40 ผลส าเร็จที่เกิดจากการเข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ เชิงปริมาณ สิ้นปีบัญชี 31 มีนาคม 2565 กลุ่มฯ มีก าไรสุทธิ จ านวน 1,785,906.10 บาท กลุ่มฯ ปันผล ให้กับสมาชิกร้อยละ 10 ของทุนเรือนหุ้น เชิงคุณภาพ 1. ในปีพ.ศ. 2565 กลุ่มฯ ได้รับคัดเลือกเป็นสมาชิกผู้ขายยางแผ่นรมควันดีเด่น จากส านักงาน ตลาดกลางยางพาราจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. กลุ่มฯ เป็นกลุ่มเดียว ในกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์6 ที่สามารถรักษาชั้นกลุ่มเกษตรกรให้อยู่ใน ระดับชั้น 1 3. กลุ่มฯ มีการด าเนินงานผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 4. กลุ่มฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ประเมินโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ได้ระดับดี 5. กลุ่มฯ มีที่ดินและอาคารส านักงานเป็นกรรมสิทธิ์ของกลุ่มฯ เอง โดยในปีนี้กลุ่มฯ ได้ซื้อที่ดิน เพิ่มเพื่อปรับปรุงทางเข้าส านักงานให้สามารถเข้า-ออก ได้สะดวกขึ้น โดยใช้ทุนภายในของกลุ่มฯ ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/สมาชิกได้รับจากการเข้าแนะน าส่งเสริม 1. ท าให้ผลการด าเนินงานของกลุ่มฯ เป็นไปตามแผนงานของกลุ่มฯ ที่ได้ก าหนดไว้ 2. การด าเนินงานของกลุ่มฯ ปฏิบัติตาม พรบ.สหกรณ์ระเบียบ ข้อบังคับ กลุ่มฯ ไม่มีข้อบกพร่อง 3. กลุ่มฯ ด าเนินงานโดยคณะกรรมการด าเนินการ จ านวน 9คน โดยคณะกรรมการได้รับการเลือกตั้ง จากที่ประชุมใหญ่ มีการแบ่งแยกอ านาจของคณะกรรมการในการด าเนินงาน และสามารถตรวจสอบ การด าเนินต่างๆ ได้ กลุ่มฯด าเนินงานตามหลักการสหกรณ์ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน 1. ด้านคณะกรรมการด าเนินการ กลุ่มฯ มีคณะกรรมการที่มีอายุมากกว่า 60 ปี การติดต่อผ่าน แอปพลิเคชั่นไลน์ ไม่สามารถท าได้ท าให้เกิดปัญหาในการติดต่อประสานงาน เกิดความล่าช้า ประกอบ ทั้งคณะกรรมการไม่สะดวกในการเดินทางไปเข้าร่วมประชุม 2. ด้านเทคโนโลยี เนื่องด้วยคณะกรรมการมีอายุมากกว่า 60 ปี การน าเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ ท าได้ยาก ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา กลุ่มฯ ควรเลือกตั้งคณะกรรมการซึ่งเป็นคนรุ่นใหม่ๆ เข้ามาทดแทนคณะกรรมการเดิม เพื่อให้กลุ่มฯ มีการพัฒนา น าเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ โดยการท างานของคณะกรรมการรุ่นใหม่และ คณะกรรมการเดิมจะท าให้เกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ร่วมกัน เพราะคนรุ่นใหม่จะเป็นผู้น าทางความคิดสิ่งใหม่ๆ โดยมีคณะกรรมการเดิมซึ่งผู้มีประสบการณ์ช่วยเพิ่มเติมท าให้เกิดการพัฒนาต่อยอดได้
41 การแปรรูปยางพารา ยางแผ่นรมควัน การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี
42 3. ด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงปากนครพัฒนา จ ากัด สาเหตุของปัญหาหรือเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนาสหกรณ์ สหกรณ์ด าเนินธุรกิจในเรื่องการจัดหาที่อยู่อาศัยให้กับสมาชิก โดยรับเงินอุดหนุนและ เงินสินเชื่อเพื่อจัดซื้อที่ดินและสร้างที่อยู่อาศัยให้กับสมาชิกจากสถาบันพัฒนาองค์ชุมชน (พอช.) สหกรณ์ท าบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน และไม่สามารถปิดบัญชีได้ เอกสารทางด้านบัญชีไม่ครบถ้วน เช่น หลักฐานการรับเงินจากสมาชิก หลักฐานการจ่ายเงิน วิธีการในการเข้าไปแก้ไขปัญหาของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1. ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ออกค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ แต่งตั้ง ผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. ผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าตรวจสอบโดยรวบรวมเอกสารหลักฐานที่มี ได้แก่เอกสารการรับเงิน - จ่ายเงิน จากสมาชิกและ พอช. 3. ผู้ตรววจการสหกรณ์ท าการเงินยันยอดเงินออมหุ้นเงินรับฝากและเงินสมทบของสมาชิก 4. รองนายทะเบียนสหกรณ์ได้เรียกผู้ที่เกี่ยวข้องมาชี้แจงข้อเท็จจริง 5. รองนายทะเบียนสหกรณ์ออกค าสั่งให้สหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง 6. คณะกรรมการประชุมรับทราบค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และสหกรณ์รายงานผลการ แก้ไขข้อบกพร่อง โดยมีมติร้องทุกข์กล่าวโทษผู้ที่กระท าการให้สหกรณ์เสียหาย 7. สหกรณ์ได้ด าเนินการร้องทุกข์แล้วและมีค าพิพากษาเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2565 ผลส าเร็จที่เกิดจากการเข้าแนะน าส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ สหกรณ์ทราบยอดเงินสดขาดบัญชี จ านวน 856,195 บาท เชิงคุณภาพ สหกรณ์มีความรู้ความเข้าใจในการด าเนินงานของสหกรณ์มากยิ่งขึ้น สหกรณ์ได้ด าเนินการ แก้ไขข้อบกพร่องโดยได้ด าเนินการร้องทุกข์ผู้ที่ท าให้สหกรณ์เสียหาย ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/สมาชิกได้รับจากการเข้าแนะน าส่งเสริม สมาชิกบางส่วนมีความรู้ความเข้าใจในระบบสหกรณ์มากยิ่งขึ้น ลดการเกิดข้อบกพร่องที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต และสมาชิกสหกรณ์เข้าใจภารกิจของหน่วยงานที่เข้าไปแนะน าส่งเสริม
43 ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ขาดความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการเข้าตรวจการสหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคง รายละเอียดในการตรวจสอบมาก ต้องใช้เวลาในการตรวจสอบค่อนข้างนาน ช่วงเวลาของผู้ตรวจการแต่ ละคนไม่ตรงกัน - สหกรณ์ สมาชิกบางส่วนไม่เข้าใจระบบสหกรณ์สมาชิกขาดความร่วมมือ ความเสียสละ สามัคคี มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าไปส่งเสริมหลายหน่วยงาน การแนะน าส่งเสริมไม่ไปในทิศทางเดียวกัน สหกรณ์ไม่มีเจ้าหน้าที่ประจ า ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สหกรณ์ไม่สามารถปิดบัญชีได้ รวม 5 ปีบัญชี (ปี 2562, 2563, 2564, 2565) แนวทางใน การแก้ไขผลักให้สหกรณ์เข้าร่วมโครงการสร้างความเข้มแข็งการจัดท าบัญชีและงบการเงินของสหกรณ์ เคหสถานบ้านมั่นคงของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. สร้างเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์อบรมให้ความรู้ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) เครือข่าย ส่วนท้องถิ่น (อบต.) 3. เสนอแผนในการของบประมาณสนับสนุนในการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี ส าหรับสหกรณ์ จัดตั้งใหม่ซึ่งยังไม่มีรายได้เพียงพอส าหรับการจัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี
44 4. ด้านการแก้ไขปัญหาการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านห้างข้าว จ ากัด สาเหตุของปัญหาหรือเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนาสหกรณ์ สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านห้างข้าว จ ากัด ประสบปัญหาด าเนินธุรกิจขาดทุนมาเป็นเวลา 3 ปี ติดต่อกัน ตั้งแต่ปีบัญชี 31 มีนาคม 2562 – 31 มีนาคม 2564 ส่งผลให้สมาชิกขาดความเชื่อมั่นศรัทธา สหกรณ์ และร่วมท าธุรกิจกับสหกรณ์น้อย วัตถุประสงค์ของการพัฒนา เพื่อให้สหกรณ์ด าเนินงานมีผลก าไร และมีการจัดสรรก าไรสุทธิ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธา แก่สมาชิกสหกรณ์ วิธีการในการเข้าไปแก้ไขปัญหาของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1. วิเคราะห์ปัญหาสาเหตุที่ส่งผลให้สหกรณ์ด าเนินธุรกิจขาดทุนติดต่อกัน พร้อมค านวณต้นทุน การผลิตต่อกิโลกรัม เพื่อน าเสนอที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ 2. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการ ชี้แจงสาเหตุของการด าเนินธุรกิจขาดทุน และให้ คณะกรรมการของสหกรณ์ร่วมกันพิจารณาเพื่อหาแนวทางแก้ไข 3. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการ พร้อมแนะน า ติดตามผลการด าเนินงานของ สหกรณ์เป็นประจ าทุกเดือน ติดตามต้นทุนการผลิตต่อกิโลกรัม ประมาณการรายรับ – รายจ่ายประมาณ การก าไรสุทธิ เป็นประจ าทุกเดือน ผลส าเร็จที่เกิดจากการเข้าแนะน าส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน จ านวน 17,870,791.00 บาท 2. สหกรณ์มีก าไรสุทธิ ปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2564 จ านวน 457,025.42 บาท 3. สหกรณ์มีการจัดสรรก าไรสุทธิประจ าปี เป็นเงินปันผลให้แก่สมาชิก ร้อยละ 10 ของทุนเรือนหุ้น เป็นเงินเฉลี่ยคืนธุรกิจแปรรูปยางแผ่นรมควัน กิโลกรัมละ 2 บาท เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์มีการบริหารจัดการธุรกิจดีขึ้น มีการติดตามผลการด าเนินงานเป็นประจ าทุกเดือน พร้อมมีการหารือและหาแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากการด าเนินงาน 2. สหกรณ์ผ่านมาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ข้อ 1 และ ข้อ 6 เนื่องจากด าเนินธุรกิจมีก าไร และมีการจัดสรรก าไรสุทธิ 3. คณะกรรมการด าเนินการ มีจิตอาสาในการบริหารงานสหกรณ์มากขึ้น เช่น ที่ประชุมใหญ่ สามัญประจ าปีอนุมัติเบี้ยประชุมให้เพิ่มขึ้น แต่เนื่องจากราคายางพาราปีนี้ตกต่ าและมีความผันผวน
