แผนการจัดการเรยี นรู้
แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มุ่งเน้นสมรรถนะอาชพี
หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.)
รหสั วชิ า 20901-1003 วิชา คณิตศาสตรค์ อมพวิ เตอร์
จำนวน 2 หนว่ ยกิต 2 คาบตอ่ สัปดาห์
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
จัดทำโดย
นายพงษ์ศักด์ิ วงษ์ชมภู
ตำแหนง่ ครู แผนกวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ประเภทวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร
วิทยาลัยสารพัดช่างนครหลวง
สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
ก
คำนำ
แผนการสอนวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 20901-1003 เสนอเน้ือหาเก่ียวกับ
วิวัฒนาการของระบบจานวนและความสัมพันธ์ระหว่างคณิตศาสตร์กับการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์
ระบบเลขฐาน พีชคณิตบูลีน คอมพิวเตอร์กับเลขฐาน หลักการคานวณของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ พีชคณิต
เชงิ เสน้ และทฤษฎเี มตรกิ ซ์
โดยมีเน้ือหาการสอน ครอบคลุมทุกสาระการเรียนรู้ ตามมาตรฐานรายวิชา ดังได้แสดงไว้ใน
โครงการสอนรายสัปดาห์แต่ละหน่วยการเรียนประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ ใบความรู้
แบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียน ใบงาน และส่ือการเรียนการสอน สรุปการเรียนรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง
ยงิ่ ว่า แผนการสอนนี้ จะช่วยครูในการพฒั นาผู้เรยี นไดเ้ ป็นอยา่ งดี
นายพงษ์ศกั ดิ์ วงษ์ชมภู
ครปู ระจาวชิ า
ค
ลกั ษณะรายวิชา
รหัสวิชา 20901-9205 วิชา ไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องตน้ 2 (3)
หลกั สตู ร ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2562
หมวดวิชา วชิ าชพี สาขางาน สาขาวิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศ
หลกั สตู รรายวิชา
รหัสวิชา 20901-1003 วชิ า คณศิ าสตรค์ อมพิวเตอร์ 2 หน่วยกติ 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
จุดประสงค์รายวิชา
1. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั วิวัฒนาการของระบบจานวนและความสมั พนั ธ์ระหว่างคณิตศาสตร์กับ
การทางานของเคร่อื งคอมพิวเตอร์
2. มีความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั ระบบจานวน ระบบเลขฐาน พชี คณติ บลู นี พชี คณิตเชิงเส้นและทฤษฎี
เมตริกซ์
3. มีทกั ษะในการคานวณทางคณติ ศาสตรค์ อมพวิ เตอร์
4. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเจคตทิ ีด่ ใี นการใชค้ ณติ ศาสตร์คอมพวิ เตอร์
สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความร้เู กย่ี วกับระบบจานวน ระบบเลขฐาน พชี คณติ บูลีน พีชคณติ เชิงเส้นและทฤษฎเี มตริกซ์
2. แสดงความรู้เกีย่ วกับการคานวณทางคณติ ศาสตร์คอมพิวเตอร์
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของระบบจานวนและความสัมพันธ์ระหว่างคณิตศาสตร์กับการทางานของ
เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ระบบเลขฐาน พีชคณิตบูลีน คอมพิวเตอร์กบั เลขฐาน หลักการคานวณของเครื่องคอมพิวเตอร์
พชี คณติ เชิงเสน้ และทฤษฎเี มตริกซ์
ง
ตารางวิเคราะห์หน่วยสมรรถนะ
รหัสวิชา 20901-1003 วชิ า คณิตศาสตรค์ อมพวิ เตอร์ หน่วยกิต 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
หนว่ ย ช่ือหน่วย/หัวข้อย่อย สัปดาห์ เวลา ชือ่ หน่วยสมรรถนะ
ที่ ที่ (ช.ม.)
1 ระบบจานวน (Number Systems) 1 2 ความรเู้ กีย่ วกับระบบจานวน (Number
Systems)
2 เลขฐานในระบบคอมพวิ เตอร์ 2 2 เลขฐานในระบบคอมพวิ เตอร์
3 โครงสร้างโปรแกรมของ Arduino
3-5 6 โครงสรา้ งโปรแกรมของ Arduino
4 การแปลงเลขฐานในระบบ
คอมพิวเตอร์ 6-9 8 แปลงเลขฐานในระบบคอมพิวเตอร์
5 หลกั การคานวณเลขในระบบ 10-11 4 หลกั การคานวณเลขในระบบ
คอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์
6 ตรรกศาสตร์ 12 2 ตรรกศาสตร์
7 พชี คณิตแบบบลู (Boolean
13-15 6 พชี คณติ แบบบูล (Boolean Algebra)
Algebra)
8 วงจรตรรก (Logic Circuits) 16-17 4 วงจรตรรก (Logic Circuits)
9 เมตรกิ ซ์ 18 2 เมตริกซ์
รวม 36
จ
ตารางวเิ คราะห์หลกั สตู ร
รหัสวชิ า 20901-1003 วชิ า คณิตศาสตรค์ อมพิวเตอร์ จานวน 2 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
ระดับชั้น ปวช. หมวดวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศ
พุทธิพิสยั
พฤตกิ รรม ความรู้
ความเ ้ขาใจ
ชอ่ื หน่วย/หัวข้อย่อย นาไปใ ้ช
ิวเคราะ ์ห
ัสงเคราะห์
ประเ ิมนค่า
ทักษะพิ ัสย
ิจตพิ ัสย
รวม
ลา ัดบความสาคัญ
จานวนคาบ
1. ระบบจานวน (Number Systems) - - 6 5 2
2. เลขฐานในระบบคอมพิวเตอร์ - - 6 4 2
3. การแปลงเลขฐานในระบบ - - 6 6 6
คอมพวิ เตอร์
4. หลักการคานวณเลขในระบบ - - 6 7 8
คอมพิวเตอร์
5. ตรรกศาสตร์ - 7 1 4
6. พีชคณิตแบบบูล (Boolean Algebra) - - 6 10 2
7. วงจรตรรก (Logic Circuits) - - 6 9 6
8. เมตรกิ ซ์ - 7 8 2
รวม 8 8 8 8 2 - 8 8 50 - 36
ลาดับความสาคัญ 12347856 - - -
แผน่ ท่ี 1 ผังภาพวิเคราะหห์ น่วยการเรยี นรู้บูรณ
สาขาวชิ า เทคโน
หนว่ ยการเรียนรู้ ตรรกศาสตร์
แผนที่ 5 (2 ชว่ั โมง) ช่ือ
สา
เรื่อง …………………………………………………… ตอ่
สมรรถนะย่อย ................................................ สม
สาระการเรยี นรู้ .............................................. แส
แส
แผนท่ี 1 (2 ช่ัวโมง) คว
ขอ
เร่ือง ตรรกศาสตร์ ตา
สมรรถนะยอ่ ย สามารถใช้งานประพจน์ได้
สาระการเรียนรู้ การหาคา่ ความจริงของการเช่อื มประพจน์
สมรรถนะรายวิชา คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
1. ทราบความหมายของประพจน์
1. การหาค่าความจริงของการเชือ่ มประพจนด์ ้วย “และ” โดยใช้ตารางคา่ ความจริง
2. ทราบความแตกตอ่ งระหวา่ งปร
3. การหาคา่ ความจริงของการเชื่อมประพจนด์ ้วย “หรอื ” โดยใช้ตารางคา่ ความจริง
7. การหาคา่ ความจรงิ ของการเชอ่ื มประพจน์ด้วย “ถ้า…แลว้ ” โดยใชต้ ารางคา่ ความจริง 3. มคี วามรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั ปร
4. มีความรู้ความเข้าใจในการเชอ่ื ม
9. ใช้งานโมดูลตรวจจับสัญญาณอนิ พุต HC-SR04 หลายชุดได้
49
ณาการเพอื่ เสรมิ สรา้ งคุณลักษณะอย่อู ย่างพอเพียง
นโลยสี ารสนเทศ
ระดับช้นั ปวช. เวลา 2 ช่ัวโมง
ทดสอบกอ่ นเรียน (1 ช่ัวโมง)
ทดสอบหลังเรียน ( 1 ชว่ั โมง)
อหนว่ ยการเรียนรู้ การหาค่าตรรกศาสตร์ 2 ช่ัวโมง)
าระสาคัญ การหาค่าความจริงของการเช่ือมประพจน์ด้วย “ และ “ “หรือ” “ถ้าแล้ว” “ก็
อเม่ือ” โดยใช้ตารางคา่ ความจริง ในรปู แบบตา่ ง ๆ
มรรถนะรายวิชา 1. ให้ผู้เรยี นเขียนประโยคทีเ่ ป็นประพจน์มาอย่างน้อยคนละ 10 ประพจน์ แลว้ ออก
สดงผลงาน 2. แสดงการหาคา่ ความจริงของการเชื่อมประพจน์ดว้ ย “และ” โดยใช้ตารางค่าความจริง 3.
สดงการหาค่าความจริงของการเชื่อมประพจน์ด้วย “หรือ” โดยใชต้ ารางค่าความจริง 4. แสดงการหาค่า
วามจริงของการเชื่อมประพจน์ด้วย “ถ้า…แล้ว” โดยใช้ตารางค่าความจริง 5. แสดงการหาค่าความจริง
องการเชื่อมประพจนด์ ้วย “กต็ ่อเมือ่ ” โดยใชต้ ารางคา่ ความจริง 6. หานิเสธของประพจน์ในรูปแบบตา่ ง ๆ
ามที่ครกู าหนดให้
ระพจน์กับประโยคได้ ภาระงาน/ช้นิ งาน
ใบงาน, แบบฝึกหดั ,แบบทดสอบ
ระพจน์และประโยค
มประพจน์
50
แผน่ ท่ี 2 ตรรกศาสตร์
สาขาวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจดั การเรียนรู้ เรอ่ื ง ระบบตรรกศาสตร์
ระดบั ชัน้ ปวช. เวลา 2 ชั่วโมง
1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ 2. หลกั ฐานการเรยี นรู้
สมรรถนะยอ่ ย
ภาระงาน/ช้ินงาน : ใบงาน, แบบฝกึ หดั ,แบบทดสอบ
1. ประพจน์และประโยค
2. การเชือ่ มประพจน์ การวดั และประเมินผล : แบบทดสอบ
- นเิ สธของประพจน์ ประเดน็ วิธีการ เครอื่ งมอื เกณฑ์
- การเชือ่ มประพจน์ ดว้ ย “และ”
- การเชื่อมประพจนด์ ้วย “หรอื ” K 1. อธิบาย ความเขา้ ใจในการตอบ การสอบถาม ร้อยละ 80 ของนกั เรยี น
คาถาม ทั้งหมดอธบิ ายไดถ้ กู ต้อง
- การเชื่อมประพจนด์ ว้ ย “ถ้า..แลว้ ” ความหมายของ
- การเชื่อมประพจน์ด้วย “ก็ต่อเมื่อ” ระดับคณุ ภาพมากกว่า
3. การหาค่าความจริงของประพจน์ ประพจน์ 6 คะแนนเตม็ 10
4. การให้เหตุและผล คะแนน
P 1 หาคา่ ความ แบบฝกึ ทกั ษะ ใบงาน
สาระสาคญั
จริงของประพจน์
ตรรกวิทยาเป็นศาสตร์ท่ีมคี วามสาคัญมากในหลกั การที่ว่าดว้ ย การหาเหตุและผล ซ่งึ จะมีค่า
ความจริงท่ีเปน็ จริง (Truth) หรอื ค่าความจริงท่ีเปน็ เท็จ อย่างใดอย่างหนึ่ง ค่าความจรงิ ท่ีเป็นจริง
แทนด้วย T ค่าความจริงท่ีเป็นเท็จแทนด้วย F ในการสรุปผลในการหาเหตุและผลอาจจะต้อง
พิจารณาประพจน์หลาย ๆ ประพจน์ หรือ พิจารณาการนาประพจน์เหล่าน้ันมาเชื่อมกันแล้วเกิด การหาคา่ ประพจน์
ประพจน์ใหม่ท่ีสรุปเหตุและผลได้ ทางตรรกศาสตร์เรียกว่า การเชื่อมประพจน์ ซึ่งจะมีการเช่ือม
ประพจน์ด้วย และ , หรือ ,ถ้า…แล้ว , ก็ต่อเม่ือ , นิเสธของประพจน์ จะทาให้สามารถหาข้อสรุปได้
ว่าเป็นเป็นจริงหรือเท็จ สมเหตุสมผลเป็นที่ยอมมรับหรือไม่ซึ่งต้องอาศัยศิลปในการหาเหตุและผล 3. กจิ กรรมการเรียนรู้
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ กจิ กรรรมการเรยี นรู้ :
1. ทราบความหมายของประพจน์ กอ่ นเรียน
2. ทราบความแตกตอ่ งระหว่างประพจน์กบั ประโยค 1. ครชู ีแ้ จงใหผ้ ูเ้ รียน เหน็ ความสาคัญและความรู้พืน้ ฐานเกยี่ วกับเก่ียวกบั บทเรียน เพ่ือเปน็ ประโยชนใ์ นการ
3. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับประพจน์และประโยค เรียนรู้ และนาไปประยกุ ตใ์ ชท้ ง้ั ในชีวิตประจาวัน
4. มีความรู้ความเข้าใจในการเชอ่ื มประพจน์ 2. ครชู ี้แจงวัตถุประสงคร์ ายวชิ า
3. ครชู ีแ้ จงระเบยี บว่าด้วยเวลาเรียน
5. เห็นความสาคัญของกระบวนการหาเหตุและผลสาระการเรียนรู้ 4. ครตู กลงกบั ผเู้ รียน เรอ่ื งการแบง่ คะแนนเก็บระหว่างภาคดงั นี้
สมรรถนะหลกั และสมรรถนะท่วั ไป 5. ครูตกลงกบั ผเู้ รียนเรอ่ื งการปฏิบัติตนในหอ้ งเรียนตามแบบประเมนิ
6. ครบู อกแนวทางในการเรียน และวิธกี ารปฏบิ ตั ติ ามภาระงานที่มอบหมาย
1. ส่อื สารโดยใชภ้ าษาไทยและภาษาต่างประเทศ ขณะเรยี น
1. ทาแบบฝึกหัดก่อนเรียน โดยการถาม – ตอบ และใหแ้ สดงความคิดเห็น
ในชวี ติ ประจาวันในงานอาชีพ (........................) 2. จดบนั ทกึ สาระการเรียนรู้
2. แก้ไขปัญหาในงานอาชีพโดยใชห้ ลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ 3. รว่ มกนั สรุปบทเรียน พรอ้ มบันทกึ ผลการสรปุ แล้วลกุ ข้นึ นาเสนอกบั ครผู ู้สอน
4. ผเู้ รียนและครผู สู้ อนรว่ มกันประเมินข้อสรุปของผเู้ รียนทอ่ี อกแสดงความคดิ เห็นเพื่อให้ไดข้ ้อสรปุ ที่ถูกตอ้ ง และ
คณติ ศาสตร์ ครูผสู้ อนแสดงความช่ืนชมกบั ผเู้ รียนทุกคนทอี่ อกแสดงความคิดเหน็ และมสี ่วนรว่ มใน
