชการ 4 ราย


5. กลุ่มตรวจการสหกรณ์ จ านวน 4 ราย 1. นายมานะชัย สังข์แก้ว นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ 2. นางสาวอุมาพร จันทรมาศ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 3. นางสาวนันทนิตย์ มานพ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ - นางสาวอมรทิพย์ แซ่ลิ่ม นักวิชาการสหกรณ์ 6. กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ จ านวน 37 ราย แยกเป็น กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 จ านวน 7 ราย 1. นายสุจิน วงศ์ท่าเรือ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ 2. นางสาวภัทรารวีย์ สุวรรณรัตน์นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 3. นางธัญวดี ชุมคง นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 4. นายสาธิต ฤทธิขาบ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน 1. นางศรีรัตน์ เรืองด า นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางสาวเสาวณีย์ วิทยาเวช เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ 3. นางอรอุมา ลักษณะปิยะ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 จ านวน 7 ราย 1. นางสาวปิติภรณ์ สัจจมาศ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 2. นางสาวชุติมา ด่านสถาปนาพงศ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 3. นายชมบุญ กุณฑลรัตน์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 4. นางสาวคมสัน มูสีสุทธิ์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน 5. นางประภัสสร กับปา เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน 1. นางอรุณี เมืองกาญจน์ นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางสาวจันจิรา เพ็งสง เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ นายมานะชัย สังข์แก้ว นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ ผู้อ านวยการกลุ่มฯ นายสุจิน วงศ์ท่าเรือ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ ผู้อ านวยการกลุ่มฯ ข้าราชการ 4 ราย พนักงานราชการ 3 ราย นางสาวปิติภรณ์ สัจจมาศ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ ผู้อ านวยการกลุ่มฯ ข้าราชการ 5 ราย พนักงานราชการ 2 ราย ข้าราชการ 3 ราย พนักงานราชการ 1 ราย


กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 จ านวน 5 ราย 1. นายพิเชฏฐ์ เพชรฤทธิ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 2. นางสาวดารณี พงศ์ยี่หล้า นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 3. นายสุนทร หนูคล้าย เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน 1. นางสาวจุรีรัตน์ สุวรรณ์ นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางสาววันเพ็ญ ชูวาลา เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 จ านวน 7 ราย 1. นางอรุณรัตน์ หวังดี นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 2. นางสาวจารุนีย์ สงอุปการ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 3. นางสาวศศิธร ยุชยทัต นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 1. นางสงวนศรี สุขอนันต์ นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางสาวสุภาภรณ์ จุลรัตน์ นักวิชาการสหกรณ์ 3. นางสาวปนัดดา ชะรอยนุช เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ 4. นางสาวณัฐกานต์ แก้วกระจ่าง เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 จ านวน 5 ราย 1. นางสุธิรา เชษฐวรรณสิทธิ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 2. นางสาวรัชดาภรณ์บุญวงศ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 1. นายอ านวย ลักษณะปิยะ นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางมลฤดี ยอดระบ า นักวิชาการสหกรณ์ 3. นางสาวพัสน์นันท์ แก้วพินิจ นักวิชาการสหกรณ์ นายพิเชฏฐ์เพชรฤทธิ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ ผู้อ านวยการกลุ่มฯ ข้าราชการ 3 ราย พนักงานราชการ 2 ราย นางอรุณรัตน์ หวังดี นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ ผู้อ านวยการกลุ่มฯ ข้าราชการ 3 ราย พนักงานราชการ 4 ราย นางสุธิรา เชษฐวรรณสิทธิ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ ผู้อ านวยการกลุ่มฯ ข้าราชการ 2 ราย พนักงานราชการ 3 ราย


กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 6 จ านวน 6 ราย 1. นายอดุล วรรณาการ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 2. นางสาววรินทร โยธารักษ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 3. นางสาวอ้อมใจ สมพืช นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 4. นางสาวธัญนันท์ อ าไพฤทธิ์นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ 1. นางสาววิมลวรรณ ดวงจันทร์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ 2. นางสาวศิริมา วัฒนสังข์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ 7. นิคมสหกรณ์ จ านวน 7 ราย แยกเป็น นิคมสหกรณ์ทุ่งสง จ านวน 4 ราย 1. นายปารเมศ สังขนุกิจ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส 2. นายไพศาล ไม้เรียง เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน - นางสาวดารัตน์ สมรักษ์ พนักงานพิมพ์ ส 4 - นางสาวนุชนารถ เกิดสมจิตต์ นักวิชาการสหกรณ์ นิคมสหกรณ์ปากพญา จ านวน 3 ราย 1. นางสาวรุ่งอรุณ เหลืองอุ่มพล นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 2. นางจุฑาพร เปรมวิชิต นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ - นางสาวเบ็ญจวรรณ สังข์ทอง นักวิชาการสหกรณ์ นายอดุล วรรณาการ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ ผู้อ านวยการกลุ่มฯ ข้าราชการ 4 ราย พนักงานราชการ 2 ราย นายปารเมศ สังขนุกิจ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส ผู้อ านวยการนิคมฯ ข้าราชการ 2 ราย พนักงานราชการ 1 ราย ลูกจ้างประจ า 1 ราย นางสาวรุ่งอรุณ เหลืองอุ่มพล นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ ผู้อ านวยการนิคมฯ ข้าราชการ 2 ราย พนักงานราชการ 1 ราย


ก ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช เป็นหน่วยงำนหลักในกำรส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็งสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข มีภำรกิจในกำรก ำกับ แนะน ำ ส่งเสริม เผยแพร่ ให้ควำมรู้เกี่ยวกับอุดมกำรณ์ หลักกำร และวิธีกำรสหกรณ์ ให้แก่บุคลำกรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอำชีพและประชำชนทั่วไป และพัฒนำศักยภำพของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีควำมเข้มแข็ง ท ำให้ระบบสหกรณ์สำมำรถขับเคลื่อนเศรษฐกิจในระดับชุมชน และสังคมให้ทันต่อกำรเปลี่ยนแปลง ในยุคปัจจุบัน นอกจำกนี้ได้มีกำรด ำเนินกำรตำมนโยบำยรัฐบำล นโยบำยของกรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และท ำงำนในเชิงบูรณำกำรกับหน่วยงำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อง ส ำนักงำน สหกรณ์จังหวัดก ำหนดแนวทำงในกำรขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำน โดยกำรจัดประชุมจัดท ำแผนกำร ปฏิบัติงำน ให้ควำมส ำคัญกับกำรก ำหนดเป้ำหมำย ตัวชี้วัดผลส ำเร็จของงำน ควำมสอดคล้องกับกรอบ กำรประเมินผลกำรปฏิบัติงำน และผลกำรเบิกจ่ำยงบประมำณที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ก ำหนด รวมถึง มีกำรประชุมติดตำมผลกำรปฏิบัติงำนให้บรรลุเป้ำหมำยในแต่ละแผนงำน/โครงกำร ตลอดจน ด ำเนินกำรตำมแนวทำงกำรขับเคลื่อนกำรประยุกต์ใช้ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นแนวทำงให้ สมำชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร น ำไปปรับใช้ในกำรประกอบอำชีพให้เกิดควำมกินดี อยู่ดี มีควำมมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โครงสร้ำงส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช ประกอบด้วย สหกรณ์จังหวัด นครศรีธรรมรำช ฝ่ำยบริหำรทั่วไป กลุ่มงำนวิชำกำร 4 กลุ่ม กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 6 กลุ่ม นิคมสหกรณ์ 2 นิคม มีอัตรำก ำลัง ประกอบด้วย ข้ำรำชกำร 48 คน ลูกจ้ำงประจ ำ 9 คน พนักงำนรำชกำร 31 คน จ้ำงเหมำบริกำร 15 คน รวมทั้งสิ้น 103 คน มีสถำบันเกษตรกรในกำรก ำกับดูแล จ ำนวน 235 สถำบัน ดังนี้ 1. สหกรณ์ด ำเนินกำร จ ำนวน 145 แห่ง สมำชิกรวม 204,561 คน ปริมำณธุรกิจรวม 27,794.54 ล้ำนบำท รำยได้รวม 6,201.94 ล้ำนบำท ค่ำใช้จ่ำยรวม 4,509.55 ล้ำนบำท ก ำไรสุทธิรวม จ ำนวน 1,585.61 ล้ำนบำท ผลกำรจัดชั้นสหกรณ์ชั้น 1 จ ำนวน 53 แห่ง ชั้น 2 จ ำนวน 88 แห่ง ชั้น 3 จ ำนวน 5 แห่ง ชั้น 4 จ ำนวน 49 แห่ง รวมทั้งสิ้น 195 แห่ง 2. กลุ่มเกษตรกรด ำเนินกำร จ ำนวน 84 แห่ง ระหว่ำงปี 2565 มีกลุ่มเกษตรกรจัดตั้ง ใหม่ จ ำนวน 2 แห่ง คือ กลุ่มเกษตรกรท ำสวนและแปรรูปยำงพำรำถ้ ำพรรณรำ และกลุ่มเกษตรกรท ำ สวนยำงบ้ำนห้วยลึก สมำชิกรวม 6,688 คน ปริมำณธุรกิจรวม 450.02 ล้ำนบำท รำยได้รวม 309.76 ล้ำนบำท ค่ำใช้จ่ำยรวม 294.93 ล้ำนบำท ก ำไรสุทธิรวม จ ำนวน 13.528 ล้ำนบำท ผลกำรจัดชั้นกลุ่ม เกษตรกร ชั้น 1 จ ำนวน 4 แห่ง ชั้น 2 จ ำนวน 70 แห่ง ชั้น 3 จ ำนวน 10 แห่ง ชั้น 4 จ ำนวน 48 แห่ง บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary)