45 ส่งผลให้สหกรณ์ยังไม่มีก าไรจากการด าเนินงาน คณะกรรมการจึงขอรับเบี้ยประชุมเท่าเดิม เพื่อลด ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน และต้องการให้สหกรณ์ด าเนินงานมีก าไรก่อน ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/สมาชิกได้รับจากการเข้าแนะน าส่งเสริม - สหกรณ์ 1. สหกรณ์ได้ด าเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องตลอดปีบัญชี 31 มีนาคม 2565 จากที่หยุดด าเนิน ธุรกิจในปีที่ผ่านมา 2. สหกรณ์ด าเนินงานมีก าไรสุทธิ - สมาชิก 1. สมาชิกได้รับเงินปันผล และเฉลี่ยคืนจากการด าเนินธุรกิจ 2. สมาชิกร่วมด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์เพิ่มขึ้น ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน - ด้านเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ คณะกรรมการด าเนินการบางคนยังขาดความรู้ความเข้าเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ และการ บริหารธุรกิจของสหกรณ์ ท าให้การขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของสมาชิกล่าช้าและต้องใช้เวลา - ด้านสหกรณ์ สหกรณ์มีไม่ได้จัดท าฐานข้อมูลสมาชิก และสมาชิกยังร่วมท าธุรกิจน้อย ไม่ถึงร้อยละ 60 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ และแนะน าติดตามการจัดท า ฐานข้อมูลสมาชิกในที่ประชุมคณะกรรมการเป็นประจ าทุกเดือน ขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของสมาชิก โดยให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ บทบาทหน้าที่ของสมาชิก ในที่ ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีสหกรณ์
46 สหกรณ์การเกษตรเขาขาว จ ากัด สาเหตุของปัญหาหรือเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนาสหกรณ์ จากผลการด าเนินงานในรอบหลายปีที่ผ่านมามีสมาชิกเข้ามาใช้บริการกับสหกรณ์ประมาณ 71 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งถือว่าอัตราส่วนที่สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมกิจกรรมในสัดส่วนที่น้อย วิธีการในการเข้าไปแก้ไขปัญหาของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ได้แนะน าส่งเสริมสหกรณ์ได้ศึกษาส ารวจสาเหตุที่สมาชิกไม่เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของ สหกรณ์แล้วก็ได้น าผลการวิเคราะห์เข้าที่ประชุมคณะกรรมการเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขที่ประชุมได้ศึกษา วิเคราะห์ถึงสาเหตุแล้ว ที่ประชุมได้มีมติเป็นเอกฉันท์ว่าสหกรณ์จะต้องให้การศึกษาอบรม อุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ บทบาทหน้าที่ของสมาชิกและผลประโยชน์ที่ได้รับในฐานะสมาชิกที่เข้า มาร่วมกิจกรรมกับสหกรณ์ และที่ประชุมได้ก าหนดแผนปฏิบัติงานในการให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิก สหกรณ์ได้ปฏิบัติงานตามแผนงานโดยก าหนดวันให้การศึกษาอบรมเป็น 4 รุ่นๆ ละ 50 คน และได้เชิญเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ได้ให้การศึกษาอบรมร่วมกับคณะกรรมการครบทั้ง 4 รุ่น ซึ่งท าให้สมาชิก ได้เข้าใจถึง บทบาท หน้าที่ และผลประโยชน์ที่จะได้รับ เมื่อสมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรมของสหกรณ์ ผลส าเร็จที่เกิดจากการเข้าแนะน าส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วม ร้อยละ 92.72 เชิงคุณภาพ สมาชิกได้เข้าใจถึง บทบาท หน้าที่ และผลประโยชน์ที่จะได้รับ ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/สมาชิกได้รับจากการเข้าแนะน าส่งเสริม หลักจากที่สหกรณ์ได้ด าเนินงานตามค าแนะน าส่งเสริมท าให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมถึงร้อยละ 92.72 ท าให้สมาชิกได้รับผลประโยชน์ในส่วนของเงินปันผลเฉลี่ยคืน ตามส่วนธุรกิจและท าให้สหกรณ์ ก็มีความเข้มแข็งในส่วนของธุรกิจของสหกรณ์ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน -
47 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา สหกรณ์ในยุคปัจจุบันสมาชิกขาดความรู้ ความเข้าใจ ถึงเรื่องอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการ สหกรณ์ บทบาท หน้าที่ในฐานะที่เป็นสมาชิก ควรให้การศึกษาอบรมแก่สมาชิกสหกรณ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อปลูกจิตส านึกรักในสถาบันสหกรณ์ มีจิตเป็นสาธารณะ เข้าใจบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกสหกรณ์ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสหกรณ์
48 โครงการออกหนังสือรับรองการท าประโยชน์ในที่ดินของนิคมสหกรณ์ (กสน.3,5) 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : เพื่อให้เกษตรกรมีที่ดินเป็นของตนเองและสามารถถือครองที่ดินตามพระราชบัญญัติจัดที่ดิน เพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : ในเขตนิคมสหกรณ์ทุ่งสง 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : 1. ออกหนังสืออนุญาตให้เข้าท าประโยชน์ (กสน.3) จ านวน 65 ไร่ 2. ออกหนังสือแสดงการท าประโยชน์ กสน.5 จ านวน 20 ไร่ 3. ส ารวจวงรอบรายแปลงพื้นที่จัดรูปที่ดินที่ยังไม่ได้ขึ้นรูปแผนที่ จ านวน 30 ไร่ 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ออกหนังสืออนุญาตเข้าท าประโยชน์ กสน.3 ออกหนังสือแสดงการท าประโยชน์ กสน.5 ส ารวจวงรอบรายแปลง ไร่ ไร่ ไร่ 65 20 30 68-2-48 20-1-29 36-0-15 104.62 100 120 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สามารถปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนงานที่ก าหนด 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ 1. สามารถท าให้สมาชิกมีเอกสารในการถือครองที่ดินตามพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 2. น าเอกสาร (กสน.5) ไปขอออกโฉนดที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน 3. เมื่อได้รับโฉนดที่ดินแล้วสามารถน าไปประเมินขอกู้เงินกับสหกรณ์ที่ต้นสังกัดได้ 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 3,708.50 3,708.50 - - 100
49 รูปภาพกิจกรรมประกอบ โครงการออกหนังสือรับรองการท าประโยชน์ในที่ดินของนิคมสหกรณ์ (กสน.3,5)
50 โครงการส่งเสริมและผลักดันสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : - เพื่อส่งเสริม แนะน า และผลักดันสหกรณ์/กลุ่มเกษตรที่มีสถานะด าเนินงานในจังหวัด นครศรีธรรมราช ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ - เพื่อประเมินสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ และแจ้งผลการประเมินให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : - สหกรณ์ที่มีสถานะด าเนินการให้จังหวัดนครศรีธรรมราช 146 แห่ง - กลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะด าเนินการให้จังหวัดนครศรีธรรมราช 83 แห่ง 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : - สหกรณ์ที่น ามาจัดมาตรฐาน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - กลุ่มเกษตรกรที่น ามาจัดมาตรฐาน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ - สหกรณ์ - กลุ่มเกษตรกร แห่ง แห่ง 146 83 103 63 73.54 75.90 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้ รับจัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ - - - - - - 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 6.1 สหกรณ์ทั้งหมด 195 แห่ง น ามาจัดมาตรฐาน จ านวน 146 แห่ง สรุปผลดังนี้ (1) สหกรณ์ภาคการเกษตรที่น ามาจัดมาตรฐาน จ านวน 104 แห่ง รักษามาตรฐานได้ 67 แห่ง ยกระดับ 6 แห่ง และไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 31 แห่ง (2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่น ามาจัดมาตรฐาน จ านวน 42 แห่ง รักษามาตรฐาน ได้ 28 แห่ง ยกระดับ จ านวน 2 แห่ง และไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 12 แห่ง 6.2 กลุ่มเกษตรกรทั้งหมด จ านวน 132 แห่ง น ามาจัดมาตรฐาน จ านวน 83 แห่ง รักษา มาตรฐานได้ จ านวน 60 แห่ง ยกระดับ จ านวน 3 แห่ง และไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 20 แห่ง
51 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งและสามารถสร้างการมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ ของสมาชิกได้ ตามวัตถุประสงค์ สามารถจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิกได้ ตามศักยภาพของผลประกอบการ เป็นที่พึ่งของสมาชิกและชุมชนได้ 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ - สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสามารถรับการสนับสนุนงบประมาณ/วิชาการ/ การตลาดจากการสนับสนุนของภาครัฐที่เกี่ยวข้องได้ตามเกณฑ์ที่ก าหนด - สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถน าผลการประเมินมาตรฐานไปประกอบการวางแผนและ ด าเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการต่าง ๆ ภายในองค์กร และพัฒนาปรับปรุงการให้บริการแก่ สมาชิกได้ตรงตามความต้องการอย่างต่อเนื่อง 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางส่วนสนใจหรือให้ความส าคัญเฉพาะผลของการประเมิน ที่ผ่าน หรือไม่ผ่าน แต่ไม่น าส่วนที่ควรปรับปรุงแก้ไขไปจัดท ากิจกรรมหรือโครงการ หรือแผนงานเพื่อพัฒนา สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรของตนเอง แนวทางการแก้ไข ให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เข้าส่งเสริม แนะน า ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร น าประเด็นที่ต้องปรับปรุงแก้ไข จัดท าเป็นโครงการ/กิจกรรม ไว้ในแผนปฏิบัติงาน ประจ าปี ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตร และติดตามผลการด าเนินงาน ตามแผน ในที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ อย่างต่อเนื่อง - มีสหกรณ์ที่หยุดด าเนินการและสหกรณ์ที่อาจเลิกกิจการ หลายแห่งแต่ยังน ามาจัดมาตรฐาน แนวทางการแก้ไข เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ชี้แจงสหกรณ์ว่า ไม่ควรจัดมาตรฐานแล้วและให้ ท าแผนฟื้นฟูให้แล้วเสร็จก่อน แล้วจึงน ามาจัดมาตรฐาน กรณีไม่สามารถฟื้นฟูได้จริง ต้องการเลิกให้ เสนอเลิกสหกรณ์
