พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ถวายนมัสการองค์พระพุทธสหิ ิงค์ฯ ชลบุรี
๑๕ กนั ยายน ๒๕๑๕
100 หนังสอื ท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เสด็จพระราชดำ� เนนิ ถวายนมสั การองค์พระพุทธสหิ งิ คฯ์ ชลบรุ ี คณะกรรมการมลู นธิ พิ ระพทุ ธสิหงิ ค์
ถวายรายงานเร่ืองการสรา้ งศาลารายรอบหอพระ ๑๕ กนั ยายน ๒๕๑๕
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
เสด็จพระราชดำ� เนนิ ถวายนมัสการองคพ์ ระพทุ ธสิหิงคฯ์ ชลบรุ ี ๑๕ กนั ยายน ๒๕๑๕
หนงั สอื ท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี 101
รัชกาลท่ี ๙
เสด็จพระราชด�ำเนนิ จังหวดั ชลบรุ ี
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ กลบั หลงั จากนมสั การองคพ์ ระพุทธสหิ งิ ค์ฯ ชลบุรี ๑๕ กนั ยายน ๒๕๑๕
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
เสดจ็ พระราชดำ� เนินทรงกระท�ำพิธีเปิดพระบรมราชานสุ าวรยี ์
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั หน้าศาลากลางจังหวดั ชลบรุ ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๑๑
102 หนังสอื ทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี
รัชกาลท่ี ๑๐
เสดจ็ พระราชดำ� เนินจงั หวัดชลบรุ ี
สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร พรอ้ มด้วยสมเดจ็ พระเจ้าน้องนางเธอเจ้าฟ้าจฬุ าภรณวลยั ลักษณ์ อคั รราชกุมารี
กรมพระศรสี วางควฒั น วรขตั ตยิ ราชนารี (เม่อื คร้ังด�ำรงพระอิสรยิ ยศเปน็ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกมุ าร และ
สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอเจา้ ฟ้าจฬุ าภรณว์ ลยั ลกั ษณ)์ เสดจ็ พระราชด�ำเนินโดยรถยนต์พระท่นี ง่ั ทรงนมัสการองคพ์ ระพุทธสหิ งิ ค์ฯ ชลบุรี
โดยนายอธึก สวัสดีมงคล ประธานมูลนิธพิ ระพทุ ธสิหงิ คฯ์ ชลบรุ ี ทลู เกลา้ ถวายพระพทุ ธสหิ ิงค์ ชลบุรี ขนาดหน้าตัก ๕ นิ้ว
และเยี่ยมราษฎรจังหวัดชลบรุ ี วันอาทติ ย์ที่ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๑๙ เวลา ๑๐.๑๕ น.
หนงั สือทร่ี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 103
ประเเมพือณงชทลี บอ้ รุ ีงถน่ิ
ตอนท่ี
๔
ประเพณวี งิ่ ควายจงั หวดั ชลบรุ ี
ประวตั คิ วามเปน็ มาของประเพณวี งิ่ ควาย
กจิ กรรมในงานประเพณวี ง่ิ ควาย
การถบี กระดานของชาวเมอื งชล
ประวตั คิ วามเปน็ มาของ
ประเพณวี ่งิ ควายจังหวัดชลบรุ ี
“ประเพณีวิ่งควาย” นับว่าเปน็ ประเพณีซงึ่ มีความ
เกา่ แกด่ ง้ั เดมิ ของชาวชลบรุ ี และถอื วา่ เปน็ ประเพณที อ้ งถน่ิ
ที่มีอยู่แห่งเดียวในประเทศไทย ถือเป็นเอกลักษณ์ทาง
วฒั นธรรมประเพณที ที่ รงคณุ คา่ และควรอนรุ กั ษใ์ หม้ คี วาม
ยั่งยืนตามที่กระทรวงวัฒนธรรมได้ประกาศข้ึนทะเบียน
“ว่ิงควาย” เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
ประจ�ำปี พุทธศกั ราช 2555 ประเภทกีฬาภมู ปิ ัญญาไทย
ซ่ึงมีรูปแบบเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ปฏิบัติสืบเน่ือง
กันมาเป็นระยะเวลาอนั ยาวนาน จนเปน็ ประเพณีทอ้ งถิ่น
คู่บ้านคู่เมืองของจงั หวดั ชลบุรี
ด้วยสภาพภูมิประเทศของจังหวัดชลบุรี บางส่วน
จะมีลักษณะเป็นท่ีราบลุ่มแม่นำ้� บางปะกง ดังนั้นชุมชนท่ี
อาศัยอยู่ในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรีบางส่วนจึงเป็นชุมชนท่ี
อยบู่ นทรี่ าบลมุ่ ผนื ดนิ อดุ มสมบรู ณเ์ หมาะแกก่ ารเพาะปลกู
โดยเฉพาะการเกษตรกรรมท�ำไร่ท�ำนา การท�ำนานับว่า
เป็นอาชีพหลักของชาวชลบุรีมาตั้งแต่ดั้งเดิมโดยเฉพาะ
การปลูกข้าวเจ้าไว้เพื่อบริโภค ส่วนข้าวเหนียวนั้นจะมี
การปลูกกันในบางพื้นท่ีของจังหวัด ท้ังน้ีเพราะชาวนา
ของชลบุรีจะปลูกข้าวเหนียวเพื่อใช้ในการท�ำขนมหวาน
ประเภทตา่ งๆ
จากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ความเช่ือ ความศรัทธา
และภมู ปิ ญั ญาของทอ้ งถนิ่ จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ ประเพณที ม่ี คี ณุ คา่
ต่อคุณธรรมในด้านความกตญั ญู คือ ประเพณวี ิ่งควาย
ประเพณีวิ่งควายเป็นประเพณีหน่ึงซึ่งจัดข้ึนโดยมี
จดุ มงุ่ หมายเพอื่ ใหค้ วาย ซง่ึ เปน็ สตั วเ์ ลย้ี งไวใ้ ชง้ านภายในไร่
ในนาไดพ้ กั ผอ่ นหลงั จากทคี่ วายเหลา่ นนั้ ตรากตรำ� ทำ� งาน
อยา่ งหนกั ใหแ้ กช่ าวไรช่ าวนาตลอดฤดกู าลอกี ทง้ั ประเพณี
วง่ิ ควายนย้ี งั มจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ใหเ้ ปน็ กจิ กรรมฉลองงานบญุ
อกี ประการหนงึ่ ด้วย
106 หนังสือทีร่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี
ตามต�ำนานโบราณกาลท่ีเล่าสืบต่อกันมาถึงท่ีมา
ของประเพณีวิ่งควายว่าเกิดจากเปรตอ้ายใหญ่หรือเปรต
เจ้าใหญ่ ซึ่งเป็นวิญญาณช่ัวร้ายท่ีชอบหลอกหลอนให้คน
หวาดกลวั ในทุกๆ ค�่ำคืน โดยเฉพาะชาวบ้านในตำ� บลบาง
ปลาสร้อยน้ันจะถูกเปรตอ้ายใหญ่อาละวาดและข่มขวัญ
ให้หวาดผวาจนเดือดร้อนกันไปท่ัว จึงต้องมีการเซ่นไหว้
เปรตอ้ายใหญ่กันอยู่เสมอๆ กล่าวกันว่า เปรตอ้ายใหญ่
ชอบดูควายว่ิงแข่งกัน เวลาที่ชาวนาจะน�ำควายของตน
กลับบ้านในตอนเย็นกลุ่มชาวนาจะพาควายไปชุมนุมกัน
ท่ีหนองน้�ำชายทุ่งนอกหมู่บ้าน เพื่อให้ควายของตนได้ดื่ม
กนิ นำ�้ และเลน่ นำ้� กอ่ นจะนำ� เขา้ คอก สว่ นชาวบา้ นกจ็ ะรวม
กลุ่มสนทนากนั ในเรอ่ื งตา่ งๆ โดยธรรมชาตขิ องควายแลว้
เมื่อได้ด่ืมน�้ำและเล่นน้�ำจนสบายตัว ก็จะคึกคะนองว่ิงไล่
กันเป็นท่ีสนุกสนาน ชาวนาเมื่อเห็นดังนั้นจึงนึกสนุกและ
คิดที่จะน�ำควายของตนเองมาวิ่งแข่งขันกัน หรือบางคร้ัง
เจา้ ของควายกท็ า้ ทายกนั โดยการขน้ึ ขค่ี วายของตนวงิ่ แขง่
กับควายคนอ่ืนๆ สิ่งเหล่านี้ถือว่าเปรตอ้ายใหญ่ชอบมาก
ถ้าปีใดไม่มีการแข่งขันควายกัน ตกดึกเปรตอ้ายใหญ่ก็จะ
ออกอาละวาดหรือบางครั้งโกรธมากถึงกับเผาตลาดไหม้
วอดวายไป เล่ากนั วา่ เปรตอ้ายใหญไ่ ด้ออกปากขอให้ชาว
บ้านจัดแข่งขันควายให้ตนเองดูเป็นประจ�ำทุกปี มิฉะน้ัน
จะบันดาลให้เกิดเภทภัยร้ายแรงต่างๆ ปีใดไม่มีการจัด
แขง่ ขนั ควายปนี นั้ กจ็ ะเกดิ ไฟไหมใ้ หญใ่ นตลาดเมอื งชลบรุ ี
เกดิ โรคระบาดตา่ งๆ ววั ควายลม้ ตายเปน็ จำ� นวนมาก ดว้ ย
ความเชอ่ื และแรงศรทั ธาจงึ กอ่ ใหเ้ กดิ เปน็ ประเพณที อ้ งถนิ่
ของชาวจังหวัดชลบุรีขึ้น คือประเพณีวิ่งควาย นับตั้งแต่
นั้นมา จึงเป็นต�ำนานที่เล่าขานสืบต่อกันมาเป็นเวลาร้อย
กว่าปีแล้วถึงการเกิดงานประเพณีว่ิงควายกันจากอดีตถึง
ปัจจุบัน
หนังสอื ทีร่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี 107
เมื่อหนึ่งร้อยกว่าปีมาแล้ว ณ วัดใหญ่อินทาราม
พระอารามหลวง ซ่ึงอยู่บริเวณถนนเจตน์จ�ำนงเมืองบาง
ปลาสร้อย (ชลบุรี) เจ้าอาวาสวัด อุบาสก อุบาสิกาและ
พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ได้ปรึกษาหารือกันว่าควรจะให้
มีการจัดเทศน์มหาชาติเป็นงานประจ�ำปีของวัด ซึ่งเมื่อ
ความคิดเห็นพ้องต้องกันแล้วจึงก�ำหนดให้เวลารุ่งอรุณ
ของวนั ขนึ้ 1๕ คำ�่ เดอื น ๑๑ ซง่ึ ตรงกบั วนั พระและวนั ออก
พรรษา เปน็ เวลาของการเรมิ่ ตน้ ในการเทศนม์ หาชาตกิ ณั ฑ์
ทศพร ซงึ่ ในปแี รกนนั้ ผทู้ ร่ี บั เปน็ เจา้ ของกณั ฑเ์ ทศนจ์ ะเปน็
พวกชาวไร่ ชาวนาและชาวสวน และสงิ่ ทน่ี ำ� มาใชใ้ นการตดิ
กณั ฑเ์ ทศน์น้นั จะเป็นผลผลิตการเกษตร เชน่ ข้าวเปลือก
ขา้ วสาร ออ้ ย กลว้ ย หมาก มะพรา้ ว ฟกั ทอง และปลาแหง้ เทศน์มาที่วัด จึงได้น�ำควายของตนมาว่ิงแข่งขันกันเพ่ือ
ต่างๆ เปน็ ตน้ ดังนั้นเมือ่ ถึงเวลาท�ำบุญ พวกชาวไร่ชาวนา ให้คนในตลาดได้ชมกันอย่างสนุกสนาน จนเจ้าของควาย
และชาวสวนจะน�ำส่ิงของเคร่ืองใช้ในการติดกัณฑ์เทศน์ ในต�ำบลใกล้เคียงได้น�ำควายของตนเองมาร่วมแข่งขันกัน
ใสเ่ กวยี นบรรทกุ ไปทว่ี ดั เกวยี นจะมปี ระทนุ ครอบกนั แดด มากมายนับร้อยตัว ชาวบ้านในท้องถ่ินต่างๆ ก็มาดูการ
และฝนและเนอ่ื งจากเปน็ งานบญุ เจา้ ของเกวยี นจงึ ตกแตง่ แข่งขันวิ่งควายกันมากมาย จนกลายเป็นประเพณีสืบต่อ
เกวยี นของตนใหส้ วยงาม โดยการรอ้ ยดอกไมห้ อ้ ยเปน็ มา่ น กันมาทกุ ๆ ปี
หนา้ ประทนุ เกวยี น ใชห้ นอ่ กลว้ ย ตน้ ออ้ ย ทะลายมะพรา้ ว นอกจากการแต่งเกวียนบรรทุกเครื่องกัณฑ์เทศน์
และทางมะพรา้ วตกแตง่ โดยผกู ขนาบสองขา้ งของเกวยี น ให้ดสู วยงามมสี ีสันสดใสแล้ว ควายท่นี �ำมาใชเ้ ทียมเกวยี น
เกวียนทุกๆ เล่มจะถูกตกแต่งให้มีสีสันสดใสสวยงามตา หรือร่วมแข่งขันว่ิงควายนั้น จะถูกเจ้าของควายจับแต่ตัว
เพอ่ื บรรทกุ ขา้ วของเครอื่ งใชม้ าตดิ กณั ฑเ์ ทศนง์ านบญุ ทวี่ ดั ใหส้ วยงาม เชน่ ใชด้ า้ ย ผา้ ดบิ หรอื ผา้ สสี ดใส คาดระหวา่ ง
เมื่อถึงเวลาบ่าย เจ้าของเกวียนจะชวนกันขี่ควายของตน เขาทงั้ สองขา้ งกลางหนา้ ผากควาย ใชก้ ระดาษแขง็ ตดั เปน็
ไปยังสระบัว ซ่งึ เป็นสระนำ�้ ขนาดใหญม่ ดี อกบวั ขนึ้ ในสระ รูปใบโพธ์ิ ปดิ ทบั ดว้ ยแผน่ โลหะฉลุลวดลาย ติดกระดาษสี