3. ปฏบิ ตั ติ ามหลักศาสนา วัฒนธรรม ค่านิยม คุณธรรม จรยิ ธรรม ทางสงั คมและสิทธิหน้าท่ี กจิ กรรมทีม่ อบหมาย
1. ทาใบงาน ตรวจสอบใบงาน แกไ้ ขใบงาน
พลเมือง 2. ทบทวนเนือ้ หา
4. พฒั นาบุคลกิ ภาพและสขุ อนามัย โดยใช้หลักการและกระบวนการด้านสขุ ศึกษาและพล 3. ทาแบบฝกึ หดั หลงั เรยี น
4. รว่ มกันเฉลยแบบฝึกหัด
ศกึ ษา ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ เรียนรู้ :
1. หนงั สอื เรียน
คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ 2. สือ่ มลั ติมีเดยี , Powerpoint เนื้อหาบทเรยี น
1. คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ
2. พฤติกรรมลกั ษณะนสิ ยั
3. ทกั ษะทางปัญญา
51
แผ่นท่ี 3 กจิ กรรมการเรียนรู้
สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การหาค่าประพจน์ ระดบั ชนั้ ปวช. เวลา 2 ชว่ั โมง
ข้ันนาเขา้ สู่บทเรยี น
1. ทดสอบก่อนเรียน โดยการถามเพือ่ ประเมินความรู้พ้ืนฐานของผูเ้ รียนในห้อง
2. ครเู ขยี นประโยคคาถามบนกระดานแล้วถามผู้เรยี นวา่ จากคาถามเปน็ ประพจนห์ รือไม่อย่างไร
ขน้ั สอน
1. ครชู ีแ้ จงจุดประสงคแ์ ละเป้าหมายในการเรียน
2.ครกู าหนดเวลาใหผ้ เู้ รียนอ่านหนังสือเตรียมความพร้อมในการเรียนการสอนการเรียน
3. ประเมนิ พฤติกรรมรายบุคคลโดยครูจะซกั ถามในแตล่ ะคน
ขั้นสรุป
1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปสาระสาคญั
2. เปดิ โอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสยั
3. มอบหมายให้ไปหดั ทาและศึกษาเพมิ่ เติม
4. ทาแบบทดสอบ
52
แผน่ ที่ 4 ชดุ คาถามกระตุ้นเพอ่ื ปลูกฝังหลักคิดพอเพียงแผนการเรยี นรู้
สาขาวิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรอื่ ง ระบบตรรกศาสตร์
ระดับช้นั ปวช. เวลา 2 ชัว่ โมง
คาถามกระตนุ้ คิดเพื่อปลูกฝังหลกั คิดพอเพียงก่อนเรียน
Q1 นักเรยี นคิดระหว่างประพจน์กบั ประโยค มีความสาคญั อย่างไร
Q2 ทาไมคนปจั จุบนั นาความรู้ดา้ นการหาค่าความจรงิ ในชีวิตด้วยตนเอง
คาถามกระตนุ้ คดิ เพื่อปลกู ฝังหลกั คิดพอเพียงระหว่างเรียน
Q3 ขอ้ ควรระวงั ในการหาความแตกต่างของประพจน์และประโยค
Q4 นกั เรยี นมวี ธิ ีการหาความแตกต่างของประพจนแ์ ละประโยคได้
คาถามกระตนุ้ คิดเพ่อื ปลูกฝังหลกั คดิ พอเพียงหลังเรียน
Q5 เพราะเหตุใดจงึ ต้องเลือกระหวา่ งการใช้ประพจนก์ บั ประโยคได้
53
แผน่ ท่ี 5 แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการจดั การเรียนรู้
สาขาวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจดั การเรียนรู้ เร่อื ง ระบบตรรกศาสตร์ ระดับช้นั ปวช. เวลา 2 ชวั่ โมง
ผสู้ อนนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ ดังน้ี
ความรู้ทค่ี รตู อ้ งมกี ่อนสอน คุณธรรมของครูท่ีใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
1. การใช้งานระหวา่ งประพจน์กับประโยค 1. มีความอดทน
2. การใช้งานการเชือ่ มประพจน์ 2. มีความสนใจ
3. ความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั ประพจนแ์ ละประโยค 3. มคี วามขยนั หมั่นเพียร
4. มคี วามตรงต่อเวลา
ประเดน็ พอประมาณ มเี หตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวทด่ี ี
เนอื้ หา 1. ประพจนแ์ ละประโยค ตรรกวิทยาเป็นศาสตร์ที่มีความสาคัญมากใน 1. เตรียมเนื้อหาบทเรยี นล่วงหนา้
2. การเช่อื มประพจน์
หลักการที่ว่าด้วย การหาเหตุและผล ซ่ึงจะมี
- นิเสธของประพจน์
- การเชอ่ื มประพจน์ ด้วย “และ” คา่ ความจริงที่เปน็ จริง (Truth) หรือ ค่าความ
- การเชื่อมประพจน์ดว้ ย “หรอื ”
- การเช่ือมประพจนด์ ว้ ย “ถา้ ..แล้ว” จริงที่เป็นเท็จ อย่างใดอย่างหนึ่ง ค่าความ
- การเชือ่ มประพจนด์ ว้ ย “กต็ อ่ เม่ือ”
3. การหาค่าความจรงิ ของประพจน์ จริงท่ีเป็นจริงแทนด้วย T ค่าความจริงท่ีเป็น
4. การใหเ้ หตแุ ละผล
เท็จแทนด้วย F ในการสรุปผลในการหาเหตุ
และผลอาจจะต้องพิจารณาประพจน์หลาย ๆ
ประพจน์ หรือ พิจารณาการนาประพจน์
เหล่าน้ันมาเชื่อมกันแล้วเกิดประพจน์ใหม่ที่
สรุปเหตุและผลได้ ทางตรรกศาสตร์เรียกว่า
การเชื่อมประพจน์ ซึ่งจะมีการเชื่อมประพจน์
ดว้ ย และ , หรือ ,ถ้า…แลว้ , ก็ต่อเมอื่ , นิเสธ
ของประพจน์
กาหนดระยะเวลาให้เพยี งพอกับเนอ้ื หาที่สอน ให้นกั เรียนเกิดการเรยี นรู้และความเข้าใจอย่าง 1. เตรียมเนอ้ื หาการสอนใหพ้ อดกี ับ
เวลา สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ของเนือ้ หาบทเรียน เตม็ ประสิทธิภาพ เวลา
2. มีการจับเวลาทาแบบทดสอบท่ี
กาหนดกอ่ นใหน้ กั เรยี น นกั ศกึ ษาปฏบิ ัติ
การจดั ให้นักเรยี น เรยี นรู้การใช้งานประพจน์และ ปฏิบตั ิการเช่อื มประพจนแ์ ละประโยค 1. มีแผนการสอนอยา่ งชัดเจน
กจิ กรรม ประโยค
2. มแี บบฝกึ ทกั ษะปฏิบตั ิ
ส่อื / มสี อื่ การเรยี นรู้ท่มี ีความพอเพียงกับผูเ้ รยี น
อปุ กรณ์ สือ่ สามารถกระต้นุ ความสนใจในการเรียนรู้ มกี ารสารองขอ้ มลู บนระบบอินเตอรเ์ น็ต
1. หอ้ งเรียนทางคอมพิวเตอร์ ของนกั เรยี น
แหลง่ 2. ระบบ E-learning
เรียนรู้ 3. Internet 1. มคี วามสะดวกในการเรียนรู้ ตรวจสอบเวลาปดิ /เปิด ในการเรียนรู้,
4. ห้องสมดุ
ประเมนิ ผล จัดและประเมนิ ผลให้สอดคล้องตาม 2. สบื คน้ ขอ้ มลู จากแหล่งเรยี นร้ทู ่หี ลากหลาย สำรวจแหลง่ เรียนรใู้ ห้สอดคล้องกับ
วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรูด้ ้วยวธิ ที หี่ ลากหลาย
ตามสภาพจริง 3. สามารถสบื คน้ ขอ้ มลู ได้ตลอดเวลา เน้อื หาทเ่ี รยี นรู้
1. เพอ่ื ได้ผลการเรียนรขู้ องนักเรียนตามเกณฑ์ 1. เตรียมแบบวดั และประเมนิ ผล
ท่ีกาหนด ล่วงหน้า
2. เพอ่ื พฒั นานักเรียนใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ 2. ตรวจสอบความเทย่ี งตรงของ
การเรียนรู้ตามเกณฑ์ทีก่ าหนด ขอ้ สอบ
3. ตรวจสอบความเชอ่ื มัน่ ของข้อสอบ
54
แผ่นที่ 6 ผลทจี่ ะเกิดขน้ึ กบั ผเู้ รียนจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจดั การเรยี นรู้ เรือ่ ง ระบบตรรกศาสตร์
ระดับชัน้ ปวช. เวลา 2 ชัว่ โมง
6.1 ผู้เรียนจะได้ฝึกคิดและฝึกปฏิบตั ติ ามหลัก ปศพพ. ดังนี้
ความร้ทู ีผ่ เู้ รียนต้องมกี ่อน คุณธรรมของผ้เู รียนทีจ่ ะทาให้การเรียนรู้สาเรจ็
1. การใช้งาน ระหว่างประพจน์กบั ประโยค 1. มคี วามอดทน
2. การใชง้ านคอมพวิ เตอรเ์ บ้อื งตน้ 2. มคี วามสนใจ
3. ความรทู้ างด้านซอฟแวรแ์ ละฮารด์ แวร์คอมพิวเตอร์ 3. มีความขยนั หมน่ั เพียร
4. มคี วามตรงตอ่ เวลา
พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภมู คิ มุ้ กันในตัวทด่ี ี
1. ศกึ ษาเรยี นรทู้ าความเขา้ ใจตาม 1. เกิดความรคู้ วามเข้าใจการใช้งาน การ วางแผนการเชอื่ มประพจนแ์ ละประโยค
ระยะเวลาที่กาหนด เชื่อมประพจน์และประโยค ประยกุ ตใ์ ชง้ านตามระยะเวลา
2. ปฏบิ ัตงิ านการเชือ่ มประพจน์และ 2. เกดิ ทกั ษะการใชง้ านเช่ือมประพจน์และ
ประโยค ประโยคได้ถูกต้อง
6.2 ผูเ้ รียนจะได้เรยี นรกู้ ารใช้ชวี ติ ท่ีสมดุลและพรอ้ มรับการเปลี่ยนแปลง 4 มติ ติ ามหลัก ปศพพ. ดงั นี้
ดา้ น สมดลุ และพร้อมรบั การเปลี่ยนแปลงในดา้ นตา่ ง ๆ
องคป์ ระกอบ
วตั ถุ สงั คม ส่งิ แวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้ (K) รู้ และเข้าใจวิธีการเชื่อม รู้ แ ละ เข้ าใจ วิธีก ารเชื่อ ม รู้ แ ละเข้าใจในการวาง รู้ และเข้าใจวิธีการเช่ือม
ทักษะ (P) ประพจน์และประโยค ป ร ะ พ จ น์ แ ล ะ ป ร ะ โ ย ค แผนการเชื่อมประพจน์และ ประพจน์และประโยค ใน
สามารถบอกและอธิบายให้ ประโยคอย่างถูกต้อง การวางแผน การจัดการอยา่ ง
รู้ และเข้าใจวิธีการเช่ือม กลุ่มหรอื เพือ่ นเข้าใจได้ มีป ระสิท ธิภ าพ เป็ นก าร
ป ระ พ จ น์ แ ล ะ ป ระ โย ค ใช้ ปฏิบัติตามแผนการรู้ วางแผนสูอ่ นาคตที่ดี
ใน ก า ร จั ด ก า ร อ ย่ า ง มี ใช้ ปฏิบัติหรือยกตัวอย่างให้ แ ละเข้ าใจ วิธีก ารเชื่อ ม
ประสิทธภิ าพ เพื่อนในกลุ่มสามารถเข้าใจรู้ ป ระ พ จ น์ แ ล ะ ป ระ โย ค รู้ และเข้าใจวิธีการเช่ือม
แ ล ะ เข้ า ใจ วิ ธี ก า ร เชื่ อ ม อยา่ งถูกตอ้ ง ป ร ะ พ จ น์ แ ล ะ ป ร ะ โย ค
ประพจนแ์ ละประโยค อย่างมีประสิทธิภาพและมี
เงนิ เหลือเกบ็ ออมทรัพย์
คา่ นยิ ม (A) เห็นคุณค่า รู้ และเข้าใจ เห็นคุณค่า ความสาคัญการใช้ เห็นคุณค่า ความสาคัญรู้ เห็ นคุณ ค่า การใช้รู้ และ
วิธีการเช่ือมประพจน์และ รู้ แ ละ เข้ าใจ วิธีก ารเช่ือ ม แ ละเข้ าใจ วิธีก ารเช่ือ ม เข้าใจวิธีการเชื่อมประพจน์
ประโยค ให้ สามารถ ประพจนแ์ ละประโยค เพ่ือ ป ระ พ จ น์ แ ล ะ ป ระ โย ค และประโยค การจัดการ
นาไปประยุกต์ใช้งานให้เกิด ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ไม่ ก่ อ ก่ อ ใ ห้ เกิ ด ข ย ะ แ ล ะ อย่างมีประสิทธิภาพและมี
ประโยชน์ ทาลายสิ่งแวดล้อม เงินเหลือสร้างค่านิยมที่ดีไม่
ฟมุ่ เฟอื ย
รายการตรวจและอนญุ าตใหใ้ ช้
เสนอ เพ่ือขออนญุ าตนาไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอน
ลงชื่อ…………………………………………………
(นายพงษ์ศกั ด์ิ วงษช์ มภู)
ครูประจารายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ
........../....................../..................
ควรอนุญาตให้ใชส้ อนได้
ควรปรับปรงุ เกี่ยวกบั ………............................................................................................................
......./.........................../..........
ลงชือ่ …………………………………………………
(นายสุรพงศ์ อับดุลเล๊าะ)
ควรอนุญาตให้ใชส้ อนได้ หวั หนา้ แผนกวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ
ควรปรับปรงุ เก่ียวกบั ………...................................................................../......................./...................
ลงชื่อ…………………………………………………
(นายณรงค์ฤทธิ์ ภูเวียงแกว้ )
หัวหนา้ งา.น..พ...ฒั./.น..า..ห...ล..กั...ส..ูต..ร...ก..า..ร..เ.ร/ีย...น..ก...า..รสอน
ควรอนญุ าตให้ใชส้ อนได้ ........../....................../..................
ควรปรบั ปรุงเก่ียวกับ………...............................................................................................................
......./.........................../..........
ลงช่อื …………………………………………………
(นายเฉลมิ ชยั สขุ สมบรู ณ์)
ครู วิทยฐานะครูชานาญการ ทาหนา้ ท่ี
รองผอู้ านวยการฝา่ ยวชิ าการ
ควรอนุญาตให้ใช้สอนได้ ........../....................../..................
ควรปรบั ปรุงเกี่ยวกับ………...........................................................................................................
ลงช่ือ………..…...…../…..…...…...…...…...…...…...…...…...…./…...…...…...….
(นายภูมพิ ัฒน์ แกว้ มลู )
ผู้อานวยการวทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งนครหลวง
........../....................../..................
