90 โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : ด าเนินการประชาสัมพันธ์การจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ และร่วมด าเนินการจัด กิจกรรม คลินิกสหกรณ์ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ในอ.ช้างกลาง อ.เชียรใหญ่ อ.ปากพนัง อ.เมืองนครศรีธรรมราช 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : ครั้งที่ 1 วันที่ 28 ธันวาคม 2564 ณ ที่ว่าการอ าเภอช้างกลาง มีผู้เข้าร่วม จ านวน 84 ราย ครั้งที่ 2 วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 ณ โรงเรียนบ้านปากเชียร มีผู้เข้าร่วม จ านวน 73 ราย ครั้งที่ 3 วันที่ 15 มิถุนายน 2565 ณ อาคารอเนกประสงค์ศูนย์อ านวยการและประสานงาน การพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ าปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด าริ มีผู้เข้าร่วม จ านวน 110 ราย ครั้งที่ 4 วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 ณ องค์การบริหารส่วนต าบลบางจาก มีผู้เข้าร่วม จ านวน 131 ราย 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : ร่วมกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ จ านวน 4 ครั้ง มีผู้ใช้บริการจ านวน 391 ราย 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 9,100 9,100 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จัดคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ จ านวน 4 ครั้ง มีผู้ใช้บริการรวม จ านวน 391 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ประชาชนที่เข้ารับบริการได้ความรู้ด้านกรสหกรณ์และการส่งเสริมการออม หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ร่วมจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ 4 ครั้ง 4 4 100
91 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ - 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - รูปภาพกิจกรรมประกอบ โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
92 โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : 1. เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ ในการด าเนินงาน และสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้น าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในชีวิตประจ าวัน 2. เพื่อคัดเลือกและยกย่องสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่น้อมน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในระดับองค์กรและระดับสมาชิกได้อย่างโดดเด่น สามารถเป็นแบบอย่าง ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นน าไปประยุกต์ใช้ได้ 3. เพื่อเป็นการเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรอื่น ได้น้อมน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินงาน ส่งเสริมและ สนับสนุนให้สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการด าเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จังหวัดละ 5 แห่ง 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 6,200.00 6,200.00 - - 100.00 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์มีความประสงค์เข้าสมัครรับเลือก จ านวน 3 แห่ง ที่ชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จงัหวัด เขต ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 รวม ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 รวม รวมทงั้สิ้น ระดับองค์กร ระดับสมาชิก (30 คะแนน) (30 คะแนน) (110 คะแนน) (40 คะแนน) (30 คะแนน) (30 คะแนน) (30 คะแนน) (300 คะแนน) (25 คะแนน) (25 คะแนน) (25 คะแนน) (125 คะแนน) (200 คะแนน) (500 คะแนน) 1 สกย.บ้านเสม็ดจวนพฒันา จก. นครศรีธรรมราช 3 0 5 108 4 0 3 0 1 0 2 0 243 2 5 2 5 2 5 125 200 443 2 สกย.คลองรอพฒันา จก. นครศรีธรรมราช 7 5 6 2 1 9 1 0 1 0 0 113 2 5 1 5 0 9 0 130 243 3 สกก.พระพรหม จก. นครศรีธรรมราช 2 5 1 5 7 0 4 0 3 0 3 0 3 0 240 2 5 2 5 2 5 125 200 440 แบบสรุปการใหค้ะแนนการประเมิน ส านกังานสหกรณ์จงัหวัดนครศรีธรรมราช แบบที่ 4 ระดับองค์กร ระดับสมาชิก
93 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ 1. น าแนวทาง รูปแบบ วิธีการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่ได้รับการคัดเลือกใช้ เป็นแบบอย่างให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นน าไปประยุกต์และปฏิบัติในการด าเนินงานต่อไป 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับแรงจูงใจ ส่งผลให้มีการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในการด าเนินงาน และส่งผลต่อสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีการด าเนินชีวิต แบบเศรษฐกิจพอเพียง 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - รูปภาพกิจกรรมประกอบ การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปี 2565
94 โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : 1. เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสน าเงินส่วนที่ ได้รับการช่วยเหลือไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สมาชิกสหกรณ์ที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตร ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 ต้นเงินกู้ขอรับการชดเชยไม่เกิน 300,000 บาทแรก จ านวน 23 สหกรณ์ สมาชิกจ านวน 4,920 ราย ประกอบด้วย 1. สหกรณ์นิคมทุ่งสง จ ากัด 2. สหกรณ์การเกษตรสิชล จ ากัด 3. สหกรณ์การเกษตรเมือง นครศรีธรรมราช จ ากัด 4. สหกรณ์การเกษตรกะทูน จ ากัด 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนศูนย์กลางละอาย จ ากัด 6. สหกรณ์การเกษตรพิปูน จ ากัด 7. สหกรณ์การเกษตรพระพรหม จ ากัด 8. สหกรณ์เครดิตยู เนี่ยนก้าวสร้างสรรค์ จ ากัด 9. สหกรณ์การเกษตรทุ่งสง จ ากัด 10. สหกรณ์การเกษตรขนอม จ ากัด 11. สหกรณ์กองทุนสวนยางโคกยาง จ ากัด 12. สหกรณ์การเกษตรทุ่งใหญ่ จ ากัด 13. สหกรณ์ การเกษตรเขาน้อยสิชล จ ากัด 14. สหกรณ์การเกษตรปากพนัง จ ากัด 15. สหกรณ์การเกษตรร่อน พิบูลย์ จ ากัด 16. สหกรณ์การเกษตรพรหมคีรี จ ากัด 17. สหกรณ์การเกษตรเชียรใหญ่ จ ากัด 18. สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตปากพนัง จ ากัด 19. สหกรณ์การเกษตรนาบอน จ ากัด 20. สหกรณ์ การเกษตรท่าศาลา จ ากัด 21. สหกรณ์กองทุนสวนยางคลองรอพัฒนา จ ากัด 22. สหกรณ์กองทุนสวน ยางบ้านวังลุง จ ากัด 23. สหกรณ์การเกษตรพัฒนาชนบทนบพิต า จ ากัด 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบี้ย จ านวน 4,920 ราย 2. จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิก เพิ่มขึ้น ร้อยละ 62 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มี หนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลด ภาระดอกเบี้ย ราย 4,920 4,920 100 แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
95 ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 2. จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มี อัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สิน ของสมาชิกเพิ่มขึ้น ร้อยละ 62 60.87 98.18 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ เงินอุดหนุน 3,381,661.20 3,381,661.20 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ได้รับความช่วยเหลือชดเชยดอกเบี้ยให้สมาชิก 23 สหกรณ์จ านวนสมาชิก 4,920 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกได้รับเงินชดเชยดอกเบี้ย 3% จ านวน 4,977 ราย ท าให้สมาชิกสามรถลดต้นทุนการผลิตได้ 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ 1. สมาชิกสหกรณ์ได้รับความช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนด้านภาระหนี้สิน 2. สมาชิกสหกรณ์ได้รับโอกาสในการฟื้นฟูอาชีพตนเอง 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข โครงการมีปัญหาในเรื่องของความล่าช้าในการจัดสรรงบประมาณและงบประมาณที่ได้รับนั้น ไม่เต็มจ านวนที่ขอชดเชย ควรจัดสรรงบประมาณให้เร็วขึ้นและจัดสรรเป็นเงินก้อนเดียวไม่เป็นงวด