ข 3. กลุ่มอำชีพในสังกัดสหกรณ์ด ำเนินกำร จ ำนวน 6 กลุ่ม สมำชิกรวม 214 คน ปริมำณ ธุรกิจรวม 1.785 ล้ำนบำท รำยได้รวม 1.735 ล้ำนบำท ค่ำใช้จ่ำยรวม 1.40 ล้ำนบำท ก ำไรสุทธิรวม 0.30 ล้ำนบำท งบประมำณที่ได้รับจัดสรรจำกกรมส่งเสริมสหกรณ์ รวมทั้งสิ้นจ ำนวน 137.99ล้ำนบำท ดังนี้ 1. เงินงบประมำณ จ ำนวน 19.51 ล้ำนบำท ประกอบด้วย - งบบุคลำกร จ ำนวน 9.69 ล้ำนบำท - งบด ำเนินงำน จ ำนวน 5.74ล้ำนบำท - งบลงทุน จ ำนวน 0.58ล้ำนบำท - งบเงินอุดหนุน จ ำนวน 3.39 ล้ำนบำท - งบรำยจ่ำยอื่น จ ำนวน 0.0013 ล้ำนบำท 2. เงินนอกงบประมำณ จ ำนวน 118.48 ล้ำนบำท ประกอบด้วย - เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ จ ำนวน 94.73 ล้ำนบำท - เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร จ ำนวน 23.75 ล้ำนบำท แผนปฏิบัติงำนและงบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ที่ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัด นครศรีธรรมรำชได้รับอนุมัติให้ด ำเนินกำร ประกอบด้วย 6 แผนงำน 2 ผลผลิต 8 กิจกรรมหลัก 7 โครงกำร สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่เกิดผลส ำเร็จเชิงประจักษ์ จำกกำรเข้ำแนะน ำ ส่งเสริม และ พัฒนำสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้มีควำมเข้มแข็งตำมศักยภำพ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 แบ่งออกเป็น 4 ด้ำน ดังนี้ 1. ด้ำนกำรส่งเสริมและพัฒนำองค์กร ได้แก่ ร้ ำนสหก รณ์โรงพยำบำลมหำรำช นครศรีธรรมรำช จ ำกัด, สหกรณ์กองทุนสวนยำงคลองรอพัฒนำ จ ำกัด, กลุ่มเกษตรกรบ้ำนแสงวิมำน ต ำบลคลองน้อย 2. ด้ำนกำรพัฒนำกำรด ำเนินธุรกิจ ได้แก่ สหกรณ์กำรเกษตรเขำน้อย จ ำกัด, กลุ่มเกษตรกรท ำสวนตลิ่งชัน 3. ด้ำนกำรก ำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ ได้แก่ สหกรณ์เคหสถำน บ้ำนมั่นคงปำกนครพัฒนำ จ ำกัด 4. ด้ำนกำรแก้ไขปัญหำกำรด ำเนินงำนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้แก่ สหกรณ์กองทุน สวนยำงบ้ำนห้ำงข้ำว จ ำกัด, สหกรณ์กำรเกษตรเขำขำว จ ำกัด ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช ด ำเนินงำนตำมโครงกำรนโยบำยส ำคัญ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ประกอบด้วย 1. งำนส่งเสริมและพัฒนำ (โครงกำรส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ.2565 และโครงกำรส่งเสริมกำรด ำเนินธุรกิจร้ำนค้ำสหกรณ์ในรูปแบบ ซูเปอร์มำร์เก็ต) 2. เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2565


ค 3. เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร และกองทุนอื่นๆ ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ กำรสนับสนุนในรอบปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 4. โครงกำรปรับโครงสร้ำงกำรผลิต กำรรวบรวม และกำรแปรรูปของสถำบันเกษตรกร รองรับผลผลิตทำงกำรเกษตร (พรก.เงินกู้) จำกกำรด ำเนินงำนที่กล่ำวมำแล้วข้ำงต้น ส่งผลให้ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัด นครศรีธรรมรำชได้รับรำงวัล และโล่ประกำศเกียรติคุณจำกหน่วยงำนภำยนอก และจำกกรมส่งเสริม สหกรณ์ ใน 4 ประเภทรำงวัล ประกอบด้วย 1. โล่ประกำศเกียรติคุณ ผลงำนรำงวัลกำรบริหำรรำชกำรแบบมีส่วนร่วม ประจ ำปี พ.ศ. 2565 ประเภทรำงวัลร่วมใจแก้จน ระดับดี ผลงำนเรื่อง “เปลี่ยนผืนนำ สู่แปลงปำล์ม สร้ำงรำยได้ สมำชิกสหกรณ์ปำล์มควนชะลิก จ ำกัด” จำกส ำนักงำน ป.ย.ป 2. โล่ประกำศเกียรติคุณให้แก่ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช “รำงวัล หน่วยงำนที่มีผลกำรปฏิบัติงำนและผลกำรใช้จ่ำยงบประมำณ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ระดับ คุณภำพดีมำก อันดับที่ 1" จำกกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. โล่ประกำศเกียรติคุณ “รางวัลการประเมินผลการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 รางวัลผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม กลุ่มจังหวัดที่การเบิกจ่าย เงินกู้ระหว่างปี จ านวน 40 สัญญา ขึ้นไป จำกกรมส่งเสริมสหกรณ์ 4. ประกำศเกียรติคุณ รำงวัลหน่วยงำนที่ส่งเสริมสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรท ำสวนยำง ค้อมได้รับรำงวัลสถำบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชำติ ประเภทกลุ่มเกษตรกรท ำสวน จำกกรมส่งเสริมสหกรณ์ นอกจำกนี้ ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช มีกำรเข้ำร่วมกิจกรรมบูรณำกำร งำนต่ำงๆ ของจังหวัดนครศรีธรรมรำช,งำนวันสหกรณ์แห่งชำติ,วันคล้ำยวันสถำปนำกรมส่งเสริมสหกรณ์ ครบรอบ 50 ปี และร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดนครศรีธรรมรำช โดยกิจกรรม ประชำสัมพันธ์ข่ำวสำรต่ำงๆ จะมีกำรเผยแพร่ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประชำชนทั่วไป ทรำบผ่ำนทำง สื่อต่ำงๆ ได้แก่ Group Line ภำยใต้ชื่อ PR COOPNAKHONSI, สถำนีวิทยุกระจำยเสียงแห่งประเทศ ไทย จังหวัดนครศรีธรรมรำช คลื่น FM 93.50 MHz., และ FM 97.00 MHz. สวท.ทุ่งสง, Website ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช, หนังสือพิมพ์สยำมรัฐ, Youtube, Facebook ส ำนักงำน สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช, ภำพข่ำวกิจกรรมและประชำสัมพันธ์โดยจัดนิทรรศกำรในพื้นที่


ง ท ำเนียบบุคลำกรส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช บทสรุปผู้บริหำร ก ส่วนที่ 1 ข้อมูลภำพรวมของหน่วยงำน 1 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ ำนำจหน้ำที่ของส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช 1.2 แนวทำงกำรขับเคลื่อนงำน/โครงกำรที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสริม สหกรณ์รวมถึงนโยบำยทิศทำงกำรพัฒนำจังหวัดในระดับพื้นที่ 2 3 1.3 โครงสร้ำงและอัตรำก ำลัง ประจ ำปี 2565 ของส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัด นครศรีธรรมรำช 13 1.4 งบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 (แยกตำมยุทธศำสตร์จัดสรรงบประมำณ) 15 1.5 สรุปข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอำชีพในสังกัดสหกรณ์ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 (ณ วันที่ 30 กันยำยน 2565) 16 ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ของกำรปฏิบัติงำน และผลกำรปฏิบัติงำน/โครงกำรภำยใต้แผนปฏิบัติงำน และงบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปีงบประมำณและงำนโครงกำรส ำคัญหรืองำนบูรณำกำร ในพื้นที่ตำมนโยบำยของกรมและกระทรวงจำกกำรใช้จ่ำยงบประมำณของหน่วยงำนใน ปีงบประมำณ พ.ศ.2565 24 2.1. ผลกำรด ำเนินงำนตำมแผนปฏิบัติงำนและงบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปี งบประมำณ พ.ศ.2565 และงบประมำณอื่นที่หน่วยงำนได้รับ - แผนงำนพื้นฐำนด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน - แผนงำนยุทธศำสตร์กำรเกษตรสร้ำงมูลค่ำ - แผนงำนยุทธศำสตร์เสริมสร้ำงพลังทำงสังคม - แผนงำนยุทธศำสตร์เพื่อสนับสนุนด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม - แผนงำนบูรณำกำรพัฒนำและส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก 2.2 ผลกำรด ำเนินงำน/โครงกำรตำมนโยบำยส ำคัญ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 2.3 รำงวัลที่หน่วยงำนได้รับจำกหน่วยงำนภำคส่วนต่ำงๆ ภำยนอก ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชำสัมพันธ์งำนสหกรณ์ฯ และสร้ำงภำพลักษณ์หรือวัฒนธรรมองค์กร ของหน่วยงำนในรอบปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ส่วนที่ 4 รำยงำนข้อมูลงบกำรเงิน (ณ วันที่ 30 กันยำยน 2565) ส่วนที่ 5 ภำคผนวก สรุปผลส ำเร็จตำมตัวชี้วัดหลัก (เชิงปริมำณและเชิงคุณภำพ) ของงำน/ โครงกำรตำมแผนปฏิบัติงำนและงบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 – 2565 ส่วนที่ 6 บรรณำนุกรม 25 29 69 79 94 96 100 109 113 119 126 136 สำรบัญ


1


2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ ำนำจหน้ำที่ของส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมรำช “เป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็งสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข” ๑. สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงสนองตอบต่อความคาดหวังของสมาชิก และประชาชนทั่วไป ๒. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทั้งด้านองค์ความรู้และธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และบูรณาการกับภาคีสนับสนุน ๓. ขับเคลื่อนระบบสหกรณ์เพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชนและสังคมอยู่เย็นเป็นสุข ๔. เสริมสร้างสมรรถนะบุคลากรสนองตอบต่อความต้องการของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และปรับตัวทันต่อการเปลี่ยนแปลง 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ ให้แก่บุคลากรสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ 5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือได้รับมอบหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ อ ำนำจหน้ำที่


3 แนวทางการขับเคลื่อนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ รวมถึงนโยบายและทิศทางการพัฒนาจังหวัดในระดับพื้นที่ แผนปฏิบัติงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2563 - 2565) ประเด็นการเกษตร แผนแม่บทย่อย : การพัฒนาระบบนิเวศการเกษตร ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 90 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 25 แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ ตัวชี้วัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 1. ตัวชี้วัดด้านการบริหาร งบประมาณและยุทธศาสตร์ 1.1) บริหารและก ากับการใช้จ่ายงบประมาณตามประเภทงบรายจ่ายและกิจกรรมหลัก รวมทั้งบริหารการเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายและเงื่อนเวลาที่กรมก าหนด ร้อยละ 100 100 1.2) บริหารงาน/โครงการ/กิจกรรมตามเงื่อนไขหรือแนวทางที่กรมก าหนดให้บรรลุ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดตามที่ก าหนดไว้ในแผนปฏิบัติงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ของแผนปฏิบัติงาน 80 100 2. ตัวชี้วัดการขับเคลื่อนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 2.1 ส่งเสริมพัฒนาเพื่อรักษาระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่อยู่ในระดับชั้น 1 สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร 51/3 53/4 2.2 ส่งเสริมพัฒนาเพื่อยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จากระดับชั้น 2 สู่ชั้น 1 สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร 92/74 88/70 2.3 ส่งเสริมพัฒนาเพื่อยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจากระดับชั้น 3 สู่ชั้น 2 หรือชั้น 1 สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร 8/8 5/10 3. ตัวชี้วัดด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3.1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองค์กร (การบริหารจัดการที่มีธรรมาภิบาล/การควบคุมภายในของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) 3.1.1) สหกรณ์ภาคการการเกษตร (ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90) 1) รักษาสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ให้อยู่ในระดับดีและดีมาก สหกรณ์ 79 75