1
โครงการสอนและแผนการเรียนรู้
1. รหสั วชิ า 20901-1003 ชื่อรายวิชา คณิตศาสตรค์ อมพิวเตอร์ 2 (2)
2. ระดบั ปวช.2 สาขาวิชา คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ
3. จดุ ประสงคร์ ายวิชา เพ่ือให้
1. มคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิวฒั นาการของระบบจานวนและความสมั พนั ธ์ระหว่างคณิตศาสตร์กบั
การทางานของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์
2. มีความร้คู วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั ระบบจานวน ระบบเลขฐาน พีชคณิตบลู ีน พชี คณิตเชงิ เส้นและทฤษฎี
เมตรกิ ซ์
3. มที กั ษะในการคานวณทางคณิตศาสตรค์ อมพวิ เตอร์
4. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเจคตทิ ดี่ ใี นการใช้คณติ ศาสตรค์ อมพิวเตอร์
4. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาเก่ียวกับวิวัฒนาการของระบบจานวนและความสัมพันธ์ระหว่างคณิตศาสตร์กับการทางานของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบเลขฐาน พีชคณิตบูลีน คอมพิวเตอร์กับเลขฐาน หลักการคานวณของเคร่ือง
คอมพวิ เตอร์ พชี คณติ เชิงเสน้ และทฤษฎีเมตรกิ ซ์
5. สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั ระบบจานวน ระบบเลขฐาน พีชคณติ บูลนี พีชคณิตเชงิ เสน้ และทฤษฎเี มตรกิ ซ์
2. แสดงความรเู้ กย่ี วกับการคานวณทางคณิตศาสตรค์ อมพิวเตอร์
6. ตารางวเิ คราะหค์ าอธิบายรายวิชา
ชอื่ วิชา คณิตศาสตรค์ อมพิวเตอร์ รหัสวชิ า 20901-1003 จานวน 2 หนว่ ยกิต
ระยะเวลาเรียน 18 สัปดาห์ จานวน 2 ช่ัวโมง / สัปดาห์ รวมจานวน 36 ชัว่ โมง
ลาดบั ชอ่ื หน่วย พฤติกรรมทต่ี ้องการต่อการเรยี นการสอนหนึง่ ครัง้
ที่ ความรู้ ทักษะ กจิ นสิ ยั รวม(ชม.)
1. ระบบจานวน // / 2
2 เลขฐานในระบบคอมพวิ เตอร์ // / 2
3 การแปลงเลขฐานในระบบคอมพิวเตอร์ / / / 6
4 หลกั การคานวณเลขในระบบคอมพวิ เตอร์ / / / 8
5 ตรรกศาสตร์ // / 4
6 พชี คณิตแบบบูล // / 2
7 วงจรตรรก // / 6
8 เมตริกซ์ // / 4
9 พีชคณิตเชิงเสน้ // / 4
การประเมินผลการเรยี นตามสภาพจริง
รวม 36
2
ตารางวเิ คราะหก์ ารประเมนิ ผลตามสภาพจริง
ชอ่ื วิชา คณติ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ รหัสวชิ า 20901-1003 จานวน 2 หนว่ ยกิต
ระยะเวลาเรียน 18 สัปดาห์ จานวน 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ รวมจานวน 36 ช่ัวโมง
หนว่ ยที่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เครอ่ื งมือวัด คะแนน หมายเหตุ
1. ระบบจานวน แบบประเมนิ 5 จดุ ประสงค์การ
ถาม-ตอบ เรียนรู้ทไี่ มผ่ า่ น
2. เลขฐานในระบบคอมพวิ เตอร์ แบบประเมิน 5 ครูผูส้ อนมอบหมาย
อตั นัย งานเพิ่มเตมิ เพอ่ื เปน็
การพัฒนาความรู้
3. การแปลงเลขฐานในระบบคอมพวิ เตอร์ แบบประเมิน 15 และทบทวนบทเรียน
4. หลกั การคานวณในระบบคอมพิวเตอร์ อตั นัย
ของผู้เรียน หาก
แบบประเมนิ 20 พบว่ายังไมผ่ า่ น
ถาม-ตอบและ
จุดประสงค์การ
อตั นัย เรยี นรอู้ ีก จัดสอน
5. ตรรกศาสตร์ แบบประเมิน 10 ซ่อมเสรมิ ให้
ถาม-ตอบและ
อัตนยั
6. พชี คณตแบบบูล แบบประเมิน 10
ถาม-ตอบและ
อตั นัย
7. วงจรตรรก แบบอัตนยั 15
8. เมตริกซ์
แบบประเมนิ 10
9. พชี คณิตเชงิ เสน้ ถาม-ตอบ
แบบประเมิน 10
ถาม-ตอบและ
อัตนยั
3
เคร่ืองมอื วดั
ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม (วดั ความดี) ดา้ นวชิ าการ (วดั ความเก่ง)
1. การปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บของสถานศึกษา 1. ตอบคาถาม
2. ตรงตอ่ เวลา 2. หลกั การและเทคนิคในกระบวนการคดิ
3. สนใจปฏิบตั งิ านท่ีมอบหมายและความ 3. มีความรคู้ วามเขา้ ใจ
กระตือรอื รน้ ในการเรียน 4. ผลงานการปฏิบัตติ ามใบงานมคี วามถูกต้อง
4. ความรบั ผิดชอบ 5. มที กั ษะและวิเคราะห์การใช้งานได้
5. ความสะอาดและความเป็นระเบยี บ 6. ความสามารถในการนาความรไู้ ป
6. ความซอื่ สตั ย์ ประยกุ ตใ์ ช้ในการทางานกบั คอมพวิ เตอร์
7. การเห็นคุณคา่ และมีเจตที่ดี 7. ทาแบบฝกึ หัดหลงั เรยี นมีความเข้าใจ
8. กระบวนการแกป้ ัญหาและกระบวนการ
สบื คน้ เพ่อื หาคาตอบ
9. มีโนภาพและความคดิ รวบยอดในการใน
กระบวนการเรยี นรู้ประจาหน่วย
4
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรยี นรู้(โครงการสอน)
ชอื่ วิชา คณิตศาสตรค์ อมพิวเตอร์ รหัสวชิ า 20901-1003 จานวน 2 หนว่ ยกิต
ระยะเวลาเรียน 18 สัปดาห์ จานวน 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ รวมจานวน 36 ชั่วโมง
สัปดาห์ท่ี หน่วยท่ี ชื่อนหนว่ ยการสอน เวลา (ชม.)
2
1 1 ระบบจานวน (Number Systems)
2
สาระสาคัญ
1.1บทนา
1.2ววิ ฒั นาการของจานวนและตัวเลข
1.3โครงสร้างระบบจานวน
1.4จานวนจรงิ
1.5จานวนตรรกยะ
1.6จานวนอตรรกยะ
1.7จานวนเต็ม
1.8จานวนนบั หรือจานวนธรรมชาติ
1.9เสน้ จานวน
1.10 ใบมอบหมายงาน
1.11 แบบทดสอบหลังเรียน
2 2 เลขฐานในระบบคอมพิวเตอร์
สาระสาคัญ
2.1 บทนา
2.2 ระบบเลขฐานสบิ
2.3 ระบบเลขสอง
2.4 ระบบเลขฐานแปด
2.5 ระบบเลขฐานสบิ หก
2.6ระบบเลขฐานอื่น ๆ
2.7ใบมอบหมายงาน
2.8แบบทดสอบหลังเรียน
5
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรยี นร(ู้ โครงการสอน)
ชือ่ วิชา คณติ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ รหัสวชิ า 20901-1003 จานวน 2 หนว่ ยกิต
ระยะเวลาเรยี น 18 สัปดาห์ จานวน 2 ช่ัวโมง / สัปดาห์ รวมจานวน 36 ชว่ั โมง
สปั ดาห์ที่ หน่วยท่ี ชอ่ื นหน่วยการสอน เวลา (ชม.)
3-5 3 การแปลงเลขฐานในระบบคอมพิวเตอร์ 6
สาระสาคัญ
3.1 ทนา
3.2 การแปลงเลขฐานสบิ เปน็ เลขฐานใด ๆ
3.3 การแปลงเลขฐานสองเปน็ เลขฐานใด ๆ
3.4 การแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานใด ๆ
3.5 การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานใด ๆ
3.6 ใบงานและแบบฝึกหดั
6-9 4 หลักการคานวณเลขในระบบคอมพวิ เตอร์ 8
10-11 สาระสาคญั 4
4.1 บทนา
4.2 หลักการคานวณในระบบคอมพิวเตอร์
4.3 การคานวณเลขฐานสิบ
4.4 การคานวณเลขฐานสอง
4.5การคานวณเลขฐานแปด
4.6การคานวณเลขฐานสิบหก
4.7คอมพลีเมนต์ของเลขฐาน
4.8ใบงานและแบบฝกึ หัด
5 ตรรกศาสตร์
สาระสาคญั
5.1 บทนา
5.2 ประพจนแ์ ละประโยคเปดิ
5.3 การเชือ่ มประพจน์
5.4 การหาคา่ ความจรงิ ของประพจน์
5.5 การใหเ้ หตแุ ละผล
5.6 ใบงานและแบบฝึกหดั
6
ตารางวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรยี นร้(ู โครงการสอน)
ชื่อวิชา คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ รหัสวชิ า 20901-1003 จานวน 2 หนว่ ยกิต
ระยะเวลาเรียน 18 สัปดาห์ จานวน 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ รวมจานวน 36 ช่วั โมง
สปั ดาห์ที่ หนว่ ยท่ี ชอ่ื นหนว่ ยการสอน เวลา (ชม.)
12 6 พีชคณติ แบบบูล (Boolean Algebra) 2
สาระสาคัญ
6.1 บทนา
6.2 พชี คณิตแบบบลู
6.3 สมมตฐิ านแบบบูล
6.4 ทฤษฎแี บบบูล
6.5 ใบงานและแบบฝึกหัด
13-15 7 วงจรตรรก (Logic Circuits) 6
สาระสาคัญ
7.1 บทนา
7.2 วงจรเกท
- ออร์เกท ( OR Gates)
- แอนด์เกท (AND Gates)
- อนิ เวอร์เตอร์ (Inverters , NOT)
- แนนด์เกท (NAND Gates)
- นอรเ์ กท (NOR Gates)
- XOR Gates
- XNOR Gates
7.3ใบงานและแบบฝกึ หัด
16-17 6 เมตริกซ์ 7
สาระสาคัญ
8.1 ความหมายของเมตรกิ ซ์ 4
8.2 แถวและคอลัมน์
8.3 ชนดิ ของเมตริกซ์
8.4 เมตรกิ ซ์ยอ่ ย
8.5 การเทา่ กันของเมตรกิ ซ์
8.6 การบวกเมตริกซ์
8.7 การลบเมตริกซ์
8.8 การคูณเมตรกิ ซ์
8.9 การสลบั เปลย่ี นของเมตริกซ์
8.10 ตวั กาหนด (Determinant)
8.11 เมตรกิ ซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix)
8.12 ใบงานและแบบฝึกหดั
18 9 พชี คณิตเส้นตรง (Linear Algebra) 2
สาระสาคัญ
9.1 ความร้เู บือ้ งต้นเกี่ยวกับสมการ
9.2 ระบบสมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดยี ว
9.3 การแก้สมการเชิงเส้นตวั แปรเดยี ว
9.4 ระบบสมการเชิงเสน้ สองตวั แปร
9.5 การแก้สมการเชงิ เส้นสองตวั แปร
9.6 ใบงานและแบบฝกึ หดั
7. กจิ กรรมการเรียนการสอน
7.1 กิจกรรมครู
7.1.1จัดเตรียมเอกสาร หนังสืออ้างอิง ส่ือการเรียนท้ังสื่อโสตทัศน์ ส่ือส่ิงพิมพ์ ตัวอย่างแฟ้มสะสม
ผลงานของผู้เรียน
7.1.2นาเข้าส่บู ทเรียนโดยการประเมินผู้เรียนท่ีหลากหลาย เช่น ถามความร้พู ื้นฐานท้ังห้อง หรือ ทา
แบบฝึกหัดเรยี น
7.1.3การให้ข้อมูลหรือการสอน โดยผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาจากใบความรู้ แบบฝึกหัด สรุปสาระการ
เรียนรู้ประจาหน่วยการเรียน ตัวอย่างแฟ้มสะสมผลงานรุ่นพี่ หรือชุดการเรียน สื่อโสตทัศน์แล้วทาแบบฝึกหัด
หากยงั ทาได้ไม่ครบใหท้ บทวนบทเรียนใหผ้ ู้เรยี นใหม่
7.1.4สังเกต บันทึกพฤติกรรมผู้เรียนขณะศึกษาบทเรียน คอยช่วยเหลือให้คาแนะนาเม่ือผู้เรียน
ต้องการ
8
7.1.5การประยุกตใ์ ช้ โดยให้ใบมอบหมายงานแก่ผู้เรียน ดาเนนิ งานตามจุดประสงคท์ ่ีกาหนดไว้ในใบ
งาน โดยดาเนินงานในลักษณะของข้ันตอนทางวทิ ยาศาสตร์ เรมิ่ ต้ังแต่ ระบคุ วามต้องการของปญั หา ข้นั ศึกษา
เพื่อหาสมมตฐิ าน ขัน้ ปฏบิ ตั ิเพ่อื หาคาตอบ และสรปุ ผลของคาตอบทไี่ ด้จากข้ันปฏบิ ตั ิ
7.1.6สังเกต บันทึกพฤติกรรมผู้เรียนขณะดาเนินงานตามใบงาน คอยช่วยเหลือให้คาแนะนาเมื่อ
ผเู้ รียนต้อง
7.1.7แบ่งกลุ่มผู้เรียนเพ่ือดาเนินการตามใบงาน แล้วผู้สอนเดินสารวจการดาเนินงานตามใบงานของ
ผเู้ รียนหากพบวา่ ผู้เรียนดาเนนิ การยังไมถ่ ูกตอ้ งให้คอยชแี้ นะวิธีทถี่ ูกตอ้ งทันที
7.1.8การตรวจสอบผลการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนร่วมกันกาหนดหัวข้อท่ีจะประเมินงานร่วมกับผู้เรียน
ตรวจสอบชิ้นงานเพ่อื ประเมินและแก้ไขข้อบกพร่อง
7.1.9สังเกต บันทึกพฤติกรรมผู้เรียนขณะผู้เรียนทางาน คอยช่วยเหลือให้คาแนะนาเม่ือผู้เรียน
ต้องการ
7.1.10 หากผู้เรียนได้แบ่งกลุ่มรับผิดชอบการดาเนินการตามใบงานให้ตัวแทนกลุ่มหรือสมาชิกทั้ง
กล่มุ ลุกข้นึ บอกคาตามพร้อมท้ังวธิ กี ารได้มาซงึ่ คาตอบ
7.1.11 ครูอธบิ ายเนอ้ื หา พรอ้ มแสดงวธิ ีทาครูใหน้ ักศกึ ษามีสว่ นรว่ มในการเรยี นการสอน เช่น
- ถามตอบ
- ร่วมกันสรปุ
- ร่วมกันวิเคราะหห์ าเทคนิคและแนวทางทีด่ ีและง่าย
- ร่วมกันสร้างโจทย์ปัญหา และ ร่วมกันสรุปวิธีการแก้ปัญหาที่กาหนดในแนวทางที่ถูกต้อง
และเหมาะสม
7.1.12 ครูให้นักศึกษาทาแบบฝึกหัดทบทวนบทเรียนบนกระดานเป็นรายบุคคลพรอ้ มให้อธิบายและ
สรุปหลักการออกมาเปน็ แนวคดิ ตามความเขา้ ใจของแตล่ ะบุคคล
7.1.13 ครูใหน้ ักศกึ ษาตอบคาถามพร้อมออกมาสาธติ วธิ ีการทาโดยวธิ กี ารสมุ่ นักศึกษาในห้อง
7.1.14 ครูกาหนดโจทย์และปัญหากับนักศึกษา แล้วให้นักศึกษาแต่ละคนมาตอบคาถามพร้อมแสดง
วธิ หี าคาตอบตามหัวข้อทจ่ี บั ฉลากได้นอกเวลาเรยี น
7.1.15 ครูจัดให้นักศึกษาทากิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้เกิดความคิดที่หลากหลายในกระบวนการวิเคราะห์
หาเหตุและผล แล้วส่งตัวแทนออกไปแสดงวธิ กี ารหาคาตอบบนกระดานดาในชวั่ โมงเรียนในแตล่ ะภาระงาน
