The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

84Yminiรวมปก

84Yminiรวมปก

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสินทรมหาวชิราลงกรณ
มหิศรภมู ิพลราชวรางกูร กติ สิ ริ ิสมบูรณอดลุ ยเดช สยามนิ ทราธเิ บศรราชวโรดม

บรมนาถบพิตร พระวชริ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว

รัชกาลท่ี ๑๐

“...ข้าพเจา้ ทราบตระหนกั วา่ ขา้ พเจ้ามหี น้าที่
และความรับผิดชอบต่อประเทศชาตอิ ย่างสงู

และการปฏิบัติราชการแผ่นดนิ น้ัน เปน็ ภาระส�ำคญั ใหญ่ยงิ่ ท่ตี อ้ งอาศัยทัง้ สตปิ ญั ญา และ
ความรูค้ วามสามารถอยา่ งพรอ้ มมูล ขา้ พเจ้าจะตอ้ งเพยี รพยายาม ศึกษาและปฏิบตั ิฝกึ ฝน

ตนเองต่อไปอกี อยา่ งมาก เพื่อใหส้ ามารถเหมาะสมกับหนา้ ทต่ี ามทท่ี ุกคนมงุ่ หวงั ...
ในโอกาสอันพเิ ศษนี้ จึงใครข่ อใหท้ ่านท้งั หลายได้เปน็ กำ� ลงั ใจสนบั สนุนข้าพเจ้า และ
ไดต้ ั้งความปรารถนาร่วมกนั กับข้าพเจา้ ทจ่ี ะม่งุ ม่นั ประกอบกรณยี กจิ ดว้ ยความสามคั คี
พรอ้ มเพรยี ง และดว้ ยความสจุ ริตยตุ ธิ รรมเพือ่ ยงั ความเจริญมนั่ คงและความรม่ เยน็ เป็นผาสกุ

ให้บังเกดิ แกช่ าติ ประเทศ และ ประชาชนยัง่ ยนื สืบไป...”

พระราชด�ำรสั พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกรู
กติ ิสริ ิสมบรู ณอดลุ ยเดช สยามินทราธเิ บศรราชวโรดม บรมนาถบพติ ร พระวชริ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว

ท่ีทรงให้คำ� มน่ั ไวใ้ นงานสโมสรสนั นิบาต เม่ือวันท่ี ๒๙ ธันวาคม ๒๕๑๕ ซ่งึ รัฐบาลจัดขึน้ เพื่อเฉลมิ พระเกียรติ
ท่ที รงดำ� รงพระอสิ รยิ ศักด์ิ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกมุ าร

๘๔สารจากนายกเทศมนตรเี มอื งชลบรุ ี

“ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี

เชดิ ชูอดตี สู่ปจั จุบนั ก้าวน�ำอนาคต”

ล่วงผ่านกาลเวลามากว่า ๘๔ ปี ก้าวย่างสู่ปีท่ี ๘๕ ประเพณีท้องถิ่นท่ีส�ำคัญ สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
และปีถัดไป อย่างเติบโต มั่นคง จากอดีตต้ังแต่วันที่ได้ และทางวัฒนธรรม โดยได้ร้อยเรียงเนื้อหา ค�ำบรรยาย
มีการยกระดับฐานะจากสุขาภิบาลเมืองชลบุรี ข้ึนเป็น ครบถ้วน พร้อมภาพประกอบที่สวยงาม เพื่อให้ผู้อ่าน
เทศบาลเมืองชลบุรี ในวันท่ี ๗ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๓ ไดร้ ำ� ลกึ ถงึ ภาพแหง่ ความทรงจำ� ทค่ี วรคา่ แกก่ ารเกบ็ รกั ษา
โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เมือ่ วันท่ี ๑๐ ธนั วาคม ใหล้ กู หลานไดศ้ ึกษา
พ.ศ. ๒๔๗๘ เล่มท่ี ๕๒ หน้า ๑๖๕๑ น้ัน หลักฐาน เหนือสิ่งอื่นใด ขอขอบคุณบรรพบุรุษ ที่ได้ธ�ำรง
เชิงประจักษ์ได้แสดงให้เห็นว่าในช่วงหลายทศวรรษที่ รักษาไว้ซ่ึงพระพุทธศาสนา ท�ำนุบ�ำรุงบ้านเมืองและ
ผ่านมา เทศบาลเมืองชลบุรีได้มีการเปล่ียนแปลงและ สิ่งดีงามต่าง ๆ ให้งอกงามไว้ดังเดิม ขอขอบคุณทุกภาค
เติบโตอย่างต่อเนื่อง อาทิ การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ส่วนที่ได้มีส่วนร่วมในการท�ำให้หนังสือฉบับน้ีเกิดข้ึน
สงั คม วฒั นธรรม เศรษฐกจิ เทคโนโลยี และชมุ ชน เปน็ ตน้ อย่างสมบูรณ์ รวมท้ังขอขอบคุณเจ้าของสถานที่ทุกแห่ง
สะท้อนในเห็นถึงศักยภาพการพัฒนาในทุกยุคทุกสมัย คณะท�ำงาน และผู้เกีย่ วข้องทกุ ทา่ น ไว้ ณ ทีน่ ี้
มีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์เกิดขึ้นมากมายควรค่าแก่ สุดท้ายน้ี ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและ
การศกึ ษา บนั ทึก และจดจำ� สิ่งศักด์ิสิทธ์ิท้ังหลายที่ทุกท่านเคารพนับถือ พระบารมี
ในวาระสมัยท่ีดิฉันด�ำรงต�ำแหน่ง ปลัดเทศบาล ขององค์หลวงพ่อพุทธสิหิงค์ พระคู่บ้านคู่เมืองชลบุรี
ปฏิบัติหน้าท่ีนายกเทศมนตรีเมืองชลบุรี รู้สึกยินดีและ ได้โปรดดลบันดาลประทานพรให้ทุกท่านจงประสบแต่
ภาคภูมิใจเป็นอย่างย่ิง กับ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี ความสขุ ความเจริญ มีกำ� ลงั กาย ก�ำลังใจ กำ� ลังสตปิ ญั ญา
ถึงแม้ว่ากาลเวลาอาจท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปใน ที่เข้มแข็ง เพื่อร่วมกันเป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลื่อน
ทางกายภาพ แต่สิง่ หนงึ่ ท่ยี งั คงอยู่และจะไม่เปล่ียนแปลง ท้องถ่ิน “เทศบาลเมืองชลบุรี” ให้เจริญก้าวหน้าทุกสิ่ง
นน่ั คอื ความมงุ่ มนั่ ยดึ หลกั การบรหิ ารราชการเพอ่ื ประโยชน์ เพอ่ื เปน็ ประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติสืบไป
สุขของประชาชน ถือเป็นส่ิงที่เทศบาลเมืองชลบุรียึดถือ
มาตลอดระยะเวลา ๘๔ ปี และในอนาคต
ในโอกาสครบรอบ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี จงึ ได้
จัดทำ� หนังสือทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี ขึน้ เพือ่
เป็นการถ่ายทอดประวัติความเป็นมาของเทศบาลเมือง
ชลบุรี บอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์ตั้งแต่อดีตจนถึง นางสาวจฑุ ารตั น์ ปรญิ วชริ พัฒน์
ปจั จบุ นั การเสดจ็ พระพาสเมอื งชลบรุ ขี องพระมหากษตั รยิ ์ ปลดั เทศบาล ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่นายกเทศมนตรีเมืองชลบุรี

ค�ำน�ำ

ในวาระครบรอบ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี หากเปรยี บกบั คน กค็ ือ ผอู้ าวโุ สที่ผ่านมา

ในทุกช่วงอายุ เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ เปี่ยมล้นด้วยประสบการณ์ หากเปรียบกับต้นไม้ ก็คือ ต้นไม้ที่
เตบิ ใหญ่ มงั่ คง แขง็ แรง เปน็ รม่ เงาทแี่ ผไ่ พศาล แตกกงิ่ กา้ นสาขา ออกดอก ออกใบ ออกผล เปน็ ทพ่ี กั พงิ
ส�ำหรับสิ่งมีชีวิตให้หลบร้อนและอยู่อาศัย เฉกเช่นเดียวกับเทศบาลเมืองชลบุรี ท่ี ณ วันนี้ ได้เดินทาง
มาถึงปที ี่ ๘๕ กา้ วย่างเขา้ สู่ปที ี่ ๘๖ ซงึ่ ไดผ้ ่านช่วงเวลามาอย่างยาวนาน ตงั้ แต่อดตี ปัจจุบัน และจะยัง
คงยนื หยัดก้าวต่อไปในอนาคตอยา่ งม่นั คง เคยี งคกู่ บั สังคมไทย และประเทศชาตติ ลอดไป

หนงั สอื ทรี่ ะลกึ “๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ”ี ฉบบั น้ี สอื่ ความหมายถงึ เรอื่ งราวจากอดตี สปู่ จั จบุ นั
ของเทศบาลเมอื งชลบุรี ซ่ึงคณะผูจ้ ัดทำ� ไดน้ ำ� เสนอประวตั ิความเปน็ มาเทศบาลเมืองชลบรุ ี อาณาเขต
เทศบาลเมอื งชลบุรี โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน หนว่ ยงานในสงั กัดเทศบาลเมืองชลบรุ ี ฯลฯ พร้อมกันนี้
ยังมีบทความเก่ียวกับต�ำนานเมืองชลบุรี หลวงบ�ำรุงราชนิยม นายกเทศมนตรีคนแรกที่มาจากการ
เลือกตั้ง การบอกเล่าที่ว่าของค�ำขวัญเทศบาลเมืองชลบุรี ประเพณีท้องถิ่น ประเพณีวิ่งควายจังหวัด
ชลบรุ ี ทมี่ ปี ระวตั คิ วามเปน็ มาอยา่ งยาวนาน ตลอดไปจนถงึ สถานทที่ อ่ งเทยี่ วในเขตเทศบาลเมอื งชลบรุ ี
ซง่ึ นำ� เสนอหลายรปู แบบ อาทิ สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรม วดั วาอาราม ไหวพ้ ระขอพรสงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ
เพ่ือความเป็นสิริมงคล สถานที่ท่องเท่ียงเชิงธรรมชาติ สะพานชลมารควิถี ๘๔ พรรษา ถนนเลียบ
ชายทะเลอนั สวยงาม ตลาดประมงทา่ เรอื พลี แลนดม์ ารค์ ของคนรกั อาหารทะเล ตลาดหนา้ เกง๋ ตลาดเกา่
แก่นบั ร้อยปี อาหารอรอ่ ยขึน้ ช่อื คูเ่ มอื งชลบรุ ี และสถานท่ีทอ่ งเที่ยงเชิงนนั ทนาการ ฯลฯ

โดยคณะผู้จัดท�ำขอขอบคุณคณะกรรมการอ�ำนวยการ เจ้าหน้าที่ในสังกัดเทศบาลเมืองชลบุรี
ทุกท่าน หน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนพี่น้องประชาชน ท่ีได้ให้ความร่วมมือในการจัดท�ำหนังสือที่ระลึก
๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ มี าโดยตลอด สดุ ท้ายนคี้ ณะผู้จดั ท�ำ หวังเป็นอย่างย่ิงวา่ ทา่ นผอู้ า่ นจะไดร้ บั
ประโยชนจ์ ากหนงั สือเล่มน้ี และยินดนี อ้ มรบั คำ� ช้แี นะและการตชิ มเพอื่ น�ำไปปรับปรุงให้ดยี ิง่ ขึน้