4 ตัวชี้วัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 2) ยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ให้สูงขึ้นจากเดิมหนึ่งระดับ - ยกระดับจากระดับพอใช้ขึ้นไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ - ยกระดับจากระดับต้องปรับปรุง/ไม่มีการควบคุมภายในขึ้นไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ สหกรณ์ สหกรณ์ 14 16 8 1 3.1.2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร (ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90) 1) รักษาสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพการควบคุม ภายในให้อยู่ในระดับดีและดีมาก 2) ยกระดับสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพการควบคุม ภายในให้สูงขึ้นจากเดิมหนึ่งระดับ - ยกระดับจากระดับพอใช้ขึ้นไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ - ยกระดับจากระดับต้องปรับปรุง/ไม่มีการควบคุมภายในขึ้นไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ 27 2 13 24 1 3 3.1.3) กลุ่มเกษตรกร (ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับดีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25) 1) รักษากลุ่มเกษตรกรที่มีผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในให้อยู่ใน ระดับดีและดีมาก 2) ยกระดับกลุ่มเกษตรกรที่มีผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในให้สูงขึ้น จากเดิม - ยกระดับจากระดับพอใช้ขึ้นไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ - ยกระดับจากระดับต้องปรับปรุง/ไม่มีการควบคุมภายในขึ้นไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร 4 12 69 3 0 7 3.2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่น ามาจัดเกณฑ์มาตรฐานผ่านเกณฑ์มาตรฐาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ 3.2.1) สหกรณ์ภาคการเกษตร (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) 1) จ านวนสหกรณ์ภาคการเกษตรที่น ามาจัดเกณฑ์มาตรฐาน 2) รักษาเป้าหมายสหกรณ์ภาคการเกษตรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 3) ผลักดันให้สหกรณ์ภาคการเกษตรที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ 107 68 39 104 73 31 3.2.2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร (ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) 1) จ านวนสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่น ามาจัดเกณฑ์มาตรฐาน 2) รักษาเป้าหมายสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 3) ผลักดันให้สหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานให้ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ 42 31 11 42 30 12 3.2.3) กลุ่มเกษตรกรที่น ามาจัดเกณฑ์มาตรฐานผ่านเกณฑ์มาตรฐานกรมส่งเสริมสหกรณ์ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81) 1) จ านวนกลุ่มเกษตรกรที่น ามาจัดเกณฑ์มาตรฐาน 2) จ านวนกลุ่มเกษตรกรที่ต้องรักษาให้อยู่ในระดับได้มาตรฐาน กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร 84 66 83 63


5 ตัวชี้วัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 3) จ านวนกลุ่มเกษตรกรที่ต้องผลักดันจากระดับต่ ากว่ามาตรฐานสู่ระดับได้มาตรฐาน กลุ่มเกษตรกร 18 20 3.3) ระดับความส าเร็จของการส่งเสริมสหกรณ์เพื่อคัดเลือกเป็นสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ 1) จ านวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เป้าหมายเพื่อเสนอเข้ารับการคัดเลือกเป็นสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ โดยเลือกจากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน มาตรฐานสหกรณ์ อยู่ชั้นความเข้มแข็งในระดับ 1 (และมีเสถียรภาพทางการเงินตั้งแต่ระดับ ดีขึ้นไป) ได้รับค าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้มีความรู้ความเข้าใจหลักเกณฑ์ และวิธีการคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ 2) จ านวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตร ที่พิจารณา คัดเลือกและส่งรายชื่อเพื่อคัดเลือกเป็นสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ สหกรณ์ภาค การเกษตร สหกรณ์นอกภาค การเกษตร กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ภาค การเกษตร สหกรณ์นอกภาค การเกษตร กลุ่มเกษตรกร 2 2 2 1 1 1 1 2 1 1 2 1 3.4 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถจัดท างบการเงินและปิดบัญชีประจ าปีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี ร้อยละ 100 96.53 3.5 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ในปี 2565 สามารถด าเนินกิจการได้อย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 100 100 4. ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาธุรกิจ 4.1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการให้บริการสมาชิก (การมีส่วนร่วมของ สมาชิกในการใช้บริการด าเนินกิจกรรมร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) 4.1.1) สหกรณ์ภาคการเกษตร (สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรมร่วมกับ สหกรณ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของจ านวนสมาชิก) 1) รักษาสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรม ร่วมกับสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีสมาชิกมาใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรม ร่วมกับสหกรณ์ ร้อยละ60 – 69 3) ยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีสมาชิกมาใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรมร่วมกับ สหกรณ์ น้อยกว่าร้อยละ 60 ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ 54 19 36 51 18 32 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีสมาชิกมาใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรม ร่วมกับสหกรณ์ ร้อยละ60 – 69 3) ยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีสมาชิกมาใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรมร่วมกับ สหกรณ์ น้อยกว่าร้อยละ 60 ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น สหกรณ์ สหกรณ์ 19 36 18 32 4.1.2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร (สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรม ร่วมกับสหกรณ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของจ านวนสมาชิก) 1) รักษาสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ด าเนิน กิจกรรมร่วมกับสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 สหกรณ์ 30 30


6 ตัวชี้วัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีสมาชิกมาใช้บริการ/ด าเนิน กิจกรรมร่วมกับสหกรณ์ ร้อยละ60 – 69 3) ยกระดับสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีสมาชิกมาใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรมร่วมกับ สหกรณ์ น้อยกว่าร้อยละ 60 ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น สหกรณ์ สหกรณ์ 8 4 8 4 4.1.3) กลุ่มเกษตรกร (สมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรมร่วมกับกลุ่ม เกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจ านวนสมาชิก 1) รักษากลุ่มเกษตรกรที่มีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรมร่วมกับ กลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2) ยกระดับกลุ่มเกษตรกรที่มีสมาชิกมาใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ70 ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3) ยกระดับกลุ่มเกษตรกรที่มีสมาชิกมาใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเกษตรกร น้อยกว่าร้อยละ 60 ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร 15 10 60 14 7 57 4.2 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะการด าเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณ ธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน (ปี 2564) 4.2.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 4.2.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 4.2.3 กลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ สหกรณ์ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร 3 109 42 85 6.64 109 42 85 4.3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐานขึ้นไป (พัฒนาประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) 4.3.1) สหกรณ์ภาคการเกษตร (มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐานขึ้น ไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90) 1) รักษาสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจให้อยู่ในระดับมั่นคง ดี และมั่นคงดีมาก 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจระดับ มั่นคงตามมาตรฐานให้สูงขึ้น 3) ยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจที่อยู่ในระดับต่ า กว่ามาตรฐานให้สูงขึ้น สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ 56 14 39 35 3 6 4.3.2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร (มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐาน ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90) 1) รักษาสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจให้อยู่ในระดับ มั่นคงดี และมั่นคงดีมาก 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ ระดับมั่นคงตามมาตรฐานให้สูงขึ้น 3) ยกระดับสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจที่อยู่ใน ระดับต่ ากว่ามาตรฐานให้สูงขึ้น สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ 23 4 15 19 2 1


7 ตัวชี้วัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 4.3.3) กลุ่มเกษตรกร (มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐานขึ้นไป ไม่น้อย กว่าร้อยละ 25) 1) รักษากลุ่มเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจให้อยู่ในระดับมั่นคงดี และ มั่นคงดีมาก 2) รักษาหรือยกระดับกลุ่มเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจระดับมั่นคง ตามมาตรฐานให้สูงขึ้น 3) ยกระดับกลุ่มเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจที่อยู่ในระดับต่ ากว่า มาตรฐานให้สูงขึ้นอย่างน้อยระดับมาตรฐาน กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร 48 18 19 34 10 8 4.4 จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิก เพิ่มขึ้นจากปีก่อน (ปี 2564) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 62 (คิดเป็นจ านวนสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร) 4.4.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 109 สหกรณ์ 4.4.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 42 สหกรณ์ 4.2.3 กลุ่มเกษตรกร 85 กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร 146 123 4.5 ผลการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีก าไรประจ าปี ร้อยละ 100 87.77 5. ตัวชี้วัดด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 5.1 ร้อยละของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างช าระบัญชีขั้นตอนที่ 3-4 ยกระดับ ขึ้นสู่ขั้นตอนที่ 5 5.1.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 5.1.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 5.1.3 กลุ่มเกษตรกร ร้อยละ สหกรณ์ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร 100 18 2 23 62.79 11 1 15 5.2 ร้อยละของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้งหมดที่อยู่ระหว่างช าระบัญชีสามารถถอนชื่อได้ (ไม่รวมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในขั้นตอนที่ 6 (คดี)) 5.2.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 5.2.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 5.2.3 กลุ่มเกษตรกร ร้อยละ สหกรณ์ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร 25 40 11 52 25.24 9 2 15 5.3 ประสิทธิภาพของการบริหารงาน (การแก้ไขปัญหาในการด าเนินการ/การบริหารงาน ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) 5.3.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร (ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90) 1) รักษาสถานะภาพสหกรณ์ที่ไม่มีข้อบกพร่อง 2) ผลักดันสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องให้ได้รับการแก้ไขแล้วเสร็จสมบูรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ 96 5 96 6 5.3.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร (ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90) 1) รักษาสถานะภาพสหกรณ์ที่ไม่มีข้อบกพร่อง 2) ผลักดันสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องให้แก้ไขแล้วเสร็จสมบูรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ 40 2 40 0