7.1.16 ครสู รุปพร้อมแนะนาเทคนคิ และกระบวนการคดิ ที่ถกู ตอ้ ง
7.1.17 ผู้เรียนทาภาระงานทุกหน่วยการเรียนตามใบงานประจาหน่วยส่งในเวลาที่กาหนด แล้ว
หลงั จากครูได้ตรวจชิ้นงานให้ผู้เรียนทาการแกไ้ ขให้ถูกต้องและเก็บสะสมชิน้ งานเพื่อจัดทาแฟ้มสะสมช้ินงานใน
ทุกหนว่ ยการเรียนรูห้ ลังเสร็จสน้ิ กระบวนการเรียนการสอน
7.2 กิจกรรมผูเ้ รียน
7.2.1จัดเตรียมเอกสาร หนังสอื แบบเรียน หนงั สอื อา้ งอิง ตามท่ีผูส้ อนและบทเรยี นกาหนด
7.2.2นาเข้าสู่บทเรียนโดยรับการชี้แจงวิธีการเรียนรู้ ระยะเวลาที่ทาการเรียนการสอน หลักการ
แนวทางการเรยี น การประเมินผลการเรยี น
9
7.2.3จดั กลุ่มกนั ศึกษา คน้ คว้า หาข้อมูลจากเอกสารตารา หนงั สือเรียน หนงั สอื อา้ งองิ และเรียนจาก
ชุดการเรียนและส่ือการเรียนต่าง ๆ และผู้เรียนร่วมกันแลกเปล่ียนความรู้ความคิดเห็นซ่ึงกันและกันเพื่อหา
ความคิดรวบยอดให้เกดิ ในแตล่ ะสาระการเรยี นรู้
7.2.4การใหข้ ้อมูล โดยศึกษาเนอ้ื หาจากใบความรู้ ใบงาน หรอื สื่อการเรยี นต่าง ๆ แล้วทาแบบฝึกหัด
หากยังทาได้ไม่ครบทาการทบทวนบทเรียนใหม่ หากมีปญั หาข้อขดั ข้องให้ขอคาแนะนาจากผู้สอนและเพื่อนใน
กลุ่ม
7.2.5การประยุกต์ใช้ โดยศึกษาใบมอบหมายงาน ดาเนินงานตามจุดประสงค์ในแต่ละสาระการ
เรียนรู้ตามใบงานท่ีกาหนดไว้โดยดาเนินงานในลักษณะของขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ เร่ิมต้ังแต่ ระบุความ
ต้องการของปัญหา ข้ันศึกษาเพื่อหาสมมติฐาน ข้ันดาเนินการปฏิบัติเพื่อให้ได้มาซ่ึงคาตอบ สรุปผลของ
คาตอบท่ีได้มาจากขนั้ ปฏบิ ตั ิ หน้าห้องเรียน หรือส่งครู ตามท่ีได้กาหนดไว้ในใบมอบหมายงาน หากมีปัญหาให้
ขอคาแนะนาจากผู้สอนและเพอ่ื ในกลุ่มหรือเพื่อในห้องเรียน
7.2.6การตรวจสอบผลการเรยี นรู้ โดยทารายงานผลการดาเนินงาน ร่วมกบั ผ้สู อนกาหนดหัวขอ้ ท่ีจะ
ประเมินงานในแต่ละสาระการเรียนรู้ และผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบชิ้นงานเพ่ือประเมินและแก้ไข
ข้อบกพรอ่ ง หากมีปญั หาขดั ข้องให้ขอคาแนะนาจากผู้สอนและเพื่อนในกลุ่ม
8. สื่อการเรยี นการสอน
8.1 หนังสอื ประกอบการเรียนวิชาคณิตศาสตรค์ อมพิวเตอร์
8.2 ใบงานประจาหน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วย
8.3 แบบฝกึ หัดประจาหน่วยการเรยี นรู้
8.4 ตัวอย่างแฟม้ สะสมชน้ิ งาน
8.5 ชดุ การสอน PowerPoint แตล่ ะหน่วยการเรียน
8.6 VCD CAI
8.7บทเรียนออนไลนว์ ิชาคณิตศาสตรค์ อมพวิ เตอร์
9. การวดั ผลประเมนิ ผล เกบ็ คะแนนระหว่างการดาเนนิ กิจกรรมการเรียนการสอน 100 คะแนน
9.1คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 คะแนน
9.2ใบงาน/แบบฝึกหดั (ช้ินงาน/แฟ้มสะสมผลงาน) 30 คะแนน
9.3ทดสอบระหว่างเรยี น 20 คะแนน
9.4 ประเมินผลผเู้ รียนหลงั เรียน 30 คะแนน
10. รปู แบบการวดั ผลประเมนิ ผล
10.1 ผู้เรยี นปฏิบตั ิภาระงานทีม่ อบหมายเสรจ็ ทนั เวลาท่ีกาหนดและถกู ตอ้ ง
10.2 ผู้เรียนมีความสนใจในการตอบคาถามและการสรุปผลการเรียนรู้แต่ละหน่วยการเรียนได้
อย่างถกู ตอ้ ง
10.3 เกิดความคิดรวบยอดในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ และรู้หลัก เทคนิค และวิธีการหาคาตอบได้
อยา่ งรวดเร็วและถกู ต้อง
10.4 ผ่านการทดสอบประจาหนว่ ยและประมวลผลสาระการเรียนรตู้ ลอดภาคเรียน
10
10.5 ผเู้ รยี นเกิดทกั ษะในการคานวณเลขในระบบคอมพิวเตอร์
10.6 สังเกตุพฤติกรรมและการแสดงออกถึงการเล็งเห็นคุณค่าของการนาคณิตศาสตร์มาใช้ใน
ระบบคอมพิวเตอร์ของผ้เู รยี น
10.7 ความสนใจในการเรียนรู้ การคน้ ควา้ เพ่อื แสดงความรู้และคาตอบ การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม
10.8 การซักถามและการตอบคาถาม
10.9 แบบฝกึ หัดและกิจกรรมการฝึกทกั ษะ
10.10 การทางานเปน็ ทมี (ให้ความสาคัญในการทางานเป็นทีม)
10.11 การประเมินโดยกล่มุ เพื่อน การประเมนิ ตนเอง
10.12 การเขยี นรายงานผลงาน และการแกไ้ ขสว่ นท่บี กพร่องในชิ้นงานท่ีมอบหมาย
10.13 แฟ้มสะสมผลงานท่ีมอบหมายในแตล่ ะหนว่ ยการเรียน
เครอื่ งมอื วัด
1. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม (วดั ความดี)
1.1 การปฏิบัติตามกฎระเบยี บของสถานศึกษา
1.2 ตรงตอ่ เวลา
1.3สนใจปฏบิ ตั ิงานทม่ี อบหมายและความกระตอื รือรน้ ในการเรยี น
1.4ความรบั ผดิ ชอบ
1.5ความสะอาดและความเปน็ ระเบียบ
1.6ความซ่อื สตั ย์
1.7 การเห็นคุณคา่ และมีเจตทีด่ ี
2. ด้านวชิ าการ (วัดความเกง่ )
2.1 ตอบคาถาม
2.2 หลักการและเทคนิคในกระบวนการคดิ
2.3 มคี วามรู้ความเข้าใจ
2.4 ผลงานการปฏบิ ตั ิตามใบงานมคี วามถูกต้อง
2.5 มีทักษะและวิเคราะหก์ ารใช้งานได้
2.6 ความสามารถในการนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในการทางานกบั คอมพวิ เตอร์
2.7 ทาแบบฝกึ หดั หลงั เรยี นมีความเข้าใจ
2.8 กระบวนการแก้ปัญหาและกระบวนการสืบคน้ เพอื่ หาคาตอบ
2.9มโี นภาพและความคิดรวบยอดในการในกระบวนการเรียนรูป้ ระจาหนว่ ย
11. กจิ กรรม/ขอ้ เสนอแนะสาหรบั ผสู้ อนในการวดั และประเมินผลการเรยี น
11.1 ครบู อกถึงหลักการ เปา้ หมาย และความสาคัญของการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ
11.2 ครูช้ีแจงจดุ ประสงคร์ ายวชิ า และระเบยี บว่าดว้ ยเวลาเรยี นและการประเมินผล
11.3 ครูตกลงกับนักศึกษาในการจดั กิจกรรมกระบวนการเรียนการสอน
11.4 ผู้สอนจะต้องเตรียมการวางแผนการสอนอย่างรอบคอบ โดยสรุปบทเรียนแต่ ละบทท่ีเป็น
สาระสาคัญ ในส่วนท่ีเปน็ ทฤษฎี กระบวนการ ตามกาหนดเวลา และจดั หาส่ือการเรียน การสอนประกอบ
ในแต่ละบทเรยี น
11.5 มอบหมายกจิ กรรม/ภารกิจ สว่ นทเี่ ป็นความรู้ และสว่ นท่เี ปน็ ทักษะตลอดภาคเรียน
11
11.6 กาหนดการบันทึกกิจกรรมการเรียนการสอนและองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนการสอนในแต่ละ
คร้ังในสมุดบันทึกภาระงานท่ีปฏิบัติ และนาเสนอครูผู้สอนท้ายช่ัวโมงเรียนทุกคร้ังและ ผู้สอนจะต้อง
ตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียน พร้อมด้วยเซ็นชื่อ และให้คาแนะนาผู้เรียนเพ่ือเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้ดี
ขนึ้ เสมอ
11.7 การส่งงานทุกครั้ง ผู้สอนจะต้องสรุปจุดอ่อนจุดแข็งให้ผู้เรียนทราบเพ่ือนาคาแนะนาไปปรับปรุง
แกแ้ ละพัฒนาตนเองให้ตรงกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้
11.8 ผู้สอนจะต้องออกแบบประเมินผลตามหลักเกณฑ์ และอธิบายให้ผู้เรียนได้ทราบการ
ประเมินผลกิจกรรมบางอย่าง เช่น การนาเสนอหน้าช้ันเรียน ควรให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมการประเมินด้วย เป็น
การสรา้ งความยตุ ิธรรมระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รียน
11.9 ผู้สอนจะต้องอธิบายการวัดผล และการประเมินผลใหผ้ เู้ รียนไดร้ บั รู้อยา่ งชดั เจน
12. กจิ กรรม/ขอ้ เสนอแนะสาหรับผู้เรยี น
12.1 วิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ เรียนทฤษฎี 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ระยะเวลา 18 สัปดาห์ รวม
ทั้งสิ้น 36 ช่ัวโมง ตลอดภาคเรียน 2 หน่วยกิต จุดประสงค์รายวิชาเน้นในเรื่องทักษะ (Skill) เพื่อ นาไปใช้
ในอาชีพและการศึกษาต่อไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน การเรยี นการสอนจงึ ต้องมุ่งเน้นการสรา้ งทกั ษะ โดย
ยึดมั่นในหลักการ ทฤษฎี กระบวนการ ความสามารถเฉพาะตัว และการทางานเป็นทีม ยึด ผู้เรียนเป็นสาคัญ
โดยมีชิน้ งานเป็นร่องรอยของการปฏบิ ัติงาน เพ่ือนาไปสู่กระบวนการเรยี น การสอน โดยใช้การประเมินผลแฟ้ม
สะสมงาน (Portfolio)
12.2 มุ่งสรา้ งความรับผิดชอบงาน/ภารกจิ ความเป็นระเบยี บของการทางาน การบรู ณาการ เนน้ การ
ทางานอย่างมืออาชีพ นักศึกษาแต่ละคนจะมีความรอบรู้ในส่วนท่ีเป็นทฤษฎี หลักการ กระบวนการ ส่วนท่ี
เป็นทักษะ นาเอากระบวนการของทฤษฎีไปสู่ภาคปฏิบัติ (การทารายงาน การนาเสนอช้ินงาน การออกแบบ
การวิเคราะหอ์ ัลกอรทิ ึม คาสัง่ เทยี ม ผังงาน การจดั การกบั พืน้ ทหี่ นว่ ยความจาในโครงสรา้ งขอ้ มลู ชนิดต่าง ๆ
ให้เหมาะสม การจัดเรียงข้อมูล การค้นหาข้อมูล ) นักศึกษาแต่ละคนจะได้รับการเอาใจใส่จากครูผู้สอน
โดยใช้กระบวนการตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน ทุกช้ินงานจะถูกควบคุมโดยตารางเวลาควบคุมการปฏิบัติงาน
(สมุดบนั ทกึ ผลการเรียนรู้ของผูเ้ รยี น ทกุ ครัง้ ท่ีมกี จิ กรรมการเรียนการสอน)
12.3 มุ่งเน้นสร้างบุคลิกภาพท่ีดี ความรอบรู้จากข่าวสาร การเกาะติดสถานการณ์ การ นาเสนอ
อย่างมีคุณภาพ และกจิ นิสัยทดี่ ี
12.4 การสาธติ
12.5 กิจกรรม/ภารกิจ ทุกชิ้นงาน ผสู้ อนจะตอ้ งสาธติ วธิ กี ารให้ผูเ้ รยี นอยา่ งเป็นขนั้ ตอน
12.6 ผู้สอนจะตอ้ งบอกความต้องการ การมอบหมายงานแตล่ ะชนิ้ งานใหผ้ ู้เรียนทราบอย่างชัดเจน
แตล่ ะชิ้นงานผเู้ รยี นจะได้รบั ประโยชน์อะไรบ้าง
13. แหลง่ การเรยี นรู้
13.1 หอ้ งสมุดสถานศกึ ษา
13.2 หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศ
13.3 ผปู้ กครอง เพ่ือน ๆ รนุ่ พ่ี และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา
13.4 หนังสือ E-book , Elearning , Website ท่ีเก่ยี วข้อง
13.5 ครูผู้สอน
12
14. ชน้ิ งานของผเู้ รยี น
14.1 รวบรวมผลงานที่เป็นผลงานที่ถูกต้องในภาระงานที่มอบหมาย และผู้เรียนทาการปรับปรุงแก้ไข
ชิน้ งานที่ยงั ไม่ถูกต้องใหถ้ กู ต้อง แลว้ จัดทาเป็นแฟม้ สะสมผลงาน
14.2 แฟม้ สะสมผลงานการทดสอบของผ้เู รียน
15. ภาระงานทม่ี อบหมายหรือกิจกรรม
ก่อนเรยี น
1. ครชู ี้แจงให้ผเู้ รียน เห็นความสาคญั ของ ระบบจานวน และตัวเลข เพือ่ เป็นประโยชนใ์ นการเรียนรู้
และนาไปประยกุ ต์ใช้ทง้ั ในชวี ติ ประจาวนั
2. ครชู ้แี จงวัตถุประสงค์รายวิชา
3. ครูชแี้ จงระเบียบวา่ ด้วยเวลาเรยี น
4. ครูตกลงกบั นกั เรียน เรอื่ งการแบง่ คะแนนเก็บระหวา่ งภาคดังนี้
5. ครตู กลงกบั นักเรยี นเร่อื งการปฏบิ ตั ติ นในหอ้ งเรียนตามแบบประเมิน
6. ครบู อกแนวทางในการเรียน และวธิ ีการปฏบิ ัตติ ามภาระงานท่มี อบหมาย
ขณะเรียน
1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยการถาม – ตอบ และใหแ้ สดงความคดิ เห็น
2. จดบนั ทกึ สาระการเรียนรู้
3. ร่วมกนั สรุปบทเรียน พร้อมบันทึกผลการสรุป แล้วลกุ ข้ึนนาเสนอกับครูผสู้ อน
4. ผ้เู รยี นและครูผ้สู อนร่วมกนั ประเมินข้อสรุปของนกั เรยี นทีอ่ อกแสดงความคิดเหน็ เพ่ือให้ได้ข้อสรุป
ที่ถกู ต้อง และครูผ้สู อนแสดงความชื่นชมกบั นักเรียนทุกคนท่อี อกแสดงความคิดเห็นและมสี ่วน
รว่ มในกิจกรรมท่มี อบหมาย
5. ทาใบงาน ตรวจสอบใบงาน แก้ไขใบงาน
6. ทบทวนเน้อื หา
7. ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
8. ร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ
16. เอกสารอ้างอิ ง
เพียงสุรีย์ เสาวนิช. คณติ ศาสตรค์ อมพวิ เตอร์ ระดบั ช้นั ปวช. พมิ พค์ ร้ังท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร:
บริษัท ซัคเซสมีเดยี จากัด, 2548.