มากมาย ซ่ึงควายที่เหน็ดเหนื่อยจากการลากเกวียนจะได้ สลบั ไปมา มกี ารรอ้ ยพวงดอกไมเ้ ปน็ มา่ นระยา้ ระหวา่ งเขา
กินน�้ำและเล่นน้�ำในสระบัวอย่างสนุกสนาน เม่ือควายมา ส่วนเขาทั้งสองข้างจะใช้ผ้าดิบเย็บครอบไว้ ตกแต่งผ้าดิบ
ชมุ นุมกนั ท่บี ริเวณสระบวั มากๆ เช่นนนั้ เจา้ ของควายจงึ ดว้ ยลกู ปดั สสี วยงาม สว่ นปลายเขาจะเปน็ พสู่ ที ดี่ แู ลว้ สะดดุ
ทา้ ประลองขค่ี วายแขง่ กนั เปน็ ทส่ี นกุ สนานอยา่ งยงิ่ ทง้ั คน ตา ควายบางตัวไม่ได้สวมถุงทเี่ ขา จะใชน้ �้ำมนั งาทาเขาให้
และควาย ต้ังแตน่ นั้ มาเม่อื ถงึ วนั ขึน้ 14 ค�ำ่ เดอื น 11 ของ ด�ำและเปน็ เงางาม สว่ นคอควายจะผกู กระดึงหรือกระดิง่
ปีต่อๆ มา เจ้าของควายเทียมเกวียนทบี่ รรทุกเครอ่ื งกณั ฑ์ ใบใหญ่ๆ เพื่อให้เกิดเสียงดังเวลาควายเดิน ล�ำตัวควาย
น้ันจะมีการตกแต่งโดยใช้ผ้าผืนใหญ่ลายสดๆ พาดทับ
บา้ ง ใชส้ ฉี ดี พ่นหรอื ทาบ้าง การตกแต่งควายนีข้ น้ึ อยกู่ บั
จนิ ตนาการหรอื ความคดิ ของเจา้ ของควายแตล่ ะคนนน่ั เอง
ในอดีตน้ันเจ้าของควายต่างๆ มักจะน�ำควายของ
ตนเองมาพักเกวียนและควายไว้ตามลานวัด หรือท่ีมี
บริเวณกว้างๆ ซ่ึงเป็นที่ไม่ไกลจากตลาดมากนัก ปัจจุบัน
คอื บรเิ วณทา่ เกวยี นนนั่ เอง ดงั นนั้ ทกุ ๆ วนั ขนึ้ 14 คำ�่ เดอื น
11 และวันขึ้น 15 ค่�ำ เดือน 11 (วันออกพรรษา) จะมี
108 หนังสือท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี
ท่ีอยู่ต่างหมู่บ้านได้ไปมาหาสู่เท่ียวชมงานกันอย่างท่ัวถึง
ภายในงานมีกีฬาและการละเล่นต่างๆ กิจกรรมประกวด
ผลิตผลทางการเกษตร การตรวจสุขภาพสัตว์เล้ียงหรือมี
งานบันเทงิ ในตอนกลางคืน
วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั
ประเพณวี ่ิงควาย
ประเพณีว่ิงควายเป็นประเพณีท่ีเก่ียวกับอาชีพ
เกษตรกรรม ซ่ึงตกทอดมาจากบรรพบุรุษจนถึงปัจจุบัน
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมประเพณีอันดีงาม และส่ง
เสริมการท่องเท่ียวของจังหวัดชลบุรี โดยจัดงานในวัน
พ่อค้าแม่ค้าน�ำสินค้ามาจ�ำหน่ายบริเวณตลาดท่าเกวียน ขึ้น 14 ค่�ำ เดือน 11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วัน เพ่ือ
มากมาย เจา้ ของควายทน่ี ำ� ควายมาจะจงู ควายไปเทยี่ วใน รอคอยเวลาที่ผลผลิตจะตกดอกออกรวง และให้คนกับ
ตลาด โดยแต่งตัวใหส้ วยงามทั้งคนและควาย ท้ังนเ้ี พ่ือให้ ควายได้มีโอกาสพักผ่อนหลังจากตรากตร�ำงานในท้อง
ควายได้พักผ่อนและเป็นการท�ำขวัญควายอีกด้วย ดังนั้น นามายาวนาน ชาวบ้านได้เตรียมของไปถวายวัด ได้พัก
การแตง่ ตวั ใหค้ วายจงึ แตง่ อยา่ งวจิ ติ รพสิ ดาร แปลกและนา่ ผ่อนและได้สังสรรค์กันระหว่างชาวบ้านซ่ึงเหน่ือยจาก
สนใจตามความคิดสร้างสรรค์ของเจ้าของควายนั้นๆ เช่น งาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายยังเป็นการแสดงความ
ทำ� ถงุ สวมเขาควาย การตกแตง่ เชอื กจงู ควาย การทำ� กระ กตัญญูรู้คุณต่อควาย ที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและ
บงั หนา้ แตง่ ใหค้ วายสวยงามหรอื การตกแตง่ แสเ้ ฆย่ี นควาย คนไทย เปน็ การทำ� ขวญั ควายและให้ควายไดพ้ ักผอ่ นจาก
ใหม้ สี สี นั สดใส เปน็ ตน้ เมอื่ จงู ควายไปซอื้ ของในตลาดแลว้
บางครงั้ จะมกี ารขค่ี วายใหช้ มรอบๆตลาดอกี ดว้ ย รงุ่ ขน้ึ จงึ
นำ� ควายไปวง่ิ แขง่ ขนั กนั เปน็ ทส่ี นกุ สนาน ในระหวา่ งปหี าก
ชาวนาคนใดมคี วาย ทเี่ จบ็ ปว่ ยกจ็ ะบนบานศาลกลา่ วตอ่
เปรตอ้ายใหญ่ให้ควายของตนเองหายจากความเจ็บป่วย
และนำ� ควาย มาวงิ่ แกบ้ นใหช้ ม จนกลายมาเปน็ ประเพณี
สบื ต่อกันมาจนถงึ ทกุ วันน้ี
ดังท่ีกล่าวว่า ประเพณีว่ิงควายนั้น ถือว่าเป็น
ประเพณสี บื เนอื่ งมาจากงานบญุ นน่ั คอื การเทศนม์ หาชาติ
ดังนั้นในวันที่เทศน์มหาชาติ (ขึ้น 15 ค่�ำ เดือน 11)
เจา้ ของกณั ฑเ์ ทศน์ จะนำ� เคร่ืองกณั ฑเ์ ทศนบ์ รรทุกเกวยี น
มาทั้งส้ิน 13 เล่ม ตามจ�ำนวนของกัณฑ์เทศน์ 13 กัณฑ์
ใชค้ วายในการเทยี มเกวยี นทง้ั สนิ้ 26 ตวั โดยเจา้ ของกณั ฑ์
เทศนน์ นั้ จะนำ� เครอ่ื งกณั ฑเ์ ทศนม์ าไวท้ ว่ี ดั กอ่ น เพอื่ เตรยี ม
ในเรื่องงานบญุ เทศนม์ หาชาตทิ ี่จัดขนึ้
ประเพณีว่ิงควายในปัจจุบัน เทศบาลเมืองชลบุรี
จดั ข้นึ ในวันขน้ึ 14 ค่ำ� เดือน 11 เปน็ งานทใ่ี หญม่ าก จัด
ขนึ้ บริเวณหน้าศาลากลางจงั หวัดชลบรุ ี เพื่อให้ประชาชน
หนงั สือทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี 109
งานในท้องนา เพ่ือให้สอดคล้องกับความเช่ือท่ีว่า หาก เจา้ คณะมณฑลและเจ้าอธกิ ารวัดนมี้ าคอยรบั เสดจ็ และมี
ปีใดไม่มีการว่ิงควายปีน้ันควายจะเป็นโรคระบาดกันมาก ราษฎรมาคอยเฝา้ เปน็ อนั มาก โปรดใหร้ าษฎรเฝา้ ราษฎร
เพื่อแสดงการรู้คุณต่อควายซึ่งเป็นสัตว์ที่จ�ำเป็นในการ นำ� ปลาและนำ้� ปลามาถวาย โปรดพระราชทานเงนิ ทกุ ราย
ประกอบอาชีพท�ำนา ชาวนาไทยให้ความส�ำคัญกับควาย และพระราชทานเสมาเงิน จ.ป.ร. แก่เด็กลูกหลานของ
มาก มีการก�ำหนดลักษณะของควายที่เป็นมงคลและ ราษฎรที่มาเฝ้าน้ันทั้งหญิงและชาย แล้วประทับเสวย ณ
อัปมงคลตามความเช่ือ เพื่อเป็นแนวทางในการคัดเลือก ทีน่ ้นั เวลาบา่ ย ๒ โมง ๔๕ นาที เสด็จประทบั ลงเรอื ยนต์
ควายท่ีมีลักษณะดีมาใช้แรงงาน ลักษณะควายที่เช่ือว่า พระสงฆ์ในวัดนีส้ วดชยันโต
เป็นมงคล เช่น ลำ� ตวั ใหญย่ าว ขาแขง็ แรง และไดส้ ดั ส่วน เวลา ๓ โมง ๔๕ นาที เรือพระท่ีน่ังเทียบสะพาน
มีหนา้ คอ่ นขา้ งยาว รูจมูกเล็กมีความชุม่ ชื้นอยเู่ สมอ มีเขา ท่านำ�้ เมืองชลบุรี พระยาวิเศษฤาไชยและข้าราชการเมอื ง
โค้งคล้ายวงพระจันทร์ โคนเขาใหญ่ปลายเรียวมีปล้องถ่ี นน้ั มาคอยรบั เสดจ็ เสดจ็ ขน้ึ ประทบั ตำ� หนกั กรมขนุ มรพุ งษ์
เปน็ ต้น ควายที่มลี ักษณะดีและแขง็ แรง เหมาะสมกบั การ ทีเ่ มอื งชลบุรนี ั้น
ใชง้ านจงึ เปน็ ทตี่ อ้ งการของบรรดาเกษตรกร ในบางทอ้ งที่ เวลาบ่าย ๔ โมง เสด็จท่ีว่าการเมือง กองเสือป่า
ทย่ี งั คงเหน็ ความสำ� คญั หรอื ความจำ� เปน็ ในการใชแ้ รงงาน และลกู เสอื นกั เรยี นชายหญงิ ตงั้ แถวรบั เสดจ็ ทสี่ นามหญา้
ควายคไู่ ปกบั เครอ่ื งทนุ่ แรงต่างๆ หน้าที่ว่าการ ทหารเรือชายทะเลท้ังข้างขวา ข้างซ้าย
ต�ำรวจภูธร เมื่อประทับบนท่ีว่าการแล้ว พระยาวิเศษฤา
รชั กาลที่ ๖ เสดจ็ ประพาสจงั หวดั ชลบรุ ี ไชย น�ำฝ่ายพลเรือนเฝ้าเรียงตัว หลวงมริดราบ น�ำทหาร
สิ่งที่น่าภาคภูมิใจยิ่งส�ำหรับประเพณีว่ิงควายของ เรือ ทหารบก ต�ำรวจภูธรเฝ้า พระยาวิเศษฤๅไชยน�ำ
ชาวชลบุรีก็คือ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า พ่อค้าไทย จีนเฝ้า ประทบั ทอดพระเนตรแข่งกระบอื และ
เจ้าอยู่หัวได้เสด็จประพาสจังหวัดชลบุรี เมื่อวันเสาร์ที่ 7 แหผ่ ้าปา่ ซงึ่ พอ่ ค้าพลเมืองไดจ้ ัดให้มีขน้ึ
ธนั วาคม 2455 ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ชลบรุ ี คอื พระยาวเิ ศษ ประทับเสวยเคร่ืองว่าง ณ ที่นั้นแล้วเสด็จกลับยัง
ฤๅไชย ไดจ้ ดั วง่ิ ควายถวายทอดพระเนตรทห่ี นา้ ศาลากลาง ที่ประทับแรม โปรดให้เลื่อนก�ำหนดวันท่ีจะเสด็จกลับไป
จงั หวดั ชลบรุ ี มหี ลกั ฐานปรากฏในพระราชกจิ รายวนั กรม อกี ๒ วัน ”
ราชเลขาธิการไดบ้ ันทึกไว้ ขอคดั มาเปน็ หลกั ฐาน
“วัน ๗ฯ๑๔๑๒ ร.ศ.๑๓๑ เสด็จลงเรือพระท่ีนั่งที่
ท่าหน้าต�ำหนัก กรมขุนมรุพงษ์ พระราชทาน พระแสง
สำ� หรบั มณฑลแกพ่ ระสนุ ทรพพิ ธิ แลว้ เสดจ็ ลงเรอื จะเสดจ็
เมอื งชลบรุ ี พอผา่ นโรงทหาร กองทหารโหร่ อ้ งถวายไชยมงคล
ล่องลงมาตามล�ำน�้ำ เวลาเท่ียงถึงปากน�้ำบางปะกง
เสด็จขึ้นประทับบนศาลาการเปรียญวัดบางปะกง มี
110 หนังสอื ทร่ี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี
จากพระราชกิจประจ�ำวันนี้ จะเห็นได้ชัดว่า
ประเพณีวิ่งควายได้มีมาแล้วแต่อดีต และเป็นประเพณี
ท่ีแปลกกว่าจังหวัดอื่น จึงได้เตรียมการจัดถวายทอด
พระเนตรเป็นกรณพี เิ ศษ
ความเช่ือเกี่ยวกบั ประเพณวี ่ิงควาย
ความเชือ่ ทางไสยศาสตร์
ในอดีตประเพณีวิ่งควาย เป็นประเพณีที่เกี่ยวข้อง
กบั ความเชอ่ื ทางไสยศาสตรท์ ว่ี า่ ถา้ ควายของใครเจบ็ ปว่ ย
เจ้าของควายควรจะน�ำควายของตนไปบนกับเทพารักษ์
และเม่ือหายเป็นปกติแล้วจะต้องน�ำควายมาวิ่งแก้บน
ฉะน้ันในปีต่อๆ มาชาวบ้านก็น�ำควายของตนมาว่ิงเพ่ือ
ป้องกนั การเจ็บป่วยเสียแตเ่ น่ินๆ
ความเชอ่ื ทางศาสนาพทุ ธ
ส่วนความเช่ือในทางศาสนาพุทธน้ัน เกิดจากการ
ที่ชาวบา้ นมาชมุ นุมกันทว่ี ัดใหญ่อินทาราม จงั หวดั ชลบรุ ี จะน�ำเคร่ืองกัณฑ์เทศน์มาไว้ที่วัดก่อน เพื่อเตรียมในเร่ือง
เพื่อน�ำเคร่ืองกัณฑ์เทศน์ใส่ควายเทียมเกวียนมาพักที่วัด งานบญุ เทศน์มหาชาติทจ่ี ัดขนึ้
เพื่อจะรอการติดกัณฑ์เทศน์ในเทศกาลเทศน์มหาชาติ การแห่ขบวนเกวยี นกัณฑ์
ขณะที่รอเด็กเล้ียงควายต่างก็น�ำควายของตนไปอาบน้�ำ ประเพณีว่ิงควาย ถือว่าเป็นประเพณีที่สืบเน่ืองมา