96 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มประชาชนในพื้นที่เป้าหมายการจัดที่ดินท ากินให้ชุมชนและส่งเสริม พัฒนาอาชีพและการตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนให้มีความกินดี อยู่ดี มีสันติสุข และสร้างความเข้มแข็งในชุมชน 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : พื้นที่เป้าหมายตามมติคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ประกอบด้วยเกษตรกร ในพื้นที่โครงการแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร รวม 3 พื้นที่ ได้แก่ 1) ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขา พระบาท อ.หัวไทร2) ป่าสงวนแห่งชาติ ป่ายางโพรงและป่าเขาใหญ่ อ.สิชล3) ป่าชายเลน อ.เมือง และ อ.ปากพนัง 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ จัดท าฐานข้อมูลเกษตรกรในพื้นที่ คทช. 3 พื้นที่ 3 พื้นที่ 3 พื้นที่ 100 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ กิจกรรม ช่วงเวลา เป้าหมาย ผลการปฏิบัติ - ประสานแนะน า เกษตรกรเป้าหมาย มี.ค.-ก.ค.65 เกษตรกรในโครงการฯ จ านวน 3 พื้นที่ ด าเนินการเข้าไปส่งเสริมการบริหาร จัดการกลุ่มในพื้นที่ คทช. จ านวน 3 พื้นที่ - ตรวจสอบและ จัดท าฐานข้อมูล มี.ค. – ส.ค.65 เกษตรกรในโครงการฯ จ านวน 3 พื้นที่ -ตรวจสอบฐานข้อมูลความต้องการพัฒนา อาชีพของเกษตรกรตามโครงการฯ จ านวน 447 ราย กิจกรรม ช่วงเวลา เป้าหมาย ผลการปฏิบัติ ประชุมคณะท างาน ด้านการส่งเสริม พัฒนาอาชีพและ การตลาด มี.ค.-ส.ค.65 จ านวน 4 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 7 ก.พ.65 ครั้งที่ 2 วันที่ 25 เม.ย.65 ครั้งที่ 3 วันที่ 27 ก.ค.65 ครั้งที่ 4 วันที่ 29 ส.ค.65 ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก แผนบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก
97 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 10,700 10,700 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จัดท าฐานข้อมูลเกษตรกรในพื้นที่ คทช. จ านวน 3 พื้นที่ จ านวน 447 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรมีความรู้ความเข้าในการรวมกลุ่ม 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ เกษตรกรมีแนวทางคิดในการรวมกลุ่ม ตลอดจน ตลอดจนได้รับการส่งเสริมพัฒนาอาชีพจากหน่วยงาน 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. เกษตรกรมีความคาดหวัง การได้มาซึ่งเอกสารการครอบครองที่ดินที่ได้รับการจัดสรร มากกว่าการพัฒนาอาชีพ 2. การตรวจสอบและจัดท าฐานข้อมูลเกษตรกรในพื้นที่ ไม่สามารถด าเนินการตรวจสอบได้ครบ ทุกราย ทั้งข้อจ ากัดด้านพื้นที่ ระยะเวลาด าเนินการ เกษตรกรที่ได้รับสิทธิ์ อยู่นอกพื้นที่ โดยก านัน/ ผู้ใหญ่บ้าน เป็นผู้ยืนยันการอยู่ในพื้นที่ 3. หน่วยงาบูรณาการตามค าสั่งคณะท างานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ไม่ได้รับ งบประมาณเพื่อด าเนินการในพื้นที่ คทช. ท าให้ไม่สามารถขับเคลื่อนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพ ได้ครบ ตามกรอบภารกิจ 6 ด้าน ได้ครบทุกด้านและทุกพื้นที่ ด าเนินการได้เฉพาะบางพื้นที่ สนับสนุนปัจจัยการผลิต ประชุมคณะท างานฯ จัดอบรมเกษตรกรในพื้นที่ คทช.
98 โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในส าหรับสินค้าเกษตร 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร เชื่อมโยงเครือข่ายสินค้าคลัสเตอร์ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1. สหกรณ์การเกษตรพรหมคีรี จ ากัด 2. สหกรณ์การเกษตร ลานสกา จ ากัด 3. สหกรณ์การเกษตรหัวไทร จ ากัด 4. สหกรณ์การเกษตรเขาน้อย จ ากัด 5. สหกรณ์การเกษตรนาบอน จ ากัด 6. สหกรณ์การเกษตรพิปูน จ ากัด 7. สหกรณ์การเกษตรพัฒนา ชนบทนบพิต า จ ากัด 8. สหกรณ์การเกษตรพระพรหม จ ากัด9. สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน้ าปากพนัง จ ากัด 10. กลุ่มเกษตรกรท าสวนตลิ่งชัน 11. กลุ่มเกษตรกรท าสวนไม้เรียง 3. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงาน/โครงการ : 1. ผลผลิต (Output) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหาร จัดการ ด้านการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์ จ านวน 3 แห่ง 2. ผลลัพธ์ (Outcome) ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ขยายตัว ร้อยละ 3 3. มูลค่าสินค้าเกษตรที่ซื้อขายผ่านช่องทางการตลาด (บาท) 4. ผลส าเร็จตามตัวชี้วัดจากการด าเนินงานโครงการ ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการ ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการ ด้านการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่าย คลัสเตอร์ จ านวน 3 แห่ง แห่ง 3 3 100 2. ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการขยายตัว ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 -51.31% -51.31% 3.มูลค่าสินค้าเกษตรที่ซื้อขายผ่าน ช่องทางการตลาด บาท - 94,520,500 100
99 5. งบประมาณและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ประเภท งบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ส่งคืน (บาท) คงเหลือ (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 18,000 18,000 - - 100 6. ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์มีมูลค่าสินค้าเกษตรที่ซื้อขายผ่านช่องทางการตลาด จ านวน 94,520,500 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการ ด้านการตลาด การเชื่อมโยง เครือข่ายคลัสเตอร์ 7. ประโยชน์ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรหรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับ สหกรณ์มีแผนการขับเคลื่อนฯ แห่งละ 1 คู่ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารจัดการ ด้านการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์และมีมูลค่าสินค้าเกษตรที่ซื้อขาย ผ่านช่องทางการตลาด 8. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. ปัญหาสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิดในพื้นที่ค่อนข้างรุนแรงไม่สามารถจัดประชุมได้ จึงต้องมีการขออนุมัติเปลี่ยนวันจัดประชุมหลายครั้ง 2. สภาพดินฟ้าอากาศไม่เอื้ออ านวย ส่งผลให้ผลไม้ไม่ออกผลผลิตน้อย หรืออาจจะไม่มี ผลผลิตที่ก าหนดไว้ รูปภาพกิจกรรมประกอบ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 2
100 2. ผลการด าเนินงาน/โครงการตามนโยบายส าคัญ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งานส่งเสริมและพัฒนา โครงการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์/โครงการ : 1. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร สร้างความเข้มแข็งและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างกลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และสหกรณ์ รวมถึงเชื่อมโยงไปถึงผู้ประกอบการภาคเอกชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิต มีผลผลิตต่อหน่วยเพิ่มขึ้น ผลผลิตมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และสอดคล้องกับความต้องการของตลาด ภายใต้การบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน 2. การด าเนินกิจกรรมและ ผลส าเร็จการด าเนินงาน 2.1 สนับสนุนด้านการตลาด โดยมีบทบาททางการตลาดในการเข้าร่วมอบรมให้ความรู้กับ กลุ่มแปลงใหญ่ ปี 2563 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 55 (เป้าหมายจ านวน 17 แปลง) ตัวชี้วัดจากการด าเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ การด าเนินงานตามแนวทางส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2563 กรมส่งเสริมสหกรณ์ แห่ง 17 12 70.58 2.2 การส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวน 26 แปลง ให้สหกรณ์ มีบทบาทหน้าที่ทางการตลาดในการรวบรวมผลผลิตของกลุ่มแปลงใหญ่ ชื่อแปลงใหญ่ จ านวน (แปลง) มูลค่าการรวบรวม (ล้านบาท) ปริมาณ (ตัน) แปลงใหญ่ยางพารา 22 228.4 4,644.66 แปลงใหญ่กุ้งขาว 1 43.42 220.46 แปลงใหญ่ข้าว 2 0 0 แปลงใหญ่มังคุด 1 0 0 รวม 26 271.90 4,865.12