เพยี งสุรีย์ เสาวนชิ . คณิตศาสตร์คอมพวิ เตอร์ ระดับชนั้ ปวส. พิพม์ครัง้ ที่ 1 . กรงุ เทพมหานคร :
สานักพิมพ์ ศูนย์สง่ เสรมิ วชิ าการ (สศอ.),2550
13
แผนการจัดการเรียนร้รู ายหน่วย
รหัสวชิ า 20901-1003 ชอ่ื วชิ า คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 2(2) สอนครัง้ ท่ี 1
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ระบบจานวน ระยะเวลา 2 ชั่วโมง
……………………………………………………………………………………………………………….
1. สาระสาคัญ
โดยท่ัวไปเรามนุษย์เรารู้จักกับจานวนในการดารงชีวิต มาต้ังแต่สมัยโบราณ และมนุษย์ได้มีการ
ววิ ัฒนาการในการใช้เกี่ยวกับจานวนมาเร่ือย ๆ เป็นยุค ๆ และมีการเริ่มใช้จานวนมากทสี่ ุดในสมัย ของบาบิโล
เนีย กรีก โรมันและอียิปต์ ส่วนชาวฮินดู-อาหรับ ได้สร้างสัญลักษณ์แทนจานวนอย่างมีระบบ จนถึงยุก
ปัจจุบันเราใช้ระบบจานวนเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันจนไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ เพ่ือใช้ในการสื่อสาร
แลกเปลี่ยน ซ่ึงรวมไปถงึ การคานวณเลขทงั้ ทางคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ ดงั นน้ั จึงมคี วามจาเป็นต้องศึกษา
และเรียนรู้ระบบจานวนให้มีความเข้าใจในหลักการ เพื่อประโยชน์และเกิดประสิทธิภาพมากที่สุดในการ
นาไปใช้งานตามประเภทของการใชง้ านอย่างถูกหลกั และถูกต้องเหมาะสม
2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
จดุ ประสงค์ทว่ั ไป
1. มคี วามรูค้ วามเข้าใจในระบบจานวน
2. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในระบบตัวเลข
3. เหน็ ความสาคญั ของระบบตวั เลขและระบบจานวน
4. ทราบความเป็นมาและวิวฒั นาการของระบบจานวน
5. มคี วามรูค้ วามเข้าในในระบบเสน้ จานวน
6. เล็งเหน็ ความสาคญั ของการนาระบบจานวนไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. อธบิ ายโครงสรา้ งของระบบจานวนได้
2. ประยุกต์ใช้คุณสมบัตติ า่ งไ ของจานวนใด ๆ ได้
3. สามารถวิเคราะหแ์ ละแยกแยะได้อยา่ งถูกต้องระหวา่ งระบบจานวนกับตัวเลข
4. สามารถนาระบบจานวนไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ในดา้ นต่าง ๆ
5. สามารถเขยี นเลขจานวนตา่ ง ๆ ให้เป็นเลขโรมนั ได้
3. เน้อื หาสาระการเรียนรู้
1. ววิ ัฒนาการของจานวนและตวั เลข
2. โครงสรา้ งระบบจานวน
3. จานวนจริง
4. จานวนตรรกยะ
5. จานวนอตรรกยะ
6. จานวนเต็ม
7. จานวนนบั หรือจานวนธรรมชาติ
8. เส้นจานวน
14
4. กิจกรรมการเรยี นการสอน
กจิ กรรมครู กจิ กรรมนักเรียน
ขั้นเตรยี มกจิ กรรม
1. ครูช้แี จงจุดประสงคแ์ ละคาอธบิ ายรายวชิ า 1. นกั เรยี นดู , ฟงั และจดบันทกึ
2. ครูช้ีแจงระเบียบว่าด้วยเวลาเรียนและการ 2. ให้นกั เรียนพูดคุยและซักถาม ขอ้ สงสัย
ประเมนิ ผล
3. ค รู ต ก ล งกั บ นั ก เรี ย น ใน ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม
กระบวนการเรยี นการสอน
4. ครูกาหนดหนังสอื เอกสาร และใบงาน
5. ครูกั บ นั ก เรีย น สร้างคว าม เป็ น กั น เอ งแ ล ะ
ความคุ้นเคยเพ่ือให้ผู้เรียนลดอาการเครียดและ
เกรงกลวั ครูผู้สอน
6. ครตู อบคาถามข้อสงสยั ของนกั เรยี นก่อน
เรียน
15
กิจกรรมครู กจิ กรรมนกั เรยี น
ขัน้ นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนในห้องแสดง 1. นักเรียนฟัง และตอบคาถามครูด้วยความ
ความคิดเห็น ถึงความหมาย และความแตกต่าง ต้ังใจ เป็นการวดั ความรูเ้ ดิมของนักเรยี น
ของ “ระบบจานวน” กับ”ตัวเลข”ตามท่ีนักเรียน 2. ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นและนาเสนอ
เข้าใจ 3. ผู้เรียนปรึกษาหากันในห้องเรียน ศึกษาจาก
2. ทดสอบกอ่ นเรยี นโดยการ ถาม – ตอบ เอกสารประกอบการเรียนและช่วยกันระดม
3. ครูให้นักเรียนบอกระบบจานวนทั้งหมดเท่าที่ทราบ ความคดิ แลว้ ตอบคาถาม
โดยวิธีการถาม นักเรียนท้ังห้องก่อน ถ้าได้คาตอบ
ไม่ชัดเจน จึงทาการสุ่มนักเรียนเพื่อลุกข้ึนตอบ
คาถามทีละคน
4. ครูสรุปและอธิบาย พร้อมกับยกตัวอย่าง จนกว่าผู้เรียน
สามารถมองเห็นภาพถึงความแตกต่าง ระหว่างจานวน
กับ ตัวเลข และ เข้าใจเกี่ยวกับระบบจานวนต่าง ๆ ได้ดี
ยิง่ ขนึ้
ขน้ั ดาเนนิ การสอน
1. ทดสอบก่อนเรียนโดยการ ถาม – ตอบ 1. ให้นกั เรียน ตอบคาถาม
2. ให้ผู้เรียนบอกความหมาย และความแตกต่าง 2. นักเรยี นร่วมกันคิดและนาเสนอในหอ้ งเรียน
ระห ว่าง “จาน วน ” กับ “ตัวเลข” พ ร้อม 3. ให้นักเรียน ร่วมกันประเมินผลเพื่อนที่ออก
ยกตวั อย่างประกอบ แสดงความคดิ เห็น วา่ ถกู หรือไม่ อยา่ งไร
3. ให้ผู้เรยี น บอกโครงสร้างของระบบจานวนต่าง ๆ 4. ผู้เรียนสนใจ ต้ังใจฟังครูบรรยายพร้อมจด
พร้อมกับให้ความหมาย และยกตวั อยา่ งประกอบ บันทกึ
ในแต่ระบบ 5. ให้นักเรียนสรุปผลร่วมกับครูผู้สอนและจด
4. ครบู รรยาย และยกตัวอยา่ งประกอบในแต่ละ บนั ทกึ ผลการสรปุ
หวั ขอ้ อยา่ งชดั เจนเพื่อใหผ้ ู้เรียนสามารถจดจาได้ 6. นักเรียนทาใบงานท่ีมอบหมายส่งในเวลาที่
งา่ ย ผสู้ อนกาหนด
5. สุม่ ใหผ้ ู้เรียนลกุ ขนึ้ สรปุ บทเรยี น 7. ถ้าใบงานในข้อใดไม่ถูกต้องนักเรียนต้องทา
6. ใหท้ าใบงาน การแก้ไขใบงานให้ถกู ต้อง
7. ครูตรวจใบงาน พร้อมแจกคืนให้นักเรียน เพ่ือนา 8. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
กลับไปแก้ไขข้อที่ผิดแล้วส่งใหม่จนกว่าจะถูกต้อง 9. นักเรียนช่วยกันเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
หรือหมดเวลาท่กี าหนดในการส่งใบงาน ร่วมกบั ครผู ูส้ อน
ขัน้ สรปุ 10. ผู้เรียนบอกวิธีท่ีนาความรู้จากบทเรียน
8. ครูแนะน าให้ผู้เรียน ไปศึกษ าจากเอกสาร ไป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ให้ เกิ ด ป ร ะ โย ช น์ แ ล ะ
ประกอบการเรยี น ประสิทธิภาพสงู สุดตอ่ ไป
9. ทดสอบหลังเรียน
ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ บทเรียนและการนาไป
ประยกุ ต์ใช้
16
5. ส่อื การสอนและแหลง่ เรียนรู้
5.1 ชุดการสอน PowerPoint / PDF File
5.2 หนงั สือเรียนเรียนวิชาคณิตศาสตร์คอมพวิ เตอร์
5.3 ครผู สู้ อน, Internet, E-learning, Website , Visual Classroom
5.4 รายงานทเ่ี กี่ยวข้องกบั สาระการเรียนรปู้ ระจาหนว่ ย
5.5 ชดุ การเรียนร้ดู ้วยโปรแกรมสือ่ ประสม
6. การวัดผลและการประเมินผล
6.1 ความสนใจในการเรียนรู้ การค้นคว้า การมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรม
6.2 การซักถามและการตอบคาถาม
6.3 การทางานเป็นทมี (ให้ความสาคัญในการทางานเปน็ ทมี งาน , การมสี ว่ นร่วมรับผิดชอบกันและกัน
ของกลุม่ ทปี่ ฏบิ ัตภิ าระงานร่วมกนั อย่างเป็นระบบ)
6.4 การสรปุ เนอ้ื หาบทเรยี น องค์ความรทู้ ีไ่ ด้ในกจิ กรรมการเรียนการสอน และสามารถปฏบิ ัติภาระงาน
ทไี่ ด้รับมอบหมายแล้วเสร็จทันเวลาที่กาหนด
6.5 บนั ทกึ ผลการเรียนร้แู ละการเขยี นรายงานตนเอง (Self-Report)
6.6 แฟม้ สะสมผลงานในการปฏิบตั ิภาระงานทม่ี อบหมาย
7. ผลงาน / ช้ินงานของนกั ศึกษา
7.1 บนั ทึกผลการเรียนรู้ การเขียนรายงานตนเอง
7.2 ผลงานการปฏิบัติตามใบงานทม่ี อบหมายประจาสาระการเรยี นรู้
8. กิจกรรมเสนอแนะ /ภาระงานท่ีมอบหมาย
8.1 ศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมเก่ียวกับสาระการเรียนรู้จาก หนังสือ Internet , Website , บทเรียน
ออนไลนใ์ น Visual Classroom ของสถานบนั การศกึ ษาตา่ ง ๆ
8.2 บนั ทึกและสรุปองคค์ วามรูท้ ไี่ ดใ้ นการเรียนเสนอครูผ้สู อนหลังเสร็จส้นิ การเรียนการสอน
ในแตล่ ะครงั้
9. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. ผู้เรียนต้องให้ความสนใจในการศกึ ษา เพ่ือหาเทคนคิ วิธกี าร หรือหลกั การง่ายเพ่ือให้หาคาตอบได้
อยา่ งถูกต้อง และรวดเร็ว โดยการ ตั้งใจฟังหลักการ เทคนคิ วิธีการท่ีครผู ู้สอนสรุปในขณะท่ีทาการสอน และนา
ข้อสงสัยซกั ถามครูในการเรยี นทุกคร้ังทเ่ี กิดความสบั สน และไมเ่ ขา้ ใจ
2. ผมู้ กี ารทบทวนบทเรียน ตลอดเพอื่ เสริมสรา้ งความเขา้ ใจอย่างแท้จรงิ
3. ผู้เรียนหม่นั ทาใบงาน แบบฝึกหดั และแกไ้ ขข้อท่ีผิดให้ถูกตอ้ งเสมอ
17
ภาระงานที่มอบหมาย
บทท่ี 1 เร่ือง ระบบจานวน
วชิ า คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ หลักสูตร ปวช. ภาคเรยี นที่ …1…./…2564………
…………………………………………………………………………………………………………
วิธปี ฏิบตั ิ
1. นกั เรยี นปรึกษาหารอื กนั และศึกษา ทบทวนสาระการเรียนรู้
2. นักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ ทเ่ี หมอื นหรือแตกต่าง จากเพื่อนในห้องเรียนเพ่ือเปน็ แนวทางการ
คน้ หาคาตอบที่ถกู ต้อง
3. ตอบคาถามครูผู้สอน
4. นักเรยี นแกไ้ ขปรับปรงุ ข้อบกพร่องของชิ้นงานใหถ้ ูกต้องจากท่คี รู โดยการสรปุ สง่ิ ที่ผเู้ รียนมสี ่วน
ร่วมในกิจกรรม เข้าแฟ้มสะสมผลงานแลว้ นาเข้าแฟ้มสะสมผลงาน
ภาระงานท่มี อบหมาย
1. บอกความหมายของระบบจานวนและตัวเลข
2. เขียนเสน้ จานวนพร้อมอธบิ าย
3. บอกโครงสรา้ งของระบบจานวนทนี่ ักเรียนค้นุ เคย
4. ใหค้ วามหมายของระบบจานวน พรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบอยา่ งน้อย 3 ตวั อย่าง
หนา้ ทคี่ รผู สู้ อน
1. กาหนดเวลาในการปฏิบัตงิ านของนกั เรียน
2. สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการมสี ่วนรว่ มและปฏบิ ัตภิ าระงานท่ีมอบหมาย
3. ตรวจผลงานของนกั เรยี น
4. สมุ่ ถามนักเรียน
5. ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเฉลยใบงานพร้อมให้คะแนนหรือชมชยนักเรียนที่มีส่วนร่วมใน
กจิ กรรมการเรียนรู้
เฉลยแบบฝกึ หัด บทท่ี 1 เร่อื ง ระบบจานวน
1. จงอธิบายความหมายของจานวนต่อไปน้ีพร้อมยกตวั อย่าง
จานวนจริง คือ จานวนทีใ่ หญ่ท่ีสุดในระบบของโครงสรา้ งจานวน ซึง่ เลขท่อี ยู่ในระบบจานวนจรงิ
ประกอบดว้ ยเลขทุกจานวน ซึ่งจะแสดงหรือเก็บรูปแบบของตวั เลขอยู่ในรปู ของเลขทศนยิ ม เชน่
- 2.00 , -1.50 , 0.00 , 1.25 , 2.20 , 3.00 เป็นตน้
(1) จานวนเต็ม คือ จานวนทีเ่ ปน็ เลขไมม่ ีเศษ ประกอบด้วยตวั เลขจานวน ลบ , ศนู ย์ , จานวน
บวก เทา่ น้ัน ซงึ่ ไม่เลขทศนยิ ม เศษส่วน เช่น …,-4 , -3 , -2 , -1 , 0 , 1 , 2 ,3 , 4,
… เปน็ ต้น
(2) จานวนธรรมชาติ คอื จานวนนับ , จานวนเต็มบวก โดยเลขในระบบจานวนนป้ี ระกอบดว้ ยเลขท่เี ริ่ม
ตงั้ แต่ 1,2,3,4,5,6,…. เปน็ ต้นไป
18
(3) จานวนนับ คอื จานวนธรรมชาติ , จานวนเตม็ บวก โดยเลขในระบบจานวนน้ีประกอบดว้ ย
เลขทีเ่ ริม่ ต้งั แต่ 1,2,3,4,5,6, … เป็นต้นไป
(4) จานวนตรรกยะ คอื จานวนที่สามารถเขียนอยใู่ นรปู เศษสว่ น หรือ จานวนเต็ม เช่น 5 , 20 ,
24
9
3
(5) จานวนอตรรกยะ คือ จานวนทไ่ี มส่ ามารถเขยี นใหอ้ ยู่ในรปู ของเศษสว่ นและจานวนเต็มได้ ซึง่
จานวนอตรรกยะเป็นเลขจานวนทศนิยมไมร่ ู้จบหรอื แบบไม่ซา้ รากท่ีถอดไดไ้ มล่ งตัว เช่น 2.3333,
15.2151515… , , 5 เปน็ ต้น
2. จงเปลย่ี นสัญลกั ษณ์ต่อไปนีใ้ ห้เปน็ เลขอารบิค
(1) D = ...500........................... (2)LXX
XXV
=..120.........................