52 โครงการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด ประจ ำปี 2565 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : เพื่อเสนอสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดีเด่นแห่งชาติ ประจ าปี พ.ศ.2565/2566 โดยคัดเลือกจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่ผ่านการ ประเมินมาตรฐานสหกรณ์ ชั้นความเข้มแข็งในระดับ 1 และมีเสถียรภาพทางการเงินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป โดยก าหนดเป้าหมายหลักเพื่อเข้ารับการคัดเลือกส าหรับระดับจังหวัด 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : จ าแนกตามประเภทการคัดเลือก ได้แก่ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตร ประเภทละ 2 สหกรณ์ 2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ประเภทละ 2 สหกรณ์ 3) กลุ่มเกษตรกร ประเภทละ 2 แห่ง 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : คัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ตามเป้าหมายที่ก าหนด 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3 3 4 133.34 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 3,045 3,045 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์เข้ารับการคัดเลือก 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกรเข้ารับการคัดเลือก 1 แห่ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ เพื่อให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ได้รับเลือก ได้เป็นแบบอย่างในการด าเนินงานให้แก่สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรอื่น
53 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - รูปภาพกิจกรรมประกอบ การประชุมคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด ประจ าปี 2565
54 งานการก ากับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์ และงานตรวจการ จัดประชุมซักซ้อมการตรวจการ 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : เพื่อซักซ้อมแนวทางปฏิบัติในการเข้าตรวจการสหกรณ์ของผู้ตรวจการสหกรณ์ในจังหวัด นครศรีธรรมราช ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565 รวมถึงด าเนินการวิเคราะห์สถานภาพ รวมถึงรวบรวม ประเด็นข้อสังเกตจากการตรวจสอบบัญชี เพื่อคัดเลือกสหกรณ์กลุ่มเป้าหมายในการเข้าตรวจการสหกรณ์ 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : กลุ่มเป้าหมายได้แก่ ผู้ตรวจการสหกรณ์ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ตามค าสั่งนายทะเบียน สหกรณ์ ที่ 53/2564 สั่ง ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2564 จ านวน 42 ราย โดยด าเนินการจัดประชุม ซักซ้อมตรวจการสหกรณ์ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2564 ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัด นครศรีธรรมราช 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : สามารถด าเนินการจัดประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์ได้ตามแผน และครบถ้วนตาม จ านวน เป้าหมาย 42 คน 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ด าเนินการจัดประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์ ได้ตามตามแผน ครั้ง 1 1 100 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 8,200 8,200 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมประชุม จ านวน 42 คน จากเป้าหมาย 42 คน คิดเป็นร้อยละ 100
55 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้ตรวจการสหกรณ์ มีแนวทางในการปฏิบัติงานตรวจการสหกรณ์ และมีความรู้ความเข้าใจ ในกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ ผู้ตรวจการสหกรณ์ ได้รับความรู้ในการตรวจการสหกรณ์ และสามารถเข้าตรวจการสหกรณ์ได้ตามแผน ที่วางไว้ครอบคลุมทุกประเด็นที่เกี่ยวข้อท าให้สหกรณ์ได้รับการตรวจสอบครอบคลุมทุกประเด็น 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - รูปภาพกิจกรรมประกอบ การประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565
56 ตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด 1.วัตถุประสงค์: ตรวจสอบการด าเนินกิจการและฐานะของสหกรณ์ เพื่อป้องกันการเกิดข้อบกพร่อง และระงับ ยับยั้งปัญหาที่เกิดขึ้นจากการด าเนินงานของสหกรณ์ที่ไม่เป็นไปตามกรอบวัตถุประสงค์ และระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และสามารถก าหนดแนวทางแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ได้อย่างรวดเร็ว 2.เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์กลุ่มเป้าหมายในการเข้าตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565 คิดเป็นร้อยละ 25 ของสหกรณ์ที่มีสถานะด าเนินการ รวมเป็น 40 สหกรณ์ โดยก าหนดเป็นสหกรณ์ออม ทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทุกแห่งเป็นหลัก และส่วนที่เหลือก าหนดเป็นสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 3.ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ทั้ง 10 ทีม เข้าตรวจสอบสหกรณ์ จ านวน 40 สหกรณ์ ครบทุก ประเด็นตามรายการที่ก าหนดในแนวทางการตรวจการสหกรณ์ 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ เข้าตรวจการสหกรณ์ครบทุก ประเด็นตามรายการที่ก าหนดใน แนวทางการตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์ 40 40 100 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 80,700 80,700 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ทั้ง 10 ทีม ได้ด าเนินการเข้าตรวจการสหกรณ์ กลุ่มเป้าหมายแล้วจ านวน 40 สหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจสอบครอบคลุมทุกประเด็น และหากพบปัญหาจากการ ด าเนินงานของสหกรณ์ สามารถก าหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที
57 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ สามารถป้องกันและระงับความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการด าเนินงานของสหกรณ์ที่ไม่เป็นไป ตามกรอบวัตถุประสงค์ หรือกฎหมาย 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - รูปภาพกิจกรรมประกอบ การตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
58 ตรวจการตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 1.วัตถุประสงค์: เพื่อป้องกันการเกิดข้อบกพร่อง ข้อสังเกต และข้อร้องเรียน ที่อาจส่งผลกระทบต่อการด าเนินงาน ของสหกรณ์ และหากพบข้อบกพร่องในการด าเนินงานของสหกรณ์ สามารถก าหนดแนวทางการแก้ไข ปัญหาในทันท่วงที เพื่อระงับไม่ให้สหกรณ์เกิดความเสียหาย 2.เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์กลุ่มเป้าหมายจากการวิเคราะห์สถานภาพสหกรณ์จากการประชุมซักซ้อมการตรวจ การสหกรณ์ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จ านวนร้อยละ 15 ของสหกรณ์ที่มีสถานะด าเนินการ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช รวมเป็น 23 สหกรณ์ 3.ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ เข้าตรวจสอบสหกรณ์ จ านวน 23 สหกรณ์ ครบทุกประเด็นตาม รายการที่ก าหนดในแนวทางการตรวจการสหกรณ์ 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ เข้าตรวจการสหกรณ์ครบทุกประเด็นตามรายการ ที่ก าหนดในแนวทางการตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์ 23 23 100 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการ เบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 31,800 31,800 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ได้ด าเนินการเข้าตรวจการสหกรณ์ กลุ่มเป้าหมายแล้วจ านวน 23 สหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจสอบครอบคลุมทุกประเด็น และหากพบปัญหาจากการด าเนินงาน ของสหกรณ์ สามารถก าหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที
59 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ สามารถป้องกันและระงับความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการด าเนินงานของสหกรณ์ที่ไม่เป็นไป ตามกรอบวัตถุประสงค์ หรือกฎหมาย 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - รูปภาพกิจกรรมประกอบ การตรวจการสหกรณ์ตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