101 รูปภาพกิจกรรมประกอบ การเข้าร่วมอบรมให้ความรู้กับกลุ่มแปลงใหญ่ ปี 2563
102 โครงการส่งเสริมการด าเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ ที่มาโครงการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีนโยบายในการพัฒนาร้านค้าสหกรณ์ ให้เป็นจุดจ าหน่ายสินค้า ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีคุณภาพจากจังหวัดต่าง ๆ เช่น ข้าวสาร ไข่ไก่ ผัก ผลไม้ เพื่อให้ ผู้บริโภคเข้าถึงสินค้าสหกรณ์ ผลักดันให้สหกรณ์เป็นศูนย์รวบรวมและจ าหน่ายผลผลิตคุณภาพ แก่ประชาชนในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ ภายใต้แนวคิด สดจากฟาร์มถึงมือคุณ Fresh From Farm by Co-op “สด สะอาด ปลอดภัย” เป็นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจคุณภาพชีวิตของสมาชิก เกษตรกร รวมถึงชุมชนละสังคมได้บริโภคสินค้าที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ในราคาที่เป็นธรรม วัตถุประสงค์ ส่งเสริมและพัฒนาการด าเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ ส่งเสริมความร่วมมือการเชื่อมโยงธุรกิจ ระหว่างสหกรณ์ผู้ผลิตและร้านค้า ขยายโอกาสทางการตลาดสินค้าสหกรณ์ ผ่านซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ จ านวน 2 แห่ง สหกรณ์การเกษตรพรหมคีรี จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรพิปูน จ ากัด ผลการด าเนินการของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ผลการจ าหน่ายสินค้าในส่วนของซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ สินค้า สหกรณ์เครือข่าย/กลุ่มเกษตรกร/ผู้ผลิต มูลค่า (บาท) ข้าวสาร สกก.เกษตรวิสัย จ ากัด สกก.สุวรรณภูมิ จ ากัด (จ.ร้อยเอ็ด) สกต.ธกส.นครศรีธรรมราช จ ากัด 10,533,890.05 ไข่เป็ด ไข่ไก่ กลุ่มเกษตรกรท าสวนทุ่งสง , สกก.เขาน้อย จ ากัด สก.ปาล์มควนชะลิก จ ากัด 232,328 หมูฝอย สกก.วัดจันทร์ จ ากัด (พิษณุโลก) 3,900 ผลไม้ (ล าไย ส้มโชกุล ส้มโอทับทิมสยาม ลิ้นจี่) สกก.ประตูป่า จ ากัด (จ.ล าพูน)กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกส้มโชกุล (จ.ยะลา) กลุ่มเกษตรกรบ้านแสงวิมาน , สกก.เชียงกลาง จ ากัด (จ.น่าน) สกก.บ้านโฮ่ง จ ากัด (จ.ล าพูน) 2,956,090 ผักสด/ปลาเปรี้ยว / ขนมของฝาก สมาชิก 148,741 กุ้งสด/ปูด า สก.ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน้ าปากพนัง จ ากัด สก.นิคมประมงนครศรีธรรมราช จ ากัด 198,737 เสื้อม่อฮ่อม สก.ส่งเสริมเกษตรกรป่าซาง จ ากัด (จ.ล าพูน) 50,560 รวม 14,124,246.05
103 เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ ให้สมาชิกกู้ยืม หรือจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย หรือรวบรวมผลผลิต 2. เพื่อลงทุนในสินทรัพย์ 3. ระยะเวลาให้กู้ยืม - เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ ระยะเวลาให้กู้ไม่เกิน 1 ปี/1 ฤดูกาลผลิต - เพื่อลงทุนในทรัพย์สิน ระยะเวลาให้กู้ไม่เกิน 15 ปี - กรณีระยะเวลาให้กู้ยืมนอกเหนือจาก ข้อ 1 และข้อ 2 ให้พิจารณาเป็นรายๆ ไป การก าหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จะพิจารณาแตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ ในการกู้เงิน ผลการจัดชั้นลูกหนี้ และขนาดของสหกรณ์ตามหลักเกณฑ์ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) เป็นเงินกู้เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนให้กับสหกรณ์ในการด าเนิน ธุรกิจ โดยเป็นไปตามหลักเกณฑ์การให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ดังนี้ คุณสมบัติของสหกรณ์ที่จะกู้ยืม 1. สหกรณ์ทุกประเภท 2. มีทุนเรือนหุ้นไม่ต่ ากว่า 50,000 บาท 3. มีวินัยทางการเงิน และไม่มีหนี้ผิดนัดค้างช าระต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ทุกเงินทุน 4. ไม่มีการทุจริต และไม่มีข้อบกพร่องทางการเงินและทางบัญชีในกรณีที่สหกรณ์มี ข้อบกพร่องหรือทุจริตต้องได้รับการแก้ไขแล้ว 5. สหกรณ์ตั้งใหม่ไม่เกิน 1 ปี ให้กู้ได้ไม่เกิน 500,000 บาท ส าหรับสหกรณ์ที่ประสงค์ของขอกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ของจังหวัดนครศรีธรรมราช นอกจากจะต้องมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์การให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์แล้ว สหกรณ์จะต้องผ่าน การจัดชั้นลูกหนี้ กพส. เพื่อใช้ประกอบในการเรียกเก็บอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ผลการด าเนินงาน : เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ได้ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 เพื่อสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ และช่วยเหลือด้านเงินกู้แก่สมาชิกเพื่อใช้ เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพของสมาชิก โดยสหกรณ์ยื่นค าขอกู้เงินผ่านส านักงานสหกรณ์
104 จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อเสนอที่ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อพิจารณาอนุญาตให้สหกรณ์กู้เงินแล้วเสนอความเห็นให้ผู้มีอ านาจอนุมัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้รับจัดสรรวงเงินกู้ เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จ านวน 94.73 ล้านบาท เพื่อเป็นทุนให้สหกรณ์ในการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้รับวงเงินจัดสรร จ านวน 94.73 ล้านบาท และคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด นครศรีธรรมราช ได้พิจารณาอนุญาตให้สหกรณ์กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จ านวน 42 สหกรณ์ จ านวน 52 สัญญา เป็นเงินทั้งสิ้น 94,730,000 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์ที่กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จ านวน 42 สหกรณ์ จ านวน 52 สัญญา เป็นเงินทั้งสิ้น 94,730,000 บาท มีการใช้เงินกู้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการขอกู้ เงินทุกสหกรณ์ โดยแยกตามวัตถุประสงค์ในการขอกู้ได้ ดังนี้ 1. เพื่อจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 9 สัญญา เป็นเงิน 16,100,000 บาท 2. เพื่อเป็นทุนให้สมาชิกกู้ จ านวน 35 สัญญา เป็นเงิน 54,830,000 บาท 3. เพื่อรวบรวมผลไม้ จ านวน 2 สัญญา เป็นเงิน 8,000,000 บาท 4. เพื่อรวบรวมยางพารา จ านวน 3 สัญญา เป็นเงิน 6,300,000 บาท 5. เพื่อรวบรวมผลผลิตกุ้ง จ านวน 2 สัญญา เป็นเงิน 7,000,000 บาท 6. เพื่อรวบรวมปาล์มน้ ามัน จ านวน 3 สัญญา เป็นเงิน 4,500,000 บาท และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีลูกหนี้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ถึงก าหนดช าระ จ านวน 56 สัญญา เป็นเงิน 87,787,000 บาท สหกรณ์สามารถส่งช าระหนี้ได้ 56 สัญญา คิดเป็นร้อยละ 100 ของหนี้ถึงก าหนดช าระ ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1. สหกรณ์ไม่สามารถจัดท าค าขอกู้เงิน (กพส.) ได้อย่างถูกต้อง 2. สหกรณ์ขาดความรู้ ความเข้าใจในการด าเนินธุรกิจ ท าให้สหกรณ์ประสบปัญหาการ ด าเนินงานขาดทุน จึงท าให้ไม่สามารถส่งช าระหนี้คืนได้ แนวทางแก้ไข ประชุมชี้แจงสหกรณ์และผู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับขั้นตอนการจัดท าค าขอกู้เงิน (กพส.)