(3) CD = ...400........................... (4)
=......25000.......................
3. กาเครื่องหมาย ในช่องจานวนท่แี สดงอยใู่ นรปู ของเลขจานวนทถี่ ูกต้อง
ข้อที่ จานวน จานวนจรงิ จานวนนบั จานวนเต็ม จานวน ตรรกยะ จานวน อตรรกยะ
1 2.5 /
23 /
5
3 0.725 /
4 0.62323 // / /
… // / /
// /
58
6 23
70
8¶
95 /
10 4 /
4. จงเปลี่ยนเป็นเลขโรมัน = ...... I........................
(1) 1 = .......L.......................
(2) 50
(3) 62 =........LXII......................
19
5. จงหาคาตอบจากที่กาหนดใหต้ ่อไปน้ี
(1) 100 =………ไมม่ นี ิยาม ดงั นั้นจึงไม่สามารถหาคาตอบได้………………….
0
(2) 0 =…………0……………….
5
(3) 50 =………ไม่มีนยิ าม ดังนน้ั จึงไมส่ ามารถหาคาตอบได้…………………
0
(4) 0 =…………0…………………
200
6. จงเขียนโครงสรา้ งของระบบจานวน พรอ้ มอธิบายมาพอสังเขป
จำนวนจริง
จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ
จานวนจริงเปน็ จานวนท่ีใหญ่กว่าจานวนอนื่ ๆ เพราะจานวนจริงประกอบด้วยเลขทุกจานวน โดยเลข
จานวนตรรกยะ จะเปน็ เลขจานวนเตม็ เศษส่วน และ จานวนเลขทีม่ ที ศนิยม(ทศนิยมทีร่ ู้จบ ) ส่วนเลข
จานวนอตรรกยะ เปน็ เลขทศนยิ มที่ไม่ร้จู บ หรอื วนซา้ รวมทัง้ เลขท่ีอยใู่ นรูปของเลขอนื่ ๆ ที่ไมใ่ ชจ่ านวน
ตรรกยะ เชน่ , 5
7. จงบอกความหมายของสัญลกั ษณต์ ่อไปน้ีพร้อมยกตวั อย่าง
7.1 R หมายถงึ จานวนใด ……จานวนจรงิ …ตวั อยา่ ง -2.50 , 3.25 , 2.00 , 0.00 ,… เป็น
ตน้
7.2 I- หมายถงึ จานวนใด ……จานวนเตม็ ลบ……ตวั อย่าง …-5,-4,-3,-2,-1 เปน็ ตน้
7.3 I+ หมายถงึ จานวนใด ……จานวนเต็มบวก……ตวั อย่าง 1,2,3,4,… เป็นต้น
7.4 I หมายถงึ จานวนใด ……จานวนเตม็ ตัวอย่าง …,-3,-2,-1 , 0 ,1 , 2 , 3,… (เลขจานวน
เตม็ ลบ , ศูนย์ , เลขจานวนเตม็ บวก)
8. จงบอกคณุ สมบัตขิ องเลขตอ่ ไปน้ี
8.1 เลข …1…… เปน็ เอกลักษณ์ของการคูณ เพราะ เลข 1 ไปคูณกับเลขจานวนใด ๆ แลว้ จะ
ได้เลขจานวนนั้นๆ เสมอ ไมเ่ ปลย่ี นแปลง
8.2 เลข…0…… เปน็ เอกลักษณ์ของการบวก เพราะ เลข 0 ไปบวกกบั เลขจานวนใด ๆ แล้วจะได้
เลขจานวนนน้ั ๆ เสมอ ไมเ่ ปลย่ี นแปลง
20
9. เขยี นคณุ สมบัติพ้ืนฐานของจานวนพรอ้ มแสดงตวั อย่างประกอบ
เชน่ คุณสมบัตขิ องการสลับที่
สลับที่การบวก a + b = b + a ตวั อย่าง 6 + 2 = 2 + 6 จะได้เทา่ กบั 8
สลบั ทกี่ ารคณู a . b = b . a ตัวอยา่ ง 6 . 2 = 2 . 6 จะได้เท่ากับ 12
9.1 การเปล่ียนกลุ่ม
การเปลี่ยนกลุ่มการบวก a+(b+c) = (a+b)+ c
การเปล่ยี นกลมุ่ การคูณ a . (b.c) = (a .b) . c
9.2 การแจกแจง
การแจกแจงการบวก a+(b. c) = (a+b) . (a+ c)
การแจกแจงการคูณ a . (b+ c) = (a .b) + ( a. c)
9.3 การมีเอกลักษณ์
การมีเอกลักษณข์ องการบวก a + 0 = a
การมเี อกลกั ษณข์ องการคูณ a . 1 = a
10. เขียนเส้นจานวนพร้อมอธบิ ายหลักในการเขียนเส้นจานวน
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
เส้นจานวนจะประกอบด้วยจานวนทกุ จานวน ทง้ั จานวนเต็มลบ ศูนย์ จานวนเต็มบวก และ ทศนิยม
21
บนั ทกึ หลังสอน
1. ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ผลการสอนของผสู้ อน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………
3. ปญั หา อุปสรรค/ ขอ้ เสนอแนะ เพื่อปรับปรุงและพฒั นา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ……………………………ผสู้ อน
(นายพงษ์ศกั ด์ิ วงษช์ มภู)
วันท่ี……..เดือน………..พ.ศ. .….
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อเสนอแนะของผูต้ รวจแผนการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ ………………………….ผตู้ รวจแผนการเรยี นรู้
(…………………………………)
วนั ท่ี………เดอื น………….พ.ศ. …….
22
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายหน่วย
รหัสวิชา 20901-1003 ชือ่ วิชา คณิตศาสตร์คอมพวิ เตอร์ 2(2) สอนครง้ั ท่ี 2
หน่วยท่ี 2 ช่อื หน่วยการ เลขฐานในระบบคอมพิวเตอร์ ระยะเวลา 4 ชั่วโมง
……………………………………………………………………………………………………………….
1. สาระสาคัญ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ ได้ถูกพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว เครื่องประมวลผลทาง
อิเลคทรอนิคส์ หรือ คอมพิวเตอร์ ก็ได้รับการพัฒนาขึ้นมา หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ต้องอาศัยทาง
ไหลหรือการหยุดไหลของสญั ญาณในช่วงเวลาต่าง ๆ กัน เหมือนกับการเปิด-ปิด สวิทซ์นั่นเอง การทางานของ
คอมพิวเตอร์แต่ละส่วนจึงเป็นแบบ 2 จังหวะ ตลอดเวลาด้วยเหตุน้ีค่าตัวเลขในเลขฐานสอง (binary
number) จึงมีบทบาทบ้างเพราะมันมีค่า 0 กับ 1 จึงสมดุลย์กับการเปิดปิดสวิทซ์ นอกจากฐานสองแล้ว เรา
ยังมีเลขฐาน 8 (Octal -number) เลขฐานสิบหก (Hexadecimal number) อีกด่วย เพราะสะดวกต่อการ
นาไปใชต้ รวจการทางานของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ในแตล่ ะขนั้ ตอนเปน็ อนั มาก
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงคท์ ัว่ ไป
1. มคี วามรูใ้ นระบบเลขฐานท่ใี ชใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์
2. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในหลักการแปลงเลขฐาน
3. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการแทนลักษณะข้อมลู ในคอมพวิ เตอร์
4. ทราบประเภทของรหัสที่ใช้แทนขอ้ มูลภายในเครอื่ งคอมพิวเตอร์
5. เหน็ ความสาคญั ของระบบเลขฐานที่ใชใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. สามารถเขียนระบบเลขฐานใด ๆ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั ระบบคอมพวิ เตอร์ได้
2. สามารถนาความรู้ในระบบเลขฐานต่าง ๆ ไปประยกุ ตใ์ ชก้ ับเลขฐานอน่ื ๆ ได้
3. สามารถบอกสมาชิกของเลขจานวนทอี่ ยูใ่ นระบบเลขฐานใด ๆ ได้
4. สามารถเขียนและบอกสญั ลักษณท์ ่ีใช้เป็นรหสั ในระบบคอมพวิ เตอร์ได้
5. ปฏิบัตกิ ารแปลงเลขฐาน ไปเป็นเลขฐานใด ๆ ได้
6. บอกความจาเป็นในการนาระบบของเลขฐานไปใชใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์
3. เนอ้ื หาสาระการเรยี นรู้
1. ความสาคัญของระบบเลขฐาน
2. ระบบเลขฐานสบิ
3. ระบบเลขฐานสอง
4. ระบบเลขฐานแปด
5. ระบบเลขฐานสบิ หก
6. ระบบเลขฐานอืน่ ๆ
7. การเขยี นและอ่านเลขฐาน
23
4. กิจกรรมการเรียนการสอน
กิจกรรมครู กจิ กรรมนักเรยี น
ขั้นเตรียม
1. ให้นักเรียนอ่านหนังสือเรียน เพื่อทาความรู้จักกับ 1. นักเรียนอ่านหนังสือเรียน และทาความ
ระบบเลขฐานที่เกี่ยวข้องกับสิ่งท่ีจาเป็นต้องเรียนรู้ใน เข้าใจในระบบเลขฐาน ตา่ ง ๆ
ระบบคอมพิวเตอร์ ประมาณ 10 นาที 2. นักเรยี น ซักถามข้อสงสัย
2. ครตู อบขอ้ สงสยั ของนกั เรียน 3. จดบนั ทึกคาตอบของครูผ้สู อน
ขัน้ นาเข้าสู่บทเรยี น
1. ครูเขียนตัวอย่างเลขฐานต่าง ๆ บนกระดาน แล้วถาม 1. นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ตัวอย่างที่ผูส้ อน
ผู้เรยี น เพือ่ ให้ทราบความรู้พ้นื ฐานของผเู้ รียนเก่ียวกับ เขียน บ น กระดาน ว่าเลขแต่ล ะชุ ด
ระบบเลขฐาน เกย่ี วกบั ข้องระบบเลขฐานใด
2. ครูถามนักเรียน เกี่ยวกับความสาคัญของระบบเลข 2. ผู้เรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็น และ
ฐานท้ังท่ีเกี่ยวข้องกับมนุษย์ และเกี่ยวข้องกับระบบ ตอบคาถาม
คอมพวิ เตอร์ 3. ผู้เรียนช่วยกันแสดงความช่ืนชมกับผู้ที่มี
3. ครูชมเชยผู้เรียนท่ีมีความพยายามตอบคาถามและ ส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและ
แสดงความคิดเห็น และให้นักเรียนในห้องมีส่วนร่วม ตอบคาถาม
ในการแสดงความชื่นชมกับผู้ที่ตอบคาถาม ท้ังผู้ที่
ตอบถูก และผทู้ ีต่ อบไม่ถูก
24
กจิ กรรมครู กิจกรรมนักเรียน
ขัน้ ดาเนนิ การสอน
1. บรรยาย อธิบาย และยกตวั อย่างประกอบ 1. จดบันทกึ
2. เขียนรปู แบบระบบเลขฐานตา่ ง ๆ ให้ผู้เรยี นเพอ่ื ให้ 2. นกั เรียนตอบคาถาม
ผูเ้ รยี นสังเกตุและเขา้ ใจถึงความเหมอื นและความ 3. นกั เรยี นซักถามข้อสงสยั
แตกตา่ งของระบบเลขฐาน 4. ทาใบงานและแบบทดสอบหลังเรยี นที่ได้รับ
3. ครูแนะนาเทคนิค และวธิ ีจดจาเก่ยี วกับระบบเลขฐาน มอบหมายให้เสรจ็ ทนั ภายในเวลาท่กี าหนด
ตา่ ง ๆ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ในการเรียนรู้ และเพื่อให้ 5. นักเรียนและครูผู้สอนร่วมกันสรุปสาระการ
ผเู้ รยี นเกดิ มโนภาพและมีความคดิ รวมยอดในสาระ เรียนรู้จากส่ิงท่ีได้รับมอบหมายตามใบงาน
การเรยี นรู้ และแบบทดสอบ
4. ให้นักเรยี นทาใบงานโดยการตอบคาถามและออกไป 6. นักเรียนจดบันทึกผลการสรุป และเทคนิค
เขียนคาตอบบนกระดานดา วิธกี ารจดจาทคี่ รผู ้สู อนแนะนา
5. ทาแบบทดสอบหลังเรยี นและให้นักเรยี นส่งภายใน 7. ผู้เรียนบอกวิธีที่นาความรู้จากบทเรียนไป
เวลาทก่ี าหนด ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ให้ เกิ ด ป ร ะ โย ช น์ แ ล ะ
6. ตรวจใบงานและแบบทดสอบ ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ตอ่ ไป
7. ครแู ละผเู้ รยี นร่วมกนั เฉลยใบงานและแบบทดสอบ
ข้ันสรปุ
8. ครูให้นักเรียนในห้องสรุปความรู้ที่ได้จากการเรียนทุก
หวั ขอ้ การเรยี นรู้
9. ครูสุ่มถามนักเรียนในห้องเรียนเพ่ือตอบคาถาม ครู
ดาเนินการถามจนนักเรียนจนกว่าผู้เรียนจะถาม
คาถามได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
10.ครูกับนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนและวิธีการนาไป
ประยกุ ตใ์ ช้
5. สอ่ื การสอนและแหลง่ เรียนรู้
5.1 ชุดการสอน PowerPoint / PDF File
5.2 หนงั สือเรยี นเรียนวิชาคณติ ศาสตรค์ อมพิวเตอร์
5.3 ครูผ้สู อน, Internet, E-learning, Website , Visual Classroom
5.4 รายงานท่ีเกย่ี วข้องกบั สาระการเรียนรู้ประจาหน่วย
5.5 ชดุ การเรยี นรดู้ ว้ ยโปรแกรมสือ่ ประสม
6. การวดั ผลและการประเมินผล
6.1 ความสนใจในการเรยี นรู้ การค้นควา้ การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม
6.2 การซกั ถามและการตอบคาถาม
6.3 การทางานเป็นทีม (ให้ความสาคัญในการทางานเปน็ ทีมงาน , การมสี ว่ นร่วมรับผิดชอบกันและกนั