60 ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่อง 1.วัตถุประสงค์เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : เพื่อติดตามประเมินผลความกาวหนาการแกไขขอบกพรองสหกรณใหเปนไปตามแนวทางการแกไข ขอบกพรอง ขอสังเกต ขอรองเรียนตามกฎหมาย ขอบังคับ และระเบียบของสหกรณ์ 2.เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : ในปงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัดนครศรีธรรมราช มีขอบกพรองของสหกรณรวมจ านวน 19 สหกรณ และขอบกพรองของกลุมเกษตรกร จ านวน 3 กลุมเกษตรกร ทั้งนี้ ส านักงานสหกรณจังหวัด นครศรีธรรมราช ไดประเมินผลความกาวหนาการแกไขขอบกพรองของสหกรณและกลุมเกษตรกร ผานที่ประชุม ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจางประจ าเปนประจ าทุกเดือน 3.ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : สามารถด าเนินการขับเคลื่อน และติดตามให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แก้ไขข้อบกพร่องให้มี สถานะแล้วเสร็จสมบูรณ์ 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สามารถด าเนินการขับเคลื่อน และติดตามให้ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แก้ไขข้อบกพร่องให้มี สถานะแล้วเสร็จสมบูรณ์ สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 19 6 31.57 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 11,600 11,600 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ การติดตามประเมินผลความกาวหนาในการแกไขขอบกพรองของสหกรณ กลุมเกษตรกร ประจ าป งบประมาณ พ.ศ.2565 จ านวน 22 สถาบัน สามารถแกไขขอบกพรองดังนี้ 1. สหกรณ กลุมเกษตรกร แกไขขอบกพรองแลวเสร็จสมบูรณ จ านวน 6 สถาบัน 2. สหกรณ กลุมเกษตรกร แกไขขอบกพรองแลวเสร็จติดตาม จ านวน 16 สถาบัน ผลลัพธเชิงคุณภาพ สหกรณสามารถด าเนินการแกไขขอบกพรอง เปนไปตามแนวทางที่กฎหมายก าหนด
61 7. ประโยชนที่สหกรณ/กลุมเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกรไดรับ : สหกรณ กลุมเกษตรกร สามารถขับเคลื่อนการแกไขขอบกพรองใหมีความคืบหนา 8. ปญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแกไข : ขอบกพรองสวนใหญยังอยูในสถานะแลวเสร็จติดตาม เนื่องจากกรณีเขาสูกระบวนการยุติธรรม สวนใหญคดีคางอยูในชั้นพนักงานสอบสวน และอีกสวนหนึ่ง มีการติดตามการรับช าระหนี้ตามค า พิพากษา ซึ่งก าหนดระยะเวลาการช าระหนี้เป็นไปตามค าพิพากษา รูปภาพกิจกรรมประกอบ การด าเนินการติดตามความคืบหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องในที่ประชุมประจ าเดือน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565
62 จัดประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการด าเนินงานของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1. เพื่อพิจารณาแกไขขอบกพรอง ขอรองเรียน ขอสังเกตจากการตรวจสอบบัญชี และแกไข ปัญหาในการด าเนินงานของสหกรณและกลุมเกษตรกร 2. เพื่อก าหนดแนวทางในการด าเนินการแกไขขอบกพรอง ขอรองเรียน ขอสังเกต จากการ ตรวจสอบบัญชี และแกไขปญหาในการด าเนินงานของสหกรณและกลุมเกษตรกร 2.เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : การประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแกไขปญหาในการด าเนินงานของสหกรณและกลุมเกษตรกร ที่มีข้อบกพรอง (จกบ.) ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ประจ าปงบประมาณ พ.ศ.2565 ด าเนินการจัดประชุม จ านวน 4 ครั้ง 3.ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : สามารถด าเนินการจัดประชุมคณะท างาน จกบ. ได้ครบตามแผนที่ก าหนดไว้ 4 ครั้ง 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ สามารถด าเนินการจัดประชุมคณะท างาน จกบ. ได้ครบตามแผนที่ก าหนดไว้ 4 ครั้ง ครั้ง 4 4 100 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ ได้รับจัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 11,400 11,400 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธเชิงปริมาณ ด าเนินการจัดประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแกไขปญหาในการด าเนินงานของสหกรณ และกลุมเกษตรกร ที่มีขอบกพรอง (จกบ.) ครบตามแผน จ านวน 4 ครั้ง ผลลัพธเชิงคุณภาพ สหกรณและกลุมเกษตรกร ที่น าเขาพิจารณาในที่ประชุมคณะท างานฯ มีแนวทางในการแกไข ขอบกพรอง
63 7. ประโยชนที่สหกรณ/กลุมเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรกรไดรับ : สหกรณและกลุมเกษตรกร ไดรับการแกไขขอบกพรองตามแนวทางที่ก าหนดในที่ประชุม คณะท างานฯ 8. ปญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแกไข : - รูปภาพกิจกรรมประกอบ การจัดประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565
64 ช าระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : ด าเนินการช าระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดังนี้ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการช าระบัญชีขั้นตอนที่ 3-4 ยกขึ้นสู่ขั้นตอนที่ 5 จ านวน 43 แห่ง (สหกรณ์ภาคการเกษตร 18 แห่ง สหกรณ์นอกภาค 2 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 23 แห่ง) 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างช าระบัญชีสามารถถอนชื่อได้ ไม่รวมสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในขั้นตอนที่ 6 (คดี) สามารถถอนชื่อได้ ร้อยละ 25 จ านวน 26 แห่ง จากสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่ช าระบัญชีทั้งหมด จ านวน 109 แห่ง (สหกรณ์ภาคการเกษตร 42 แห่ง สหกรณ์นอก ภาค 11 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 56 แห่ง) 2.เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการช าระบัญชีขั้นตอนที่ 3-4 ยกขึ้นสู่ขั้นตอนที่ 5 ได้ จ านวน 27 แห่ง (สหกรณ์ภาคการเกษตร 11 แห่ง สหกรณ์นอกภาค 1 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 15 แห่ง) 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างช าระบัญชีสามารถถอนชื่อได้ ไม่รวมสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในขั้นตอนที่ 6 (คดี) สามารถถอนชื่อได้ จ านวน 26 แห่ง (สหกรณ์ภาคการเกษตร 9 แห่ง สหกรณ์นอกภาค 2 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 15 แห่ง) จากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ช าระบัญชี ทั้งหมด จ านวน 109 แห่ง 3.ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการช าระบัญชีขั้นตอนที่ 3-4 ยกระดับขึ้นสู่ขั้นตอนที่ 5 ร้อยละ 100 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการ ช าระบัญชีขั้นตอนที่ 3-4 ยกระดับขึ้นสู่ขั้นตอน ที่ 5 ร้อยละ 100 สถาบัน 43 43 100 2.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างช าระ บัญชี ไม่รวมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ใน ขั้นตอนที่ 6 (คดี) สามารถถอนชื่อได้ร้อยละ 25 สถาบัน 26 26 100
65 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 137,000 137,000 - - 100 6.ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ การด าเนินการช าระบัญชี สามารถถอนชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้ จ านวน 26 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 25.24 ของจ านวนสถาบันที่ช าระบัญชีทั้งสิ้น 109 แห่ง ไม่รวมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่อยู่ในขั้นตอนที่ 6 (คดี) ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ การเร่งรัดติดตามการช าระบัญชี สามารถถอนชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ 2565 ได้ส าเร็จเกินเป้าหมายที่ก าหนดไว้ (เป้าหมาย ร้อยละ 25 ผลที่ได้ ร้อยละ 25.24) 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และจ่ายคืนค่าหุ้นให้แก่ สมาชิก และขีดชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรออกจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข การติดต่อประสานงาน หรือการท านิติกรรมที่เกี่ยวข้อกับบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกมักจะมี ความซับซ้อน และไม่มีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ท าให้การช าระบัญชีต้องใช้เวลานานไม่แล้ว เสร็จได้โดยเร็ว รูปภาพกิจกรรมประกอบ ประชุมติดตามความคืบหน้าการช าระบัญชีประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565
66 โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์นอกภาคการเกษตรสู่ความเข้มแข็ง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้จัดท าบัญชีของสหกรณ์นอกภาคการเกษตร ให้สามารถจัดท าบัญชีและงบ การเงินได้, เพื่อให้ผู้เข้าประชุมร่วมกันจัดท าแผนปฏิบัติงานปิดบัญชีของสหกรณ์, เพื่อให้ผู้เข้าประชุม ร่วมกันสรุปผลและถอดบทเรียนผลการด าเนินโครงการฯ และเพื่อให้สหกรณ์นอกภาคการเกษตร สามารถจัดท าบัญชีและงบการเงินให้เป็นปัจจุบันและปิดบัญชีได้ ตามกฎหมายก าหนด 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จ านวน 2 แห่ง คือ สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงสิชลรุ่งเรือง จ ากัด และสหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงชายเขาเทศบาลสิชล จ ากัด อ าเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : 3.1 สหกรณ์มีแผนในการปฏิบัติงานปิดบัญชีของสหกรณ์ 3.2 สหกรณ์สามารถจัดท าบัญชีและงบการเงินและปิดบัญชีได้เป็นปัจจุบันหรือสามารถเลื่อน ระดับการจัดท าบัญชีและงบการเงินได้อย่างน้อย 1 ระดับ 3.3ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมาย 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 4.1 สหกรณ์มีแผนในการปฏิบัติงานปิดบัญชีของสหกรณ์ 4.2 สหกรณ์สามารถเลื่อนระดับการจัดท าบัญชีและงบ การเงินได้อย่างน้อย 1 ระดับ แผน/แห่ง แห่ง 2 2 2 2 100 100 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 15,600 15,600 - - 100