105 รูปภาพประกอบกิจกรรม
106 เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร และกองทุนอื่นๆ ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับการสนับสนุนในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. สนับสนุนเงินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรเฉพาะที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อให้มีเงินกู้ยืมใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในแต่ละปี รวม 5 ปี 2. เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพ และราคา ยุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้ง สร้างรายได้เพิ่มจากการรวบรวมผลผลิตเพื่อจ าหน่าย หรือแปรรูปผลผลิตร่วมกัน 3. สร้างโอกาสการถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้างความยั่งยืน ในการเพิ่มทุนภายใน เพื่อให้การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพและเข้มแข็งต่อไป เป้าหมาย/พื้นที่โครงการ สนับสนุนเงินทุนเพื่อเป็นเงินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรที่ได้มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ใน จังหวัดนครศรีธรรมราช ใช้เงินกู้หมุนเวียนในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี ผลการด าเนินงาน : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราชได้ให้การสนับสนุนเงินกู้ยืมโครงการดังกล่าวแก่กลุ่ม เกษตรกร จ านวน 24 กลุ่ม 26 สัญญา เป็นเงินจ านวนรวม 22.25 ล้านบาท ครบก าหนดช าระ 28 เมษายน 2566 กลุ่มเกษตรกรกู้เงินตามวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. ส่งเสริมการผลิต 13 สัญญา จ านวนเงินรวม 9,870,000 บาท 2. จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 10 สัญญา จ านวนเงินรวม 11,480,000 บาท 3. แปรรูปผลิตผลการเกษตร 1 สัญญา จ านวนเงินรวม 300,000 บาท 4. รวบรวมผลผลิต 2 สัญญา จ านวนเงินรวม 600,000 บาท กลุ่มเกษตรกรน าเงินทุนไปเพิ่มขีดความสามารถในการด าเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร เพื่ออ านวย ประโยชน์และให้บริการแก่สมาชิกได้มากยิ่งขึ้น ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนเงินทุนปลอดดอกเบี้ยเป็นทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหาร จัดการธุรกิจให้บริการแก่สมาชิกของกลุ่มเกษตรกร ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ มีสมาชิกเข้าร่วม โครงการซึ่งได้รับผลประโยชน์จากเงินทุน จ านวน 645 คน เป็นเงิน 18.07 ล้านบาท
107 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มเกษตรกรมีทุนหมุนเวียนในการให้บริการสมาชิกกู้เพื่อประกอบอาชีพอย่างเพียงพอ สามารถเสริมสร้างสภาพคล่องด้านเงินทุนให้แก่กลุ่มเกษตรกรได้ ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - รูปภาพประกอบกิจกรรม
108 โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกร รองรับผลผลิตทางการเกษตร (พรก.เงินกู้) สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ มีจ านวน 8 สหกรณ์ 1. สหกรณ์ปาล์มควนชะลิก จ ากัด 2. สหกรณ์กองทุนสวนยางเสม็ดจวนพัฒนา จ ากัด 3. สหกรณ์นิคมทุ่งสง จ ากัด 4. สหกรณ์กองทุนสวนยางคลองรอพัฒนา จ ากัด 5. สหกรณ์กองทุนสวนยางเทพทองพัฒนา จ ากัด 6. สหกรณ์กองทุนสวนยางนิคม จ ากัด 7. สหกรณ์กองทุนสวนยางโสตประชา จ ากัด 8. สหกรณ์การเกษตรเขาขาว จ ากัด จากการรายงานการใช้ประโยชน์เครื่องตัดหญ้า ในระหว่างปีมีสมาชิกมาใช้บริการเป็นจ านวน 196 ราย เป็นจ านวน 1,212 ไร่ เป็นจ านวน เงิน 26,500 บาท และความถี่ในการใช้อุปกรณ์การตลาด ของสหกรณ์การเกษตรเขาขาว จ ากัด จ านวน 3,404 ครั้ง รูปภาพประกอบกิจกรรม
109 3. รางวัลที่หน่วยงานได้รับจากหน่วยงานภาคส่วนต่างๆ ภายนอก 1. รางวัลเลิศรัฐ การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทรางวัลร่วมใจแก้จน ระดับดี ผลงาน “เปลี่ยนผืนนา สู่แปลงปาล์ม สร้างรายได้ สมาชิกสหกรณ์ปาล์มควนชะลิก จ ากัด” นางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานพิธี มอบโล่ประกาศเกียรติคุณรางวัลเลิศรัฐ ให้แก่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราชและสหกรณ์ปาล์ม ควนชะลิก จ ากัด จากผลงาน รางวัลการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจ าปี พ.ศ. 2565 ประเภท รางวัลร่วมใจแก้จน ของส านักงาน ป.ย.ป ระดับดี ผลงานเรื่อง “เปลี่ยนผืนนา สู่แปลงปาล์ม สร้างรายได้ สมาชิกสหกรณ์ปาล์มควนชะลิก จ ากัด” เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2565 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมปรินซ์พาเลซ ถนนกรุงเกษม กรุงเทพมหานคร
110 2. รางวัลหน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระดับคุณภาพดีมาก อันดับที่ 1 นายวิศิษฐ์ ศรีสุวรรณ์ อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์มอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่ส านักงาน สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช “ รางวัลหน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระดับคุณภาพดีมาก อันดับที่ 1" เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2565 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมปรินซ์พาเลซ ถนนกรุงเกษม กรุงเทพมหานคร
111 3. รางวัลผลการด าเนินงานดีเยี่ยม การบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นายวิศิษฐ์ ศรีสุวรรณ์ อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์มอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่ส านักงาน สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช “รางวัลการประเมินผลการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 รางวัลผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม กลุ่มจังหวัดที่การเบิกจ่ายเงินกู้ ระหว่างปี จ านวน 40 สัญญา ขึ้นไป เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2565 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมปรินซ์ พาเลซ ถนนกรุงเกษม กรุงเทพมหานคร
112 4. รางวัลหน่วยงานที่ส่งเสริมสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรท าสวนยางค้อม ได้รับรางวัลสถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ประเภทกลุ่มเกษตรกรท าสวน ประจ าปี พ.ศ. 2565 กลุ่มเกษตรกรท าสวนยางค้อม ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ประเภทกลุ่มเกษตรกรท าสวน ประจ าปี 2565 จากพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรี สินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพืชมงคล วันที่ 13 พฤษภาคม 2565 และ ได้รับเงินอุดหนุนจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ จ านวน 100,000.00 บาท ทั้งนี้ นายวิศิษฐ์ ศรีสุวรรณ์ อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์มอบประกาศเกียรติคุณให้แก่ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ในฐานะที่เป็นหน่วยงานส่งเสริมสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรท าสวนยางค้อมได้รับรางวัลสถาบันเกษตรกร ดีเด่นแห่งชาติ ประเภทกลุ่มเกษตรกรท าสวน ประจ าปี พ.ศ. 2565 เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2565 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมปรินซ์พาเลซ ถนนกรุงเกษม กรุงเทพมหานคร