ของกลมุ่ ทีป่ ฏบิ ตั ภิ าระงานรว่ มกนั อย่างเปน็ ระบบ)
25
6.4 การสรปุ เนอื้ หาบทเรียน องค์ความรูท้ ี่ได้ในกจิ กรรมการเรยี นการสอน และสามารถปฏิบัติภาระงาน
ท่ีได้รบั มอบหมายแล้วเสร็จทนั เวลาที่กาหนด
6.5 บันทกึ ผลการเรยี นรู้และการเขยี นรายงานตนเอง (Self-Report)
6.6 แฟ้มสะสมผลงานในการปฏบิ ัติภาระงานทีม่ อบหมาย
7. ผลงาน / ช้นิ งานของนกั ศกึ ษา
7.1 บนั ทึกผลการเรยี นรู้ การเขียนรายงานตนเอง
7.2 ผลงานการปฏิบัตติ ามใบงานท่มี อบหมายประจาสาระการเรยี นรู้
8. กจิ กรรมเสนอแนะ /ภาระงานท่ีมอบหมาย
8.1 ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้จาก หนังสือ Internet , Website , บทเรียน
ออนไลน์ใน Visual Classroom ของสถานบันการศกึ ษาตา่ ง ๆ
8.2 บันทกึ และสรุปองค์ความรทู้ ่ีไดใ้ นการเรียนเสนอครผู ู้สอนหลังเสรจ็ ส้นิ การเรยี นการสอน
ในแต่ละคร้งั
9. กจิ กรรมเสนอแนะ
ถ้าผู้เรียนมีการเตรียมตัวในการเรียนที่ดี เช่น อ่าน และทาการศึกษาหนังสือเก่ียวกับหน่วยการเรียน
มากก่อน ถึงชั่วโมงเรียน ผู้เรียน จะสามารถเรียน และทากิจกรรมต่าง ๆ ท่ีครูผู้สอนมอบหมาย ได้อย่างมี
ความสุข และเกดิ ความชอบ และสนกุ กบั การเรียนในชน้ั เรยี น
26
ภาระงานทม่ี อบหมาย
บทท่ี 2 เรือ่ ง เลขฐานในระบบคอมพิวเตอร์
วชิ า คณติ ศาสตรค์ อมพิวเตอร์ หลักสูตร ปวช. ภาคเรยี นท่ี …1…./…2564………
…………………………………………………………………………………………………………
วธิ ีปฏิบตั ิ
1. นักเรียนศึกษา ทบทวนเนื้อหาบทเรียนจากหนังสือและทาความเข้าใจกับสาระการเรียนรู้ในสิ่งที่
ผสู้ อนไดแ้ นะนาหลักการและเทคนิคให้กับผ้เู รยี น
2. แบ่งกลมุ่ ผเู้ รียนเทา่ กัน 2 กลมุ่ เพ่ือแข่งขันกันปฏบิ ตั ภิ าระงานที่มอบหมาย
3. สมาชิกทั้ง 2 กลุ่ม แข่งขันกันตอบคาถามผู้สอน โดยการออกไปแสดงวิธีการหาคาตอบบน
กระดาน
4. นักเรียนแก้ไขปรับปรุงช้ินงานให้ถูกต้องจากท่ีครูและเพื่อน ๆ รว่ มกันเฉลย แล้วเก็บเข้าแฟ้ม
สะสมผลงาน
ภาระงานท่มี อบหมาย
1. บอกความสาคัญของระบบเลขฐานตา่ ง ๆ และประโยชน์ในการเรยี นระบบเลขฐาน
2. บอกเหตุผลและความจาเป็นในการเรียนรรู้ ะบบเลขฐาน
3. บอกจานวนสมาชกิ ของเลขฐานใด ๆ พรอ้ มท้ังแจกแจงสมาชกิ ของเลขฐานทุกตวั
4. เขียนและอ่านเลขฐาน
5. สรุปสาระการเรยี นรูแ้ ละเทคนคิ ทไ่ี ดจ้ ากกิจกรรมการเรยี นการสอนอย่างน้อยคนละ 1 ขอ้
หน้าทค่ี รผู ้สู อน
1. สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการมสี ่วนรว่ มและปฏบิ ตั ิภาระงานท่ีมอบหมาย
2. กาหนดให้นกั เรียนทุกคนมีประสบการณ์รว่ มในกจิ กรรมท่ีมอบหมาย
3. ตง้ั คาถาม ใหส้ ัมพันธก์ ับภาระงานที่มอบหมาย แล้วให้นกั เรยี นท้ัง 2 กลุ่ม แข่งขันกนั ตอบคาถาม
4. ให้คะแนน ตัดคะแนนหรือลงโทษอย่างใดอย่างหนึ่งตามความเหมาะสมเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนมี
ความกระตือรือรน้ ในกจิ กรรมท่กี าหนด
5. ร่วมกบั นักเรยี นเฉลยใบงานพร้อมแนะนาเทคนคิ การหาคาตอบใหแ้ ก่ผเู้ รียน
เฉลยแบบฝกึ หัด บทที่ 2 เรื่อง เลขฐานในระบบคอมพิวเตอร์
1. จงเติมคา เพอื่ ใหใ้ จความสมบูรณจ์ ากคาถามทกี่ าหนดใหต้ ่อไปนี้
1) ระบบเลขฐานทมี่ นุษย์ใช้ คือ เลขฐานใด..เลขฐานสบิ
2) เลขฐานสิบประกอบด้วยสมาชิก …10……...ตัว ประกอบด้วย 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9
3) เลขฐานสองประกอบดว้ ยสมาชกิ …2……...ตวั ประกอบดว้ ย 0 , 2
4) เลขฐานแปดประกอบดว้ ยสมาชิก…8……..ตวั ประกอบด้วย 0 ,1,2,3,4,5,6,7
5) เลขฐานสิบหกประกอบด้วยสมาชกิ …16…...ตวั ประกอบดว้ ย 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 , A,B ,C
,D,D,F
6) เลขฐานห้าประกอบดว้ ยสมาชิก………5….ตัว ประกอบดว้ ย 0 ,1,2,3,4
27
2. จงเขียนตวั เลขตอ่ ไปนใ้ี ห้อยใู่ นรปู ของเลขฐาน
1) 29 เลขฐานสบิ = 2910
2) 19A0 เลขฐานสิบหก = 19A016
3) 101101 เลขฐานสอง = 1011012
4) 745 เลขฐานแปด = 7458
5) 102 เลขฐานสาม = 1023
3. จากข้อ 2 มีวิธีการอา่ นเลขฐานว่าอย่างไร
1) 29 อา่ นวา่ ยสี่ บิ เกา้ หรือ สองเกา้ ฐานสิบ
2) 19A016 อ่านวา่ หนงึ่ เกา้ เอ ศูนย์ ฐานสิบหก
3) 1011012 อา่ นวา่ หนึง่ ศูนย์ หน่งึ หนึ่ง ศูนย์ หนงึ่ ฐานสอง
4) 7458 อา่ นวา่ เจ็ด สี่ ห้า ฐานแปด
5) 1023 อา่ นวา่ หนงึ่ ศูนย์ สอง ฐานสาม
4. จงหาค่าของเลขจานวนในตารางตอ่ ไปน้ี
ลาดบั ที่ จานวน กระจาย คา่ ทไ่ี ด้
1 20 1 1
2 21 2x1 2
3 22 2x2 4
4 23 2x2x2 8
5 24 2x2x2x2 16
6 90 1 1
7 91 9x1 9
8 92 9x9 81
9 93 9 x 9x 9 729
10 94 9x9x9x9 6561
5. จงตอบคาถามต่อไปน้ี
1) รหสั ทใี่ ชแ้ ทนการมีกระแสไฟฟ้า คือ ..................1....................................................
2) รหัสทใ่ี ชแ้ ทนการไมม่ ีกระแสไฟฟ้า คือ.....................0.................................................
6. จาตอบคาถามต่อไปน้ี
1) สมาชกิ ที่มีคา่ สูงสดุ ของเลขฐานสองคือเลขใด …………2………………………………………
2) สมาชิกทม่ี คี ่าสงู สุดของเลขฐานแปดคือเลขใด …………7………………………………………
3) สมาชกิ ทีม่ คี ่าสงู สดุ ของเลขฐานสิบคอื เลขใด ……………9………………………………………
4) สมาชิกทมี่ ีค่าสงู สดุ ของเลขฐานสิบหกคือเลขใด …………F……………………………………
5) สมาชกิ ท่มี ีค่าสงู สดุ ของเลขฐานเจด็ คือเลขใด ……………6……………………………………
7. ระบบคอมพวิ เตอรใ์ ชร้ หัสขอ้ มูลดว้ ยเลขฐานใด ……………ฐานสอง…………………………………..
8. เลขฐานสอง 10110012 มีจานวนก่ีบทิ (bit) …………………7 บิท……………………………………
28
9. รหัส ASCII มีความสาคัญอย่างไร……………………เปน็ รหัสทใ่ี ชใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์ทไ่ี ด้รับมาตรฐานจาก
สถาบันในการผลติ คอมพิวเตอร์จากสหรัฐอเมริกาที่ใชเ้ ป็นมาตรฐานในการผลิตคอมพิวเตอรเ์ พื่อให้สามารถใช้
งานได้เป็นมาตรฐานเดียวกนั
10. ใหก้ าเครอ่ื งหมาย หน้าข้อท่ีเหน็ ว่าถกู และกาเครอื่ งหมาย หน้าข้อทเี่ หน็ วา่ ผดิ จากคาถาม
ตอ่ ไปน้ี
…… ……1) 10011 เปน็ เลขฐานสอง
…………2) 10110020 เปน็ เลขฐานสอง
…… ……3) 10011 เปน็ เลขฐานสบิ
…… ……4) 23015 เปน็ เลขฐานห้า
…… ……5) 141516 เปน็ เลขฐานสบิ หก
…………6) 8423.508 เป็นเลขฐานแปด
…………7) FA01316 เปน็ เลขฐานสบิ หก
…………8) 37200 มคี า่ เท่ากบั 3720
…………9) 102 มคี ่าเทา่ กบั 100
…………10) 202 มีคา่ เท่ากบั 40
29
บันทึกหลังสอน
1. ผลการเรียนรขู้ องผเู้ รียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ผลการสอนของผ้สู อน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………
3. ปญั หา อปุ สรรค/ ขอ้ เสนอแนะ เพ่ือปรับปรุงและพฒั นา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
ลงช่อื ……………………………ผสู้ อน
(นายพงษ์ศักดิ์ วงษช์ มภู)
วนั ท…ี่ …..เดือน………..พ.ศ. 2564….
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจแผนการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอื่ ………………………….ผตู้ รวจแผนการเรยี นรู้
(…………………………………)
วันที่………เดอื น………….พ.ศ. 2564….
30
แผนการจัดการเรียนร้รู ายหน่วย
รหัสวิชา 20901-1003 ชื่อ วชิ า คณิตศาสตรค์ อมพิวเตอร์ 2(2) สอนครง้ั ที่ 3-5
หน่วยที่ 3 ชือ่ หน่วย การแปลงเลขฐานในระบบคอมพิวเตอร์ ระยะเวลา 6 ช่ัวโมง
………………………………………………………………………………………………………………..
1. สาระสาคัญ
ในการเขียนโปรแกรมและศึกษาระบบงานคอมพิวเตอร์ บางคร้ังก็มีความจาเป็นต้องรู้หลัก และ
สามารถเปลี่ยนระบบเลขฐานต่าง ๆ ได้ เนื่องจาก มนุษย์เราไมค่ ุ้นเคยกับเลขฐานสอง ฐานแปด ฐานสิบหก ซึ่ง
เป็นรหัสท่ีใช้กันในระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เป็นภาษาระดับสูง เม่ือเขียน
โปรแกรมสงั่ งานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ไม่สามารถเข้าใจในภาษาระดับสูง หรอื ภาษามนุษย์ ได้ ดังน้ันจึงมี
การเปลี่ยนภาษาเหล่าน้ันไปเป็นภาษาท่ีเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจเสียก่อน ซึ่งย่อมต้องมีการเปลี่ยนเลขฐาน
สลับไปมา ระหว่างฐานเลข 10 เลขฐาน 2 เลขฐาน 8 เลขฐาน 16 แล้วเวลานาข้อมูลที่ผ่านการ
ประมวลผลตามวิธที างของระบบคอมพิวเตอร์ ออกแสดงผลกจ็ ะแปลงรหัสน้ันใหเ้ ป็นรหัสที่มนษุ ย์อ่านเข้าใจอีก
ครั้ง
2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. ทราบถงึ ความสาคัญในการแทนรหัสในระบบคอมพิวเตอร์
2. มคี วามรู้ความเข้าใจในกระบวนการแปลงเลขฐานใดๆ
3. เห็นความสาคัญนการแปลงเลขฐานใด ๆ
4. ทราบขน้ั ตอนและวธิ กี ารในการแปลงเลขฐาน ใด ๆ
จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. บอกความจาเปน็ ในการเปลย่ี นเลขฐานได้
2. ปฏิบตั กิ ารเปลยี่ นเลขฐานสิบไปเปน็ เลขฐานใด ๆ ได้
3. ปฏบิ ตั กิ ารเปลี่ยนเลขฐานสองไปเป็นเลขฐานใด ๆ ได้
4. ปฏิบัติการเปลย่ี นเลขฐานแปดไปเป็นเลขฐานใด ๆ ได้
5. ปฏิบตั กิ ารเปลี่ยนเลขฐานสบิ หกไปเป็นเลขฐานใด ๆ ได้
6. มที กั ษะในการแปลงเลขฐานและนาไปประยุกต์ใชใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์ได้
3. เนือ้ หาสาระการเรียนรู้
1. การแปลงเลขฐานสิบเปน็ เลขฐานสอง
2. การแปลงเลขฐานสิบเปน็ เลขฐานแปด
3. การแปลงเลขฐานสิบเปน็ เลขฐานสบิ หก
4. การแปลงเลขฐานสองเปน็ เลขฐานสบิ
5. การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด
6. การแปลงเลขฐานสองเปน็ เลขฐานสิบหก
7. การแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสบิ
8. การแปลงเลขฐานแปดเปน็ เลขฐานสอง
31
4. กจิ กรรมการเรียนการสอน
กจิ กรรมครู กิจกรรมนกั เรยี น
ขนั้ เตรียมกจิ กรรม
1. ครูช้ีแจงจุดประสงค์และเป้าหมายในการเรียนหน่วย 1. ผู้เรยี นตั้งใจสนใจฟัง และจดบนั ทึก
ที่ 3 2 ซักถามเมื่อเกิดความสงสัย
2. ครูช้ีให้เห็นถึงความจาเป็นและความสาคัญของการ
เรยี นรู้ประจาหน่วยท่ี 3
3. ครูกาหนดแนวทาง และแนะนาวิธีเรียน เพ่ือให้
ผู้เรียนลดความสับสนและความรู้สึกเดิม ๆ ได้มี
หลักการเรียนท่ีง่าย ๆ และสามารถปปฏิบัติการหา
คาตอบได้อย่างถูกต้อง อันจะเป็นประโยชน์ต่อ
ผเู้ รียนในระดบั ท่สี งู ข้นึ
32
กิจกรรมครู กิจกรรมนกั เรียน
ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน
1. ทดสอบกอ่ นเรยี น โดยการถาม 1. นกั เรยี นปรกึ ษาหารอื เพ่ือหาคาตอบ
- หลักการแปลงเลขฐานตา่ ง ๆ 2. นักเรียนผทู้ ไ่ี ด้รบั คดั เลือกโดยการสุ่มลกุ ขึ้น
- ประโยชน์ของการแปลงเลขฐาน แสดงความคดิ เหน็ และตอบคาถาม
- ระดับของภาษาในระบบคอมพวิ เตอร์ 3. นักเรียนช่วยกันประเมินคาตอบของเพ่ือน
- กระบวนการทางานของระบบคอมพวิ เตอร์ และช่วยกันสืบค้นเพ่ือหาคาตอบที่คิดว่า
2. ส่มุ นกั เรยี นตามเลขทล่ี กุ ขนึ้ ตอบคาถาม ถกู ตอ้ งทีส่ ดุ เสนอครูผสู้ อน
3. ใหน้ ักเรยี นในหอ้ งหาคาตอบชว่ ยกนั 4. จดบันทึกส่ิงที่ครูผู้สอนอธิบายและสาธิต
4. ครูตอบคาถามพร้อมอธิบาย ถึง หลักการแปลงเลข การหาคาตอบ
ฐานคร่าวๆประโยชน์ของการแปลงเลขฐาน ภาษา
ในระบบคอมพิวเตอร์และ กระบวนการทางานของ
ระบบคอมพิวเตอรท์ างานเกีย่ วขอ้ งกันอยา่ งไร
ขัน้ ดาเนินการสอน
1. ครอู ธิบาย พร้อมยกตัวอย่างและแสดงวธิ กี ารหา 1. ตงั้ ใจฟัง จดบนั ทกึ
คาตอบทลี ะข้ันอย่างละเอียดแต่ละหวั ขอ้ การเรยี น 2. ผู้เรียนร่วมกันแสดงการหาคาตอบจากส่ิง
2. ครเู ขยี นโจทย์บนกระดานแล้วแสดงวิธกี ารหาคาตอบ ทคี่ รูผู้สอนกาหนดให้
ไปพร้อมๆ กนั กับผู้เรยี น 3. นักเรียนถามเมื่อสงสัยหรือไม่เข้าใจ
3. ให้ผู้เรยี นทาใบงาน สาระการเรียนละประมาณ 3 บทเรยี น
ข้อ และกาหนดเวลาส่งทุกครั้งท่เี รียนจบแต่ละหัวข้อ 4. ทาใบงานส่ง
การเรยี น 5. แก้ไขใบงานให้ถกู ต้อง
4. ครูตรวจใบงานและให้คะแนนสาหรับผู้ที่ทาถูกต้อง 6. ผเู้ รยี นร่วมกับครูผูส้ อนเฉลยใบงาน
และเสรจ็ ทันเวลาทกี่ าหนด และผูท้ ่ีทาไบงานผิดต้อง 7. สรุปสาระการเรียนรู้ทุกหัวข้อการเรียน
นากลบั ไปแก้ไขใหม่จนกวา่ จะใบงานจะถกู ต้องทุก ตามความเข้าใจของผ้เู รียน
ขอ้ 8. จดเทคนิคและวิธีการหาคาตอบตามท่ี
5. ครดู าเนนิ การในข้อ 1-4 จนครบทกุ หัวข้อการ ครูผูส้ อนแนะนา
เรยี นรใู้ นหน่วยท่ี 3 9. ต้ังใจทาแบบทดสอบ
10.ผู้เรียนในห้องเรียนและครูผู้สอนร่วมกัน
เฉลยแบบทดสอบ
33
กิจกรรมครู กิจกรรมนกั เรียน
6. ครเู ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนซกั ถามขอ้ สังสยั 11. ผู้เรียนบอกวิธีท่ีนาความรู้จากบทเรียนไป
7. ครูบอกเทคนิค หลักการหาคาตอบท่ีง่าย ถูกต้อง ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ให้ เกิ ด ป ร ะ โย ช น์ แ ล ะ
และรวดเร็วให้แก่ผู้เรียนเพ่ือเป็นแนวทางในการคิด ประสทิ ธภิ าพสูงสุดตอ่ ไป
และจดจา
8. กาหนดเวลาให้ผูเ้ รยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
ขน้ั สรุป
9. ครูแนะนาให้นักเรียนศึกษาจากเอกสารประกอบการ
เรียน,ใบงาน,แบบทดสอบ
10.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระการเรียนรู้จาก
บทเรียน หน่วยที่ 3 ความสาคัญและการนาไป
ประยุกต์ใช้
5. สอื่ การสอนและแหลง่ เรียนรู้
5.1 ชดุ การสอน PowerPoint / PDF File
5.2 หนงั สอื เรียนเรยี นวชิ าคณติ ศาสตรค์ อมพวิ เตอร์
5.3 ครูผ้สู อน, Internet, E-learning, Website , Visual Classroom
5.4 รายงานท่ีเกย่ี วขอ้ งกับสาระการเรยี นรปู้ ระจาหนว่ ย
5.5 ชดุ การเรียนรู้ดว้ ยโปรแกรมส่อื ประสม
6. การวัดผลและการประเมินผล
6.1 ความสนใจในการเรยี นรู้ การคน้ คว้า การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม
6.2 การซกั ถามและการตอบคาถาม
6.3 การทางานเปน็ ทมี (ใหค้ วามสาคัญในการทางานเปน็ ทมี งาน , การมสี ่วนรว่ มรับผิดชอบกันและกัน
ของกลมุ่ ท่ีปฏบิ ัตภิ าระงานร่วมกนั อย่างเป็นระบบ)
6.4 การสรปุ เนอื้ หาบทเรียน องค์ความรู้ท่ีได้ในกจิ กรรมการเรียนการสอน และสามารถปฏบิ ัติภาระงาน
ท่ไี ดร้ ับมอบหมายแล้วเสร็จทันเวลาท่ีกาหนด
6.5 บันทกึ ผลการเรยี นรแู้ ละการเขยี นรายงานตนเอง (Self-Report)
6.6 แฟม้ สะสมผลงานในการปฏบิ ัติภาระงานทีม่ อบหมาย
7. ผลงาน / ช้นิ งานของนักศึกษา
7.1 บนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ การเขียนรายงานตนเอง
7.2 ผลงานการปฏิบตั ิตามใบงานทม่ี อบหมายประจาสาระการเรียนรู้
8. กิจกรรมเสนอแนะ /ภาระงานทมี่ อบหมาย
8.1 ศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้จาก หนังสือ Internet , Website , บทเรียน
ออนไลน์ใน Visual Classroom ของสถานบนั การศึกษาต่าง ๆ
8.2 บันทึกและสรุปองค์ความรทู้ ่ีไดใ้ นการเรยี นเสนอครูผสู้ อนหลงั เสรจ็ สิ้นการเรยี นการสอน
ในแตล่ ะคร้งั
34
9. กิจกรรมเสนอแนะ
1. ผู้เรียนต้องทบทวนบทเรียนท้งั ก่อนเรียนและหลงั เรยี นอยู่อยา่ งสม่าเสมอ
2. ผ้เู รยี นหม่นั เขา้ ชนั้ เรยี นเพ่ือรบั ฟังเทคนคิ วิธี และแนวทางท่ดี กี บั ครสู อนอยา่ งตงั้ ใจ
3. ผู้เรียนสนใจทาใบงาน แบบทดสอบ และขยันปรับปรุงแก้ไขใบงานและแบบทดสอบให้ถูกต้องทุก
คร้ังที่ทาผิด
35
ภาระงานทมี่ อบหมาย
บทที่ 3 เรอ่ื ง การแปลงเลขฐานในระบบคอมพวิ เตอร์
วชิ า คณิตศาสตรค์ อมพิวเตอร์ หลักสตู ร ปวช. ภาคเรียนท่ี …1…./…2564………
…………………………………………………………………………………………………………
ครั้งที่ 1 การแปลงเลขฐานสิบไปเป็นเลขฐานใด ๆ และ การแปลงเลขฐานสองไปเป็นเลขฐานใด ๆ
วธิ ปี ฏบิ ตั ิ
1. นกั เรยี นทาความเขา้ ใจกบั บทเรยี น
2. นักเรยี นทาใบงานลงในสมดุ แลว้ สง่ ตามเวลาท่ีกาหนด
3. นักเรียนออกไปแสดงการแปลงเลขฐานจากส่ิงที่ครูกาหนดให้บนกระดานตามเลขท่ี
หมนุ เวยี นกนั จนครบทกุ คนในหอ้ งเรียน
4. นักเรียนชว่ ยกนั เฉลยคาตอบท่ถี กู ต้องไปพร้อมๆ กันในชน้ั เรยี น
5. นักเรียนแกไ้ ขปรับปรุงช้ินงานให้ถูกต้องจากทีค่ รแู ละเพ่ือน ๆ ร่วมกนั เฉลย แล้วเก็บเข้าแฟ้มสะสม
ผลงาน
ภาระงานทม่ี อบหมาย
1. แสดงวิธกี ารแปลงเลขฐานสิบไปเปน็ เลขฐานสองทัง้ แบบจานวนเต็มและทศนยิ ม
2. แสดงวิธีการแปลงเลขฐานสบิ ไปเปน็ เลขฐานแปดทงั้ แบบจานวนเตม็ และทศนยิ ม
3. แสดงวิธีการแปลงเลขฐานสบิ ไปเป็นเลขฐานสบิ หกทัง้ แบบจานวนเต็มและทศนยิ ม
4. แสดงวิธีการแปลงเลขฐานสองไปเปน็ เลขฐานสิบทัง้ แบบจานวนเตม็ และทศนิยม
5. แสดงวิธกี ารแปลงเลขฐานสองไปเปน็ เลขแปดท้งั แบบจานวนเต็มและทศนยิ ม
6. แสดงวิธกี ารแปลงเลขฐานสองไปเปน็ เลขฐานสบิ หกทั้งแบบจานวนเต็มและทศนิยม
7. อภิปรายหลักการแปลงเลขฐานสองไปเป็นเลขฐานใด ๆ และหลักการแปลงเลขฐานสองไปเป็นเลข
ฐานใด ๆ
หน้าทีค่ รผู ู้สอน
1. สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในการมีส่วนร่วมและปฏบิ ัตภิ าระงานที่มอบหมาย
2. กาหนดโจทย์ปัญหา
3. เรยี กชื่อนกั เรยี นโดยเรยี งตามเลขที่ ออกไปแสดงวิธกี ารหาคาตอบจากโจทย์ที่กาหนด
4. เฉลย ถ้านักเรียนคนใดตอบผิดใหน้ กั เรยี นคนอ่นื ชว่ ยแก้ไขใหถ้ กู ต้องและครคู อยเพิ่มเติมและ
แนะนาเทคนิคใหน้ ักเรยี นเข้าใจหลกั ในการหาคาตอบได้ชัดเจนย่ิงขึน้
36
ภาระงานทีม่ อบหมาย
บทที่ 3 เรอ่ื ง การแปลงเลขฐานในระบบคอมพวิ เตอร์
วชิ า คณติ ศาสตรค์ อมพิวเตอร์ รหสั 20901-1003 ภาคเรียนท่ี …1…./…2564………
…………………………………………………………………………………………………………
ครั้งที่ 2 การแปลงเลขฐานแปด เลขฐานสบิ หก และเลขฐานอน่ื ๆ เปน็ เลขฐานใด ๆ
วิธีปฏบิ ัติ
1. นักเรยี นแบ่งกลุม่ เทา่ ๆ กัน 3 กลุ่ม และน่ังเป็นกล่มุ เพ่ือทบทวนบทเรียนและร่วมกันปฏบิ ัตภิ าระ
งานทคี่ รมู อบหมายในชั่วโมงเรียน
2. สมาชิกในกลุ่ม ร่วมกันหาคาตอบจากโจทย์ท่ีครูกาหนดให้ และแข่งขันกับกลุ่มอ่ืนออกไป แสดง
คาตอบ
3. นกั เรียนร่วมกนั เฉลย และแก้ไขขอ้ ผิดเพอ่ื เก็บเขา้ แฟ้มสะสมผลงาน
4. นักเรยี นช่วยกนั สรุปเทคนคิ ในการหาคาตอบ
ภาระงานที่มอบหมาย
1. แสดงวิธีการแปลงเลขฐานแปดไปเป็นเลขฐานใดๆ ท้ังแบบจานวนเตม็ และทศนิยม
2. แสดงวธิ ีการแปลงเลขฐานสบิ หกไปเป็นเลขฐานใด ๆ ทั้งแบบจานวนเตม็ และทศนิยม
3. แสดงวิธีการแปลงเลขฐานอ่ืน เช่น แปลงเลขฐานสิบไปเป็นเลขฐานสาม ,แปลงเลขฐานสามไปเป็น
เลขฐานสบิ ,ฐานสอง , ฐานแปด , ฐานสิบหก
4. อภิปรายหลักการแปลงเลขฐานแปดไปเป็นเลขฐานใด ๆ และ หลักการแปลงเลขฐานสิบหกไปเป็นเลข
ฐานใด ๆ
หน้าทคี่ รูผูส้ อน
1. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการช่วยเหลือและร่วมมือในกลุ่ม รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการ
ปฏบิ ัติภาระงานท่ีมอบหมายถ้าเห็นว่านกั เรียนคนใดแสดงการคาตอบไม่ถูกตอ้ งหรอื เรม่ิ ไมส่ นใจในการร่วมกิจกรรม
ครูผู้สอนตอ้ งใหอ้ อกไปแสดงวิธกี ารหาคาตอบหน้าหอ้ ง
2. กาหนดโจทย์ปัญหา ให้สัมพันธ์กับภาระงานท่ีมอบหมาย เพื่อให้กลุ่มนักเรียนแข่งขันกันออกไป
แสดงคาตอบ ต้ังคาถามไปเรื่อย ๆ จนกว่านักเรียนจะมีความเข้าใจในสาระการเรียนรู้เป็นไปตามจุดประสงค์ท่ี
กาหนด
3. ตรวจผลงานและเฉลยผลงานของนักเรยี นบนกระดานรว่ มกับนกั เรียนพร้อมท้ังให้หรือหัก
คะแนนหรือกาหนดเกณฑป์ ระเมนิ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงเพ่ือสร้างสง่ิ เรา้ ให้ผู้เรียนมคี วามกระตอื รอื รน้ และมสี ว่ น
รว่ มในกิจกรรมการเรียนรู้
37
เฉลยแบบฝกึ หดั บทที่ 3 เร่ือง การแปลงเลขฐานในระบบคอมพวิ เตอร์
1. จงแปลงเลขฐานสบิ ตอ่ ไปนี้ ให้เปน็ เลขฐานสอง
1) 53 = 0.1000012 2) 142 = 100011102
2. จงแปลงเลขฐานสบิ ตอ่ ไปน้ีให้เปน็ เลขฐานแปด
1) 47 = 578 2) 055 = 0.431468
3. จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปน้ีใหเ้ ป็นเลขฐานสิบหก
1) 96 = 6016 2) 069 = 0.B0A3D16 หรือ 0.B0A16
4. จงแปลงเลขฐานสองต่อไปน้ี ให้เป็นเลขฐานสิบ
1) 11012 = 13 2) 1001010112 =
18.6875
5. จงแปลงเลขฐานแปดตอ่ ไปนี้ใหเ้ ปน็ เลขฐานสิบ
1) 728 = 58 2) 3463758 = 230.494
6. จงแปลงเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ใหเ้ ปน็ เลขฐานสิบ
1) 9316 = 147 2) 5EB216 = 1515.125
7. จงแปลงเลขฐานสองต่อไปน้ใี ห้เปน็ เลขฐานแปด
1) 110102 2) 1000011112
8. จงแปลงเลขฐานแปดตอ่ ไปนีใ้ หเ้ ป็นเลขฐานสอง
1) 238 = 0100112 2) 736548 =
111011110.1011002
9. จงแปลงเลขฐานสิบหก ต่อไปนใ้ี ห้เปน็ เลขฐานสอง
1) 3B16 = 001110112 2) 1DEF2C16 =
0001110111101111.001011002
10. จงแปลงเลขฐานสองตอ่ ไปนี้ให้เป็นเลขฐานสิบหก
1) 1110012 = 3916 2) 1011000000100012 = B02.216