67 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้จัดท าบัญชี กรรมการ และสมาชิกสหกรณ์นอกภาคการเกษตรเข้าร่วมโครงการพัฒนา ศักยภาพสหกรณ์นอกภาคเกษตรสู่ความเข้มแข็ง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ านวน 2 สถาบัน จ านวน 4 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมโครงการ 77 คน ,จัดท าแผนในการแก้ไขปัญหาการปิดบัญชีสหกรณ์จ านวน 2 สถาบัน 2 แผน และสหกรณ์สามารถจัดจ้างผู้ท าบัญชี จ านวน 2 สถาบัน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงสิชลรุ่งเรือง จ ากัด สามารถจัดท าบัญชีและงบการเงินปีบัญชี 2560 ส่งผู้สอบบัญชีแล้ว เมื่อเดือนมิถุนายน 2565 - สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงชายเขาเทศบาลสิชล จ ากัด สามารถจัดท าบัญชีและงบการเงิน ปีบัญชี 2561 ส่งผู้สอบบัญชีแล้ว เมื่อเดือนมกราคม 2565 - คณะกรรมการสหกรณ์ ทีมปฏิบัติงานจัดท าบัญชีสหกรณ์ ทีมปิดบัญชีสหกรณ์ประจ า ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง คือ ส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ นครศรีธรรมราช และสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ สหกรณ์สามารถจัดท าบัญชีได้เป็นปัจจุบัน จัดท างบการเงินและปิดบัญชีได้ตามกฎหมาย และส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราชได้ชุดองค์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาการปิดบัญชีของสหกรณ์ 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - สหกรณ์มีข้อบกพร่องเงินสดขาดบัญชีสหกรณ์ได้แจ้งความร้องทุกข์ต่อผู้รับผิดชอบ คือ อดีตประธานกรรมการ อดีตรองประธานกรรมการ และเหรัญญิก - สหกรณ์ด าเนินการตามกฎหมาย ขณะนี้พนักงานสอบสวนได้ส่งเรื่องให้อัยการ สหกรณ์ ติดตามความก้าวหน้าในการด าเนินคดีในที่ประชุมคณะกรรมการ - สหกรณ์ปิดบัญชีไม่ได้ตั้งแต่ปีบัญชี 2560 - 2564 เอกสารด้านการรับทางบัญชีไม่เรียบร้อย ไม่สมบูรณ์ ไม่แยกต้นเงินและดอกเบี้ย ไม่ระบุค่าปรับ การเขียนใบเสร็จรับเงิน ไม่เรียงล าดับ ไม่ครบถ้วน - ผลด าเนินการ พอช. ได้จัดท ารายละเอียดงวดช าระตามสัญญาซื้อขายที่ดินของสมาชิก ของบ้านแต่ละหลังโดยแยกต้นเงิน และดอกเบี้ย - เอกสารด้านการจ่ายมีการเปลี่ยนแปลง ไม่ครบถ้วน ไม่มีให้ตรวจสอบ ในปีบัญชี 2560 -2561 สหกรณ์ได้แจ้งความร้องทุกข์ต่อผู้รับผิดชอบ คือ อดีตประธาน กรรมการ อดีตรองประธานกรรมการ และเหรัญญิก ผลด าเนินการพนักงานสอบสวนได้ส่งเรื่องให้อัยการ สหกรณ์ติดตามความก้าวหน้าในการ ด าเนินคดี - สหกรณ์ไม่มีเจ้าหน้าที่บัญชีสหกรณ์ไม่มีเจ้าหน้าที่บัญชีผลด าเนินการ พอช. ได้เชื่อมโยง งบจัดจ้างและงบพัฒนาสหกรณ์เพื่อจ้างผู้ท าบัญชี
68 - มีการเปลี่ยนแปลงสิทธ์ซื้อขายทีดินและบ้านกันเองโดยไม่ได้จัดท าสัญญาฉบับใหม่ ไม่ระบุ หลักทรัพย์ ค้ าประกัน ไม่ถูกต้องตามระเบียบและข้อบังคับของสหกรณ์ - ผลด าเนินการ พอช. ทบทวนสิทธิ์ให้เป็นปัจจุบัน เพื่อจัดท าสัญญาฉบับใหม่ต่อไป - สมาชิกมีหนี้ค้างช าระ หรือช าระไม่ต่อเนื่อง 7 - 10 รายสมาชิกมีหนี้ค้างช าระ หรือช าระ ไม่ต่อเนื่อง 7 - 10 รายสมาชิกมีหนี้ค้างช าระ หรือช าระไม่ต่อเนื่อง 7 - 10 ราย - ผลด าเนินการ คณะกรรมการติดตามทวงถาม สมาชิกมาช าระหนี้บางส่วนแต่ยังไม่เป็นปัจจุบัน รูปภาพกิจกรรมประกอบ โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์นอกภาคการเกษตรสู่ความเข้มแข็ง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565
69 โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (น าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร) 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : เพื่อสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพการเกษตร ได้เข้าถึงองค์ความรู้ด้านการผลิต สามารถสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคง ในการประกอบอาชีพการเกษตร 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : เพื่อให้เกษตรกรในโครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร ผู้สังเกตการณ์ และเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช มีองค์ความรู้ในการพัฒนาทักษะในการประกอบ อาชีพการเกษตรได้เข้าถึงองค์ความรู้ด้านการผลิต สามารถสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิด ความมั่นคง ในการประกอบอาชีพการเกษตร 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาทักษะในประกอบอาชีพด้านการเกษตร 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ กิจกรรมที่ด าเนินการ 1. การผลิตผักปลอดภัย การปลูกผักในกระถาง การป้องกันและก าจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน ราย 25 25 100 2. การผลิตและวิธีใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา และบิววาเรีย การผลิต ขยายพันธุ์ และแปรรูปพืช สมุนไพร ศึกษาดูงานในศูนย์ ราย 25 25 100 2. การเพาะผักงอกที่ให้คุณภาพและวิธีเพาะผักงอก สาธิต ฝึกปฏิบัติวิธีการเพาะผักงอก การเก็บเกี่ยว การบรรจุและการดูแลรักษา ราย 25 25 100 3. ความรู้ในการเชื่อมโยงเครือข่าย ราย 25 25 100 แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า
70 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 34,815 31,995 2,820 - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เกษตรกรในโครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร ผู้สังเกตการณ์ และเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช จ านวน 25 ราย มีองค์ความรู้เกี่ยวกับในการ พัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพการเกษตรได้เข้าถึงองค์ความรู้ด้านการผลิต สามารถสร้างอาชีพ การเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคง ในการประกอบอาชีพการเกษตร ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรในโครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร ผู้สังเกตการณ์ และเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราชน าองค์ความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติเพื่อเพิ่มมูลค่า สินค้าและสร้างรายได้เพิ่มให้แก่เกษตรกรได้อย่างยั่งยืน 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ - ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เข้าถึงองค์ความรู้ ปัจจัยการผลิต รวมถึงการสร้างอาชีพการเกษตร อย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน - เพิ่มจ านวนเกษตรกรรุ่นใหม่ในภาคเกษตรกรรม บรรเทาปัญหาเกษตรกรสูงอายุและเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของภาคการเกษตรและสถาบันเกษตรกร 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ได้รับงบประมาณในการด าเนินโครงการล่าช้า - เกษตรกรติดโควิดหลายรายที่ไม่สามารถมาเข้าร่วมโครงการได้
71 โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและธุรกิจชุมชน กิจกรรมพัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้แก่สหกรณ์เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร การ พัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การท าสื่อประชาสัมพันธ์และการวางแผนการตลาดให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาด 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : - บุคลากรสหกรณ์ 30 คน - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่โครงการ 5 คน - ห้องประชุมสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน้ าปากพนัง จ ากัด 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : ผู้เข้ารับการอบรม ร้อยละ 80 มีองค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้า เกษตรสร้างมูลค่า การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด ผู้เข้ารับการอบรม ร้อยละ 80 มีองค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตรสร้างมูลค่า การพัฒนาและ ออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ราย 35 35 100 กิจกรรมที่ด าเนินการ 1. นวัตกรรมเทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตรสร้างมูลค่า ราย 35 35 100 2. การวางแผนการตลาดของสินค้าและการส่งเสริมการขาย ราย 35 35 100 3. ฝึกปฏิบัติการแปรรูปสินค้าใหม่/ต่อยอดผลิตภัณฑ์/พัฒนา บรรจุภัณฑ์ ราย 35 35 100 4. การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่า ราย 35 35 100 5. การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาด ราย 35 35 100