113
114 1. งานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ภายในจังหวัด กิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน เราท าความดี ด้วยหัวใจ วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 ผู้แทนส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าร่วมร่วม กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 28 กรกฎาคม 2565 กิจกรรม “ปรับภูมิทัศน์สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ (แยกเบญจมฯ) และถนน เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พ.ศ. 2562 บริเวณถนน ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4103 (แยกบางปู-แยกนาพรุ)” โดยมีนายไกรศร วิศิษฏ์วงศ์ ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประธานในการจัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนา เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 28 กรกฎาคม 2565 และเพื่อร่วมสร้างความสะอาด สวยงาม และความเป็นระเบียบเรียบร้อย แก่สวนสาธารณะเฉลิม พระเกียรติและสองข้างทางถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4103 (แยกบางปู - แยกนาพรุ) จังหวัด นครศรีธรรมราช สร้างความประทับใจแก่ผู้พบเห็น
115 2. การจัดงาน/กิจกรรมต่างๆ ในวันสหกรณ์แห่งชาติ กิจกรรมวันสหกรณ์แห่งชาติ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กิจกรรมยกปิ่นโตเข้าวัด เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลและร าลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ของพระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย นายไพฑูรย์ ชนะชู สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช น าข้าราชการ ลูกจ้างประจ า และ พนักงานราชการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ด าเนินกิจกรรมยกปิ่นโตเข้าวัด ณ วัดคูพาย ถนนพัฒนาการคูขวาง ต าบลในเมือง อ าเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลและร าลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย
116 กิจกรรมวันคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมสหกรณ์ ครบรอบ 50 ปี 3. การจัดงาน/กิจกรรมต่างๆ ในวันคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมสหกรณ์ ครบรอบ 50 ปี ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช คว้า 5 รางวัล เนื่องในโอกาสคล้ายวันสถาปนา กรมส่งเสริมสหกรณ์ ครบรอบปีที่ 50 วันที่ 29 กันยายน 2565 นางสาวปรานอม จันทร์ใหม่ สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมด้วยผู้อ านวยการกลุ่มวิชาการ และผู้อ านวยการนิคมสหกรณ์ คว้ารางวัล จ านวน 5 รางวัล ประกอบด้วย 1) รางวัลเลิศรัฐ การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทรางวัลร่วมใจแก้จน ระดับดี ผลงาน “เปลี่ยนผืนนา สู่แปลงปาล์ม สร้างรายได้ สมาชิกสหกรณ์ปาล์มควนชะลิก จ ากัด” 2) รางวัลหน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระดับคุณภาพดีมาก อันดับที่ 1 3) รางวัลการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รางวัลผลการด าเนินงาน ดีเยี่ยม 4) รางวัลหน่วยงานที่ส่งเสริม สนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรท าสวนยางค้อมได้รับรางวัลสถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ประเภทกลุ่ม เกษตรกรท าสวน ประจ าปี พ.ศ. 2565 5) รางวัลนักส่งเสริมสหกรณ์ดีเด่น ระดับเขต (นายชวรัตน์ มณีโลกย์) ประจ าปี พ.ศ. 2565 เนื่องในโอกาสคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมสหกรณ์ ครบรอบปีที่ 50
117 4. ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ตรวจรับการประเมินผลงานรางวัลเลิศรัฐ “เปลี่ยนผืนนา สู่แปลงปาล์ม สร้างรายได้สมาชิกสหกรณ์ปาล์มควนชะลิก จ ากัด” จากคณะกรรมการตรวจประเมินส านักงาน ป.ย.ป เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2565 เวลา 13.00 น. นายสนั่น สนธิเมือง รองผู้ว่าราชการจังหวัด นครศรีธรรมราช พร้อมด้วย นางสาวปรานอม จันทร์ใหม่ สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้แทนสหกรณ์ ปาล์มควนชะลิก จ ากัด หน่วยงานบูรณาการที่เกี่ยวข้อง และคณะท างานเข้าร่วมประชุมรับการตรวจประเมิน รางวัลเลิศรัฐ สาขาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทร่วมใจแก้จน ประจ าปี พ.ศ. 2565 ขั้นตอนที่ 2 ภายใต้ผลงานเรื่อง “เปลี่ยนผืนนา สู่แปลงปาล์ม สร้างรายได้สมาชิกสหกรณ์ปาล์มควนชะลิก จ ากัด” จากคณะกรรมการตรวจประเมินส านักงาน ป.ย.ป ณ สหกรณ์ปาล์มควนชะลิก จ ากัด 18/3 หมู่ 4 ต าบลควนชะลิก อ าเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ Zoom) โดยมี หน่วยงานภาคีเครือข่าย ได้แก่ ผู้อ านวยการสถานีพัฒนาที่ดินนครศรีธรรมราช,ผู้อ านวยการศูนย์วิจัยปาล์ม น้ ามันสุราษฎร์ธานี,พาณิชย์จังหวัดนครศรีธรรมราช, นายอ าเภอหัวไทร, ผู้แทนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด นครศรีธรรมราช,ผู้แทนเกษตรจังหวัดนครศรีธรรมราช,ผู้แทนส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นครศรีธรรมราช, นายก สมาคมลานเทลุ่มน้ าปากพนัง –ลุ่มน้ าทะเลสาบสงขลา และผู้แทนภาคเอกชน ผู้รับซื้อปาล์มน้ ามัน นอกจากนี้ยังมี สหกรณ์เครือข่าย ประกอบด้วย สหกรณ์การเกษตรพรหมคีรี จ ากัด, สหกรณ์การเกษตรหัวไทร จ ากัด, สหกรณ์การเกษตร เชียรใหญ่ จ ากัด,สหกรณ์การเกษตรปากพนัง จ ากัด รวมทั้งยังมีผู้แทนองค์การบริหารส่วนต าบลแหลม ต าบล ควนชะลิก สมาชิกสหกรณ์ และประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง เข้าร่วม 100 คน ซึ่งนับเป็นความร่วมมือ ของทุกภาคส่วนในพื้นที่ที่ได้ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาความยากจนให้แก่สมาชิกสหกรณ์ปาล์มควนชะลิก จ ากัด และเกษตรกรใกล้เคียงให้มีรายได้ที่มั่นคง แก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกร จนเกิดผลส าเร็จ เป็นรูปธรรม
118 5. ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประชุมขับเคลื่อนการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและการเชื่อมโยงเครือข่ายสินค้า สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดร้อยเอ็ด วันที่ 26 กรกฎาคม 2565 นางสาวปรานอม จันทร์ใหม่ สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดประชุมขับเคลื่อนการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย และการเชื่อมโยงเครือข่ายสินค้าสหกรณ์จังหวัด นครศรีธรรมราช ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช มีสหกรณ์เป้าหมายเข้าร่วม ประชุม คือ สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปี งบประมาณ 2563 - 2564 จ านวน 7 แห่ง และมีประธาน กรรมการ และผู้จัดการ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรเครือข่ายในจังหวัดเข้าร่วมประชุมอีก 20 แห่ง รวม 65 ราย เพื่อเตรียมความพร้อมในการ ขอเข้าร่วมโครงการขอรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ในปี 2566 รวมถึงมีการ แลกเปลี่ยนเชื่อมโยงสินค้าเกษตร เช่น ส้มโอ มังคุด สะตอ มะพร้าว และอาหารทะเลแปรรูปของ สมาชิกสหกรณ์ในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีนางยุพดี จิตผ่องอ าไพ ผู้จัดการสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์การเกษตรพรหมคีรี จ ากัด เป็นแม่ข่าย และสหกรณ์การเกษตรวิสัย จ ากัด จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีนายประยงค์ คงสุดีรองประธานกรรมการสหกรณ์การเกษตรวิสัย จ ากัด และนางบุญเกิด ภานนท์ผู้จัดการสหกรณ์ เข้าร่วมประชุมการเชื่อมโยงเครือข่ายสินค้าสหกรณ์ เกิดการเชื่อมโยง เครือข่ายสินค้า เช่น ส้มโอทับทิมสยาม จากสหกรณ์การเกษตรปากพนัง จ ากัด และกลุ่มเกษตรกร บ้านแสงวิมาน สะตอสด จากสหกรณ์การเกษตรพิปูนจ ากัด มะพร้าว จากสหกรณ์การเกษตรศุภนิมิต ชะอวดพัฒนา จ ากัด และสหกรณ์ปาล์มควนชะลิก จ ากัด และอาหารทะเลแปรรูป จากสหกรณ์นิคม ประมงนครศรีธรรมราช จ ากัด และสหกรณ์ศุภนิมิตปากพนัง จ ากัด ซึ่งจะมีการเตรียมความพร้อม รวบรวมสินค้าให้เพียงพอ และสอดคล้องกับความต้องการของสหกรณ์การเกษตรวิสัย จ ากัด ตามช่วงเวลาฤดูกาลผลิตที่ประสงค์จะเชื่อมโยง
119
120 งบการเงินประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 1. งบแสดงฐานะการเงิน หมายเหตุ 2565 2564 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่ากับเงินสด 1 132,381.46 316,971.83 ลูกหนี้ 2 26,230.00 19,320.00 รายได้ค้างรับ 3 0.00 140,166.00 วัสดุคงเหลือ 9,900.00 9,900.00 สินทรัพย์หมุนเวียน 0.00 0.00 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 168,511.46 486,357.83 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 4 8,012,673.49 9,709,706.63 สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน 0.00 0.00 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 0.00 0.00 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 8,012,673.49 9,709,706.63 รวมสินทรัพย์ 8,181,184.95 10,196,064.46 หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ 5 0.00 238,754.06 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 6 45,943.92 1,847.48 รายได้แผ่นดินรอน าส่งคลัง 0.00 0.00 เงินทดรองราชการรับจากคลัง 0.00 0.00 เงินรับฝากคลัง 0.00 0.00 เงินประกันอื่น 132,381.46 316,971.83 รวมหนี้สินหมุนเวียน 178,325.38 557,573.37
121 2. งบแสดงผลการด าเนินงานทางการเงิน หมายเหตุ 2565 2564 หนี้สินไม่หมุนเวียน รายได้รอการรับรู้ 0.00 0.00 เงินกู้ระยะยาว 0.00 0.00 ประมาณการหนี้สิน 0.00 0.00 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 0.00 0.00 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 0.00 0.00 รวมหนี้สิน 178,325.38 557,573.37 สินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน ทุน 4,723,319.23 4,723,319.23 รายได้สูง/(ต่ า)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ (1,635,631.52) (2,339,354.20) รายได้สูง/(ต่ า)กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 7 4,915,171.86 7,254,526.06 ผลสะสมแก้ไขผิดพลาด 0.00 0.00 ก าไร/ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นของเงินลงทุน 0.00 0.00 รวมสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน 8,002,859.57 9,638,491.09 รวมหนี้สินและส่วนทุน 8,181,184.95 10,196,064.46 หมายเหตุ 2565 2564 รายได้จากการด าเนินงาน รายได้จากรัฐบาล รายได้จากเงินงบประมาณ 8 20,241,930.48 22,868,781.18 รายได้จากเงินกู้ของรัฐบาล 0.00 12,391,250.00 รายได้อื่น 0.00 180,895.63 รวมรายได้จากรัฐบาล 20,241,930.48 35,440,926.81 รายได้จากแหล่งอื่น: รายได้ค่าปรับ 26,964.00 0.00 รายได้ดอกเบี้ยอื่น 14,172.28 50.38 รายได้ค่าธรรมเนียมที่ดิน 4,800.00 12,200.00 รายได้จากการขายครุภัณฑ์ 2,300.00 13,230.00 รายได้เหลือจ่าย 5,680.00 2,312.15
122 3. หมายเหตุประกอบงบการเงิน และบทวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านงบประมาณของหน่วยงาน รายได้อื่น 469,192.78 0.00 รวมรายได้จากแหล่งอื่น 523,109.06 27,792.53 รวมรายได้จากการด าเนินงาน 20,765,039.54 35,468,719.34 ค่าใช้จ่ายจากงบด าเนินงาน ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร 9 8,314,532.03 9,456,503.34 ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน 10 7,755,614.48 6,058,606.78 ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน 11 3,491,661.20 6,803,971.87 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ าหน่าย 12 2,276,733.14 2,270,786.54 ค่าใช้จ่ายตามมาตรการของรัฐ 0.00 12,391,250.00 ค่าใช้จ่ายอื่น 562,130.21 826,955.01 รวมค่าใช้จ่ายจากการด าเนินงาน 22,400,671.06 37,808,073.54 รายได้สูง/(ต่ า)กว่าค่าใช้จ่ายจากการด าเนินงาน (1,635,631.52) (2,339,354.20) ก าไร(ขาดทุน)จากการจ าหน่ายสินทรัพย์(สุทธิ) 0.00 0.00 ก าไร(ขาดทุน)จากการจ าหน่ายเงินลงทุน 0.00 0.00 ก าไร(ขาดทุน)จากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ 0.00 0.00 รวมรายได้(ค่าใช้จ่าย)ที่ไม่เกิดจากการด าเนินงาน 0.00 0.00 รายได้สูง(ต่ า)กว่าค่าใช้จ่ายจากกิจกรรมตามปกติ (1,635,631.52) (2,339,354.20) รายได้สูง(ต่ า)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ (1,635,631.52) (2,339,354.20) หมายเหตุ 2565 2564 หมายเหตุที่ 1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสด 0.00 0.00 เงินทดรองราชการ 0.00 0.00 เงินฝากธนาคาร เงินฝากธนาคาร-ในงบประมาณ 0.00 0.00 เงินฝากธนาคาร-นอกงบประมาณ 0.00 0.00 เงิน ฝากธนาคารอื่น ๆ (ระบุชื่อ) 0.00 0.00 0.00 0.00
123 หมายเหตุ 2565 2564 เงินฝากคลัง เงินทุนหมุนเวียน (ระบุชื่อ) 0.00 0.00 เงินฝาก(เงินประกันอื่น) 132,381.46 305,871.83 เงินฝาก(เงินรับฝากอื่น) 0.00 11,100.00 เงินนอกงบประมาณอื่นๆ 0.00 0.00 132,381.46 316,971.83 หมายเหตุที่2 ลูกหนี้ ลูกหนี้เงินยืม ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ 26,230.00 19,320.00 ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ 0.00 0.00 26,230.00 19,320.00 หมายเหตุที่ 3 รายได้ค้างรับ รายได้จากเงินงบประมาณค้างรับ 0.00 140,166.00 รายได้แผ่นดินค้างรับ 0.00 0.00 รายได้อื่นค้างรับ 0.00 0.00 0.00 140,166.00 หมายเหตุที่ 4 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อาคาร อาคาร 9,939,900.00 9,939,900.00 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 9,543,617.06 9,459,645.25 อาคาร (สุทธิ) 396,282.94 480,254.75 อาคารระหว่างก่อสร้าง 0.00 0.00 อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ 25,087,321.05 24,716,121.05 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 17,470,930.50 15,486,669.17 ครุภัณฑ์(สุทธิ) 7,616,390.55 9,229,451.88 8,012,673.49 9,709,706.63 หมายเหตุที่ 5 เจ้าหนี้ เจ้าหนี้ค่าซื้อสินค้าและบริการ 0.00 238,754.06 เจ้าหนี้อื่น 0.00 0.00 0.00 238,754.06