8 ตัวชี้วัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 5.3.3 กลุ่มเกษตรกร (ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25) 1) รักษาสถานะภาพกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่อง 2) ผลักดันกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องให้แก้ไขแล้วเสร็จสมบูรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร 82 3 82 0 5.4 ร้อยละของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เกิดขึ้นก่อนปี พ.ศ. 2565 ไม่มีการทุจริต ร้อยละ 100 100 6. ตัวชี้วัดด้านการติดตามและสนับสนุนนโยบายที่ส าคัญ 6.1 ติดตามการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด/สิ่งก่อสร้าง ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรม ใช้ประโยชน์ร้อยละ 100 70 6.2 ติดตามงบประมาณเงินอุดหนุนที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับจากกรมให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ และกรณีเมื่อสิ้นสุดโครงการแล้วยังมีงบประมาณคงเหลือให้ด าเนินการตาม ระเบียบทางราชการ ร้อยละ 100 เมื่อ สิ้นสุดโครงการแล้ว ต้องไม่มีเงินค้าง บัญชี 100 100 6.3 ติดตามการด าเนินโครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพเกษตร (ด าเนินการ ต่อเนื่อง) ราย 14 14 6.4 ติดตามการด าเนินโครงการส่งเสริมการด าเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบ ซูปเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ สหกรณ์ 2 2 6.5 ติดตามการด าเนินงานการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ในระบบสหกรณ์และโครงการศูนย์ เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร - ส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ในระบบสหกรณ์ - โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร แปลง ศูนย์ 17 23 12 23 กิจกรรมหลัก การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (รายจ่ายเพื่อการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ) ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 1) เครื่องคอมพิวเตอร์ All in one ส าหรับงานประมวลผล 2) เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก ส าหรับงานประมวลผล 3) เครื่องพิมพ์ Multifunction เลเซอร์ หรือ LED ขาวด า 4) ชุดโปรแกรมจัดการงานส านักงาน ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย 5) ชุดโปรแกรมระบบปฏิบัติการส าหรับเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊กแบบสิทธิการใช้งานประเภทติดตั้งมาจากโรงงาน(OEM)ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้อง ตามกฎหมาย เครื่อง เครื่อง เครื่อง ชุด ชุด 4 3 2 7 7 4 3 2 7 3 กิจกรรมรองที่ 2 ออกหนังสือรับรองการท าประโยชน์ในที่ดินพื้นที่นิคมสหกรณ์ ตัวชี้วัดระดับผลสัมฤทธิ์ หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 1. สมาชิกสหกรณ์นิคมได้รับกรรมสิทธิ์ที่ดินในพื้นที่นิคมสหกรณ์เพื่อท าการเกษตรในรูปแบบ กสน.3 กสน.5 และโฉนด ราย/แปลง/ไร่/ สหกรณ์ 28/32/ 155/1 28/32/ 155/1


9 ตัวชี้วัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 2. ฐานข้อมูลสมาชิกนิคมสหกรณ์ และเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินของสมาชิก รวมทั้งผัง พื้นที่นิคมสหกรณ์และแผนที่รายแปลงมีความถูกต้องสามารถใช้ประโยชน์ได้ตาม วัตถุประสงค์ของการจัดที่ดิน ราย/แปลง/ไร่/ สหกรณ์ 1,419/ 1,474/ 18.277/ 1 1,419/ 1,474/ 18.277/ 1 แผนแม่บทย่อย : เกษตรปลอดภัย (หลัก) ตัวชี้วัด อัตราการขยายตัวของมูลค่าของสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว ร้อยละ 3 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัดระดับผลสัมฤทธิ์ หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการท าการเกษตรผสมผสานตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รวมทั้งลดการใช้สารเคมีส่งผลให้สมาชิกมีรายได้จากการท าเกษตรผสมผสานและ เกษตรทฤษฎีใหม่ สามารถประกอบอาชีพในถิ่นฐานได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน แห่ง/ราย/ร้อยละ 6/107/3 6/107/3 กิจกรรมรอง พัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดระดับผลสัมฤทธิ์ หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 1.สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ฯ ได้รับใบรับรองมาตรฐาน GAP แห่ง/ราย 7/202 7/202 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผลิตสินค้ามีคุณภาพได้มาตรฐานความปลอดภัยตรง ตามความต้องการของตลาด แห่ง/ราย 7/202 7/202 3.สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจ าหน่ายผลผลิตที่มีคุณภาพ ร้อยละ 3 3 แผนแม่บทย่อย : เกษตรแปรรูป (สนับสนุน) ตัวชี้วัด อัตราการขยายตัวของมูลค่าของสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว ร้อยละ 3 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลัก ส่งเสริมเกษตรแปรรูปในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรองพัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ตัวชี้วัดระดับผลสัมฤทธิ์ หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพในการด าเนินธุรกิจด้านการผลิต การรวบรวม การแปรรูป การบริหารจัดการและการสร้างความหลากหลายของสินค้า และคุณภาพบรรจุภัณฑ์ที่มีผลส าเร็จสอดคล้องกับเป้าหมายด้านเกษตรแปรรูป แห่ง/ร้อยละ 1/3 1/3


10 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2563- 2565) ประเด็นพลังทางสังคม แผนแม่บทย่อย : การเสริมสร้างทุนทางสังคม ตัวชี้วัด ดัชนีวัดทุนทางสังคม เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัดระดับผลสัมฤทธิ์ หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการแก้ไขปัญหาหนี้สินตามนโยบายรัฐบาล ราย 4,920 4,920 โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ กิจกรรมหลัก น าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร กิจกรรมรอง น าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร ตัวชี้วัดระดับผลสัมฤทธิ์ หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 1.ลูกหลานสมาชิกและบุคคลทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการมีอาชีพการเกษตรที่มั่นคงและมี รายได้จากการประกอบอาชีพการเกษตรที่สามารถด ารงชีพได้อย่างยั่งยืนภายใน 3 ปี ราย บาท ร้อยละ 14 12,000 3 14 68,000 158 2. สหกรณ์การเกษตรเป็นศูนย์กลางในการน าลูกหลานสมาชิกและบุคคลทั่วไปเข้ามา ประกอบอาชีพการเกษตรที่บ้านเกิดตนเอง และเป็นที่พึ่งของสมาชิกอย่างแท้จริง สหกรณ์ - 0 แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลักพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 1. กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาความเข้มแข็งตามศักยภาพ กลุ่มเกษตรกร 1 1 2. โรงเรียน/กลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริได้รับการส่งเสริม และพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ โรงเรียน/กลุ่ม ชาวบ้าน 6/1 6/1 3. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งในระดับ 1 ร้อยละ 25 0 4. กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 80 100 5. กลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 41.50


11 ตัวชี้วัดของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 1. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการตามพระราชด าริของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 60 N/A 2. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ น้อมน าแนวทางตามพระราชด าริไปใช้ ร้อยละ 85 100 ตัวชี้วัดระดับความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร (กลุ่มเกษตรกรโรงสีข้าวชุมชนต าบลป่าระก า) หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 1. กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองค์กร (การบริหารจัดการที่มี ธรรมาภิบาล/การควบคุมภายในของกลุ่มเกษตรกร) ระดับดีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ไม่มีการควบคุม ภายใน 2. กลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการให้บริการสมาชิก (การมีส่วนร่วมของสมาชิกในการใช้บริการ/ด าเนินกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเกษตรกร) ไม่น้อยกว่าร้อยละ (ของจ านวน สมาชิก) 70 42.19 3. กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ (พัฒนาประสิทธิภาพในการด าเนิน ธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร) ระดับมาตรฐานขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 มั่นคงตาม มาตรฐาน 4. ประสิทธิภาพการบริหารงาน (การแก้ไขปัญหาในการด าเนินกิจการ/การบริหารงาน ของกลุ่มเกษตรกร) กลุ่มเกษตรกรไม่มีข้อบกพร่อง หรือมีข้อบกพร่องแต่ได้รับการแก้ไข ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ไม่มี ข้อบกพร่อง 5. กลุ่มเกษตรกรมีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน กลุ่มเกษตรกร 1 1 6. การจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรอย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 100 100 7. การจัดท างบการเงินและปิดบัญชีประจ าปีของกลุ่มเกษตรกรได้ภายใน 30 วัน นับแต่ วันสิ้นปีทางบัญชี ร้อยละ 100 100 8. ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกรมีก าไรประจ าปี ร้อยละ 100 100 9. ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 เป็นต้นไป ไม่มีกรณีการทุจริตในกลุ่มเกษตรกร ที่เกิดก่อนปี 2565 ร้อยละ 100 100 10. การช าระบัญชีกลุ่มเกษตรกรสามารถถอนชื่อได้ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 0 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2563 – 2565 ) ประเด็นเศรษฐกิจฐานราก แผนแม่บทย่อย : การสร้างสภาพแวดล้อมและกลไกที่ส่งเสริมการพัฒนาเศษฐกิจฐานราก แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินท ากินตามนโยบายรัฐบาล ตัวชี้วัดแผนงานบูรณาการ ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ตัวชี้วัดระดับผลสัมฤทธิ์ หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 1. รายได้ของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 3 2. สหกรณ์มีบทบาทในการจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย การรวบรวมผลผลิต และการแปรรูป ขั้นต้นจากผลผลิตของสมาชิกสหกรณ์ สหกรณ์ ... N/A


12 โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในส าหรับสินค้าเกษตร กิจกรรมหลักพัฒนากลไกการตลาดเพื่อเพิ่มช่องทางการจ าหน่ายสินค้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัดแผนงานบูรณาการ ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการขยายตัวร้อยละ 3 ตัวชี้วัดระดับผลสัมฤทธิ์ หน่วยนับ เป้าหมาย ผลส าเร็จ 1.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการมีช่องทางการจ าหน่ายสินค้าเกษตร ร้อยละ 3 N/A 2.สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น บาท .... N/A


13 โครงสร้างของส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช โครงสร้างและกรอบอัตราก าลัง ประจ าปี 2565 ฝ่ำยบริหำรทั่วไป (นำงจุฑำมำศ สุวรรณบูรณ์) กลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ (นำยชวรัตน์ มณีโลกย์) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนำกำร บริหำรกำรจัดกำรสหกรณ์ (นำงสำวสุภำวดี ภูมำ) นิคมสหกรณ์ทุ่งสง (นำยปำรเมศ สังขนุกิจ) กลุ่มตรวจกำรสหกรณ์ (นำยมำนะชัย สังข์แก้ว) นิคมสหกรณ์ปำกพญำ (นำงสำวรุ่งอรุณ เหลืองอุ่มพล) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 (นำงสำวปิติภรณ์ สัจจมำศ) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์1 (นายสุจิน วงศ์ท่าเรือ) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 (นำยพิเชฎฐ์ เพชรฤทธิ์) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (นำงอรุณรัตน์ หวังดี) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 (นำงสุธิรำ เชษฐวรรณสิทธิ์) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 6 (นำยอดุล วรรณำกำร) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนำ ธุรกิจสหกรณ์ (นำงยุพิน ยำจำติ) สหกรณ์จังหวัด นางสาวปรานอม จันทร์ใหม่ (3 พ.ค. – 5 ธ.ค. 2565)


14 อัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช หน่วย : คน ประเภทอัตราก าลัง ชาย หญิง ต าแหน่งว่าง รวม ข้าราชการ 11 34 3 48 ลูกจ้างประจ า 7 2 - 9 พนักงานราชการ 2 29 - 31 จ้างเหมาบริการ 13 2 - 15 รวม 33 67 3 103 *** ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 47% 9% 30% 14% ข้าราชการ ลูกจ้างประจ า พนักงานราชการ จ้างเหมาบริการ รวม 103 คน