72 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 52,500 52,500 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ บุคลากรสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และเจ้าหน้าที่โครงการ จ านวน 35 ราย มีองค์ ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตรสร้างมูลค่า การพัฒนาและออกแบบ บรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ บุคลากรสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และเจ้าหน้าที่โครงการ น าองค์ความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติ เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าและสร้างรายได้เพิ่มให้แก่เกษตรกรได้อย่างยั่งยืน 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ -ผู้เข้ารับการอบรมองค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตรสร้างมูลค่า การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า การวางแผนการตลาด การจัดจ าหน่าย การส่งเสริมการขายและการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์และสามารถประกอบอาชีพทางการเกษตรได้อย่างยั่งยืน - สหกรณ์เป้าหมายมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ที่สอดคล้องกับความต้องการตลาด และสามารถจ าหน่ายได้ 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ได้รับงบประมาณในการด าเนินโครงการล่าช้า - ข้อจ ากัดของผลิตภัณฑ์ ที่ผลิตแล้วต้องจ าหน่ายออกเลยเนื่องจากเก็บได้ไม่เกิน 2 เดือน - สหกรณ์จะผลิตตามค าสั่งซื้อ และค าสั่งซื้อจะต้องมีจ านวนมาก เนื่องจากถ้าจ านวนน้อย ต้นทุนจะสูง
73 โครงการเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : เพื่อถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมการท าเกษตรผสมผสานในลักษณะเกษตรปลอดภัย ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่สมาชิกสหกรณ์ในการประกอบอาชีพของตนเอง 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวน 6 แห่ง สมาชิก 107 คน และเจ้าหน้าที่โครงการ 10 คน รวมทั้งสิ้น 117 คน จ านวน จ านวน 5 รุ่น พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : - สมาชิกสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านเขาปูน จ ากัด จ านวน 20 คน - สมาชิกสหกรณ์การเกษตรปากพนัง จ ากัด จ านวน 18 คน - สมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านวังลุง จ ากัด จ านวน 13 คน - สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเชียรใหญ่ จ ากัด จ านวน 25 คน - สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเขาขาว จ ากัด จ านวน 11 คน - สมาชิกสหกรณ์นิคมทุ่งสง จ ากัด จ านวน 20 คน - เจ้าหน้าที่โครงการ รุ่นละ 2 คน 5 รุ่น จ านวน 10 คน รวม จ านวน 117 คน 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : สมาชิกสหกรณ์ได้รับการถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมการท าเกษตรปลอดภัย จ านวน 107 ราย 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1. กลุ่มเป้าหมายเข้าประชุม ราย 107 138 128.97 2. สหกรณ์ส่งเสริมให้สมาชิกท าการเกษตรผสมผสาน ในลักษณะเกษตรปลอดภัย แห่ง 6 6 100 กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 3. จ านวนพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน ไร่ 535 900.2 168.26 4. รายงานผลภายในก าหนด ครั้ง 1 1 100
74 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ จ านวน 6 แห่ง สมาชิก 107 คน เจ้าหน้าที่โครงการ 31 คน เข้าร่วมประชุม คิดเป็น 168.26 % ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ 1. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้รูปแบบเกษตรผสมผสานในลักษณะเกษตรปลอดภัย ในการ ผลิตการเกษตรที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่ และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มรายได้ ตามแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกท าการเกษตรผสมผสานในลักษณะเกษตร ปลอดภัย จ านวน 6 แห่ง พื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน จ านวน 535 ไร่ 3. ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์เป้าหมายขยายตัวร้อยละ 3 4. สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนไปท าเกษตรปลอดภัย จ านวน 107 ราย 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. เกษตรกรสมาชิกผู้เข้าประชุมส่วนใหญ่มีองค์ความรู้ด้านการท าเกษตรผสมผสานในระดับ หนึ่งแล้ว ประกอบกับผู้เข้าอบรมส่วนหนึ่งท าเกษตรแบบประณีตและหรือปศุสัตว์ด้วย จึงไม่สามารถเข้า อบรมได้เต็มเวลาตามโครงการ ซึ่งต้องมีการปรับเปลี่ยนเวลาให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย และเวลา ของวิทยากรเพื่อชดเชยเวลาระหว่างกัน 2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ระหว่างวิทยากร และผู้เข้าอบรมด้วยกันในสถานที่ อบรมมีข้อจ ากัดในการกระตุ้นสร้างแรงจูงใจหรือความสนใจของผู้เข้าอบรมได้น้อยกว่าไปดูหรือทัศน ศึกษาในสถานที่จริง” 3. สมาชิกผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ท าการเกษตรตามประสบการณ์ ความคุ้นชินที่ปฏิบัติมายาวนาน และไม่ค่อยจดบันทึกหรือตั้งเป้าหมายในการท าการเกษตรที่ชัดเจน ส่งผลต่อการสืบค้นข้อมูลที่ต้องใช้ เวลานาน และขาดหลักฐานอ้างอิง ข้อมูลที่ได้มักเป็นการให้ข้อมูลจากค าถามที่ต้อสัมภาษณ์และชี้น า ซึ่งส่งผลต่อเนื่องถึงการท าแผนส่งเสริมอาชีพของสหกรณ์ต้นสังกัด และการเก็บข้อมูลรายงานต่าง ๆ ตามตัวชี้วัดซึ่งขาดความชัดเจนหรือบางตัวชี้วัดไม่ได้เก็บข้อมูลแยกแยะไม่ได้เลย เช่น ปริมาณธุรกิจด้าน เกษตรปลอดภัย เป็นต้น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 203,800 203,800 - - 100
75 รูปภาพกิจกรรมประกอบ โครงการเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี พ.ศ. 2565
76 โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สู่มาตรฐาน (GAP) 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : 1. เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการสร้างระบบการรับรองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อมั่น ในการผลิตสินค้าปลอดภัย และเพื่อส่งเสริมการจัดท าฐานข้อมูลด้านการเกษตรปลอดภัยร่วมกับสมาชิก ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความรู้ในการผลิตผักและ ผลไม้ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน GAP ตามหลักวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และได้มาตรฐานตาม ที่ต้องการของตลาด 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์เข้าร่วมโครงการ GAP ปี 2563 และสมาชิกที่ได้รับการรับรอง GAPในปี2564(105ราย) สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านวังลุง จ ากัด 22 ราย สหกรณ์การเกษตรพรหมคีรี จ ากัด 40ราย สหกรณ์การเกษตรพัฒนาชนบทนบพิต า จ ากัด 15 ราย สกต.ธกส.นครศรีธรรมราช จ ากัด 12 ราย สหกรณ์การเกษตรลานสกา จ ากัด 16 ราย สหกรณ์เข้าร่วมโครงการ GAP ปี 2564 และสมาชิกที่ได้การรับรอง GAP ในปี 2565 (202 ราย) สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านวังลุง จ ากัด 62 ราย สหกรณ์การเกษตรพรหมคีรี จ ากัด 21 ราย สหกรณ์การเกษตรลานสกา จ ากัด 20 ราย สหกรณ์การเกษตรพัฒนาชนบทนบพิต า จ ากัด 40 ราย สกต.ธกส.นครศรีธรรมราช จ ากัด 11 ราย สหกรณ์การเกษตรหัวไทร จ ากัด 29 ราย สหกรณ์เครดิตยู เนี่ยนลานแก้วประชาสรรค์ จ ากัด 19 ราย 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกท าการเกษตรปลอดภัย 5 แห่ง 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมการท าเกษตรปลอดภัย 105 ราย 3. อัตราการขยายตัวของมูลค่าของสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว ร้อยละ 3 4. ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขยายตัว ร้อยละ 3 5. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 3 6. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทีเข้าร่วมโครงการในปี 2564 ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP 7 แห่ง/202 ราย 7. ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ของโครงการที่ก าหนด
77 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิก ท าการเกษตรปลอดภัย 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการ ส่งเสริมการท าเกษตรปลอดภัย 3. อัตราการขยายตัวของมูลค่าของสินค้าเกษตร ปลอดภัยขยายตัว 4. ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรขยายตัว 5. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 6. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทีเข้าร่วม โครงการในปี 2564 ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP 7. ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่าย และกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตาม 5 105 ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 7/202 ร้อยละ 100 5 105 ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 7/202 ร้อยละ 100 5 105 ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 7/202 ร้อยละ 100 100 100 ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 7/202 ร้อยละ 100 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 324,060 324,060 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์เข้าร่วมโครงการ GAP ปี 2563และสมาชิกที่ได้รับการรับรอง GAPในปี 2564(105ราย) สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านวังลุง จ ากัด 22 ราย สหกรณ์การเกษตรพรหมคีรี จ ากัด 40ราย สหกรณ์การเกษตรพัฒนาชนบทนบพิต าจ ากัด15รายสกต.ธกส.นครศรีธรรมราช จ ากัด12รายสหกรณ์การเกษตร ลานสกา จ ากัด 16 ราย สหกรณ์เข้าร่วมโครงการ GAP ปี 2564 และสมาชิกที่ได้การรับรอง GAP ในปี 2565 (202 ราย) สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านวังลุง จ ากัด 62 ราย สหกรณ์การเกษตรพรหมคีรี จ ากัด 21 ราย สหกรณ์ การเกษตรลานสกา จ ากัด20 ราย สหกรณ์การเกษตรพัฒนาชนบทนบพิต า จ ากัด 40 ราย