ทสี่ ระบรเิ วณวดั เมอื่ ตา่ งคนตา่ งพาควายของตนไปกเ็ กดิ มี จากงานบุญนั่นคือการเทศน์มหาชาติ เจ้าของกัณฑ์เทศน์
การประลองฝีเท้าควายเกดิ ขน้ึ เพื่อทดสอบสขุ ภาพความ จะน�ำเคร่ืองกัณฑ์เทศน์บรรทุกเกวียนมาท้ังส้ิน ๑๓ เล่ม
แข็งแรงกัน การแข่งขันในระยะแรกๆ จึงเป็นเพียงการ ตามจ�ำนวนของกณั ฑ์เทศน์ ๑๓ กัณฑ์ ดงั นี้
บังคับควายขณะว่ิงในระยะท่ีก�ำหนด และห้ามตกจาก 1. กณั ฑ์ทศพร 2. กณั ฑ์หมิ พานต์
หลังควาย ต่อมาจึงเชื่อว่าการวิ่งควายได้มีการพัฒนาข้ึน 3. กัณฑท์ านกณั ฑ ์ 4. กัณฑ์วนประเวศน์
เรอื่ ยๆ มกี ารวงิ่ รอบตลาด เมอ่ื ถงึ เทศกาลกอ่ นออกพรรษา 5. กัณฑ์ชชู ก 6. กัณฑ์จุลพน
1 วัน ชาวบ้านร้านตลาดต่างกจ็ ะรอดูควายทม่ี าว่งิ มกี าร 7. กณั ฑม์ หาพน 8. กณั ฑ์กมุ าร
ตกแต่งควายใหส้ วยงามและวิจิตรบรรจงมากขนึ้ จนกลาย 9. กณั ฑม์ ทั ร ี 10. กัณฑส์ ักกบรรพ
เป็นประเพณีวง่ิ ควาย 11. กัณฑ์มหาราช 12. กณั ฑ์ฉกษัตรยิ ์
13. กณั ฑน์ ครกัณฑ์
พธิ ีกรรมทเี่ กยี่ วขอ้ ง กัณฑ์ที่ 1 กัณฑ์ทศพร ประดับด้วยพระคาถา
การเทศนม์ หาชาติ 19 พระคาถา
ประเพณวี ่ิงควายน้ัน ถือวา่ เป็นประเพณีท่ีสืบเนอ่ื ง เน้ือเร่ืองโดยยอ่
มาจากงานบุญนั่นคือการเทศน์มหาชาติ ดังน้ันในวันท่ี เร่ิมต้ังแต่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ แล้วเสด็จไปเทศนา
เทศน์มหาชาติ ซึง่ ตรงกับวนั ข้ึน 15 ค�ำ่ เดือน 11 เจา้ ของ โปรดพระเจ้าพิมพิสาร ต่อจากน้ันเสด็จไปโปรดพุทธบิดา
กณั ฑเ์ ทศนจ์ ะนำ� เครอ่ื งกณั ฑเ์ ทศนบ์ รรทกุ เกวยี นมาทงั้ สนิ้ และพระประยรู ญาติท่กี รุงกบลิ พัสด์ุ เกิดฝนโบกขรพรรษ
13 เล่ม ตามจ�ำนวนของกณั ฑเ์ ทศน์ 13 กณั ฑ์ ใชค้ วายใน พระสงฆ์สาวกกราบทูลอาราธนาให้ทรงแสดงเร่ืองมหา
การเทยี มเกวยี นทั้งส้ิน 26 ตัว โดยเจ้าของกณั ฑเ์ ทศนน์ น้ั เวสสันดรชาดก เร่ิมตั้งแต่เม่ือกัปท่ี 98 นับแต่ปัจจุบัน
หนงั สอื ทรี่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี 111
พระนางผสุ ดซี ง่ึ จะทรงเปน็ พระมารดาของพระเวสสนั ดร
ทรงอธิษฐานขอเป็นมารดาของผู้มีใจบุญ จบลงตอน
พระนางไดร้ ับพร 10 ประการจากพระอินทร์
อานิสงส์
ผู้บูชากัณฑ์นี้จะได้รับทรัพย์สมบัติดังปรารถนา
ถ้าเป็นสตรีจะได้สามีท่ีเป็นท่ีชอบเน้ือเจริญใจ บุรุษจะได้
ภรรยาเป็นท่ีต้องประสงค์ จะได้บุตรหญิงชายเป็นคนว่า
นอนสอนง่าย มีรูปร่างที่งดงามมีความประพฤติดีกริยา
เรยี บรอ้ ย เนือ้ เรอ่ื งโดยยอ่
กัณฑ์ท่ี 2 กัณฑ์หิมพานต์ ประดับด้วยพระคาถา ก่อนเสด็จไปอยู่ป่า พระเวสสันดรได้พระราชทาน
134 พระคาถา สัตตสตกมหาทาน คือ ช้าง มา้ รถม้า ทาสชาย ทาสหญงิ
เน้อื เรือ่ งโดยยอ่ โคนม นางสนม และอาภรณ์ อย่างละ 700 ขณะน่ังรถ
เวสสันดรทรงเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสัญ เดนิ ทางเขา้ ปา่ ก็ไดพ้ ระราชทานรถม้า แก่ผู้มาขอจนหมด
ชัยกับพระนางผุสดี แห่งแคว้นสีวีราษฎร์ ประสูติท่ีตรอก ส้นิ สุดทา้ ยพระเวสสนั ดร พระนางมัทรี ชาลี กณั หา ต้อง
พ่อค้า ยินดีในการบริจาคทาน เม่ือพระเวสสันดรได้รับ เดนิ เท้าเขา้ ป่า
ราชสมบัติจากพระบิดา ได้พระราชทานชา้ งปจั จัยนาเคน อานสิ งส์
ทร์แกก่ ษตั ริยแ์ ควน้ กลงิ คราชฎร์ ประชาชนไมพ่ อใจ พระ ผู้บูชากัณฑ์นี้จะบริบูรณ์ด้วยแก้วแหวน เงินทอง
เวสสนั ดรจงึ ถกู พระราชบดิ าเนรเทศไปอยปู่ ่าหิมพานต์ ทาส ทาสี และสตั ว์ 2 เทา้ 4 เทา้ ครน้ั ตายแลว้ จะได้ไป
อานสิ งส์ เกิดในสวรรค์มีนางเทพอัปสรแวดล้อมมากมาย เสวยสุข
ผู้บูชากัณฑ์น้ี จะได้ส่ิงที่ปรารถนาทุกประการ ในปราสาทแล้วดว้ ยแกว้ 7 ประการ
คร้ันตายแล้วได้บังเกิดในสุคติโลกสวรรค์เสวยสมบัติอัน กัณฑ์ที่ 4 กัณฑ์วนประเวศน์ ประดับด้วยพระ
มโหฬาร มบี รวิ ารแวดลอ้ มบำ� รงุ บำ� เรออยเู่ ปน็ นติ ย์ จตุ จิ าก คาถา 57 พระคาถา
สวรรค์แล้ว จะลงมาเกิดในตระกูลขัตติยะมหาศาลหรือ เนือ้ เร่อื งโดยย่อ
ตระกูลพราหมณ์มหาศาลอันบริบูรณ์ด้วยทรัพย์ศฤงคาร พระเวสสันดรทรงพาพระนางมัทรีและพระชาลี
บรวิ ารมากมาย ประกอบด้วยสขุ ทกุ อิริยาบถ (โอรส) พระกัณหา (ธิดา) เสด็จจากเมืองผ่านแคว้นเจต
กณั ฑ์ท่ี 3 กณั ฑ์ทานกัณฑ์ ประดับด้วยพระคาถา ราษฎร์ จนเสด็จถงึ เขาวงกตในปา่ หมิ พานต์ และพกั อาศยั
209 พระคาถา อยู่ท่ีนั่นในอาศรมซึง่ พระอินทร์มาเนรมิตไว้ให้
112 หนังสือทีร่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี
อานิสงส์ เฒ่าชูชกเดินทางไปตามค�ำบอกของพรานเจตบุตร
ผู้บูชากัณฑ์น้ีจะได้รับความสุขท้ังโลกนี้และโลก พบฤาษีอัตจุตก็เล่าความเท็จอีก ฤๅษีจึงชี้ทางไปอาศรม
หน้า ได้เป็นบรมกษัตริย์ในชมพูทวีป เป็นผู้ทรงปรีชา ของพระเวสสันดร เม่ือไปถึงเป็นเวลาพลบค�่ำ เฒ่าชูชกก็
เฉลียวฉลาด สามารถปราบอรริ าชศัตรใู หย้ อ่ ยยับไป ซ่อนตัวบนชะง่อนเขาด้วยคิดว่า ต้องรอรุ่งเช้าให้พระนา
กัณฑ์ท่ี 5 กัณฑ์ชูชก ประดับด้วยพระคาถา 79 งมทั รอี อกไปหาผลไม้ เพราะนางคงไมย่ อมยกลกู ใหใ้ ครแน่
พระคาถา อานิสงส์
เนอื้ เรื่องโดยย่อ ผู้บูชากัณฑ์มหาพน จะได้เสวยสมบัติในดาวดึงส์
ชชู ก พราหมณผ์ มู้ อี าชพี ขอทาน ไดน้ างอมติ ตาบตุ ร เทวโลก หากเกิดเป็นมนุษย์จะได้เป็นกษัตริย์มหาศาล
สาวของเพ่ือนเป็นภรรยา นางใช้ให้ชูชกไปขอสองกุมาร มีทรัพย์ศฤงคาร บริวารมาก มีอุทยานและสระโบกขรณี
ชูชกเดินทางไปสืบข่าวในแคว้นสีวีราษฎร์ สามารถหลบ เป็นท่ปี ระพาสบรบิ รู ณด์ ้วยศักดานุภาพ
หลีกการท�ำร้ายของชาวเมือง เดินทางไปเขาวงกตจนพบ กัณฑ์ท่ี 8 กณั ฑ์กมุ าร ประดบั ด้วยพระคาถา 101
สุนัขของพรานเจตบุตรผู้คอยเฝ้าอารักขาอยู่ปากทางเข้า พระคาถา
ป่าหิมพานต์ ฝูงสุนัขไล่กัดชูชก จนชูชกหนีข้ึนไปหลบบน เน้อื เรอื่ งโดยย่อ
ต้นไม้ ชูชกทูลขอสองกุมาร พระเวสสันดรก็ได้มอบให้
อานสิ งส์ แตข่ อใหช้ ชู กรอมทั รใี หแ้ มล่ กู ไดร้ ำ�่ ลากนั กอ่ น ชชู กไมย่ อม
ผู้บูชากัณฑ์น้ี จะได้บังเกิดในตระกูลกษัตริย์ ด้วยเกรงว่านางมัทรีจะไม่ยกสองกุมารให้ตน ก่อนชูชก
ประกอบด้วยสมบัติอันงดงามกว่าคนทั้งหลาย จะเจรจา จะพาสองกุมารจากไป พระเวสสันดรได้ตั้งราคาค่าตัว
ปราศรยั กไ็ พเราะเสนาะโสต แมจ้ ะไดส้ ามี ภรรยาและบตุ ร สองกุมารว่า ถ้าใครจะไถ่ตัวกัณหา ชาลีไป ต้องให้ ทาส
ธดิ ากล็ ้วนแต่มรี ปู ทรงงดงาม ทาสี ช้าง มา้ โคนม ทองค�ำ สง่ิ ละ 100 จากน้นั ชชู กได้ใช้
กัณฑ์ท่ี 6 กัณฑ์จลุ พน ประดบั ด้วยพระคาถา 35 เถาวัลย์มัดข้อมือสองกุมาร ลากจูงพาออกไป สองกุมาร
พระคาถา ขัดขืน ก็ใช้ไม้โบยตี สองกุมารได้รับความล�ำบากเป็นอัน
เนอื้ เรื่องโดยย่อ มาก
พรานเจตบุตร เห็นท่าไม่ดี เกรงพราหมณ์เฒ่าจะ อานิสงส์
เข้าไปรบกวนพระเวสสันดร จึงยกหน้าไม้จะยิง ชูชกให้ ผบู้ ชู ากณั ฑน์ ี้ จะประสบผลสำ� เรจ็ ในสง่ิ ทปี่ รารถนา
ตาย แต่ชูชกหลอกลวงพรานเจตบุตรให้บอกทางไปเขา ครน้ั ตายไปแลว้ ไดเ้ กดิ ในฉกามาพจรสวรรค์ และในสมยั ท่ี
วงกต ว่าตนเป็นราชทูตของพระเจ้ากรุงสญชัย ก�ำลังจะ พระศรอี รยิ เมตไตยมาอบุ ตั ิ กจ็ ะไดพ้ บศาสนาของพระองค์
เขา้ ไปเชิญพระเวสสันดรกลบั เมือง เพราะพระเจา้ กรุงสญ จะได้เกิดในตระกูลกษัตริย์ ตลอดจนได้สดับตรับฟัง
ชัยทรงอภัยโทษแล้ว พรานเจตบุตรหลงเชื่อ จึงบอกทาง พระสทั ธรรมเทศนาของพระองคแ์ ลว้ บรรลพุ ระอรหตั ตผล
และมอบเสบียงอาหารใหอ้ กี ดว้ ย พร้อมดว้ ยปฏสิ ัมภทิ าทัง้ 4
อานสิ งส์ กัณฑ์ที่ 9 กัณฑ์มัทรี ประดับด้วยพระคาถา 90
ผบู้ ชู ากณั ฑน์ ี้ แมบ้ งั เกดิ ในปรภพใดๆ กต็ าม จะเปน็ พระคาถา
ผู้สมบูรณ์ด้วยสมบัติบริวาร มีอุทยานอันดารดาษด้วยไม้ เนอ้ื เรื่องโดยยอ่
หอมตลบอบอวล มสี ระโบกขรณอี นั เตม็ ไปดว้ ยประทมุ ชาติ พระนางมัทรีเสด็จกลับจากหาผลไม้ในป่า ไม่เห็น
ครน้ั ตายไปแลว้ ก็ไดเ้ สวยทพิ ยสมบตั ใิ นโลกหน้าสืบตอ่ ไป สองกุมาร ได้ร้องเรียกติดตามหาก็ไม่พบพระนางถึงกับ
กัณฑ์ที่ 7 กัณฑ์มหาพน ประดับด้วยพระคาถา สลบต่อพระพักตร์พระเวสสันดร เม่ือทรงฟื้นแล้ว
80 พระคาถา พระเวสสันดรตรัสเล่าความจริงเกี่ยวกับสองพระกุมาร
เน้ือเร่ืองโดยยอ่ พระนางทรงอนุโมททนาปุตตทานดว้ ย
หนังสอื ทรี่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 113
สบื ราชสมบตั ิตอ่ ไป
6. ขอใหฝ้ นแกว้ 7 ประการ ตกลงในเมอื งสพี ี ขณะ
เมื่อพระองค์ไปถงึ พระนคร
7. ขอให้สมบัติในท้องพระคลังอย่ารู้หมดสิ้นใน
เวลาบริจาคแกย่ าจกทั่วเมอื ง
8. เม่ือทิวงคตแล้ว ขอให้ไปบังเกิดในสวรรค์ช้ัน
ดุสิต เมื่อจุติลงมาเป็นมนุษย์ ให้ได้บรรลุพระปรมาภิเษก
สัมโพธิญาณ แล้วพราหมณ์ชราก็คืนร่างเป็นพระอินทร์
เหาะขึน้ ฟ้าจากไป
อานสิ งส์
ผู้บูชากัณฑ์น้ี จะเป็นผู้ท่ีเจริญด้วยลาภยศ และ
จตุรพิธพรทั้ง 4 คอื อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ตลอดไป
กัณฑท์ ี่ 11 กณั ฑ์มหาราช ประดับดว้ ยพระคาถา
อานสิ งส์ 69 พระคาถา
ผู้บูชากัณฑ์นี้ เมื่อเกิดในโลกหน้า จะเป็นผู้ม่ังคั่ง เน้อื เรือ่ งโดยยอ่