15 งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนภูมิแสดงงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ าแนกตามยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ ล้านบาท หน่วย : ล้านบาท ประเภทงบรายจ่าย ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 รวมทั้งสิ้น 21.4117 21.8796 19.51 งบบุคลากร 9.47 9.25 9.69 งบด าเนินงาน 5.64 5.62 5.74 งบลงทุน 0.75 0.2 0.58 เงินอุดหนุน 5.51 6.80 3.39 งบรายจ่ายอื่น (ถ้ามี) 0.0017 0.0096 0.0013 0 2 4 6 8 10 งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565


16 สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้อมูลสถิติของสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 จ านวนสหกรณ์และจ านวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสมาชิก จ านวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการ ด าเนินธุรกิจ (คน) ร้อยละ รวมสมาชิก ทั้งหมด (คน) สมาชิก สามัญ (คน) สมาชิก สมทบ (คน) 1. สหกรณ์การเกษตร 97 145,131 84,044 3,183 86,019 52.27 2. สหกรณ์ประมง 4 982 900 82 638 64.97 3. สหกรณ์นิคม 2 1,810 1,810 0 1,282 70.83 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 19 46,223 43,933 2,290 41,214 89.16 5. สหกรณ์ร้านค้า 2 2,481 2,481 0 2,237 90.17 6. สหกรณ์บริการ 15 1,673 1,673 0 1,335 79.80 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 6 6,261 4,255 14 4,260 68.04 รวม 145 204,561 139,096 5,569 136,985 66.97 ที่มา : ฝ่ายบริหารทั่วไป และกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช สถานะสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสหกรณ์ ทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุดด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. สหกรณ์การเกษตร 96 - 38 - 134 2. สหกรณ์ประมง 4 - - - 4 3. สหกรณ์นิคม 2 - - - 2 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 19 - 1 - 20 5. สหกรณ์ร้านค้า 2 - 5 - 7 6. สหกรณ์บริการ 15 - 2 - 17 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 6 - 1 - 7 รวม 144 - 47 - 191 หมายเหตุ : สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านปลายกานาชุมเห็ด จ ากัด เลิกระหว่างปี 2565 ที่มา : ฝ่ายบริหารทั่วไป ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช


17 ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทสหกรณ์ ปริมาณธุรกิจ ของสหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต บริการ และอื่นๆ รวมทั้งสิ้น 1. สหกรณ์การเกษตร 97 932.49 1,454.02 865.11 2,044.92 1,133.63 39.24 6,469.41 2. สหกรณ์ประมง 4 2.29 6.48 31.14 97.46 0.36 0.15 137.88 3. สหกรณ์นิคม 2 73.45 33.93 9.75 169.45 125.09 0.01 411.68 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 19 7,174.06 13,272.57 - - - - 20,446.63 5. สหกรณ์ร้านค้า 2 - - 66.80 - - - 66.80 6. สหกรณ์บริการ 15 1.90 8.15 0.58 0.01 - 1.31 11.95 7. สหกรณ์เครดิตยูเนียน 6 65.96 180.89 3.33 0 - 0.01 250.19 รวมทั้งสิ้น 145 8,250.15 14,956.04 976.71 2,311.84 1,259.08 40.72 27,794.54 ที่มา : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปิด บัญชี ไม่ได้ (แห่ง) ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (2) รายได้ (ล้านบาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้านบาท) สหกรณ์ที่มีผลก าไร สหกรณ์ที่ขาดทุน (4) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (5) ก าไร (ล้านบาท) (6) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. สหกรณ์การเกษตร 97 3,350.71 3,260.82 83 122.49 14 29.60 - 92.89 2. สหกรณ์ประมง 4 232.94 230.48 4 2.46 - 0.00 - 2.46 3. สหกรณ์นิคม 2 238.26 232.49 2 5.77 - 0.00 - 5.77 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 19 2,275.36 694.06 18 1,471.47 1 0.11 - 1,471.36 5. สหกรณ์ร้านค้า 2 65.46 62.92 2 2.42 - 0.00 - 2.42 6. สหกรณ์บริการ 15 7.01 5.42 8 1.81 4 0.22 3 1.59 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 6 32.20 23.36 5 9.14 1 0.02 - 9.12 รวมทั้งสิ้น 145 6,201.94 4,509.55 122 1,615.56 20 29.95 3 1,585.61 ที่มา : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช หมายเหตุ (ใช้ข้อมูลผลการด าเนินงานจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ได้รับการตรวจสอบบัญชีแล้วเท่านั้น) ผลรวมของ สหกรณ์ในช่อง (1) จะต้องเท่ากับผลรวมของช่อง (4) + (6)+ (ปิดบัญชีไม่ได้)


18 ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์จ าแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ ชั้น 1 สหกรณ์ ชั้น 2 สหกรณ์ ชั้น 3 สหกรณ์ ชั้น 4 รวม สหกรณ์ภาคการเกษตร 1. สหกรณ์การเกษตร 34 60 4 40 138 2. สหกรณ์นิคม 1 1 - - 2 3. สหกรณ์ประมง - 4 - - 4 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 15 4 - 1 20 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 1 4 1 1 7 6. สหกรณ์บริการ 1 14 - 2 17 7. สหกรณ์ร้านค้า 1 1 - 5 7 รวม 53 88 5 49 195 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2563 – 2565) ระดับชั้น ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 แห่ง ร้อยละ แห่ง ร้อยละ แห่ง ร้อยละ ชั้น 1 52 23.85 51 24.52 53 27.18 ชั้น 2 95 43.58 92 44.23 88 45.13 ชั้น 3 10 4.59 8 3.85 5 2.56 ชั้น 4 61 27.98 57 27.40 49 25.13 รวม 218 100 208 100 195 100 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 27.98 27.4 25.13 43.58 44.23 45.13 23.85 24.52 27.18 ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4


19 ข้อมูลสถิติของกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 จ านวนกลุ่มเกษตรกรและจ านวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จ านวนกลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) จ านวนสมาชิก จ านวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการ ด าเนินธุรกิจ (คน) ร้อยละ รวมสมาชิก ทั้งหมด (คน) สมาชิก สามัญ (คน) สมาชิก สมทบ (คน) 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 28 1,902 1,902 - 624 32.81 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 32 3,113 3,113 - 1,436 46.13 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 11 752 752 - 355 47.21 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 5 297 297 - 36 12.12 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง 6 486 486 - 337 69.34 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ) 2 138 138 - 96 69.57 รวม 84 6,688 6,688 - 2,884 43.12 ที่มา : ฝ่ายบริหารทั่วไป และกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช สถานะกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จ านวนกลุ่ม เกษตรกรทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุด ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 28 - 20 - 48 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 30 - 11 2 43 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 11 - 8 - 19 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 5 - 1 - 6 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง 6 - 1 - 7 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ) 2 - - - 2 รวม 82 - 41 2 125 ที่มา : ฝ่ายบริหารทั่วไป ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช


20 ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประเภทกลุ่มเกษตรกร ปริมาณธุรกิจ ของกลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝาก เงิน ให้เงินกู้ จัดหา สินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต บริการ และอื่นๆ รวม ทั้งสิ้น 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 28 0.11 10.27 4.57 0.07 0.25 0 15.27 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 32 0.99 7.20 20.51 169.03 218.49 0.32 416.53 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 11 0.11 3.99 0.44 0 0 0 4.54 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 5 0 0.13 0.21 0.44 0 0 0.78 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง 6 0.04 9.94 0.07 0.01 0 0.87 10.93 6. กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ (ระบุ) 2 0.07 1.59 0.08 0 0.22 0 1.96 รวมทั้งสิ้น 84 1.32 33.12 25.88 169.55 218.96 1.19 450.02 ที่มา : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประเภท กลุ่มเกษตรกร ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ 2565 ปิด บัญชี ไม่ได้ (แห่ง) ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ใน ภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวนกลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (2) รายได้ (ล้าน บาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้าน บาท) กลุ่มเกษตรกร ที่มีผลก าไร กลุ่มเกษตรกร ที่ขาดทุน (4) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (5) ก าไร (ล้าน บาท) (6) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 28 4.09 2.42 23 0.44 2 0.08 3 0.36 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 32 301.07 288.82 26 13.82 5 1.56 1 12.26 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 11 0.79 0.42 10 0.37 1 0.002 - 0.368 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 5 1.54 1.54 3 0.01 2 0.02 - -0.01 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง 6 1.50 1.04 6 0.47 - - - 0.47 6. กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ (ระบุ) 2 0.77 0.69 2 0.08 - - - 0.08 รวมทั้งสิ้น 84 309.76 294.93 70 15.19 10 1.662 4 13.528 ที่มา : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช หมายเหตุ (ใช้ข้อมูลผลการด าเนินงานจากงบการเงินของกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการตรวจสอบบัญชีแล้วเท่านั้น) ผลรวมของกลุ่มเกษตรกรในช่อง (1) จะต้องเท่ากับผลรวมของช่อง (4) + (6)+(ปิดบัญชีไม่ได้)


21 ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกรจ าแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ประเภทกลุ่มเกษตรกร กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 1 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 2 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 3 กลุ่ม เกษตรกร ชั้น 4 รวม 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 3 25 3 20 51 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน - 25 5 13 43 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - 10 - 13 23 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - 3 2 1 6 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - 6 - 1 7 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ) 1 1 - - 2 รวม 4 70 10 48 132 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและ กลุ่มเกษตรกร ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร เปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2563 – 2565) ระดับชั้น ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 แห่ง ร้อยละ แห่ง ร้อยละ แห่ง ร้อยละ ชั้น 1 2 1.16 3 1.97 4 3.03 ชั้น 2 74 42.77 75 49.34 70 53.03 ชั้น 3 10 5.78 8 5.26 10 7.58 ชั้น 4 87 50.29 66 43.42 48 36.36 รวม 173 100 152 100 132 100 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 50.29 43.42 36.36 5.78 5.26 7.58 42.77 49.34 53.03 1.16 1.97 3.03 ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4


22 ข้อมูลสถิติของกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 จ านวนกลุ่มอาชีพและจ านวนสมาชิกกลุ่มอาชีพ ประเภทกลุ่มอาชีพ จ านวน กลุ่ม อาชีพ (แห่ง) จ านวนสมาชิก จ านวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการ ด าเนินธุรกิจ (คน) ร้อยละ รวมสมาชิก ทั้งหมด (คน) สมาชิก สามัญ (คน) สมาชิก สมทบ (คน) 1. อาหารแปรรูป 2 66 - - 66 100 2. ผ้าและเครื่องแต่งกาย - - - - - 3. ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก/เครื่องประดับ 4 148 - - 148 100 4. เลี้ยงสัตว์ - - - - - - 5.บริการ - - - - - - 6. สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา - - - - - - 7. เพาะปลูก - - - - - - 8. ปัจจัยการผลิต - - - - - - รวม 6 214 - - 214 100 ที่มา : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช สถานะกลุ่ม ประเภทกลุ่มอาชีพ จ านวนกลุ่มอาชีพ (แห่ง) จ านวนกลุ่ม อาชีพทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุด ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก/ ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. อาหารแปรรูป 2 - - - 2 2. ผ้าและเครื่องแต่งกาย - - - - 3. ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก/เครื่องประดับ 4 - - - 4 4. เลี้ยงสัตว์ - - - - - 5.บริการ - - - - - 6. สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา - - - - - 7. เพาะปลูก - - - - - 8. ปัจจัยการผลิต - - - - - รวม 6 - - - 6 ที่มา : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช


23 ปริมาณธุรกิจของกลุ่มอาชีพในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทกลุ่มอาชีพ ปริมาณธุรกิจ ของกลุ่มอาชีพ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝาก เงิน ให้ เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต บริการ และอื่นๆ รวมทั้งสิ้น 1. อาหารแปรรูป 2 - - - 135,000 50,000 - 185,000 2. ผ้าและเครื่องแต่งกาย - - - - - - - - 3. ของใช้/ของตกแต่ง/ ของที่ระลึก/เครื่องประดับ 4 - - - 1,600,000 - - 1,600,000 4. เลี้ยงสัตว์ - - - - - - - - 5. บริการ - - - - - - - - 6. สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา - - - - - - - - 7. เพาะปลูก - - - - - - - - 8. ปัจจัยการผลิต - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 6 - - - 1,735,000 50,000 - 1,785,000 ที่มา : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการด าเนินงานของกลุ่มอาชีพ ประเภท กลุ่มอาชีพ ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ 2565 ปิด บัญชี ไม่ได้ (แห่ง) ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวน กลุ่ม อาชีพ (แห่ง) (2) รายได้ (ล้านบาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้านบาท) กลุ่มอาชีพ ที่มีผลก าไร กลุ่มอาชีพที่ขาดทุน (4) จ านวน กลุ่มอาชีพ (แห่ง) (5) ก าไร (ล้านบาท) (6) จ านวนกลุ่ม อาชีพ (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. อาหารแปรรูป 2 135,000 60,000 2 80,000 - - - 80,000 2. ผ้าและเครื่องแต่งกาย - - - - - - - - 3. ของใช้/ของตกแต่ง/ ของที่ระลึก/เครื่องประดับ 4 1,600,000 800,000 4 120,000 - - - 120,000 4. เลี้ยงสัตว์ - - - - - - - - - 5. บริการ - - - - - - - - - 6. สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา - - - - - - - - - 7. เพาะปลูก - - - - - - - - - 8. ปัจจัยการผลิต - - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 6 1,735,000 1,400,000 6 300,000 - - - 300,000 ที่มา : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช หมายเหตุ ผลรวมของกลุ่มอาชีพ ในช่อง (1) จะต้องเท่ากับผลรวมของช่อง (4) + (6)+(ปิดบัญชีไม่ได้)


24


25 1. ผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 และงบประมาณอื่นที่หน่วยงานได้รับ ผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม หน่วยนับ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย จ านวน ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ 1.แผนงานบุคลากรภาครัฐ ผลผลิต 1 : ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ กิจกรรมหลัก ค่าใช้จ่าย บุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริม สหกรณ์ อัตรา 31 31 100 9,689,099.04 9,689,099.04 100 2.แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต 1 : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก 1 : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและ พัฒนาสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร แห่ง 233 233 100 5,266,784.04 5,266,784.04 100 งบรายจ่ายอื่น ไร่ 115 115 100 1,289.00 1,289.00 100 กิจกรรมหลัก 2 : การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร งบลงทุน : ครุภัณฑ์ คอมพิวเตอร์ 9 เครื่อง, 14 ชุด 9 เครื่อง ,10 ชุด 19 100 273,400.00 273,400.00 100 3.แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการ : ส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลัก : พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและ พัฒนาสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด าริ กิจกรรม 6 6 100 140,300.00 140,300.00 100


26 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม หน่วยนับ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย จ านวน ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ 4.แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการ : ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก : ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : ลดดอกเบี้ย เงินกู้ให้เกษตรสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แห่ง 23 23 100 3,381,661.20 3,381,661.20 100 โครงการ : พัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ กิจกรรมหลัก 2 : น า ลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร 14 ราย 14 14 100 38,675.00 38,675.00 100 5.แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการ : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและ พัฒนาอาชีพภายใต้โครงการ จัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล พื้นที่ 3 3 100 10,700.00 10,700.00 100 โครงการ : ส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในส าหรับสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก : พัฒนากลไกการตลาดเพื่อเพิ่มช่องทางการจ าหน่ายสินค้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก : พัฒนากลไก การตลาดเพื่อเพิ่มช่อง ทางการจ าหน่ายสินค้าของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แห่ง 11 11 100 18,000.00 18,000.00 100 6.แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการ : ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : ส่งเสริมเกษตร ผสมผสานในสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร แห่ง 6 6 100 203,800.00 203,800.00 100


27 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม หน่วยนับ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย จ านวน ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ กิจกรรมรอง : พัฒนาคุณภาพ การผลิตสินค้าเกษตรของ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP แห่ง 5 5 100 331,260.00 331,260.00 100 โครงการ : พัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมเกษตรแปรรูปในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : พัฒนา ศักยภาพสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการ ผลิตแปรรูปเพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่ม แห่ง 1 1 100 151,900.00 151,900.00 100 เงินนอกงบประมาณ 1. เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ แห่ง 30 42 140 94,730,000 94,730,000 100 - ค่าบริหารจัดการ เดือน 11 11 100 100,650 79,094 78.58 - ค่าเบี้ยประชุม เดือน 6 6 100 123,200 103,110 83.69 2. เงินกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร โครงการสร้างความเข้มแข็ง ให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อ เข้าถึงแหล่งเงินทุนในการ ผลิตและการตลาด แห่ง 26 24 92 23,750,000 22,250,000 94 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ที่มา : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช


28 การจัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 1. การด าเนินการจัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : 1. ด าเนินการจัดประชุมผู้ซึ่งประสงค์จะจัดตั้งกลุ่ม 2. ด าเนินการจัดประชุมผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร 3. คณะผู้ก่อการยื่นค าขอจดทะเบียน และนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจ าจังหวัด นครศรีธรรมราชพิจารณารับจดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร 2. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินการจัดตั้งใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : 1. กลุ่มเกษตรกรท าสวนและแปรรูปยางพาราถ้ าพรรณรา จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวนยางบ้านห้วยลึก จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2565 3. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม กลุ่มเกษตรกรท าสวนและแปรรูปยางพาราถ้ าพรรณรา กลุ่มเกษตรกรท าสวนยางบ้านห้วยลึก


29 ผลส าเร็จของงานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร ร้านสหกรณ์โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช จ ากัด สาเหตุของปัญหาหรือเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา 1. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กร ขยายบริการโดยตอบสนองความต้องการของสมาชิก ทั้งด้านสินค้า บริการและสวัสดิการ 2. เพิ่มช่องทางการจ าหน่ายสินค้าให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายเพื่อสอดคล้องกับบริบทสังคม ที่เปลี่ยนแปลง 3. สร้างเครือข่ายพันธมิตรร่วมค้า เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ระบบสหกรณ์ 4. สมาชิกมีส่วนร่วมในธุรกิจของสหกรณ์ และมีความพึงพอใจในการบริการของร้านค้าสหกรณ์ 5. มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการในการเข้าไปแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ 1. ร่วมประชุมคณะกรรมการสหกรณ์เป็นประจ าทุกเดือน เพื่อให้ข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน ของสหกรณ์ให้สามารถรักษาระดับความเข้มแข็ง เพิ่มประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ มีระบบควบคุม ภายในที่ดี และไม่มีข้อบกพร่องในการบริหารงานของสหกรณ์ 2. ร่วมให้ข้อเสนอแนะในการจัดท าแผนกลยุทธ์ของสหกรณ์ 3. เข้าแนะน าและให้ข้อเสนอแนะแก่คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์เพื่อให้ได้รับการประเมิน เป็นสหกรณ์ดีเด่น ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน


30 ผลส าเร็จที่เกิดจากการเข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ 1. ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมาสหกรณ์มีการด าเนินธุรกิจ 2 ด้าน ปริมาณธุรกิจรวมทั้งสิ้น จ านวน 40,587,626.72 บาท ประกอบด้วยธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 39,028,357.56 บาท ธุรกิจผลิต เครื่องดื่มเพื่อจ าหน่ายจ านวน 1,559,269.16 บาท ผลการด าเนินงานมีก าไรสุทธิ จ านวน 1,524,822.48 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.76 ของยอดขาย ลดลงจากปีก่อน จ านวน 462,450.25 บาท 2. สมาชิกมีส่วนร่วมในธุรกิจ 1,690 คนจากสมาชิกทั้งหมด 1,704 คน คิดเป็นร้อยละ 99.17 ถึงแม้ว่าสหกรณ์มีปริมาณธุรกิจและผลการด าเนินงานจะมีก าไรที่น้อยลง เนื่องด้วยสภาพแวดล้อม ทางเศรษฐกิจส่งผลกระทบให้สหกรณ์เกิดความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ กล่าวคือ สหกรณ์ด าเนินธุรกิจ ด้านการจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย แต่ในปัจจุบันมีกลุ่มค้าปลีกขนาดใหญ่เข้ามามีบทบาทในตลาด เป็นจ านวนมาก อีกทั้งกลุ่มธุรกิจค้าปลีกดังกล่าวสามารถให้บริการและตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภคได้ครบวงจร แต่สหกรณ์ก็ยังสามารถปรับตัวได้ภายใต้สภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ด าเนิน ธุรกิจเพื่อบริการสมาชิก สมาชิกมีส่วนร่วมในธุรกิจมากกว่าปีก่อนร้อยละ 2.45 เชิงคุณภาพ สหกรณ์ได้รับการประเมินเป็นสหกรณ์ดีเด่นระดับจังหวัดและระดับภาคประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประโยชน์ที่สหกรณ์/สมาชิกได้รับจากการเข้าแนะน าส่งเสริม 1. คณะกรรมการด าเนินการเข้าใจ บทบาท หน้าที่ และสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น 2. สหกรณ์สามารถบริการสมาชิกได้ตรงกับความต้องการของสมาชิกมากขึ้น มีช่องทางในการจ าหน่าย สินค้าที่หลากหลายขึ้น ผลการด าเนินการสหกรณ์มีก าไรสุทธิประจ าปี และสามารถจ่ายเงินปันผล และเฉลี่ยคืนให้สมาชิกได้ 3. สหกรณ์ให้ความส าคัญกับสมาชิกและเอื้ออาทรต่อชุมชน โดยการจัดสรรทุนสวัสดิการ สมาชิกที่หลากหลาย เช่น ทุนสวัสดิการเยี่ยมป่วยสมาชิก ,สมาชิกคลอดบุตรใหม่ , สงเคราะห์เกี่ยวกับ ศพสมาชิก และจัดสรรทุนสาธารณประโยชน์และจัดโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน เช่น สนับสนุน การจัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุ ,สนับสนุนกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ, โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและท าดี ด้วยหัวใจ เป็นต้น ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน สภาวะการแข่งขันในธุรกิจค้าปลีกส่งผลให้รูปแบบการค้าขายของผู้ประกอบการค้าปลีกได้ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างมาก การขยายตัวอย่างรวดเร็วของห้างค้าปลีกสมัยใหม่ หรือแม้แต่ร้าน สะดวกซื้อที่จ านวนสาขามากขึ้นอย่างต่อเนื่องทุก ๆ ปี ท าให้กลุ่มลูกค้ามีช่องทางในการจับจ่ายใช้สอย มากขึ้นอันส่งผลประทบต่อสหกรณ์ร้านค้าเป็นอย่างมาก