78 สกต.ธกส.นครศรีธรรมราช จ ากัด 11 ราย สหกรณ์การเกษตรหัวไทร จ ากัด 29 ราย สหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยนลานแก้วประชาสรรค์ จ ากัด 19 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกมีการรวมกลุ่มมีรายได้เพิ่ม มาตรฐาน GAP สร้างความเชื่อมั่นต่อผู้บริโภคและผู้ผลิต และยังเพิ่มมูลค่าให้ผักและผลไม้มีราคาที่สูงขึ้น น ามาซึ่งรายได้ที่มั่นคงของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ สมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวนไม่น้อยกว่า 105 รายได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับความส าคัญของใบรับรองมาตรฐาน GAP ,สมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปี 2564 ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP , สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขี้นจากการน า ใบรับรองมาตรฐาน GAP ไปใช้ประโยชน์, สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ ของสหกรณ์เพิ่มขึ้น 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด – 19 ท าให้เกษตรการประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง และสภาพอากาศที่แปรปรวนท าให้ผลไม้ไม่ออกตามฤดูกาล ท าให้ไม่มีผลผลิตในปี 2565 รูปภาพกิจกรรมประกอบ โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน (GAP)
79 โครงการส่งเสริมสหกรณ์ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนกลยุทธ์การขับเคลื่อนโรงสีข้าวชุมชุนต าบลป่าระก า 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : เพื่อทบทวนกลยุทธ์และแผนด าเนินงานด้านการผลิตและแปรรูปข้าวเพื่อรองรับการขับเคลื่อน โรงสีข้าวชุมชนต าบลป่าระก า 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สมาชิกกลุ่มเกษตรกรโรงสีข้าวชุมชนต าบลป่าระก า อ าเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และสหกรณ์การเกษตรเชียรใหญ่ จ ากัด 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : 1. กลุ่มเป้าหมายเข้าประชุมเชิงปฏิบัติการ ครบตามจ านวน 2. กลุ่มเป้าหมายมีแผนด าเนินงานเพื่อขับเคลื่อนโรงสีข้าวชุมชนต าบลป่าระก า ประจ าปี 2565 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1. กลุ่มเป้าหมายเข้าประชุมเชิงปฏิบัติการ ครบตามจ านวน ราย 20 20 100 2. กลุ่มเป้าหมายมีแผนการด าเนิน เพื่อขับเคลื่อนโรงสีข้าวชุมชนต าบลป่าระก า ประจ าปี 2565 แผน 1 1 100 กิจกรรมที่ด าเนินการ 1. ให้ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์การพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตาม ศักยภาพและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ราย 20 20 100 ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม
80 ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 2. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและแนวทาง ด าเนินงานของโรงสีข้าวชุมชนต าบลป่าระก า ราย 20 20 100 3. การทบทวนกลยุทธ์และจัดท าแผนการผลิต และแปรรูปข้าวเพื่อรองรับการขับเคลื่อนโรงสี ข้าวชุมชนต าบลป่าระก า ราย 20 20 100 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกกลุ่มเกษตรกรโรงสีข้าวชุมชนต าบลป่าระก าและสหกรณ์การเกษตรเชียรใหญ่ จ ากัด จ านวน 20 ราย ได้รับความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์การพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตาม ศักยภาพและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน แนวทางด าเนินงาน ทบทวนกลยุทธ์ จัดท า แผนการผลิตและแปรรูปข้าวเพื่อรองรับการขับเคลื่อนโรงสีข้าวชุมชน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกกลุ่มเกษตรกรโรงสีข้าวชุมชนต าบลป่าระก าจัดท าแผนด าเนินงานด้านการผลิตและแปรรูป ข้าวเพื่อรองรับการขับเคลื่อนโรงสีข้าวชุมชนต าบลป่าระก า 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ 1. สมาชิกสามารถปลูกข้าวและจัดจ าหน่ายผลผลิตได้ตามแผนด าเนินงานที่ก าหนดไว้ 2. สามารถขับเคลื่อนการด าเนินงานของโรงสีข้าวชุมชนต าบลป่าระก า ให้เกิดประโยชน์แก่ เกษตรกรและประชาชนในพื้นที่ 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ฝนตกหนักท าให้เกิดน้ าท่วมหนักในพื้นที่ๆ สมาชิกปลูกข้าวส่งผลให้เกิดความเสียหายแก่ผลลิต ทั้งหมด ไม่สามารถน าผลผลิตที่ได้มาแปรรูปเป็นข้าวสารได้ตามที่ได้วางแผนไว้ ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 6,200.00 6,200.00 - - 100.00
81 รูปภาพกิจกรรมประกอบ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนกลยุทธ์การขับเคลื่อนโรงสีข้าวชุมชุนต าบลป่าระก า การประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มชาวบ้านเพื่อร่วมกันวางแผนการด าเนินกิจกรรม ของกลุ่มและพัฒนาอาชีพเกษตรด้านการผลิต การตลาดในรูปแบบสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : 1. เพื่อจัดท าแผนการด าเนินงานกิจกรรมของกลุ่ม 2. เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรด้านการผลิต และการตลาดในรูปแบบสหกรณ์ 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมรวมกลุ่มโดยใช้รูปแบบสหกรณ์และก าหนดแผนด าเนินกิจกรรมให้สอดคล้อง เหมาะสมเพื่อพัฒนาเกษตรกรในพื้นที่ให้เข้มแข็งและเตรียมความพร้อมของกลุ่มส าหรับจัดตั้งสหกรณ์ ต่อไป เป้าหมาย คือ เกษตรกรสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุ่มอนุรักษ์ไก่ศรีวิชัย จ านวน 20 คน 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : 1. กลุ่มเป้าหมายเข้าประชุมเชิงปฏิบัติการครบตามจ านวน 2. กลุ่มชาวบ้านเป้าหมายมีแผนการด าเนินงาน หรือแนวทางในการพัฒนากลุ่มให้มีความเข้มแข็ง 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1. กลุ่มเป้าหมายเข้าประชุมเชิงปฏิบัติการควบตามจ านวน ราย 20 20 100 2. กลุ่มชาวบ้านเป้าหมายมีแผนการด าเนินงาน หรือ แนวทางในการพัฒนากลุ่มให้มีความเข้มแข็ง แผน 1 1 100 กิจกรรมที่ด าเนินการ 1. ให้ความรู้การพัฒนาอาชีพการเลี้ยงไก่ ราย 20 20 100 2. ให้ความรู้การพัฒนาการตลาดในรูปแบบสหกรณ์ ราย 20 20 100 3. จัดท าแผนการด าเนินงานกิจกรรมของกลุ่ม ราย 20 20 100
82 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มชาวบ้านเป้าหมาย จ านวน 20 ราย ได้รับความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงไก่ และการพัฒนา แนวทางการจัดท าแผนการด าเนินงานของกลุ่ม ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มชาวบ้านเป้าหมายน าแผนด าเนินงานสู่การปฏิบัติเพื่อขับเคลื่อนกลุ่มตามแผนที่ก าหนด 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ 1. เกษตรกรเป้าหมายที่เข้าประชุมมีความรู้ ความเข้าใจและใช้วิธีการสหกรณ์ในการด าเนิน กิจกรรมของกลุ่ม 2. เกษตรกรเป้าหมายสามารถพัฒนาอาชีพการเลี้ยงไก่ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - รูปภาพกิจกรรมประกอบ การประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มชาวบ้านเพื่อร่วมกันวางแผนการด าเนินกิจกรรม ของกลุ่มและพัฒนาอาชีพเกษตรด้านการผลิต การตลาดในรูปแบบสหกรณ์ ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 6,200.00 6,200.00 - - 100.00
83 โครงการส่งเสริมสหกรณ์ตามพระราชด าริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการศึกษาดูงานของคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนโรงเรียนต ารวจ ตระเวนชายแดน ประจ าปี 2565 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : 1. เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ด้านงานสหกรณ์ และกิจกรรมอื่นๆ ที่สามารถบูรณาการร่วมกัน ให้กับคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนของโรงเรียน 2. เพื่อเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้การบูรณาการและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ต่างๆ จากสถานที่จริง 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : จ านวน 105 คน ประกอบด้วยคณะกรรมการ/สมาชิกกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ครู จ านวน 90 คน ใน 6 โรงเรียน ดังนี้โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านยูงงาม ,โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน บ้านไร่ยาว, โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านควนมีชัย, โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านเขาวัง, ศูนย์การเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านห้วยตง, ศูนย์การเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านหลังอ้ายหมี ผู้สังเกตการณ์ และเจ้าหน้าที่โครงการฯ จ านวน 15 คน 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : กรรมการสหกรณ์นักเรียน ครู ผู้สังเกตการณ์ และเจ้าหน้าที่โครงการเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1. คณะกรรมการ/สมาชิกกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ครู คน 90 96 106.67 กิจกรรมที่ด าเนินการ 1. ศึกษาดูงานที่สหกรณ์การเกษตรพรหมคีรี จ ากัด คน 90 96 106.67 2. ศึกษาดูงานที่วัดเขาขุนพนม คน 90 96 106.67 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ 1. งบด าเนินงาน 50,400 50,400 - 0 100