คณะผู้จัดท�ำ
พฤศจิกายน ๒๕๖๓

สารบัญ

ตอนท่ี 1 ๑๒
๑๓
เทศบาลเมอื งชลบรุ ี จากอดีตสปู่ ัจจบุ ัน ๑๓
๑๔
ประวัติเทศบาลเมืองชลบรุ ี ๑๕
อาณาเขตเทศบาลเมอื งชลบรุ ี ๑๖ – ๒๑
ที่มาของช่ือ ๓ ตำ� บลในเขตเทศบาลเมอื งชลบรุ ี ๒๒ – ๒๕
ภาพถ่ายทางดาวเทยี ม เทศบาลเมอื งชลบุรี ๒๖ – ๒๗
แผนท่ีเทศบาลเมอื งชลบรุ ี ๒๘ – ๒๙
พระราชกฤษฎกี าจัดตง้ั เทศบาลเมืองชลบรุ ี พ.ศ. ๒๔๗๘ ๓๐ – ๓๔
พระราชกฤษฎีกาขยายเขตเทศบาลเมอื งชลบุรี พ.ศ. ๒๔๘๐ ๓๕ – ๔๓
ตราสญั ลักษณเ์ ทศบาลเมืองชลบรุ ี ๔๔
หอพระพทุ ธรูปเทศบาลเมืองชลบุร ี ๔๕
โครงสร้างการบรหิ ารงานของเทศบาลเมอื งชลบุร ี
โรงเรียนเทศบาล แหลง่ ความรคู้ ูช่ มุ ชน
สถานธนานุบาลเทศบาลเมืองชลบุร ี
ศูนย์ไตเทียมเทศบาลเมอื งชลบรุ ี

ตอนที่ ๒
เรื่องเล่าขาน ต�ำนานเมอื งชลบรุ ี
ท�ำเนียบนายกเทศมนตรเี มอื งชลบุร ี ๔๘ – ๔๙
ท�ำเนยี บปลดั เทศบาลเมืองชลบรุ ี ๕๐
หลวงบำ� รงุ ราชนิยม นายกเทศมนตรคี นแรกที่มาจากการเลอื กตงั้ ๕๑ – ๕๓
เมอื งบางปลาสรอ้ ยหรอื เมืองชลบุรี โดยสบุ ิณ สบื สงวน ๕๔ – ๗๑
ไขขานประวตั ศิ าลากลางจงั หวดั ชลบรุ ีหลังเก่า ๗๒ – ๗๕
โรงพยาบาลเทศบาลเมืองชลบุรี ๗๖ – ๗๗
ตำ� หนกั นำ�้ จากอดตี สู่ปจั จบุ นั ๗๘ – ๗๙
สัญลกั ษณแ์ ห่งสถานทีซ่ ง่ึ รชั กาลท่ี ๙ เสด็จพระราชด�ำเนนิ ทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณยี กจิ ฯ ๘๐
บอกกล่าวเล่าขาน “ค�ำขวญั เทศบาลเมอื งชลบุรี” ๘๑ – ๘๕

ตอนท่ี ๓ ๘๘ – ๙๐
๙๑
ในหลวงกบั เมืองชลบรุ ี
๙๒ – ๑๐๒
รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสเมอื งชลบุร ี ๑๐๓
รชั กาลท่ี ๖ เสด็จประพาสเมืองชลบรุ ี
รัชกาลท่ี ๙ เสด็จพระราชด�ำเนนิ จงั หวดั ชลบุร ี
รชั กาลที่ ๑๐ เสด็จพระราชดำ� เนินจงั หวัดชลบุรี

ตอนที่ ๔ ๑๐๖ – ๑๑๕
๑๑๖ – ๑๑๙
ประเพณีทอ้ งถน่ิ เมืองชลบรุ ี ๑๒๐ – ๑๒๑

ประเพณวี งิ่ ควายจงั หวดั ชลบุรี
ประวตั คิ วามเปน็ มาของประเพณวี ่งิ ควาย
กิจกรรมในงานประเพณีวิ่งควาย

การถบี กระดานของชาวเมอื งชล

ตอนที่ ๕

ประเพณที อ้ งถิน่ เมืองชลบุรี

ไหว้พระ ขอพรสิ่งศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิเพอื่ ความเปน็ สริ มิ งคล
หอพระพทุ ธสิหงิ ค ์ ๑๒๔ – ๑๒๖
ศาลเจา้ พ่อหลักเมือง “สริ มิ หามงคลชลบรุ ี” ๑๒๗ – ๑๒๘
พระบรมราชานสุ าวรยี ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว รชั กาลที่ ๕ ๑๒๙
วดั ใหญอ่ ินทาราม (พระอารามหลวง) ๑๓๐ – ๑๓๑
วดั เนินสุทธาวาส ๑๓๒ – ๑๓๓
วัดเครอื วัลย์ ๑๓๔ – ๑๓๕
วัดกำ� แพง ๑๓๖ – ๑๓๗
สะพานชลมารควิถีเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา จุดแลนดม์ ารค์ ...สะพานใหม ่ ๑๓๘ – ๑๔๒
ตลาดประมงทา่ เรือพลี (จดุ นัดพบ/แวะพักของคนรกั อาหารทะเล) ๑๔๔ – ๑๔๘
เดินเลย้ี ว เทยี่ วตลาด ไม่พลาดของอรอ่ ย ๑๔๙ – ๑๕๒
รับลมชมสวน/ชวนสขุ ภาพดี (สวนสาธารณะ/ศนู ย์รวมกฬี า) ๑๕๓ – ๑๖๓

ตอนท่ี ๖
หมายเลขโทรศพั ท์เทศบาลเมอื งชลบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉนิ
และช่องทางการติดตามขา่ วสารจากเทศบาลเมอื งชลบรุ ี
หมายเลขโทรศพั ท์หน่วยงานในสงั กดั เทศบาลเมืองชลบรุ ี ๑๖๖ – ๑๖๗
หมายเลขโทรศพั ทห์ น่วยงานนอกทต่ี งั้ ในสังกัดเทศบาลเมืองชลบรุ ี ๑๖๘
หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉนิ ๑๖๙
ช่องทางการตดิ ตามข่าวสารจากเทศบาลเมอื งชลบรุ ี ๑๖๙

ตอนท่ี ๗

ขอบคุณทุกภาคสว่ น

บรรณานกุ รม ๑๗๒
คณะทำ� งาน ๑๗๓

สริ กิ าล ผา่ นพน้ จนวนั น้ี
แปดสบิ ส ี่ ปผี นั ปจั จบุ นั สมยั
สงา่ งาม ตามแบบ ผสู้ งู วยั
ทยี่ งิ่ ใหญ ่ ยนื ยง คงกระพนั

เกอื บศตวรรษ ผลดั ผา่ น ประสานจติ
อดุ มการณ ์ มนั่ สถติ คดิ สรา้ งสรรค์
วสิ ยั ทศั น ์ พฒั นา กา้ วหนา้ กนั
สรา้ งสมั พนั ธ ์ อนั งามลน้ มากผลงาน

มงุ่ ประโยชน ์ สชู่ มุ ชน คนทอ้ งถนิ่
เรอื่ งทอี่ ย ู่ คทู่ ำ� กนิ ถน่ิ สถาน
เปา้ หมายเรา นนั้ เลา่ บรกิ าร
เพอ่ื ประสาน งานรว่ มมอื คอื สามคั คี

จรรยาบรรณ ทย่ี ดึ มน่ั นน้ั นานนกั
เพราะตระหนกั จรงิ ใจ ในหนา้ ที่
หวั ใจทอง ของเทศบาล เมอื งชลบรุ ี
มอบนอ้ งพ ี่ ศรเี มอื งชล ทกุ คนเอย

ประพันธโ์ ดย ... อาจารยส์ รรชยั ศรีสุข
ครู คศ. 4 โรงเรยี นเทศบาลวดั โพธ์ิ

จากเทอศดบาตี ลเสมปู่ ืองจั ชลจบบุ รุ ี นั

๑ตอนท่ี

ประวตั เิ ทศบาลเมอื งชลบรุ ี
อาณาเขตเทศบาลเมอื งชลบรุ ี
ทมี่ าของชอ่ื 3 ตำ� บลในเขตเทศบาลเมอื งชลบรุ ี
ภาพถา่ ยทางดาวเทยี ม เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

แผนทเ่ี ทศบาลเมอื งชลบรุ ี
พระราชกฤษฎกี าจดั ตงั้ เทศบาลเมอื งชลบรุ ี พ.ศ.2478
พระราชกฤษฎกี าขยายเขตเทศบาลเมอื งชลบรุ ี พ.ศ.2480

ตราสญั ลกั ษณเ์ ทศบาลเมอื งชลบรุ ี
หอพระพทุ ธรปู เทศบาลเมอื งชลบรุ ี
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของเทศบาลเมอื งชลบรุ ี
โรงเรยี นเทศบาล แหลง่ ความรคู้ ชู่ มุ ชน
สถานธนานบุ าลเทศบาลเมอื งชลบรุ ี
ศนู ยไ์ ตเทยี มเทศบาลเมอื งชลบรุ ี

ประวัตเิ ทศบาลเมอื งชลบุรี

ในปีพุทธศักราช 2453 ตรงกับ ร.ศ.127 ได้มี ส่วนฝั่งทิศตะวันตกจะครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งและอยู่ใน
พระบรมราชโองการจัดต้ังสุขาภิบาลเมืองชลบุรีขึ้น ทะเลบางส่วน
ต่อมาในปีพุทธศักราช 2476 รัฐบาลได้ประกาศใช้ ต่อมาเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พุทธศักราช 2480
ราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พุทธศักราช 2476 ได้มีการเปล่ียนแปลงขยายเขตเทศบาลออกไป จากท่ี
จึงไดม้ ีการยกฐานะสุขาภิบาลตา่ งๆ ขึน้ เปน็ เทศบาล เดิมอีก โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันท่ี 7
เทศบาลเมืองชลบุรี เปน็ เทศบาลขนาดใหญ่ จดั ตง้ั มีนาคม 2480 เล่มท่ี 54 หน้า 1760 และได้ขยาย
ขนึ้ โดยยกฐานะจากสขุ าภบิ าลเมอื งชลบรุ ี ขนึ้ เปน็ เทศบาล เขตพ้ืนที่ออกไปท้ัง 2 ฝั่งจากแนวถนนวชิรปราการ
มีนามว่า “เทศบาลเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี” เม่ือวันท่ี ครอบคลมุ พน้ื ทใ่ี นทะเลมากกวา่ เดมิ ผลจากการขยายเขต
7 ธันวาคม พุทธศักราช 2478 โดยประกาศในราชกิจ เทศบาลในครั้งท่ี 2 น้ีท�ำให้เทศบาลเมืองชลบุรีมีพ้ืนที่
จานุเบกษาเม่ือวันที่ 10 ธันวาคม พุทธศักราช 2478 เพ่ิมขึ้นจากเดิมอีก 4.01 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันมีพ้ืนที่
เล่มที่ 52 หน้า 1651 มีพ้ืนที่ 0.56 ตารางกิโลเมตร รวม 4.57 ตารางกโิ ลเมตร โดยเป็นพืน้ ทบี่ นบกประมาณ
โดยเม่ือจัดตั้งครั้งแรกพ้ืนที่ส่วนใหญ่ของเทศบาลจะ 3.5 ตารางกิโลเมตร ที่เหลืออีกประมาณ 1.07 ตาราง
อยู่บนบกค่อนไปทาง ฝั่งตะวันออกของถนนวชิรปราการ กิโลเมตร เปน็ พนื้ ทีน่ ำ้�

ศาลากลางจงั หวดั ชลบุรี สรา้ งตอนปลายสมยั รชั กาลท่ี ๕
ปจั จบุ นั เป็นศาลาเทศบาลเมืองชลบุรี