31 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา สหกรณ์ต้องน าเสนอสินค้าและบริการ เพิ่มช่องทางเข้าถึงผู้บริโภคให้เหมาะสมกับความต้องการ ของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย การจัดโปรโมชั่น การปรับปรุงรูปแบบการจัดเรียงสินค้าภายในร้านเพื่อให้ สะดวกต่อการเลือกซื้อของผู้บริโภคตลอดจนการบริหารและควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่ายต่างๆ การจัดการสินค้า คงคลังให้มีประสิทธิภาพ แนะน าการจัดท าแผนกลยุทธ์ร่วมกับสหกรณ์ เข้าแนะน าสหกรณ์เพื่อการประเมินสู่สหกรณ์ดีเด่น คณะกรรมการสหกรณ์เข้าร่วมประชุมที่จังหวัดเพื่อคัดเลือกสหกรณ์สู่ดีเด่น


32 กลุ่มเกษตรกรบ้านแสงวิมานต าบลคลองน้อย สาเหตุของปัญหาหรือเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนากลุ่มเกษตรกร ตามนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ที่ต้องการให้กลุ่มเกษตรกรเป็นกลไกลส าคัญของการยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ของสมาชิกให้ดีขึ้น โดยมอบนโยบายให้ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราชเข้าแนะน า ส่งเสริมในการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อให้กลุ่มเกษตรกรเกิดเข้มแข็งท าหน้าที่ในการส่งเสริม อาชีพ เพื่อเพิ่มศักยภาพบทบาทหน้าที่ในการช่วยเหลือสมาชิกและเกษตรกรในพื้นที่สร้างความกินดีอยู่ดี ให้กับสมาชิกประชาชนและส่งผ่านความช่วยเหลือการสนับสนุนจากรัฐบาลไปสู่สมาชิกและเกษตรกรผ่านกลไก ของกลุ่มเกษตรกร โดยผลักดันให้กลุ่มเกษตรกรเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน พร้อมทั้ง ช่วยต่อยอดนโยบายของรัฐบาล ในการดูแลและส่งเสริมความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้แก่เกษตรกร การบริหารจัดการสินค้าเกษตร ตั้งแต่ต้นน้ า กลางน้ า และปลายน้ า โดยใช้หลักการตลาดน าการผลิต ดังนั้น ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช(กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2) จึงได้เข้าแนะน าส่งเสริม พัฒนาความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกรบ้านแสงวิมานต าบลคลองน้อย เพื่อให้เป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็งและ มีความพร้อมในการขับเคลื่อนนโยบายปรับโครงสร้างการผลิตภาคการเกษตร พัฒนาสู่การเป็นศูนย์กลาง การรับซื้อผลผลิตในชุมชน วัตถุประสงค์ของการพัฒนากลุ่มเกษตรกร 1. เพื่อแก้ไขปัญหาการพึ่งพาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนภายนอก 2. เพื่อระดมทุนจากภายใน 3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกให้เพิ่มขึ้น 4. เพื่อส่งเสริมการออมให้กับสมาชิก 5. เพื่อลดต้นทุนการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร 6. เพื่อลดค่าใช้จ่ายให้กับสมาชิก 7. เพื่อเป็นศูนย์กลางการรับซื้อผลผลิตของสมาชิกและคนในชุมชน 8. เพื่อให้มีการควบคุมภายในเพิ่มขึ้นจากเดิม 9. เพื่อให้ไม่มีข้อบกพร่อง 10. เพื่อให้มีธรรมภิบาลเกิดขึ้นในกลุ่มเกษตรกร วิธีการในการเข้าไปแก้ไขปัญหาของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1. แนะน าส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรระดมเงินฝากจากสมาชิก 2. แนะน าส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรระดมทุนเรือนหุ้นจากสมาชิก 3. แนะน าส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรรวบรวมผลผลิต (ส้มโอ) จากสมาชิก 4. แนะน าส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรส ารวจความต้องการ 5. แนะน าส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรน้อมน าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในระดับ องค์กรและระดับสมาชิก


33 ผลส าเร็จที่เกิดจากการเข้าแนะน าส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ 1. กลุ่มเกษตรกรมีเงินรับฝากจากสมาชิกเพิ่มขึ้น จ านวน 80,000 บาท 2. กลุ่มเกษตรกรมีทุนเรือนหุ้นเพิ่มขึ้นจากปีก่อนจ านวน 45,000 บาท เชิงคุณภาพ 1. กลุ่มเกษตรกรมีมีทุนหมุนเวียนในการด าเนินงานเพิ่มขึ้น 2. สมาชิกมีความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น 3. กลุ่มเกษตรกรเป็นศูนย์กลางในการรวบรวมผลผลิต (ส้มโอ) จากสมาชิกและคนในชุมชน ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/สมาชิกได้รับจากการเข้าแนะน าส่งเสริม กลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนภายในเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายของกลุ่มเกษตรกรลดลง กลุ่มเกษตรกรเป็นศูนย์กลาง ในการรวบรวมผลผลิต (ส้มโอ) ของสมาชิกและคนในชุมชน ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน - ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ คณะกรรมการด าเนินการขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกร ต้องให้ การศึกษาอบรมในเรื่องการบริหารจัดการกลุ่มแก่คณะกรรมการ - ของกลุ่มเกษตรกร สมาชิกไม่มีความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทหน้าที่ ต้องใช้ความพยายามและเวลาในการท า ความเข้าใจกับสมาชิกเป็นอย่างมากเพื่อให้เห็นถึงความส าคัญ และความจ าเป็นในการระดมทุนภายใน เพื่อลดต้นทุนให้กับสมาชิก ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา กลุ่มเกษตรกรต้องท าข้อมูลพื้นฐานของสมาชิกและต้องปรับข้อมูลของสมาชิกให้เป็นปัจจุบัน


34 สหกรณ์กองทุนสวนยางคลองรอพัฒนา จ ากัด สาเหตุของปัญหาหรือเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา สหกรณ์ผลิตยางยังไม่ได้คุณภาพ ท าให้การมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ คณะกรรมการยังไม่พึงพอใจเท่าที่ควร และมีผลการด าเนินงานในปีบัญชี 31 มีนาคม 2565 มีก าไรลดลง วัตถุประสงค์ของการพัฒนา เพื่อให้สหกรณ์ผลิตยางที่มีคุณภาพ ผ่านมาตรฐาน GMP สมาชิกของสหกรณ์ร่วมท าธุรกิจกับ สหกรณ์เพิ่มขึ้น วิธีการในการเข้าไปแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ 1. วิเคราะห์ปัญหาสาเหตุที่สหกรณ์ผลิตยางไม่ได้ราคา และคุณภาพ เพื่อน าเสนอที่ประชุม คณะกรรมการด าเนินการ 2. ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ ชี้แจงประเด็นปัญหา สาเหตุ และแนวทางเบื้องต้น ให้คณะกรรมการของสหกรณ์ร่วมกันพิจารณาและเสนอแนะเพิ่มเติมในการแก้ไขปัญหาการผลิตยาง ที่มีคุณภาพ 3. ร่วมกันจัดท าแผนการด าเนินงาน และน าแผนประจ าปีมาพิจารณาทบทวน เพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกัน ผลส าเร็จที่เกิดจากการเข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ สมาชิกมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจในปีบัญชี 31 มีนาคม 2564 คิดเป็นร้อยละ 86.70 ของ สมาชิกทั้งหมด 173 คน ส่วนในปีบัญชี 31 มีนาคม 2565 สมาชิกมีส่วนร่วมเพิ่มมากขึ้นคิดเป็นร้อยละ 87.08 ของสมาชิกทั้งหมด 178 คน เนื่องจากการผลิตยางที่มีคุณภาพของสหกรณ์ เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์มีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจดีขึ้น อยู่ในระดับ มั่นคงดีมาก 2. สหกรณ์ผ่านมาตรฐานในระดับ ดีเลิศ 3. สหกรณ์มีโรงอบยางที่ได้รับการรับรองการผ่านมาตรฐาน GMP การผลิตยางที่มีคุณภาพ ประโยชน์ที่สหกรณ์/สมาชิกได้รับจากการเข้าแนะน าส่งเสริม - สหกรณ์ 1.สหกรณ์สามารถแก้ไขปัญหาคุณภาพยางโดยการปรับปรุงคุณภาพ การผลิตให้ผ่านมาตรฐาน GMP 2.สหกรณ์ได้รับการแก้ไขปัญหายางพาราอย่างเป็นระบบ ท าให้สหกรณ์สามารถจ าหน่ายยางพารา ที่มีคุณภาพ - สมาชิก สมาชิกที่ส่งยางกับสหกรณ์ได้ผลประโยชน์ในเรื่องการจ าหน่ายยางพารา เนื่องจากมีโรงงาน ที่ผ่านมาตรฐาน GMP


35 ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน - ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ การนัดประชุมคณะกรรมการมีความคิดเห็นไม่ตรงกัน มีความขัดแย้งกันบ้าง บางส่วนไม่ แสดงความคิดเห็นอะไรให้คนอื่นทราบ - ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร คณะกรรมการบางคนไม่มีความเข้าใจในบทบาท ของตัวเอง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมกระตุ้นในทีประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เรื่องสร้างการมีส่วนร่วม ให้ความรู้ เรื่องหลักการ อุดมการณ์ แลวิธีการสหกรณ์ และบทบาทหน้าที่ของตัวเอง สร้างความเข้าใจในเรื่องสหกรณ์


36 2. ด้านการพัฒนาการด าเนินธุรกิจ สหกรณ์การเกษตรเขาน้อย จ ากัด สาเหตุของปัญหาหรือเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนาสหกรณ์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพสหกรณ์ให้ยกระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์ 2. เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดีของสหกรณ์ และเตรียมความพร้อมในการจัดตั้ง ศูนย์กลางทางการเงินของสหกรณ์ 3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์ สามารถพึ่งพาตนเองได้ ตลอดจนมีรายได้เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายลดลง วิธีการในการเข้าไปแก้ไขปัญหาของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1. การพัฒนาศักยภาพสหกรณ์ให้ยกระดับความเข้มแข็ง โดยแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ให้เพิ่ม การมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจของสมาชิก การเพิ่มเสถียรภาพทางการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐาน การควบคุมภายในที่ดี และการป้องกันการเกิดข้อบกพร่อง 2. การส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดีของสหกรณ์ และเตรียมความพร้อมในการ เป็นศูนย์กลางทางการเงินของสหกรณ์ซึ่งสหกรณ์ให้บริการด้านธุรกิจสินเชื่อและเงินรับฝากแก่สมาชิก โดยลงพื้นที่ให้บริการแก่กลุ่มสมาชิกทุกเดือนตามแผนงานที่ก าหนดไว้ 3. การพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์ สามารถพึ่งพาตนเองได้ ตลอดจนมีรายได้เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายลดลงเป็นศูนย์กลางในการรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร/ผลิตภัณฑ์จากสมาชิก ผลส าเร็จที่เกิดจากการเข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ เชิงปริมาณ 1. การพัฒนาศักยภาพสหกรณ์ให้ยกระดับความเข้มแข็ง โดยสหกรณ์มีสมาชิกเข้ามามีส่วนร่วม ในธุรกิจของสหกรณ์ สูงถึงร้อยละ 97.87 ของสมาชิกทั้งหมด 2. การส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดีของสหกรณ์ และเตรียมความพร้อม ในการเป็นศูนย์กลาง ทางการเงินของสหกรณ์ ซึ่งท าให้สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นด้านธุรกิจสินเชื่อ จ านวน 25,300,295 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.37 ส่งผลให้มีผลก าไรเฉพาะธุรกิจเพิ่มขึ้น 2,850,781.32 บาท และมีเงินรับฝาก แก่สมาชิกคงเหลือมากกว่าปีก่อน จ านวน 4,191,844.99 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.45 3. การพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์ สามารถพึ่งพาตนเองได้ ตลอดจนมีรายได้เพิ่มขึ้น จ านวน 50 ราย เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมผลผลิต/ผลิตภัณฑ์จากสมาชิก (เริ่มปีแรก) ได้แก่ ข้าวสาร สังข์หยด ไข่ไก่ และหมากแห้งมีมูลค่าทั้งสิ้น จ านวน 64,956.30 บาท


37 เชิงคุณภาพ 1. การพัฒนาศักยภาพสหกรณ์ให้ยกระดับความเข้มแข็ง โดยสหกรณ์มีประสิทธิภาพ ในการด าเนินงานท าให้มีผลการควบคุมภายใน อยู่ในระดับดี ไม่มีข้อบกพร่อง และผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดยมีคะแนนอยู่ในระดับดีเลิศ 2. การพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์สามารถพึ่งพาตนเองได้ ตลอดจนมีรายได้เพิ่มขึ้น และมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ลดปัญหาการขาดแคลนแหล่งเงินทุนหมุนเวียนทางด้านการเกษตรได้เป็นอย่างดี ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/สมาชิกได้รับจากการเข้าแนะน าส่งเสริม 1. ท าให้การพัฒนาศักยภาพสหกรณ์ให้ยกระดับความเข้มแข็งเพิ่มสูงขึ้นตามล าดับ 2. ท าให้การส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดีของสหกรณ์ และเตรียมความพร้อม ในการเป็นศูนย์กลางทางการเงินของสหกรณ์นั้นประสบความส าเร็จสูงสุดอย่างเห็นได้ชัดเจน 3. ท าให้การพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์ สามารถพึ่งพาตนเองได้ และเป็นศูนย์กลาง ในการรวบรวมผลผลิต/ผลิตภัณฑ์จากสมาชิก ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน - ด้านเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ จากการเข้าไปแนะน าส่งเสริมให้แก่คณะกรรมการเข้าใจในวัตถุประสงค์ ให้เป็นไปตามแผนพัฒนา การสหกรณ์ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2563 – 2565) นั้น เป็นเรื่องยากมาก เจ้าหน้าที่ส่งเสริมต้องมีการเตรียม ความพร้อมทั้งด้านเอกสารประกอบ ข้อมูลที่สามารถวิเคราะห์ผลเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนและมีความ เป็นไปได้ที่จะสามารถขับเคลื่อน ในทิศทางที่ดีขึ้นได้สอดคล้องและสหกรณ์ก็สามารถน าด าเนินการได้ จึงต้องอาศัยเวลาในการด าเนินการ ต้องเข้าใจและใส่ใจทุกรายละเอียดและค่อยๆแก้ไขปัญหาไปสู่ การพัฒนาทีละเรื่องจนท าให้สหกรณ์มีความเข้มแข็งเพิ่มสูงขึ้นตามล าดับ - ด้านสหกรณ์ จากการด าเนินงานแบบเดิม ๆ เมื่อมีการแนะน าส่งเสริมที่ปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการใหม่ๆ ขึ้น ท าให้แนวทางการบริหารงานปรับเปลี่ยนไปสู่ทิศทางที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ แต่ก็ต้องใช้เวลาปรับตัวเพื่อให้ บริการแก่สมาชิกอย่างเข้าถึงสมาชิกอย่างแท้จริง โดยเพิ่มแผนการบริการแก่กลุ่มสมาชิกในทุกๆเดือน มี การจัดท าปฏิทินการให้บริการแก่กลุ่มสมาชิกทั้งปี จึงท าให้สหกรณ์มีผลการด าเนินงานเพิ่มขึ้นอย่างดี เยี่ยมและสามารถเป็นที่พึ่งของมวลสมาชิกได้เป็นอย่างดียิ่ง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา จากการเข้าไปแนะน าส่งเสริมสหกรณ์การเกษตรเขาน้อย จ ากัด ได้ด าเนินการให้เป็นไปในทิศทาง ตามแผนพัฒนาการสหกรณ์ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2563 – 2565) อย่างดียิ่ง และคณะกรรมการด าเนินงาน มีความพร้อมที่จะน าแนวทางการพัฒนาสหกรณ์ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาสหกรณ์ฉบับต่อๆ ไป


38 เพื่อพัฒนาสู่องค์กรหลักทั้งด้านการบริหารจัดการที่ดี มีความเข้มแข็งและเป็นศูนย์กลางทางการเงิน เพื่อการให้บริการแก่มวลสมาชิกให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนต่อไป ร่วมประชุมคณะกรรมการสหกรณ์การเกษตรเข้าน้อย จ ากัด ร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเข้าน้อย จ ากัด ร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี 2565 สหกรณ์การเกษตรเข้าน้อย จ ากัด


39 กลุ่มเกษตรกรท าสวนตลิ่งชัน สาเหตุของปัญหาหรือเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนาสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรท าสวนตลิ่งชัน มีคณะกรรมการด าเนินการ 9 คน มีเจ้าหน้าที่บัญชี 1 คน และมีลูกจ้างชั่วคราวจ านวน 7 คนซึ่งการจ้างงานของกลุ่มฯ มีการจ้างงานคนในพื้นที่ทั้งหมด เพื่อส่งเสริมให้ คนในพื้นที่มีงานท ากลุ่มฯ มีสมาชิก จ านวน 105 คน สิ้นปีบัญชี 31 มีนาคม 2565 กลุ่มฯ มีทุนด าเนินงาน ทั้งสิ้น จ านวน 9,508,009.30 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน จ านวน 680,307.93 บาท กลุ่มฯ ด าเนินธุรกิจ หลักคือ รวบรวมน้ ายางพาราสดจากสมาชิกและน ามาแปรรูปเป็นยางแผ่นรมควัน ในปี 2565 กลุ่มฯ สามารถรวบรวมน้ ายางพาราสดจากสมาชิกได้เป็นเงิน 28,279,040 บาท และสามารถแปรรูปเป็นยาง แผ่นรมควันได้ 602,948.14 กิโลกรัม และขายได้เป็นเงิน 34,434,545 บาท เป็นยางแผ่นรมควัน 616,287.32 กิโลกรัม สิ้นปีบัญชี 31 มีนาคม2565 กลุ่มฯ มีก าไรสุทธิ1,785,906.10 บาท ซึ่งเมื่อพิจารณาจากราคา ยางในตลาดที่มีความผันผวน การด าเนินงานของกลุ่มฯ ที่มีขีดจ ากัดต่างๆ ในสภาวะราคายางตกต่ า แต่กลุ่มฯ สามารถบริหารจัดการได้อย่างดีมาก จนท าให้กลุ่มฯ มีก าไรสุทธิ จ านวน 1,785,906.10 บาท คิดเป็น ร้อยละ 5.01 ของยอดขายทั้งหมด นอกจากนี้กลุ่มฯ ยังด าเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย โดยการน าปุ๋ยจาก กทย. มาจัดจ าหน่ายให้กับสมาชิกท าให้กลุ่มฯ มีก าไรเฉพาะธุรกิจนี้ 25,000 บาท วัตถุประสงค์ของการพัฒนาสหกรณ์ 1. เพื่อรักษามาตรฐานของกลุ่มฯ 2.รักษาชั้นกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในระดับชั้น 1 3. กลุ่มเกษตรกรได้รับการต่อยอด/ยกระดับ กลุ่มเกษตรกรดีเด่น วิธีการในการเข้าไปแก้ไขปัญหาของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1. แนะน าส่งเสริมให้กลุ่มฯ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดยได้รับความร่วมมือจากคณะกรรมการ ของกลุ่มฯ ท าให้กลุ่มผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. การจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ มี4 ด้าน แต่ละด้านคะแนนเต็ม 4 ด้านที่1 ความสามารถในการให้บริการสมาชิก ดูถึงการมีส่วนร่วมของสมาชิก ได้ 4 คะแนน ด้านที่2 ประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ ดูถึงเสถียรภาพทางการเงินของกลุ่มฯ ซึ่งส านักงานตรวจบัญชีเป็นผู้ประเมิน ได้คะแนน 3 คะแนน ด้านที่3 ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร ดูถึงการควบคุมภายใน สหกรณ์อยู่ในระดับดี ได้3 คะแนน ด้านที่ 4 ประสิทธิภาพของการบริหารงาน ดูถึงข้อบกพร่อง สหกรณ์ไม่มีข้อบกพร่อง ไม่มีการทุจริต ได้4 คะแนน 3. กลุ่มฯ ได้รับการต่อยอดเพื่อยกระดับเป็นกลุ่มดีเด่น ประเภทท าสวน โดยได้รับการคัดเลือกให้ เป็นกลุ่มเกษตรดีเด่นระดับจังหวัด ประเภทท าสวน ในปี 2565 และก าลังเข้าสู่การคัดเลือกระดับภาคต่อไป


Click to View FlipBook Version