124 หมายเหตุ 2565 2564 หมายเหตุที่ 6 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินเดือนและเงินเพิ่มพนักงานราชการค้างจ่าย 0.00 0.00 ค่าใช้จ่ายด าเนินงานค้างจ่าย 45,943.92 1,847.48 45,943.92 1,847.48 หมายเหตุที่ 7 ส่วนทุนและการเปลี่ยนแปลงเป็นทุน ทุน ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด 4,723,319.23 4,723,319.23 รายได้สูง(ต่ า)กว่าค่าใช้จ่ายสะสม ยอดคงเหลือ ณ วันต้นงวด (2,339,354.20) (1,532,001.51) บวก รายได้สูง(ต่ า) กว่าค่าใช้จ่าย 7,254,526.06 8,786,527.57 ผลสะสมแก้ไขผิดพลาด 0.00 0.00 ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด 4,915,171.86 7,254,526.06 ก าไร/ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นของเงินลงทุน ยอดคงเหลือ ณ วันต้นงวด 0.00 0.00 บวก ก าไร/ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นของเงินลงทุน 0.00 0.00 ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด 0.00 0.00 9,638,491.09 11,977,845.29 หมายเหตุที่ 8 รายได้จากเงินงบประมาณ รายได้จากเงินงบประมาณ งบบุคลากร 7,748,899.04 7,367,735.82 งบด าเนินงาน 7,786,418.25 8,142,447.95 งบลงทุน 629,200.00 159,100.00 งบเงินอุดหนุน 3,491,661.20 6,803,971.87 งบรายจ่ายอื่น 1,289.00 9,600.50 งบกลาง 584,462.99 385,925.04 20,241,930.48 22,868,781.18 หมายเหตุที่ 9 ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร เงินเดือนและเงินเพิ่มพนักงานราชการ 7,730,069.04 7,364,262.57 ค่าจ้างชั่วคราว 0.00 0.00 ค่าใช้จ่ายสวัสดิการ 584,462.99 2,092,240.77 8,314,532.03 9,456,503.34
125 หมายเหตุ 2565 2564 หมายเหตุที่ 10 ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน ค่าตอบแทน 1,763,400.00 0.00 ค่าใช้สอย 4,127,059.52 2,020,411.00 ค่าวัสดุ 1,312,912.70 1,256,771.96 ค่าสาธารณูปโภค 533,872.26 505,638.77 ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ 18,370.00 2,275,785.05 7,755,614.48 6,058,606.78 หมายเหตุที่ 11 ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน เงินอุดหนุน 3,491,661.20 6,803,971.87 อื่น ๆ (นิติบุคคล) สหกรณ์ 0.00 0.00 3,491,661.20 6,803,971.87 หมายเหตุที่ 12 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ าหน่าย ค่าเสื่อมราคา อาคาร 51,112.08 315,141.38 ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ 394,221.68 159,910.45 ยานพาหนะ 1,762,877.98 1,762,877.98 สิ่งปลูกสร้าง 32,849.73 32,849.73 อาคารไม่ระบุรายละเอียด 0.00 0.00 อื่น ๆ 0.00 0.00 2,241,071.47 2,270,779.54 ค่าตัดจ าหน่าย จ าหน่ายคอมพิวเตอร์ 4.00 7.00 จ าหน่ายครุภัณฑ์ไม่ระบุ 2.00 0.00 จ าหน่าย software 35,655.67 0.00 อื่น ๆ 0.00 0.00 35,661.67 7.00 2,276,733.14 2,2370,786.54 บทวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านงบประมาณของหน่วยงาน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้รับจัดสรรงบประมาณสามารถเบิกจ่ายถูกต้อง ตามระเบียบกระทรวงการคลัง
1
ส่วนที่ 5 ภาคผนวก สรุปผลส าเร็จตาม ของงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประม ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (ในปีงบประมาณ 2562 แผนงานพื้นฐานนี้อยู่ในยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมก ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (ในปีงบประมาณ 2561 และ 2562 ผลผลิตนี้อยู่ในแผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ล เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ - จ้านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การบริหาร และการบริหารจัดการ - จ้านวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น เชิงคุณภาพ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะการด้าเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน - จ้านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น จากปีก่อนไม่น้อยกว่า - สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า - อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในงาน/โครงการที่เข้าร่วมขับเคลื่อนงาน นโยบายรัฐบาลไม่ต่้ากว่า
127 ตัวชี้วัดหลัก (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) มาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ (พ.ศ. 2563 - 2565) หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล กันทางสังคม) ลดความเหลื่อมล้้า และสร้างการเติบโตจากภายใน) แห่ง 238 238 243 243 254 254 แห่ง 238 238 243 243 254 254 ราย 2,472 3,418 2,056 4,123 2,148 3,765 ร้อยละ 3 6.64 3 5.74 3 (3.44) ร้อยละ 62 54.67 61 52.70 60 52.66 ร้อยละ 100 31.57 100 11.76 100 7.69 ร้อยละ 90 96.57 88 94.70 86 93.63 ร้อยละ 25 4.76 24 3.49 23 2.32 ร้อยละ 3 6.64 3 5.74 3 (3.44) ร้อยละ 3 29.23 3 (2.73) - -
ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก - จ้านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีอัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า - อัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิกในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น กิจกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เชิงคุณภาพ - ระดับความส้าเร็จในการปรับปรุงหรือพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ - ระดับความส้าเร็จในการปรับปรุงหรือพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ - อัตราการเข้าถึงและใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ - สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะการด้าเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน - จ้านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น จากปีก่อนไม่น้อยกว่า - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ - จ้านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การบริหาร และการบริหารจัดการ - จ้านวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น เชิงคุณภาพ -สหกรณ์ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพ การควบคุมภายใน ในระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่า
128 หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล ร้อยละ 62 54.67 61 52.70 60 52.66 ร้อยละ 62 54.67 61 52.70 60 52.66 ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 ร้อยละ 90 96.57 88 94.70 86 93.63 ร้อยละ 25 4.76 24 3.49 23 2.32 แห่ง 238 238 243 243 254 254 ร้อยละ 3 6.64 3 5.74 3 (3.44) ร้อยละ 62 54.67 61 52.70 60 52.66 แห่ง 238 238 243 243 254 254 แห่ง 238 238 243 243 254 254 ราย 2,472 3,418 2,056 4,123 2,148 3,765 ร้อยละ 90 84.25 88 80.80 86 85.14
ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก - สหกรณ์มีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการของสหกรณ์ ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์มีความสามารถในการด้าเนินธุรกิจอยู่ในระดับต่้ากว่ามาตรฐานขึ้นไป ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์ไม่มีข้อบกพร่อง หรือมีข้อบกพร่องแต่ได้รับการแก้ไข - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง -อัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิกในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น - อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในงาน/โครงการที่เข้าร่วม ขับเคลื่อนงานนโยบายรัฐบาล ไม่ต่้ากว่า - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานกรมส่งเสริมสหกรณ์ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านการสหกรณ์ เชิงปริมาณ - เกษตรกรและสมาชิกได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ - ผู้เข้าอบรมมีแผนการน้าความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม - เกษตรกรและประชาชนทั่วไปและสมาชิกได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ - นักเรียน/นักศึกษา ได้รับความรู้เรื่องของการสหกรณ์ - ผู้เข้าอบรมมีแผนการน้าความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม กิจกรรมการบริหารโลจิสติกส์ในสหกรณ์ เชิงปริมาณ - เกิดต้นแบบการน้าระบบโลจิสติกส์มาใช้ในสหกรณ์ เชิงคุณภาพ - สมาชิกสหกรณ์ได้รับความรู้เรื่องโลจิสติกส์ไม่น้อยกว่า
129 หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล ร้อยละ 60 80.13 60 70.70 60 71.95 ร้อยละ 86 56.95 88 61.78 86 73.17 ร้อยละ 100 87.41 100 89.17 100 92.07 ร้อยละ 25 4.76 24 3.49 23 2.32 ร้อยละ 62 54.67 61 52.70 60 52.66 ร้อยละ 3 29.23 3 (2.73) - - ร้อยละ 80 70.5 80 63 80 73 ร้อยละ 80 76 80 78.6 80 77 ราย ไม่มีแผน - - - - - ร้อยละ ไม่มีการ ติดตามผล - - - - - ราย ไม่มีแผน - - - - - ราย 524 524 549 549 - - ร้อยละ ไม่มีแผน - - - - - แห่ง - - - - - - ร้อยละ - - - - - -
ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กิจกรรมการจัดงานแสดงสินค้าสหกรณ์ เชิงปริมาณ - จ้านวนการจัดงานแสดงสินค้าสหกรณ์ด้าเนินการได้บรรลุวัตถุประสงค์ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เกษตรสร้างมูลค่า โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกท้าการเกษตรปลอดภัย - พื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมท้าการเกษตรปลอดภัย - อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกท้าการเกษตรปลอดภัย - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมท้าการเกษตรปลอดภัย - อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว เชิงคุณภาพ - อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว - อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมท้าการเกษตรแปรรูป เชิงคุณภาพ - อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปขยายตัว
130 หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล ครั้ง - - - - - - แห่ง 6 6 5 5 - - ไร่ 535 900.2 1,075 851.80 - - ราย 107 107 215 123 - - ร้อยละ 3 N/A 3 N/A - - แห่ง - - 1 1 - - ราย - - 200 130 - - ร้อยละ - - 3 23.15 - - ร้อยละ 3 N/A 3 N/A - - ร้อยละ - - 3 23.15 - - แห่ง 1 1 - - - - ร้อยละ 3 27 - - - -
ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท าการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกท้าการเกษตรปลอดภัย - พื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน -สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมท้าการเกษตรปลอดภัย เชิงคุณภาพ - ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขยายตัว หมายเหตุ : ในปี 2564 ไม่มีผลตามตัวชี้วัด เนื่องจากก้าหนดรายงานผลตามตัวชี้วัด เมื่อสิ้นสุด ระยะเวลาโครงการจ้างที่ปรึกษา และมีผลผลิตจ้าหน่าย โดยจะวัดผลในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2565 โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล เชิงคุณภาพ - ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่มาติดต่อราชการ โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน เชิงปริมาณ - จ้านวนพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ เชิงคุณภาพ - มีแปลงแหล่งผลิตสินค้าปลอดภัย/สินค้าเกษตรอินทรีย์ อย่างน้อยร้อยละ 60 ของเกษตรกรสมาชิก ที่เข้าร่วมโครงการได้ใบรับรองเกษตรอินทรีย์ ขั้นที่ 3 - สมาชิกเข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย เชิงปริมาณ - จ้านวนพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่นิคมสหกรณ์ เชิงคุณภาพ - มีแปลงแหล่งผลิตสินค้าปลอดภัย/สินค้าเกษตรอินทรีย์ อย่างน้อยร้อยละ 60 ของเกษตรกรสมาชิก ที่เข้าร่วมโครงการได้ใบรับรองเกษตรอินทรีย์ ขั้นที่ 3
131 หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล แห่ง 5 7 3 7 - - แห่ง - - - - - - ราย 105 307 105 202 - - ร้อยละ 3 3 - - - - ร้อยละ - - - - - - ไร่ - - - - 1,444 1,444 ร้อยละ - - - - 45 45 ร้อยละ - - - - 3 100 ไร่ 93 60 93 60 102 80 ร้อยละ - - - - - -
ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก - สมาชิกเข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแข็ง ตามศักยภาพ -กลุ่มเตรียมสหกรณ์/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มหมู่บ้านในพื้นที่โครงการหลวง ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา ความรู้ด้านการสหกรณ์ - จ้านวนสถาบันเกษตรกร/หมู่บ้านในพื้นที่โครงการหลวงได้รับการส่งเสริมและพัฒนาด้านการ สหกรณ์ เชิงคุณภาพ - สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวงผ่านเกณฑ์มาตรฐาน - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด้าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด้าริได้รับ การส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแข็งตามศักยภาพ - โรงเรียน/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์
132 หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล ร้อยละ 40 20 40 15 30 15 แห่ง - - - - - - แห่ง - - - - - - แห่ง - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - แห่ง 1 1 1 1 1 1 แห่ง 1 1 1 1 1 1
ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก - จ้านวนสถาบันเกษตรกร/โรงเรียน/กลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการส่งเสริมการด้าเนินงาน อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาด้านการสหกรณ์ เชิงคุณภาพ - สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริผ่านเกณฑ์มาตรฐาน - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในส าหรับสินค้าเกษตร เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการด้านการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่าย/คลัสเตอร์ เชิงคุณภาพ - ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการขยายตัว แผนงานยุทธศาสตร์สนับสนุนการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบี้ย เชิงคุณภาพ - จ้านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น - ต้นทุนการผลิตของสมาชิกลดลง โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ เชิงปริมาณ - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบ อาชีพ