12 หนงั สอื ท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

อาณาเขตเทศบาลเมืองชลบรุ ี

เทศบาลเมืองชลบรุ ี ตัง้ อยใู่ นเขตอำ� เภอเมอื งชลบุรี จงั หวัดชลบุรี และอยู่บรเิ วณริมฝ่ังทะเล ด้านตะวนั ออกของ
อา่ วไทย มีเขตการปกครองครอบคลุมพื้นท่ี ๓ ต�ำบล ไดแ้ ก่ ตำ� บลบางปลาสร้อย ต�ำบลมะขามหยง่ และตำ� บลบา้ นโขด
โดยมอี าณาเขตติดตอ่ กับท้องถ่ินใกลเ้ คียง ดังนี้
ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับเทศบาลตำ� บลบางทราย
ทศิ ใตแ้ ละทิศตะวันออก ติดต่อกับเทศบาลเมอื งบ้านสวน
ทิศตะวันตก ติดทะเลอา่ วไทย

ที่มาของชอ่ื ๓ ตำ� บลในเขตเทศบาลเมืองชลบรุ ี

เป็นท่ีทราบกันโดยทั่วไปว่า เทศบาลเมืองชลบุรี บางทราย เหตุท่ีช่ือต�ำบลบางปลาสร้อย เพราะว่าใน
มีพ้ืนที่ครอบคลุม ๓ ต�ำบล คือ ต�ำบลบางปลาสร้อย ท้องที่ต�ำบลนี้มีคลองๆ หนึ่ง ซึ่งมีต้นน�้ำมาจากเขาเขียว
ต�ำบลมะขามหย่ง และต�ำบลบ้านโขด ผู้ที่เป็นชาวบ้าน ต้ังอยู่ทางทิศใต้ของอ�ำเภอในปัจจุบัน และปรากฏว่าใน
ชลบุรีโดยก�ำเนิดก็คงพอทราบถึงท่ีมาของชื่อต�ำบล คลองนี้มีปลาสร้อยมาก ชาวบ้านจึงเรียกหมู่บ้านน้ีว่า
ดังกล่าวว่ามีท่ีมาอย่างไร แต่คงจะมีผู้ที่ไม่ทราบว่าช่ือ บ้านบางปลาสรอ้ ย ซึ่งคำ� ว่า “บาง” กค็ อื หมู่บ้านนั้นเอง
ตำ� บลท้งั ๓ ตำ� บล ดังกล่าวมีท่มี าอยา่ งไร
ในสมัยทท่ี ่านด�ำรง สนุ ทรศารทลู เป็นผ้วู า่ ราชการ ต�ำบลมะขามหย่ง
จังหวัดชลบรุ ี และมีทา่ นทองด�ำ บานชื่น เปน็ ปลดั จงั หวัด ต�ำบลมะขามหย่ง แต่เดิมบริเวณตลาดทรัพย์สิน
ชลบุรี ได้มีการจัดท�ำรายงานกิจกรรมของอ�ำเภอเมือง เปน็ ทดี่ นิ ของกองทพั เรอื มตี น้ มะขามเกา่ แกต่ น้ หนง่ึ ขน้ึ อยู่
ชลบุรีในรอบปี ๒๕๑๕ ขึ้น โดยประมวลเรื่องราวต่างๆ รากของมันหย่งข้ึน เน่ืองจากถูกน�้ำทะเลเซาะเอนลงแต่
เกยี่ วกบั ชลบรุ ี ทงั้ ในอดตี และปจั จบุ นั ไวค้ อ่ นขา้ งละเอียด ไม่ล้ม ชาวบ้านจึงเรียกแถบนี้ว่า “บ้านมะขามหย่ง”
เลยทีเดียว โดยเฉพาะได้บอกเล่าถึงประวัติของต�ำบล ๓ ตามรากของมะขามที่หย่งขึ้น และเป็นช่ือของต�ำบลใน
ต�ำบล ซ่ึงอยู่ในพ้ืนที่ของเทศบาลเมืองชลบุรีไว้ ซึ่งจาก ปัจจบุ นั
รายงานกิจกรรมอ�ำเภอเมืองชลบุรี ประจ�ำปี ๒๕๑๕
ดังกล่าว จึงพอทจี่ ะมขี อ้ มลู อา้ งอิงถงึ ท่ีมาของช่ือตำ� บลใน ต�ำบลบ้านโขด
เขตเทศบาลเมอื งชลบรุ ที ง้ั ๒ ตำ� บล คอื ตำ� บลบางปลาสรอ้ ย ต�ำบลบ้านโขด เดิมทีคลองเล็กๆ สายหนึ่งมีต้นน้�ำ
ตำ� บลมะขามหย่ง และตำ� บลบ้านโขด ดงั นี้ อยู่บริเวณส่ีแยกทางไปพนัสนิคมไหลมาตามทางเกวียน
ต�ำบลบางปลาสร้อย ผ่านหน้าวัดโพธิ์ และท่ีปลายคลองจะไหลลงทะเล น�้ำได้
ต�ำบลบางปลาสร้อย เป็นต�ำบลเก่าแก่ท่ีมีประวัติ ซะดินมาทับถมเป็นเนินโขดข้ึน และเรียกคลองน้ันว่า
ความเป็นมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้นพอๆ กับต�ำบล “คลองบ้านโขด” ปจั จุบัน คือ คลองสงั เขป

หนังสอื ท่รี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 13

14 หนังสอื ท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

หนงั สือท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 15

16 หนังสอื ท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

หนงั สือท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 17

18 หนังสอื ท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

หนงั สือท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 19

20 หนังสอื ท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

หนงั สือท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 21

22 หนังสอื ท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

หนงั สือท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 23

24 หนังสอื ท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

หนงั สือท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 25

26 หนังสอื ท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

ตราสัญลักษณ์

เทศบาลเมอื งชลบุรี

เทศบาลเมอื งชลบุรี มีดวงตราประจำ� เทศบาลเปน็
รปู เรือสำ� เภาสมัยเก่าโบราณ ใบแขง็ สามเสาแล่นฝา่ คลื่น
ในทะเลอยู่ในวงกลมสองช้ัน วงกลมรอบนอกมีตัวอักษร
ค�ำว่า “เทศบาลเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี” ซึ่งเป็นการ
สอ่ื ความหมายวา่ จังหวดั ชลบรุ ีเปน็ จังหวดั ท่ีอยู่ชายทะเล
แตเ่ ดมิ มกั มกี ารคมนาคมตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั อน่ื ๆ โดยทางเรอื
ต�ำบลบางปลาสร้อยซึ่งเป็นที่ต้ังของเทศบาลเมืองชลบุรี
เป็นต�ำบลที่เป็นท่าเรือที่ส�ำคัญของจังหวัดชลบุรี ในสมัย
นั้นการติดต่อค้าขายกับภาคอื่นๆ ของประเทศต้องใช้
เรอื สำ� เภาใบแขง็ ซง่ึ เปน็ เรอื ทส่ี ามารถฝา่ คลนื่ ลมทางทะเล
ได้เป็นอย่างดี จึงได้น�ำเรือส�ำเภาแล่นฝ่าคลื่นมาเป็น
ดวงตราประจ�ำเทศบาลเมอื งชลบุรี

หนงั สือที่ระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 27

หอพระพุทธรูปเทศบาลเมืองชลบุรี

พระพทุ ธรปู ประจำ� เทศบาลเมอื งชลบรุ ี ไดส้ รา้ งขนึ้
เพ่อื เปน็ การเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เน่อื งในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ วนั ที่ 2 เมษายน
2558 และเน่ืองในโอกาสเทศบาลเมืองชลบุรี ครบรอบ
80 ปี ในปี พ.ศ. 2558 โดยมีพิธีเททองหล่อพระพุทธรูป
และวางศิลาฤกษ์หอพระฯ เมื่อวันเสาร์ท่ี 28 กุมภาพันธ์
2558 ซึ่งสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่
สมเด็จพระสังฆราช เจ้าอาวาสวัดปากน�้ำภาษีเจริญ ได้
ประทานนามว่า “พระพุทธสิทธิเดชเทสปาลาสีติวัสส์”
มคี วามหมายวา่ “พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผปู้ ระทานความ
ส�ำเร็จและประทานเดชานุภาพให้เทศบาลเมืองชลบุรี
เจริญตั้งม่ันตลอด 80 ปี และตลอดไป” องค์พระเป็น
พระพุทธรูปปางนาคปรกหน้าตักกว้าง 32 น้ิว สูง 1.50
เมตร สร้างด้วยโลหะทองเหลือง (รมมันปู) ท้ังน้ีได้รับ
28 หนงั สือที่ระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

พิธีเบิกเนตรพระพทุ ธรปู และอญั เชิญประดษิ ฐานบนหอพระประจำ� เทศบาลเมอื งชลบรุ ี
โดยพระเทพสทุ ธาจารย์ (อนันต์ กลยฺ าณวฑฒฺ โน) เม่อื วนั จันทรท์ ี่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๙

พระราชทาน พระราชานุญาตจากสมเด็จพระกนิษฐา 8.80 เมตร ความกว้าง 2.70 เมตร ลักษณะรปู แบบและ
ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม เทคนคิ การกอ่ สรา้ งไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากศลิ ปะสถาปตั ยกรรม
ราชกมุ ารี ใหเ้ ชญิ อกั ษรพระนามาภไิ ธย “ส.ธ.” ประดษิ ฐาน แบบอยุธยาท่ีนิยมเส้นฐานอาคารและเส้นหลังคาเป็น
ท่ีผ้าทิพย์พระพุทธรูปปางนาคปรก ซึ่งเป็นพระพุทธรูป เส้นแอ่นโค้งแบบท้องเรือส�ำเภา องค์ประกอบภายนอก
ประจ�ำเทศบาลเมืองชลบุรี เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ตกแต่งประดับประดาด้วยลายปูนปั้นตามแบบงานสกุล
2559 ช่างเมืองเพชรที่สืบทอดมาแต่โบราณ มีความโดดเด่น

พระพทุ ธรปู และหอพระประจำ� เทศบาลเมอื งชลบรุ ี เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ต้ังแต่ข้ันตอนกรรมวิธีใน
ได้ประกอบพิธีเบิกเนตรพระพุทธรูป และอัญเชิญ การเตรียมปูน-หมักปูน จนถึงการข้ึนลวดลายไทยที่มี
ประดิษฐานบนหอพระประจ�ำเทศบาลเมืองชลบุรี โดย ความวจิ ติ รบรรจงตามพทุ ธประวตั ิ ประกอบดว้ ย เทพยดา
พระเทพสุทธาจารย์ (อนันต์ กลฺยาณวฑฺฒโน) ท่ีปรึกษา สตั วห์ มิ พานตใ์ นวรรณคดี ซงึ่ จะเหน็ ไดจ้ ากบนั ไดดา้ นหนา้
เจ้าคณะจังหวัดชลบุรี (ธ) เจ้าอาวาสวัดเขาบางทราย เปน็ บนั ไดนาค ฐานอาคารเปน็ ฐานสิงห์ยอ่ มมุ ประดบั ดว้ ย
พระอารามหลวง เมือ่ วนั จนั ทรท์ ่ี 11 เมษายน 2559 ลายปนู ปน้ั หลงั คาจว่ั ซอ้ นชนั้ ลดหลนั่ กนั ลงมาทห่ี นา้ บรรณ

หอพระประจ�ำเทศบาลเมืองชลบุรี ซึ่งเป็นท่ี ด้านหลังประดับลายปูนปั้นแฝงคติธรรมค�ำสอนพุทธ
ประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�ำเทศบาล ก่อสร้างบริเวณ ศาสนาเร่ืองบวั สี่เหลา่
ด้านหน้าอาคารสำ� นักงานเทศบาลเมืองชลบุรี มีความสูง

หนงั สอื ทรี่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 29

โครงสร้างการบรหิ ารงานของเทศบาลเมอื งชลบุรี

เทศบาลเมืองชลบุรี เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของจังหวัดชลบุรี มีภารกิจในการ
จดั บรกิ ารสาธารณะในดา้ นตา่ งๆ ใหแ้ กป่ ระชาชนในทอ้ งถนิ่ ไดแ้ ก่ ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานสาธารณปู โภค ดา้ นการจดั การ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจและการท่องเท่ียว ด้านคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการ
ที่ดี โดยมุ่งหวังให้ประชาชนในท้องถิ่นทุกเพศ ทุกวัย ได้รับการบริการอย่างทั่วถึงและครอบคลุมในทุกๆ ด้าน
เพ่ือให้ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตท่ีดี สามารถพ่ึงพาตนเองได้และด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
โดยมหี นว่ ยงานยอ่ ยๆ ๘ หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ สำ� นกั ปลดั เทศบาล กองคลงั สำ� นกั การชา่ ง กองสาธารณสขุ และสงิ่ แวดลอ้ ม
ส�ำนักการศึกษา กองวิชาการและแผนงาน กองการแพทย์ และกองสวัสดิการสังคม โดยหน่วยงานต่างๆ เหล่าน้ี
มีภารกิจหน้าที่ในการนำ� นโยบายจากผ้บู รหิ ารทอ้ งถน่ิ ไปสู่การปฏบิ ตั ิในรูปแบบของโครงการและกิจกรรมตา่ งๆ

30 หนงั สอื ท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี

ส�ำนักปลัดเทศบาล

สำ� นกั ปลดั เทศบาล มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบเกยี่ วกบั งานสารบรรณของเทศบาล งานเลขานกุ ารและงานประชมุ สภา
เทศบาล งานประชุมคณะผู้บริหารและหัวหน้าส่วนการงานของเทศบาล งานบริหารบุคคล งานทะเบียนราษฎรและ
งานบัตรประจำ� ตัวประชาชน งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย งานรักษาความสงบเรียบรอ้ ยและความม่ันคง งาน
เลอื กตง้ั ตามกฎหมายและงานอน่ื ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องกับภารกจิ ทวั่ ไปของเทศบาล

กองคลัง

กองคลงั มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การบรหิ ารงานคลงั ในดา้ นการรบั - จา่ ยเงนิ ของเทศบาล การจดั เกบ็ ภาษี
ประเภทตา่ งๆ อาทิ ภาษโี รงเรือนและทีด่ ิน ภาษีป้าย ภาษบี ำ� รงุ ท้องท่ี ค่าธรรมเนยี ม ค่าปรับและใบอนญุ าตตา่ งๆ ตาม
ท่ีกฎหมายก�ำหนด การจัดท�ำแผนท่ีภาษีและทะเบียนทรัพย์สินเพ่ือใช้ในการจัดเก็บรายได้ของเทศบาล และการดูแล
การใชจ้ า่ ยงบประมาณของเทศบาล รวมทง้ั การจดทะเบยี นพาณิชยแ์ ละการขออนุญาตใช้เครอื่ งขยายเสียง

หนังสือท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 31

สำ� นักการชา่ ง

ส�ำนักการช่าง มีหน้าท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับการส�ำรวจ ออกแบบ ประมาณการก่อสร้างต่างๆ การขออนุญาต
เก่ียวกับการก่อสร้าง ดัดแปลง ร้ือถอนหรือเคลื่อนย้ายอาคาร การจัดบริการด้านสาธารณูปโภคต่างๆ ได้แก่ ถนน
ทางเท้า ไฟฟ้าสาธารณะ การควบคมุ การกอ่ สรา้ ง การผงั เมือง การจัดใหม้ แี ละบ�ำรงุ รักษาสวนสาธารณะ การก�ำจัด
ขยะมูลฝอยและส่ิงปฏิกูล การลอกท่อระบายน้�ำ ปรับปรุงฝาท่อระบายน้�ำ งานการวิเคราะห์คุณภาพน�้ำจากอาคาร
บ้านเรอื นและสถานประกอบการต่างๆ ตลอดจนการดูแลรกั ษาระบบบำ� บัดน�้ำเสียภายในเขตเทศบาล

กองสาธารณสขุ และส่ิงแวดลอ้ ม

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน้าท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาความสะอาด กวาด เก็บ รวบรวมขยะ
มูลฝอย ตามถนน ซอย และที่สาธารณะ การสุขาภิบาล และอนามัยสิ่งแวดล้อม การสุขาภิบาลอาหาร การอนุญาต
และควบคุมดูแล การประกอบกิจการตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ การควบคุมแก้ไขเหตุร�ำคาญ
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ แจกทรายอะเบท ยาเบื่อหนู ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
บรกิ ารรถดดู สง่ิ ปฏิกูล และสาธารณสขุ อ่ืนๆ ในเขตเทศบาล
32 หนังสอื ท่รี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี

สำ� นักการศกึ ษา

สำ� นกั การศกึ ษา มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบเกยี่ วกบั การดำ� เนนิ งานดา้ นบรหิ ารการศกึ ษาและดา้ นวฒั นธรรมประเพณี
ส่งเสริมการศึกษาแก่เด็กเยาวชนทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน ให้มีคุณภาพและมาตรฐานในระดับสากล
การส่งเสริมกิจกรรมกีฬาและนันทนาการแก่เด็ก เยาวชน และประชาชน รวมท้ังการบริหารจัดการสนามกีฬาต่างๆ
ของเทศบาล การส่งเสรมิ กิจกรรมทางศาสนา การสง่ เสรมิ ประเพณศี ลิ ปวัฒนธรรมของท้องถิ่น

กองวิชาการและแผนงาน

กองวิชาการและแผนงาน มีหน้าท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผน การจัดท�ำแผนพัฒนา
เทศบาลและการตดิ ตามประเมนิ ผล การจดั ทำ� เทศบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจำ� ปี งานประชาสมั พนั ธต์ า่ งๆ อาทิ
การจัดท�ำวารสารเผยแพร่ข่าวเทศบาล เสียงตามสาย ฯลฯ งานบริการและเผยแพร่วิชาการผ่านศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
งานนิติการ การตราเทศบัญญัติและนิติกรรมสัญญา ศูนย์ให้ค�ำปรึกษาทางกฎหมาย ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ และ
ภารกิจอ่นื ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง

หนังสือทีร่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 33

กองการแพทย์

กองการแพทย์ มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริการด้านการแพทย์ โดยศูนย์บริการสาธารณสุข 1 ต้ังอยู่
ถนนโพธิ์ทอง ต�ำบลมะขามหย่ง อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ 038-282033 ให้บริการรักษาพยาบาล
การเยี่ยมบ้านผู้ป่วย การบริการด้านสุขศึกษา งานอนามัยแม่และเด็ก งานวางแผนครอบครัว งานบริการทางด้าน
ทันตกรรมแก่ประชาชนในเขตเทศบาล งานอนามัยโรงเรียน การบูรณาการด้านการดูแลสุขภาพประชาชนในทุกกลุ่ม
อายุผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองชลบุรี และการด�ำเนินกิจกรรมโครงการเก่ียวกับผู้สูงอายุในเขต
เทศบาล

กองสวสั ดกิ ารสงั คม

กองสวัสดิการสังคม มีหน้าท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับงานสงเคราะห์และส่งเสริมประชาชน เด็ก เยาวชน คนชรา
คนพกิ าร ทุพพลภาพ ใหม้ ีคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี การรับขึน้ ทะเบียนและจา่ ยเบี้ยประเภทต่างๆ การเลือกตั้งคณะกรรมการ
ชุมชน การประชุมเวทีประชาคม การจัดท�ำแผนชุมชน การให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนแก่ชุมชนต่างๆ อาทิ
ศนู ยฝ์ กึ อาชพี การออกหนว่ ยเทศบาลเคลอื่ นที่ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ความจำ� เปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) และภารกจิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั
ชมุ ชนต่างๆ
34 หนังสอื ทีร่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

โรงเรยี นเทศบาล แหล่งความรู้คู่ชุมชน

การศึกษาของไทยมีมาต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดย ผู้ริเร่ิมในการก่อต้ังคือ พระสงฆ์ ข้าราชการ เหล่าคหบดี
เริ่มต้ังแต่สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี (พุทธศักราช พอ่ คา้ ประชาชน ทต่ี ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของการศกึ ษา
1781-๑๙๒๑) หากแต่เป็นการจัดการศึกษาแผนโบราณ ร่วมกัน และมุ่งหวังให้กุลบุตร กุลธิดา ในเขตชุมชนเมือง
และเจรญิ สบื ตอ่ มาจนถงึ สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ตน้ รชั กาล ไดร้ ำ่� เรยี น เขยี น อา่ น และมคี วามรคู้ คู่ ณุ ธรรม จากโรงเรยี น
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดม้ กี ารปฏริ ปู วดั ในอดตี มกี ารพฒั นามาตามยคุ ตามสมยั จนกา้ วเขา้ สกู่ าร
การศึกษาโดยพลิกโฉมหน้าการศึกษาของประเทศจาก เปน็ โรงเรยี นของชมุ ชนทมี่ คี ณุ ภาพมาตรฐานมชี อ่ื เสยี งเปน็
ระบบหนง่ึ ไปสรู่ ะบบหนงึ่ อนั เนอ่ื งมาจากการไดร้ บั อทิ ธพิ ล ทย่ี อมรบั ของประชาชนในปจั จบุ นั ดงั จะขอนำ� เสนอประวตั ิ
ของประเทศมหาอ�ำนาจทางตะวันตก จากการจัดการ โรงเรยี นในสงั กดั เทศบาลเมอื งชลบรุ ี การพฒั นาการศกึ ษา
ศึกษาแบบไม่เป็นพิธีการ (Informal Education) ไปสู่ ของเทศบาลเมืองชลบุรี...
ระบบการจัดการศึกษา แบบเป็นพิธีการ (Formal ปัจจุบันการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดเทศบาล
Education) ในยคุ ดงั กลา่ วนถ้ี อื ไดว้ า่ เปน็ การเปลย่ี นแปลง เมอื งชลบรุ ี ไดม้ กี ารพฒั นาใหม้ คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ มาตาม
การจดั การศึกษาไทยครง้ั ท่ีส�ำคญั เป็นอยา่ งยง่ิ ลำ� ดบั ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ โรงเรยี นในสงั กดั เทศบาลเมอื งชลบรุ ี
แต่ไม่ว่ายุคใดสมัยใด วัดยังเป็นศูนย์กลางการ ท้ัง ๕ โรงเรียนได้รับการประกันคุณภาพจากหน่วยงาน
จัดการศึกษาและประชาชนยังมีบทบาทในการจัดการ ประกนั คณุ ภาพภายนอกอยา่ งครบถว้ นทกุ โรงเรยี น ซงึ่ จะ
ศกึ ษาตลอดมา ดงั จะเหน็ วา่ มกี ารจดั ตง้ั โรงเรยี นขนึ้ จำ� นวน เหน็ ไดจ้ ากประชาชนทกุ กลมุ่ นยิ มสง่ บตุ รหลานเขา้ มาเรยี น
มากในรูปแบบท่ีหลากหลาย ท้ังโรงเรียน ในภาครัฐและ ในโรงเรยี นสงั กดั เทศบาลเมอื งชลบรุ จี ำ� นวนมากขนึ้ ทำ� ให้
ภาคเอกชน มีการเปิดการเรียนการสอนขยายโอกาสเพื่อรองรับ
ดังได้กล่าวแล้วว่าโรงเรียนในสมัยอดีตมีสถานที่ตั้ง นักเรียนจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมีการขยาย
อยใู่ นวดั สำ� หรบั โรงเรยี นในสงั กดั เทศบาลเมอื งชลบรุ นี เี้ ชน่ หอ้ งเรยี น การสรา้ งอาคารเรยี น เพอ่ื ใหเ้ พยี งพอตอ่ จำ� นวน
กนั มีประวัติการก่อตัง้ และมสี ถานทอี่ ยู่ในบรเิ วณวดั การ นกั เรยี นที่เพิ่มขึน้ ด้วย
จัดการเรียนการสอนมุ่งเน้นการปลูกฝัง การเรียนรู้ จากโรงเรยี นวดั ในอดตี ไดถ้ กู ปรบั เปลย่ี นและพฒั นา
คุณธรรม จริยธรรม เพ่ือให้เด็ก และเยาวชนเป็นคนดี มี ให้เป็นโรงเรียนของชุมชนเพ่ือชุมชนโดยชุมชนท่ีมีการ
ความรูค้ ่คู ุณธรรมทกุ โรงเรยี น โดยโรงเรยี นท่ีก่อต้ังขน้ึ เป็น จัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐาน มี
คร้ังแรก คือ โรงเรียนเทศบาลวัดก�ำแพง (อุดมพิทยากร) อุปกรณ์การเรียน ส่ือการสอน และกระบวนการเรียนรู้ที่
ต้ังข้ึนเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๔๓ ระหว่างเวลานี้เป็นปีท่ี ทันสมัยอย่างเพียงพอ การด�ำเนินการทางนโยบายการ
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๕ ได้ พฒั นาการศึกษา เทศบาลเมืองชลบรุ ไี ด้ตระหนักถึงความ
มีการปฏิรูปการศึกษา และกระจายการพัฒนาการศึกษา ส�ำคัญของการศึกษา จึงได้ก�ำหนดนโยบายจัดการศึกษา
สู่เขตปริมณฑลและภูมิภาคท่ัวประเทศไทย และต่อมามี ในเชงิ รกุ โดยจดั ใหม้ กี ารพฒั นาบคุ ลากร พฒั นาการจดั การ
การกอ่ ตงั้ เพม่ิ เตมิ อกี จำ� นวน ๔ โรงเรยี น ปจั จบุ นั โรงเรยี น เรยี นการสอน พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น สอื่ เทคโนโลยี ดงั วสิ ยั
ในสังกัดเทศบาลเมืองชลบุรีมีจ�ำนวนทั้งส้ิน ๕ โรงเรียน ทศั นท์ ี่กำ� หนดดงั น้ี

หนังสอื ทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 35

ม่งุ จดั การศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน
พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ธรรมน�ำความรู้
เรียนร้แู นวทางเศรษฐกจิ พอเพียง
ประชาชนมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา

มีเอกลักษณค์ วามเปน็ ไทย

กิจกรรมโครงการเพื่อการพัฒนาคุณภาพการ นอกจากนี้เทศบาลเมืองชลบุรียังได้ก�ำหนด
ศกึ ษา ไดแ้ ก่ แนวทางการพฒั นาการศกึ ษารปู แบบการทำ� ความรว่ มมอื
1. โครงการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา กับองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน เพื่อน�ำไปสูก่ ารสรา้ งสงั คม
2. โครงการการประกวดแขง่ ขนั ทกั ษะทางวชิ าการ แห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Society) ให้กับ
และการจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการระดับ โรงเรียนและนักเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองชลบุรี ได้แก่
เทศบาล ระดับภาคตะวันออก และระดบั ประเทศ 1. การจัดท�ำโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
3. โครงการประมวลคุณภาพการศกึ ษา PLC ตามแนวคดิ STEM Education
4. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 2. การจัดท�ำโครงการเสริมสร้างกระบวนการ
ในโรงเรยี นสังกดั เทศบาลเมืองชลบุรี ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าชพี Professional Learning
5. โครงการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา Community : PLC ของครูผู้สอนสู่การพัฒนาศักยภาพ
6. โครงการจัดการเรียนร่วมของนักเรียนท่ีด้อย ทางวชิ าการ และทกั ษะชีวิตของผูเ้ รียน
โอกาสทางการศึกษา 3. การจดั ทำ� โครงการจดั ทำ� ศนู ยก์ ารเรยี นรสู้ ำ� หรบั
7. โครงการเข้าค่ายคุณธรรมจริยธรรม เดก็ ปฐมวยั
8. โครงการจัดงานประเพณีว่ิงควายจงั หวดั ชลบุร ี 4. การจัดท�ำโครงการวิจัยเพื่อการพัฒนาส่งเสริม
กจิ กรรมการเรยี นการสอนนกั เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา
และมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

36 หนังสอื ที่ระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี

โรงเรียนในสงั กดั เทศบาลเมืองชลบรุ ี

โ(อรุดงเมรพียทินยเทาศกรบ)าลวัดกำ� แพง
โรงเรียนเทศบาลวัดก�ำแพง (อุดมพิทยากร) ตั้งอยู่
เลขท่ี 688/91-93 ถนนสุขุมวิท ต�ำบลบางปลาสร้อย
อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ 038-284843
โทรสาร 0-3828-4843 e-mail : watkampang.
[email protected] website : www.chonburicity.
go.th/watkampang มพี ืน้ ที่ 7 ไร่ 1 งาน 20 ตารางวา
ตั้งอยู่ห่างจากถนนสุขุมวิทประมาณ 50 เมตร ปัจจุบัน
เปดิ ทำ� การสอนตงั้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั ถงึ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษา
ปีท่ี 3 มีอาคารเรียน 5 หลัง จ�ำนวน 24 ห้องเรียน ทางการเรยี นรวมสำ� หรบั เดก็ พเิ ศษ บนพนื้ ฐานหลกั ปรชั ญา
อาคารอเนกประสงค์ 1 หลัง อาคารโดม 1 หลัง ของเศรษฐกิจพอเพียง”
ทิศเหนือ ติดกับชมุ ชนถนนโพธิ์ทอง ปรัชญา “การศึกษาเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กบั ชมุ ชนรอบโรงเรยี นเทศบาล ทยี่ ัง่ ยนื ”
วัดก�ำแพง (อดุ มพิทยากร) ค�ำขวัญ “พลานามัยดี มีวินัย ใฝ่วิชา พัฒนา
ทิศใต้ ตดิ กบั ชมุ ชนรอบโรงเรยี นเทศบาล คุณธรรม สรรค์สรา้ งประชาธิปไตย”
วดั ก�ำแพง (อดุ มพทิ ยากร) สีประจ�ำโรงเรยี น นำ้� เงิน-ขาว
ทศิ ตะวันตก ติดกบั วัดนอก โรงเรยี นเทศบาลวัดก�ำแพง (อุดมพิทยากร) ก่อต้งั
เมื่อ พ.ศ. 2443 โดยพระครูชลโธปมคุณมุนี (เจียม)
วสิ ยั ทศั น์ “โรงเรยี นเทศบาลวดั กำ� แพง(อดุ มพทิ ยากร) เจ้าคณะจังหวัดชลบุรี เจ้าอาวาสวัดก�ำแพงในขณะนั้น
จดั การศกึ ษามคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา สรา้ งโอกาส พรอ้ มด้วยพอ่ ค้า คหบดี รว่ มกันสร้างโรงเรยี นข้ึน 1 หลัง
ที่วัดก�ำแพง เรียกว่า “โรงเรียนอุดมพิทยากร” ต่อมา
ปี พ.ศ.2500 พระครูอุดมวิชชากร (เหมือน) เจ้าอาวาส
วดั กำ� แพงในขณะนน้ั ไดย้ า้ ยมาสรา้ งขน้ึ ใหมน่ อกอาณาเขต
วัด ซึ่งเป็นที่ดินของวัดก�ำแพงท่ีติดอยู่กับวัดนอก เป็น
อาคารคอนกรีต 2 ชั้น 12 ห้องเรียน ให้ชื่อว่า โรงเรียน
วัดก�ำแพง “อุดมพิทยากร” เปิดสอนตั้งแต่ ป.1-ป.4
ข้ึนกับกระทรวงศึกษาธิการและในปี พ.ศ.2506 ได้โอน
โรงเรยี นมาขน้ึ กบั เทศบาลเมอื งชลบรุ ตี ามมตคิ ณะรฐั มนตรี
ต่อมาในปี พ.ศ.2511 ได้สร้างอาคารเพิ่มข้ึนอีก 1 หลัง
ให้ชอื่ ว่า “โรงเรียนเทศบาลวดั กำ� แพง (อดุ มพทิ ยากร)”

หนังสือทร่ี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 37

วโรดั งใเหรญียนอ่ เนิ ททศาบราาลมอนิ ทปัญญา
โรงเรยี นเทศบาลอนิ ทปญั ญา วดั ใหญอ่ นิ ทาราม ตงั้
อยู่เลขที่ 858/10 ถนนเจตน์จ�ำนง ต�ำบลบางปลาสร้อย
อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ 038-282533 มี
พื้นท่ี 3 ไร่ 3 งาน ปัจจุบันเปิดท�ำการสอนต้ังแต่ระดับ
ปฐมวยั ถงึ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 มอี าคารเรยี น 6 หลงั
จำ� นวน 41 ห้องเรียน แบง่ เป็น ระดบั ปฐมวัย จ�ำนวน 11
ห้อง ระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย ห้องเรียน MEP
จำ� นวน 6 หอ้ ง และห้องเรียนปกติ จ�ำนวน 18 ห้อง รวม
24 ห้อง และระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 6 ห้อง ครูต้องพานักเรียนออกมาเรียนท่ีลานใส่บาตรเพ่ืออาศัย
วิสัยทัศน์ โรงเรียนเทศบาลอินทปัญญา วัดใหญ่ ความอบอนุ่ จากแสงแดด หลวงปจู่ งึ มคี วามดำ� รทิ จี่ ะกอ่ ตง้ั
อินทาราม มคี ุณภาพ ไดม้ าตรฐานการศึกษาชาติ โดยการ โรงเรยี นโดยไดร้ บั ความรว่ มมอื จากพอ่ คา้ คหบดี ประชาชน
บริหารแบบมีส่วนร่วม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ และศิษยเ์ ก่า ต่อมาเมือ่ พ.ศ. 2501 จึงเรมิ่ ท�ำการกอ่ สรา้ ง
พอเพยี ง อาคารไมช้ นั้ เดยี ว จำ� นวน 6 หอ้ งเรยี น หลงั คามงุ กระเบอื้ ง
ปรัชญา “การศึกษาคอื ชีวติ ” ลอนคทู่ าสี มเี สาธงพรอ้ มนบั วา่ เปน็ อาคารทง่ี ดงามหลงั หนง่ึ
คำ� ขวัญ “ธรรมะ ดนตรี กีฬา วชิ าการ พัฒนางาน ในสมัยน้ัน การก่อสร้างไม่ได้ใช้เงินของทางราชการเลย
โรงเรยี น” โดยใชช้ อ่ื วา่ “โรงเรยี นอนิ ทปญั ญา” (อาคารอนิ ทปญั ญา 1
สปี ระจ�ำโรงเรียน เหลือง - แดง หลงั เกา่ ) ซง่ึ มผี อู้ ปุ การคณุ คอื ร.ต.อ. ขนุ นนท์ เวชนรานบุ าล
โรงเรียนเทศบาลอินทปัญญา วัดใหญ่อินทาราม นายวชิ ยั อนู ากลู นายอทุ ศิ กาลวนั ตวานชิ นายเสรี โสรจั จะ
ก่อตั้งโดยท่านเจ้าคุณพระราชพรหมาจารย์ (หลวงปู่ และผมู้ จี ติ กศุ ลเปน็ ผทู้ ำ� การกอ่ สรา้ งในขณะนน้ั โรงเรยี นอยู่
พระไพโรจน์ภัทรธาดา) เร่ิมเปิดท�ำการสอนเมื่อวันที่ 25 ในสังกดั กรมสามญั ศึกษา เปิดใชอ้ าคารเรียนเมอื่ วนั ที่ 25
พฤษภาคม พ.ศ.2482 โดยใช้ศาลา 9 ห้องเป็นห้องเรียน ธันวาคม พ.ศ. 2501 ซึ่งมีนักเรียนจ�ำนวน 280 คน
ซ่ึงเดิมเป็นสถานที่ส�ำหรับถือน้�ำพิพัฒน์สัตยาและเป็นที่ ครูจำ� นวน 5 คน จนกระท่งั วันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2506
ชุมนุมพลของพระเจ้าตากสินมหาราช เม่ือ พ.ศ. 2310 โรงเรียนได้โอนย้ายมาสังกัดเทศบาลเมืองชลบุรี กรมการ
ในระยะตอ่ มาไดพ้ ฒั นามาเปน็ ศาลาฟงั ธรรม ซงึ่ เปน็ ศาลา ปกครอง กระทรวงมหาดไทยในสมยั ทนี่ ายนารถ มนตเสวี
โล่ง ฝนสาด แดดส่อง พอถึงฤดูหนาว ลมพัดหนาวจัด เปน็ ผู้ว่าราชการจงั หวัดชลบุรี

38 หนังสอื ทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี

(โสรทุงเธริพยี งนษเทป์ ศระบชาาลนวกุดั ูลเน) นิ สทุ ธาวาส

โรงเรียนเทศบาลวัดเนินสุทธาวาส (สุทธิพงษ์
ประชานุกูล) ตั้งอยู่ท่ีถนนสุขุมวิท ต�ำบลบางปลาสร้อย
อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ 038-282540
มพี นื้ ที่ 4 ไร่ 2 งาน 48 ตารางวา ปัจจุบนั เปดิ ท�ำการสอน
ตงั้ แตร่ ะดบั อนบุ าลถงึ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 มอี าคาร
เรียน 4 หลัง 17 ห้องเรียน อาคารประกอบ 7 หลัง คือ
อาคารอเนกประสงค์ 1 หลงั โรงอาหาร 1 หลัง ห้องสขุ า
3 หลัง ห้องประกอบอาหาร 1 หลัง หอพระ 1 หลัง

ทศิ เหนือ ตดิ กบั โรงเรยี นเทศบาลอนิ ทปญั ญา
(วดั ใหญอ่ นิ ทราราม)

ทิศใต้ ติดกับ วดั เนินสทุ ธาวาส
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กบั โรงเรยี นบา้ นสวนจน่ั อนสุ รณ์
ทศิ ตะวันตก ติดกบั โรงเรียนชลกันยานุกลู

วสิ ยั ทศั น์ “โรงเรียนเทศบาลวัดเนินสุทธาวาส
(สุทธิพงษ์ประชานุกูล) การศึกษามีคุณภาพ ผู้เรียนเป็น
คนดมี คี ณุ ธรรม บนพน้ื ฐานของความพอเพียง”
ปรัชญา “ให้โอกาสทางการศึกษา มุ่งพัฒนาเด็ก
ไทย” และนายอ�ำเภอสมัยน้ัน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
คำ� ขวญั เรยี นดี ฝมี อื เดน่ เนน้ คณุ ธรรม นำ� ชมุ ชน เปิดสอนช้ัน ป.1-ป.2 และได้ขยายชั้นเรียนจบถึงชั้น
สปี ระจำ� โรงเรยี น ขาว – ส้ม ป.4 ในปีต่อมา วันท่ี 1 ตุลาคม 2481 ได้โอนไปขึ้น
โรงเรยี นเทศบาลวดั เนนิ สทุ ธาวาส (สทุ ธพิ งษป์ ระชา กับกระทรวงมหาดไทยใช้ช่ือว่า “โรงเรียนเทศบาล
นุกูล) เดิมชื่อโรงเรียนประชาบาลต�ำบลบ้านสวน 2 (วดั เนินราษฎรบ์ ำ� รุง)” ตอ่ มา พ.ศ. 2497 โอนกลบั ไปขึน้
(วัดเนนิ ราษฎรบ์ �ำรงุ ) ต้งั ขนึ้ เมอ่ื วนั ท่ี 13 กนั ยายน 2478 กับกระทรวงศึกษาธิการตามเดิม โดยใช้ศาลาวัดเป็นที่
โดยเจา้ อาวาสวดั เนนิ สทุ ธาวาส (หลวงพอ่ โต) กบั ประชาชน ศึกษาเล่าเรียน ต่อมาเม่ือ พ.ศ. 2499 พระอธิการเกลี้ยง
มนุญโญ (สุทธิพงษ์) เจ้าอาวาส ได้ขออนุญาตจัดสร้าง
โรงเรยี นเปน็ อาคารถาวรครงึ่ ตกึ ครงึ่ ไมจ้ ากการบรจิ าคของ
ท่านเจ้าอาวาส ประชาชนและเงินสมทบจากกระทรวง
ศึกษาธิการ ใช้ชื่อใหม่ว่า “โรงเรียนวัดเนินสุทธาวาส”
(สุทธิพงษ์ประชานุกูล) ตามช่ือวัดซ่ึงได้เปลี่ยนเป็นวัด
เนินสุทธาวาส และขยายชั้นเรียนจนถึงช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 7 ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2506 โรงเรียนได้โอนไปสังกัด
เทศบาลเมอื งชลบรุ ี กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
อกี คร้งั จนถึงปจั จุบนั

หนังสือทรี่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี 39

โรงเรยี นเทศบาลชลราษฎรน์ เุ คราะห์ ทหารซ่ึงอยู่ในสนามเทศบาลว่างอยู่ โดยหน่วยงานทหาร
โรงเรียนเทศบาลชลราษฎร์นุเคราะห์ ปัจจุบันเปิด นี้ย้ายไป ตัวอาคารยังเป็นสถานท่ีเรียนได้และเหมาะสม
ท�ำการสอนตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปี มากกว่าสถานที่เดิม จึงได้เรียนขออนุญาตกระทรวง
ที่ 3 ตั้งอยู่เลขท่ี 80/9ก ต�ำบลบางปลาสรอ้ ย อ�ำเภอเมอื ง กลาโหม เพ่ือขอเป็นสถานท่ีในการเรียนการสอน ซ่ึงใน
จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ 038-284926 มีพ้ืนที่ 2 ไร่ 1 ท่ีสุดกระทรวงกลาโหมก็ยินดีมอบให้เป็นสถานท่ีในการ
งาน 18 ตารางวา มีอาคารเรียน 3 หลัง จ�ำนวน 23 เรียนการสอน ทางโรงเรียนจึงได้ย้ายโรงเรียนเทศบาล 4
ห้องเรียน แบ่งเป็น ระดับปฐมวัย จ�ำนวน 3 ห้อง ระดับ วัดอุทยานนที มาด�ำเนินการสอนที่โรงเรียนแห่งนี้ และ
ประถมศึกษา จ�ำนวน 6 ห้อง ระดับมธั ยมศึกษา จ�ำนวน ยงั คงใช้ชื่อโรงเรียนวา่ โรงเรียนเทศบาล 4 ตามเดมิ
3 ห้อง ในปี พ.ศ. 2496 ได้มีการก่อสร้างโรงเรียนข้ึนใหม่
วสิ ัยทศั น์ ความรู้ คู่คุณธรรม น้อมน�ำปรัชญาของ โดยทางอำ� เภอเหน็ วา่ โรงเรยี นประชาบาลทสี่ รา้ งขนึ้ ใหมน่ ี้
เศรษฐกิจพอเพียง เคียงคู่ภูมิปัญญาท้องถ่ินไทย โดยใช้ เป็นโรงเรียนประชาบาลเอกเทศท่ีสร้างม่ันคงแข็งแรง แต่
โรงเรียนเป็นฐาน ชื่อของโรงเรียนยัง ไม่เหมาะสมจึงได้ขอขนานนามจาก
ปรชั ญา รู้ใฝก่ ารศึกษา คือการพัฒนาตน กระทรวงศึกษาธิการเสียใหม่ว่าโรงเรียนชลานุเคราะห์
ค�ำขวัญ ร้หู นา้ ท่ี ใฝ่คุณธรรม คณะกรรมการจังหวัดได้ท�ำพิธีเปิดป้ายนามของโรงเรียน
สปี ระจ�ำโรงเรยี น แดง ขาว เมื่อวันท่ี 24 มิถุนายน 2497 และต่อมากระทรวงได้
โรงเรียนเทศบาลชลราษฎร์นุเคราะห์ ต้ังขึ้นเมื่อ แจ้งว่าชื่อโรงเรียนที่ขอไปน้ัน ไม่เหมาะสม ทางอ�ำเภอจึง
วันท่ี 1 มิถุนายน 2479 เดิมเป็นโรงเรียนของเทศบาล ขอต้ังช่ือใหม่ว่า โรงเรียนชลราษฎร์นุเคราะห์ ตามค�ำส่ัง
เมืองชลบุรี โดยอาศัยศาลาการเปรียญของวัดอุทยานนที 1869/2498 ลงวนั ที่ 8 มีนาคม 2498
เปน็ สถานศกึ ษา ใช้ชือ่ วา่ โรงเรียน เทศบาล 4 วัดอทุ ยาน ในปีการศึกษา 2506 กระทรวงศึกษาธิการได้
นที ด�ำเนินการสอนตามหลักสูตรช้ันประถมศึกษาต้ังแต่ โอนโรงเรียนไปขึ้นกับเทศบาลให้ด�ำเนินการจัดการศึกษา
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 เป็น และในปีการศึกษา 2507 ทางราชการต้องการใช้สถาน
โรงเรยี นประเภทสหศกึ ษา ทที่ ต่ี ง้ั โรงเรยี นเพอ่ื ทำ� ประโยชนอ์ ยา่ งอนื่ จงึ ไดย้ า้ ยโรงเรยี น
ในปีการศึกษา 2486 เทศบาลเมืองชลบุรีได้โอน มาสร้างใหม่ในบริเวณวัดต้นสน ต�ำบลบางปลาสร้อย
มอบให้เป็นโรงเรียนประชาบาลขึ้นตรงกับอ�ำเภอเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 จึงได้
ชลบรุ แี ละในปี พ.ศ. 2490 คณะกรรมการเหน็ วา่ โรงเรยี น สร้างอาคารใหม่ส�ำเร็จเป็นอาคารไม้ชั้นเดียวจ�ำนวน 6
เทศบาล 4 แหง่ น้คี ่อนขา้ งจะคบั แคบ นักเรยี นตอ้ งแออดั ห้องเรียนและได้เร่ิมเปิดท�ำการสอนในอาคารใหม่เมื่อ
กนั เรียนและสถานทเ่ี รียนก็ชำ� รดุ ทรดุ โทรม ไม่สะดวกกบั วันที่ 6 กมุ ภาพันธ์ 2510
การจัดการศึกษา ในที่สุดก็เห็นว่าท่ีต้ังท่ีท�ำการสารวัตร

40 หนังสอื ที่ระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี

โรงเรยี นเทศบาลวดั โพธ์ิ โรงเรียนเทศบาลวัดโพธิ์ในอดีต

โรงเรียนเทศบาลวัดโพธ์ิ ต้ังอยู่เลขท่ี ๖๙๖ ถนน
พิพิธ ต�ำบลบา้ นโขด อำ� เภอเมือง จงั หวดั ชลบุรี โทรศพั ท์
๐๓๘-๒๘๕๔๐๖ ปัจจุบันเปิดท�ำการสอนตั้งแต่ระดับช้ัน
อนบุ าลถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๓

วสิ ยั ทัศน์ “โรงเรียนเทศบาลวดั โพธิ์ การศกึ ษาได้
มาตรฐาน บนพืน้ ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ภายใตก้ ารบริหารแบบมสี ่วนร่วม”

ปรชั ญา “ปญญฺ า โลกสมิ ปชโฺ ชโต” ปญั ญาเปน็ แสง
สว่างในโลก”

คำ� ขวญั เรยี นดี กฬี าเดน่ เน้นคณุ ธรรม
สีประจ�ำโรงเรยี น สีเขียวและสนี �ำ้ เงนิ เขม้
โรงเรียนเทศบาลวัดโพธ์ิ ก่อต้ังเม่ือวันท่ี 18
พฤษภาคม 2508 แต่เดิมตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดโพธ์ิ
เลขท่ี 528 ถนนพิพิธ ต�ำบลบ้านโขด อ�ำเภอเมือง
จังหวัดชลบุรี โดยพระครูพินิจชลธาร (ทองโปรย) เป็น
เจ้าอาวาสในสมัย นายประมวล รังสิคุต เป็นนายก
เทศมนตรี นายประเสริฐ สุขธรรมนิยม รักษาการหวั หน้า

โรงเรียนเทศบาลวัดโพธิ์ในปัจจุบัน

หมวดการศึกษา เทศบาลเมืองชลบุรี ซึ่งสมัยน้ันใช้ศาลา
การเปรียญของวัดเป็นสถานศึกษา มีนายบุญเทียม
ศิริไพบูลย์ รักษาการครูใหญ่คนแรกวันที่ 18 พฤษภาคม
2508 ถึงวันท่ี 31 พฤษภาคม 2509 เทศบาลส่งนาย
ประเสรฐิ สขุ ธรรมนยิ ม มาเปน็ ครใู หญไ่ ดม้ กี ารสรา้ งอาคาร
เรียน โดยใช้งบประมาณการก่อสร้างจากเทศบาลเมือง
ชลบรุ ใี นสมยั ของนายสมพร ธนสถติ ย์ เปน็ นายกเทศมนตรี
โดยสร้างเป็นอาคารคอนกรีต จ�ำนวน 8 ห้องเรียน บน
พน้ื ทปี่ ระมาณ 3 งาน ภายในบรเิ วณวดั โพธ์ิ แตเ่ ดมิ ทำ� การ
สอนตง้ั แต่ระดับอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6

ปัจจุบันโรงเรียนเทศบาลวัดโพธ์ิย้ายจากวัดโพธิ์มา
อยทู่ อี่ าคารเรยี นสรา้ งใหมโ่ ดยงบประมาณ อดุ หนนุ กรม
สง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ และงบเทศบาลเมอื งชลบรุ ี ที่
ซอยคลองสงั เขป มพี น้ื ที่ ๑ ไร่ 2 งาน 73 ตารางวา จำ� นวน
2 อาคารเป็นแบบ ค.ส.ล. 5 ช้ัน 15 และ 16 ห้องเรียน
มกี ารพฒั นาทางดา้ นการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและเปดิ เปน็
โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา

หนังสอื ทร่ี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 41

ศเมนู ือยงพ์ ชัฒลบนรุ าี เดก็ เล็กเทศบาล

ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ (ศพด.) ของเทศบาลเมอื งชลบรุ ี
ตง้ั อยใู่ นโรงเรยี นเทศบาลวดั โพธิ์ ซอยคลองสงั เขป ต�ำบล
บ้านโขด อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี เป็นศูนย์พัฒนาเด็ก
เล็กท่ีถ่ายโอนมาจากส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ของวัดอุทยานนที ในปี พ.ศ. 2544
รับสมัครเด็กนักเรียนอายุระหว่าง 2-3 ขวบ ทุกเขตพ้ืนที่
โดยเปิดสอนในวันจันทร์-วันศุกร์ ต้ังแต่เวลา 07.30–
15.30 น. มีห้องเรียน 1 ห้อง มีครูประจ�ำศูนย์ 2 คน
การเรียนการสอนได้มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น
กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์
กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเกมการศึกษา กิจกรรม
กลางแจ้ง กิจกรรมเสรี เพ่ือให้เด็กได้เรียนรู้และมี
พัฒนาการทีด่ ี
42 หนังสอื ท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

โรงเรยี นปจั ฉมิ ชล บางมะโขด
โรงเรยี นปจั ฉมิ ชลบางมะโขด หมายถงึ โรงเรยี นของ
ผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี มู ลิ ำ� เนาในเขตเทศบาลเมอื งชลบรุ ี ประกอบ
ดว้ ย 3 ต�ำบล คือ ต�ำบลบางปลาสรอ้ ย ตำ� บลมะขามหยง่
ต�ำบลบ้านโขด” โดยค�ำว่า “บางมะโขด” ใช้พยางค์ใน
แต่ละต�ำบลมาผสมกัน
โรงเรยี นปจั ฉมิ ชลบางมะโขด เปน็ รปู แบบหนง่ึ ของ
การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีการ
พัฒนาทักษะ ศักยภาพและการศึกษาตามอัธยาศัยของผู้
สูงอายุ อยู่ภายใต้การดูแลของ งานเวชกรรมสังคม กอง จัดพิธมี อบประกาศนยี บัตร ประกาศเกยี รตคิ ุณ
การแพทย์ เทศบาลเมืองชลบุรี ศนู ย์พฒั นาคุณภาพชวี ติ ผู้ แกน่ ักเรยี นผ้สู ูงอายุ โรงเรียนปัจฉมิ ชลบางมะโขด
สงู อายุ ผพู้ กิ ารและประชาชนเทศบาลเมอื งชลบรุ ี ทม่ี คี วาม
รุน่ ที่ ๒ ประจ�ำปี 256๒

มุ่งม่ันจะสร้าง และพัฒนาผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมือง 2. วิชาชีพ (30%) หมายถึง แนวทางการ
ชลบรุ ี (ตำ� บลบางปลาสรอ้ ย ตำ� บลมะขามหยง่ ตำ� บลบา้ น ส่งเสริมความรู้ ทักษะด้านอาชีพท่ีเหมาะสมกับผู้สูงอายุ
โขด) ใหเ้ ปน็ ผสู้ งู อายตุ น้ แบบทสี่ ามารถดแู ลสขุ ภาพตนเอง เช่น การท�ำอาหารเพ่ือสขุ ภาพ การพบั ดอกไมด้ ว้ ยใบเตย
เบอ้ื งตน้ มคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี อยรู่ ว่ มในครอบครวั ชมุ ชน และ การพบั เหรยี ญโปรยทาน
สังคมอย่างมีความสุขและ เป็นต้นแบบให้กับชุมชน และ 3. วิชาการ (20%) หมายถึง การสร้างความรู้
สงั คมได้ ความเขา้ ใจในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ผสู้ งู อายุ เชน่
โรงเรียนปัจฉิมชล บางมะโขด ตั้งอยู่ที่ ส�ำนักงาน โรคต่างๆในผู้สูงอายุ ส่งเสริมสุภาพจิตส�ำหรับผู้สูงอายุ
เทศบาลเมอื งชลบรุ ี ถนนวชริ ปราการ ตำ� บลบางปลาสรอ้ ย การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมตามหลกั 4 อ
อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี โดยกำ� หนดรอบหลกั สตู รในการ 4. กิจกรรมเพมิ่ เติมอื่นๆ เชน่ การเขา้ แถวเคารพ
เรยี น ดงั นี้ ธงชาติ การสวดมนต์และฝึกสมาธิกิจกรรมละลาย
1. วิชาชวี ติ (50%) หมายถงึ ความรู้ ทกั ษะท่ีเป็น พฤตกิ รรม ฯลฯ
ประโยชนต์ อ่ ผสู้ งู อายใุ นการนำ� ไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั โรงเรยี นปจั ฉมิ ชล บางมะโขด เปดิ รบั สมคั รผสู้ งู อายุ
เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เช่น เทคโนโลยี/ เข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวนรุ่นละ 50 คน แบ่งการเรียนเป็น
กฎหมาย พัฒนาทักษะชีวิต 2 เทอมๆ ละ 5 เดือน สัปดาห์ละ 1 วันๆ ละ 3 ชั่วโมง
เรียนทุกวันพุธ เวลา 08.00-12.00 น. เรียนทั้งหมด 20
ครั้ง รวม 60 ช่ัวโมง เร่ิมเปิดสอนคร้ังแรกต้ังแต่วันที่ 6
มิถุนายน 2561 จนถึงเดือนตุลาคม 2561 ท่านใดที่
สนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมของโรงเรยี นปจั ฉมิ ชล บางมะโขด ใน
รุ่นต่อไป สามารถสมัครได้ด้วยตนเองท่ี กองการแพทย์
เทศบาลเมืองชลบุรี ในวันและเวลาราชการ โดยผู้สมัคร
ตอ้ งมคี ุณสมบัติ ดงั นี้
1. มีอายุครบ 60 ปี บรบิ ูรณ์ขนึ้ ไป
2. มีทะเบียนบ้านอยู่ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี
ได้แก่ ต�ำบลบางปลาสร้อย ต�ำบลมะขามหย่งและต�ำบล
บา้ นโขด

หนังสือท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 43

สถานธนานบุ าลเทศบาลเมอื งชลบุรี

สถานธนานุบาลเทศบาลเมอื งชลบรุ ี (โรงรับจำ� น�ำ) อตั ราดอกเบ้ยี รบั จ�ำน�ำ
ภายใต้การบริการของเทศบาลเมืองชลบุรี ให้บริการรับ 1. เงนิ ตน้ ไมเ่ กนิ 5,000 บาท คดิ อตั ราดอกเบยี้ รอ้ ย
จ�ำน�ำ ก�ำหนดระยะเวลาของทรัพย์จ�ำน�ำ และประมูล ละ 0.50 บาท ตอ่ เดือน
ทรพั ยห์ ลดุ จำ� นำ� เพอ่ื ชว่ ยเหลอื ประชาชนผมู้ รี ายไดน้ อ้ ยท่ี 2. เงินต้นเกินกว่า 5,000 บาท คิดอัตราดอกเบี้ย
ประสบปัญหาเฉพาะหน้า ต้องการเงินไปบรรเทาความ ร้อยละ 1 บาท ต่อเดอื น
เดอื ดรอ้ น โดยน�ำทรัพยส์ ินมาจำ� น�ำ เสยี ดอกเบี้ยในอัตรา หมายเหตุ : อัตราดอกเบี้ยรับจ�ำน�ำ อาจมีการ
ท่ีเป็นธรรม เปลย่ี นแปลงได้

สถานธนานุบาลเทศบาลเมืองชลบุรี ต้ังอยู่ท่ีถนนเจตน์จ�ำนง ต�ำบลบางปลาสร้อย อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
เปดิ ใหบ้ รกิ ารวันจันทร-์ วนั ศุกร์ ตัง้ แตเ่ วลา 08.00–16.00 น. โทรศพั ท์ 038-282575

44 หนังสือท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี

ศนู ยไ์ ตเทียมเทศบาลเมืองชลบรุ ี

ปจั จุบันคนไทยมสี ถติ เิ กดิ โรคไตเพมิ่ มากขนึ้ ผู้ป่วย
ไตวายเรอ้ื รงั ระยะสดุ ทา้ ย หากไมไ่ ดร้ บั การรกั ษาทเ่ี รยี กวา่
“การบำ� บัดทดแทนไต” ได้แก่ การใช้เครอ่ื งไตเทยี มฟอก
เลอื ด การล้างช่องทอ้ งด้วยน้ำ� ยา หรอื การผา่ ตัดปลูกถา่ ย
ไต จะเสียชีวิตทุกราย ปัญหาส�ำคัญในการดูแลผู้ป่วยไต
วายเร้ือรังระยะสุดท้าย คือ สถานท่ีให้การรักษา และ
ค่าใช้จ่ายในการรักษา เนื่องจากโรงพยาบาลของรัฐมี
เครื่องไตเทียมให้บริการในจ�ำนวนจ�ำกัด ไม่เพียงพอต่อ
การให้บริการ ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะต้องไปรับบริการที่
สถานพยาบาลของเอกชน ซึ่งมคี า่ ใชจ้ า่ ยสงู และบางแหง่ ท่ีถนนโรงพยาบาลเก่า ต�ำบลบางปลาสร้อย อ�ำเภอ
ต้องจ่ายค่ารักษาส่วนเกิน ท้ังนี้ยังไม่รวมค่าใช้จ่ายในการ เมือง จังหวัดชลบุรี เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา
เดนิ ทาง คา่ อาหารของผปู้ ว่ ยและญาติ คา่ ยา และเวชภณั ฑ์ 07.00–20.00 น. โทรศัพท์ 038-283315 และ
ท่ีจำ� เป็นอนื่ ๆ ของผปู้ ่วย 090-6356494
เทศบาลเมืองชลบุรี ได้ตระหนักเห็นความส�ำคัญ
ของปญั หาโรคไต จงึ ไดจ้ ดั ตง้ั “ศนู ยไ์ ตเทยี มเทศบาลเมอื ง บริษทั ผูร้ ่วมด�ำเนินการ
ชลบุรี” โดยให้อยู่ในความดูแลของ กองการแพทย์ บริษัท อีออนเมด จ�ำกัด ได้ด�ำเนินการปรับปรุง
เทศบาลเมืองชลบุรี เริ่มเปิดให้บริการผู้ป่วยเม่ือวันท่ี 8 สถานที่และติดตั้งระบบเครื่องฟอกไตเทียม โดยมี
สิงหาคม 2555 ซึ่งในช่วงเริ่มต้นมีเคร่ืองฟอกไตเทียม นายแพทยช์ ยั ยศ วรญั ญวู งศ์ แพทยเ์ ฉพาะทางอายรุ ศาสตร์
จ�ำนวน 8 เคร่อื ง เพอ่ื ให้บรกิ ารผปู้ ว่ ยโรคไตวายเรอื้ รังท่ใี ช้ โรคไตและทีมงาน เป็นผู้อ�ำนวยการ และด�ำเนินการของ
สิทธิหลักประกันสุขภาพ โดยการฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไต ศนู ย์ไตเทียมเทศบาลเมอื งชลบรุ ี
เทียม (Hemodialysis) ในปัจจุบันมีเครื่องฟอกไตเทียม กลุ่มผู้ปว่ ยทมี่ าเข้ารับบริการ
จ�ำนวน 22 เคร่ือง ส�ำหรับรองรับผู้ป่วยโรคไตวายเร้ือรัง ผู้ป่วยท่ีมารับบริการเป็นผู้ป่วยโรคไตวายเร้ือรัง
ได้วนั ละ 60 ราย ศูนยไ์ ตเทียมเทศบาลเมอื งชลบรุ ี ตัง้ อยู่ ทอ่ี ยใู่ นระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพ ซงึ่ ผปู้ ว่ ยตอ้ งผา่ นระบบ
การตรวจรักษาจากแพทย์เฉพาะทางอายุรศาสตร์โรคไต
และมีข้อบ่งชี้ว่ามีความจ�ำเป็นในการใช้เคร่ืองไตเทียม
ฟอกเลือดจึงสามารถมาเข้ารับบริการได้
คา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษา
ผู้ป่วยท่ีอยู่ในระบบหลักประกันสุขภาพ และมีข้อ
บง่ ชว้ี า่ มคี วามจำ� เปน็ ในการใชเ้ ครอ่ื งไตเทยี มฟอกเลอื ด ไม่
ต้องช�ำระเงิน เนื่องจากศูนย์ไตเทียมจะมีระบบจัดเก็บค่า
รักษาพยาบาลโดยตรงกับส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาตติ ามอตั ราทีก่ ำ� หนด

หนงั สือที่ระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 45

ต�ำนาเนรอ่ื เงมเลือา่ ขงานชลบรุ ี

ตอนที่



ทำ� เนยี บนายกเทศมนตรเี มอื งชลบรุ ี
ทำ� เนยี บปลดั เทศบาลเมอื งชลบรุ ี
หลวงบำ� รงุ ราชนยิ ม นายกเทศมนตรคี นแรก

ทมี่ าจากการเลอื กตงั้
เมอื งบางปลาสรอ้ ยหรอื เมอื งชลบรุ ี

โดยสบุ ณิ สบื สงวน
ไขขานประวตั ศิ าลากลางจงั หวดั ชลบรุ หี ลงั เกา่

โรงพยาบาลเทศบาลเมอื งชลบรุ ี
ตำ� หนกั นำ้� จากอดตี สปู่ จั จบุ นั
สญั ลกั ษณแ์ หง่ สถานทซี่ ง่ึ รชั กาลที่ 9
เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ ฯ
บอกกลา่ วเลา่ ขาน “คำ� ขวญั เทศบาลเมอื งชลบรุ ”ี

ทำ� เนียบนายกเทศมนตรเี มอื งชลบรุ ี

ลำ� ดบั ที่ ชอ่ื – นามสกุล ตำ� แหน่ง ระยะเวลาดำ� รงตำ� แหน่ง
นายกเทศมนตรี (กอ่ ตัง้ ) 10 ธ.ค. 2478 – 10 ธ.ค. 2479
1 หลวงธ�ำรงคธ์ รุ ะราษฎร์
(ทองอยู่ กนะกาศัย)

2 หลวงบำ� รุงราชนิยม นายกเทศมนตรี (เลือกตั้ง) 11 ธ.ค. 2479 – 14 พ.ค. 2483
(สูญ สิงคาลวณิช)

3 นายจ�ำนงค์ จนั ทถิระ นายกเทศมนตรี (เลือกตง้ั ) 15 พ.ค. 2483 – 29 ม.ิ ย. 2487
นายกเทศมนตรี (แต่งต้ัง) 1 ก.ค. 2487 – 1 ม.ค. 2488
4 หลวงอนันตธรุ การ
(ขนั ธ์ อนันตธุรการ)

5 ขนุ อภยั ประศาสน์ นายกเทศมนตรี (เลอื กตั้ง) 2 ม.ค. 2488 – 25 พ.ค. 2492
(ใจ โพธสิ ุนทร)

6 นายแพทยป์ ระสงค์ บานช่นื นายกเทศมนตรี (เลอื กตั้ง) 26 พ.ค. 2492 – 16 ม.ค. 2493
นายกเทศมนตรี (เลอื กตั้ง) 17 ม.ค. 2493 – 14 ส.ค. 2494
7 นายประชา ใชฮ้ วดเจรญิ นายกเทศมนตรี (เลอื กตั้ง) 1๕ ส.ค. 2494 – 10 มิ.ย. 2496
นายกเทศมนตรี (เลอื กตั้ง) 1๑ ม.ิ ย. 2496 – 11 ก.ค. 2501
8 นายสุรชยั คัมภรี ญาณนนท์ นายกเทศมนตรี (เลือกตง้ั ) 1๒ ก.ค. 2501 – 14 ก.ค. 2501
นายกเทศมนตรี (แต่งตั้ง)
9 นายบญุ นาค การุณยวนิช 1๕ ก.ค. 2501 – 14 ส.ค. 2501

10 นายบุญนาค การุณยวนชิ

11 นายวิสษิ ฐ์ ไชยพร
(ปลดั จงั หวดั ชลบุรี)

12 นายดรงค์ สงิ หโ์ ตทอง นายกเทศมนตรี (เลอื กตัง้ ) 1๕ ส.ค. 2501 – 20 ม.ี ค. 2502
นายกเทศมนตรี (เลอื กตั้ง) 2๑ มี.ค. 2502 – 2 ม.ค. 2506
13 นายสมชาย โปษยานนท์ นายกเทศมนตรี (แตง่ ตั้ง)
1 ก.พ. 2506 – 11 ก.พ. 2509
๑๔ นายประมวล รงั สคิ ตุ
(ปลัดจังหวัดชลบุรี)

๑๕ นายสมพร ธนสถติ ย์ นายกเทศมนตรี (แต่งตั้ง) 17 ก.พ. 2509 – 15 มี.ค. 2511
(ปลัดจงั หวดั ชลบุร)ี

๑๖ นายบุญนาค การุณยวนิช นายกเทศมนตรี (เลือกต้งั ) 21 ม.ี ค. 2511 – 11 ก.ค. 2513
นายกเทศมนตรี (แตง่ ตงั้ ) 1๒ ก.ค. 2513 – 15 ก.ย. 2513
๑๗ นายอนันต์ อนันตกลู
(ปลัดจังหวดั ชลบุรี)

48 หนังสือที่ระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

ทำ� เนียบนายกเทศมนตรเี มืองชลบุรี

ลำ� ดบั ที่ ชอื่ – นามสกลุ ต�ำแหน่ง ระยะเวลาด�ำรงตำ� แหนง่
15 ก.ย. 2513 – 2 ม.ค. 2516
๑๘ ร.อ.อภิรัตน์ ประเสริฐวทิ ย์ ร.น. นายกเทศมนตรี (เลอื กตง้ั )
3 ม.ค. 2516 – 13 ม.ค. 2518
๑๙ นายแพทยร์ ุจิ รุจิรตั น์ นายกเทศมนตรี (เลอื กตงั้ )

๒๐ ร.อ.อภิรตั น์ ประเสริฐวทิ ย์ ร.น. นายกเทศมนตรี (เลือกตั้ง) 14 ม.ค. 2518 – 23 ก.พ. 2521

๒๑ ร.ต.สมพร กุลวานิช นายกเทศมนตรี (แตง่ ตั้ง) 24 ก.พ. 2521 – 4 เม.ย. 2521
(ปลดั จงั หวัดชลบรุ )ี

๒๒ นายวิรัตน์ เสตะกสิกร นายกเทศมนตรี (เลือกตงั้ ) 5 เม.ย. 2521 – 6 ก.ค. 2523

๒๓ นายวิรตั น์ เสตะกสิกร นายกเทศมนตรี (เลือกตัง้ ) 7 ก.ค. 2523 – 19 ก.ค. 2528

๒๔ นายวริ ัตน์ เสตะกสกิ ร นายกเทศมนตรี (เลอื กตั้ง) 20 ส.ค. 2528 – 11 ส.ค. 2531

๒๕ นายปิยะ วิวัฒนศร นายกเทศมนตรี (เลอื กตัง้ ) 1๒ ส.ค. 2531 – 23 ก.พ. 2533

๒๖ นายปยิ ะ ววิ ฒั นศร นายกเทศมนตรี (เลอื กตง้ั ) 2๔ ก.พ. 2533 – 9 ต.ค. 2533

๒๗ นายชูชาติ เกศยานนท์ นายกเทศมนตรี (เลือกต้ัง) 10 ต.ค. 2533 – 8 พ.ย. 2538

๒๘ พล.ต.ต.นิตย์ อนิ ทอง นายกเทศมนตรี (เลือกตง้ั ) 21 พ.ย. 2538 – 11 พ.ย. 2540

๒๙ นายสงคราม กอสุทธธิ ีรกุล นายกเทศมนตรี (แต่งตั้ง) 12 พ.ย. 2540 – 29 ธ.ค. 2540
(รองผูว้ า่ ราชการจงั หวัดชลบรุ )ี

๓๐ นายชชู าติ เกศยานนท์ นายกเทศมนตรี (เลือกตั้ง) ๓๐ ธ.ค. 2540 – 5 ม.ค. 2543

๓๑ นายอุกฤษณ์ ตน๊ั สวัสด์ิ นายกเทศมนตรี (เลอื กตง้ั ) 6 ม.ค. 2543 – 22 ก.ย. 2546

๓๒ นายอาวธุ บญุ สุวรรณ นายกเทศมนตรี (เลือกตั้ง) 23 ก.ย. 2546 – 24 ธ.ค. 2546

๓๓ นายอุกฤษณ์ ตั๊นสวัสดิ์ นายกเทศมนตรี (เลือกตั้ง) 1 ก.พ. 2547 – 31 ม.ค. 2551

๓๔ นางสาวสุมนา มุทธากิจ นายกเทศมนตรี (เลอื กต้ัง) 9 มี.ค. 2551 – 16 ม.ิ ย. 2554

๓๕ นายเดโช คงชยาสุขวัฒน์ นายกเทศมนตรี (เลือกตั้ง) 14 ส.ค. 2554 – 11 ม.ิ ย. 2558

๓๖ นางสาวจุฑารัตน์ ปริญวชริ พัฒน์ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทนี่ ายกเทศมนตรี 12 มิ.ย. 2558 – ปจั จบุ ัน
(ปลัดเทศบาลเมอื งชลบุรี)

หนังสอื ท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 49


Click to View FlipBook Version