84 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมศึกษาดูงานทั้งสิ้น จ านวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 106.67 ซึ่งเกินกว่า เป้าหมายของโครงการ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ประเมินผลโครงการโดยแบบสอบถามจากผู้เข้าร่วมโครงการ ซึ่งมีผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน 90 คน จากทั้งหมด 111 คน คิดเป็นร้อยละ 81 สรุปผลประเมินใน 5 ด้านการประเมิน ได้ดังนี้ ที่ รายการที่ประเมิน ร้อยละของการประเมิน ข้อเสนอ แนะ เพิ่มเติม มาก ที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด 1 การด าเนินโครงการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 1.1 เสริมสร้างประสบการณ์ด้านสหกรณ์ และ กิจกรรมอื่น ๆ ที่สามารถบูรณาการร่วมกัน ให้กับนักเรียนและครู 1.2 เปิดโลกทัศน์ (มุมมอง) การเรียนรู้ การบูรณาการ และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ ต่างๆ จากสถานที่จริง 43.33 48.89 37.78 45.56 18.89 5.56 - - - - - - 2 ระยะเวลา และสถานที่ในการศึกษาดูงาน เหมาะสม 53.33 24.44 22.22 - - - 3 ความพึงพอใจในการด าเนินงานโครงการฯ ใน ภาพรวม 64.44 31.11 3.33 1.11 - - 4 ท่านได้รับความรู้และประสบการณ์เพิ่มขึ้น 58.89 27.78 13.33 - - - 5 ควรมีโครงการเช่นนี้ในปีต่อ ๆ ไป 71.11 24.44 4.44 - - - 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ มีกรรมการสหกรณ์นักเรียน ครู ผู้สังเกตการณ์ และเจ้าหน้าที่โครงการเข้าร่วมโครงการ เกินกว่าตัวชี้วัด และได้รับความรู้ความเข้าใจ เพื่อน าไปใช้ปฏิบัติได้จริง ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ 2. งบด าเนินงาน (ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ) 1,380.47 1,380.47 - 0 100
85 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. งบประมาณจ ากัด ส่งผลเรื่องสถานที่ทัศนศึกษาซึ่งต้องพิจารณาด าเนินการภายในกรอบ ระยะทาง ให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับ แต่ไม่สอดคล้องกับสถานที่ศึกษาดูงานที่นักเรียน เป้าหมายคาดหวัง 2. สถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 ส่งผลให้ต้องเพิ่มการประสานงานเพื่อเปลี่ยนเป้าหมายที่เข้า ร่วมโครงการมากขึ้น เพราะการติดเชื้อในระหว่างด าเนินการโครงการหลายราย 3. โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน 3 แห่ง อยู่ในพื้นที่ ที่สัญญาณโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ตไม่ สมบูรณ์ ส่งผลต่อการติดต่อประสานงานระหว่างการด าเนินโครงการ รูปภาพกิจกรรมประกอบ โครงการศึกษาดูงานของคณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียนโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน ประจ าปี 2565
86 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นิคมสหกรณ์ทุ่งสง 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : 1.1 เพื่อส่งเสริมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืชในท้องถิ่น สนองพระราชด าริ 1.2 เพื่อส่งเสริมเกษตรกร รวมกลุ่มด าเนินกิจกรรมโดยใช้รูปแบบสหกรณ์ในการอนุรักษ์และ ใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช แปรรูป เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และเสริมรายได้แก่เกษตรกร 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : พื้นที่ด าเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชจ านวน 60 ไร่ จัดท าเป็นแปลงสาธิต จ านวน 5 ไร่ 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : 3.1 จ านวนชนิดพันธุ์ที่ส ารวจ 50 ชนิดพืช 3.2 จ านวนต้นพันธุ์พืชที่ส ารวจ 300 ต้น 3.3 จ านวนชนิดพันธุ์พืชในแปลงสาธิต 14 ชนิดพืช 3.4 จ านวนต้นพันธุ์พืชในแปลงสาธิต 170 ต้น 3.5 จ านวนหน่วยงานที่ประสารเพื่อส ารวจและจดบันทึกลักษณะตามพันธุกรรมพืชท้องถิ่น ตามรูปแบบโครงการ 3 แห่ง 3.6 ผู้ใช้ประโยชน์/ผู้เข้ามาศึกษาดูงานแปลงอนุรักษ์พันธุกรรมพืช 60 ราย 3.7 จ านวนเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลแปลงสาธิต ประสานงาน จ านวน 1 ราย 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1.จ านวนชนิดพันธุ์พืชที่ส ารวจ 2.จ านวนต้นพันธุ์พืชที่ส ารวจ 3.จ านวนชนิดพันธุ์พืชในแปลงสาธิต 4.จ านวนตันพันธุ์พืชในแปลงสาธิต 5.หน่วยงานที่ประสานเพื่อส ารวจและบันทึกลักษณะพันธุกรรมพืช 6.จ านวนผู้ใช้ประโยชน์/ผู้เข้าชม/ศึกษาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืช 7.เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลแปลงสาธิต/ประสานงาน ชนิดพืช ต้น ชนิดพืช ต้น แห่ง ราย ราย 50 300 14 170 3 60 1 50 318 20 257 3 60 1 100 100 100 100 100 100 100
87 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ของประชาชนทั่วไปและนักเรียน นักศึกษา ที่เข้ามาศึกษาดูงาน 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ 1. เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านพันธุกรรมพืช ในชุมชน และแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 2. เกษตรการสมาชิกมีจิตส านึก มีความรู้ ความเข้าใจ ในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในท้องถิ่นให้ มีอยู่ตลอดไปมิให้สูญหายและรู้จักใช้ประโยชน์จากพันธุ์พืชอย่างยั่งยืน 3. เกษตรกร มีความรู้ ความเข้าใจ การใช้ประโยชน์พันธ์พืช โดยการแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ เพิ่มมูลค่าและด าเนินกิจกรรมในรูปแบบสหกรณ์ ท าให้สมาชิกมีความเป็นอยู่ที่ดี 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - รูปภาพกิจกรรมประกอบ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 6,300 6,300 - - 100
88 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นิคมสหกรณ์ปากพญา 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : เพื่อเปนการสนองพระราชด าริโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในการอนุรักษพันธุกรรม พืชทองถิ่น พืชสมุนไพร สงเสริมความรูการพัฒนาอาชีพ ใชประโยชนพันธุกรรมพืชในทองถิ่น โดยนิคมสหกรณปากพญา ไดเล็งเห็นถึงประโยชนของพืชที่มีอยูในทองถิ่น ซึ่งเปนพืชทั่วไปในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : นิคมสหกรณ์ปากพญา 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : 1. แปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์ ได้รับการพัฒนาให้เป็นแห่งเรียนรู้พันธุกรรม พืชในชุมชน 1 แปลง 2. ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตาม เป้าหมายที่ก าหนด ร้อยละ 100 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 6,300 6,300 - - 100 ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. แปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์ ได้รับ การพัฒนาให้เป็นแห่งเรียนรู้พันธุกรรมพืชในชุมชน แปลง 1 1 100 2. ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและ กิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ ก าหนด ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 100 100
89 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ มีจ านวนผูเขามาใชประโยชน ผูเขามาศึกษาดูงาน ประกอบดวยเกษตรกรทั่วไป นักเรียน นักศึกษา รวมจ านวน 40 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ แปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณปากพญา เปนศูนยเรียนรู้พันธุกรรมพืชชุมชน โดยการหาวิธีปรับสภาพดินในปาชายเลน ใหเหมาะสมกับการปลูกพืชแตละชนิดพันธุพืช และแนะน า สงเสริมดานอาชีพ การใชประโยชนพันธุกรรมพืชในทองถิ่น 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ สมาชิกสหกรณหรือประชาชนทั่วไปเล็งเห็นถึงประโยชนของพืชในท้องถิ่นและเปนแหลงเรียนรู ใหกับสมาชิกสหกรณ์ ลูกหลาน และเยาวชนทั่วไปไดเขามาศึกษา และได้ใช้ประโยชน์ 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข สภาพดินในพื้นที่ มีลักษณะเป็นดินเค็ม น้ ากรอย เนื่องจากไดรับผลกระทบจากน้ าทะเลหนุน ในช่วงฤดูมรสุม ทั้งนี้ พื้นที่นิคมสหกรณ์ปากพญาเปนพื้นที่ปาชายเลนทั้งหมด แนวทางแกไข ปรับพื้นยกรอง และใช้ปลองทอ รูปภาพกิจกรรมประกอบ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี