The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

84Yminiรวมปก

84Yminiรวมปก

ทำ� เนียบปลัดเทศบาลเมืองชลบุรี

ลำ� ดบั ท่ี ชื่อ – นามสกุล ระยะเวลาดำ� รงตำ� แหนง่
8 ม.ิ ย. 2480 - 2487
1 นายศริ ิ จติ ตพ์ รห์มา
ส.ค. 2487 – 17 ธ.ค. 2490
2 นายเจิม พยงุ พันธ์ุ 1 มิ.ย. 2491 – 30 ก.ค. 2492
1 ต.ค. 2492 – 30 มิ.ย. 2504
3 นายโพธิ์ ภมรพล 1 ก.ค. 2504 – 30 ก.ย. 2509
1 ต.ค. 2509 – 30 ก.ค. 2513
4 นายเชษฐ์ ฤทธารมย์ 1 ส.ค. 2513 – 31 ต.ค. 2519
1 พ.ย. 2519 – 31 พ.ค. 2521
5 นายจำ� ลอง อมาตยกุล 1 ม.ิ ย. 2521 – 30 พ.ย. 2524
1 ธ.ค. 2524 – 29 ก.ย. 2528
6 นายวิชติ บุณยะหุตานนท์ 30 ก.ย. 2528 – 30 พ.ย. 2529
1 ธ.ค. 2529 – 10 ต.ค. 2531
7 นายธีระ ธรี ะสานต์ 11 ต.ค. 2531 – 17 มิ.ย. 2533
18 มิ.ย. 2533 – 17 พ.ค. 2536
8 นายยงยุทธ วิชยั ดษิ ฐ 18 พ.ค. 2536 – 30 ก.ย. 2538
1 ต.ค. 2538 – 8 ก.พ. 2541
9 นายบรรจง โสตถิธำ� รง 9 ก.พ. 2541 – 1 ต.ค. 2542
7 ต.ค. 2542 – 30 ก.ย. 2550
10 นายสรุ วัฒน์ วิภษู ณะภัทร์ 7 ม.ค. 2551 – ปจั จบุ ัน

11 นายรงั สิต ลอยอิ่ม

12 นางยพุ ยง พรหมพันธ์ุ

13 นายสวสั ดิ์ แผลงประพนั ธ์

๑๔ นายวิสุทธิ์ อธปิ ญั ญา

๑๕ นายปราโมทย์ ดเี ลศิ

๑๖ นางบารนี เลิศไพศาล

๑๗ นางดารวลั ย์ อาสภวิรยิ ะ

๑๘ นางดารวลั ย์ อาสภวริ ิยะ

๑๙ นางสาวจุฑารตั น์ ปริญวชริ พัฒน์

50 หนงั สือที่ระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

หลวงบ�ำรุงราชนยิ ม

นายกเทศมนตรีคนแรก ทม่ี าจากการเลอื กตงั้

ท�ำเนียบนายกเทศมนตรีเมืองชลบุรี ที่ปรากฏ 1. นายสนุ้ ช้อง สงิ คาลวณชิ
แก่สายตาผู้ที่มาเยือนบริเวณหน้ามุขศาลาเทศบาลเมือง 2. นางเพ่มิ เตรยานนท์
ชลบุรี บ่งบอกถึงเวลาที่หมุนเวียนผ่านไปปีแล้วปีเล่า 3. นายแพทย์ประเทงิ สงิ คาลวณิช
พร้อมๆ กบั การเปล่ยี นแปลงผบู้ ริหารเทศบาลเมอื งชลบุรี หลวงบ�ำรงุ ราชนิยม มีบตุ รธดิ า รวม 9 คน คอื
คนแลว้ คนเล่า ตามแนวทางของการปกครองท้องถ่นิ จาก 1. นายประสาน สิงคาลวณิช
อดีตจนถงึ ปัจจบุ นั รวม 29 ทา่ น โดยมีผู้บรหิ ารท่ีมาจาก 2. นางวิชยั นติ ินาท (เปรม วรรณประภา)
การแต่งต้ังและผู้บริหารท่ีมาจากการเลือกต้ัง และนายก 3. นางท�ำเนียบ สืบสงวน
เทศมนตรีเมืองชลบุรีคนแรกท่ีมาจากการเลือกต้ัง คือ 4. นายแพทย์ ร.อ.บำ� รงุ สิงคาลวณชิ
หลวงบ�ำรงุ ราชนยิ ม (พ.ศ. 2479-2483) 5. ศาสตราจารย์ (พเิ ศษ) ทำ� นอง สิงคาลวณชิ
หลวงบ�ำรุงราชนิยม มนี ามเดมิ ว่า ซนุ่ เบง็ สิงคาล- 6. นายบ�ำเรอ สิงคาลวณชิ
วณิช ต่อมาเปล่ียนเป็น สูญ สิงคาลวณิช ตามนโยบาย 7. นางนยิ ม วมิ ุกตานนท์
รัฐนิยมในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายก 8. แพทยห์ ญิงพะยอม สิงคาลวณชิ
รัฐมนตรี หลวงบ�ำรุงราชนิยมเป็นบุตรคนเดียวของนายอู๋ 9. นางสาวสมลักษณ์ สงิ คาลวณิช
กบั นางเอยี้ น (สบื สงวน) เกดิ เมอื่ วนั องั คารท่ี 1 พฤษภาคม หลวงบำ� รงุ ราชนยิ ม กำ� พรา้ มารดาเมอื่ อายไุ ด้ 10 ปี
2426 ตรงกบั ปมี ะแม เดอื น 5 แรม 9 คำ�่ ทบ่ี า้ นสะพานจนี จงึ อยใู่ นความอปุ การะของยาย (คณุ ยายจน่ั สบื สงวน) เรอื่ ย
(สะพานส�ำราญราษฎร์ในปัจจุบัน) ต�ำบลบางปลาสร้อย มา ได้รับการศึกษาจากโรงเรียนเอกชนในจังหวัดชลบุรี
อ�ำเภอเมือง จงั หวัดชลบุรี มีน้องต่างมารดา 3 คน คอื ต่อมาภายหลังได้ศึกษาเพ่ิมด้วยตนเอง ขณะเดียวกันก็

หนังสอื ทรี่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 51

ช่วยประกอบธุรกิจการค้าและดูแลผลประโยชน์ของยาย ราชการของจงั หวดั และงานสงั คมเมอื งชลบรุ อี ยา่ งเขม้ แขง็
ตลอดมา เมอ่ื อายคุ รบ 20 ปบี รบิ รู ณ์ จงึ ไดอ้ ปุ สมบท ณ วดั มาโดยตลอด ในราวปี พ.ศ. 2456 จึงได้รับพระราชทาน
อรญั ญกิ าวาส (วดั ปา่ ) จงั หวดั ชลบรุ ี โดยมพี ระสาสนโสภณ บรรดาศักดิ์เป็นรองอ�ำมาตย์โทขุนบ�ำรุงราชนิยม และ
(ออ่ น) เจา้ อาวาสวดั ราชประดษิ ฐเ์ ปน็ พระอปุ ชั ฌายะ และ ตอ่ มาไมน่ านกไ็ ดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ เลอ่ื นบรรดาศกั ดิ์
มีพระราชมุนี (เจริญ ญาณวร) ซึ่งต่อมาเป็นสมเด็จพระ เป็นรองอ�ำมาตยเ์ อกหลวงบำ� รุงราชนิยม
พทุ ธโฆษาจารย์ เจา้ อาวาสวดั เทพศริ นิ ทราวาส เปน็ พระกร
รมวาจาจารย์ เมอ่ื อปุ สมบทแลว้ ไดไ้ ป จำ� พรรษาอยกู่ บั เจา้ ผลงานดา้ นการเมอื ง
คณุ อาจารย์ (สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย)์ ณ วดั เทพศริ นิ ท การก้าวเข้าสู่วิถีชีวิตนักการเมืองท้องถิ่นของ
ราวาส ในกรงุ เทพฯ หลวงบ�ำรุงราชนิยม เร่ิมต้นจากท่านได้รับการแต่งต้ัง
เมื่อบวชครบพรรษาแล้วก็ลาสิกขาบทกลับมา เป็นกรรมการพิเศษเมืองชลบุรี และได้รับแต่งตั้งเป็น
ท�ำงานค้าขายส่วนตัว เนื่องจากในการค้าขายน้ันต้อง กรรมการสุขาภิบาลเมืองชลบุรี ซึ่งต่อมาได้ยกฐานะ
ติดต่อกับศาลากลางจังหวัดเป็นประจ�ำ ม.จ.ธ�ำรงศิริ ซ่ึง เป็นเทศบาลเมืองชลบุรีในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2478
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าเมืองชลบุรีในขณะนั้นได้ทรงชักชวนให้ ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พุทธศักราช
สมัครเป็นสมาชิกเสือป่าในรัชกาลท่ี 6 ซึ่งในสมัยน้ันผู้ที่ 2479 ซ่ึงท่านได้รับเลือกให้เป็นนายกเทศมนตรีเมือง
อยใู่ นสงั กดั กองเสือป่านับวา่ เป็นเกียรตสิ งู ชลบุรีแทนหลวงธ�ำรงค์ธุระราษฎร์ (ทองอยู่ กนะกาศัย)
เนอ่ื งจากหลวงบำ� รงุ ราชนยิ มเปน็ ผทู้ มี่ คี วามซอื่ สตั ย์ นายกเทศมนตรคี นแรก หลวงบ�ำรุงราชนยิ มปฏบิ ัตหิ น้าท่ี
และส�ำนึกในหน้าที่ หม่ันฝึกฝนตนเป็นประจ�ำและได้เคย ต่อมาจนครบวาระ 1 ปี จังหวัดจึงจัดให้มีการเลือกต้ัง
ไปซอ้ มรบทจี่ ังหวดั นครปฐม ได้รบั พระราชทานเข็มอัยรา สมาชิกสภาเทศบาลใหม่ หลวงบ�ำรุงราชนิยมได้รับการ
พรตเปน็ ทร่ี ะลกึ ภายหลงั จงึ ไดร้ บั พระราชทานสญั ญาบตั ร เลือกตั้งให้เป็นนายกเทศมนตรี นับเป็นนายกเทศมนตรี
เปน็ นายหมตู่ รี และตอ่ มาได้รับพระราชทานเลอ่ื นยศเป็น เมืองชลบุรีคนแรกท่ีมาจากการเลือกตั้ง (พ.ศ. 2479-
นายเรือโทแห่งกองร้อยเสือป่าชลบุรี ซ่ึงภายหลังเปลี่ยน 2483)
ชือ่ เปน็ เสอื ปา่ กองสมุทรเสนาชลบรุ ี ในสมัยท่ีหลวงบ�ำรุงราชนิยมด�ำรงต�ำแหน่งนายก
ในระหว่างรับราชการอยู่กองร้อยเสือป่านี้ท่าน เทศมนตรีเมืองชลบุรี ได้สร้างสรรค์และบุกเบิกงานด้าน
เคยได้รับเกียรติให้เป็นหัวหน้ากองโคมไฟรับเสด็จ การพัฒนาท้องถิ่นไว้เป็นจ�ำนวนมาก ผลงานส�ำคัญของ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวถึง 2 คร้ัง คือ เม่ือคร้ังเสด็จมา ทา่ นในระหวา่ งทด่ี ำ� รงตำ� แหนง่ นายกเทศมนตรเี มอื งชลบรุ ี
ประทับแรมท่ีต�ำหนักน้�ำในปี พ.ศ. 2454 และ คร้ังท่ี คอื
2 เมื่อเสด็จประพาสและประทับแรมที่ต�ำหนักมหาราช 1. สร้างต่อเติมศาลาเทศบาลหลังเก่าให้มีพ้ืนท่ี
ต�ำบลอ่างศิลา ราวปี พ.ศ. 2456 การเป็นหัวหน้ากอง เพยี งพอแกก่ ารปฏิบัติงานของเจ้าหน้าทีแ่ ผนกต่างๆ
โคมไฟนั้น จะต้องจัดหาดวงโคมเป็นจ�ำนวนมาก รวมทั้ง 2. สร้างท่อรับน้�ำของถนนฝั่งบนตลอด (ถนนสาย
ที่ในห้องบรรทมด้วย เน่ืองจากในสมัยน้ันไฟฟ้ายังไม่มี วชิรปราการ)
หลวงบ�ำรุงราชนิยมปฏิบัติหน้าท่ีอย่างดียิ่งเป็นที่พอพระ 3. วางแนวและปรับทางเดินเท้า 2 ฟากถนนให้มี
ราชหฤทยั ของพระบาทสมเดจ็ พระมงุ กฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ ระเบยี บเหมือนกัน
ทรงโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มพระราชทานตราเบญจมาภ 4. ถมหิน และราดยางในถนนวชริ ปราการ
รณม์ งกฎุ ไทยด้วยพระหัตถ์ของพระองคเ์ อง 5. หาทแ่ี ละจดั สรา้ งโรงเรยี นของเทศบาลทว่ี ดั ใหญ่
หลวงบ�ำรุงราชนิยมไม่นิยมรับราชการ ชอบแต่จะ อินทาราม โดยสร้างแทนที่ศาลาหลังเก่าของวัดซึ่งทรุด
ปฏิบัติงานค้าขายเป็นอิสระ แต่โดยเหตุท่ีช่วยเหลืองาน โทรมมากจนใช้การไม่ได้แลว้

52 หนังสือที่ระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี

6. ร่วมมือกบั นายแพทย์สง่า วิชพันธ์ ผ้อู ำ� นวยการ ไม้ที่สร้างย่ืนไปในทะเลให้เป็นถนนคอนกรีตแทน และยัง
โรงพยาบาลชลบุรีในเวลาน้ันด�ำเนินการย้ายโรงพยาบาล เปน็ ผรู้ เิ รม่ิ กอ่ สรา้ งบอ่ คอนกรตี เกบ็ กกั นำ้� ฝนไวใ้ นทะเลดว้ ย
จากท่ีเดิมซึ่งสร้างอยู่บริเวณป่าแสมในทะเลข้ึนมาอยู่ ณ

ท่ีต้ังปัจจุบัน ท้ังยังได้บริจาคท่ีดินบริเวณด้านหน้าของ ด้านศาสนา และการศึกษา
โรงพยาบาลเกือบท้ังหมด พร้อมท้ังบริจาคเงินสร้างบ้าน หลวงบำ� รงุ ราชนยิ มเปน็ ผมู้ จี ติ ใจเปน็ กศุ ล มศี รทั ธา
พักแพทย์อีก 1 หลัง ตลอดเวลาที่ด�ำรงต�ำแหน่งนายก ในพทุ ธศาสนา ทา่ นมกั จะทำ� บญุ ดว้ ยการสรา้ งพระประธาน
เทศมนตรหี ลวงบำ� รงุ ราชนยิ มไดม้ อบเงนิ เดอื นของทา่ นให้ บูรณปฏิสังขรณ์ส่ิงปลูกสร้างต่างๆ ภายในวัดตามก�ำลัง
แกเ่ ทศบาล เพอ่ื นำ� ไปใชส้ รา้ งสงิ่ อำ� นวยความสะดวกแก่ ความสามารถของทา่ นอยเู่ สมอมไิ ดข้ าด โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่
พนกั งานของเทศบาลและผมู้ าตดิ ตอ่ เชน่ หอ้ งนำ้� หอ้ งสขุ า การสรา้ งบอ่ นำ�้ ฝนคอนกรตี บรจิ าคใหว้ ดั โรงพยาบาล และ
และใหเ้ ป็นเงินสำ� รองในการใช้จ่ายของเทศบาลตลอดมา โรงเรียน ด้านการศึกษาได้บริจาคที่ดินในท้องท่ีต�ำบล
บ้านสวน และด�ำเนินการก่อสร้างอาคารเรียนโรงเรียน
ดา้ นสังคม จั่นอนุสรณ์ และเมื่อสร้างเสร็จแล้วได้มอบให้เป็นสมบัติ
หลวงบ�ำรุงราชนิยมเป็นผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกลและ ของทางราชการตลอดจนมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียน
ส�ำนึกเชิงสังคม ดังจะพิจารณาได้จากการท่ีท่านได้ ยากจน ปีละหลายทุนอยา่ งสมำ่� เสมอ
จดั ตง้ั สโมสรประชาชนขนึ้ ใชช้ อ่ื วา่ สำ� ราญพานชิ สโมสรนี้ หลวงบ�ำรุงราชนิยมจึงเป็นผู้ที่สมควรได้รับการ
วตั ถปุ ระสงคท์ จ่ี ะรวมมติ รสหายในจงั หวดั ชลบรุ ใี หม้ โี อกาส ยกย่องให้เป็นบุคคลส�ำคัญของจังหวัดชลบุรีในด้านการ
พบปะสังสรรค์ ปรกึ ษาหารือ และรว่ มมอื ช่วยเหลือกนั ใน พัฒนาท้องถ่ิน เนื่องจากผลงานของท่านสะท้อนให้เห็น
การแก้ปญั หา พฒั นาอาชีพและท้องถิน่ วสิ ยั ทศั นอ์ นั กวา้ งไกล และสำ� นกึ เชงิ สงั คมทชี่ าวชลบรุ คี วร
นอกจากนี้ หลวงบ�ำรุงราชนิยมยังเป็นผู้จัดตั้ง ภาคภมู ใิ จและถอื เปน็ แบบอยา่ งในการครองตนอยใู่ นสงั คม
แตรวงวงแรกในจังหวัดชลบุรี เป็นผู้ริเริ่มเปล่ียนสะพาน อย่างมคี ณุ คา่

หนงั สอื ทรี่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 53

เมอื งบางปลาสรอ้ ย หรอื เมอื งชลบุรี

โดย...สบุ ณิ สบื สงวน

สถานท่ีต้ังของเมืองชลบุรีในปัจจุบันน้ี แต่ก่อน
คนพื้นที่และคนต่างเมืองหรือแผนท่ีของทางราชการก็ดี
เรียกกันว่า “บางปลาสร้อย” คนจีนเรียก “ม่ังก้ะส่วย”
มีถนนอยเู่ พยี งสายเดยี ว ตอ่ มามชี ื่อว่า ถนนวชิรปราการ
ทางทิศเหนือเร่ิมต้นตั้งแต่หน้าศาลเจ้าพ่อสาครและ
มีความยาวตรงมาทางทิศใต้ โดยผ่านหน้าศาลเจ้าเก๋ง
ผา่ นเชงิ สะพานหวั คา่ ย เชงิ สะพานแดง (คกู ำ� พล) และผา่ น
หนา้ ทีท่ �ำการไปรษณียโ์ ทรเลข ไปจนถงึ โบสถว์ ดั สวนตาล
(เข้าใจวา่ เดิมเรียกวัดสมณโกฏ)ิ ต่อจากโบสถ์ไปเปน็ ป่ารก
มีทางเดินเล็กๆ คดไปคดมา ส�ำหรบั คนเดินผ่านคลองบาง
ปลาสร้อยไปออกท่ีว่างซึ่งจะไปยังต�ำบลห้วยกะปิหรือ
อา่ งศลิ า สองขา้ งทางมตี น้ หญา้ อกี รมิ (ใชม้ ดั ทำ� ไมก้ วาดได)้
และต้นหนามพุงดอขน้ึ อย่เู ตม็ สงู ท่วมศรี ษะ
ถนนสายนี้มีห้องแถว 2 ข้างถนนติดต่อกันตั้งแต่
หน้าศาลเจ้าพ่อสาคร จนมาถึงเชิงสะพานแดง (คูก�ำพล) ถนนวชริ ปราการ

มีตลาดขายปลาสดและปลาเค็มอยู่เพียงแห่งเดียวต้ังอยู่ รับประทานได้ตามใจชอบ แม้เวลาต่อมารัฐบาลได้เลิก
บริเวณตรงข้ามกับตึกที่ท�ำการธนาคารมณฑลเวลานี้ อากรบอ่ นเบย้ี แลว้ อาคารทเ่ี ปน็ โรงบอ่ นกไ็ ดเ้ ปลย่ี นสภาพ
ส่วนผักสดวางขายกันบริเวณหน้าศาลเจ้าเก๋ง ซ่ึงเวลาน้ัน เปน็ วกิ ลเิ กอยหู่ ลายปี ภายหลงั ไดเ้ ปลย่ี นเปน็ รา้ นจำ� หนา่ ย
หนา้ ศาลเจา้ ยงั เปน็ ทวี่ า่ งไมม่ กี ำ� แพงกนั้ และยงั วางขายกนั ฝน่ิ แหง่ ใหญข่ องเมอื งชลฯ ฉะนนั้ ในบรเิ วณหนา้ ศาลเจา้ เกง๋
ตามหนา้ รา้ นสองขา้ งถนนของบรเิ วณนนั้ ดว้ ย การขายหมู จึงมีผู้คนไปประชุมกันหนาแน่นทั้งกลางวันและกลางคืน
นัน้ นอกจากมขี ายอยใู่ น ตลาดปลาแลว้ ยังต้ังเขียงขายได้ ตลอดมา
ตามหน้ารา้ นท่ัวๆ ไป ส่วนถนนตอนต่อจากปากซอยคูก�ำพลลงไปจนถึง
ในสมัยท่ีรัฐบาลยังอนุญาตให้มีการผูกขาดตั้ง ทท่ี �ำการไปรษณยี โ์ ทรเลขนั้น มหี อ้ งแถวปลกู บ้างเวน้ เป็น
โรงบ่อนเบ้ียได้นั้น ได้มีโรงบ่อนต้ังอยู่ตรงหน้าศาลเจ้าเก๋ง ทว่ี า่ งบา้ ง หอ้ งไมต่ ดิ ตอ่ กนั เนอื่ งจากสมยั กอ่ นผคู้ นไมม่ าก
แตอ่ ยหู่ า่ งถนนลงไปทางดา้ นชายทะเลประมาณ ๑๐๐ เมตร เหมือนสมัยนี้ การค้าในถนนตอนนี้จึงมีเพียงประปราย
นายอากรบอ่ นเบยี้ จะมกี ารละเลน่ เชน่ งว้ิ หรอื ลเิ ก ทหี่ นา้ และเป็นห้องมีผู้เช่าอยู่อาศัยเสียเป็นส่วนมาก และถนน
บ่อนทุกวันเพ่ือให้คนดูฟรีเป็นการเรียกร้องให้คนมาเที่ยว ตง้ั แตห่ นา้ ทที่ ำ� การไปรษณยี ไ์ ปจดโบสถว์ ดั สวนตาลนน้ั แต่
แล้วเลยเข้าเล่นการพนัน ในบริเวณตรงข้ามศาลเจ้าเก๋ง ก่อนทางด้านตะวันตกของถนนเป็นที่ว่างเปล่าตลอดไป
ลงไป จึงมีร้านขายอาหารคาวหวานต่างๆ ให้คนเลือกซ้ือ พน้ื ทขี่ องทว่ี า่ งนมี้ รี ะดบั ตำ�่ มากลกั ษณะเปน็ ตะกาดคอื ทๆ่ี

54 หนังสือทีร่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

เคยเปน็ นาเกลอื มาแลว้ มตี น้ ชะครามขน้ึ ประปราย ตอ่ จาก
ที่ตะกาดลงไปทางทะเลเป็นป่าแสม เม่ือถึงฤดูร้อนเคยมี
พวกนักกีฬาว่าวได้ใช้ท่ีตะกาดนี้เป็นสนามว่าวจุฬาและ
ว่าวปักเป้าขนาดใหญ่
คว้าพนันกันดังเช่นที่เป็นอยู่ในสนามหลวงของ
พระนครในฤดูร้อน จนต่อมาถึง พ.ศ. ๒๔๕7 พระยา
ประชาสยั สรเดช (สอาด ณ ปอ้ มเพชร)์ มาเปน็ ผวู้ า่ ราชการ
จังหวัด จึงได้ขอเงินงบประมาณจากกระทรวงมหาดไทย
มาจัดการถมที่ให้สูงแล้วปลูกบ้านพักส�ำหรับผู้ว่าราชการ
จงั หวดั ขนึ้ ใหมล่ งในทต่ี ะกาดนเ้ี ปน็ บา้ นแรก เวลานบ้ี า้ นพกั
ผู้ว่าราชการจงั หวัดหลังทก่ี ลา่ วถงึ นถ้ี กู รอ้ื ไปเสียแล้ว ทง้ั นี้
เน่อื งจากเมือ่ พ.ศ. ๒๕๐๒ บรรดาขา้ ราชการ และพอ่ คา้
ประชาชนไดป้ ระชมุ กนั และมคี วามเหน็ พอ้ งตอ้ งกนั วา่ ควร
จะได้สร้างพระพุทธรูปหล่อด้วยเน้ือเงินบริสุทธ์ิขึ้นไว้
เพื่อเป็นมิ่งขวัญประจ�ำเมืองให้เป็นท่ีเชิดหน้าชูตาและ
เคารพบูชาสักองค์หน่ึง และควรสร้างเป็นพระพุทธรูป
จ�ำลองแบบพระพุทธสิหิงค์ ที่ประชุมจึงได้ลงมติให้เชิญ
พลตรีศริ ิ สริ โิ ยธิน เป็นประธานกรรมการ และนายแสวง
รุจิรัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดในเวลาน้ันเป็นรองประธาน หอพระพุทธสิหิงค์ฯ

ด�ำเนินงาน และจัดการโฆษณาในงานประจ�ำปีนั้น ซึ่ง สหิ ิงค์ฯ ทีไ่ ดห้ ลอ่ ไวแ้ ลว้ และมีความเหน็ พอ้ งกนั วา่ ทีๆ่ จะ
พลตรีศริ ิ สริ โิ ยธนิ ก็ไดร้ ับตดิ ตอ่ ด�ำเนินงานเรอ่ื ยมา ต่อมา ใช้สำ� หรับก่อสรา้ งวิหารใหเ้ หมาะสมทสี่ ุดก็คอื บรเิ วณบ้าน
พ.ศ. ๒๕๐๓ นายนารถ มนตเสวี ไดย้ า้ ยมาเปน็ ผวู้ า่ ราชการ พกั ของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นน่ั เอง และทปี่ ระชมุ ขอรอ้ งให้
จังหวัดชลบุรีแทนนายแสวง รุจิรัตน์ และท่านได้ยินดีเข้า นายนารถ มนตเสวี ได้รับธุระไปเจรจากับกระทรวง
ร่วมงานด้วยความเต็มใจและความสามารถจนมีพิธี มหาดไทย เพ่ือขออนุญาตร้ือบ้านพักผู้ว่าราชการจังหวัด
เทโลหะเงนิ หลอ่ พระพทุ ธสหิ งิ คจ์ ำ� ลองขนึ้ ในงานสงกรานต์ ทม่ี อี ยูแ่ ลว้ โดยชาวเมอื งชลฯ ขอสญั ญาจะหาเงินมาสรา้ ง
ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๐๓ เมอ่ื วนั ที่ 18 เมษายน ๒๕๐๓ เวลา บ้านพักของผู้ว่าราชการจังหวัดให้ใหม่ในท่ีๆ อยู่ถัดจาก
๑๕.๐๗-1๗.๐8 น. เมอ่ื หลอ่ แลว้ ตอ่ มากไ็ ดน้ ำ� ไปใหช้ า่ งขดั บา้ นเดมิ ออกไปทางดา้ นทศิ ตะวนั ตกเลก็ นอ้ ย โดยขอความ
และจดั การอ่ืนๆ จนถงึ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๐๔ จึงได้น�ำไป กรุณาให้กระทรวงมหาดไทยตั้งงบประมาณเพิ่มเติมบ้าง
ไว้ท่ีโบสถ์วัดเบญจมบพิตร สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ในทีส่ ดุ นายนารถ มนตเสวี ไดใ้ ชค้ วามสามารถหาเหตผุ ล
สมเด็จพระสงั ฆราช ได้ทรงทำ� พธิ ถี วายพระนามพระพทุ ธ เจรจากบั กระทรวงมหาดไทยจนเป็นผลสำ� เรจ็ ด้วยดี และ
สหิ งิ คจ์ �ำลององคน์ ว้ี ่า “พระพทุ ธสหิ ิงค์ม่งิ มงคลสิรินารถ ไดท้ ำ� การรอื้ บา้ นพกั ฯ ออกและไดจ้ ดั การสรา้ งบา้ นพกั หลงั
พุทธบรษิ ัทราษฎรก์ ศุ ลสามัคคี ชลบุรีปชู นยี บพิตร” ใหม่ขึ้นเป็นตัวตึก 2 ช้ัน รูปทรงทันสมัยดูสวยงาม แล้ว
เมอ่ื เสรจ็ พธิ แี ลว้ ไดอ้ ญั เชญิ ขนึ้ สรู่ ถยนตเ์ ขา้ ขบวนแห่ เสรจ็ เมอ่ื พ.ศ. 2๕๐๕ ดังท่เี ห็นปรากฏอยู่ในปจั จบุ ันน้ี
มายงั เมอื งชลฯ และไดม้ พี ธิ ตี อ้ นรบั กนั อยา่ งเอกิ เกรกิ และ ได้บรรยายถึงลักษณะของด้านข้างถนนต้ังแต่
ในเวลาต่อมาได้มีการประชุมตกลงกันว่าควรจะได้สร้าง ที่ท�ำการไปรษณีย์ทางด้านตะวันตกและเร่ืองที่ติดต่อกัน
พระวิหารอย่างสวยงามข้ึนไว้เป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธ เสียยืดยาวแล้วขอย้อนกลับมาพูดเร่ืองลักษณะเมืองชลฯ

หนังสือท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี 55

ต่อไป ด้านตะวันออกของถนนตั้งแต่ที่ท�ำการไปรษณีย์ ซ่ึงอยู่ข้างถนนฝั่งตะวันตกได้ท�ำรั้วล้อมรอบท�ำเป็นสวน
มาทางใตน้ นั้ เปน็ สถานทที่ ำ� งานของรฐั บาลไดป้ ลกู เรยี งราย ปลูกต้นทับทิมเต็มเน้ือท่ี ซ่ึงต่อมาราว พ.ศ. ๒๔๕๒ ทาง
กันเปน็ ลำ� ดับมา แตท่ ท่ี ำ� การของรฐั บาลสมัยก่อนปลกู อยู่ ราชการได้ใช้ท่ีดินซึ่งเป็นสวนทับทิมน้ีปลูกสร้างสถานี
ไมห่ า่ งจากตัวถนนมากนัก (แนวด้านหนา้ ของเสาธง) เร่ิม ต�ำรวจขนึ้ ใหม่ดังทเี่ ห็นอยใู่ นปจั จุบนั
ดว้ ยทที่ ำ� การไปรษณยี ์ โทรเลข ตอ่ ไปเปน็ ทวี่ า่ การอำ� เภอ ต่อมารัฐบาลได้วางแผนผังสร้างที่ท�ำการของ
ท่ีว่าการคลัง และสรรพากรจังหวัด ศาลากลางจังหวัด รฐั บาลขนึ้ ใหม่ โดยสรา้ งตกึ เปน็ ทที่ ำ� การศาลจงั หวดั ชลบรุ ี
ท่ีท�ำการสัสดี ศาลจังหวัด และสถานีต�ำรวจภูธรเป็น ข้ึนเป็นแหง่ แรก แล้วเสรจ็ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๓ (ร.ศ. ๑๒๙)
แห่งสุดท้าย ซึ่งอยู่ตรงท่ีว่างหน้าประตูเรือนจ�ำขณะน้ัน และไดส้ รา้ งตกึ ทำ� เปน็ ศาลากลางจงั หวดั ชลบรุ ขี นึ้ ใหมเ่ ปน็
สถานทร่ี าชการเหลา่ นส้ี รา้ งเปน็ เรอื นไมห้ ลงั คามงุ ดว้ ยจาก แห่งที่สอง แลว้ เสร็จเมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๔ (ร.ศ. ๑๓๐) ต่อมา
สว่ นมากยกพน้ื สูงจากดนิ เกอื บ ๒ เมตร ใตถ้ นุ ใชไ้ มต้ เี ปน็ สถานทท่ี ำ� การของรฐั บาลแหง่ อนื่ ๆ กไ็ ดท้ ำ� การกอ่ สรา้ งขน้ึ
ตารางรปู ส่ีเหลย่ี มขา้ วหลามตดั ใหม่ทั้งหมด การสร้างสถานที่ท�ำการใหม่ที่กล่าวมาน้ีได้
ต่อมาสมัยเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว. วางแนวข้ึนใหม่ด้วย โดยสร้างถอยหลังห่างออกไปจาก
หลาน กญุ ชร) เปน็ เสนาบดกี ระทรวงเกษตราธกิ าร ทา่ นได้ เดิมมาก เหลือแต่ที่ท�ำการไปรษณีย์โทรเลข คงอยู่ที่เดิม
ออกเดนิ สำ� รวจเพอื่ หาทส่ี รา้ งหอทะเบยี นทด่ี นิ ไดพ้ บทอ่ี ยู่ เพียงแห่งเดยี วดังทเี่ ห็นอย่ใู นปัจจุบนั นี้
ต่อจากโบสถ์วัดสวนตาลไป จึงได้จ้างคนถางที่ๆ เป็น ได้กล่าวไว้ในตอนต้นว่าถนนวชิรปราการทางด้าน
ป่าหนามพุงดอและต้นหญ้าอีกริมออกหมด ได้เน้ือที่เป็น เหนอื เรม่ิ ตน้ แตเ่ พยี งแคห่ นา้ ศาลเจา้ พอ่ สาครซง่ึ ตง้ั อยปู่ าก
บริเวณกว้างใหญ่มาก จึงกันเขตเป็นถนนต่อจากของเดิม ซอยเสรมิ สนั ตเิ ทา่ นนั้ กเ็ พราะวา่ เวลานน้ั ทดี่ นิ บรเิ วณทเี่ ปน็
โดยผา่ นเนอื้ ทๆี่ ไดถ้ างใหมน่ ไี้ ปจนจดคลองบางปลาสรอ้ ย ตลาดผกั ตลาดปลา รวมทงั้ ทด่ี นิ ซงึ่ อยรู่ อบตลาดซงึ่ ไดส้ รา้ ง
แล้วใช้ท่ีด้านข้างถนน ฝั่งตะวันออกตอนห่างจากโบสถ์ เป็นห้องแถวหรือตึก อันรวมเรียกว่า “ตลาดทรัพย์สิน”
วัดสวนตาลไปทางทิศใต้ประมาณ ๘0 เมตร สร้างหอ ในเวลานเี้ ปน็ สถานทต่ี งั้ กองทหารเรอื เมอ่ื แรกกอ่ สรา้ งนน้ั
ทะเบียนท่ีดิน (หลังแรก) ขึ้นหน่ึงหลัง และสร้างบ้านพัก ทางกองทหารได้สร้างสะพานไม้มีความยาวมากย่ืนลงไป
นายทะเบียนทีด่ นิ และเจ้าหนา้ ทอ่ี ่ืนๆ อกี ๒-๓ บ้าน แล้ว ในทะเล เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ทจี่ อดเรอื และเปน็ ทใ่ี หท้ หารหดั วา่ ยนำ้�
เสรจ็ ราว พ.ศ. ๒๔๔๖ และยงั มที เี่ หลอื อยทู่ างทศิ ตะวนั ออก และได้สร้างกระโจมไฟไว้ที่ปลายสะพานด้วย ชาวบ้าน
อีกมาก ซ่ึงต่อมารัฐบาลได้ใช้เป็นท่ีปลูกบ้านพักให้ เรียกสะพานน้ีว่า “สะพานหลวง” ซ่ึงปัจจุบันถูกเปลี่ยน
ข้าราชการในปัจจุบันแลดูเป็นหมู่บ้านกลุ่มใหญ่ส่วนท่ีดิน ชอ่ื เรยี กสะพานเสรมิ สันติ ต่อมากองทหารเรอื นี้ไดย้ ้ายไป
ตง้ั อยทู่ ช่ี ายหาดตำ� บลบางพระเปน็ เวลาหลายปี จงึ ไดย้ า้ ย
ไปอยทู่ ตี่ ำ� บลสตั หบี ดงั เปน็ ทท่ี ราบกนั อยใู่ นปจั จบุ นั แมว้ า่
กองทหารจะได้ย้ายไปแล้วเป็นเวลานาน ก็ยังมีรั้วสังกะสี
ล้อมรอบบริเวณน้ี และยงั มบี า้ นผู้อยู่ดูแลรักษา ๒-๓ หลงั
เปน็ เหตใุ หผ้ ทู้ ม่ี บี า้ นอยทู่ ต่ี ำ� บลบา้ นโขด บางทรายฯ อนั ตงั้
อยู่ทางด้านเหนือของกองทหารนี้เดินทางไปมาติดต่อกับ
ตลาดใหญ่ได้รับความล�ำบาก เพราะต้องเดินมาตามทาง
เล็กๆ ริมรั้วด้านทะเลของกองทหาร และเวลาท่ีน�้ำทะเล
ขน้ึ สงู มากนำ้� จะทว่ มทางเดนิ ตอนนดี้ ว้ ยเพราะยงั เปน็ ทต่ี ำ�่
ต่อมาราว พ.ศ. ๒๔5๔ กรมพระคลังข้างท่ีซ่ึงเป็น
หอทะเบียนท่ีดิน ผู้ปกครองท่ีดินท่ีเคยเป็นท่ีตั้งกองทหารเรือน้ี ได้ส่งช่าง

56 หนังสือท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

คร้ันลุถึงวันท่ี 21 เมษายน พ.ศ. ๒๔๕7 ตรงกับ
ปีขาล เดอื น ๕ เวลา ๒๓ น. มหนั ตภยั อนั ใหญย่ ง่ิ กไ็ ด้เขา้
มาเยย่ี มกรายชาวเมอื งชลฯ กลา่ วคอื ไดเ้ กดิ เพลงิ ไหมต้ ลาด
ชลบรุ คี รง้ั ใหญเ่ ปน็ ประวตั กิ ารณ์ ตน้ เพลงิ เกดิ ขนึ้ ทห่ี อ้ งของ
หญิงชราคนหนึ่งเรียกกันว่ายายอ่อง อยู่ด้านตะวันตก
ของถนนวชริ ปราการ หลังห้องนอ้ี ยูต่ ิดกับหลังศาลเจ้าพอ่
หลกั เมอื ง ขณะนน้ั เปน็ ฤดูแลง้ น�้ำทจี่ ะใช้อาบซกั ฟอกหรือ
ใชร้ ับประทานหาไดย้ าก เพลิงจงึ เกดิ ลกุ ลามอยา่ งรวดเรว็
ช่ัวเวลาไม่นานนักเพลิงก็ได้ข้ามไปไหม้ห้องแถวของฝั่ง
ศาลากลางจังหวัดชลบุรี ตะวันออกขน้ึ ด้วย และเนอ่ื งดว้ ยตน้ เพลิงน้ีอยทู่ างดา้ นใต้

ออกมาและทำ� การรอ้ื รว้ั ออกหมด แลว้ ทำ� การตดั ถนนตาม ของถนนเปน็ ตน้ ทางลม เพลงิ จงึ ไดล้ กุ ลามไหมห้ อ้ งแถวมา
แนวเดิมของถนนวชิรปราการผ่านเน้ือที่รายน้ีไปทาง ทางด้านเหนือซ่ึงอยู่ใต้ลมพร้อมกันทั้งสองฟากถนนและ
ทศิ เหนอื บรรจบกบั ถนนตอนหนา้ วดั สมถะดงั ทเ่ี หน็ อยทู่ กุ ไหม้อย่จู นเวลาใกลส้ ว่างเพลงิ จงึ สงบ เนอ้ื ทๆี่ เพลิงไหม้นี้
วนั นี้ ทำ� ให้ประชาชนท่อี ยู่ทางต�ำบลบา้ นโขด บางทรายฯ เปน็ บรเิ วณกวา้ งและยาวมาก คอื ด้านใต้จดศาลาฟงั ธรรม
ต่างพากันรู้สึกยินดีปรีดากันท่ัวหน้า เพราะได้รับความ ซึ่งอยู่ตามแนวถนนทางเข้าประตูวัดใหญ่ฯ ด้านเหนือจด
สะดวกในการสญั จรไปมา ผดิ กวา่ แตก่ อ่ นมาก ฝา่ ยนายชา่ ง ตลาดพระคลังข้างท่ี โดยไหม้ที่ห้องแถวฝั่งตะวันตกของ
เม่ือได้วางแนวถนนเรียบร้อยแล้ว จึงก�ำหนดแผนผังให้ พระคลงั หมดไป ๑ แถว ๒๐ หอ้ ง และไหม้ตลาดของสดที่
ผูร้ บั เหมาก่อสรา้ งตลาดผักขึน้ ๑ หลงั ตลาดปลา 1 หลัง อยตู่ ดิ ถนนไปแถบหนง่ึ ทางดา้ นตะวนั ออกไหมไ้ ปจดถนน
ทางด้านถนนฝั่งตะวันออก แล้วให้เอกชนเช่าที่ปลูกห้อง ซอยด้านหลัง ส่วนทางด้านตะวันตกซึ่งเป็นเขตท่ีมีบ้าน
แถว ๒ ชั้นด้วยไม้ขึ้นทางด้านทิศเหนือและใต้และด้าน เรอื นหนาแนน่ นน้ั ยงั เคราะหด์ อี ยหู่ นอ่ ยทสี่ มยั นนั้ ผทู้ ม่ี ที ดี่ นิ
ตะวนั ออกของตัวตลาดผักและปลาครบทงั้ ๓ ด้าน ส่วนท่ี อยตู่ ามเชงิ สะพาน ซึง่ เปน็ เขตตดิ ตอ่ ระหว่างหลังห้องแถว
ข้างถนนฝั่งตะวันตกนั้นพระคลังข้างที่ได้จ้างเหมาให้ กบั หมู่บ้านตามสะพานนนั้ ท่ีเชิงสะพานหลายแห่งเขาเวน้
ก่อสร้างเป็นห้องแถวขึ้น ๒ แถวต่อเน่ืองกัน แถวหน่ึง เปน็ ทว่ี า่ งไว้ แลว้ ปลกู กลว้ ยบา้ ง ปลกู ละมดุ บา้ ง หาไดส้ รา้ ง
ประมาณ ๒๐ หอ้ ง การกอ่ สรา้ งตลาดและหอ้ งแถวทก่ี ลา่ ว เป็นห้องแถวติดต่อกันเป็นพืดไปดังปัจจุบันน้ีไม่ ดังนั้น
นี้แล้วเสร็จเม่ือราว พ.ศ. ๒๔๕๕ ประชาชนเรียกกันว่า ประชาชนจึงสามารถช่วยป้องกันเพลิงไว้ไม่ให้ข้ามไปไหม้
“ตลาดพระคลังข้างที่” และทางการได้ขอร้องให้บรรดา ยงั หมบู่ า้ นซงึ่ อยใู่ นทะเลได้ พอรงุ่ เชา้ ขน้ึ มองดแู ลเหน็ สว่ น
พอ่ คา้ แมค่ า้ ขายของสด ยา้ ยทขี่ ายจากตลาดเกา่ เขา้ ไปขาย ท่ีถูกเพลิงไหม้ได้ถนัด ดูเว้ิงว้างน่าอนาถใจ ถ้าเรายืนอยู่
ในตลาดพระคลงั ขา้ งท่ี รวมทงั้ ใหบ้ รรดาผทู้ ต่ี งั้ เขยี งขายหมู หน้าศาลาฟังธรรมในที่ใกล้ต้นเพลิงจะมองเห็นประตู
ตามหนา้ รา้ นตา่ งๆ ยา้ ยทเี่ ขา้ ไปขายอยใู่ นตลาดทสี่ รา้ งใหม่ วัดก�ำแพงและเหน็ ห้องแถวของพระคลงั ฯ ส่วนทยี่ ังเหลอื
ดว้ ย เปน็ อนั วา่ ตลาดเกา่ ทเ่ี คยตงั้ อยทู่ หี่ นา้ ทที่ ำ� การธนาคาร อยไู่ ดถ้ นดั และยงั เหน็ ควนั ไฟทยี่ งั คกุ รนุ่ ไหมก้ องขา้ วเปลอื ก
มณฑลตอ้ งลม้ เลิกไปแตน่ ้นั เป็นตน้ มา และนำ้� ตาลทรายแดงหลายแหง่ อยู่ ความเสียหายครง้ั น้นั
ต่อจากนั้นบ้านเมืองก็ได้วิวัฒนาการเร่ือยมาตั้งแต่ คิดเป็นเงินมากมายกว่าจะมีการสร้างห้องแถวขึ้นใหม่
ปากซอยคูก�ำพลถึงที่ท�ำการไปรษณีย์โทรเลข ซ่ึงแต่ก่อน ให้ติดต่อกันเหมือนเดิม ก็กินเวลาหลายปี ต่อมาราว
สองข้างถนนเคยเป็นที่ว่างอยู่ เจ้าของท่ีก็ได้จัดการปลูก พ.ศ. 2478 จึงมีตลาดขายของสดเพ่ิมขึ้นอีกแห่งหน่ึงอยู่
หอ้ งแถวนขี้ น้ึ ตดิ ตอ่ กนั หมด หอ้ งทคี่ นอยอู่ าศยั กก็ ลายเปน็ ทางด้านใต้ของปากซอยคูก�ำพล โดย หลวงบุรีบริบาล
รา้ นค้าทวั่ ไป (เสียง อุทัยชลานนท์) เจ้าของที่ได้จัดสร้างขึ้นแล้วให้

หนังสือทร่ี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี 57

ช่อื ว่า “ตลาดบุรบี ริบาล” แตช่ าวบ้านเรยี กว่า ตลาดล่าง อยใู่ นทำ� เลทเี่ กดิ ความอดุ มสมบรู ณโ์ ดยธรรมชาติ เนอ่ื งจาก
และเรยี กตลาดพระคลังวา่ ตลาดบน เนื้อที่ต่อจากชายฝั่งออกไปเป็นท่ีดินโคลนเลน ตามปกติ
เมืองชลบุรีมีลักษณะแปลกแตกต่างจากหัวเมือง น้�ำทะเลข้ึนท่วมวันละ ๒ คร้ัง ขณะที่น�้ำข้ึนมีปลาเรียก
ชายทะเลอนื่ ๆ อยอู่ ยา่ งหนง่ึ คอื เมอื งอน่ื นน้ั บา้ นเรอื นสรา้ ง ช่ือว่า ปลากระบอก ว่ายตามน้�ำเข้ามาหากินตามชายฝั่ง
อยู่บนฝั่งแทบท้ังสิ้น แต่เมืองชลน้ีบ้านเรือนส่วนใหญ่ ชกุ ชมุ มาก และขณะทนี่ ำ�้ ลงนน้ั ชายนำ�้ จะอยหู่ า่ งฝง่ั ออกไป
สร้างอยู่ในทะเล เมื่อก่อนที่ยังไม่มีทางหลวงสายสุขุมวิท บางฤดจู ะหา่ งออกไปไกลหลายกโิ ลเมตร ทด่ี นิ เลนนเ้ี ปน็ ท่ี
ผ่านมาได้ลองค�ำนวณโดยคิดเอาบ้านเรือนท่ีอยู่ในเขตตัว เกิดหอยต่างๆ ชุกชุมเหมาะแก่การท่ีจะท�ำการประมง
เมืองรวมกันแล้วแบง่ เปน็ ๗ สว่ น ปรากฏวา่ มีบ้านเรอื นที่ ทะเล เช่น ท�ำโปะ๊ ทำ� อวน ท�ำการเลีย้ งหอยแมลงภ่ไู ว้ขาย
อยใู่ นทะเลถงึ ๕ สว่ น ปลูกอยบู่ นฝง่ั เพียง ๒ สว่ นเทา่ น้นั รงั เฝอื ก หรอื อวน วางจัน่ จบั ปมู ้าและปูทะเล และอ่นื ๆ
ปัญหาที่ว่าเหตุใดชาวเมืองชลบุรี จึงนิยมสร้างบ้านเรือน ประการท่ีสอง ในสมัยที่ยังไม่มีถนนหนทางติดต่อ
อยู่ในทะเลน้ัน เมื่อได้พิจารณาโดยละเอียดแล้วได้พบว่า กับต่างจังหวัดจ�ำเป็นต้องใช้เรือเดินทะเลขนาดใหญ่และ
มเี หตุหลายประการด้วยกัน เลก็ สำ� หรบั ตดิ ตอ่ การคา้ ขายกบั จงั หวดั ตา่ งๆ ทวั่ ไป แมก้ าร
ประการแรกทเี ดยี ว ถนนวชริ ปราการ ซงึ่ เปน็ ถนน ตดิ ตอ่ คา้ ขายในเขตจงั หวดั เดยี วกนั กต็ อ้ งใชเ้ รอื เปน็ พาหนะ
สายส�ำคัญและสายเดียวของเมืองชลฯ สร้างอยู่ตามแนว เช่น ตดิ ต่อกบั ต�ำบลอา่ งศิลา บางแสน บางพระ ศรีราชา
ฝั่งทะเล และเม่ือแรกสร้างนั้นอยู่ชิดฝั่งมากจนเวลา บางละมุง นาเกลือ สัตหีบ หรือบางปะกง เหล่านี้ต้องใช้
น้�ำทะเลขึ้นสูงจะมีระดับน้�ำถึงหลังห้องแถวด้านทะเลที เรือเป็นส่วนใหญ่ว่ิงใบไปมาถึงกันเป็นประจ�ำทุกวัน
เดยี ว ยงั มสี งิ่ พสิ จู นว์ า่ เปน็ เชน่ นน้ั อยคู่ อื ทเี่ ชงิ สะพานทา่ เรอื (แตค่ รง้ั กอ่ นบางปะกงเป็นเขตของจงั หวัดชลบุรี) เมอื่ เป็น
พลีมีศาลเจ้าของชาวจีนอยู่ศาลหน่ึง (ศาลเดิม) ด้านหลัง ดังนี้จะเห็นได้ว่าเมื่อคิดรวมจ�ำนวนเรือต่างๆ ท่ีใช้ส�ำหรับ
ของศาลน้ีอยู่ติดถนนด้านตะวันตก ด้านหน้าของศาลหัน การติดต่อค้าขายและรวมกับเรือที่ใช้ในการประมงชนิด
ออกทางทะเล ชาวพื้นเมืองเรียกศาลนี้ว่า “ศาลเจ้าตีน ต่างๆ เข้าด้วยแล้วจะเป็นจ�ำนวนเรือมากมาย ถ้าคิดถึง
ทะเล” หลงั จากเกดิ เพลงิ ไหมค้ รงั้ ใหญแ่ ลว้ ตวั ศาลของเดมิ คนประจำ� เรอื จะมจี ำ� นวนคนมากกวา่ เรอื อกี หลายเทา่ เมอ่ื
นไี้ ดถ้ ูกเปลีย่ นสภาพเปน็ ร้านคา้ ไป ๒ หอ้ ง อนง่ึ ถนนนตี้ ง้ั มเี รอื ไวส้ ำ� หรบั ใชม้ ากๆ เชน่ นี้ จงึ เกดิ ความจำ� เปน็ ตอ้ งสรา้ ง
สะพานย่ืนออกไปจากฝั่งให้เรือมีที่จอดได้สะดวกให้
เหมาะสมแก่กิจการของคนแตล่ ะคน
ประการท่ีสาม แต่ก่อนที่ชายทะเลเป็นที่ว่างเปล่า
ไม่มีผู้ใดหวงแหน ถ้าใครอยากจะปลูกบ้านอยู่ก็สร้าง
สะพานยนื่ ออกไปในเลนจะไดเ้ นอ้ื ทสี่ องขา้ งสะพานสำ� หรบั
ปลกู บา้ นเรอื นโดยมติ อ้ งจา่ ยเงนิ ซอ้ื เมอื่ ปลกู บา้ นอยอู่ าศยั
แลว้ กม็ ที ขี่ า้ งบา้ นสำ� หรบั จอดเรอื ของตนดว้ ย ไมต่ อ้ งใชค้ น
มานอนเฝ้า และถ้ามีใครอยากจะสร้างบ้านต่อออกไปอีก
ผู้ท่ีสร้างสะพานขึ้นก่อนก็มีใจเอื้อเฟื้ออนุญาตให้สร้าง
สะพานต่อจากเดิมออกไปได้เสมอ ประกอบด้วยเวลาน้ัน
ปา่ ไม้อยหู่ า่ งไกลจากตัวเมืองมากนัก เสาและไม้จึงมีราคา
ถูกหาซ้ือได้ง่าย เม่ือน�ำเสาและไม้มาถึงฝั่งแล้วก็รอเวลา
นายวิรตั น์ เสตะกสกิ ร นำ้� ขนึ้ จงึ ผกู มดั ใหล้ อยนำ�้ แลว้ นำ� ไปยงั ทต่ี อ้ งการใชเ้ ปน็ การ
นายกเทศมนตรเี มอื งชลบรุ ี สะดวก ตอ่ มากม็ เี รอื บรรทกุ เสาและไมก้ ระดานมาจำ� หนา่ ย

58 หนังสอื ทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

อยเู่ สมอ ดงั นน้ั ผทู้ เ่ี ปน็ นายทนุ กด็ ี ผทู้ รี่ บั จา้ งกด็ ี ซง่ึ มอี าชพี
เกย่ี วกบั ดา้ นทะเล หรอื แมแ้ ตผ่ ทู้ มี่ อี าชพี อสิ ระกน็ ยิ มสรา้ ง
บ้านอยู่ในทะเล เพราะมีทางหากินได้กว้างขวาง เป็นต้น
ว่า สร้างบ้านเสร็จแล้วก็ซ้ืออวนมาท�ำยอขึ้นสักหน่ึงหลัง
เวลานำ้� ขนึ้ กย็ กยอไดป้ ลา พอรบั ประทานทกุ วนั เวลานำ้� ลง
ตวั เองซงึ่ เปน็ ชายหรอื หญงิ กต็ าม หรอื บตุ รหลานขนาดอายุ
๑๐ ขวบขึ้นไป ซ่ึงมิได้ไปโรงเรียนก็ตามถ้าไม่ข้ีเกียจเสีย
อยา่ งเดยี วกอ็ าจใชก้ ระดานถบี ลงไปในเลนชอ้ นกงุ้ ปลาตาม
หน้าเฝือกหรืออวนท่ีมีคนรังกั้นทางปลาไว้ หรืองมหอย
แครงมาขาย เมอื่ ถงึ ฤดมู ปี ชู กุ ชมุ กพ็ ายเรอื เลก็ ๆ ออกไปใน
ทะเล วางจนั่ จบั ปมู าขายไดเ้ งนิ วนั ละไมน่ อ้ ย ดว้ ยเหตนุ จ้ี งึ
มีการสร้างสะพานออกไปในทะเลเป็นจ�ำนวนหลายสิบ
สะพานและหลายสะพานมคี วามยาวกวา่ ๑ กโิ ลเมตร เชน่ บ่อคอนกรตี ทห่ี ลวงบ�ำรุงราชนิยมสร้าง
สะพานท่าเรือพลี เป็นต้น และส่วนมากสองข้างสะพาน ปัจจบุ นั อยู่ทบี่ ้านสะพานจีน (สะพานส�ำราญราษฎร์)

มีบ้านเรือนปลูกอาศัยอยู่ท้ังน้ัน การปลูกบ้านของคน ต่อมาราว พ.ศ. ๒๔๖๖ หลวงบ�ำรุงราชนิยม
โบราณเขามักเว้นช่องว่างไว้ให้ห่างระยะกันเป็นการ (สญู สงิ คาลวณชิ ) ไดส้ รา้ งบอ่ คอนกรตี สำ� หรบั ขงั นำ้� ฝนขน้ึ
ป้องกันอัคคีภัยไม่ให้ลุกลาม แต่ปัจจุบันน้ีสร้างติดต่อกัน ๑ บ่อ ณ ท่บี ้านสะพานจีน (สะพานสำ� ราญราษฎร์) เพ่ือ
หมดน่ากลัวอนั ตรายมาก เป็นการทดลองดูความทนทาน นับว่าเป็นบ่อคอนกรีต
การอยบู่ า้ นสะพานนน้ั มีความล�ำบากอยู่อย่างหนึ่ง บ่อแรกทส่ี รา้ งลงในพืน้ ทะเล และเป็นบ่อประวตั ิการณซ์ ่งึ
คือ เร่อื งน้ำ� กนิ และนำ้� ส�ำหรับใชอ้ าบ ซกั ฟอกฯ ผูม้ ที รัพย์ จะได้กลา่ วต่อไป
และบา้ นเรอื นกวา้ งขวางจงึ หาซอื้ ตมุ่ นำ้� ไวม้ ากๆ สำ� หรบั ใส่ แตเ่ ดมิ ชาวเมอื งชลฯ ยงั เขา้ ใจวา่ กำ� แพงทสี่ รา้ งดว้ ย
น้�ำฝนกิน ส่วนน�้ำส�ำหรับใช้อย่างอ่ืนนั้นต้องใช้ครุหรือปีบ ปูนซีเมนต์และทรายนั้น ถ้าถูกความเค็มอยู่เสมอไม่นาน
มาหาบเอาที่บนบกจากบ่อน�้ำสาธารณะ หรือจากบ่อน�้ำ เทา่ ไรกำ� แพงจะพรนุ หมด ฉะนนั้ จงึ ตา่ งพากนั มคี วามสนใจ
ตามหอ้ งแถว บา้ นหนงึ่ ๆ ตอ้ งหาบกนั วนั ละหลายหาบตาม คอยดูและฟังข่าวเร่ืองบ่อคอนกรีตบ่อนี้ว่าเม่ือน�้ำเค็มขึ้น
จ�ำนวนคนอยู่และตามความต้องการน้ำ� ทจ่ี ะใช้ นับวา่ เป็น แช่ขา้ งบ่ออยทู่ กุ วนั ขา้ งบอ่ จะมีการเปลย่ี นแปลงประการ
ภาระใหญอ่ ย่างหนง่ึ ทีเดยี ว เมอื่ ถงึ ฤดแู ลง้ นำ�้ ในบอ่ เหลา่ นี้ ใดบ้าง คร้ันเวลาล่วงไป ๒-๓ ปี ก็รู้สึกว่าปูนท่ีฉาบไว้ข้าง
แห้งหมดความเดือดร้อนย่ิงเพิ่มมากข้ึน ในราว พ.ศ. บอ่ ยงั คงดอี ยเู่ ปน็ ปกติ แตน่ นั้ มาผทู้ มี่ บี า้ นเรอื นอยใู่ นทะเล
๒450 ทางราชการได้ขุดคลองจากดา้ นทะเลเข้าไปจนตดิ ก็พากันสร้างบ่อคอนกรีตขึ้นเพื่อใช้ขังน�้ำฝนมากแห่งด้วย
ถนนใหญ่ตรงหน้าศาลากลางจังหวัดแล้วขุดบ่อน้�ำข้ึนที่ กัน บรรดาโรงงานท�ำน�้ำปลานั้นนอกจากจะสร้างบ่อเพ่ือ
ขา้ งถนน ๒ บอ่ บอ่ นต้ี านำ้� ดไี หลแรงและมรี สไมก่ รอ่ ยมาก ใสน่ ้�ำแล้ว ยังทดลองใช้ดองปลาแทนถังไม้อกี ด้วย ต่อจาก
เหมือนที่บ่ออื่นๆ เม่ือประชาชนท่ีมีบ้านเรือนอยู่ในทะเล นั้นมาก็มีการต่อเหล็กจากหลังบ่อเปลี่ยนสภาพเป็นการ
ได้ทราบ จึงเอาเรือเข้าไปในคลองจอดที่ใกล้บ่อแล้วหาบ สร้างตกึ ๒ ชน้ั ๓ ชนั้ ขนึ้ ในทะเลดงั ท่เี ห็นปรากฏอยู่ อนึง่
น�้ำมาใส่ในเรือซ่ึงได้ล้างสะอาดแล้วน�ำมาใส่ตุ่ม ใช้สารส้ม เวลาน้ีบรรดาโรงงานท�ำน้�ำปลาจังหวัดอ่ืนๆ ก็ได้น�ำวิธี
กวนใหน้ ำ�้ ใสเอาไวใ้ ชอ้ าบและซกั ฟอกฯ จงึ คอ่ ยผอ่ นคลาย ทำ� บ่อคอนกรตี ขน้ึ ใช้ดองปลาอย่ทู ่ัวๆ ไป
ความล�ำบากลงเป็นอันมาก แต่คลองและบ่อน้�ำนี้ทาง ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่าชาวเมืองชลบุรี ได้สร้าง
ราชการได้กลบเสยี หลังจากเรม่ิ มีประปาใช้แลว้ สะพานย่ืนลงไปในทะเลเป็นจ�ำนวนหลายสิบสะพาน แต่

หนงั สือทร่ี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี 59

ในปัจจุบันน้ีถ้าคนต่างเมืองมาเดินอยู่ในถนนวชิรปราการ จะใช้ในการท�ำปูนซีเมนต์บางอย่างส่งมาจากต่างประเทศ
นึกอยากจะเห็นว่าสะพานที่สร้างไว้น้ันมีลักษณะอย่างไร ไม่สะดวก จึงตอ้ งหยดุ การสรา้ งถนนไว้เพยี งนั้น การสรา้ ง
จงึ ไปยนื อยตู่ ามปากซอยของถนนดา้ นตะวนั ตกอนั เปน็ ตน้ ถนนข้ึนแทนสะพานนี้นับว่าหลวงบ�ำรุงฯ ได้สร้างข้ึนที่
สะพานนั้นแล้วท่านผู้นั้นจะมองหาสะพานไม่พบและจะ สะพานสำ� ราญราษฎร์เปน็ สายแรก แต่ทวา่ การสร้างถนน
เห็นแต่ถนนซอยสายเล็กๆ ท้ังส้ิน จึงควรเขียนเล่าไว้ให้ ในคร้ังนั้นมีความกว้างเพยี ง ๒.๒๐ เมตร โดยมุ่งประสงค์
อนุชนรุ่นหลังได้ทราบประวัติบ้างว่าสภาพของเมืองชลฯ ใหร้ ถลากหรอื รถสามล้อลงไดส้ ะดวก และได้ทำ� ทใ่ี หก้ วา้ ง
ตอนนี้ได้เปลย่ี นแปลงไปแต่เมือ่ ใดและดว้ ยวธิ กี ารอยา่ งไร ส�ำหรับรถหลีกกันไว้เป็นระยะๆ นับว่าเป็นประโยชน์แก่
เมื่อราว พ.ศ. ๒๔๗๖ หลวงบ�ำรุงราชนิยม ชาวสะพานนั้นและบรรดาที่อยู่สะพานข้างเคียงเป็น
(สูญ สิงคาลวณิช) ได้พูดปรารภแก่บรรดาญาติและ อันมาก มีรถลาก รถไสบรรทุกสินค้าและคนขึ้นลงวันละ
ผู้ชอบพอกันว่าสะพานจีน (ส�ำราญราษฎร์) ซึ่งคุณยาย มากเท่ียว แต่เมื่อบ้านเมืองได้เจริญย่ิงขึ้นๆ จนมีการใช้
(จั่น สืบสงวน) ได้ท�ำการซ่อมใหญ่คือ เปลี่ยนเสาและ รถยนตก์ นั อยทู่ วั่ ไป ทงั้ เทศบาลกม็ รี ถดบั เพลงิ ขนาดเลก็ ไว้
กระดานใหมห่ มด เมอื่ ครงั้ สดุ ทา้ ยมาจนถงึ บดั นกี้ เ็ ปน็ เวลา สำ� หรบั ใชก้ ารตามสะพาน จงึ เหน็ วา่ ไดส้ รา้ งเขอ่ื นกนั้ ดนิ ไว้
นานจนกระดานกรอ่ นลงมาก เวลานไี้ มก้ ระดานมรี าคาสงู มีระยะห่างกันน้อยเกินไปท�ำให้ถนนแคบ การขับรถยนต์
กว่าแต่ก่อนมาก ส่วนราคาปูนซีเมนต์ที่ท�ำข้ึนได้เองใน ลงมาไมส่ ะดวกและไมป่ ลอดภยั
ประเทศไทยราคาย่อมเยาลงแล้ว และเวลานี้เมืองชลฯ ขอเลา่ เรอื่ งทเี่ กย่ี วกบั ซอยสำ� ราญราษฎรน์ ใี้ หต้ ดิ ตอ่
มีรถลาก (เรียกกันว่ารถเจ๊ก) รับจ้างอยู่ท่ัวไป รถสามล้อ กัน เม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๒ นายวิชัย นางเนื่อง อูนากูล ได้
(ชนดิ พว่ งขา้ ง) กม็ ี ดงั นนั้ ถา้ จะเอาเงนิ ทใี่ ชซ้ อ่ มสะพานมา บริจาคเงินซื้อหิน ปูนซีเมนต์ ทราย และดินมามอบให้
ท�ำเป็นถนนขึ้นแทนก็จะเพ่ิมความสะดวกสบายข้ึนอีก เทศบาลก่อเข่ือนก้ันดินขึ้นใหม่ทั้งสองข้างตลอดสาย
หลายประการ เป็นต้นว่า คนชราเดินไปมาก็ไม่กลัวตก เท่ากับที่หลวงบ�ำรุงฯ ได้ท�ำไว้แต่เดิม นอกจากนี้ นาง
สะพาน หรือเม่ือเดินไปไหนไกลไม่ไหวก็สามารถท่ีจะจ้าง เปรมวิชัย นิตินาถ นายสุบิณ สืบสงวน และนางเก้ือกูล
สามล้อหรือรถลากให้พาไปส่งยังท่ีต้องการได้ และนับแต่ วานชิ วฒั นา ไดร้ ว่ มกนั บรจิ าคเงนิ ซอ้ื หนิ ซเี มนต์ ทราย ดนิ
นั้นมาหลวงบ�ำรุงฯ ก็ได้บริจาคเงินส่วนตัวซ้ือทรายและ มอบใหเ้ ทศบาลทำ� ตอ่ จากของเดมิ ออกไปอกี ยาวราว ๑๐๐
ปูนซีเมนต์มากองไว้ และให้คนงานประจ�ำบ้านก่อหิน เมตร เม่ือสร้างเสร็จถมดินแล้วถนนมีความกว้างรวมกับ
เป็นรูปเข่ือนกันดินเป็นแนวไปสองข้างสะพาน เม่ือก่อไป ของเดมิ เปน็ ๓.๖๐ เมตร (เพราะทจี่ ำ� กดั ) ทำ� ใหร้ ถสามลอ้
ได้ยาวพอควรก็ซ้ือดินมาเตรียมไว้ แล้วจัดการรื้อสะพาน วงิ่ หลกี กนั ไดอ้ ยา่ งสบายและรถยนต์ว่งิ ไปมาไดส้ ะดวก
ออก น�ำดินมาถมลงแปลงรูปเป็นถนน แต่การสร้างถนน เมื่อหลวงบ�ำรุงฯ ได้สร้างถนนขึ้นมาแทนสะพาน
ดังที่กล่าวมาน้นี ับว่าเปน็ งานสว่ นตัวไม่เรง่ ร้อน ถ้าคนงาน ตามทไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้ ตอ่ มาราว พ.ศ. ๒๔๙๓ ทางเทศบาล
มีงานอ่นื ทจี่ ะต้องทำ� ก็หยดุ ไปท�ำงานอื่นเสยี เป็นเวลานาน ไดแ้ สดงความประสงคใ์ หป้ ระชาชนทราบวา่ ผทู้ อี่ ยสู่ ะพาน
บางทกี ห็ ยดุ ไปเปน็ จำ� นวนปี ตอ่ มาในภายหลงั ไดม้ ผี บู้ รจิ าค ต้องการสร้างถนนแทนสะพานของตนบ้างแล้ว ทาง
ทรัพย์รว่ มด้วย ดงั น้นั เม่ือลว่ งมาถงึ พ.ศ. ๒4๘๓ จงึ สร้าง เทศบาลก็ยินดีจะเป็นผู้ออกค่าแรงเป็นการร่วมมือกัน
ลงไปไดห้ ลายรอ้ ยเมตรจนถงึ สะพานเชอื่ มระหวา่ งสะพาน ดังน้ัน นายส�ำเภา นิมล ซึ่งเป็นคนชราจึงได้บริจาคเงิน
ส�ำราญราษฎร์กับสะพานบ่ายพลน�ำ การผลิตปูนซีเมนต์ จ�ำนวนหนึ่งร่วมด้วยชาวบ้านที่อยู่ในสะพานนั้นมอบให้
ของไทยเกิดเส่ือมคุณภาพลงมาก ทั้งนี้เป็นเพราะได้เกิด เทศบาลจดั การรอ้ื สะพานกลปอ้ มคา่ ยออก แลว้ ใชด้ นิ โคลน
มหาสงครามครั้งที่ ๒ ขึ้นทางทวีปยุโรปก่อน ต่อมา ทข่ี า้ งสะพานนน้ั ถมขา้ งลา่ ง เอาดนิ ลกู รงั ทบั ขา้ งบน นบั วา่
ประเทศไทยก็ได้เกิดกรณีพิพาทข้ึนกับประเทศฝร่ังเศส เปน็ การสรา้ งถนนขน้ึ แทนสะพาน ณ ทสี่ ะพานกลปอ้ มคา่ ย
เรื่องเมืองพระตะบองและนครจ�ำปาศักดิ์ ท�ำให้วัตถุดิบที่ เป็นสายท่ีสอง

60 หนงั สือทร่ี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

ขอแทรกเรือ่ งไวต้ รงน้สี กั นิด คอื เม่ือการสร้างถนน เทพหสั ดนิ ทรเสรจ็ และไดท้ ำ� พธิ เี ปดิ เปน็ ทางการเมอ่ื วนั ที่
แทนสะพานไดผ้ า่ นพน้ บา้ นนายสำ� เภา นริ มล ทก่ี ลา่ วแลว้ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๔ แล้ว แต่นั้นมาเรือกลไฟ
ไดม้ ผี ชู้ อบพอกบั นายสำ� เภาไปเยยี่ มเยยี น นายสำ� เภาไดพ้ ดู เรอื ฉลอมทะเลและเรอื ทเ่ี ดนิ รบั สง่ คนตามตำ� บลกห็ ายหนา้
ปรารภให้ฟงั ว่า “แก่แลว้ ไปไหนไม่ไหว แต่เม่ือไดน้ ง่ั เยย่ี ม เข้ากลีบเมฆไปหมด ไม่มีเหลือเลย และการสร้างบ้านใน
หนา้ ตา่ งมองดคู นเดนิ ผา่ นไปมาทถ่ี นนหนา้ บา้ นอนั ตนไดม้ ี ทะเลก็หยุดชะงักลง หันกลับไปสร้างบ้านอยู่ทางด้าน
สว่ นชว่ ยสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ขน้ึ แลว้ ใหร้ สู้ กึ ปลมื้ ปตี ยิ นิ ดปี ระดจุ บนบกมากขึ้น เพราะเป็นสมยั ใชร้ ถยนต์
ว่าได้ข้ึนสวรรค์ท้ังเป็น” ทั้งนี้เป็นการแสดงให้เห็นว่า ผู้ท่ี ต่อไปจะได้เล่าถึงสภาพของบ้านเรือนทางด้าน
ต้ังใจสร้างความดีย่อมได้รับผลเป็นความสุขใจเห็นปาน บนบกและการววิ ฒั นาการใหท้ ราบ ในระหวา่ งหอ้ งแถวฝง่ั
ฉะนี้ ตะวันออกของถนนวชิรปราการ มีทางเดินไปสู่ด้านหลัง
ตอ่ มาราว พ.ศ. 2495 นายเย เจรญิ ผล ได้บรจิ าค เปน็ ระยะๆ ไปเรียกว่าตรอก มีชือ่ ต่างๆ กันดังทเ่ี ห็นอยใู่ น
เงินส่วนใหญ่ร่วมกับบรรดาชาวบ้านท่ีอยู่สะพานศรีนิคม เวลาน้ี เพราะในสมัยก่อนตรอกทุกๆ ตรอกมีความกว้าง
จดั การซอื้ หนิ ซเี มนต์ ทรายฯ มอบใหเ้ ทศบาลจดั การสรา้ ง เพียงเล็กน้อย ไม่มีตรอกใดมีความกว้างพอท่ีจะเรียกเป็น
ถนนข้นึ ที่สะพานศรนี ิคมบ้าง นับวา่ เป็นถนนซอยท่ี ๓ ถนนได้เลยสกั แห่งเดียว แมแ้ ตถ่ นนอัคนวิ าตซ่ึงเราแลเห็น
ต่อจากน้ันมา บรรดาคหบดีซ่ึงมีบ้านเรือนอยู่ตาม เช่ือมติดกับถนนวชิรปราการซ่ึงอยู่ระหว่างธนาคาร
สะพานตา่ งๆ กไ็ ดบ้ รจิ าคเงนิ รว่ มดว้ ยชาวสะพานนน้ั ๆ ซอ้ื ศรอี ยธุ ยากบั ธนาคารออมสนิ วา่ กวา้ งมากนน้ั แตเ่ ดมิ กเ็ ปน็
อิฐ ปนู ทราย ดนิ ใหเ้ ทศบาลจดั การก่อเขอ่ื นกันดินข้นึ ที่ ของเอกชนมีต้นมะขามใหญ่หนึ่งต้น เจ้าของใช้เป็นท่า
สะพานของตนบา้ ง คอื ทส่ี ะพานเสรมิ สนั ติ สะพานคกู ำ� พล รับซ้ือไม้ซุงไว้ขาย ต่อมาได้ปลูกเป็นห้องแถว ๓ ห้อง
สะพานทา่ เรอื พลฯี เปน็ ลำ� ดบั ไป ซง่ึ ตอ่ มาเมอื่ พ.ศ. ๒๕๐๖ หันหน้าออกทางถนนวชิรปราการ คงเหลือทางเดินทาง
เทศบาลเมอื งชลฯ กไ็ ดเ้ ปลยี่ นเรยี กคำ� วา่ สะพานเปน็ คำ� วา่ ด้านธนาคารศรอี ยธุ ยาประมาณ ๔ เมตรเท่าน้นั
“ถนนซอย” แทน ในตรอกต่างๆ น้ีมีบ้านเรือนปลูกอยู่ประปราย
ขอเลา่ ถงึ ความเปลย่ี นแปลงทางดา้ นทะเลใหต้ ดิ ตอ่ บ้านหนึ่งๆ มีเน้ือที่ว่างเป็นบริเวณมาก ถ้าเดินเข้าตรอก
กันจนจบเร่ืองไปเสียตอนหน่ึง คือสมัยที่ยังไม่มีการสร้าง ต้นจันทร์ทางด้านถนนวชิรปราการไปจนถึงถนนที่ๆ เป็น
ถนนสขุ มุ วทิ ตอ่ จากจงั หวดั สมทุ รปราการมาชลบรุ นี น้ั ไดม้ ี ถนนเจตน์จ�ำนงค์ในเวลาน้ี จะถึงขอบหนอง ด้านใต้ของ
เรอื กลไฟเดนิ รบั สง่ สนิ คา้ และรบั คนโดยสารระหวา่ งชลบรุ ี หนองต้นโพธ์ิพอดี หนองนี้มีความยาวมาก ขอบหนอง
กับกรุงเทพฯ อยู่ถึง ๕ ล�ำ มีก�ำหนดออกจากชลบุรีมา ด้านเหนือจดถนนโพธ์ิทองตรงมุมวัดก�ำแพง ขอบของ
กรุงเทพฯ และกรุงเทพฯ - ชลบุรี สวนทางกันทุกๆ วัน หนองด้านน้ีมีต้นโพธิ์อยู่ต้นหนึ่ง ชาวบ้านจึงเรียกหนองน้ี
และมีเรือฉลอมทะเลขนาดใหญ่ ส�ำหรับบรรทุกสินค้า ว่าหนองต้นโพธ์ิ ทิศตะวันออกของขอบหนองติดเข่ือน
น�้ำตาลทรายแดง ข้าว ปลา อ่ืนๆ ไปยังกรุงเทพฯ และ วดั นอก และโรงเจตลอดแนวมาจนถงึ ธนาคารเอเซยี จำ� กดั
จังหวัดอ่ืนๆ อีกมากมาย และมีเรือโดยสารเดินรับส่งคน ส่วนขอบหนองด้านตะวันตกติดท่ีของเอกชนและติดหลัง
ต่างต�ำบลก็มาก คร้ันเม่ือถนนสุขุมวิทตัดผ่านไปถึงชลบุรี โรงตม้ กลนั่ สรุ าดงั้ เดมิ ของรฐั บาล ตวั หนองจงึ มคี วามกวา้ ง
แล้ว แต่ยังไม่มีการสร้างสะพานเทพหัสดินทรข้ามแม่น�้ำ รวมท้ังขอบหนองราว ๔๐ เมตร จากขอบหนองต้นโพธ์ิ
บางปะกง บรรดาเรือกลไฟและเรือฉลอมทะเลก็เร่ิมลด ดา้ นเหนือเมือ่ ข้ามถนนโพธิท์ องไปแลว้ เป็นทวี่ า่ งเปลา่ ซ่งึ
น้อยลงเป็นล�ำดับอย่างรวดเร็ว เพราะมีการส่งสินค้าเข้า อยรู่ ะหวา่ งแนวกำ� แพงของวดั กำ� แพงและวดั กลางดา้ นหนงึ่
กรุงเทพฯ กนั ทางรถยนตไ์ ดม้ ากขึ้น ส่วนคนท่มี ธี ุระติดตอ่ และแนวเขื่อนของวัดเครือวัลย์ วัดราษฎร์บ�ำรุง อีกด้าน
กบั กรงุ เทพฯ หรอื ตดิ ตอ่ บางปะกงและทอี่ น่ื ๆ กใ็ ชโ้ ดยสาร หนงึ่ มคี วามกวา้ งมาก แตเ่ ปน็ ทลี่ มุ่ ใชเ้ ปน็ ทางเกวยี นตรงไป
รถยนต์แทนนั่งเรือดังแต่ก่อน ครั้นเมื่อสร้างสะพาน ทางบ้านโขดทางหนึ่ง และมีทางเกวียนแยกออกไปทาง

หนงั สือที่ระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 61

ตะวนั ออก ซงึ่ อยรู่ ะหวา่ งเขอ่ื นของวดั ราษฎรบ์ ำ� รงุ กบั เขอื่ น น้ันใช้เดินตามหัวคันนาและทางเกวียนเป็นส่วนมาก ถ้า
ของวัดเครือวัลย์ ซ่ึงสมัยก่อนเข่ือนของทั้งสองวัดอยู่ห่าง สามารถติดต่อกันทางเรือเป็นการสะดวกก็ใช้เรือดังได้
กนั ทางเกวยี นเสน้ นจี้ ะตรงไปขา้ งเขานอ้ ย เมอื่ พน้ จากแนว กล่าวมาแล้วแต่ตอนต้น มีถนนท่ีใช้ติดต่อกับต�ำบลและ
ของหนองและท่ีว่างที่กล่าวแล้ว ทางด้านตะวันออกก็จะ อ�ำเภอเปน็ เสน้ ตรงท่ีขึ้นหนา้ ขน้ึ ตาเพียงสายเดยี ว คอื สาย
เป็นแนวของวัดต่างๆ เกือบทั้งน้ัน จากด้านเหนือมาใต้ ระหว่างชลบุรีกับพนัสนิคมถนนสายน้ีไม่ทราบว่าใครด�ำริ
เรม่ิ ดว้ ยวดั ราษฎรบ์ ำ� รงุ - วดั เครอื วลั ย์ - วดั นอก - โรงเจ - สร้างไวแ้ ต่ครง้ั ใด มฐี านกว้างราว ๒.๕ เมตร ส่วนบนกว้าง
หม่บู า้ นโรงนำ�้ มนั - วัดโรมนั คาธอลิก - วัดใหม่ - วัดใหญ่ฯ ๒ เมตร แต่บางตอนก็แคบ และมีหลายแห่งท่ีถนนถูก
- วัดต้นสน และวัดเนินฯ ตามลำ� ดับ เมื่อพ้นหลังวัดและ ตดั ขาดออกจากกนั เพอ่ื ให้น�้ำสองขา้ งทางไหล
หมบู่ า้ นทกี่ ลา่ วมาแลว้ จะเปน็ ทงุ่ นาตลอด ซง่ึ คนในตวั เมอื ง ถงึ กนั ได้ เมอ่ื สมยั ทย่ี งั ไมม่ รี ถยนตเ์ ดนิ รบั คนโดยสาร
ชลบุรีได้ใช้เปน็ สถานทพ่ี ักผ่อน นงั่ รับลมเยน็ ๆ ในฤดรู อ้ น ไดม้ พี วกจนี ตง้ั กองคาราวานขน้ึ ราว ๔๐ คน โดยใชเ้ ขง่ ใหญ่
และชมวา่ วจฬุ า-วา่ วปกั เปา้ ขนาดใหญค่ วา้ พนนั กนั ดงั เชน่ ปากกวา้ งขนาดผ่าศูนยก์ ลาง ๑ เมตร ใชเ้ ชือกผกู ปากเขง่
ทเี่ หน็ ทสี่ นามหลวงในกรงุ เทพฯ ปจั จบุ นั นี้ เทา่ ทไ่ี ดบ้ รรยาย ๒ ใบ แล้วใช้ไม้คานหาบสินค้า เช่น ของป่า และผักจาก
ภาพมาแล้ว ท่านผู้อ่านคงจะเห็นได้ว่าด้านหลังของห้อง ตลาดพนสั นิคมมาขายท่ตี ลาดชลบรุ ี แลว้ ซือ้ ปลานงึ่ ปลา
แถวฝั่งตะวันออกของถนนวชิรปราการนั้นมีผู้คนและ เค็ม และของอื่นท่ีทางพนัสนิคมต้องการหาบกลับไปขาย
บา้ นเรอื นอยนู่ อ้ ยมาก เพราะเหตวุ า่ ประชาชนสว่ นใหญไ่ ด้ แต่เนื่องด้วยระยะทางนี้ไกลกว่า ๒๔ กิโลเมตร ต้องเดิน
พากันไปสร้างบ้านเรือนอยู่ในทะเลดังที่ได้เล่าไว้แล้วใน ทางกันหลายช่ัวโมง จะเดินทางกลับในวันเดียวไม่ทัน
ตอนตน้ กองคาราวานน้ีจึงแบง่ ออกเป็น ๒ พวกๆ ละ ๒0 คน หาบ
ประโยชน์ของหนองต้นโพธิ์ในสมัยน้ันมีอยู่มาก สวนทางกันไปเป็นหมู่ทุกวัน และเม่ือทางท่ีว่าการอ�ำเภอ
เหมอื นกนั คอื เปน็ ทรี่ บั นำ�้ ในฤดฝู นซงึ่ นำ้� ไดไ้ หล จากทงุ่ นา พนัสนิคมจะน�ำเงินมาส่งคลัง (เงินเหรียญบาท) หรือ
ลงมาตามรอ่ งระหวา่ งเขอ่ื นของวดั นอกกบั เขอ่ื นของโรงเจ เบกิ เงนิ แบบฟอรม์ เครอื่ งเขยี นตา่ งๆ กไ็ ดอ้ าศยั จา้ งพวกนี้
เมอื่ นำ้� ในหนองมรี ะดบั สงู ขน้ึ กจ็ ะไหลลอดใตถ้ นนโพธทิ์ อง หาบ สว่ นตวั เจา้ พนกั งาน และตำ� รวจนนั้ ไดข้ ม่ี า้ ควบคมุ มา
ลงสู่ท่ีราบลุ่ม แล้วไหลตามทางเกวียนไปลงยังคลองบ้าน สินค้าส�ำคัญของเมืองชลบุรึในสมัยก่อนนอกจาก
โขด ประโยชน์ส�ำคัญอีกอย่างหน่ึงก็คือ สมัยก่อนคนท่ีตั้ง ปลา หอยและขา้ วแลว้ ยงั มนี ำ�้ ตาลทรายแดงอกี อยา่ งหนงึ่
บา้ นเรอื นอยบู่ นบกนนั้ มคี วามลำ� บากในเรอื่ งทร่ี บั ประทาน ซึ่งนับว่าเปน็ สินคา้ หลกั ทท่ี �ำเงนิ ให้มาก เม่อื ถึงฤดหู ีบอ้อย
อมิ่ แลว้ เกดิ ความทกุ ขข์ นึ้ หาทเี่ ปลอื้ งทกุ ขไ์ ดย้ าก เพราะยงั บรรดาเจ้าของโรงหีบจะให้บรรดาเจ้าของเกวียนซ่ึงตกลง
ไม่มีบรษิ ัทรับจา้ งตั้งถังถ่ายเทหรอื ทำ� สว้ มซมึ ดงั นน้ั คนท่ี จ้างกันไว้แล้วบรรทุกน�้ำตาลทรายแดงที่หีบได้บรรจุ
อยู่ทางด้านเหนือจึงร่วมใจกันสร้างห้องเล็กๆ ขนาดกว้าง กระสอบกก เกวียนละ 1๓ กระสอบ กระสอบหน่ึงมี
๑ เมตร ๒๕ เซนติแตร เปน็ รูปส่เี หลี่ยมขน้ึ ๒ แถวๆ หน่ึง นำ้� หนัก ๖๐ กิโลกรัม มาส่งใหน้ ายทนุ (เกยี๋ วจ๊)ู ยงั ตลาด
ประมาณ 1๐ ห้อง ฝาก้ันกลางระหว่างห้องสูงพอน่ังลง ในตวั เมอื งชลฯ ดงั นน้ั เมอื่ ถงึ ฤดหู บี ออ้ ยพอเชา้ ตรกู่ ม็ เี กวยี น
แล้วมองไม่เห็นหน้ากันส�ำหรับเป็นที่ปลดทุกข์ของชาย 1 บรรทกุ นำ�้ ตาลทรายแดงมาจอดในวดั กลาง (ซง่ึ เวลานน้ั ยงั
แถว และหญิง 1 แถว หอ้ งที่กลา่ วนไี้ ด้สรา้ งล�้ำลงในหนอง เป็นท่วี ่าง) วดั ก�ำแพง หน้าและหลงั ศาลเจา้ กว๊ น ท่วี า่ งใน
ดา้ นตะวนั ตก สว่ นพวกทมี่ บี า้ นเรอื นอยทู่ างดา้ นใตก้ ท็ ำ� เชน่ บริเวณตรอกโรงหมูและอื่นๆ ต่อไปทางทิศใต้เต็มไปหมด
เดยี วกนั คอื สรา้ งห้องเลก็ ๆ ข้ึน ๒ แถว ลำ�้ ลงในหนองทาง บรรดานายทุนจะส่งคนเอาเหล็กแหลมออกไปแทง
ด้านใต้ของโรงเจและปลาท่ีอยู่ในหนองน้ีเป็นจ�ำนวนมาก กระสอบเอาน้�ำตาลออกมากองใส่กะบะน้�ำตาลเพ่ือเป็น
กไ็ ด้ชว่ ยกันท�ำกล่ินของหนองตน้ โพธ์ิลดนอ้ ยลงได้มาก ตวั อยา่ ง เพอ่ื ไดท้ ราบวา่ นำ้� ตาลทส่ี ง่ มานน้ั มสี สี วยหรอื เปน็
ส่วนการคมนาคมติดต่อกับตามต�ำบลหรืออ�ำเภอ น้�ำตาลชนิดเลวขนาดไหน แล้ววางกะบะน้�ำตาลไว้ตาม

62 หนังสือท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

หนา้ รา้ น เพอ่ื ใหบ้ รรดาพอ่ คา้ ทมี่ เี รอื ฉลอมไดซ้ อ้ื ไปจำ� หนา่ ย ฝง่ั ซ้ายมาทางอ�ำเภอพนัสนคิ ม แลว้ สรา้ งถนนทับเสน้ ทาง
ที่กรุงเทพฯ และตามจังหวัดอ่ืนๆ ถ้าไม่มีผู้ซ้ือหรือผู้ซื้อ เก่ามาจนถึงตัวเมืองชลบุรี ราว พ.ศ. ๒๔๗๔ ถนนสายน้ี
ตกลงราคากันไม่ได้ ก็จัดการส่งลงเรือกลไฟไปให้ชาวแพ มชี ่ือว่า “ถนนสาย 2๒” นับว่าเมืองชลบุรีมีถนนเชอื่ มกับ
ซ่ึงเป็นนายหน้าขายน้�ำตาลที่กรุงเทพฯ ขายต่อไป ดังน้ัน จงั หวดั อนื่ เปน็ ครงั้ แรก และตอ่ มารฐั บาลไดใ้ หส้ มั ปทานแก่
ในตอนเชา้ จงึ มคี นทำ� งานกนั ขวกั ไขว่ โดยทพ่ี วกเกวยี นเมอ่ื บรษิ ทั ขนสง่ นำ� รถมาเดนิ รบั คนโดยสารไปมาระหวา่ งชลบรุ ี
ได้รับค่าจ้างบรรทุกแล้วก็ออกเดินเที่ยวหาซื้อของตามที่ - ฉะเชิงเทราวันละหลายเท่ียว เป็นอนั วา่ ผทู้ ี่น�ำรถมาเดนิ
ต้องการ ส่วนนายทุนก็จัดการให้กุลี (จับกัง) ซึ่งเป็นชาว รบั คนโดยสารระหวา่ งชลบรุ ี - พนสั นคิ มอยกู่ อ่ นตอ้ งเลกิ ลม้
จีนจัดการเอาน้�ำตาลลงจากเกวียน แล้วจัดของท่ีทางโรง กิจการไปทั้งยังเป็นเหตุให้รถโดยสารที่เดินระหว่างชลบุรี
หีบต้องการ เช่น กระสอบกก เชือกปอ ปูนขาว ข้าวสาร - บางปะกงฝั่งซ้าย มีผู้โดยสารลดน้อยลงมากเพราะตาม
และอาหารต่างๆ ขึ้นบรรทุกเกวียนให้พวกเกวียนได้รีบ ปกติคนโดยสารเหล่านี้มุ่งไปลงเรือเมล์เล็กเพ่ือต่อไปยัง
กลบั เพ่อื วันรุง่ ขึ้นจะไดน้ ำ� น้ำ� ตาลมาส่งใหอ้ ีก ฉะเชงิ เทรา จงึ ในท่สี ุดก็ต้องเลกิ กจิ การไปด้วย
ต่อมาถึงสมัยท่พี ระยาสจั จาภิรมย์ (สรวง ศรีเพ็ญ) เม่อื รัฐบาลได้สรา้ งถนนสาย ๒2 เสรจ็ แลว้ รฐั บาล
มาเป็นผวู้ า่ ราชการจังหวดั ชลบรุ ี (ธ.ค. ๒๔๖๒ - ๑ ธ.ค. ยงั ไดม้ โี ครงการสรา้ งถนนสายเลยี บชายทะเล ฝง่ั ตะวนั ออก
2471) ได้อนุญาตให้นายกิมเล้ง วิวัฒน์วานิชกับพวกน�ำ เริ่มต้นจากจังหวัดสมุทรปราการผ่านมาทางคลองด่าน -
รถยนต์ฟอร์ดมาเดินรับส่งคนโดยสารระหว่างชลบุรี- บางปะกง - ชลบรุ ี ไปจนถงึ สตั หีบ อนั เปน็ ท่ตี ้ังกองทพั เรอื
พนัสนิคม ในถนนที่มีอยู่แล้วเป็นเพียงต้องปรับหน้าถนน อกี ดว้ ย ในการท่จี ะสรา้ งทางสายนที้ างกองทพั เรอื มคี วาม
และเสริมเส้นทางบางตอนให้กว้างขึ้น แล้วใช้ต้นตาลตัด ต้องการใหถ้ นนระยะเมอื งชลบุรี - สตั หบี ได้ส�ำเรจ็ ขึน้ ใน
เป็นท่อนแล้วผ่าซีกขุดไส้กลางออกให้เป็นร่อง น�ำมาพาด เร็ววนั กอ่ น เพื่อจะได้ใชร้ ถยนตว์ งิ่ จากสัตหบี ผ่านชลบุรีไป
ตามชอ่ งถนนทข่ี าดใหม้ รี ะยะหา่ งพอดกี บั ชว่ งของลอ้ รถทง้ั ยงั ฉะเชงิ เทรา ขน้ึ รถไฟไปถงึ กรงุ เทพฯ เพยี งเวลา ๖ ชวั่ โมง
สองข้าง เมื่อเร่ิมออกเดินรถรับส่งคนโดยสารได้ราว พ.ศ. เท่าน้ันเป็นการสะดวกในการท่ีจะติดต่อการงานกับทาง
๒๔๖๕ นับเป็นรถยนต์โดยสารสายแรกท่ีมีขึ้นในจังหวัด กรงุ เทพฯ ไดร้ วดเรว็ ดงั นนั้ ทางกองทพั เรอื จงึ ไดเ้ จรจากบั
ชลบุรี แต่ทว่ารถวิ่งได้ช้ามาก เน่ืองจากยังไม่รู้วิธีการใช้ รัฐบาลของบประมาณมาสร้างทางตอนนี้เสียเอง ซึ่งกรม
ลูกรังมาถมหน้าถนน เป็นแต่เพียงขุดดินในท้องนามาถม ทางได้กรุยทางไว้เสร็จแล้ว โดยกองทัพเรือได้มอบหน้าที่
เม่อื รถเดนิ เข้าจงึ เกิดร่องลึกตามรอยของลอ้ ท�ำใหร้ ถตอ้ ง ให้นายทหารเรือผู้หนึ่ง ซ่ึงมียศในเวลาน้ันว่า ร.ท. คล้อย
วิง่ ไปตามร่องนัน้ ประกอบกับต้องระวังตอนว่ิงให้ตรงรอ่ ง มหาสคุ นธ์ ร.น. มหี นา้ ทคี่ วบคมุ งานกอ่ สรา้ ง และเรมิ่ ลงมอื
ของต้นตาลท่ีพาดร่องน้�ำด้วย กว่ารถจะเดินถึงพนัสฯ ก็ สรา้ งราว พ.ศ. ๒๔๗๖ โดยสร้างจากตัวเมืองชลบรุ ไี ปทาง
หยดุ เตมิ นำ�้ มนั ถงึ ๒ ครง้ั ๆ ละนานๆ ตอ่ จากนนั้ มาชวั่ ระยะ สัตหีบ เป็นอันว่าในตัวเมืองชลบุรีได้มีถนนสายใหญ่เพ่ิม
๒ ปกี ็เกดิ มีรถยนตข์ องเอกชนเดนิ รบั สง่ คนโดยสารขึ้นอกี ข้ึนเป็นสายท่ี ๒ ซ่ึงเม่ือทางสายน้ีเสร็จเรียบร้อยแล้วมี
หลายสาย โดยเดินรถอ้อมไปตามทางเกวียนและขอผ่าน ชอ่ื วา่ “ถนนสขุ มุ วทิ ” และมรี ถของบรษิ ทั ขนสง่ มาเดนิ รบั
ท่ีดินของเอกชนโดยการเช่าหรือให้ข้ึนรถฟรีท้ังครอบครัว คนโดยสาร เจ้าของรถที่ได้สร้างทางของตนเองเดินรถ
สายหนง่ึ ไปทางขา้ งเขานอ้ ย - ศาลาคู่ - สำ� นกั บก - มาบไผ่ ระหว่างชลบุรี - ศรรี าชา - นาเกลือ อย่กู อ่ นจงึ ตอ้ งเลิกไป
- ตลาดบา้ นบงึ อีกสายหนงึ่ ผ่านทางต�ำบลหนองรี - ตลาด หมด สว่ นรถโดยสารของเอกชนซง่ึ เดนิ ระหวา่ งตวั เมอื งกบั
บ้านบึง อีก ๒ สายผา่ นข้างวดั เสม็ด - แสนสขุ - ตลาดเกา่ อ�ำเภอบ้านบึงน้ันได้เลิกไปภายหลังทางราชการได้สร้าง
บางพระ - ศรรี าชา แตบ่ างตอนทางแยกกนั คนละทาง และ ทางหลวงจังหวดั สายบา้ นบงึ ข้นึ ดงั ทเี่ ห็นอยู่ในเวลานี้ ได้
อกี สายหนง่ึ ผา่ นคลองตำ� หรไุ ปตำ� บลบางปะกงฝง่ั ซา้ ย ตอ่ มา บรรยายสภาพของตัวเมืองชลบุรีสมัยก่อนให้ผู้อ่านได้
รฐั บาลไดส้ รา้ งถนนเชอ่ื มจงั หวดั เรมิ่ แตต่ วั เมอื งฉะเชงิ เทรา ทราบไว้พอเป็นเคร่ืองเปรียบเทียบแล้ว ต่อไปน้ีจะได้เล่า

หนังสอื ที่ระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 63

ถึงการตัดถนนในตัวเมืองให้ทราบต่อไป แต่ควรจะได้เล่า ทา่ นปรึกษาหารอื กันดวู ่า ควรจะใชเ้ งนิ ทีร่ ฐั บาลมอบใหน้ ี้
ถึงการตั้งเทศบาลเมืองชลบุรีไว้ด้วยเพราะการตัดถนน ในทางใดบ้าง เพ่ือให้เกิดประโยชน์ก่อนและหลังอันจะ
ตา่ งๆ ท่จี ะกลา่ วถึงลว้ นเป็นงานของเทศบาลเกือบทั้งสนิ้ ทำ� ให้ท้องถิน่ ของทา่ นเจริญ
แตเ่ ดมิ มาไดม้ ปี ระชาชนทวั่ ๆ ไปไดบ้ น่ กนั วา่ รฐั บาล ในระยะเรม่ิ ตน้ นตี้ ามพระราชบญั ญตั กิ ำ� หนดใหผ้ วู้ า่
เก็บภาษีอากรไปแล้วก็น�ำเอาไปใช้บ�ำรุงแต่ในจังหวัด ราชการจงั หวดั เปน็ ผแู้ ตง่ ตง้ั สมาชกิ เทศบาลขนึ้ ดำ� เนนิ การ

สี่แยกเฉลิมไทยในอดตี คณะสมาชิกสภาเทศบาลเมอื งชลบรุ ี

พระนครแหง่ เดียวหาไดแ้ บ่งเงินเอาไวใ้ ช้บ�ำรุงท้องถิ่นบ้าง ก่อนมีก�ำหนด ๑ ปี ต่อจากน้ันไปจึงให้มีการเลือกต้ังโดย
ทอ้ งถน่ิ ตา่ งๆ จงึ ไมเ่ จรญิ ขน้ึ ได้ เสยี งบน่ นไ้ี ดป้ รากฏในหนา้ ราษฎร ดังน้ันพระยาศรีมหาเกษตร (ชวน สมุทรานนท์)
หนังสือพิมพ์บ่อยครั้ง ต่อมารัฐบาลจึงได้ประกาศใช้ ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรีในเวลานั้นจึงได้แต่งตั้งสมาชิก
พระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พุทธศักราช ๒๔๗๖ สภาเทศบาลเมืองชลบุรีขึ้น ๑๘ นาย ในจ�ำนวนนี้มีสตรี
ข้ึนเป็นคร้ังแรก ท้ังนี้เป็นท�ำนองว่า ต่อไปนี้รัฐบาลจะได้ รวมอยู่ดว้ ย ๒ นาง คือ นางเวียน สรุ ภาพ กบั นางเปรื่อง
จัดแบ่งเงินไว้ให้ใช้บ�ำรุงท้องถิ่น ตามมากและน้อย ขอให้ เชี่ยวเวช และได้ท�ำพิธีเปิดเทศบาลเมืองชลบุรีขึ้นเป็น
คร้ังแรก เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒478 โดยใช้
สถานทซี่ ง่ึ ทางราชการสรา้ งขน้ึ เพอื่ เปน็ ทอี่ อกสลากกนิ แบง่
ของจังหวัดชลบุรีคร้ังหนึ่ง เป็นศาลาเทศบาลเมืองชลบุรี
สถานท่ีนี้ต้ังอยูท่ างทศิ ตะวนั ตกของโรงเรยี นอนุบาล และ
ต้ังให้หลวงธ�ำรงค์ ธุระราษฎร์ (ทองอยู่ กนะกาศัย) เป็น
นายกเทศมนตรเี ทศบาลเมอื งชลบรุ เี ปน็ คนแรก และตงั้ ให้
นายสรอย จันทถริ ะ กับ นายสุรชยั คมั ภรี ญาณนนท์ เปน็
เทศมนตรี และรบั โอนเอากจิ การของสขุ าภบิ าลเมอื งชลบรุ ี
ทั้งหมดมาเป็นของเทศบาล มีโรงไฟฟ้า โรงพยาบาล
เป็นต้น หลวงธ�ำรงค์ฯ รับหน้าที่นายกเทศมนตรีอยู่จวน
ครบคร่ึงปี ทางการยังมิได้ประกาศเลือกตั้งสมาชิกสภา
เทศบาลชดุ ใหมเ่ ขา้ มารบั หนา้ ทแี่ ทน หลวงธำ� รงคฯ์ กไ็ ดล้ า
ออกเสยี กอ่ นเพราะปว่ ย พระศรนี ครคาม (แชม่ สทุ ธพนิ ท)ุ
รถโดยสาร ชลบรุ ี หนองมน ศรีราชา ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั คนใหม่ จงึ แตง่ ตงั้ ใหห้ ลวงบำ� รงุ ราชนยิ ม
ภาพถ่ายเมอ่ื 23 พฤศจกิ ายน 2482

64 หนงั สอื ทร่ี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

(สญู สงิ คาลวณิช) เปน็ นายกเทศมนตรแี ทน ต่อมาไมน่ าน อตั รา ๑๒ ชกั ๑ คอื โรงเรอื นใดทเี่ จา้ ของเกบ็ คา่ เชา่ ไดค้ รบ
นกั ทางราชการกไ็ ดป้ ระกาศวา่ ผใู้ ดมคี วามประสงคจ์ ะเปน็ ๑๒ เดือน ต้องเสียภาษีตามราคาค่าเช่าเพียง ๑ เดือน
สมาชิกสภาเทศบาลเมืองชลบุรีก็ให้ย่ืนใบสมัคร ซ่ึงหลวง (แต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นภาษีในอัตราค่าเช่า 1 เดือนครึ่ง)
บ�ำรุงราชนิยมก็ได้ย่ืนสมัครผู้หนึ่งและเม่ือได้รับเลือกตั้ง แต่รายจ่ายที่จ�ำเป็นอย่างรีบด่วนมีมาก ดังนั้น เม่ือหลวง
เปน็ สมาชกิ แลว้ กไ็ ดร้ บั เลอื กจากสภาเทศบาลใหเ้ ปน็ นายก บ�ำรุงราชนิยมได้รับเลือกเป็นนายกเทศมนตรีจากสภา
เทศมนตรีต่อมาอีกจนหมดสมัย เป็นเวลาอีก 4 ปี (พ.ศ. แล้วจึงได้แถลงนโยบายให้ท่ีประชุมทราบเป็นใจความว่า
2479 - 14 พฤษภาคม 2483) และไม่ย่ืนสมัครเป็น ในขน้ั แรกนไี้ ดก้ ะโครงการไวว้ า่ จะตอ้ งสรา้ งขยายตวั ศาลา
สมาชิกสภาเทศบาลต่ออกี เทศบาลออกไปใหม้ สี ถานทเ่ี พยี งพอแกค่ วามตอ้ งการของ
ในสมยั ทต่ี อ้ งมกี ารเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาเทศบาลโดย เจ้าหน้าท่ีแผนกต่างๆ และหาสถานท่ีจัดสร้างโรงเรียนให้
ราษฎรเปน็ ครง้ั แรกนเ้ี อง ผเู้ ขยี นจงึ ไดส้ มคั รเปน็ ผรู้ บั เลอื ก เด็กๆ ในเขตเทศบาลได้เข้าเรียนตามพระราชบัญญัติจัด
ตั้งดว้ ยผหู้ น่งึ ท้งั นก้ี เ็ พ่ือจะไดเ้ ขา้ รว่ มการปรกึ ษาหารอื ใน ระเบียบเทศบาล (ฉบับแรก) ซึ่งกำ� หนดหน้าทใ่ี ห้เทศบาล
กิจการของเทศบาลให้ด�ำเนินไปด้วยดี ซึ่งผู้เขียนก็ได้รับ ต้องจัดท�ำและจะได้จัดวางแนวทางเดินหน้าห้องแถว
เลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลเมืองชลบุรีติดต่อกันมา (ฟตุ บาท) ใหม้ รี ะดบั สงู ตำ่� และยนื่ ออกไปใหเ้ สมอเปน็ แนว
หลายสมยั เปน็ เวลา ๑๖ ปเี ตม็ (พ.ศ.๒๔๘๐ - ๑๐ มถิ นุ ายน เดียวกันซ่ึงจะท�ำให้น่าดูขึ้น ท้ังจะได้สร้างท่อรับน�้ำจาก
๒4๙๖) จงึ ไดเ้ ลกิ สมคั ร เพราะเหน็ วา่ ตวั เองมอี ายมุ ากแลว้ หอ้ งแถวฝง่ั บนลงสทู่ ะเล จดั การถมหนิ และลาดยางในถนน
ในระหว่างท่ีผู้เขียนเป็นสมาชิกสภาเทศบาลเมือง (วชิรปราการ) จนตลอดสาย แต่เม่ือได้ดูตัวเลขรายได้
ชลบุรีอยู่นั้น สภาเทศบาลได้เลือกต้ังให้ผู้เขียนเป็น ประจ�ำปีของเทศบาลและตัวเลขรายจ่ายประจ�ำแล้วเห็น
วา่ เหลอื เงนิ ทจี่ ะใชจ้ า่ ยเปน็ การจรนอ้ ยมาก จงึ รสู้ กึ หนกั ใจ
ว่างานทกี่ ะท�ำไว้จะไม่กา้ วหนา้ ไปรวดเร็วดังใจ เพราะขาด
ก�ำลังเงิน เม่ือที่ประชุมได้รับทราบนโยบายและเห็นชอบ
ดว้ ยแลว้ หลวงบำ� รงุ ราชนยิ มกไ็ ดล้ งมอื จดั ทำ� งานไปตามท่ี
ไดแ้ ถลงไว้ คอื มกี ารสรา้ งตอ่ เตมิ ศาลาเทศบาล สรา้ งทอ่ รบั
นำ�้ ของถนนฝง่ั บนตลอดสาย วางแนวและปรบั ทางเดนิ เทา้
๒ ฟากถนนให้มรี ะเบียบเหมอื นกนั หาที่จดั สร้างโรงเรยี น
ของเทศบาล ซึ่งได้ตกลงสร้างแทนที่ศาลาหลังเก่าของ
วัดใหญ่อินทารามซึ่งทรุดโทรมมากจนไม่สามารถที่จะใช้
การไดแ้ ลว้ แตท่ วา่ ศาลาหลงั นส้ี รา้ งหนา้ จว่ั ไวแ้ ปลกกวา่ ที่
คณะสมาชกิ สภาเทศบาลเมอื งชลบรุ ี อน่ื ๆ กรมศลิ ปากรจงึ ขน้ึ ทะเบยี นเปน็ โบราณวตั ถไุ ว้ ดงั นนั้

กรรมการรา่ งเทศบญั ญตั งิ บประมาณดว้ ยผหู้ นงึ่ และไดร้ บั กอ่ นจะไดส้ รา้ งจงึ ไดท้ ำ� การตกลงกนั วา่ ใหส้ รา้ งหนา้ จวั่ ตาม
หนา้ ที่นี้ตลอดมาทุกสมัย ตลอดเวลาทีผ่ ู้เขยี น เป็นสมาชิก รูปของเดิม และเมื่อสร้างแล้วทางวัดยินยอมให้ใช้เป็น
สภาเทศบาลอยู่นั้น ผู้เป็นสมาชิกมิได้มีเงินเดือนหรือ โรงเรยี นของเทศบาลดว้ ย เปน็ อนั วา่ เทศบาลเมอื งชลบรุ ไี ด้
เบ้ยี ประชมุ แต่ประการใดเลย มโี รงเรยี นของเทศบาลเองข้ึน ๑ โรงเรยี น ซงึ่ จะตอ้ งมีการ
ในระยะที่ตั้งเทศบาลขึ้น ๕-๖ ปีแรกนั้น เทศบาล ตงั้ งบประมาณไวส้ ำ� หรบั ใชส้ อยในกจิ การของโรงเรยี นนขี้ นึ้
ยังมีรายได้น้อยมาก มีไม่กี่ประเภท เพราะรัฐบาลยัง ดว้ ย
พิจารณาจัดสรรแบ่งเงินให้แก่เทศบาลยังไม่เสร็จ แม้แต่ ณ ท่ีหลังศาลาเทศบาล (หลังเก่า) น้ี มีคลองและ
รายไดข้ องเทศบาลจากการเกบ็ ภาษโี รงเรอื นกเ็ กบ็ ไดเ้ พยี ง ถนนซง่ึ เรม่ิ จากทต่ี รงขา้ มหนา้ ทท่ี ำ� การไปรษณยี ์ ขนานไป

หนังสือทีร่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 65

ตามล�ำคลองจนจดชายทะเล ในเวลาน้ันคลองสายน้ีเป็น ขนานไปตามถนนสุขุมวิทเป็นจ�ำนวนนับตั้ง ๑๐๐ เมตร
ท่าเรือแห่งหนึ่งของเมืองชลบุรี ซ่ึงส่วนมาก เป็นเรือท่ีมา เศษก็ตามแต่เน้ือท่ีน้ันก็หาได้อยู่ติดกับเขตถนนสุขุมวิท
จอดคอยรับบรรทุกผลไม้ตา่ งๆ จากเกวยี นทบี่ รรทุกมาสง่ ไม่เพราะมีที่ดินของเอกชนบังหน้าอยู่ตลอดแนวถนน
ถึงเรอื เพื่อน�ำไปขายท่กี รงุ เทพฯ อยุธยา และจงั หวัดอืน่ ๆ ดังนั้น หลวงบำ� รงุ ฯ จงึ ไดไ้ ปเจรจาขอซอื้ จากเจ้าของที่นั้น
เรือบรรทุกน้�ำตาลทรายแดงมีบ้าง เวลาน้ันถนนสายนั้น เมอื่ ตกลงราคากนั แลว้ กไ็ ดบ้ รจิ าคเงนิ สว่ นตวั ชำ� ระคา่ ทด่ี นิ
ช�ำรุดมากทั้งล�ำคลองก็ตื้นเขิน หลวงบ�ำรุงฯ จึงจัดให้ซ้ือ ตลอดแนวท่ีบังหน้าทั้งหมดน้ัน แล้วยกให้เป็นสมบัติของ
ดินลูกรังมาถมถนน แล้วปรับให้แน่นจนเกวียนเดินข้ึนลง โรงพยาบาลชลบรุ ี เปน็ อนั วา่ โรงพยาบาลไดม้ ที ดี่ นิ เพมิ่ ขน้ึ
ได้สะดวก และจัดลอกล�ำคลองให้ แล้วเจรจาขอเก็บเงิน และมอี าณาเขตยนื่ ออกมาจนจดเขตถนนสขุ มุ วทิ ดงั ทเี่ หน็
จากบรรดาพวกเกวียนท่ีบรรทุกของลงไปในอัตราเกวียน อย่ใู นเวลาน้ี
ละ 25 สตางค์ เปน็ เงนิ บ�ำรุงเทศบาลซงึ่ พวกเกวยี นกจ็ า่ ย สว่ นการถมหนิ และลาดยางในถนนวชริ ปราการนน้ั
ใหด้ ว้ ยความเต็มใจ หลวงบ�ำรุงฯ ท�ำได้ส�ำเร็จเป็นบางตอน ไม่ตลอดสาย
เมอื งชลบรุ เี ปน็ เมอื งทกี่ นั ดารนำ้� ดงั ไดเ้ ลา่ ไวแ้ ลว้ แต่ เนื่องจากเทศบาลมีเงินเหลือเพื่อใช้ในการน้ีเพียงปีละ
ตอนก่อน เม่ือหลวงบำ� รุงฯ ได้ทราบว่าเวลาน้ันรัฐบาลได้ ไม่มากเท่าใด ในสมัยที่หลวงบ�ำรุงฯ เป็นนายกเทศมนตรี
มเี ครอ่ื งมอื เจาะนำ้� บาดาลไวใ้ ชแ้ ลว้ จงึ ไดข้ อใหท้ างจงั หวดั อยู่น้ัน เทศบาลได้ต้ังงบประมาณจ่ายเงินเดือนให้นายก
ติดต่อไปยังกระทรวงมหาดไทยให้จัดส่งเคร่ืองมาเจาะท่ี เทศมนตรเี ดือนละ ๘๐ บาท เทา่ นนั้ ซึ่งเมอื่ หลวงบำ� รุงฯ
เมืองชลบุรีบ้าง และได้จัดการถมที่ดินซึ่งอยู่ข้างถนน ไดเ้ ซน็ รบั แลว้ กม็ อบใหเ้ จา้ หนา้ ทผี่ หู้ นง่ึ รกั ษาไว้ แลว้ เอาเงนิ
วชิรปราการขึ้นแห่งหน่ึงเพื่อใช้เป็นท่ีเจาะบ่อน้�ำดังกล่าว เดือนนั้นจัดสร้างห้องน�้ำห้องสุขาข้ึนในด้านหลังเทศบาล
แต่เป็นท่ีน่าเสียใจที่เม่ือเจ้าหน้าท่ีมาเจาะให้ตามที่ขอไปก็ เพ่ือเป็นความสะดวกสบายแก่เจ้าหน้าท่ีเป็นอย่างดี
เจาะลงไปไดล้ กึ เพยี ง ๖ เมตร กถ็ งึ หนิ ชนดิ แขง็ (หนิ แกรไนต)์ นอกจากน้ีถ้าเทศบาลจะต้องมีการใช้จ่ายเล็กๆ น้อยๆ ก็
เจาะไม่ลงจึงต้องเลิกล้มไป ต่อมาเทศบาลก็ได้ยกท่ีๆ เอาเงนิ นน้ั จา่ ยซอ้ื ไดท้ นั ที ไมต่ อ้ งทำ� พธิ เี ขยี นหนงั สอื ขอตงั้
ถมไว้นั้นให้แก่ทางราชการใช้เป็นสถานีอุตุนิยมชลบุรีมา เบกิ เงนิ ของเทศบาล ทำ� ใหก้ ารงานสะดวกทำ� ไดร้ วดเรว็ ขน้ึ
จนถึงปจั จบุ ันนี้ ครน้ั ถงึ สมยั เลอื กตงั้ สมาชกิ สภาเทศบาลเมอื งชลบรุ ี
อน่ึง นายแพทย์ทางโรงพยาบาลได้มารายงานให้ ครั้งต่อมา นายจ�ำนงค์ จันทถิระ ได้รับเลือกเป็นสมาชิก
ทราบวา่ เจา้ หนา้ ทกี่ ระทรวงสาธารณสขุ ไดเ้ รยี กไปพบและ สภาผู้หนึ่ง และได้รับเลือกต้ังจากสภาเทศบาลเมืองชลฯ
แจ้งให้ทราบว่า ทางรัฐบาลได้ตกลงเป็นที่แน่นอนแล้วว่า ใหเ้ ปน็ นายกเทศมนตรดี ว้ ย (1๕ พฤษภาคม ๒๔๘๓ - ๒๙
ต่อไปนี้รัฐบาลจะได้โอนเอางานในเร่ืองโรงพยาบาลไปจัด มถิ นุ ายน ๒๔8๗) ซงึ่ นายจำ� นงค์ จนั ทถริ ะ ไดแ้ ถลงนโยบาย
ท�ำเอง ดังนั้น จึงให้หาที่ทางซ่ึงอยู่บนบกไว้จัดสร้าง ให้ท่ีประชุมสภาได้รับทราบเป็นใจความว่า นายจ�ำนงค์
โรงพยาบาลใหม่ เพราะโรงพยาบาลเกา่ ซงึ่ สรา้ งไวใ้ นทะเล มีความคิดอยู่ในใจเป็นเวลานานมาแล้วว่า ถ้าสามารถ
เป็นสถานที่ไม่เหมาะและไม่สะดวกในการท่ีจะขยาย ตัดถนนสายกลางเมืองข้ึนได้อีก 1 สายแล้วจะท�ำให้ตัว
โรงพยาบาลให้ใหญ่โตตามประสงค์ได้ ตัวนายแพทย์สง่า เมอื งชลบุรมี ีลกั ษณะน่าดูขน้ึ เป็นอันมาก ดังน้นั เม่ือได้มา
วิชพันธ์ เองได้ตรวจดูสถานที่แล้วได้เห็นที่แห่งหน่ึง ดำ� รงตำ� แหนง่ นายกเทศมนตรเี มอื งชลบรุ ขี นึ้ แลว้ เชน่ น้ี จงึ
เหมาะแก่การสร้างโรงพยาบาลใหม่และเป็นท่ีของหลวง ขอถือเอาความตั้งใจของตนมาเป็นนโยบายท่ีเทศบาลจะ
บ�ำรุงฯ นายกเทศมนตรีนั่นเอง จึงได้เจรจาขอร้องต่อ ไดจ้ ดั ทำ� ตอ่ ไปและไดแ้ ถลงตอ่ ไปวา่ นอกจากเรอ่ื งตดั ถนน
หลวงบำ� รงุ ฯ ทง้ั ขอใหช้ ว่ ยจดั การหาเงนิ มาตง้ั งบประมาณ แล้วจะได้จัดการกับตรอกต่างๆ ซึ่งเดิมเป็นท้ังทางเกวียน
จ่ายค่าที่รายนี้ให้เสร็จไปโดยเร็วด้วย แต่ถึงแม้ว่าทาง และทางเดนิ เทา้ ใหม้ รี ปู รา่ งเปน็ ตวั ถนนขน้ึ อยา่ งแทจ้ รงิ อกี
โรงพยาบาลจะไดท้ ีด่ นิ จ�ำนวนถงึ ๒๑ ไร่ และมีความยาว ดว้ ย ซงึ่ ทปี่ ระชมุ สภาไดร้ บั ทราบดว้ ยความยนิ ดี แตน่ น้ั มา

66 หนงั สือทร่ี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี

นายจ�ำนงค์ก็ได้ส่ังให้จัดการถมที่ดินจากด้านทิศเหนือ สขุ มุ วทิ แตเ่ ดมิ เปน็ เสน้ ทางคนเดนิ และเสน้ ทางเกวยี นเปน็
เรมิ่ จากแนวถนนสาครพทิ กั ษผ์ า่ นทวี่ า่ งดา้ นทศิ ตะวนั ออก ทรายฟบุ มาก เจา้ ของท่ีดนิ ยังมไิ ด้ปลกู บา้ นเรอื นหรอื ห้อง
ของวดั กำ� แพงมาทางทศิ ใต้ ถมหนองตน้ โพธหิ์ มดสน้ิ จนมา แถวแตป่ ระการใด ทางจงึ แลดกู วา้ งมาก เมอื่ หลดุ แนวหลงั
จดทางเดินของตรอกต้นจันทน์ ซึ่งแนวถนนต่อไปจะต้อง วัดออกไปก็เป็นทุ่งนา นายจ�ำนงค์จึงได้เท่ียวเจรจาติดต่อ
ผา่ นทด่ี นิ ของเอกชน แลว้ ผา่ กลางวดั โรมนั คาธอลคิ ออกมา กับเจ้าของท่ีสองข้างทางจนได้ที่ท�ำถนนกว้างดังที่เห็นอยู่
จดทางเกวยี นทางดา้ นใตร้ ะหวา่ งเขตวดั โรมนั คาธอลคิ และ เวลาน้ี ครนั้ แลว้ กม็ าถงึ ตอนทจ่ี ะเชอื่ มกบั ถนนวชริ ปราการ
วดั ใหมพ่ ระยาทำ� ซง่ึ นายจำ� นงคก์ ส็ ามารถเจรจากบั เจา้ ของ ได้เล่าไว้แล้วแต่ต้นว่าตอนปากถนนท่ีจะเช่ือมกันนี้เป็นท่ี
ท่ีและผู้ปกครองวัดโรมันคาธอลิคจนส�ำเร็จ ได้ตัดถนน ของเอกชนขวางก้ันอยู่ตรงกลางและเจ้าของได้ปลูกห้อง
ผ่านไปตามแนวที่กะไว้ ต่อจากน้ันก็ได้รับอนุญาตจาก แถว ๓ ห้องมีผู้เช่าค้าขายอยู่เต็ม ทางเทศบาลได้มีความ
เจา้ อาวาสวัดใหม่ฯ ให้ตัดถนนเขา้ ไปในทีว่ า่ งของวดั ใหมฯ่ เห็นพร้อมกันว่าต้องตั้งงบประมาณไว้เพื่อซ้ือที่ดินท่ีขวาง
แล้วได้รับอนุญาตจากเจ้าอาวาสวัดใหญ่ฯ ให้ตัดผ่านที่ กั้นอยู่น้ี ร้ือห้องแถวออกเป็นตัวถนน ดังนั้นนายจ�ำนงค์
ป่าช้าของวัดใหญ่ฯ ไปจนส�ำเร็จเป็นถนนข้ึนได้ตาม และผเู้ ขยี นจงึ ไดพ้ ากนั ไปหาเจา้ ของทซี่ งึ่ อยู่ ณ สะพานบา้ น
ประสงค์ เม่ือได้จัดการกรุยทางและปักเขตถนนเป็นท่ี โขด และได้เจรจาให้ทราบว่าเทศบาลมีความประสงค์จะ
เรียบร้อยแล้วนายจ�ำนงค์ได้ตั้งช่ือถนนสายน้ีว่า “ถนน ขอซ้อื ทีด่ นิ ซ่งึ ขวางปากถนนอัคนิวาต ในชั้นต้นเจ้าของไม่
เจตน์จ�ำนงค์” ซึ่งเป็นช่ือที่เหมาะสมกับความหมายเป็น ยอมขายโดยอ้างเหตุผลต่างๆ แต่ทางฝ่ายเราก็ได้อธิบาย
อยา่ งยง่ิ และไดต้ งั้ ชอ่ื ถนนสายเดมิ วา่ “ถนนวชริ ปราการ” ชี้แจงให้เจ้าของท่ีได้ทราบว่าเทศบาลมีความจ�ำเป็นจริงๆ
และตง้ั ชอ่ื ตรอกศาลเจ้าพ่อสาครวา่ “ถนนสาครพิทกั ษ”์ ที่จะต้องได้ท่ีรายนี้เปิดเป็นถนนให้จงได้ และได้อ้อนวอน
และปักเขตขยายถนนให้กว้างตั้งแต่ระหว่างวัดเครือวัลย์ เจ้าของให้ตกลงขายให้ด้วยการเจรจากันเถิด อย่าให้ต้อง
และวัดนอกไปจดถนนสุขุมวิท จัดถมทางเกวียนข้าง มีการบังคับซื้อเลย ดังนั้นเจ้าของจึงได้ตกลงขายซ่ึงทาง
วัดก�ำแพงด้านใต้เพ่ือขยายถนนตอนน้ันให้กว้างข้ึน แล้ว ฝา่ ยเทศบาลกไ็ ดแ้ จง้ ใหเ้ จา้ ของทราบวา่ เมอื่ ไดจ้ ดั การโอน
ตั้งช่ือตรอกตลาดปลา (เก่า) หรือที่ชาวบ้านชอบเรียกกัน กันแล้วหากทางเจ้าของต้องการเสา ไม้ และอ่ืนๆ ทาง
วา่ ทางไปหนองต้นโพธ์ิว่า “ถนนโพธทิ์ อง” ซึ่งถนนสายนี้ เทศบาลก็ยินดีให้ร้ือถอนเอาไปได้ ดังนั้น ตอนปากถนน
มอี าณาเขตไปจดถนนสขุ มุ วทิ ดงั กลา่ ว แลว้ ตงั้ ชอ่ื ตรอกวดั อัคนิวาตซึ่งอยู่ระหว่างธนาคารศรีอยุธยากับธนาคาร
ใหม่ว่า “ถนนหลานกุญชร” และตั้งชื่อถนนซ่ึงตั้งต้นแต่ ออมสินซึ่งเช่ือมกับถนนวชิรปราการจึงมีความกว้างมาก
ถนนวชิรปราการตรงศาลาฟังธรรมตรงไปหน้าประตู ท�ำให้ตัวเมืองมีลักษณะภมู ิฐานนา่ ดยู ง่ิ ขึน้ เปน็ อันมาก
วดั ใหญฯ่ วา่ “ถนนพรหมมาส” อนั เปน็ ชอื่ ศรของพระราม ยังมีถนนอีกสายหน่ึงซึ่งปัจจุบันนี้มีชื่อว่า “ถนน
เลม่ หนงึ่ แลว้ ตงั้ ชอ่ื ถนนสายหนา้ โรงไฟฟา้ วา่ “ถนนอคั นวิ าต” ชัยชนะ” พ้ืนท่ีเดิมของถนนสายนี้ก็คือทางเกวียน และ
ซึง่ เป็นช่ือศรของพระรามอกี เลม่ หนึ่ง ซ่งึ เมื่อแผลงออกไป ทางคนเดนิ ซงึ่ อยู่ระหว่างเขอื่ นของวัดโรมันคาธอลคิ และ
แล้วเป็นไฟ อันมีความหมายถึงโรงไฟฟ้าของเทศบาลใน เขื่อนของวัดใหม่ฯ เวลาฤดูฝนทางสายนเี้ ฉอะแฉะมากจน
เวลานั้นต้ังอยู่ข้างถนนสายนี้ด้วย และตั้งชื่อถนนเช่ือม คนเดินทางที่ประสงค์จะไปทางวัดป่าต้องอาศัยเดินในวัด
ระหวา่ งถนนพรหมมาสกบั ถนนอคั นวิ าต ตรงหนา้ ธนาคาร ใหมฯ่ ไปออกทางหน้าโบสถ์แลว้ เดินทางตามคนั นาต่อไป
ไทยพาณิชย์ว่า “ถนนพรายวาส” อันเป็นช่ือศรของ ระหว่างเข่ือนของวัดทั้งสองนี้มีความกว้างประมาณ ๔
พระรามอีกเล่มหนึ่ง นอกจากนี้ยังได้ต้ังชื่อถนนสายจาก เมตร ซ่ึงไม่กว้างพอที่จะสร้างเป็นถนน นายจ�ำนงค์จึงได้
หน้าทท่ี �ำการไปรษณยี ์ตรงไปยังทะเล มีคลองอยขู่ า้ งถนน ทำ� การตดิ ต่อกบั วดั ทง้ั สองขอรน่ เขา้ ไปทง้ั สองข้าง แตท่ าง
ซง่ึ เวลานน้ั เป็นทา่ เรือแหง่ หน่งึ ว่า “ถนนพาสเภตรา” วัดท้ังสองก็อนุญาตให้ร่นเข่ือนเข้าไปเพียงเล็กน้อย ยังได้
การสร้างถนนอัคนิวาตออกไปบรรจบกับถนน เน้ือที่กว้างไม่พอกับความต้องการของนายจ�ำนงค์เพราะ

หนงั สือทร่ี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 67

ทางวัดท้ังสองต่างเกี่ยงกันให้นายจ�ำนงค์ร่นเข่ือนของฝ่าย นายชาญจงึ ไดส้ ง่ คนออกตดิ ตอ่ กบั เจา้ ของทสี่ องขา้ งตรอก
ตรงข้ามเข้าไปอีก นายจ�ำนงค์จึงได้สั่งให้คนงานร่นเขื่อน น้ันว่า ถ้าหากเจ้าของที่เหล่าน้ันจะปลูกห้องให้ถอยหลัง
ไปตามความเห็นของตนตามที่เห็นควร จึงเป็นเหตุให้คน ออกไปโดยเว้นท่ีด้านหน้าไว้เป็นตัวถนนให้กว้างเท่ากับที่
งานของเทศบาลจะเกดิ ววิ าทกบั คนของวดั นายจำ� นงคจ์ งึ เป็นอยู่ในเวลาน้ีแล้ว นายชาญยินดีที่จะรื้อตึกแถวด้าน
สั่งระงับการสร้างถนนสายนี้ไว้ชั่วคราว โดยไม่ยอมสร้าง ถนนเจตนจ์ ำ� นงคซ์ ง่ึ ไดส้ รา้ งเสรจ็ เรยี บรอ้ ยและมคี นเชา่ อยู่
ถนนไปตามความกวา้ งของเนอ้ื ทๆี่ มอี ยแู่ ลว้ ครน้ั อยตู่ อ่ มา แล้วน้ันออกหนึ่งห้อง ทั้งจะสร้างถนนในเนื้อที่ของตนมา
ไมน่ านไมท่ ราบวา่ นายจำ� นงคไ์ ดจ้ ดั การอยา่ งไรจงึ ไดเ้ นอื้ ที่ บรรจบกับทางสาธารณะตรงทางเกวียน และเปิดให้เป็น
กวา้ งออกไปตามความตอ้ งการตามทเี่ ปน็ อยเู่ วลานี้ ดงั นน้ั ทางเดินเข้าออกซ่ึงจะเป็นเส้นทางตรงสู่ถนนเจตจ�ำนงค์
เมอ่ื ไดก้ รยุ ทางและถมดนิ จนพน้ เขอื่ นของวดั ทง้ั สองจนถงึ ด้วย ซึ่งเจ้าของท่ีสองข้างตรอกได้พิจารณาแล้วเห็นว่าถ้า
ถนนสุขุมวิทแล้ว นายจ�ำนงค์จึงได้ตั้งชื่อถนนสายนี้ตาม ได้ปฏิบัติตามความคิดเห็นของนายชาญแล้วจะเป็น
เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนว่า “ถนนชัยชนะ” ซ่ึงปัจจุบันน้ีเป็น ประโยชนม์ าก จงึ ไดว้ างแผนผงั ปลกู ตกึ แถว ถอยหลงั ออก
ถนนสายส�ำคัญท่ีมีความเช่ือมโยงจากถนนสุขุมวิทมายัง ไปจนเหลอื ทเ่ี ปน็ ทางเดนิ กวา้ งขนึ้ จากทก่ี ะไวเ้ ดมิ มาก สว่ น
ถนนเจตน์จ�ำนงค์เข้าต่อกับถนนหลานกุญชรจนถึงถนน นายชาญกไ็ ดร้ อ้ื หอ้ งแถวของตนทางดา้ นถนนเจตนจ์ ำ� นงค์
วชิรปราการเป็นเส้นทางตรง เป็นการท�ำให้ตัวเมืองมีรูป ออกหน่งึ หอ้ ง แล้วท�ำถนนมาเชอื่ มกนั ตรงทางเกวยี นตาม
ร่างดีขึ้นเป็นอย่างมากอีกสายหนึ่ง ยังมีที่ส�ำคัญอีกแห่ง ท่พี ดู ไว้ แลว้ ให้ชื่อถนนสายนว้ี า่ “ซอยศรีมงคล” ซึ่งตรง
หนึ่งซึง่ เหน็ ว่าควรเขยี นไว้ให้ทราบอย่างละเอยี ด ท่ีน่นั คือ
ถนนซอยศรีมงคล ซอยนี้แต่เดิมเรียกกันว่า “ตรอก
โรงหมู” เพราะว่ามีโรงฆ่าหมูตั้งอยู่ทางทิศใต้ของกลาง
ซอยนี้ และมีทางเกวียนจากถนนชัยชนะผ่านถนนเจตน์
จำ� นงคม์ าทางดา้ นหลงั ของทต่ี งั้ ธนาคารกรงุ เทพ จำ� กดั ใน
ปัจจุบันน้ีมาสู่ยังท่ีว่างของหน้าโรงฆ่าหมู ทางเกวียนนี้ยัง
เลยผา่ นไปทางดา้ นเหนอื โดยผา่ นตรอกตน้ จนั ทนห์ ลงั ศาล
เจ้าก๊วนหน้าวัดก�ำแพงด้วย ดังนั้น เม่ือเราเดินเข้าตรอก
โรงหมูทางด้านถนนวชิรปราการตรงไปทางตะวันออก
จนถึงทางเกวียนตอนท่ีโค้งไปทางด้านทิศใต้แล้ว และถึง
ท่ีดินผืนใหญ่ของนายชาญ กุญชราทรเทพ ขวางหน้าอยู่
ครั้นเมื่อถนนเจตน์จ�ำนงค์ได้ตัดผ่านท่ีของนายชาญ ทาง
ดา้ นตะวนั ออกเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ นายชาญจงึ ไดส้ รา้ งหอ้ ง
แถวขึ้นหลายห้องในเนื้อที่ด้านเหนือของตน โดยหันหน้า
ห้องมาทางทิศใต้ดังท่ีเห็นอยู่ทุกวันนี้ ส่วนเน้ือที่ด้านหน้า
ซึ่งติดกับถนนเจตน์จ�ำนงค์น้ันก็ได้สร้างห้องแถวหันหน้า
ออกถนนใหญ่จ�ำนวนหลายห้องเช่นกัน คงเว้นที่ว่างเป็น
ทางเดินส�ำหรับเข้าออกของห้องแถวข้างในราว ๔ เมตร
ตอ่ มาเจา้ ของทส่ี องขา้ งตรอกโรงหมนู กี้ ไ็ ดเ้ ตรยี มการปกั ไม้
วางแผนผงั จะปลูกหอ้ งแถวข้ึนบ้าง ตามแผนผังที่กะว่าจะ
ปลกู น้ันคงเหลอื ช่องทางเดินในตรอกราว ๕ เมตรเทา่ นัน้ สภาพบ้านเรอื นรมิ ทะเล

68 หนังสือท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

กบั ชอ่ื คำ� แรกของพระยาศรมี หาเกษตรซงึ่ ทา่ นมบี า้ นอยใู่ น จนี สน้ั ), ทา่ เรอื พลี (สะพานศาลเจา้ ซงึ่ เปน็ ทา่ เรอื ), ศรนี คิ ม
ซอยนี้ ถนนซอยน้ีเม่ือสร้างเสร็จแล้วท�ำให้ตัวเมืองมี (สะพานเก๋ง), ปฐมวัย (สะพานโรงเรียนกล่อมปฐมวัย),
ลักษณะน่าดูข้ึนและมีความส�ำคัญแก่การจราจรเป็น ไกรเกรยี งยคุ (สะพานค)ู่ , สขุ นริ นั ดร์ (สะพานบา้ นนายสนุ ),
อย่างย่ิง การท่ีนายชาญได้ปฏิบัติการไปดังกล่าวแล้ว เสรมิ สนั ติ (สะพานหลวง), ตอ่ จากนไ้ี ปขน้ึ ตน้ ใหมว่ า่ อดเิ รก
ผู้เขยี นขอชมนายชาญไวใ้ นที่นด้ี ้วย (สะพาน ๑๖), เอกวธุ (สะพานหมอเก๋), อทุ ยาน (สะพาน
ขอเลา่ เพิม่ เตมิ ไวด้ ้วยวา่ เมือ่ กอ่ นหนา้ นีห้ ลายสบิ ปี หน้าวัดสมถะ), ธารนที ปรดี ารมย์ (สะพานหน้าวัดน้อย),
ป่าไม้ยังมิได้ถูกถางโล่งเตียนไปไกลจากตัวเมืองมากนัก ชมสำ� ราญ ยา่ นโพธท์ิ อง (สะพานหนา้ วดั โพธ)ิ์ , คลองสงั เขป
เมอื่ ถงึ ฤดฝู นชกุ มฝี นใหญต่ กตดิ ตอ่ กนั ๒ วนั นำ้� ปา่ จะไหล (สะพานคลอง), เทพประสาท, ราชประสิทธิ์, จติ ประสงค์,
มาตามทางเกวยี น ผา่ นขา้ งวดั ปา่ ผา่ นถนนสขุ มุ วทิ มาตาม จงประสาน เทศบาลสมมุต (เป็นสะพานสุดท้ายซ่ึงอยู่ใน
ทางเกวียนในถนนชัยชนะผ่านถนนเจตน์จ�ำนงค์มาออก เขตเทศบาล) แล้วไดน้ ำ� ป้ายชอ่ื สะพานซึ่งตั้งซ่ือใหมม่ าปัก
ทางตรอกโรงหมูแล้วไหลข้ามถนนวชิรปราการลงสู่ทะเล ไว้ท่ีเชงิ สะพานเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ที่ทราบกนั
ทางสะพานหวั คา่ ย (กลปอ้ มคา่ ย) อยเู่ สมอ บางปมี นี ำ้� ไหล อนงึ่ โฉนดทด่ี นิ ซง่ึ เจา้ หนา้ ทไ่ี ดอ้ อกใหผ้ ถู้ อื กรรมสทิ ธิ์
มามากจนเซาะเสาห้องแถวกระท�ำให้เจ้าของห้องต้อง ในสมัยก่อนๆ นั้น ได้เขียนชื่อหมู่บ้านและต�ำบลตามชื่อ
วุ่นวายหากระดานมากันปะทะไว้ ท่ีตั้งไว้เดิมท้ังน้ัน จึงขอเล่าถึงการต้ังช่ือต�ำบลเสริมไว้ให้
อนึ่ง ในตรอกโรงหมูน้ีเคยเป็นท่ีต้ังโรงบ่อนเบ้ีย คนรนุ่ หลงั ๆ ไดท้ ราบดว้ ยวา่ เดมิ เมอ่ื ทางราชการไดจ้ ดั รวม
อยู่ประมาณ ๒ ปี ตรงห้องแถวด้านเหนือห่างจาก ถนน หมู่บ้านเป็นต�ำบลข้ึนนั้น ในตัวเมืองชลฯ น้ี ทางราชการ
วชริ ปราการเขา้ ไปราว 90 เมตร เมื่อเลิกจากตัง้ บ่อนเบยี้ ได้แบ่งเขตออกเป็นหลายต�ำบล คือตั้งแต่แนวสะพานคู
แลว้ กเ็ ปลยี่ นเปน็ วกิ แสดงลเิ กอยคู่ ราวหนง่ึ จงึ ปรบั ปรงุ เปน็ ก�ำพล ซอยหลานกุญชร ถนนชยั ชนะ (เพียงแนวหลงั วัด)
หอ้ งแถวขน้ึ หลายห้อง ฝั่งด้านใต้เรื่อยไปจดคลองบางปลาสร้อยเป็นต�ำบลท้าย
นอกจากนายจ�ำนงค์ได้ต้ังช่ือถนนต่างๆ ดังกล่าว บ้าน และต้ังแต่แนวสะพานศรีนิคม ถนนโพธิ์ทองฝั่งใต้
มาแล้ว นายจ�ำนงค์ยังได้ต้ังช่ือสะพานต่างๆ ให้มีนาม เรื่อยมาจนจดเขตต�ำบลท้ายบ้านเป็นต�ำบลตลาดกลาง
คล้องจองกันท�ำให้จ�ำได้ง่ายอีกด้วย เพราะแต่เดิมชื่อของ และต้ังแต่แนวสะพานเสริมสันติ ถนนสาครพิทักษ์ฝั่งใต้
สะพานนัน้ ชาวบา้ นตงั้ ชื่อเรียกกันเอง บางสะพานก็ตัง้ ชอ่ื เรื่อยมาจดเขตต�ำบลตลาดกลาง และตั้งแต่แนวสะพาน
คนที่อยู่ในสะพานน้ัน แต่คนผู้น้ันก็ตายไปนานแล้ว เสริมสันติ ถนนสาครพิทักษ์ฝั่งใต้เรื่อยมาจดเขตต�ำบล
คนรนุ่ หลงั กเ็ ลยไมท่ ราบวา่ หมายถงึ สะพานไหน ชอื่ สะพาน ตลาดกลาง เหนือข้ึนไปนั้นเป็นต�ำบลบ้านโขดและบาง
ท่ีนายจ�ำนงค์ตั้งข้ึนนี้ ผู้เขียนจะได้เขียนช่ือเก่าก�ำกับไว้ใน
วงเล็บด้วยแต่คงเขียนช่ือเก่าไม่ได้ครบทุกสะพานไป
ขน้ึ ต้นของชอื่ สะพานทเ่ี ปล่ยี นชือ่ ใหม่เร่ิมจากสะพานดา้ น
ใต้สุดเรียงล�ำดับมาทางทิศเหนือ ดังต่อไปน้ี ราชวิถี
(สะพาน ๑), ศรีบัญญัติ (สะพาน ๒), รฐั ผดงุ (สะพาน ๓),
บำ� รงุ เขต (สะพาน ๔), เจตนป์ ระชา (สะพาน ๕), ทฆี ามารค
(สะพานยาว), ภาคมหนั ต์ (สะพานบา้ นแมห่ อ่ ), จนั ทสถติ ย์
(สะพานบ้านนายสรอย จันทถิระ), พิทย์สถาน (สะพาน
บา้ นแม่คง), บา้ นลำ� พู (สะพานต้นลำ� พู), คกู ำ� พล (สะพาน
แดง), กลปอ้ มค่าย (สะพานหัวค่าย), บา่ ยพลน�ำ (สะพาน
คุณจา่ ), ส�ำราญราษฎร์ (สะพานจีน), ชาตเิ ดชา (สะพาน ชุมชนทา่ เรือพลีในอดตี

หนงั สือทรี่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 69

ทรายตามลำ� ดบั คำ� วา่ บางปลาสรอ้ ยซง่ึ เปน็ ชอื่ ดงั้ เดมิ หาย
ไป คร้ันต่อมาทางราชการมีความเห็นว่าควรจะรักษาชื่อ
ต�ำบลหรอื เมอื งท่ปี รากฏในประวัติศาสตร์เอาไว้ จึงไดเ้ อา
เขตต�ำบลท้ายบ้านและตลาดกลางรวมกัน แล้วเปลี่ยน
ชื่อใหมเ่ ป็น ต�ำบลบางปลาสรอ้ ย ท้ังยังเปลยี่ นชอ่ื อำ� เภอ
เมืองเป็นอ�ำเภอบางปลาสร้อยอีกด้วย แต่ต่อมาไม่ก่ีปีก็
กลับเปลี่ยนช่ือเป็นอ�ำเภอเมืองอีก แต่คร้ังหลังน้ีต้องเติม
ชอ่ื ของเมอื งลงไปดว้ ย เชน่ อำ� เภอเมอื งชลบรุ ี อำ� เภอเมอื ง
ฉะเชงิ เทรา เปน็ ตน้
เม่ือตอนที่นายจ�ำนงค์ จันทถิระ เข้ารับต�ำแหน่ง
นายกเทศมนตรีเมืองชลบุรี ในปีแรกๆ น้ัน เทศบาลฯ ได้ โรงน�้ำปลาทง่ั ซงั ฮะในอดตี
ตั้งงบประมาณจ่ายเงินเดือนให้เพียงเดือนละ ๑๒๐ บาท
เทา่ นนั้ ซง่ึ ไดร้ บั นอ้ ยกวา่ เงนิ เดอื นของนายแพทยม์ าก ทง้ั น้ี ได้ตั้งชื่อถนนช่วงน้ีว่า “ถนนราษฎร์ประสงค์” คร้ันเมื่อ
กโ็ ดยนายแพทยน์ นั้ ไดร้ บั เงนิ เดอื นทางรฐั บาลอยแู่ ลว้ เดอื น นายแพทย์ประสงค์ได้ลาออกจากต�ำแหน่งแล้ว สภาได้
ละ ๑๖๐ บาท เทศบาลจงึ จา่ ยให้อกี หนง่ึ เทา่ รวมได้รบั ๒ เลือกต้ังให้นายประชา ใช้ฮวดเจริญ เป็นนายกเทศมนตรี
ทางเปน็ เงนิ เดอื นๆ ละ ๓๒๐ บาท แตผ่ ลงานทนี่ ายจำ� นงค์ (๑๗ มกราคม ๒๔๙3-๑๔ สงิ หาคม ๒๔๙4) นายประชา
ได้จดั ท�ำไว้แมว้ า่ ยงั ไมส่ �ำเร็จบรบิ ูรณเ์ ป็นสว่ นมาก เชน่ ยงั ใช้ฮวดเจริญ นายกเทศมนตรีและนายการุณ อูนากูล
มิได้ถมหินลาดยางวางท่อระบายนำ้� ก็ดี แต่นายจ�ำนงก็ได้ เทศมนตรี ได้ติดต่อกับเจ้าอาวาสวัดน้อย และเจ้าอาวาส
ปักผังวางแนวไว้เสร็จแล้ว ท้ังน้ีนับว่าได้ท�ำคุณประโยชน์ วัดสมถะขออนุญาตรื้อเข่ือนก้ันเขตวัดท้ังสองออก แล้ว
ให้แก่ชาวเมืองชลบุรีเป็นอย่างยิ่ง ทั้งเป็นการสะดวกแก่ สรา้ งถนนในทข่ี องวดั จากถนนวชริ ปราการไปทางทศิ ตะวนั
ผทู้ ่รี บั หน้าทีต่ ่อมาดว้ ย ตามทีไ่ ดเ้ ขียนเลา่ มาแล้วนจ้ี ะเห็น ออกจนจดกับถนนราชประสงค์ ซ่ึงตามโครงการต้องการ
ได้ว่านายจ�ำนงค์ต้องใช้ความคิดและก�ำลังกายเท่ียวว่ิง จะตัดพุ่งเป็นเส้นตรงไปบรรจบกับถนนสุขุมวิท แต่เป็นท่ี
ตดิ ตอ่ กบั เจา้ ของทดี่ นิ ตา่ งๆ มากมาย ซง่ึ ผเู้ ขยี นขอเลา่ เรอื่ ง นา่ เสยี ดายทเ่ี จา้ ของทด่ี นิ ทข่ี วางอยไู่ มอ่ นญุ าต เทศบาลจงึ
นไ้ี วเ้ พอื่ เปน็ อนสุ รณแ์ กน่ ายจำ� นงค์ จนั ทถริ ะ ผวู้ ายชนมไ์ ป ยังไมม่ ีทางเชอื่ มระหวา่ งถนนสขุ มุ วทิ กบั ถนนวชริ ปราการ
แล้วด้วย เป็นเส้นตรงทางด้านเหนือ ถนนท่ีตัดใหม่นี้ต่อมาทาง
ในสมัยท่ีมีการเลือกต้ังสมาชิกสภาเทศบาลคร้ังต่อ เทศบาลตงั้ ชอื่ วา่ “ถนนไทยประชา”
มา สภาเทศบาลเมอื งชลบรุ ไี ดเ้ ลอื กตงั้ ใหข้ นุ อภยั ประศาสน์ เม่ือนายประชา ใช้ฮวดเจริญ ลาออกจากหน้าที่
(ใจ โพธิสุนทร) เป็นนายกเทศมนตรี (๒ มกราคม ๒๔๘๘ นายกเทศมนตรีแล้ว นายสุรชัย คัมภีรญาณนนท์ ได้รับ
- ๒5 พฤษภาคม ๒๔๙๒) ซงึ่ กไ็ ดจ้ ดั การตอ่ ไปตามโครงการ เลอื กให้เป็นนายกเทศมนตรตี อ่ มา (๑5 สิงหาคม ๒๔๙๔
ทน่ี ายจำ� นงค์ จนั ทถริ ะ ได้วางไว้ - ๑๐ มิถนุ ายน ๒๔๙๖) ระหวา่ งทีน่ ายสุรชัยรบั หนา้ ทอี่ ยู่
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลครั้งต่อมาอีก นไ้ี ดม้ ผี อู้ นญุ าตใหเ้ ทศบาลใชท้ ดี่ นิ ตดั ถนนจากถนนสขุ มุ วทิ
สภาเทศบาลเมอื งชลบรุ ไี ดเ้ ลอื กตง้ั ให้ นายแพทยป์ ระสงค์ มาทางทิศตะวันตกผ่านข้างโบสถ์วัดราษฎร์บ�ำรุง มาร่วม
บานชน่ื เปน็ นายกเทศมนตรี (๒๖ พฤษภาคม ๒๔๙๒ - ๑๖ ถนนราษฎรป์ ระสงคอ์ กี สายหน่ึง ซึง่ ทางเทศบาลใหช้ ่อื ว่า
มกราคม ๒๔๙๓) นายแพทยป์ ระสงค์ ได้ส่งั ใหถ้ มดินตาม “ถนนสรุ ชยั ” ถนนสายนแ้ี มว้ า่ จะไมเ่ ปน็ เสน้ ทางตรงแตก่ ็
แนวถนนเจตน์จ�ำนงค์ด้านเหนือซึ่งนายจ�ำนงค์วางผังไว้ นบั วา่ เปน็ ถนนทช่ี ว่ ยแกค้ วามยงุ่ ยากในการทร่ี ถจะผา่ นเขา้
แลว้ ตอ่ ไปจนพน้ เขตวดั ราษฎรบ์ ำ� รงุ ซง่ึ ตอ่ มาทางเทศบาล มาถนนวชิรปราการลงได้มาก

70 หนังสอื ท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี

ต่อมาถึงคราวเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลกันใหม่
อีก แต่คร้ังน้ีและคร้ังต่อๆ มาผู้เขียนมิได้ยื่นสมัครเป็น
สมาชกิ จงึ ไมค่ อ่ ยทราบกจิ การของเทศบาล แตม่ เี รอื่ งทค่ี วร
เล่าอีก ๒ เร่ือง เพราะเป็นเร่ืองต่อเน่ืองกัน คือต่อมาใน
ตอนหลังๆ ได้มีถนนเชื่อมจากถนนเจตน์จ�ำนงค์กับถนน
สขุ มุ วทิ เกดิ ขน้ึ อกี หนง่ึ สายโดยใชท้ ด่ี นิ ของโรงเจ และทดี่ นิ
ซง่ึ เวลานน้ั เปน็ ของตระกลู โปษยานนท์ และทด่ี นิ ของผอู้ น่ื
อีกสร้างถนนสายนี้ขึ้น ได้ทราบว่า นายสมชาย โปษยา
นนท์ ซ่ึงเป็นนายกเทศมนตรีในเวลานั้นได้เป็นผู้ท�ำการ
ติดต่อกับเจ้าของที่ดินเหล่านั้นได้ส�ำเร็จ ถนนสายนี้ทาง
เทศบาลไดต้ งั้ ชอ่ื วา่ “ถนนโปษยานนท”์ นบั เปน็ ถนนเชอ่ื ม
สายส�ำคัญสายหน่ึง ท�ำให้ตัวเมืองมีลักษณะดียิ่งข้ึนและ โรงเรยี นชลกนั ยานุกูล พ.ศ. 2484
ทำ� ให้การจราจรคลอ่ งตัว
อนงึ่ ในสมยั ท่ี นายนารถ มนตเสวี เปน็ ผวู้ า่ ราชการ และกระทรวงศึกษาธิการยังได้ให้งบประมาณมาสร้างตึก
จังหวัดชลบุรี (๓ พฤศจิกายน ๒๕๐๒ - ๑๐ กันยายน วิทยาศาสตร์ขึ้นทางด้านตะวันออกของโรงเรียนสตรีฯ
๒๕1๓) อยู่น้ัน นอกจากจะได้รับอนุญาตจากกระทรวง อีกหน่ึงหลังด้วย ต่อมาได้รับงบประมาณแผ่นดินมาสร้าง
มหาดไทยให้รื้อบ้านพักผู้ว่าราชการจังหวัดออก เพ่ือใช้ที่ ศาลากลางจงั หวดั ชลบรุ ขี นึ้ ใหมเ่ ปน็ ตกึ ๒ ชน้ั โดยใชส้ นาม
สร้างหอพระพุทธสิหิงค์และได้สร้างบ้านพักผู้ว่าราชการ หน้าศาลาเทศบาล (หลงั เกา่ ) เป็นทสี่ รา้ ง เมื่อเสรจ็ แล้วได้
จงั หวดั ขน้ึ ใหมด่ งั ไดก้ ลา่ วไวใ้ นตอนตน้ แลว้ นายนารถ มนต ทำ� พธิ ีเปดิ เมื่อวนั ท่ี ๑๗ มนี าคม ๒๕1๐ ได้ทราบวา่ ในการ
เสวี ยงั ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารถมดนิ ดา้ นชายทะเลซงึ่ อยตู่ อ่ จากบา้ น สร้างน้ีเงินงบประมาณท่ีได้มาไม่พอจึงได้ขออนุญาตขาย
พกั แหง่ ใหมล่ งไป อกี ไกลและมบี รเิ วณกวา้ ง แลว้ ไดข้ อเงนิ ศาลากลางหลงั เดมิ ใหแ้ กเ่ ทศบาลเมอื งชลบรุ เี พอ่ื ไดเ้ งนิ มา
สภาจงั หวดั ชลบรุ บี า้ ง เงนิ งานสงกรานตป์ ระจำ� ปบี า้ ง และ สมทบ ศาลาเทศบาลเมืองชลบุรีจึงได้ย้ายไปอยู่ที่ศาลา
เงนิ อนื่ ๆ อกี หลายอยา่ งรวมกนั มาสรา้ งโรงเรยี นสตรปี ระจำ� กลางจังหวัดชลบุรีหลังเก่าสืบมา ส่วนศาลาเทศบาลเดิม
จังหวัดชลบรุ ี (ชลกันยานกุ ลุ ) ขึ้นใหม่ ณ ที่ใกลช้ ายทะเล และสโมสรข้าราชการน้ันได้ถูกร้ือลงเป็นที่ว่างตลอด
ในการหาเงินสร้างน้ีได้อาจารย์สุภรณ์ วีรวรรณ ครูใหญ่ บรเิ วณ และคลองทมี่ อี ยหู่ ลงั ศาลาเทศบาลหลงั เดมิ นน้ั เมอื่
โรงเรยี นชลกันยานุกูล ในเวลาน้ันเปน็ ผูต้ ิดตอ่ กบั นกั เรียน หมดสภาพในการใชเ้ ปน็ ทา่ เรอื แล้วจึงไดถ้ ูกกลบไปด้วย
เก่า และที่ยังก�ำลังเรียนอยู่พร้อมด้วยคณะครู ได้เงินมา ในอนาคตข้างหน้าเมืองชลบุรีจะเจริญเติบโตข้ึน
จัดการถมดินในบริเวณโรงเรียนประมาณหนึ่งแสนบาท บ้านเรือนถนนหนทางและสถานที่ต่างๆ จะเปลี่ยนแปลง
และยังได้ติดตอ่ ขอความช่วยเหลือจากผู้ปกครองนักเรยี น ไปจากสภาพท่ีเราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน และเมื่อถึงเวลา
พอ่ ค้า และคหบดี ไดเ้ งนิ มาสมทบในการสร้างโรงเรยี นอกี นั้นถ้าอนุชนรุ่นหลังบังเอิญจะได้อ่านถึงประวัติความเป็น
หลายแสนบาทดว้ ย ปรากฏวา่ ไดใ้ ชจ้ า่ ยเงนิ เปน็ คา่ ถมทดี่ นิ มาของสถานทีต่ า่ งๆ ตามที่ผ้เู ขียนไดเ้ ขียนบรรยายมาแลว้
และกอ่ สรา้ งโรงเรยี น คา่ สรา้ งโตะ๊ เกา้ อน้ี กั เรยี น และอน่ื ๆ ข้างตัน ก็หวังว่าจะช่วยท�ำให้ได้รับความรู้ความบันเทิงใจ
รวมทั้งส้ินประมาณ ๒,๒9๐,๐๐๐ บาท และได้ย้าย และทราบถงึ ความเปน็ มาของสภาพอำ� เภอเมอื งชลบรุ พี อ
โรงเรยี นสตรีฯ ไปอยู่ ณ โรงเรียนทสี่ ร้างใหมน่ ้ี และไดจ้ ัด สมควร
ให้มีพิธีเปิดเป็นทางการ เมื่อวันท่ี ๓1 มกราคม 2505

หนงั สือที่ระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 71

ไขขานประวัตศิ าลากลางจงั หวัดชลบรุ ีหลงั เกา่

ภาพศาลาเทศบาลเมอื งชลบรุ ีที่โดดเด่นงดงามดว้ ยสถาปัตยกรรมทเี่ ป็นเอกลกั ษณ์ สรา้ งความประทับใจแก่ผูท้ ีไ่ ดม้ าเยอื น
ดว้ ยความเกา่ แกข่ องอาคารที่มีอายกุ วา่ 108 ปี นบั จากกอ่ สร้างแลว้ เสรจ็ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๕๔ (ช่วงปลายสมัยรชั กาลที่ ๕)

ปจั จบุ นั ได้ขึ้นทะเบยี นเปน็ อาคารอนุรกั ษ์ อยู่ในความดแู ลของกรมศิลปากร

ศาลาเทศบาลเมอื งชลบุรหี ลังนี้ในอดีต ราชการจงั หวดั ชลบรุ ี โดยเปน็ ขอ้ มลู ในภาคประวตั ศิ าสตร์
คอื ศาลากลางจงั หวัดชลบุรี ช่ือ ประวัติศาลากลางจังหวัด ซึ่งขอคัดมาเป็นหลักฐาน
เร่ืองราวประวัติศาลากลางหลังเก่านี้ ได้มีการ ดงั น้ี
บนั ทกึ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานอา้ งองิ ใหค้ นรนุ่ หลงั ไดร้ บั รู้ ซง่ึ พอจะ “ศาลากลางจังหวัด” หรือศูนย์กลางปฏิบัติ
สรุปความไดว้ า่ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ จังหวดั ชลบรุ ี ในสมัยท่ี ราชการจงั หวดั ดงั สภาพทเี่ ปน็ อยอู่ ยา่ งปจั จบุ นั เดมิ ทเี ดยี ว
นายนารถ มนตเสวี ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด คงจะมีลักษณะดังท่ีสมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ
ชลบุรี ได้ขอให้เทศบาลเมืองชลบุรีรับศาลากลางจังหวัด ทรงนิพนธ์ไว้ใน “พระบันทึกความทรงจ�ำ” ตอนหน่ึงที่วา่
ชลบุรีหลังเดิม (ศาลาเทศบาลในปัจจุบัน) เป็นท่ีท�ำการ
เทศบาลเมืองชลบุรี โดยขอเงินช่วยเหลือจากเทศบาล “ตามหัวเมืองในสมัยนั้นประหลาดอีกอย่างหนึ่ง
เป็นเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท เพ่ือสมทบเป็นค่าก่อสร้าง ที่ไม่มีศาลารัฐบาลต้ังประจ�ำส�ำหรับ
ศาลากลางจงั หวดั ชลบรุ หี ลงั ปจั จบุ นั ความเปน็ มาปรากฏ ว่าราชการบ้านเมืองเหมือนอย่างทุกวันนี้
ในเอกสารจงั หวดั ชลบรุ ที จี่ ดั ทำ� โดยสำ� นกั งานจงั หวดั ชลบรุ ี เจ้าเมืองตั้งบ้านเรือนอยู่ท่ีไหน
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ สมัยนายประกิต อุตตะโมต เป็นผู้ว่า ก็ว่าราชการบ้านเมืองที่บ้านของตน”

72 หนงั สอื ท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี

ฉะน้ัน ศาลากลางจังหวัดชลบุรี (โดยประมาณ) ซึ่งคับแคบกระจัดกระจายกันอยู่ได้มาร่วมปฏิบัติงาน
กอ่ นรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ลง ในท่ีแห่งเดียวกันตามสมควร ก็ได้รับการช่วยเหลือจาก
ไปศนู ยป์ ฏบิ ตั ขิ องเมอื งกค็ อื บา้ นเจา้ เมอื งซง่ึ นา่ เชอ่ื วา่ ตง้ั อยู่ ท่านทั้งสองเป็นอย่างดี โดยได้จัดสรรเงินประมาณให้
รมิ ฝง่ั ทะเลมาโดยตลอด แตจ่ ะตรงไหนบา้ งนนั้ ไมอ่ าจชชี้ ดั ๓๕๐,๐๐๐ บาท ดังนี้ ข้าพเจ้าจึงจ�ำต้องขอบคุณท่านท้ัง
ลงไปได้ นอกจากนี้ยังสันนิษฐานโดยกว้างๆ เทา่ นั้น สองไว้ ณ โอกาสนี้ ถงึ แมว้ ่า คุณศิริ ปกาศติ อดตี ผูอ้ �ำนวย
จากพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขามีบางตอน การสำ� นกั งานประมาณจะไดว้ ายชนมไ์ ปแลว้ กต็ าม เมอ่ื ได้
ได้บรรยายพอใหเ้ ห็นว่าตัวเมืองชลบุรใี นสมยั พ.ศ. ๒๓๐๙ รับงบประมาณดังกล่าวน้ีข้าพเจ้าจึงได้ติดต่อกับกรมโยธา
นั้นน่าจะตั้งอยู่แถววัดเขาบางทรายหรือบ้านบางทราย เทศบาล ขอให้พิจารณาการวางผังต่อเติมศาลากลาง ซ่ึง
ในปัจจุบันและเลื่อนลงไปทางใต้เร่ือยมาเป็นระยะทาง ไดร้ ับงบประมาณมานี้ กรมโยธาเทศบาลได้พิจารณาแลว้
ประมาณ 100 เส้น ในช่วง 200 ปีเศษมานี้ ซ่ึงมีการ เหน็ วา่ ควรจะไดด้ ำ� เนนิ การกอ่ สรา้ งศาลากลางใหมท่ งั้ หลงั
เลื่อนต่อไปทางใต้หรือทางไหนอีกนั้นคงไม่มีใครที่จะคิด จะเหมาะสมดว้ ยประการตา่ งๆ แตเ่ มอ่ื ปลายปงี บประมาณ
พยากรณใ์ ห้เสยี สมอง ปีนั้น ข้าพเจ้าได้ไปราชการต่างประเทศ เป็นเวลาหลาย
ก่อน พ.ศ. 2437 ลงไป เมืองชลบุรีเป็นหัวเมือง เดือน เมื่อกลับมาก็ส้ินปีงบประมาณแล้ว ปรากฏว่าทาง
ชายทะเลขึ้นอยู่ในบังคับบัญชาของกรมท่า จะเป็นไปได้ เจ้าหน้าที่ของจังหวัดได้ซื้ออุปกรณ์การก่อสร้างไว้โดย
หรือไม่ก็น่าจะให้คิดว่าในช่วงนี้ศูนย์ปฏิบัติราชการของ ดำ� เนนิ การตามคำ� แนะนำ� ของเจา้ หนา้ ทสี่ ำ� นกั งบประมาณ
เมืองชลบุรีอาจจะอยู่แถวๆ บริเวณด้านเหนือตลาดปลา ว่าในปีต่อไปทางส�ำนักงบประมาณจะได้จัดสรรเงินให้
(ซึง่ ก�ำลังจะยา้ ยไปอยูท่ ่ีอืน่ ในเร็วๆน้)ี แต่หลังจากไดม้ กี าร ด�ำเนินการก่อสร้างศาลากลางหลังใหม่ให้เสร็จ อันความ
ปฏริ ปู ระบบราชการการปกครองสว่ นภมู ภิ าคมาเปน็ แบบ ปรารถนาดขี องเจา้ หนา้ ทท่ี คี่ วบคมุ การใชจ้ า่ ยเงนิ ของชาติ
มณฑลเทศาภบิ าลโดยการประกาศแบง่ หวั เมอื งตา่ งๆ เปน็ ยังมีความปรารถนาดีต่อการสร้างสรรค์ความเจริญของ
มณฑลและให้มณฑลขึ้นอยู่ในบังคับบัญชาของกระทรวง บ้านให้แก่จังหวัดชลบุรีเช่นน้ี ก็จ�ำเป็นอย่างยิ่งในฐานะท่ี
มหาดไทยแทนที่จะอยู่ในกรมท่าเมื่อปี ๒4๓๗ แล้ว ข้าพเจ้ามีส่วนในการเห็นชอบจะต้องด�ำเนินการไปตาม
ศูนย์ปฏิบัติราชการหรืออาคารศาลากลางจังหวัดชลบุรี เปา้ หมายนไ้ี ปใหบ้ งั เกดิ ความสำ� เรจ็ เรยี บรอ้ ยและประหยดั
(แทนบ้านเจ้าเมือง) จึงได้เริ่มมีข้ึนในระยะนี้ ณ ริมถนน เงินตามมติด้วย ข้าพเจ้าจึงได้ขอร้องไปยังเทศบาลเมือง
วชิรปราการ ชลบุรี และสมาชิกสภาเทศบาลเมืองชลบุรี ขอให้รับเอา
ครน้ั ตอ่ มาสมยั ท่ี นายนารถ มนตเสวี ดำ� รงตำ� แหนง่ ศาลากลางจังหวัดหลังเดิมเป็นที่ท�ำการเทศบาลแทนท่ี
ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรีจึงได้มีการด�ำริสร้างศาลากลาง ท�ำการของเทศบาลท่ีก�ำลังช�ำรุดทรุดโทรมอยู่ โดยขอ
จงั หวดั หลงั ใหมข่ นึ้ ดงั ความตอนหนงึ่ ในสาสน์ ผวู้ า่ ราชการ เงินช่วยเหลือจากเทศบาลสมทบในการก่อสร้างเป็น
จงั หวดั ชลบุรี ซึ่งลงพมิ พ์ในหนงั สอื ที่ระลึกเปิดศาลากลาง เงิน ๑,๕0๐,๐๐๐ บาท และขอเงินงบประมาณแผ่นดิน
จงั หวดั ชลบุรี ๒๐ มนี าคม ๒๕๑๐ ว่า มาเพียง 2,0๐๐,0๐๐ บาท ข้าพเจ้าขอขอบคุณคณะ
เทศมนตรี และบรรดาสมาชิกสภาเทศบาลเมืองชลบุรี
“......เราได้ศาลากลางจังหวัดหลังใหม่คราวนี้ ไว้ ณ โอกาสนี้เป็นอย่างสูงท่ีได้พร้อมใจกันเล็งเห็นความ
โดยบังเอญิ เพราะเมื่อปี พ.ศ. ๒๕0๗ ขา้ พเจา้ ไดต้ ิดต่อกบั ส�ำคัญและความเจริญของจงั หวัดชลบุรี โดยอนุมตั ิเงนิ ให้
คุณศิริ ปกาศิต อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณและ การกอ่ สรา้ งศาลากลางจงั หวดั นี้ เพอื่ ใหถ้ กู ตอ้ งตรง
คณุ บญุ ธรรม ทองไขมกุ ข์ รองผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งบประมาณ กับผังเมืองในอนาคต ทางจังหวัดชลบุรีจึงได้ขอร้องให้
เพยี งขอเงนิ ๓๕๐,๐๐๐ บาท มาปรบั ปรงุ หอ้ งประชมุ ของ ส�ำนักผังเมืองวางจุดท่ีตั้งศาลากลางที่จะก่อสร้างข้ึนใหม่
จังหวัดเสียใหม่ และจะเพิ่มห้องเป็นท่ีท�ำการส่วนจังหวัด ทางส�ำนักผังเมืองก็ได้ให้ความกรุณาจัดการไปตามความ

หนงั สือท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 73

ประสงค์ ในขณะที่เร่ิมด�ำเนินการก่อสร้างได้มีประชาชน เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั้น หลังคาทรงไทย
บางคนผปู้ รารถนาดตี อ่ บา้ นเมอื ง ไดย้ น่ื คำ� รอ้ งไปทางสำ� นกั ตามแบบศาลากลางจงั หวดั ช้ันเอกของกรมโยธาเทศบาล
นายกรัฐมนตรีข่าวผ่านหนังสือพิมพ์ว่า ไม่ควรจะสร้าง (สมยั นน้ั -ปจั จบุ นั คอื กรมโยธาธกิ าร) ขนาดความยาวตลอด
ศาลากลางลงในที่แห่งนี้ จะท�ำให้สนามหญ้าเมืองเสียไป ตวั อาคาร ๙๘ เมตร ความกวา้ งทว่ั ไป ๘ เมตร สำ� หรับมขุ
ทางสำ� นกั นายกรฐั มนตรไี ดส้ อบถามทางจงั หวดั ความจรงิ ด้านสกัดแต่ละด้าน มีความกว้าง ๘.๕๐ เมตร ยาว ๓๘
ขา้ พเจา้ กเ็ หน็ ดว้ ยตามทมี่ ผี รู้ อ้ งเรยี นแสดงความคดิ เหน็ ไม่ เมตร สว่ นมุขกลางกว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๒๖ เมตร มพี ื้นท่ี
เพียงเพราะเหตุว่าเมื่อสร้างศาลากลางแล้วจะไม่มีสนาม ปฏิบัติราชการรวม ๑,๙๔๓ ตารางเมตร (ไม่นับระเบียง
สำ� หรบั เลน่ กฬี ากห็ าไม่ ขา้ พเจา้ ไมเ่ หน็ ดว้ ย เพราะขา้ พเจา้ ทางเดิน)
ด�ำริจะสร้างที่ชุมนุมชน เพื่อเป็นเมืองใหม่ข้ึนทางทิศใต้ อนงึ่ ศาลากลางจงั หวดั ชลบุรหี ลังนี้ นอกจากจะมี
ของที่ต้ังจังหวัดชลบุรีตามความคิดเห็นชอบของฯพณฯ ความกวา้ ง-ยาวเปน็ พเิ ศษแลว้ ยงั มหี อ้ งประชมุ งดงามมาก
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ดงั นี้ ข้าพเจ้าจึงตอบ แห่งหน่งึ ของประเทศไทยอกี ดว้ ย
ใหท้ างสำ� นกั นายกรฐั มนตรที ราบตามความจรงิ และไดร้ อ การที่จังหวัดชลบุรีให้เทศบาลเมืองชลบุรีรับเอา
ช้ีขาดจากส�ำนักนายกรัฐมนตรี ในเวลาอันสมควรจังหวัด ศาลากลางจังหวัดหลังเก่าเป็นท่ีท�ำการของเทศบาลเมือง
ไมร่ บั ตอบประการใด จงึ ไดด้ ำ� เนนิ การกอ่ สรา้ งศาลากลาง ชลบรุ ี ไดท้ ำ� เปน็ หนงั สอื สญั ญาแลกเปลยี่ นทด่ี นิ กนั ระหวา่ ง
จังหวดั หลังใหม่ต่อไป” กระทรวงการคลังกับเทศบาลเมืองชลบุรี เมื่อวันท่ี 19
ศาลากลางจังหวัดชลบุรีหลังที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน กรกฎาคม 2508 ณ ท่ีว่าการอ�ำเภอเมืองชลบุรี โดย
ได้วางศิลาฤกษ์ลงมือก่อสร้างเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม ตกลงสญั ญากนั วา่ กระทรวงการคลงั ยนิ ยอมโอนทดี่ นิ ของ
๒๕๐๘ เวลา ๐๘.๒๔ นาฬิกา และท�ำพิธีเปิดศาลากลาง กระทรวงการคลงั ตาม น.ส.3 ทะเบยี นเล่ม 1 เลขท่ี 28
เมื่อวันท่ี ๒๐ มีนาคม ๒๕1๐ เวลา ๑๐.๕๔ นาฬิกา หน้า 6 ตำ� บลบางปลาสร้อย
โดย พล.อ.ประภาส จารุเสถยี ร รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง อ�ำเภอเมอื งชลบรุ ี จังหวดั ชลบุรี เนือ้ ท่ี 2 ไร่ 1 งาน
มหาดไทยสมัยน้ันเป็นประธานในพิธีท้ังสองคราว 62 วา ให้แกเ่ ทศบาลเมอื งชลบุรี และเทศบาลเมืองชลบุรี
สิ้นค่าก่อสร้างท้ังหมดประมาณ ๔.๔ ล้านบาทเศษ ยนิ ยอมโอนทด่ี นิ ของเทศบาลเมอื งชลบรุ ี 2 แปลง คอื ทด่ี นิ
(เงินงบประมาณแผ่นดิน ๒ ล้านบาท เทศบาลเมือง ตาม น.ส.3 ทะเบียนเล่ม 1 เลขที่ 75 หน้า 15 ต�ำบล
ชลบุรีช่วยเหลือ 1.๕ ล้านบาท นอกนั้นเป็นเงินบริจาค) บางปลาสร้อย อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี เนื้อท่ี

ศาลากลางจังหวัดชลบรุ ี

74 หนงั สอื ทีร่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

2 ไร่ 42 วา และที่ดินตาม น.ส.3 ทะเบียนเล่ม 1 ในที่ดินของกระทรวงการคลัง ตาม น.ส.3 เลขท่ี 28 ไว้
เลขท่ี 76 หนา้ 16 ตำ� บลบางปลาสรอ้ ย อำ� เภอเมอื งชลบรุ ี เป็นเงิน 1,202,500 บาท ส่วนของเทศบาลเมืองชลบุรี
จังหวดั ชลบรุ ี เนอื้ ที่ 2 ไร่ 3 งาน 82 วา ให้แกก่ ระทรวง 2 แปลง น.ส.3 เลขท่ี 75 ตีราคาเป็นเงิน 84,200 บาท
การคลังเป็นการแลกเปลี่ยน โดยบรรดาอสังหาริมทรัพย์ และ น.ส.3 เลขที่ 76 ตีราคาเป็นเงิน 118,200 บาท
ท้ังหลายในท่ีดินของกระทรวงการคลังที่โอนให้เทศบาล บุคคลซึ่งเป็นผู้ลงนามฐานะคู่สัญญาในหนังสือสัญญา
ขณะนนั้ มอี าคาร 3 หลงั ไดแ้ ก่ ศาลากลางจงั หวดั ทท่ี ำ� การ แลกเปลยี่ นทด่ี นิ ดงั กลา่ ว คอื นายนพิ ทั ธ์ นลิ สลบั สรรพากร
สรรพสามติ จงั หวดั และหอ้ งเกบ็ พสั ดขุ องมหาดไทยกโ็ อน จังหวัดชลบุรี (แทนกระทรวงการคลัง) กับนายประมวล
ให้แก่เทศบาลด้วย ส่วนอาคารและสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ใน รงั สคิ ตุ ปลดั จงั หวดั ชลบรุ ี ซง่ึ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทน่ี ายกเทศมนตรี
ที่ดนิ ของเทศบาลท้ัง 2 แปลง เทศบาลต้องท�ำการร้ือถอน เมอื งชลบรุ ี (แทนเทศบาลเมืองชลบรุ ี) ในขณะนน้ั
ออกไป ในครั้งน้ันได้มีการตั้งราคาของอสังหาริมทรัพย์

ศาลากลางจงั หวัดชลบรุ ี ศาลจงั หวัดชลบุรี
สร้างตอนปลายสมยั รชั กาลท่ี 5 สรา้ งตอนปลายสมยั รัชกาลที่ 5

ภาพมมุ สงู ภมู ทิ ศั น์ ศาลจังหวัดชลบุรี หลงั เก่า
บรเิ วณหน้าศาลากลางจังหวดั ชลบรุ ี (หลังเกา่ )

หนงั สือทีร่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี 75

โรงพยาบาลเทศบาลเมอื งชลบุรี

ถนนโรงพยาบาลเก่า เป็นถนนที่เริ่มจากบริเวณ จัดการกอ่ ต้งั โรงพยาบาลขึน้ ณ ท่ดี ินชายทะเล มลี กั ษณะ
ส่ีแยกหอพระพุทธสิหิงค์ฯ ไปทางทิศตะวันตก จดกับ เป็นเรือนไม้ชั้นเดียวอยู่ตรงสุดถนนโรงพยาบาลเก่าใน
ถนนพระยาสจั จา เหตทุ ไ่ี ดช้ อื่ วา่ “ถนนโรงพยาบาลเก่า” ปัจจุบัน ห่างจากที่ต้ังศาลากลางจังหวัดชลบุรีประมาณ
เนื่องจากในอดีตตรงบริเวณสุดถนนสายนี้เป็นท่ีต้ังของ ๘๐๐ เมตร ค่าก่อสร้างโรงพยาบาลได้จากการชักชวน
“โรงพยาบาลจังหวัดชลบุรี” ซึ่งเคยเป็นโรงพยาบาล บรรดาพ่อค้า ประชาชนช่วยกันบริจาค ในการสร้าง
ในสังกัดสุขาภิบาลเมืองชลบุรี (เทศบาลเมืองชลบุรีใน โรงพยาบาลน้ีต้องสร้างบ่อคอนกรีตขนาดใหญ่ส�ำหรับ
ปัจจุบัน) ใส่น้�ำฝนไว้ใช้ถึง ๕ บ่อด้วยกัน เมื่อสร้างโรงพยาบาล
จากหลักฐานเอกสารท่ีบันทึกเกี่ยวกับประวัติของ เสร็จแล้วให้ช่ือว่า “โรงพยาบาลจังหวัดชลบุรี” สังกัด
โรงพยาบาลชลบุรีบ่งชี้ว่า จังหวัดชลบุรีเริ่มมีโรงพยาบาล สุขาภิบาลเมืองชลบุรี มีนายแพทย์ขุนอินวราคมเป็น
มาตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๖๒ และตลอดระยะเวลา ผู้ด�ำเนินงาน ซึ่งนับเป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลชลบุรี
ท่ีผ่านมาได้มีการเปลี่ยนสังกัด ย้ายสถานท่ีต้ัง ขยาย คนแรก (พ.ศ. ๒๔๖๒-๒๔๗๑)
เนอ้ื ทเ่ี พมิ่ อาคารตา่ งๆ ตลอดจนเพิม่ อัตราก�ำลัง คณุ ภาพ ส�ำหรับค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาลในสมัยน้ันได้มา
และปริมาณงานของโรงพยาบาลมาตามล�ำดับ จนเป็น จากหลายทาง คือ จากเงินรายได้ของสุขาภิบาลและได้มี
โรงพยาบาลศูนย์ของภาคตะวันออกในปจั จบุ นั การร้องขอให้ประชาชนช่วยบริจาคบ�ำรุงด้วย นอกจาก
วิวัฒนาการของโรงพยาบาลชลบุรีเริ่มจากใน นี้ได้มีบรรดาข้าราชการในเวลานั้นได้รวบรวมกันเข้าเป็น
ปีพุทธศักราช ๒๔๖๒ อ�ำมาตย์เอกพระยาสัจจาภิรมย์ คณะฝึกซ้อมละครพูดเพื่อแสดงให้ประชาชนชมในฤดู
(สรวง ศรีเพ็ญ) ข้าหลวงจังหวัดชลบุรีหรือผู้ว่าราชการ ร้อนช่วงเดือนเมษายน โดยวิธีออกขายบัตรผ่านประตูใน
จังหวัดชลบุรีในสมัยนน้ั รว่ มดว้ ยนายแพทย์ ภาคพเิ ศษลว่ งหนา้ เงนิ ทไี่ ดจ้ ากการแสดงละครมอบใหแ้ ก่
ขุนอินวราคม สาธารณสุขจังหวัด เห็นว่าชลบุรี โรงพยาบาลเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยตา่ งๆ สถานทที่ ใี่ ชแ้ สดงละครได้
ควรมีโรงพยาบาลเพื่อให้บรกิ ารประชาชนเสียที จึงได้เริม่ ปลกู เปน็ โรงชวั่ คราวบรเิ วณทๆ่ี ตง้ั ศาลากลางจงั หวดั ชลบรุ ี

76 หนงั สอื ทีร่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

หลงั ปจั จบุ นั การแสดงละครดงั กลา่ วทำ� ตดิ ตอ่ กนั เปน็ งาน ปัจจุบัน ส�ำหรับเป็นสถานท่ีก่อสร้างโรงพยาบาลข้ึนใหม่
ประจ�ำปีอยู่หลายปี อันเป็นต้นเหตุให้เกิดมีงานประจ�ำปี มีเน้ือที่ ๒4 ไร่ 32 วา โดยท่ีดินแปลงดังกล่าวเป็นของ
ในเวลาต่อมา แต่ได้เปลี่ยนแปลงวิธีการจัดงานและจัด หลวงบ�ำรุงราชนิยม นายแพทย์สง่า วิชพันธ์ จึงได้เจรจา
งานใหญข่ นึ้ เรอื่ ยๆ และเปลยี่ นชอื่ กนั หลายครงั้ จนในทสี่ ดุ ขอซอื้ ทดี่ นิ จากหลวงบำ� รงุ ราชนยิ ม ซงึ่ หลวงบำ� รงุ ราชนยิ ม
กลายมาเปน็ งานสงกรานตป์ ระจำ� ปดี งั ทเ่ี ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั ได้ขายให้ในราคาทุน มิได้คิดก�ำไรแต่อย่างใด นายแพทย์
ปีพุทธศักราช ๒๔๗8 ได้มีการเปลี่ยนแปลง สง่า วิชพันธ์ จึงขอร้องให้หลวงบ�ำรุงราชนิยม หาเงินมา
การปกครองท้องถิ่นใหม่โดยได้มีการประกาศใช้ ตั้งงบประมาณรายจ่ายค่าท่ีดินในปีต่อไป เนื่องจากท่ีดิน
พระราชบัญญัติเทศบาลขึ้นท่ัวประเทศ จึงได้มีการยก ๒4 ไร่ 32 วา ท่ีจัดซื้อไว้ส�ำหรับสร้างโรงพยาบาล แม้จะ
ฐานะสุขาภิบาลเมืองชลบุรีขึ้นเป็นเทศบาลเมืองชลบุรี มคี วามยาวขนานไปตามแนวถนนสขุ มุ วทิ กวา่ ๑๐0 เมตร
โรงพยาบาลจงั หวดั ชลบรุ จี งึ ไดโ้ อนไปอยใู่ นความดแู ลของ แต่ท่ีดินมิได้อยู่ติดกับถนนเพราะมีท่ีดินของผู้อ่ืนบังอยู่
เทศบาลเมอื งชลบรุ ี โดยมนี ายแพทยส์ งา่ วชิ พนั ธ์ เปน็ นาย ด้านหน้า หลวงบ�ำรุงราชนิยมจึงได้บริจาคเงินส่วนตัว
แพทยผ์ ู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล ในขณะนัน้ โรงพยาบาลมี ขอซ้ือท่ีดินที่บังหน้าอยู่ยกให้เป็นสมบัติของโรงพยาบาล
เรือนพักคนไข้ ๒ หลงั ห้องคนไข้พิเศษ ๓ หอ้ ง และห้อง ชลบุรีรวมเป็นเน้ือที่ 3๐ ไร่ โดยมอบหลักฐานในการซ้ือ
ผา่ ตดั ๑ ห้อง ท่ีดินท่ีบังหน้านี้ไว้แก่เทศบาลเมืองชลบุรีซ่ึงยังเป็นผู้ดูแล
ด้วยเหตุที่โรงพยาบาลต้ังอยู่ในทะเล ล้อมรอบไป โรงพยาบาลอยู่ แต่ยังมิได้จัดการขอแบ่งแยกโฉนดออก
ดว้ ยปา่ แสมและโกงกางและอยใู่ นทนี่ ำ้� ทะเลทว่ มถงึ อาคาร มาจากที่เจา้ ของเดิม ตอ่ มานายแพทยส์ ง่า วิชพนั ธ์ ไดข้ อ
ต่างๆ ซึ่งเป็นอาคารไม้จึงทรุดโทรมเร็ว ขณะเดียวกัน ความช่วยเหลือจากผู้ท่ีชอบพอกันให้ช่วยปรับที่ดินให้ได้
งานบริการผู้ป่วยก็ขยายตัวมากขึ้น การซ่อมแซมอาคาร ระดบั และวางแผนผังการกอ่ สร้างโรงพยาบาล ตลอดจน
หรอื ขยายอาคารทำ� ไดย้ ากลำ� บาก นายแพทยส์ งา่ วชิ พนั ธ์ ขอความช่วยเหลือจากบรรดาพ่อค้าคหบดีให้บริจาคเงิน
ได้เชญิ ให้ พระยาบุรีรักษ์เวชชการ อธิบดีกรมสาธารณสขุ เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการกอ่ สรา้ งตกึ และอาคารท่ีจำ� เปน็
มาชมโรงพยาบาล เมื่อพระยาบุรีรักษ์เวชชการได้ชมท่ัว จากการศึกษาประวัติการรับมอบกิจการของโรง
แลว้ ใหค้ วามเหน็ วา่ สถานทตี่ งั้ โรงพยาบาลอยใู่ นทะเลเชน่ พยาบาลชลบรุ จี ากเทศบาลเมอื งชลบรุ ี พบวา่ มเี อกสาร
นัน้ ไมเ่ หมาะสม เพราะเปน็ ที่มอี ากาศชื้น ตอ่ ไปบา้ นเมือง ของกองนิติการ กระทรวงสาธารณสขุ ซ่ึงเปน็ รายงานการ
เจริญข้ึนจะสร้างขยายให้กว้างขวางย่ิงข้ึนจะเป็นการยาก ประชุม เรื่อง การโอนโรงพยาบาลของเทศบาลมาสังกัด
ควรรบี หาทางยา้ ยขน้ึ ไปตง้ั บนบกโดยเรว็ เพอ่ื รองรบั ความ กระทรวงสาธารณสุข ณ หอ้ งประชุมกระทรวงมหาดไทย
เจรญิ ของเมอื งในภายหนา้ นายแพทยส์ งา่ วชิ พนั ธ์ จงึ ไดน้ ำ� เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2493 ระหว่างผู้แทนกระทรวง
ความคดิ เหน็ นม้ี ารายงานหลวงบำ� รงุ ราชนยิ ม (สญู สงิ คาล มหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข และเทศบาล พบว่า
วณชิ ) นายกเทศมนตรเี มืองชลบรุ ใี นขณะนัน้ (ปลาย พ.ศ. เป็นการด�ำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี ตามหนังสือ
๒๔79 – ๒๔83) ให้ทราบ ที่ ม 9156/2492 ลงวันท่ี 11 พฤศจิกายน 2492 โดย
พุทธศักราช ๒๔๘๓ นายแพทย์สง่า วิชพันธ์ ในเบ้ืองตน้ จะเสนอในรปู ตราเป็นกฎหมายเพราะมปี ญั หา
นายแพทยผ์ อู้ ำ� นวยการโรงพยาบาล หลวงบำ� รงุ ราชนิยม เกย่ี วกบั เรอ่ื งทรพั ยส์ นิ แตผ่ แู้ ทนของกระทรวงสาธารณสขุ
(สญู สงิ คาลวณชิ ) นายกเทศมนตรเี มอื งชลบรุ ี และพระยา ได้ยนื ยันวา่ กระทรวงสาธารณสุขจะรับโอนเฉพาะกจิ การ
บุรีรักษ์เวชชการ อธิบดีกรมสาธารณสุข จึงได้ร่วมกัน ของโรงพยาบาลมาดำ� เนนิ การเทา่ นน้ั สว่ นอสงั หารมิ ทรพั ย์
พิจารณาจัดย้ายโรงพยาบาลจากที่ตั้งเดิมซ่ึงน�้ำท่วมถึงมา ยังเป็นของเทศบาลอยู่ กระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้ขอใช้
อยู่บนบก เม่ือได้ปรึกษากับกองออกแบบผังเมืองแล้วได้ ด้วยเหตุนี้จึงมิได้มีการด�ำเนินการเก่ียวกับการโอน
เลือกและจัดซื้อท่ีดินซึ่งเป็นท่ีต้ังของโรงพยาบาลชลบุรีใน โรงพยาบาลของเทศบาลในรปู ของกฎหมาย

หนงั สือทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี 77

ต�ำหนกั น้�ำ

ตำ� หนักน้�ำจากอดีตสู่ปจั จุบัน

ต�ำหนกั น�ำ้ ในอดตี

เม่ือเอ่ยถึง “ต�ำหนักน�้ำ” ชาวชลบุรึในวันน้ีต่าง ยงิ่ เปน็ ต�ำหนักท่พี ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั
นึกถึงภาพสวนสาธารณะขนาดใหญ่ของเทศบาลเมือง มาประทบั คราวเสดจ็ ประพาสจงั หวดั ชลบรุ ี เมอ่ื วนั เสารท์ ่ี
ชลบุรีที่มีศาลารูปเก๋งจีนตั้งเด่นเป็นสง่าอยู่กลางสระน้�ำ ๗ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๕ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ชลบรุ ี
ใหญ่ สวนสาธารณะท่ีคราคร่�ำไปด้วยผู้คนทุกเพศทุกวัย คอื พระยาวิเศษฤๅไชย ได้จัดวิง่ ควายถวายทอดพระเนตร
ท่ีมาเดิน วิ่ง พักผ่อน และออกก�ำลังกายทุกเช้าเย็น แต่ ท่ีหน้าศาลากลางจังหวัดชลบุรี มีหลักฐานปรากฏใน
หากเมื่อย้อนภาพไปในอดีต “ต�ำหนักน้�ำ”คือ ต�ำหนักที่ พระราชกิจรายวนั กรมราชเลขาธิการ บันทกึ ไว้ ดงั น้ี
มลี ักษณะเปน็ เรอื นปั้นหยาอยใู่ นทะเล มสี ะพานทอดยาว หนา้ ตำ� “หวนันกั ก๗รฯม๑ข๔1นุ 2มรรุพ.ศง.ษ1์3พ1ระเรสาดช็จทลางนเรพือรพะรแะสทงี่นสำ�่ังทหี่รทับ่า
จากชายฝั่งลงไปเหมือนบ้านสะพานของคนชลบุรีในอดีต
ต�ำหนักน�้ำหลังดังกล่าวสร้างข้ึน โดยเจ้าพระยาเทเวศร์ มณฑลแก่พระสุนทรพิพิธ แล้วเสด็จลงเรือจะเสด็จเมือง
วงศ์ววิ ฒั น์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร ชลบุรี พอผ่านโรงทหาร กองทหารโห่ร้องถวายไชยมงคล
ณ อยุธยา) เม่ือราวปีพุทธศักราช ๒๔๕๔ เพ่ือ ลอ่ งลงมาตามลำ� นำ้� เวลาเทยี่ งถงึ ปากนำ�้ บางปะกง เสดจ็ ขน้ึ
เป็นท่ีประทับของเจ้านายที่เสด็จมาชลบุรี ต�ำหนักน้ีเป็น ประทบั บนศาลาการเปรยี ญวดั บางปะกงมเี จา้ คณะมณฑล
ต�ำหนักของพลตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนมรุพงษ์ และเจ้าอธิการวัดน้ีมาคอยรับเสด็จและมีราษฎรมาคอย
ศริ พิ ฒั น์ ประทบั เมอ่ื มาวา่ ราชการทช่ี ลบรุ ี โดยเฉพะอยา่ ง เฝา้ ราษฎรนำ� ปลาและนำ�้ ปลามาถวาย โปรดพระราชทาน

78 หนังสอื ท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี

เงินทุกราย และพระราชทานเสมาเงิน จ.ป.ร. แก่เด็กลูก นำ� พอ่ คา้ ไทย จนี เฝา้ ประทบั ทอดพระเนตรแขง่ กระบอื แล
หลานของราษฎรทม่ี าเฝา้ นนั้ ทง้ั หญงิ และชาย แลว้ ประทบั แห่ผ้าปา่ ซึง่ พ่อค้าพลเมืองได้จดั ให้มขี ้นึ
เสวย ณ ท่นี ั้น ประทับเสวยเคร่ืองว่าง ณ ท่ีน้ันแล้วเสด็จกลับยัง
เวลา บา่ ย ๒ โมง 4๕ นาที เสดจ็ ลงประทบั เรอื ยนต์ ท่ีประทับแรม โปรดให้เลื่อนก�ำหนดวันท่ีจะเสด็จกลับไป
พระสงฆใ์ นวดั น้ีสวดชยนั โต อกี ๒ วัน”
เวลา 3 โมง ๔๕ นาที เรือพระท่ีน่ังเทียบสะพาน
ทา่ นำ�้ เมอื งชลบรุ ี พระยาวเิ ศษฤๅไชย และขา้ ราชการเมอื ง
นนั้ มาคอยรบั เสดจ็ เสดจ็ ขน้ึ ประทบั ตำ� หนกั กรมขนุ มรพุ งษ์
ทีเ่ มืองชลบุรนี ้ัน
เวลา บ่าย ๔ โมง เสด็จที่ว่าการเมือง กองเสือป่า
และลูกเสือนักเรียนชายหญิงต้ังแถวรับเสด็จที่สนามหญ้า
หน้าที่ว่าการ ทหารเรือชายทะเลทั้งข้างขวา ข้างซ้าย
ต�ำรวจภูธร เมื่อประทับบนท่ีว่าการแล้ว พระยาวิเศษฤา

สวนตำ� หนกั นำ�้ ในปัจจบุ ัน

หนังสอื ท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 79

สญั ลกั ปแษฏกณม่ปิบ์แหรัตหาะพิ มง่ชรงสาะคชถรลนาานเชฉเทกพล๕ซ่ีรอ่ืิมึ่งณธเพรฉันียรชั ลวกะกิมาจิชาคพใลนนมรทมกะี่พ๒าเ๙กรร๕รียบ๕เษสรำ� ๐บตดาเิดัจ็ ๘นพท๐่ือรุกงะขพใรบ์นราร�ำโชอรษดุงกาำ�สาเสขุนินทรง

เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา
๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 กรมการ
ปกครอง กระทรวงมหาดไทย ได้จัดท�ำโครงการก่อสร้าง
สัญลักษณ์แห่งสถานที่เสด็จพระราชด�ำเนินทรงปฏิบัติ
พระราชกรณียกจิ ในการบ�ำบัดทกุ ขบ์ ำ� รงุ สุขแก่ประชาชน
เพื่อเฉลิมพระเกียรติเน่ืองในโอกาสมหามงคลเฉลิม
พระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ใน ๗๕
จังหวดั จำ� นวน ๘๐ แห่งทวั่ ประเทศ เพอื่ เปน็ การเผยแพร่
พระเกียรติคุณและน้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ตลอดจนถวายเป็น
ราชสักการะแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ได้ทรง
สร้างคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติและพสกนกิ รชาวไทย กนั พจิ ารณากำ� หนดขนาด วสั ดแุ ละประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ย

ในการด�ำเนินงาน จังหวัดชลบุรีได้แต่งต้ังคณะ ทั้งนี้ โดยใช้รูปแบบศาลาและมณฑปตามแบบที่กรมการ
ท�ำงานพิจารณาความเหมาะสมของสถานท่ีท่ีจะก่อสร้าง ปกครองก�ำหนดเป็นหลักในการด�ำเนินการ ซ่ึงเทศบาล
ซึ่งคณะกรรมการฯ ได้พิจารณาและมีความเห็นว่าให้ เมืองชลบุรีได้ปรับแบบศาลาและมณฑปใหม่ให้เหมาะ
ก�ำหนดสถานที่ก่อสร้างสัญลักษณ์แห่งสถานที่เสด็จ สมกับพื้นที่ที่จะก่อสร้างดังรูปแบบท่ีปรากฏในปัจจุบัน
พระราชด�ำเนินทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจฯ ภายใน โดยอาคารมีลักษณะเป็นศาลาทรงไทยประยุกต์ท่ีมีความ
สวนเฉลมิ พระเกียรติฯ รัชกาลที่ ๙ เนื่องจากเป็นใจกลาง สงา่ งาม โครงสรา้ งคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ชนั้ เดยี วขนาดกวา้ ง
ของสถานท่ีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเสด็จ ๓.๐๐ เมตร ยาว ๔.๐0 เมตร ภายในอาคารประดิษฐาน
พระราชดำ� เนนิ ปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ ในการบำ� บดั ทกุ ข์ แท่นตราสญั ลกั ษณ์ 8๐ พรรษา บรเิ วณโดยรอบศาลาเปน็
บำ� รงุ สขุ แกป่ ระชาชน ณ ศาลากลางจงั หวดั ชลบรุ หี ลงั เดมิ ลานคอนกรีตเสริมเหล็กชนิดทรายล้างท่ีสวยงาม พร้อม
(ส�ำนักงานเทศบาลเมืองชลบุรี) ศาลากลางจังหวัดชลบุรี ติดต้ังโคมไฟแสงสว่างบริเวณด้านข้างลานคอนกรีตทั้ง
ปจั จบุ นั และบรเิ วณลานพระบรมรปู รชั กาลที่ ๕ (สวนเฉลมิ สองด้าน ใช้งบประมาณในการก่อสร้างทั้งส้ิน จ�ำนวน
พระเกียรตฯิ รชั กาลที่ ๙) เมอื่ ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๑๑ ๙๘๐,๐๐๐ บาท โดยกรมการปกครองจดั สรรงบประมาณ

จงั หวดั ชลบรุ ไี ดม้ อบหมายใหส้ ำ� นกั งานโยธาธกิ าร ให้ จำ� นวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และจา่ ยจากงบประมาณของ
และผังเมืองจังหวัดชลบุรี และเทศบาลเมืองชลบุรี ร่วม เทศบาลเมอื งชลบุรี จำ� นวน ๘๘๐,๐๐๐ บาท

80 หนังสอื ท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี

บอกกลา่ วเลา่ ขาน

“คำ� ขวัญเทศบาลเมืองชลบุร”ี

พระพทุ ธสิหิงค์สูงค่า พระปดิ ตาลือเลื่อง
เมอื งเก่าบางปลาสรอ้ ย

ถิ่นซอยคล้องจอง ดังก้องประเพณีวง่ ิ ควาย

เทศบาลเมืองชลบุรีได้จัดท�ำโครงการประกวด และถูกตอ้ งตามหลักภาษาไทย
ค�ำขวัญประจ�ำเทศบาลขึ้น เม่ือปี 2552 นับเป็นปีท่ี 4. ต้องเป็นค�ำขวัญท่ีส่งเข้าประกวดแต่งข้ึนเอง
เทศบาลเมืองชลบุรีมีอายุครบ 74 ปี เพื่อให้เทศบาลมี ไมซ่ �้ำกับค�ำขวัญอ่นื และไม่เคยไดร้ บั รางวลั มาก่อน
ค�ำขวัญประจ�ำเทศบาลที่เป็นค�ำขวัญท่ีบ่งบอกและส่ือ 5. ผู้ส่งค�ำขวัญสามารถส่งได้มากกว่า 1 ค�ำขวัญ
ความหมายที่เป็นเอกลักษณ์ของเทศบาลเมืองชลบุรีโดย แตม่ ีสทิ ธิ์ไดร้ บั รางวลั เพยี ง 1 รางวัล
เฉพาะ โดยเปิดโอกาสให้นักเรียน นิสิต นักศึกษาและ 6. คำ� ขวญั ทส่ี ง่ เขา้ ประกวดเปน็ ลขิ สทิ ธข์ิ องเทศบาล
ประชาชนท่ัวไปส่งค�ำขวัญเข้าร่วมประกวด ซึ่งมีผู้สนใจ เมืองชลบุรี และเทศบาลสามารถปรับแต่งค�ำขวัญให้
ส่งค�ำขวัญเข้าร่วมประกวด 580 ค�ำขวัญและเทศบาลได้ เหมาะสมได้
ตัดสินการประกวดค�ำขวัญเมื่อวันท่ี 17 กันยายน 2552
โดยมหี ลกั เกณฑก์ ารประกวดคำ� ขวญั ประจำ� เทศบาลเมอื ง
ชลบุรี ดงั น้ี
1. ค�ำขวัญที่ส่งเข้าประกวดต้องเป็นค�ำขวัญที่ส่ือ
ความหมายถึง “เทศบาลเมอื งชลบรุ ”ี โดยเฉพาะ
2. คำ� ขวญั ตอ้ งบง่ บอกและมคี วามหมายครอบคลมุ
ถึง เร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ ความเป็นมาเอกลักษณ์ท่ี
โดดเด่น สถานท่ี ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท่ีส�ำคัญของ
เมือง เช่น เมืองบางปลาสร้อย พระพทุ ธสหิ ิงค์ฯ ประเพณี
วิ่งควาย พระเจ้าตากสิน วชริ ปราการ เมอื งพาณิชยกรรม
เป็นตน้
3. ตอ้ งเป็นข้อความที่ส้ัน กะทัดรัด ใจความเหมาะ
สม สอ่ื ความหมายชดั เจน แสดงถงึ ความคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็
ค�ำท่คี ล้องจอง ง่ายต่อการจดจ�ำ ความยาวไมเ่ กิน 20 ค�ำ

หนงั สือท่รี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี 81

ค�ำขวัญที่ได้รับรางวัลชนะเลิศได้แก่ค�ำขวัญที่ว่า กรมศิลปากรเป็นผู้หล่อโดยจ�ำลองแบบเท่ากับพระพุทธ
“พระพุทธสิหิงค์ฯ สูงค่า พระปิดตาลือเลื่อง เมืองเก่า สหิ ิงค์องคจ์ รงิ ซงึ่ ประดษิ ฐานอยู่ ณ พระทน่ี ัง่ พทุ โธสวรรย์
บางปลาสร้อย ถ่ินซอยคล้องจอง ดังก้องประเพณีว่ิง ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ สร้างด้วยเนื้อเงินบริสุทธ์ิ
ควาย” โดย ด.ญ. ชมพนู ทุ วงศพ์ มิ ล นกั เรยี นโรงเรยี นเทศ ท้ังองค์ น�้ำหนกั 53 กโิ ลกรัม ฐานเป็นทองส�ำรดิ หนกั 73
บาลอินทปัญญา พร้อมท้ังเทศบาลได้ประชาสัมพันธ์ กโิ ลกรมั สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช
คำ� ขวญั ดงั กลา่ วในงานประเพณี วง่ิ ควายจงั หวดั ชลบรุ ี ครง้ั ท่ี กิตติโสภณมหาเถระทรงพระกรุณาท�ำพิธีถวายพระนาม
138 ประจ�ำปี 2552 และได้มอบรางวัลในวันเสาร์ที่ 3 พระพทุ ธสหิ งิ คอ์ งคน์ วี้ า่ “พระพทุ ธสหิ งิ ค์ มงิ่ มงคลสริ นิ าถ
ตุลาคม 2552 ณ บริเวณกลางงานประเพณีวิ่งควายซึ่ง พุทธบริษัทราษฎร์กุศลสามัคคี ชลบุรี ปูชนียบพิตร”
ปรากฏวา่ คำ� ขวญั ดงั กลา่ วไดร้ บั การยอมรบั จากประชาชน วันที่ 1 มีนาคม 2504 พุทธศาสนิกชนชาวชลบุรีได้
ท่ัวไป โดยเฉพาะอย่างย่ิง ผู้ซึ่งเป็นชาวชลบุรีโดยแท้ อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์ฯ จากวัดเบญจมบพิตรมายัง
เนอื่ งจากค�ำต่างๆ ทเี่ รยี งร้อยเปน็ ค�ำขวัญนน้ั ล้วนบง่ บอก จงั หวดั ชลบรุ ี ปจั จบุ นั ประดษิ ฐานอยู่ ณ หอพระพทุ ธสหิ งิ คฯ์
ถึงความเป็นเทศบาลเมืองชลบุรีโดยเฉพาะซ่ึงสอดคล้อง เปน็ พระพทุ ธรปู ประจ�ำเมืองชลบุรี มีความศักด์สิ ิทธิ์ และ
กับความเห็นของคณะกรรมการตัดสินการประกวด พุทธลกั ษณะงดงามยิง่ นัก
ค�ำขวญั โดยมที ่มี าของค�ำขวญั ดงั น้ี

“พระพทุ ธสหิ งิ ค์สงู คา่ ” “พระปดิ ตาลอื เล่อื ง”
ชลบุรีเป็นเมืองพระมาตั้งแต่สมัยโบราณในยุคต้น
รตั นโกสนิ ทร์ พระเกจิอาจารยท์ ี่มีชอ่ื เสยี งโดง่ ดัง ไดส้ ร้าง
พระปิดตาสุดยอดล้�ำค่าของเมืองไทยที่มีเอกลักษณ์โดด
เด่นเป็นวัตถุมงคลที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนและ
มีค่านิยมสูงในปัจจุบัน ได้แก่ หลวงพ่อแก้ว วัดเครือวัลย์
หลวงปู่ภู่ วัดนอก หลวงปู่เจียม วัดก�ำแพง หลวงพ่อโต
วดั เนนิ สทุ ธาวาส หลวงปคู่ รพี วดั สมถะ ดว้ ยอานภุ าพของ
พุทธคุณอันศักด์ิสิทธ์ิทางด้านเมตตามหานิยม และหาได้
ยากยง่ิ ในปจั จบุ นั จนไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ “เบญจภาคี
พระปิดตา เนอ้ื ผง” ของประเทศไทย ประกอบด้วย
1. หลวงพอ่ แกว้ วดั เครือวัลย์
ประวัติหลวงพ่อแก้ว ตามต�ำนานท่านเป็นคน
จังหวัดเพชรบุรี เกิดประมาณ พ.ศ. 2346 - พ.ศ. 2351
เดินธุดงค์ไปอยู่วัดเครือวัลย์ แขวงบางปลาสร้อย อ�ำเภอ
เมือง จงั หวดั ชลบุรี การสร้างพระปิดตาของทา่ นคงอยู่ใน
พระพุทธสิหิงค์ฯ ชลบุรี เป็นพระพุทธรูปคู่เมือง ราว พ.ศ. 2400 - พ.ศ. 2430 ได้จัดสร้างไว้หลายพิมพ์
ชลบุรีที่บรรดาพุทธศาสนิกชนในจังหวัดชลบุรี ต่างเห็น มีทั้งเนื้อผงและเน้ือตะกั่ว เป็นพระปิดตายอดนิยมอันดับ
พ้องกันว่า จังหวัดชลบุรีควรจะมีพุทธานุสรณ์ท่ีเป็นส่ิง หนงึ่ ของชลบรุ ี ทา่ นมรณภาพประมาณ พ.ศ. 2426 - พ.ศ.
ส�ำคญั เชิดหน้าชตู าและเคารพบชู า จึงไดพ้ ร้อมใจกนั หล่อ 2431 ในกลางสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
หลอมก�ำลังกาย ก�ำลังใจ และก�ำลังทุนทรัพย์จัดสร้างข้ึน เจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ 5

82 หนงั สอื ทร่ี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

อกี หนงึ่ สดุ ยอดของพระปดิ ตาจงั หวดั ชลบรุ ี ทา่ นมรณภาพ
เมือ่ วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2454

พระปดิ ตาหลวงพ่อแกว้ พมิ พ์ใหญ่
หลังแบบเนอ้ื ผงคลุกรกั (ด้านหนา้ ดา้ นหลงั )
พระปิดตาหลวงป่เู จยี ม พิมพ์โยงก้น
เนือ้ ผงคลุกรกั (ดา้ นหนา้ ด้านหลัง)
2. หลวงปภู่ ู่ วดั นอก
ประวัติหลวงปู่ภู่ ถือว่าเป็นพระภิกษุร่วมสมัยกับ
หลวงพอ่ แก้ว วัดเครือวลั ย์ ทา่ นเป็นคนเพชรบรุ ีเช่นเดยี ว 4. หลวงพ่อโต วัดเนนิ สทุ ธาวาส
กับหลวงพ่อแก้ว ได้ธุดงค์มาเมืองชลบุรีพร้อมกัน ประวตั หิ ลวงพอ่ โต หรอื เจา้ อธกิ ารโต ทา่ นเกดิ เมอ่ื
ตามต�ำนานได้บันทึกไว้ว่าท่านเกิดประมาณ พ.ศ. 2350 พ.ศ. 2372 เปน็ คนจงั หวดั เพชรบรุ ี เช่นเดียวกับหลวงพอ่
การสรา้ งพระปดิ ตา ไมแ่ นช่ ดั วา่ หลวงป่ภู ไู่ ดจ้ ดั สรา้ งตงั้ แต่ แก้วและหลวงปู่ภู่ ท่านได้ย้ายมาอยู่และอุปสมบทที่เมือง
เมื่อใด แต่พระปิดตาเน้ือผงมีอายุความเก่าเช่นเดียวกับ ชลบุรี ท่านได้สร้างพระปิดตาข้ึนประมาณ พ.ศ. 2430
หลวงพ่อแก้ว วัดเครือวัลย์ จัดสร้างไว้หลายพิมพ์ทรง เม่ือคราวสร้างอุโบสถของวัดเนินสุทธาวาส มีพุทธคุณใน
เปน็ พระยอดนยิ มอนั ดบั สองของจงั หวดั ชลบรุ ี ทา่ นมรณภาพ ดา้ นเมตตามหานิยม ไม่ยง่ิ หย่อนไปกวา่ พระปิดตาของส�ำ
เมอื่ ประมาณ พ.ศ. 2436- พ.ศ. 2441 นกั อื่นๆ ท่านมรณภาพในปี พ.ศ. 2447

พระปิดตาหลวงปภู่ ู่ พิมพเ์ ศยี รตดั พระปดิ ตาหลวงพ่อโต พิมพเ์ ขา่ ยก
เนอ้ื ผงคลกุ รกั (ดา้ นหน้า ด้านหลงั เนื้อผงคลุกรัก (ดา้ นหน้า ดา้ นหลงั )

3. หลวงปเู่ จยี ม วัดก�ำแพง 5. หลวงปู่ครีพ วดั อุทยานนที (วัดสมถะ)
ประวัติพระครูชลโธปมคุณมุนี หรือ หลวงปู่เจียม ประวัติหลวงปู่ครีพ ท่านเป็นชาวจังหวัดชลบุรี
วัดกำ� แพง เกิดเม่ือ พ.ศ. 2398 ทจ่ี งั หวัดชลบรุ ี นบั วา่ เปน็ เกิดเมื่อ พ.ศ. 2400 ในสมัยรัชกาลที่ 4 ท่านมีความ
พระเกจิอาจารย์รุ่นเก่าองค์หน่ึงของจังหวัดชลบุรี ท่าน สามารถในการเทศนม์ หาชาติ และเป็นผู้พัฒนาการศึกษา
สรา้ งพระปดิ ตามหาอตุ มเ์ นอื้ ผงศกั ดสิ์ ทิ ธไ์ิ วห้ ลายพมิ พเ์ มอื่ ของคณะสงฆ์ เปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในการพฒั นาศาสนจกั รของ
กวา่ 100 ปมี าแลว้ ทา่ นเปน็ พระผแู้ ก่กล้าในทางพุทธาคม จังหวัดชลบุรีจนเจริญไปมาก ท่านเป็นพระที่มีความใกล้
พระปิดตาท่ีท่านสร้างจึงมีความเข้มขลังในทุกด้าน แต่ไม่ ชดิ กบั หลวงปเู่ จียม วดั ก�ำแพง สมยั ก่อนอาณาเขตของวัด
ปรากฏหลกั ฐานวา่ ทา่ นสรา้ งขน้ึ มาตง้ั แตเ่ มอ่ื ใด ถอื วา่ เปน็ ตดิ ตอ่ กนั ทา่ นสรา้ งพระปดิ ตาเนอ้ื ผงไว้ ซงึ่ ชาวชลบรุ เี รยี ก

หนังสือท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 83

กันว่า “พระยอดขุนพลแห่งพระปิดตา” ของเมืองชลบุรี มคี ลองๆ หนงึ่ ซง่ึ มตี น้ นำ�้ มาจากเขาเขยี วทต่ี ง้ั อยทู่ างทศิ ใต้
และเช่ือกันว่าหากหาพระปิดตาหลวงพ่อแก้ว พระปิดตา ของอำ� เภอในปจั จบุ นั และปรากฏวา่ ในคลองนม้ี ปี ลาสรอ้ ย
หลวงปู่ภู่ พระปิดตาหลวงปู่เจียม พระปิดตาหลวงพ่อโต มาก ชาวบา้ นจงึ เรยี กหมบู่ า้ นนวี้ า่ “บางปลาสรอ้ ย” ซงึ่ คำ�
ไม่ได้ ให้หา “พระปิดตาหลวงปู่ครีพ” ไว้บูชาแทนก็จะ วา่ “บาง” กค็ อื หมบู่ า้ นนนั้ เอง
ไม่ผดิ หวงั ท่านถงึ แกม่ รณภาพในปี พ.ศ. 2461 “ถนิ่ ซอยคล้องจอง”
พ้ืนท่ีเขตเทศบาลเมืองชลบุรี ฝั่งทิศตะวันตกของ

พระปดิ ตาหลวงปคู่ รีพ พิมพเ์ ศยี รโต
เน้อื ผงคลุกรัก (ดา้ นหน้า ด้านหลงั )

“เมอื งเก่าบางปลาสรอ้ ย”
เมืองชลบุรีเป็นชุมชนเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออก วัดนอกและวดั เครือวัลย์
ของอ่าวไทย มีชื่อเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า “เมืองบางปลา
สร้อย” ปรากฏอยู่ในหลักฐานทางประวัติศาสตรส์ มัยกรุง ถนนวชิรปราการตลอดแนวตั้งแต่ทิศใต้ไปจดทิศเหนือจะ
ศรอี ยธุ ยาตอนกลางในยคุ เดยี วกบั เมอื งบางพระเรอื (ตำ� บล มีซอยต่างๆ ท่ีประชาชนใช้เป็นเส้นทางสัญจรจากชุมชน
บางพระในปจั จบุ นั ) และเมอื งบางละมงุ (อำ� เภอบางละมงุ ) ชายทะเลเขา้ มาในตวั เมอื งซง่ึ เปน็ ยา่ นการคา้ ซอยดงั กลา่ ว
เป็นชุมชนเมืองที่เกิดขึ้นหลังเมืองศรีพโล สถานที่ต้ังของ ถกู พฒั นามาจากสะพานตา่ งๆ ซงึ่ ในอดตี ทอดยาวลดั เลาะ
เมืองชลบุรีปัจจุบันในอดีตคนพ้ืนท่ีหรือคนต่างถ่ินหรือ ผ่านบ้านเรือนประชาชนท่ีอยู่ในบริเวณน้�ำทะเลท่วมถึง
แม้แต่แผนท่ีของทางราชการเรียกว่า “บางปลาสร้อย” และเป็นทม่ี าของลกั ษณะชุมชนทเ่ี รยี กวา่ “บา้ นสะพาน”
คนจนี เรยี ก “มง่ั กะสว่ ย” ปจั จบุ นั “บางปลาสรอ้ ย” เปน็ สมยั ท่ี นายจำ� นงค์ จนั ทถริ ะ เปน็ นายกเทศมนตรี
ช่อื ต�ำบลหนึ่งในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี เป็นตำ� บลเก่าแก่ เมืองชลบุรี (๑๕ พฤษภาคม ๒๔๘๓ – ๒๙ มิถุนายน
เหตทุ เี่ รยี กวา่ บางปลาสรอ้ ยนนั้ เลา่ กนั วา่ ในทอ้ งทต่ี ำ� บลนี้ ๒๔๘๗) ได้ตงั้ ชื่อสะพานตา่ งๆ ใหม้ ีความคล้องจองกนั ถงึ
๓๔ สะพาน ลักษณะเฉพาะของชื่อสะพานที่มีความ
คลอ้ งจองกนั น้ี นำ� ไปสกู่ ารแขง่ ขนั ประลองความแมน่ ยำ� ใน
การรา่ ยเรยี งชอ่ื สะพานในหมคู่ นเมอื งชล หากใครสามารถ
ขานชอ่ื สะพานไดถ้ กู ตอ้ งครบถว้ นจะไดร้ บั การชน่ื ชม และ
มีความภาคภูมิใจ มิใช่น้อย แม้แต่เด็กเล็กๆ ก็พยายามท่ี
จะจดจำ� ชือ่ สะพานหรือช่ือซอยทง้ั ๓๔ ซอยดงั กล่าว เพ่ือ
ถา่ ยทอดสู่คนอืน่ ๆ หากมโี อกาส จงึ ขอนำ� ช่อื สะพานหรือ
ช่อื ซอยต่างๆ ทัง้ ๓๔ ซอย มาเรยี บเรียงไวด้ งั น้ี
1. ลาดวถิ ี 10. บ้านลำ� ภ ู
19. ไกรเกรยี งยคุ 28. ย่านโพธิท์ อง
ภาพบรรยากาศในเขตเทศบาลเมอื งชลบุรี

84 หนงั สือท่รี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

2. ศรบี ัญญตั ิ 11. คกู ำ� พล 20. สุขนิรนั ดร์ 29. คลองสงั เขป
3. รฐั ผดงุ 12. กลป้อมคา่ ย 21. เสริมสนั ติ 30. เทพประสาท
4. บ�ำรุงเขต 13. บ่ายพลนำ� 22. อดิเรก 31.ราษฎร์ประสทิ ธ์ิ
5. เจตนป์ ระชา 14. ส�ำราญราษฏร ์ 23. เอกวุฒ ิ 32. จติ ประสงค์
6. ทฆี ามารค 15. ชาตเิ ดชา 24. อุทยาน 33. จงประสาน
7. ภาคมหรรณพ์ 16. ทา่ เรือพล ี 25. ธารนท ี 34. เทศบาลสมมุติ
8. จนั ทร์สถิต 17. ศรนี ิคม 26. ปรดี ารมย์
9. พิทย์สถาน 18. ปฐมวัย 27. ชมส�ำราญ

“ดงั กอ้ งประเพณีวิ่งควาย”
ประเพณีวิ่งควาย เป็นประเพณีเก่าแก่ด้ังเดิมของ
ชาวชลบุรีที่มีการสืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคน จัดข้ึน
โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ควายซ่ึงเป็นสัตว์เลี้ยงไว้ใช้งาน
ภายในไร่ ในนาไดพ้ กั ผอ่ นหลงั จากทต่ี รากตรำ� ทำ� งานอยา่ ง
หนัก มีถิ่นก�ำเนิด ณ ต�ำบลบางปลาสร้อย เขตเทศบาล
เมืองชลบุรี มีหลักฐานตามต�ำนานว่าเม่ือประมาณ 100
ปีเศษมาแล้ว ณ วัดใหญ่อินทาราม พระอารามหลวง
เจ้าอาวาส อุบาสก อุบาสกิ าและพทุ ธศาสนกิ ชนท้งั หลาย
ไดป้ รกึ ษาหารอื กนั วา่ ควรจะจดั ใหม้ กี ารจดั เทศนม์ หาชาติ
เป็นงานประจ�ำปีของวัดในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 ซึ่ง
ตรงกับวันพระและวันออกพรรษา เม่ือถึงเวลาท�ำบุญ
ชาวไร่ ชาวนาและชาวสวนได้น�ำสิ่งของเครื่องใช้ในการ
ติดกัณฑ์เทศน์ใส่เกวียนบรรทุกไปที่วัดและตกแต่งเกวียน
ให้สวยงามด้วยหน่อกล้วย ต้นอ้อย ทะลายมะพร้าวและ
ทางมะพร้าว ตอนบ่ายเจ้าของเกวียนจะชวนกันข่ีควาย
ไปยังสระบัวเพ่ือให้ควายกินน�้ำและเล่นน�้ำ เม่ือควายมา
ชมุ นมุ กนั มากๆ เจา้ ของควายจงึ ทา้ ประลองขค่ี วายแขง่ กนั 11 ของปตี อ่ ๆ มา เจา้ ของควายเทยี มเกวยี นจงึ ไดน้ ำ� ควาย
เป็นที่สนุกสนาน ตั้งแต่นั้นมาเม่ือถึงวันขึ้น 14 ค�่ำ เดือน ของตนออกมาวิ่งแข่งขันกันจนกลายเป็นประเพณีสืบต่อ
กนั มาทกุ ปี
นับตั้งแต่วันท่ี 17 กันยายน 2552 เป็นต้น
ไป เทศบาลเมืองชลบุรีจึงมีค�ำขวัญประจ�ำเทศบาลที่ว่า
“พระพทุ ธสิหิงค์สงู คา่ พระปิดตาลอื เลอื่ ง เมอื งเก่าบาง
ปลาสรอ้ ย ถน่ิ ซอยคลอ้ งจอง ดงั กอ้ งประเพณวี งิ่ ควาย”
ซ่ึงถือว่าเป็นค�ำขวัญท่ีมีความเหมาะสมท่ีสุดส�ำหรับ
เทศบาลเมืองชลบุรี

หนังสอื ทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี 85

กบั เใมนอื หงลชวลงบรุ ี

ตอนท่ี



รชั กาลท่ี ๕ เสดจ็ ประพาสเมอื งชลบรุ ี
รชั กาลที่ ๖ เสดจ็ ประพาสเมอื งชลบรุ ี
รชั กาลท่ี ๙ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ จงั หวดั ชลบรุ ี
รชั กาลที่ ๑๐ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ จงั หวดั ชลบรุ ี

รัชกาลท่ี ๕ เสดจ็ ประพาสเมืองชลบรุ ี

พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสดจ็ เมืองชลบุรี
เมอื่ วนั ท่ี 23 ธันวาคม พุทธศกั ราช 2451

แถวบนสุด พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว และ
พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอพระองคเ์ จา้ อุรพุ งศริ ชั สมโภช
แถวที่ ๒ สมเดจ็ พระอนุชาธริ าชอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา
สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอเจ้าฟ้าบรพิ ตั รสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์ วรพนิ ติ
แถวท่ี ๓ กรมหลวงประจกั ษ์ฯ กรมพระยาด�ำรงฯ
แถวที่ ๔ สมเด็จพระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ จฑุ าธชุ ธราดลิ ก กรมขนุ เพชรบรู ณอ์ นิ ทราชัย
กรมหมื่นมรุพงษฯ์
แถวท่ี ๕ กรมหม่ืนสงิ หวกิ รมเกรียงไกร
แถวที่ ๖ เจ้าพระยายมราช กรมขุนสรรพศาสตร์
แถวที่ ๗ ทา่ นขวามอื พระยาบุรุษ ทา่ นซา้ ยมือ คือ หลวงอำ� นาจจนี

88 หนังสือทีร่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดเ้ สดจ็ อยู่ด้วย มจี ดหมายเหตปุ รากฏเปน็ หลกั ฐาน เพือ่ ผู้อ่านจะ
ประพาสชลบรุ ีหลายครง้ั แต่ละครง้ั ไดท้ รง ไดท้ ราบรายละเอยี ดในการเสดจ็ ประพาสตลาดชลบรุ ขี อง
พระราชนิพนธ์เป็นจดหมายเหตุไว้เป็นหลักฐาน พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ครง้ั สดุ ทา้ ย จงึ
ท�ำให้ชนรุ่นหลังได้ทราบถึงเหตุการณ์ต่างๆ ในระหว่าง ขออญั เชญิ พระราชนิพนธ์นั้นมาประกอบ
เสด็จพระราชด�ำเนินแล้ว ยังท�ำให้ชนรุ่นหลังมองเห็น “จนี ไตก้ ง๋ วา่ ถา้ ไปอา่ งหนิ เหน็ จะถกู คลน่ื มากกวา่ น้ี
สภาพจงั หวดั ชลบรุ ใี นสมยั นน้ั ไดด้ เี ปน็ พเิ ศษ จดหมายเหตุ จึงตกลงกันไปเมืองชล เมื่อไปถึงเข้าแล้วพอเรือไชยาจอด
เหล่าน้ันล้วนเป็นอมตพระราชนิพนธ์ท่ีสร้างความภูมิใจ อยูใ่ นทนี่ น้ั แวะไปถามท่เี รอื ไชยาถึงเรอื่ งนำ�้ และขอยืมเขา
ให้แก่ชาวจังหวัดชลบุรีมาทุกยุคทุกสมัย เพราะเป็นหลัก ด้วย สมอส�ำหรับเรือก็มีมาแต่หลวงฤทธิ์ไม่เอามาเพราะ
ฐานแสดงวา่ พระองคท์ รงพระมหากรณุ าธคิ ณุ ใกลช้ ดิ สนทิ ถนัดแต่เดินดิน ในแม่น�้ำไม่ต้องการสมอจึงต้องไปจอด
สนมกับชาวจังหวัดชลบุรีมาก จนถึงกับชาวจังหวัดชลบุรี อาศัยผูกอยู่ท่ีเรือเจ๊ก เพราะหย่ังน�้ำน�้ำท่ีน้ันสามศอกเรือ
ตอ้ งสรา้ งพระบรมราชานสุ าวรยี ไ์ วเ้ ปน็ ทส่ี กั การะบชู าหนา้ ไชยาลากเรือไกรสรสีห์ไปแต่เช้า จึงจับเรือไกรสรสีห์ส่ง
ศาลากลางจังหวัดชลบุรี กรมหลวงด�ำรงเจ้าพระยายมราชข้ึนไปตรวจทางได้ความ
จากพระราชนิพนธ์จดหมายเหตุ ฉบับวันท่ี ๙ ว่า ที่เรือเมล์ไปจอดอยู่ ๒ ล�ำ น้�ำลึก ๔ ศอก เข้าไปได้
มกราคม พ.ศ. ๒๔1๙ จะจบดว้ ยประโยคที่วา่ จึงได้แล่นเข้าไปเทียบขึ้นท่ีเรือเมล์ เรือเมล์เขามาจอดที่
“ทอ่ี า่ งศลิ าเปน็ ทส่ี นกุ แลเปน็ ทสี่ บายมาก เราอยาก สะพานศาลเจ้า อยู่ระหว่างสะพานหลวงเดิมและสะพาน
จะใครอ่ ยนู่ านๆ แตไ่ มใ่ ครจ่ ะมเี วลาไปอยพู่ น้ ๑๐ วนั เลย” หน้าท่ีว่าการยาวกว่าทุกสะพานแต่แคบ เคร่ืองอาบอะไร
จากพระนพิ นธพ์ ระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระสมมติ ท่ีมีไปต้องขอแรงคนในเรือเมล์ช่วยเชิญตามเสด็จ เพราะ
อมรพนั ธุ์ พ.ศ. 2438 มีความตอนหน่งึ ว่า มีมหาดเล็กไปแต่พระยาบุรุษกับพระนายเสมอใจเท่าน้ัน
“ตะพานขึน้ ท่าน้ันกไ็ กลมาก มีหลายตะพาน แตท่ ี่ เจ้าพวกนั้นรื่นรมย์กันมาก ตามเสด็จสะพร่ังเดินก้ันร่มไป
ยาวท่ีสุดและม่ันคงนั้น คือ ตะพานหลวง ได้ลองเดินนับ ตามสะพาน ลมจัดรูส้ กึ จะเปน็ โจนร่มเสยี ให้ได้ เหมือนยัง
ก้าวคะเนดสู ัก 11 เสน้ หรอื กระไรจำ� ไมไ่ ด้ถนัด” กับร่มมันจะพาตัวเราไปในเลน มีต�ำรวจภูธรน�ำคนหน่ึง
สำ� หรบั ในปี พ.ศ. 2451 ซ่ึงเป็นครัง้ สดุ ทา้ ยในการ ด้วย เจ้านั่นก็เพ่ิงมาอยู่ใหม่ถามอะไรไมได้เร่ืองสักอย่าง
เสด็จประพาสชลบุรีของพระบาทสมเด็จพระปิยมหาราช แต่ขยันดี ตลาดเมืองชลน้ีต้ังแต่ไฟไหม้แล้วไม่ได้เคยมา
เจา้ หลงั จากนน้ั 2 ปี (2453) เสด็จสวรรคต พระองค์ได้ เหน็ อกี เลย ดคู รกึ ครน้ื แขง็ แรงขนึ้ ทซี่ ง่ึ ขายของสดเตม็ ถนน
เสด็จประพาสตลาดชลบุรีโดยบังเอิญ เดิมทรงต้ังพระทัย อยู่แต่ก่อนเด๋ียวน้ีเป็นร้านขายของต่างๆ ท้ังสองฟากแต่
จะเสด็จประพาสอ่างศิลา แต่ปรากฏว่าคลื่นลมแรง จึง ของบางกอกทั้งน้ันที่เราซ้ือไม่ได้สักสิ่งเดียว กรมมรุพงษ์
เปล่ียนพระทัยเสด็จประพาสตลาดชลบุรี เส้นทางเสด็จ ออกตัวข้ึนมาเองว่าทีจะออกเตรียมๆ เพราะแต่ก่อนเคย
พระราชด�ำเนินจากสะพานศาลเจ้า (ท่าเรือพลี) ถึงศาลา ขายของสดอยเู่ กล้ียงเกลานกั เวลานไ้ี มม่ ใี ครอยูช่ ายกลาง
กลางจงั หวดั ไดเ้ สดจ็ โดยพระบาท มปี ระชาราษฎรเ์ ฝา้ รบั เข้าไปท�ำพลับพลาฉะเชิงเทรา ปลัดไปประจ�ำอยู่อ่างหิน
เสดจ็ ฯ อยา่ งเนอื งแนน่ จากจดหมายเหตเุ สดจ็ ครง้ั หลงั สดุ เหลือกรมการผู้น้อย เดินกว่าจะไปสุดตลาดข้างใต้ถึงท่ี
น้ี ทรงพระราชนิพนธ์ว่า วา่ การไกลพอใช้ รอ้ นเตม็ ทที ง้ั ใสเ่ กอื กแตเ่ ปน็ เกอื กชบู างยงั
“เดินกว่าจะไปสุดตลาดข้างใต้ถึงท่ีว่าการไกล รอ้ นขน้ึ มาจนตนี พอง มรี า้ นถา่ ยรปู รา้ นหนงึ่ ชา่ งจนี อยขู่ า้ ง
พอใช้ ร้อนเต็มที ทั้งใส่เกือก แต่เป็นเกือกชูบาง ยังร้อน จะมีกัลยาณมิตรได้เรียกให้ไปถ่ายรูปหมู่ท่ีท่ีว่าการ ต้ังแต่
ขน้ึ มาจนตีนพอง” โรงโทรเลขไปยังเป็นก�ำมะลอยอบแยบอยู่ทั้งน้ัน แต่เขา
ในการเสด็จประพาสครั้งน้ี ได้ทรงรับส่ังให้ช่างจีน อุตส่าห์ปุปะเยียวยาและรักษาสะอาดจริงๆ การงานเป็น
ที่เฝ้ารับเสด็จฯ อยู่ร้านในตลาดชลบุรีไปถ่ายภาพหมู่ไว้ ระเบียบเรียบร้อยดีจริงๆ เรื่องกับเกือบจะเสียที เพราะ
ภาพน้ันมีหลวงอ�ำนาจจีนนิกรชาวจังหวัดชลบุรีถ่ายร่วม กรมมรุพงษ์ให้เมียไปเตรียมท�ำกับข้าวไว้ท่ีอ่างหิน แต่เรา

หนงั สือท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 89

ไพล่ไปเสียบางปลาสร้อย ถ้าไม่ได้เตรียมตัวไปแล้วเป็น จะแลน่ มาบางเหย้ี คงจะไมช่ า้ กวา่ เรอื โมเตอรเทา่ ใด ขนึ้ เรอื
หาอะไรไมไ่ ดเ้ ปน็ อนั ขาด มีแตข่ นม ขนมแลว้ สารพดั จะมี โมเตอรกลับมาถึงเวลาบ่าย ๕ โมง เวลาเย็นลมอ่อนมาก
ฝอยทอง เมด็ ขนนุ ข้าวเหนียวห่อๆ เขาท�ำเป็นแทง่ ยาวๆ ไม่เรียบทีเดียวเหมือนเม่ือวานน้ีระยะทางท่ีไปวันน้ีขาไป
ดีมาก เป็นของควรแก่กิจที่จะบริโภคแม้ไม่ใช่ของขายใน ตง้ั แตพ่ ลบั พลาทตี่ รงลอ็ คในบางเหยี้ จนถงึ สะพานศาลเจา้
ตลาดและไมใ่ ชส่ ำ� หรบั พระเปน็ อนั ขาด ในบางกอกหาไมไ่ ด้ ชว่ั โมงหน่งึ กบั ๔๒ นาที ขากลับช่วั โมงหน่งึ กับ ๓๖ นาที
อย่างนี้ ส่วนของคาวน้ันไม่ปรากฏว่ามีอะไรนอกจากท่ีจะ เปน็ อนั เรอื โมเตอรนไ้ี ดอ้ อกทะเลมคี ลน่ื สมความปรารถนา
เป็นหม่ี แต่เผอิญเม่ือคืนนี้หลับไปแล้วให้เกิดวิตกวิจารณ์ ทต่ี ้องการ แตถ่ า้ หนักกวา่ น้เี หน็ จะเปยี ก...”
ขน้ึ มาวา่ คบื กท็ ะเลศอกกท็ ะเลพลาดพลงั้ เขา้ จะอด กรมมรุ ทราบว่าในการเสด็จพระราชด�ำเนินตลาดชลบุรี
พงษ์แจกของแจกต่างๆ มีปิ่นโตอต๊อคแจกส�ำหรับประจ�ำ ครั้งน้ีที่ท้ายบ้านนอกจากชาวบ้านจะรับเสด็จฯ อย่าง
เรอื โมเตอรล�ำละใบ เรอื จะออกอดี๋ ้วย จงึ ลุกข้ึนบญั ชาการ เนืองแน่นแลว้ ยงั ได้ตง้ั ตมุ่ นำ�้ ไว้ให้ผู้ตามเสด็จฯ ดม่ื ได้ตาม
ในตกึ ใหเ้ จา้ ถนอมทำ� กบั ขา้ วบรรจลุ งเรอื ลำ� ละใบ ครง้ั เวลา อัธยาศัย พร้อมทั้งได้เขียนโคลงกระทู้เป็นเชิงทูลเกล้าฯ
วนั นขี้ ึ้นไปรวมกันกินท้งั ๒ ใบ เลี้ยงพอกนั หมดและอรอ่ ย ถวายฎกี าใหท้ รงทราบวา่ “เมอื งชลจนนำ้� ” เจา้ ของตมุ่ นำ้�
อ่ิมหน�ำส�ำราญหลวงอ�ำนาจจีนนิกรตามไปหาท่ีท่ีว่าการ และโคลงกระทู้น้ันคือ นายจู ต้นตระกูล “จูตะกานนท์”
เลยวา่ ใหเ้ อาเรอื ฉลอมมารบั ทสี่ ะพานหนา้ ทวี่ า่ การ เพราะ ปู่ของขุนอินทวราคม จึงเป็นปู่ทวดของ นายสมหวัง จู
จะเดนิ อ้อมกลับไปลงสะพานเดนิ ไม่ไหว ทัง้ ไกลท้งั รอ้ น ท่ี ตะกานนท์ รองผวู้ ่าราชการจงั หวัดชลบุรคี นปจั จุบัน เม่อื
หน้าท่ีว่าการนี้เขาขุดร่องพูนถนนลงไปจนถึงชายเลนลึก พระพุทธเจ้าหลวงทอดพระเนตรอ่านโคลงกระทู้น้ันแล้ว
จนมีสะพานไม้ต่อไม่สู้ยาวได้ลงเรือฉลอม ๒ ล�ำด้วยกัน โปรดให้ผู้ตามเสด็จฯ จดโคลงกระทู้นั้นไว้เป็นหลักฐาน
แล่นใบกลับมาท่ีสะพานศาลเจ้า ที่จริงสบายมาก ออก โคลงกระทู้น้นั มีขอ้ ความดงั นี้
เสียดายว่ามาถึงท่ีเรือโมเตอรเร็วไปเพราะลมก�ำลังดี ถ้า

เมอื ง สถิตชายหาดหว้ ง วงั วน
ชล จืดผดื เตม็ ทน ทวั่ แห้ง
จน พระสรุ เิ ยศดล เดือนทศ มาศเฮย
นำ�้ พริ ณุ โรยแหรง้ ทวั่ ฟ้าหลา้ เกษม
ตง้ั โต๊ะเตมิ ต่มุ ต้ัง วารี
ที ่ พระจอมโมฬ ี ลาศเต้า
บ ู หงประดามี หลายหลาก
ชา ติบุปผาเรา้ รสฟงุ้ จรุงใจ
ตมุ่ เต็มตุ่มตัง้ เปีย่ ม อาโป
น�ำ้ บริสุทโธ ต้งั ไว้
ตาม แตห่ มู่ ธโค - จรเหนือ่ ย มานา
ทาง เสดจ็ ประเวศให้ กวาดแผ้วรัชยางค์

90 หนงั สือทรี่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

รัชกาลท่ี ๖ เสดจ็ ประพาสเมอื งชลบุรี

พระบาทสมเดจ็ พระรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชริ าวธุ (ญาณวรเถร) ขณะน้ันด�ำรงสมณศักดิ์ที่พระธรรมไตร
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือทรงพระเยาว์ ทรงด�ำรง โลกาจารย์ ต�ำแหน่งเจ้าคณะมณฑลปราจีนบุรีเป็นผู้น�ำ
พระอิสริยยศเป็นกรมขุนเทพทวาราวดี ได้ติดตามสมเด็จ เสด็จ ปรากฏหลักฐานจากค�ำประกาศสถาปนาให้
พระศรีพัชรินทรา พระบรมราชชนนี ประทับเกาะสีชัง พระธรรมไตรโลกาจารยด์ ำ� รงสมณศกั ดิ์ พระสาสนโสภณ
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ และต่อๆ มาอีกหลายครั้ง เพราะ เมอ่ื วันท่ี ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๔ ความตอนหนงึ่ วา่
ทรงโปรดปรานสถานที่ประทับบนเกาะสีชังมาก และ “…เม่ือพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทร
เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ด�ำรง มหาวชิราวุธทรงผนวชได้ทรงวิสาสะคุ้นเคยกับพระธรรม
พระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้า ไตรโลกาจารย์ และเมอ่ื เสดจ็ ประพาสในมณฑลปราจนี บรุ ี
มหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จออกผนวชวัน ระหวา่ งท่ที รงผนวชนั้น พระธรรมไตรโลกาจารยก์ ็ไดต้ าม
ท่ี ๒๖ สิงหาคม ๒๔๔๗ ระหว่างเสด็จประพาสมณฑล เสด็จพระราชด�ำเนินในกระบวนด้วยตลอดทาง ได้ทรง
ปราจีนบุรี เม่ือวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๔๔๗ ได้เสด็จ มโี อกาสทรงทราบคุณสมบตั ขิ องพระธรรมไตรโลกาจารย์
วัดเขาบางทราย ชลบุรี ทรงถวายนมัสการพระพุทธบาท ตระหนักแน่ สมควรจะเพ่ิมสมณศักดิ์ให้ด�ำรงต�ำแหน่ง
วดั เขาบางทราย ทา่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ อนั สงู ได.้ ..”

หนังสอื ท่รี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 91

รัชกาลที่ ๙

เสด็จพระราชดำ� เนนิ จงั หวดั ชลบุรี

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง เสด็จพระราชด�ำเนินลงจากศาลากลางจังหวัดชลบรุ ี

ในคราวเสด็จพระราชด�ำเนนิ ทรงเยี่ยมราษฎร ๘ มกราคม ๒๕๐๙

วันท่ี ๘ มกราคม ๒๕๐๙ เป็นวันท่ีพสกนิกรชาว พุทธคยาซึ่งเป็นหน่อจากต้นพระศรีมหาโพธ์ิที่พุทธคยา
ชลบุรที กุ หมูเ่ หล่าปล้ืมปติ เิ ป็นลน้ พน้ เม่ือพระบาทสมเดจ็ ประเทศอนิ เดยี ในบรเิ วณหอพระพทุ ธสหิ งิ คฯ์ พรอ้ มเสดจ็
พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราชบรม เยยี่ มราษฎร บรเิ วณถนนวชริ ปราการ พสกนกิ รชาวชลบรุ ี
นาถบพิตร สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ได้เฝา้ รับเสดจ็ และเฝ้าถวายพระพรอย่างใกล้ชิด
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พร้อมด้วย ทูลกระหม่อม หลังจากปี ๒๕๐๙ พระบาทสมเด็จพระบรมชน
หญิงอุบลรัตน์ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จ กาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราชบรมนาถบพิตร
พระราชด�ำเนินจังหวัดชลบุรี กระท�ำพิธีเปิดหอพระพุทธ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินจังหวัดชลบุรีอีกหลายคร้ัง โดย
สิหิงค์ฯ ชลบุรี ทรงสายสูตรเททองหล่อพระพุทธสิหิงค์ฯ เมื่อวันท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕1๑ เสด็จพระราชด�ำเนิน
บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดชลบุรี ทรงปลูกต้นโพธ์ิ ทรงกระทำ� พธิ เี ปดิ พระบรมราชานสุ าวรยี พ์ ระบาทสมเดจ็

92 หนังสอื ท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี

พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั รัชกาลท่ี ๕ บรเิ วณหนา้ ศาลา ราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง และพระบรมวงศา
กลางจังหวัดชลบุรี วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๑๕ เสด็จ นุวงศ์ทุกพระองค์ท่ีมีต่อพสกนิกรชาวชลบุรี จึงประมวล
พระราชดำ� เนนิ ถวายนมสั การองคพ์ ระพทุ ธสหิ งิ คฯ์ ชลบรุ ี ภาพการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ของพระบาทสมเดจ็ พระบรม
ซง่ึ พสกนกิ รชาวชลบรุ ไี ดค้ อยเฝา้ รบั เสดจ็ ชมพระบารมกี นั ชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหาราชบรมนาถบพติ ร
อยา่ งเนอื งแน่นตลอดเส้นทางทเ่ี สดจ็ พระราชด�ำเนนิ ผา่ น และพระบรมวงศานุวงศ์ ท่ีเสด็จพระราชด�ำเนินจังหวัด

ดังนั้น เพ่ือน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของ ชลบุรี มาไว้ในหนังสือที่ระลึก 84 ปี เทศบาลเมืองชลบุรี
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช เพื่อให้ภาพแห่งความทรงจ�ำดังกล่าวประทับอยู่ในดวงใจ
มหาราชบรมนาถบพติ ร สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ พิ์ ระบรม ของชาวชลบุรตี ลอดไป

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิพระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง
และทูลกระหม่อมหญงิ อบุ ลรัตนราชกญั ญา สริ ิวฒั นาพรรณวดี

ประทับยนื หน้ามุขศาลากลางจงั หวดั ชลบรุ ี ใหป้ ระชาชนเข้าเฝ้าถวายพระพร ๘ มกราคม ๒๕๐๙

หนังสอื ท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 93

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงสายสูตรเททองหลอ่ พระพุทธสิหิงค์
ณ ศาลากลางจังหวดั ชลบุรี ๘ มกราคม ๒๕๐๙

(สัญลักษณ์ยังปรากฏอยู่ ณ ลานหน้าสำ� นักงานเทศบาลเมืองชลบรุ ี ในปจั จุบนั )

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ นมสั การพระพุทธสิงหงิ ค์ ชลบุรี

ผวู้ า่ ราชการจังหวดั ชลบรุ ี นำ� เสด็จฯ ทรงเป็นประธานหล่อพระพุทธสิหงิ ค์ทองค�ำ ๘ มกราคม ๒๕๐๙

94 หนังสอื ที่ระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เสด็จพระราชดำ� เนนิ เปดิ หอพระพทุ ธสหิ ิงค์ชลบุรี
๘ มกราคม ๒๕๐๙

หนังสือทร่ี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี 95

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
สมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ิต์พิ ระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง

เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ นมสั การพระพุทธสิงหิงค์ ชลบุรี ผู้วา่ ราชการจงั หวัดชลบรุ ี น�ำเสดจ็ ฯ ๘ มกราคม ๒๕๐๙

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เสด็จพระราชด�ำเนินเททองหลอ่ พระพุทธสหิ งิ ค์ ณ ศาลากลางจังหวัดชลบรุ ี

นายนารถ มนตเสวี ผู้วา่ ราชการจังหวดั ชลบรุ ี ทลู เสดจ็ ฯ ๘ มกราคม ๒๕๐๙

96 หนังสือทร่ี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ นมสั การพระพุทธสิงหงิ ค์ ชลบรุ ี

ผู้ว่าราชการจงั หวัดชลบรุ ี น�ำเสดจ็ ฯ ทรงเป็นประธานหล่อพระพุทธสิหิงค์ทองค�ำ ๘ มกราคม ๒๕๐๙

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ติ ์ิพระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง และทลู กระหมอ่ มหญงิ อุบลรัตนราชกญั ญา สิรวิ ฒั นาพรรณวดี

ทอดพระเนตรหนุ่ พระพทุ ธสิหงิ ค์ ขนาดหน้าตกั ๙ นว้ิ ภายหลังกระท�ำพธิ ีเททองเรียบรอ้ ยแล้ว ๘ มกราคม ๒๕๐๙

หนงั สอื ทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี 97

นายฉนั ทะ หรรษา เจา้ ของรา้ นศรสี มติ ปากซอยทา่ เรือพลี ทูลเกลา้ ถวายของ
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
ในคราวเสดจ็ เย่ียมราษฎร บริเวณถนนวชิรปราการ ชลบรุ ี ๘ มกราคม ๒๕๐๙

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เสด็จพระราชด�ำเนนิ ทรงเยย่ี มราษฎร บรเิ วณถนนวชริ ปราการ ชลบรุ ี เด็กหญงิ บารมี สวสั ดีมงคล ทลู เกล้าถวายของแด่

สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ิพ์ ระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง ๘ มกราคม ๒๕๐๙

98 หนงั สอื ท่รี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ พ์ิ ระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง และทลู กระหมอ่ มหญงิ อุบลรตั น์ราชกัญญา สิริวฒั นาพรรณวดี

เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทรงเยีย่ มพสกนิกรชาวชลบรุ ี ๘ มกราคม ๒๕๐๙

ผวู้ า่ ราชการจังหวดั กราบบังคมทลู แผนผงั สรา้ งเมอื งใหม่แด่พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร 99
มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ณ ศาลากลางจงั หวดั วันท่ี ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๑

หนังสอื ทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี


Click to View FlipBook Version