สมบูรณ์ด้วยทรัพย์สมบัติ เป็นผู้มีอายุยืนยาวทั้งประกอบ ชูชกโบยตี ลากจูงชาลี กัณหาเดินทางออกจากป่า
ด้วยรูปโฉมงดงามกว่าคนท้ังหลาย จะไปในท่ีใดๆ ก็จะมี หิมพานต์ จนไปถึงทางสองแพร่ง ซ่ึงเป็นทางไปเมืองก
แต่ความสขุ ทกุ แห่งหน ลิงคราฐและเมืองสีพี ชูชกหลงเลือกทางไปเมืองสีพี เดิน
กัณฑ์ที่ 10 กัณฑ์สักกบรรพ ประดับด้วย ทางไปถึงในตวั เมอื ง พวกข้าหลวงจ�ำชาลี กัณหาได้ จงึ จับ
พระคาถา 43 พระคาถา ชชู กพาไปเขา้ เฝ้าพระเจ้ากรงุ สญชัย พระเจ้ากรุงสญชยั ได้
เนื้อเร่ืองโดยยอ่ ไถ่สองกุมาร และพระราชทานอาหารเล้ียงชูชกมากมาย
พระอินทร์เกรงว่าหากมีผู้มาขอพระนางมัทรี ชชู กกินมากเกินไป อาหารไมย่ ่อยและถงึ แก่กรรม
พระเวสสันดรก็จะบริจาคเป็นทาน พระอินทร์ไม่อยาก อานสิ งส์
ให้พระนางมัทรีตกไปเป็นภรรยาของผู้อ่ืน จึงแปลงเป็น ผู้บูชากัณฑ์นี้ จะได้มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ
พราหมณ์ชรามาทูลขอพระนางมัทรี เม่ือพระเวสสันดร และนิพพานสมบัติ กล่าวคือ เม่ือเกิดเป็นมนุษย์จะเป็น
มอบให้ตนแล้ว ก็ไม่เอาไป ได้ถวายคืนแก่พระเวสสันดร พระราชา เม่ือจากโลกมนุษย์ไปก็จะไปเสวยทิพยสมบัติ
โดยห้ามพระองค์ประทานนางแก่ผู้ใดอีก ก่อนจากไป ในฉกามาพจรสวรรค์ มีนางเทพอัปสรเป็นบริวาร คร้ัน
พระอนิ ทรไ์ ด้ประทานพรให้พระเวสสนั ดร 8 ประการ คือ บารมีแก่กล้าก็จะได้นิพพานสมบัติอันตัดเสียซึ่งชาติ ชรา
1. ขอให้พระบิดามีพระเมตตาเสด็จออกมารับ พยาธิ มรณะ พ้นจากโอฆะทงั้ 3 มีกาโมฆะ เป็นต้น
พระองค์กลบั เขา้ ไปครองราชยส์ มบัติในพระนครสพี ี กัณฑ์ที่ 12 กณั ฑฉ์ กษตั ริย์ ประดบั ดว้ ยพระคาถา
2. ขอใหไ้ ด้ปลดปลอ่ ยนกั โทษจากเรอื นจำ� ทงั้ มวล 36 พระคาถา
3. ขอให้ได้อนุเคราะห์คนยากจนในแว่นแคว้นให้ เนอื้ เรอ่ื งโดยย่อ
บริบรู ณด์ ้วยสรรพโภคสมบัติ พระเจ้ากรุงสญชัย พระนางผุสดี พระชาลี
4. ขออยา่ ใหล้ อุ ำ� นาจสตรี ลว่ งภรรยาผอู้ นื่ ใหพ้ อใจ พระกัณหา เสด็จไปทูลเชิญพระเวสสันดร พระนางมัทรี
เฉพาะในชายาของพระองคเ์ ทา่ นนั้ กลับพระนคร เม่ือกษัตริย์ทั้งหกพระองค์ทรงพบกัน
5. ขอให้พระโอรสท้ังสอง คือพระชาลีกุมารและ ต่างก็ทรงสะอ้ืนไห้คร�่ำครวญ เสนาอ�ำมาตย์ สนมก�ำนัล
กัณหากุมารี มีชนมายุยืน และได้เป็นพระมหากษัตริย์ ก็สะอื้นไห้คร่�ำครวญและต่างตกอยู่ในวิสัญญีภาพ ต่อมา
114 หนงั สอื ทีร่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี
พระอินทร์บันดาลให้ฝนโบกขรพรรษตกลงมา ทุกคนจึง ไปอาบน้ําขดั สฉี วีวรรณ เอาอกเอาใจ เอาดอกไม้ธปู เทียน
ฟ้นื คนื สติ และขอใหพ้ ระเวสสันดรลาผนวช กลบั ไปครอง ไปขอขมา ส�ำหรับเนื้อหาของบทท�ำขวัญควายสามารถ
ราชยส์ มบตั ิสืบไป สะท้อนทศั นคติและลกั ษณะนสิ ยั ของคนไทย ดงั นี้
อานิสงส์ ประการที่ 1 ความกตญั ญรู คู้ ณุ คนไทยถอื วา่ ควาย
ผูบ้ ชู ากณั ฑ์น้ีจะไดเ้ ปน็ ผ้ทู ่เี จริญดว้ ยพร 4 ประการ เป็นสัตว์ใหญ่ และมีบุญคุณแก่ตน เพราะช่วยในการไถ
คือ อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ทกุ ๆ ชาติ การทำ� ไรน่ า
กณั ฑท์ ี่ 13 กณั ฑน์ ครกณั ฑ์ ประดบั ดว้ ยพระคาถา ประการที่ 2 ความเมตตากรุณา บททำ� ขวญั ควาย
48 พระคาถา สะท้อนความรู้สึกเมตตากรุณาต่อควายในค�ำสู่ขวัญควาย
เน้อื เรอ่ื งโดยยอ่ กลา่ วถงึ การเอาหญา้ ออ่ น หวานอรอ่ ยมาใหค้ วายเคย้ี วกนิ
พระเวสสันดรทรงลาผนวช ทรงสั่งลาพระอาศรม เปน็ การให้รางวัลแกค่ วาย
รับเครื่องทรงกษัตริย์ แล้วเสด็จกลับไปครองเมืองสีพี ประการที่ 3 ความส�ำนึกผิดที่เคยรุนแรงต่อควาย
พระเวสสนั ดรเสด็จขึน้ ครองราชยค์ รองแผน่ ดนิ ท�ำให้ไพร่ ในบทท�ำขวัญควายได้กล่าวถึงว่า ขณะที่มีการไถนาอยู่
ฟ้าเสนาอำ� มาตย์มสี ขุ สงบกันท่ัวท้ังแควน้ ชาวเมืองยึดมนั่ น้ันบางคร้ังควายเดินช้ามัวกินหญ้าตามข้างทางคนอาจ
ในศีล บ�ำเพ็ญกุศลตามสัตย์อธิษฐานของพระเวสสันดร จะตีฟาดด้วยเชือกกระแทกด้วยปฏัก ควายได้รับความ
กษัตริย์เมืองกลิงคราฐ ก็น�ำช้างปัจจัยนาเคนทร์มา เจ็บปวด ทรมานแสนสาหัสกอ็ ดทนกล้ํากลืนไว้ เพราะพดู
ถวายคืน เพราะบ้านเมืองมีฝนตกต้องตามฤดูกาลแล้ว ไม่ได้ ชาวนารู้สกึ ส�ำนึกผดิ จงึ ท�ำพธิ บี ายศรีส่ขู วัญขอขมา
พระเวสสันดรทรงอยู่ในทศพิธราชธรรม และยังคงทรง ววั ควาย นบั เปน็ คณุ ธรรมอนั ประเสรฐิ ในหวั ใจของชาวนา
บริจาคทาน จนพระชนมายุได้ 120 พรรษาจึงสวรรคต ในแงน่ ี้พิธสี ู่ขวญั ควายจึงเปน็ พธิ ีท่ีมนษุ ย์ขอขมาโทษ และ
แล้วจุติอุบัติเป็นท้าวสันดุสิตเทพบุตร บนสวรรค์ชั้นดุสิต ปลอบขวัญควายซึง่ เปน็ สตั วเ์ ดรัจฉาน
รวมระยะเวลาทพี่ ระเวสสนั ดร มทั รี ชาลี กณั หา ตอ้ งนริ าศ พิธีสู่ขวัญควาย เป็นพิธีที่สะท้อนความสัมพันธ์
จากพระนครไปอยปู่ ่าเปน็ เวลา 1 ปี 15 วัน ระหว่างมนุษย์กับควาย ท่ีเป็นไปด้วยความอ่อนโยน
อานิสงส์ เอ้ืออาทรและรู้สึกส�ำนึกในบุญคุณควาย ประเพณีสู่ขวัญ
ผู้บูชากัณฑ์นี้ จะได้เป็นผู้บริบูรณ์ ด้วยวงศาคณา ควาย จงึ เปน็ ประเพณที สี่ มควรจะอนรุ กั ษเ์ พอ่ื ใหอ้ นชุ นรนุ่
ญาติ ขา้ ทาสชายหญงิ ธิดา สามี หรือบดิ ามารดาเปน็ ต้น หลัง ได้เห็นภูมิปัญญาและจิตวิญญาณของบรรพชนไทย
อย่พู ร้อมหนา้ กันโดยความผาสกุ ปราศจากโรคาพยาธิทง้ั ในปจั จบุ นั วถิ กี ารทำ� นาไดเ้ ปลย่ี นแปลงไป ควายมบี ทบาท
ปวง จะท�ำการใดๆ ก็พร้อมเพรียงกันยังการงานน้ันๆ ให้ นอ้ ยลงอย่างมาก มีเทคโนโลยอี ย่างอืน่ เข้ามาแทนท่คี วาย
สำ� เรจ็ ลุลว่ งไปด้วยดี พิธีท�ำขวัญควายรวมถึงบทสู่ขวัญควายจึงเสี่ยงต่อการ
สญู หายและการสืบทอดในอนาคต
การท�ำขวัญควาย
การท�ำขวัญควายเป็นการระลึกถึงบุญคุณของ
ควายที่ช่วยมนุษย์ท�ำนา รวมไปถึงการขอขมาที่ได้ด่าว่า
เฆยี่ นตี ในระหวา่ งการใชง้ าน ทางภาคเหนอื เรียกว่า ฮ้อง
ขวญั ควาย เรียกขวัญควาย หรอื เอาขวญั ควาย ภาคอีสาน
เรียก สู่ขวัญควาย ชาวไทยเขมรสุรินทร์ เรียก ฮาวปลึงก
ระไบ พิธีท�ำขวัญควายจัดขึ้นหลังจากได้ปลูกข้าวด�ำนา
เรียบร้อยแล้ว ด้วยความส�ำนึกในบุญคุณ เจ้าของจะท�ำ
พธิ ีบายศรสี ู่ขวญั ควายให้ควายกินหญ้าอ่อน และนำ� ควาย ภาพจติ รกรรม “วงิ่ ควาย” วัดใหญอ่ นิ ทาราม จังหวดั ชลบรุ ี
หนงั สือท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี 115
กจิ กรรมในงานประเพณวี ิง่ ควาย
การแขง่ ขนั วงิ่ ควาย
การประกวดสุขภาพควาย
การประกวดตกแตง่ ควาย
116 หนังสอื ที่ระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี
การแห่ขบวนเกวียนกัณฑ์
ประเพณีว่ิงควาย ถือว่าเป็นประเพณีท่ีสืบเน่ืองมาจากงานบุญน่ันคือการเทศน์มหาชาติ เจ้าของกัณฑ์เทศน์
จะนำ� เครื่องกัณฑเ์ ทศนบ์ รรทุกเกวยี นมาทัง้ ส้นิ ๑๓ เลม่ ตามจำ� นวนของกณั ฑ์เทศน์ ๑๓ กณั ฑ์ ดังน้ี
1. กัณฑ์ทศพร 2. กัณฑ์หิมพานต ์ 3. กัณฑท์ านกัณฑ์ 4. กณั ฑ์วนประเวศน์
5. กัณฑ์ชชู ก 6. กณั ฑ์จุลพน 7. กณั ฑ์มหาพน 8. กณั ฑ์กมุ าร
9. กัณฑ์มัทร ี 10. กัณฑส์ กั กบรรพ 11. กัณฑ์มหาราช 12. กัณฑฉ์ กษัตริย์
13. กณั ฑ์นครกัณฑ์
พิธีท�ำขวญั ควาย
การท�ำขวัญควาย เป็นการระลึกถึงบุญคุณของควายท่ีช่วยมนุษย์ท�ำนา รวมไปถึงการขอขมาที่ได้ด่าว่า
เฆ่ียนตี ในระหว่างทำ� งาน พิธีท�ำขวัญควายจัดท�ำข้ึนหลังจากได้ปลูกข้าวด�ำนาเรียบร้อยแล้ว เจ้าของจะทำ� พิธีบายศรี
สขู่ วญั ควายให้กินหญา้ อ่อน และนำ� ควายไปอาบน้ำ� เอาดอกไมธ้ ูปเทยี นไปขอขมา
หนงั สอื ทรี่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 117
การประกวดนอ้ งนางบ้านนา
การประกวดสาวงาม สัญชาติไทย มีอายุระหว่าง 16 – 24 ปี (หากอายุต�่ำกว่า 18 ปี ต้องมีใบรับรองจาก
ผู้ปกครอง) มคี วามประพฤตดิ ี ไมป่ ระกอบอาชีพในทางเสือ่ มเสยี ศีลธรรม ไมเ่ คยได้รบั รางวลั จากการประกวดนอ้ งนาง
บ้านนามาก่อน และในวันประกวดให้ผู้เข้าร่วมประกวดต้องแต่งกายด้วยผ้าถุง สวมเส้ือคอกลมแขนยาว สามส่วน
(สอี ะไรกไ็ ด)้ นำ� ผา้ ขาวม้ามาประยุกตใ์ นชดุ รองเทา้ ส้นสูงไม่เกิน 8 น้ิว แตง่ หนา้ ทำ� ผมได้พอสมควร
การประกวดสาว (เหลอื ) น้อยบา้ นนา
การประกวดของผหู้ ญิง ที่มีสัญชาติไทย และมภี ูมลิ ำ� เนาในจงั หวัดชลบรุ ี อายตุ ง้ั แต่ 61 ปีข้ึนไป สขุ ภาพแขง็ แรง
ไมเ่ คยได้รับรางวัลในการประกวดสาว (เหลอื ) น้อยบ้านนาในปที ผี่ ่านมา มีพ่เี ล้ยี งช่วยดแู ลอยา่ งนอ้ ย 1 คน
118 หนังสือทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี
การประกวดนางฟา้ จ�ำแลงบา้ นนา
การประกวดสาวประเภทสอง ที่ไมผ่ า่ นการแปลงเพศ มีสญั ชาติไทย อายุ 16 ปี ข้นึ ไป (หากอายตุ ่ำ� กวา่ 18 ปี
ต้องมีใบรับรองจากผู้ปกครอง) ไม่ประกอบอาชีพหรือมีความประพฤติอันเป็นที่น่ารังเกียจของสังคม อาทิ การถ่าย
หรือบันทึกภาพท่ีล่อแหล่มต่อศีลธรรมอันดีของสังคมไทย และในวันประกวดให้ผู้เข้าร่วมประกวดต้องแต่งกายโดย
ใส่ชดุ แฟนซที ี่มีเครอื่ งจักสานเปน็ องค์ประกอบ ตามคำ� ขวัญของจงั หวัดชลบรุ ที ่วี า่ “จักสานดี”
นอกจากนี้แล้วยังมีการประกวดวาดภาพระบายสี การประกวดการเพ้นท์สีควายปูนปั้น มหกรรมตลาดนัด
พระเครื่อง หมากรุกไทย ปริศนาค�ำทาย มวยไทย ตัดว่าวป่านคม ตะกร้อลอดห่วง ปีนเสาน้�ำมัน ยิงเป้าหนังสต๊ิก
เปน็ ต้น
หนังสอื ที่ระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี 119
การถบี กระดานของชาวเมอื งชล
ภาพกลมุ่ คนทเ่ี คลอ่ื นไหวไปมาอยา่ งรวดเรว็ ในแนว
ชายฝง่ั ทะเลสว่ นทเี่ ปน็ โคลนเลนยามเมอ่ื นำ้� ลด เปน็ ภาพท่ี
ชวนให้ผู้ท่ีไม่คุ้นเคยอดนึกกังขาไม่ได้ว่าคนกลุ่มน้ันก�ำลัง
ท�ำอะไรอยู่ เพราะภาพที่เห็นน้ัน แต่ละคนก�ำลังสาละวน
อยกู่ บั การกม้ ๆ เงยๆ เหมอื นกำ� ลงั เกบ็ อะไรสกั อยา่ งขนึ้ มา
จากโคลนเลนเบ้ืองหน้าอย่างขะมักเขม้น แต่หากเป็นคน
เมอื งชลโดยแทจ้ ะบอกไดท้ นั ทวี า่ นน่ั คอื ภาพคนทก่ี ำ� ลงั ถบี
กระดานเกบ็ หอยนน่ั เอง
การถบี กระดานเกบ็ หอยถอื เปน็ สว่ นหนงึ่ ของอาชพี
ประมงท่ีมีมาช้านาน โดยเม่ือว่างเวน้ จากการจับปลา ชาว
ประมงก็จะถีบกระดานเก็บหอยชายทะเล ส่วนใหญ่หอย
ทเี่ กบ็ จะเปน็ หอยแครง ซง่ึ แตก่ อ่ นชายทะเลชลบรุ จี ะมหี อย
แครงชกุ ชมุ มาก ใชเ้ วลาถบี กระดานเกบ็ หอยไมถ่ งึ ชว่ั โมงก็
สามารถเกบ็ หอยแครงได้หลายกิโล หากวันใดโชคดีก็อาจ
จับได้ปทู ะเลเปน็ ของแถมอีกด้วย
การถบี กระดานเก็บหอยนี้ใชว่ า่ จะทำ� ได้งา่ ยๆ ตอ้ ง
อาศัยทักษะและการฝึกฝนพอๆ กับการที่จะสังเกตว่า
โคลนเลนบริเวณใด มหี อยแครงอาศัยอยู่ ชาวประมงหรือ
อาจเรียกวา่ ชาวเลจะร้วู า่ หอยแครงอย่ตู รงบริเวณไหน ซง่ึ การถีบกระดานปลกู ปา่ ชายเลน
ธรรมชาติของหอยแครงจะฝังตัวอยู่ในโคลนลึกลงไป สังเกตวา่ มีหอยแครงฝังตวั อยู่ กล่าวกนั วา่ แม้แต่เด็กๆ ซึ่ง
ประมาณ ๑-๒ นิว้ โคลนเลนดา้ นบนจะมรี อยปุดของฟอง เปน็ ลกู หลานชาวประมงกส็ ามารถถบี กระดานเกบ็ หอยได้
อากาศที่เกิดจากการหายใจของหอยแครง ท�ำให้เป็นจุด อย่างคล่องแคล่วไม่แพ้ผู้ใหญ่ แต่ก็มีเด็กบางคนชอบท่ีจะ
ออกไปกับเพ่ือนๆ เพื่อถีบกระดานเล่นหรือแข่งขันกันใน
กลมุ่ เพอื่ นกม็ ี แมจ้ ะเปน็ เพยี งสว่ นหนง่ึ ของอาชพี ประมง
แต่เรอื่ งราวการถบี กระดานหาหอยของชาวเมืองชลถือว่า
เปน็ สง่ิ ทน่ี า่ ภาคภมู ใิ จ ทงั้ น้ี เนอ่ื งจากครง้ั ทพ่ี ระบาทสมเดจ็
พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ประพาสจงั หวดั ชลบรุ ี ใน
ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๔1๙ ไดเ้ คยทอดพระเนตรถบี กระดานของ
ชาวเมืองชล ซึ่งปรากฏในบทความเร่ือง “รัชกาลท่ี ๕
ทอดพระเนตรถบี กระดาน” ทเี่ รยี บเรยี งไวใ้ นหนงั สอื รวม
เร่ือง เมืองชลของยุวพุทธิกสมาคมชลบุรีในพระสังฆ
ราชปู ถัมภ์ ซึง่ ขอคัดมาเป็นหลักฐาน ดงั นี้
120 หนงั สอื ท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี
รชั กาลท่ี ๕ ทอดพระเนตรถีบกระดาน
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใหม้ กี ารแขง่ ขนั การถบี กระดานในแตล่ ะปี เพอ่ื เปน็ การสง่
ไดเ้ สดจ็ ประพาสจงั หวดั ชลบรุ หี ลายครงั้ หลายวาระ จงึ ทรง เสรมิ และรกั ษาเอกลกั ษณส์ ว่ นหนงึ่ ของอาชพี ประมงไว้ ตอ่
มีความคุ้นเคยกับสภาพและความเป็นอยู่ของชาวจังหวัด มาได้ว่างเว้นการถีบกระดานไปหลายปี ถึงงานประจ�ำปี
ชลบุรีเป็นอย่างดียิ่ง เม่ือ พ.ศ. 2419 ได้เสด็จประพาส ๒530 ได้มีการฟื้นฟูการแข่งขันถีบกระดานขึ้นใหม่ โดย
ชลบุรีและประทับแรมท่ีอ่างศิลาเป็นเวลาหลายวัน ได้มี เฉพาะเมอ่ื วนั ท่ี ๑๖ เมษายน ๒๕3๐ นายสบื รอดประเสรฐิ
ลายพระหัตถเลขา วันที่ 9 มกราคม 2519 ข้อความตอน ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ชลบรุ ี ลงถบี กระดานรว่ มกบั ขา้ ราชการ
หน่งึ ว่า และชาวประมง จึงจารกึ เปน็ เกียรติประวตั ิไว้
“ราษฎรที่ท�ำโป๊ะจับปลาในทะเลน้ัน ท�ำได้แต่ ปัจจุบันนี้การถีบกระดานเก็บหอยไม่ค่อยมีให้เห็น
ฤดกู าลเดอื น 12 ไปจนถงึ เดอื น 3 เปน็ ฤดลู มตะเภาพดั กลา้ มากนัก เนื่องจากสภาพของชายฝั่งทะเลเปลี่ยนแปลงไป
คล่นื จดั โป๊ะแตก ตอ้ งหยุดการจบั ปลาไปจนเดอื น 12 ใน อีกท้ังจ�ำนวนหอยแครงธรรมชาติก็ลดน้อยลง อย่างไร
ระหวา่ งหยดุ การจบั ปลา ทำ� โปะ๊ ไมไ่ ดน้ นั้ ราษฎรหากนิ ดว้ ย ก็ตามชุนชนในเขตเทศบาลก็ได้น�ำการถีบกระดานเลนมา
ลงเฝือกลากอวนจับปลาและถีบกระดานเก็บหอย ใช้ในการปลูกป่าชายเลน ซึ่งสามารถท�ำได้รวดเร็ว อีกท้ัง
ชายทะเล เวลาน้�ำลงไปท่ีชายเลน ก็จะเห็นชาวบ้านถีบ ยังได้ช่วยกันอนุรักษ์การถีบกระดานไว้ให้คงอยู่คู่เมืองชล
กระดานดรู วดเร็ว คลอ่ งคล่องย่ิงนัก” โดยจัดให้มีการแข่งขันถีบกระดานขึ้นในชุมชนชายทะเล
จากข้อความตามลายพระหัตถเลขานี้ช้ีชัดว่า มิใช่เพื่อความสนุกสนานหรือคาดหวังรางวัลจากการ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทอด แข่งขนั แตก่ ระท�ำการด้วยจติ ใจทตี่ อ้ งการอนุรักษก์ ารถีบ
พระเนตรการถีบกระดานหาหอยชายทะเลของชาวเมือง กระดาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาชีพประมงที่บรรพบุรุษ
ชล ซึ่งเปน็ อาชีพสว่ นหนึง่ ของชาวเมอื งชล ไดใ้ ชเ้ ปน็ อาชพี หาเลยี้ งตน และลกู หลานมาเนน่ิ นานหลาย
ฉะน้ันในงานประจ�ำปีจังหวัดชลบุรีแต่อดีต จึงจัด ชว่ั อายคุ น
หนงั สอื ทร่ี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี 121
สถานทท่ี ่องเท่ยี ว
ในเทศบาลเมืองชลบรุ ี
ตอนที่
๕
ไหวพ้ ระ ขอพรสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธเ์ิ พอื่ ความเปน็ สริ มิ งคล
หอพระพทุ ธสหิ งิ ค์
ศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื ง “สริ มิ หามงคลชลบรุ ”ี
พระบรมราชานสุ าวรยี พ์ ระบาทสมเดจ็
พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 5
วดั ใหญอ่ นิ ทาราม (พระอารามหลวง)
วดั เนนิ สทุ ธาวาส
วดั เครอื วลั ย์
วดั กำ� แพง
สะพานชลมารควถิ เี ฉลมิ พระเกยี รติ 84 พรรษา
จดุ แลนดม์ ารค์ ...สะพานใหม่
(สะพานชลมารควถิ เี ฉลมิ พระเกยี รติ 84 พรรษา)
ตลาดประมงทา่ เรอื พลี
(จดุ นดั พบ/แวะพกั ของคนรกั อาหารทะเล)
เดนิ เลยี้ ว เทยี่ วตลาด ไมพ่ ลาดของอรอ่ ย
รบั ลมชมสวน/ชวนสขุ ภาพดี
(สวนสาธารณะ/ศนู ยร์ วมกฬี า)
ไหวพ้ ระ ขอพรสิง่ ศักดิส์ ทิ ธ์ิ
เพื่อความเปน็ สริ มิ งคล
จหงัอหพวรัดะชพลุทบธรุ สี หิ ิงคม์ ่ิงมงคลสิรนิ าถฯ
พระพทุ ธสหิ งิ คม์ งิ่ มงคลสริ นิ าถฯ จงั หวดั ชลบรุ ี เปน็
พระพุทธรูปท่ีชาวชลบุรีพร้อมใจกันสร้างขึ้น ประดิษฐาน
อยู่บนหอพระพุทธสิหิงค์ซ่ึงออกแบบโดยกรมศิลปากร
นับว่าเป็นหอพระที่สวยท่ีสุดในประเทศไทย องค์พระ
พทุ ธสหิ งิ คส์ รา้ งขนึ้ จากเนอ้ื เงนิ บรสิ ทุ ธิ จำ� ลองมาจากพระ
พุทธสิหิงค์องค์จริงท่ีประดิษฐาน ณ พระท่ีน่ังพุทธไธสวร
รย์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร มีขนาด
เท่าองค์จริงทุกประการ และเป็นที่เคารพสักการะของ
ประชาชนชาวจงั หวัดชลบรุ ีเปน็ อยา่ งยิ่ง
ประวัติความเปน็ มา
เน่ืองจากการพบปะหารือกันระหว่างบรรดา
พทุ ธศาสนกิ ชนในจงั หวดั ชลบรุ ี ตา่ งพากนั เหน็ พอ้ งตอ้ งกนั
ว่าจังหวดั ชลบุรีควรจะมีพทุ ธอนสุ รณ์ทเ่ี ปน็ ชิ้นสลักสำ� คญั
ไวเ้ ปน็ ทเ่ี ชดิ หนา้ ชตู าและเคารพบชู า ทงั้ จะเปน็ เครอื่ งดงึ ดดู
ให้บรรดาพทุ ธบรษิ ทั ทง้ั หลายหนั หน้ามาฝักใฝ่ในทางพระ
ธรรมย่ิงขึ้น จากการไตร่ตรองโดยรอบคอบและเห็นชอบ
โดยส่วนรวม ได้พจิ ารณาเห็นวา่ ควรจะไดส้ รา้ งพระพุทธ
รปู จำ� ลองแบบพระพทุ ธสหิ งิ คข์ นึ้ เพราะพระพทุ ธสหิ งิ คซ์ งึ่
ประดิษฐาน ณ พระท่ีน่ังพุทธไธสวรรย์ พิพิธภัณฑสถาน
แหง่ ชาตนิ น้ั เปน็ พระพทุ ธรปู ทม่ี คี วามสำ� คญั และตรงกบั
ความต้องการของจงั หวัดชลบุรหี ลายประการ
ประการท่หี นงึ่ เป็นพระพุทธรูปท่ีรู้จักกันแพร่
หลาย และประชาชนสว่ นใหญเ่ คารพบชู า ถอื เปน็ พระพทุ ธ
รูปทีศ่ ักดสิ์ ิทธ์ิองค์หนึง่ ของประเทศไทย
ประการทส่ี อง เป็นพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะ
งดงาม ดึงดูดความศรัทธาจากบุคคลผู้ได้พบเห็น รวมทั้ง
มีอายเุ ก่าแก่
ประการทสี่ าม เป็นพระพุทธรูปที่ใช้แห่แหนเป็น
ประเพณีในพิธีสงกรานต์ซ่ึงตรงกับจุดประสงค์หลักของ
124 หนงั สอื ทีร่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี
ได้ย้ายมาด�ำรงต�ำแหน่ง ท่านมีความศรัทธาและมีความ
ต้ังใจว่าจะสร้างพระพุทธสิหิงค์น้ี ให้ส�ำเร็จให้ได้ในปี
พ.ศ. 2503 และในท่ีประชุมการจัดงานสงกรานต์
ประจ�ำปี พ.ศ. 2503 ก็ได้ก�ำหนดให้มีการท�ำพิธีเทโลหะ
องค์พระพทุ ธสิหงิ ค์ข้นึ ด้วย
พิธีสร้างองค์พระ ซึ่งพระคุณเจ้าสมเด็จพระพุทธ
โฆษาจารย์เปน็ ผู้กำ� หนดฤกษ์ให้ ดังนี้
วันที่ 17 เมษายน 2503 เวลา 17.30 น.
พระเถรานเุ ถระ 9 รูป เจริญพระพทุ ธมนต์ เวลา 19.30 น.
เรม่ิ สวดพทุ ธาภเิ ษกปลกุ เสกโลหะทจ่ี ะนำ� มาหลอ่ พระ และ
พระอาจารย์ผู้ทรงคุณวฒุ ิ 16 รูป น่งั ปรก
วันที่ 18 เมษายน 2503 เวลา 15.08-17.08 น.
ท�ำพิธีเทโลหะเงินหล่อพระพุทธสิหิงค์ ในการน้ีได้สร้าง
ปะร�ำพิธีขน้ึ ณ สนามหนา้ ศาลากลางจังหวดั การกระทำ�
พิธีได้ศึกษาแบบอย่างตามจารีตประเพณีแต่โบราณกาล
พรอ้ มดว้ ยกำ� หนดอาณาเขตอนั เปน็ พธิ อี ยา่ งครบถว้ น พระ
จงั หวัดชลบรุ ีทีม่ ีงานสงกรานต์ทกุ ปี แต่ขาดการปฏบิ ตั ิกจิ มหาราชครูฯ พราหมณ์ ผอู้ าวุโสและมีชื่อเสยี งได้มโี อกาส
ในทางศาสนา ซ่ึงถ้าหากได้จำ� ลองแบบพระพทุ ธสิหงิ ค์ข้นึ มาท�ำพิธีบวงสรวงตามแบบแผนในงานนี้ พระเถระชั้น
แลว้ จะไดท้ ำ� ใหง้ านสงกรานตป์ ระจำ� ปสี มบรู ณย์ ง่ิ ขนึ้ โดยมี ผใู้ หญท่ ไ่ี ดม้ าเปน็ ประธานในพธิ สี วดมนตเ์ ยน็ ไดแ้ กส่ มเดจ็
การอญั เชญิ และสรงนำ้� เยยี่ งความนยิ มอนั เปน็ แบบแผนทด่ี ี พระมหาวีรวงศ์องค์สังฆนายก ส่วนพิธีพุทธาภิเษกและ
ดังทีช่ าวกรงุ เทพได้กระท�ำกัน น่ังปรก สมเด็จพระพุฒาจารย์ได้กรุณามาเป็นประธาน
โดยเหตุผลดังกล่าวแล้ว ความด�ำริเร่ืองน้ีจึงเป็น ประกอบด้วย ท่านเจ้าคุณพระเทพสุทธินายก (นาค)
รูปเรื่องข้ึน โดยมีการน�ำมาพิจารณาในท่ีประชุมของงาน วดั ระฆงั พระอาจารยล์ ี วดั อโศการาม เจา้ คณุ วสิ ทุ ธสิ มาจารย์
ประจ�ำปี พ.ศ. 2502 ซ่ึงในขณะนั้น นายแสวง รุจิรัตน์ วัดอ่างศิลา เจ้าคุณวรพรตปัญญาจารย์ วัดอรัญญิกาวาส
เป็นผวู้ ่าราชการจงั หวดั ชลบุรี และไดต้ กลงในหลกั การว่า พระอาจารย์เต๋ วัดบางเลน นครปฐม พระอาจารย์แต้ม
จะจำ� ลองแบบพระพทุ ธสงิ หงิ คเ์ ทา่ ขนาดองคจ์ รงิ มหี นา้ ตกั วัดพระลอย สุพรรณบุรีฯลฯ ในการนี้ได้มีการหล่อพระ
กว้างเพียงศอกเศษ (75 เซนติเมตร) ซึ่งยังไม่เคยมีผู้ใด บูชาขนาดต่างๆ และพระกร่ิงแบบพระพุทธสิหิงค์ไว้เป็น
กระท�ำมาก่อน แต่จะสร้างด้วยเน้ือโลหะท่ีแตกต่างกัน ที่ระลึกด้วย ส�ำหรับ พระพุทธสิหิงค์น้ัน ปรากฏว่าหล่อ
ไป คือจะสร้างด้วยเนื้อเงินแท้ทั้งองค์ ซ่ึงท่านอธิบดีกรม ได้งดงามมาก น่าชมเชยในฝีมือและความสามารถของ
ศิลปากรก็ไม่ขัดข้อง เม่ือได้ตกลงในหลักการเช่นน้ีแล้ว เจ้าหน้าท่กี รมศลิ ปากร
ในงานประจ�ำปี 2502 จึงได้เริ่มโฆษณา มีการออกร้าน ปรากฏการณ์อันเกิดข้ึนเป็นความมหัศจรรย์
ในงานประจ�ำปี โดยความร่วมมือของพุทธสมาคมและ อย่างประหลาด โดยในวันท่ี 17 เมษายน 2503 เป็น
ยุวพุทธิกสมาคมแห่งจังหวัดชลบุรีกับให้กรมศิลปากร วนั ทำ� พธิ สี วดมนตเ์ ยน็ มหี ญงิ ชราผมู้ ใี จศรทั ธาผหู้ นง่ึ ไดน้ ำ�
จ�ำลองแบบองค์พระพุทธสิหิงค์ด้วยปลาสเตอร์เท่าองค์ ขันเงินมาสมทบเป็นโลหะสร้างพระพุทธสิหิงค์ หญิงชรา
จริงมาแสดง และขอความร่วมมือจากบรรดาผู้ศรัทธา ได้เล่าว่า ถ้าหากการสร้างพระองค์น้ีได้กระท�ำพิธีโดย
ทั้งหลาย ต่อมาในปี พ.ศ.2503 ก่อนงานสงกรานต์ ถูกต้องและจะศักดิ์สิทธิ์ต่อไปแล้ว ในบ่ายวันน้ีควรมีพายุ
ประจำ� ปี ทา่ นผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ชลบรุ ี นายนารถ มนตเสวี และฝน ท่านได้ไปสรงน้�ำบูชาพระพุทธสิหิงค์องค์จริง
หนงั สอื ทรี่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 125
ทกี่ รงุ เทพฯ ทกุ ปี ประวตั ใิ นการสรา้ งพระพทุ ธสหิ งิ คอ์ งคน์ ้ี
ตามท่ีท่านได้ศึกษามามีต�ำนานเกี่ยวพันกับพญานาคอัน
เป็นต�ำนานด้ังเดิม ฉะน้ัน เมื่อมีพิธีการอันถูกต้องก็ควร
ที่จะมีพายุฝนในวันนี้ ซ่ึงในตอนเช้าวันนั้น ท้องฟ้าโปร่ง
ปราศจากเมฆหมอก และชลบรุ กี แ็ หง้ แลง้ อตั คดั ขาดแคลน
น�้ำกันมานานแล้ว จึงดูว่าไม่น่าจะมีฝนเกิดข้ึน ครั้นเวลา พระกรง่ิ แบบพระพุทธสิหงิ ค์ รนุ่ แรก พ.ศ. 2503
ประมาณบ่ายสองโมง (14.00น.) บรรดาพระเถระและ (เนือ้ เงนิ และเนือ้ สมั ฤทธ์ิ)
พระคณาจารย์ได้เริ่มเดินทางมาถึงบริเวณพิธี ท้องฟ้าเร่ิม จากค�ำบอกเล่าและความเชื่อเกี่ยวกับพระพุทธ
เปล่ียนแปลง มีลมพัดแรงข้ึนตามล�ำดับจนกระท่ังเต็นท์ สิหิงค์น้ี ชาวชลบุรีมีความเช่ืออยู่อย่างหนึ่งว่า เม่ือถึงงาน
ของเทศบาลซ่ึงกางไว้ใกล้บริเวณพิธีล้มลง ฝนก็เริ่มตก สงกรานต์ของชลบุรี ซึ่งจัดขึ้นในเดือนเมษายนของทุกปี
อย่างหนัก ครั้นใกล้จะถึงพิธีสวดมนต์เย็นฝนก็ไม่ยอม นนั้ จะตอ้ งมฝี นตก โดยปกตเิ ดอื นเมษายนอากาศ จะรอ้ น
หยุด พระคณาจารย์องค์หนึ่งจึงได้แนะน�ำให้ท�ำพิธีจุดธูป อบอ้าว แต่ชลบุรีจะมีฝนตกเกือบจะทุกปีในช่วงเทศกาล
บวงสรวงขอให้ฝนหยุด เมื่อบวงสรวงเสร็จต่อมาเวลาไม่ สงกรานต์
นานฝนกห็ ยดุ สนทิ อากาศเยน็ และมพี ระคณาจารยห์ ลาย พระพุทธสิหิงค์ม่ิงมงคลสิรินาถฯ นับว่าเป็นพระ
องค์บอกว่าแปลก มาจากไหนมาได้ไม่พบฝนพอเข้าเขต คู่บ้านคู่เมืองชลบุรี เป็นศิริแห่งความดีงามอันสูงสุดของ
จงั หวดั ชลบุรีถงึ วัดเขาบางทรายก็พบฝน ชาวชลบุรี เพราะแนบแน่นเป็นเน้ือเดียวกับสถาบันชาติ
เมอ่ื พธิ เี ทโลหะเสรจ็ แลว้ ชา่ งกรมศลิ ปากรไดน้ ำ� องค์ ในแงท่ ชี่ าวชลบรุ โี ดยการรเิ รมิ่ ของ พลตรศี ริ ิ สริ โิ ยธนิ และ
พระพุทธสิหิงค์ไปขัดและตกแต่งท่ีกรมศิลปากร จากน้ัน ผวู้ ่าราชการจังหวดั ชลบรุ ี (นายนารถ มนตเสว)ี ไดร้ ว่ มกัน
ได้น�ำพระพุทธสิหิงค์จากกรมศิลปากรไปสู่อุโบสถวัด จัดสร้างข้ึน แนบแน่นเป็นเนื้อเดียวกับพระพุทธศาสนา
เบญจมบพิตร และในวันท่ี 1 มีนาคม 2504 ซ่ึงตรง ในแง่ที่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสงั ฆราช
กับวันมาฆบูชา เป็นวันท่ีจะน�ำพระพุทธสิหิงค์จากวัด กิตตโิ สภณมหาเถระ วดั เบญจมบพติ ร เป็นผถู้ วายนามวา่
เบญจมบพิตรไปจังหวดั ชลบุรนี ั้น ทอ้ งฟา้ ก็ชุม่ ไปดว้ ยเมฆ “พระพุทธสิหิงค์มิ่งมงคลสิรินาถ พุทธบริษัทราษฎร์กุศล
ฝน มลี ะอองเลก็ นอ้ ยโปรยปรายลงมา สมเดจ็ พระสงั ฆราช สามัคคี ชลบุรีปูชนียบพิตร” และแนบแน่นเป็นเนื้อเดียว
ไดท้ รงพระกรณุ าทำ� พธิ ถี วายพระนาม พระพทุ ธสหิ งิ คอ์ งคน์ ้ี กับสถาบันพระมหากษัตริย์ในแง่ท่ี เม่ือวันที่ 8 มกราคม
ว่า “พระพุทธสิหงิ คม์ ่งิ มงคลสริ ินาถ พทุ ธบริษัทราษฎร์ 2509 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพล
กุศลสามัคคี ชลบุรีปูชนยี บพติ ร” ในทา่ มกลางภิกษสุ งฆ์ อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ
และอุบาสกอุบาสิกา กับได้ทรงเจิมพระพุทธบัลลังก์และ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พร้อม
ถวายผ้าพัตราภรณ์ ณ อุโบสถวัดเบญจมบพิตร เมื่อ ด้วยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา
เสร็จพิธีแล้วได้อัญเชิญขึ้นสู่รถยนต์เข้าขบวนแห่เดินทาง พรรณวดี เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงเปิดหอพระพุทธ
ไปสู่จังหวัดชลบุรี โดยจังหวัดชลบุรีได้มีการจัดขบวนแห่ สหิ งิ คแ์ ละพระองคไ์ ดท้ รงปลกู ตน้ โพธพ์ิ ทุ ธคยาไวใ้ นบรเิ วณ
ต้อนรบั แล้วแหร่ อบเมอื งและมีการสมโภช 1 คนื และใน หอพระพุทธสิหิงค์ ปัจจุบันต้นโพธิ์พุทธคยาต้นนี้ยังคง
วันท่ี 20 มีนาคม 2504 มีการประกอบพิธีเบิกพระเนตร อยู่บริเวณฝั่งใกล้ร้ัวหอพระตรงข้ามกับสถานีต�ำรวจภูธร
ในอโุ บสถวดั อรญั ญกิ าวาส ซงึ่ เมอ่ื เสรจ็ พธิ แี ลว้ กจ็ ะเปน็ การ เมืองชลบุรี และเม่ือวันท่ี 15 กันยายน 2515 พระบาท
สมบูรณ์เสร็จสิ้นส�ำหรับองค์พระพุทธสิงหิงค์องค์นี้ และ สมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช
ตอ่ ไปในงานสงกรานตป์ ระจำ� ปขี องจงั หวดั ชลบรุ ี นบั ตงั้ แต่ บรมนาถบพติ รเสด็จมานมสั การอีกคร้งั หนึง่
ปนี เี้ ปน็ ตน้ ไปกจ็ ะไดน้ ำ� ออกมาประดษิ ฐานใหป้ ระชาชนได้ (ที่มา...หนังสือประวัติศาสตร์บอกเล่า... พระเจ้าตากสิน
นมสั การและสรงนำ�้ โดยทั่วกันเปน็ ประเพณีสืบไป กบั เมอื งชลบรุ ี โดย สามารถ พ้นภัยพาล)
126 หนังสอื ท่รี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี
ศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื ง “สริ มิ หามงคลชลบรุ ”ี
ศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื ง “สริ มิ หามงคลชลบรุ ”ี ตงั้ อยู่ และทำ� การปรบั ปรงุ ถมดนิ เปลย่ี นสภาพจากสะพานกลาย
ใกล้กับศาลาฟังธรรม ต�ำบลบางปลาสร้อย อ�ำเภอเมือง เป็นซอย ต้ังชื่อใหม่ว่า ซอยฑีฆามารค แปลว่า ทางยาว
ชลบุรี จังหวัดชลบุรี เป็นศาลเจ้าพ่อหลักเมืองซ่ึงเป็นที่ ซึ่งยังคงสอ่ื ถงึ ชอื่ เดิมของสะพานไว้
เคารพศรทั ธาของชาวชลบรุ มี าตง้ั แตอ่ ดตี ศาลนอี้ ยคู่ เู่ มอื ง ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง เป็นศาลเจ้าที่ผูกพันกับวิถี
บางปลาสรอ้ ยมาชา้ นาน สรา้ งขน้ึ เมอ่ื ใดนน้ั ไมป่ รากฏหลกั ชีวิตของชาวชลบุรีมาต้ังแต่อดีตกาล โดยมีเร่ืองเล่าเป็น
ฐานแน่ชัด แต่จากค�ำบอกเลา่ ของคนเก่าแก่ทอี่ าศยั อยู่ใน ต�ำนานต่อๆ กันมาว่า ในสมัยก่อนต�ำบลบางปลาสร้อย
ชุมชนท้ายบ้านประกอบกับข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่มี เป็นชุมชนท่ีมีผู้คนอาศัยอยู่หนาแน่นกว่าชุมชนอื่นๆ ใน
การจารกึ ไว้ สนั นษิ ฐานกนั วา่ สรา้ งขนึ้ ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา จังหวัดชลบุรี และมีตลาดซึ่งถือว่าเป็นย่านการค้าใหญ่
ตอนปลาย ใกล้เคียงกับวัดใหญ่อินทาราม (พระอาราม ที่ส�ำคัญในสมัยนั้น ช่ือ “ท่าเกวียน” ต้ังอยู่ระหว่าง
หลวง) และศาลาฟังธรรมซ่ึงต้ังอยู่ใกล้กัน ปัจจุบันทั้ง วัดใหญ่อินทาราม วัดต้นสน และศาลาฟังธรรม
วดั ใหญอ่ นิ ทาราม ศาลาฟงั ธรรม และศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื ง ตลาดท่าเกวียนน้ีเป็นตลาดท่ีชาวป่า ชาวไร่ ชาวนา และ
น้ีได้ขึ้นทะเบียนเป็นศิลปกรรมโบราณสถานของจังหวัด ชาวสวนน�ำผลิตผล ได้แก่ ข้าว กล้วย อ้อย พืชผัก และ
ชลบุรีแล้ว ผลไม้ต่างๆ บรรทุกเกวียนมาขาย เม่ือขายสินค้าของตน
หากมองภาพย้อนไปในอดีต ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง เสรจ็ แลว้ ขากลบั กซ็ อ้ื สง่ิ ของเครอ่ื งใชท้ จ่ี ำ� เปน็ จากตวั เมอื ง
นตี้ ง้ั อยบู่ รเิ วณเชงิ สะพานยาว (ปจั จบุ นั คอื ซอยฑฆี ามารค) กลบั ไป ผลติ ผลทชี่ าวปา่ ชาวไร่ ชาวนา และชาวสวนนำ� มา
หันหน้าศาลลงทะเล ข้างศาลจะมีต้นโพธ์ิใหญ่ ๑ ต้น ซ่ึง ขายท่ีตลาดท่าเกวียนน้ี บรรดาพ่อค้าก็ซ้ือและน�ำบรรทุก
ปัจจุบันต้นโพธ์ินี้ยังคงยืนต้นตะหง่านแผ่กิ่งก้านสาขาให้ ใส่เรือซึ่งมีทั้งเรือแจวและเรือใบ (เรือส�ำเภา) ไปขายยัง
ร่มเงาอยู่ดังเดิม บริเวณหลังศาลเจ้าพ่อแห่งนี้จะมีบ่อน้�ำ
๑ บอ่ ซงึ่ ชาวบา้ นเรยี กกนั วา่ “บอ่ ศาลเจา้ ” ดา้ นหนา้ ศาล
จะมีสะพานพุ่งตรงไปทะเล สะพานนี้มีชื่อเรียกกันว่า
“สะพานยาว” สาเหตทุ ชี่ อื่ สะพานยาวกเ็ พราะวา่ สะพาน
น้ีมีความยาวกว่าสะพานอ่ืนๆ ในสมัยนั้น บริเวณสะพาน
ยาวจึงเป็นท่าเรือขนส่งสินค้าติดต่อไปมากับต่างจังหวัด
อีกด้วย ต่อมาเทศบาลเมืองชลบุรีได้ท�ำการปรับปรุง
พัฒนาพื้นที่ในซอยต่างๆสะพานไม้ได้ถูกร้ือถอนออกไป
หนังสอื ท่รี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี 127
ตา่ งจงั หวดั และกรงุ เทพฯ ตลาดทา่ เกวยี นจงึ เปน็ จดุ นดั พบ
ของผู้ท่ีมีเกวียน มคี วายมาชมุ นุมกันมากมาย และถอื เป็น
จดุ กำ� เนดิ ของประเพณวี ง่ิ ควายจงั หวดั ชลบรุ ี บนั ทกึ ในอดตี
ทเ่ี กย่ี วกบั ศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื งยงั ทำ� ใหท้ ราบวา่ เดมิ ศาลน้ี
จะมีงานประจ�ำปี ประเพณีกองข้าว เข้าทรงในวันขึ้น “พ่อหลักเมอื งสริ มิ หามงคลชลบรุ ี” รนุ่ 1
๖ ค�่ำ เดือน ๖ โดยจะจัดงานติดต่อกัน ๓ วัน ตอนเย็น จดั สรา้ ง “พอ่ หลกั เมอื งสริ มิ หามงคลชลบรุ ”ี ซง่ึ นบั วา่ เปน็
มีการเข้าทรงท�ำพิธีกองข้าวที่ข้างคลองบางปลาสร้อย รนุ่ 1 น้ี ประกอบดว้ ย เสน้ พระเกศาสมเดจ็ พระญาณสงั วร
กล่าวกันว่า ประเพณีกองข้าวเริ่มจากศาลเจ้าพ่อน้ีเป็น สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ผงพุทธคุณ
แห่งแรกของจังหวัดชลบุรี ส่วนศาลาฟังธรรมซ่ึงอยู่ใกล้ๆ ตา่ งๆ ของ ดร.ไมตรี บญุ สงู อาทิ ผงดนิ จากประเทศอนิ เดยี
กับศาลเจา้ พ่อหลักเมอื งนน้ั เป็นศาลาส�ำหรบั ฟังธรรมของ สถานที่ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ผงธูปวัดพระแก้ว
ชาวบ้าน โดยในช่วงเทศกาลเข้าพรรษาตลอด ๓ เดือน ผงธปู วัดบวรนิเวศ ผงธูป วดั สุทัศน์ ผงธปู วัดชนะสงคราม
ได้นิมนต์พระสงฆ์จากวัดต่างๆ ในเขตเทศบาลสับเปลี่ยน ผงธปู โบสถพ์ ราหมณก์ รงุ เทพมหานคร ผงพระอาจารยน์ ำ�
หมุนเวียนกันมาเทศนาธรรมแก่ประชาชนในตอนกลาง วดั ดอนศาลา ผงหลวงปเู่ ทยี ม วดั กษตั รา ผงหลวงพอ่ เมอื ง
คนื และถอื เปน็ ธรรมเนยี มปฏบิ ตั สิ บื กันมาจวบจนทุกวนั นี้ วัดท่าแหน ผงหลวงพ่อก๋ี วัดหูช้าง ผงหลวงพ่อเกล้ือม
เนื่องจากศาลเจ้าพ่อหลักเมืองน้ีเป็นที่เคารพ วัดฉลอง ผงหลวงพ่อพุ่ม วัดบางโคล่นอก ผงหลวงปู่สี
ศรัทธาของชาวชลบุรี คร้ันเม่ือเห็นศาลเจ้าพ่อมีสภาพ วดั สะแก ผงหลวงพอ่ ปู่วดั สะแก ผงพทุ ธคณุ และผงจนิ ดามณี
ทรุดโทรม ชาวชลบุรีจึงได้ร่วมกันอุทิศก�ำลังกายและ หลวงปบู่ ญุ วดั กลางบางแกว้ ผงพระครวู มิ ลญาณอดุ ม (ตว๋ิ )
ก�ำลังทรัพย์บูรณะซ่อมแซมศาลเจ้าพ่อกันมาตามก�ำลัง วดั มณชี ลขณั ฑ์ ผงพระอาจารยส์ ตู ิ วดั ในเตา ผงพระอาจารย์
ศรัทธา จวบจนกระท่ังในปีพุทธศักราช ๒๔๙๒ ได้มีการ หรีด วัดป่าโมกข์ ผงพระอาจารย์นอง วัดทรายขาว
บรู ณะศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื งนด้ี ว้ ยงบประมาณของเทศบาล ผงหลวงพ่อไสว วดั ปรดี าราม ผงพระหกั ต่างๆ เช่น หลวง
เมืองชลบุรี จ�ำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท และในระหว่าง ปู่ทวด วดั ช้างไห้ ปี ๙๗ ปตั ตานี ผงสมเดจ็ บางขนุ พรหม
ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๓๙-๒๕๔๒ จงึ ไดม้ กี ารบรู ณะศาลเจา้ พอ่ พระรอดล�ำพนู พระคงลำ� พูน พระนางพญา พระนางตรา
ครั้งใหญ่โดยงบประมาณที่ประชาชนได้ร่วมกันบริจาค ทา่ เรอื ผงหวั ใจ ๑๒ นกั ษตั ิ พระzzอาจารยห์ รดี วดั ปา่ โมกข์
ด้วยกำ� ลงั ศรทั ธา จำ� นวน ๑,๒๐๐,๐๐๐ บาท ผงเจดียว์ ัดมหาธาตุ จังหวดั นครศรีธรรมราช ผงหลกั เมือง
ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้รับพระเมตตา และผงจตุคามปี ๓0 ฯลฯ ผงของท่านผู้การจ�ำเนียร
จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหา ตู้จินดา อาทิ ผงอังคารพระธาตุพระอรหันต์ของ
สังฆปรินายก วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร พระอาจารย์ยัง วัดเจ้าส�ำราญ ผงอิทธิเจ ผงปัถมัง พระ
ประทานชอ่ื เจา้ พอ่ หลกั เมืองน้ีว่า “สริ ิมหามงคลชลบรุ ”ี อาจารย์ใย วดั สะแก ผงมหาจกั รพรรดิ หลวงปูด่ ู่วดั สะแก
ตามหนังสือส�ำนักเลขานุการสมเด็จพระสังฆราชฯ ผงอทิ ธเิ จทสี่ รา้ งพระปดิ ตา หลวงพอ่ แกว้ วดั ชอ่ งลม รนุ่ ๑
ที่ พ ๕๐๕/๒๕๕๐ ลงวนั ท่ี ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๐ และเนอ่ื ง จังหวัดสมุทรสาคร ผงพระฤๅษี ลูกอมผงพรายกุมารของ
ในโอกาสทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช หลวงปทู่ มิ วดั ระหารไร่ จงั หวดั ระยอง ผงของผมู้ จี ติ ศรทั ธา
รชั กาลที่ 9 ทรงเจรญิ พระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ในวนั ท่ี อาทิ ผงหลวงพ่อแกว้ วดั เครือวัลย์ วัดปา่ วัดหนองตำ� ลงึ
๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ เพ่ือน้อมถวายเป็นพระราชกุศล ผงหลวงปภู่ ู่ วดั ต้นสน ผงสรงน้ำ� วดั เขาบางทราย ฯลฯ
ชาวชลบุรีจึงได้จัดสร้างวัตถุมงคล “พ่อหลักเมือง นับจากน้ี ศาลเจ้าพ่อหลักเมอื งแหง่ นี้จะเปน็ ทรี่ ูจ้ ัก
สริ มิ หามงคลชลบรุ ”ี เนอื้ ผงขนาด ๓.๕ เชนตเิ มตร จำ� นวน ในนาม ศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื ง “สริ มิ หามงคลชลบรุ ”ี นาม
๕๐,๐๐๐ องค์ มอบไว้สักการบูชาเพื่อเป็นสิริมงคลและ ทีเ่ ป็นสริ มิ งคลยิ่งส�ำหรบั ชาวชลบรุ สี บื ไป
เกียรติประวัติแก่ชาวชลบุรี โดยมวลสารศักดิ์สิทธ์ิในการ
128 หนังสือทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี
พระบรมราชานสุ าวรีย์
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๕
พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 ประดิษฐานอยู่ด้านข้างของ
สวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ถนนวชิรปราการ ต�ำบลบางปลาสร้อย สร้างในสมัย
นายนารถ มนตเสวี เปน็ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ชลบรุ ี โดยกรมศลิ ปากรเปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การปน้ั หลอ่ พระบรมรปู และพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงเปิด เม่ือวันท่ี 15 พฤศจิกายน 2511 ซ่ึงในปัจจุบัน
ประชาชนได้พรอ้ มใจกนั ทำ� พธิ บี วงสรวงในทุกวนั อังคารชว่ งเยน็
และในวันท่ี 23 ตุลาคมของทุกปี ซ่ึงเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รชั กาลที่ 5 “วนั ปิยมหาราช” หน่วยงานราชการจะท�ำพิธีวางพวงมาลาและถวายบงั คม
หนงั สือที่ระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 129
วดั ใหญอ่ นิ ทาราม
(พระอารามหลวง)
วัดใหญ่อินทาราม (พระอารามหลวง) ต้ังอยู่เลขที่
858 ถนนเจตน์จำ� นงค์ ต.บางปลาสร้อย อ.เมือง จ.ชลบุรี
เป็นวัดเก่าแก่โบราณคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดชลบุรี ตาม
ประวัติแต่เดิมชื่อ “วัดอินทาราม” แต่ชาวบ้านเรียก
กันจนติดปากว่า “วัดใหญ่” ปัจจุบันจึงเรียกว่าวัดใหญ่
อนิ ทาราม มีอายเุ ก่าแก่นานร่วม 600 ปี ทงั้ ยังเปน็ โบราณ
สถานส�ำคัญของพระพุทธศาสนาคู่บ้านคู่เมืองมาต้ังแต่ และเป็นวีรกรรมของบรรพบุรุษชาวจังหวัดชลบุรี ท่าน
สมัยกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดใหญ่ เจา้ อาวาสไดช้ กั ชวนชาวเมอื งชลบรุ สี รา้ งอนสุ าวรยี ส์ มเดจ็
อินทาราม” ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรีมีหลักฐานปรากฏ พระเจ้าตากสินมหาราช เป็นพระบรมรูปประทับน่ังบน
ในพระราชพงศาวดารว่าสมเด็จพระเจ้าตากสิน ได้เสด็จ ตอไมใ้ หญ่ ทรงฉลองพระองคแ์ บบจอมทพั วดั ใหญอ่ นิ ทาราม
เสด็จฯ มาพักรวบรวมไพร่พล เพื่อกอบกู้เอกราช ปราบ แห่งนี้ มีพระพุทธรูปศักด์ิสิทธิ์คู่บ้าน เป็นที่เล่ือมใสของ
นายทองอยู่ นกเล็ก ซ่ึงมีพฤติกรรมเป็นโจรสลัด ข่มเหง ชาวเมอื งชล คือ หลวงพอ่ เฉย หลวงพอ่ เฉยเปน็ พระพุทธ
ชาวเมืองชลบุรีและคิดมิชอบต่อบ้านเมือง เพ่ือเป็นท่ี ปฏมิ าสำ� รดิ ทรงเครอ่ื งศลิ ปะสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา เดมิ ทหี ลวง
ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ เป็นเครื่องเชิดชูพระเกียรติ พ่อเฉยเป็นพระพุทธรูปประจ�ำอยู่วัดสมรโกฏ เป็นวัดที่
130 หนงั สือท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี
สร้างในยุคเดียวกับวัดใหญ่อินทาราม (พระอารามหลวง)
แต่ต่อมาภายหลังวัดสมรโกฏไม่มีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษา
ขาดผู้อุปถัมภ์บ�ำรุง จึงกลายเป็นวัดร้าง ชาวบ้านจึงได้
ประกอบพิธอี ัญเชญิ ยา้ ยท่านจากวัดรา้ งสมรโกฏมาอยู่ ณ
วดั ใหญอ่ นิ ทาราม (พระอารามหลวง) เพอ่ื ให้ประชาชนได้
สักการะหลวงพ่อเฉย และยังมีสิ่งท่ีน่าสนใจให้ได้ดูได้ชม
กนั อีก ได้แก่ พระอโุ บสถ เป็นสถาปัตยกรรมแบบอยธุ ยา
ตอนปลายถงึ ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ วหิ ารเลก็ ทศิ เหนอื ของโบสถ์
ฐานวหิ ารมลี ักษณะท้องช้างเช่นเดยี วกบั โบสถ์ บานประตู
ทางเขา้ วหิ ารตกแตง่ ดว้ ยลายรดนำ้� ปดิ ทองภาพ ตน้ นารผี ล
ส่วนภาพเขียนภายในวิหารเลือนจนแทบมองไม่เห็นแล้ว
และยังมีพระมณฑป ที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท
จำ� ลอง ทำ� ดว้ ยศลิ าทราย ภายในมพี ระพทุ ธบาทเบอ้ื งซา้ ย
ขนาด ๑๓๐×๖๐ เซนติเมตร พระพุทธบาทอยู่คู่กับ
พระอารามมาต้ังแต่อดีตสมัย อยู่ในยุครุ่นราวคราวเดียว
กันกับพระพุทธบาทจังหวัดสระบุรี ซ่ึงจะเปิดให้เข้า
นมัสการในชว่ งเทศกาลตรษุ จนี
หนงั สือทรี่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 131
วัดเนนิ สุทธาวาส
วัดเนินสุทธาวาสแห่งน้ี นับได้ว่าเป็นศูนย์รวมใจ
พุทธศาสนิกชนมาช้านาน ด้วยความขลังแห่งสรรพวิชา
อาคมแต่คร้ังอดีตกาล อันเป็นต�ำนานกล่าวขานถึงอดีต
เกจิอาจารย์หลายรูป ตั้งแต่หลวงพ่อทอง และหลวงพ่อ
โต หรือพระอธิการโต หลวงปู่เกลี้ยง ซึ่งวัตถุมงคลของ (ชื่อวัดเดิมขณะน้ัน) ร่วมไปในกองทัพด้วย โดยหลวงพ่อ
ท่านได้รับความนิยมจากแวดวงนักนิยมพระไม่เป็นรอง ทองนนั้ เลอื่ งลอื เรอื่ งวชิ าอาคมแกก่ ลา้ เปน็ ทเี่ คารพนบั ถอื
สำ� นกั ไหนใน ชลบุรี ของประชาชนในภาคตะวันออกท่ีปรากฏเป็นหลักฐาน
ประวัติวัดเนินสุทธาวาส (วัดเนิน) เป็นวัดเก่าแก่คู่ ภายในวัดคือ พระอุโบสถหลังเก่า ท่ีมีลักษณะแอ่นโค้ง
เมอื งชลบรุ ีมาช้านานตั้งแตส่ มยั โบราณแล้ว ต้ังอย่บู นเนิน แบบท้องส�ำเภา ซ่ึงเป็นรูปแบบนิยมแพร่หลายในสมัย
สงู จงึ เปน็ เหตใุ หเ้ ดมิ เรยี กวา่ “วดั เนนิ ” ตงั้ แตน่ นั้ มาจากคำ� กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สันนิษฐานว่า “วัดเนิน” น่าจะ
บอกเล่าของคนเฒา่ คนแก่ระบุวา่ คราวเสยี กรงุ ศรีอยธุ ยา สร้างข้ึนในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ได้รับการบูรณ
คร้ังที่ ๒ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๑๐ สมเด็จพระเจ้าตากสิน ปฏิสังขรณ์เร่ือยมา ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ทางการเพ่ิมค�ำว่า
มหาราช ไดท้ รงรวบรวมไพรพ่ ลฝ่าวงลอ้ มของข้าศกึ ไปตงั้ “สุทธาวาส” ต่อท้ายชื่อเดิม จนกลายเป็นชื่อ “วัดเนิน
ฐานท่ีมั่นท่ีเมืองจันทบุรีน้ัน ระหว่างทางทรงแวะประทับ สทุ ธาวาส” จนปจั จบุ นั
แรมท่ีวัดอินทาราม จ.ชลบุรี ซึ่งต่อมาเรียกว่า “วัดใหญ่ ใน พ.ศ. ๒๔๓๖ พระอธิการโต อดีตเจ้า อาวาส
อินทาราม” ทรงนิมนต์หลวงพ่อทองเจ้าอาวาสวัดเนิน พระเกจอิ าจารยช์ อื่ ดงั ไดก้ อ่ สรา้ งพระอโุ บสถหลงั ใหมแ่ ละ
132 หนงั สือทีร่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี
ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ขณะหลวงปเู่ กลย้ี งเดนิ ธดุ งค์
เจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานท่ีเขาพงพรานต.หนองข้างคอก
เปลี่ยนจากผนังไม้ เป็นก่ออิฐถือปูน ก่อนจะบูรณะอีก อ.เมือง จ.ชลบุรี น่ังสมาธิ นิมิตเห็น เทพยดามาบอก
ครั้งใน พ.ศ. ๒๕๔๓ โดยท่านพระครู พิศิษฐชโลปการ ทา่ นว่า “สถานท่ีแห่งน้ี ภายภาคหน้าจะเป็นท่สี �ำคญั ของ
(หลวงปเู่ กลยี้ ง) เจา้ อาวาสปจั จบุ นั ผสู้ บื สานวชิ าจากหลวง ประเทศชาตแิ ละพระพทุ ธศาสนา” โดยมอบหมายใหท้ า่ น
พ่อโต อดีตเกจิชื่อดังในฐานะ ผู้ได้รับการถ่ายทอดวิชา ดำ� เนนิ การกอ่ สรา้ ง จงึ สรา้ งสำ� นกั ปฏบิ ตั ธิ รรมขน้ึ มา ชอื่ วา่
ต่าง ๆ จากพระอาจารย์ ท�ำให้ชื่อเสียงของ พระครู “สวนป่านันทวันอาศรม” และสร้างมหาธาตเุ จดยี ข์ นาด
พิศิษฐชโลปการ (หลวงปู่เกลี้ยง) เป็นที่รู้จักคุ้นเคยของ ใหญ่ดุจด่ังเจดีย์พุทธคยา ประเทศอินเดีย ประดิษฐาน
ผู้ศรัทธาในภาคตะวันออกเช่นเดียวกัน คร้ันอายุครบ ไว้เป็นอนุสติ น้อมร�ำลึกถึงสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
๒๑ ปีบริบูรณ์ หลังไปเกณฑ์ทหารแล้วโยมบิดาก็ให้ อกี ดว้ ย ตลอดชวี ติ ตงั้ แตว่ ยั หนมุ่ จนสริ อิ ายุ ๙๗ ปี หลวงปู่
อุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดเนินสุทธาวาส (วัดเนิน) เกลี้ยง ทุ่มเทและพัฒนาสร้างความเจริญ รุ่งเรืองให้
ต.บางปลาสรอ้ ย อ.เมอื ง จ.ชลบรุ ี เมอ่ื วนั ที่ ๒ กรกฎาคม วัดเนินสุทธาวาสและศาสนสถานอื่น ๆ อันเป็นที่สืบสาน
๒๔๘๒ โดยมีพระครูศรีสัตยาภิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดต้นสน พระพุทธศาสนาเร่ือยมาโดยไม่เคยบ่นหรือแสดงความ
เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการสัน ธัมฺมสโร เจ้าอาวาส ท้อถอย เป็นสาเหตุส�ำคัญให้ญาติโยมศรัทธาและเคารพ
วัดเนนิ สทุ ธาวาส เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ พระครสู รวฒุ ิ นับถือท่านเป็นจ�ำนวนมาก หลวงปู่เกลี้ยง เคยสร้างวัตถุ
สมาจารย์ เปน็ อนสุ าวนาจารย์ แลว้ จำ� พรรษาอยวู่ ดั แหง่ นี้ มงคล รายได้ ทั้งหมดน�ำไปพัฒนาท้องถ่ิน สร้างความ
ไดร้ บั ฉายาวา่ “มนญุ โญ”อปุ สมบทได้ ๕ พรรษา พระอธกิ าร เจริญให้แก่วัดเนินสุทธาวาส ได้รับความนิยมมาก ๆ คือ
สันลาสิกขา คณะสงฆ์จึงแต่งต้ังให้ พระเกล้ียง (หลวงปู่ หนุมาน พระปิดตา เหรียญ โดยท่านสร้างตามต�ำรับ
เกล้ียง) เป็นผู้รักษาการในต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดเนิน หลวงพ่อโต อดีตเกจิดังและอดีต เจ้าอาวาส อีกท้ังท่าน
สทุ ธาวาสนาน ๑ ปี จนกระทงั่ วนั ที่ ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๘๗ มีศักดิ์เป็นเหลน ของหลวงพ่อโตด้วยแล้ว ยิ่งท�ำให้ความ
ทา่ นจงึ ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั เปน็ เจา้ อาวาส วดั เนนิ สทุ ธาวาส ศรัทธาเพมิ่ พูนทวคี ณู
หนังสือท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 133
วดั เครอื วลั ย์
วัดเครือวัลย์ ตั้งอยู่ที่ถนนเจตน์จ�ำนง ต�ำบลมะขามหย่ง เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2364
“หลวงพ่อแก้ว” ทา่ นได้ธดุ งค์ผ่านมาทางภาคตะวันออกและได้มาพกั แรมอยู่ ณ สถานทแ่ี ห่งหน่งึ
ในตัวเมืองจังหวัดชลบุรี ซ่ึงในสมัยนั้น จังหวัดชลบุรียังเป็นป่ารกชัฏด้วยป่าไม้เบญจพรรณต่างๆ
มองไปทางไหนก็พบแต่ความเวิ้งว้างว่างเปล่าของน้�ำทะเล สาเหตุเน่ืองมาจากผลของสงคราม ใน
ช่วงที่สมเด็จพระเจ้าตากสินท�ำการกู้อิสรภาพนั่นเอง วัดวาอารามต่างๆ ที่ถูกท�ำลายก็ยังไม่ได้รับ
134 หนงั สือทร่ี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี
การฟน้ื ฟู ชาวบา้ นทอ่ี ยใู่ นถน่ิ ฐานนน้ั สว่ นมากมกี ารศกึ ษา
นอ้ ย เพราะขาดการเหลยี วแล จะเปน็ ดว้ ยวาสนาของชาว
จังหวัดชลบุรีหรืออย่างไรไม่ทราบ ที่ทำ� ให้ท่านธุดงค์ผ่าน
มาทางน้ี และด้วยเมตตาธรรมอันบริสุทธ์ิของท่าน ท�ำให้
ท่านมีความคิดท่ีจะปลูกฝังญาติโยมในละแวกนั้นให้เข้า
ถึงหลักธรรมของพระพทุ ธองค์ จงึ ปักกลดอยูท่ น่ี ้ัน เพราะ
ความน่าเล่ือมใสของท่าน ชาวบ้านในละแวกน้ันต่างก็น�ำ
อาหารมาท�ำบุญ ส่วนชาวบ้านที่นิยมของขลัง เม่ือเห็น
พระรุกขมูลมา และมีวัตรปฏิบัติแปลกว่าพระธุดงค์รูป
อน่ื เกดิ ความเลอ่ื มใส เขา้ ไปขอเครอ่ื งรางของขลงั กบั ทา่ น ท่ีให้ก็ดีจริงๆ อันประกอบไปด้วยบทคาถามหามนต์ขลัง
ส่วนท่านเมื่อมีญาติโยมมาหาท่านก็เช้ือเชิญต้อนรับด้วย เพราะการเดินธุดงค์ท่านจะหอบห้ิวเอาวัตถุของติดตัวมา
ธัมมปฏิสันถาร เพราะท่านมีธรรมเป็นเครื่องให้ เม่ือใคร ด้วยนั้น ท่านคงหอบหิ้วไม่ไหวแน่ ท่านคงมีแต่บทคาถา
เอ่ยปากขอของขลังจากท่าน ท่านก็ให้ของขลัง และของ มหามนต์ขลัง เม่ือเขาออกปากท่านก็ให้ตามหลักกตัญญ
กตเวทิตาธรรม ตามท่ีพระพุทธองค์ทรงสอนไว้ คือคาถา
บทภาวนาระลึกถึงพระรัตนตรัย เม่ือญาติโยมในละแวก
นน้ั เกดิ ความเลอ่ื มใส ท�ำใหท้ ่านเร่ิมบูรณะซากสลกั หักพงั
ของวัดร้างวัดหน่ึง โดยได้รับความร่วมมือจากญาติโยม
ในละแวกนั้นเป็นอย่างดีจนพอใช้การใช้การได้แล้ว
ท่านก็ได้ต้ังช่ือว่า “วัดเคร่ือวัลย์” คงถือเอานิมิตต์ท่ีมี
เถาวัลย์ปกคลุมอยู่มากมายก็ได้ หลังจากนั้น ท่านก็ได้
อบรมส่ังสอนประชาชนให้เข้าถึงหลักธรรมทางพระพุทธ
ศาสนา จนมีผู้แสดงตนเป็นอุบาสก อุบาสิกา เข้าถึง
พระรัตนตรัย ส่วนผู้ท่ีมีศรัทธากล้าก็เข้ามาอุปสมบทใน
พระพทุ ธศาสนา ทา่ นก็อบรมสั่งสอนด้วยหลักธรรมตา่ งๆ
ตามภมู ิธรรมของบคุ คลนนั้ ๆ
หนงั สือทีร่ ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 135
วดั กำ� แพง
วัดก�ำแพง เป็นวัดที่จัดสร้างข้ึนมามีอายุยืนยาวเก่าแก่กว่า 150 ปี ปัจจุบันต้ังอยู่เลขที่ 420/23 ถนนสาคร
พทิ กั ษ์ ตำ� บลมะขามหยง่ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี เปน็ วดั ทป่ี ระชาชนนยิ มเรยี กกนั ตามสภาพแวดลอ้ มวา่ “วดั กำ� แพง”
เพราะมีก�ำแพงล้อมรอบมาตั้งแต่สมัยโบราณ วัดก�ำแพงสร้างขึ้นในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น การสร้างวัดได้รับการ
บอกเล่าต่อๆ กันมาว่า หลวงพ่อโต (เจ้าอาวาสองค์แรก) ท่านเป็นพระธุดงค์มาจากเพชรบุรี พร้อมด้วยหลวงพ่อแก้ว
วดั เครอื วลั ย์ และหลวงพ่อภู่ วดั นอก (ซึ่งขณะนัน้ ยังเป็นสามเณร) ได้เข้ามาปักกรดปฏบิ ตั ิธรรมในบริเวณหนองตน้ โพธ์ิ
136 หนังสอื ท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี
ภายหลงั ไดต้ งั้ สำ� นกั ปฏบิ ตั ธิ รรมวปิ สั สนาขนึ้ เมอ่ื ประมาณ
พ.ศ.2354–2371 ต่อมาภายหลังจึงได้จัดสร้างเป็นวัด
ชอ่ื วา่ “วดั กำ� แพง” วดั นเ้ี รมิ่ สรา้ งเปน็ วดั ขนึ้ เมอ่ื พ.ศ.2400
ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.2406 เน้ือที่
ท่ีได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา กว้าง 8 เมตร ยาว
24 เมตร ปัจจุบันเนอ้ื ที่ต้งั วดั มที งั้ หมด 5 ไร่ มที ่ธี รณสี งฆ์
65 ไร่ เป็นที่ดินมีโฉนดแล้ว
เสนาสนะ ส่ิงปลูกสร้าง วัดก�ำแพง ซ่ึงมีอายุกว่า
รอ้ ยปี ไดม้ กี ารกอ่ สรา้ งและปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลง ซอ่ มแซม
และสรา้ งเสนาสนะใหมใ่ หด้ ขี นึ้ จนกระทงั่ ปจั จบุ นั นี้ จำ� นวน วตั ถุมงคล “พระปดิ ตา” ของทา่ นสุดยอดเลอเลิศในศิลป
หลายครง้ั หลายหน ปจั จบุ นั อโุ บสถบรู ณะใหมท่ งั้ หมดเมอื่ เป็นหน่ึง ไม่เหมือนใครในจังหวัดชลบุรี เป็นองค์หน่ึงใน
ปี พ.ศ.2540 และขยายให้กว้างข้ึน สูงข้ึนและสง่างาม เบญจภาคี “พระปิดตาเมืองชล” เพชรน้�ำเอกสุดยอด
กว้าง 10.50 เมตร ยาว 27 เมตร รวมทั้งเขียนภาพ พระปดิ ตาเมอื งชลบรุ ี เปน็ วตั ถมุ งคลลำ�้ คา่ ทหี่ ลวงพอ่ เจยี ม
ฝาผนังภายในอโุ บสถใหมท่ ง้ั หมดเสรจ็ เรยี บร้อยแลว้ วัดกำ� แพง ทา่ นได้สรา้ งไว้หลายแบบหลายพมิ พ์ ชว่ งเวลา
วัตถุมงคล พระครูชลโธปมคุณมุนี (เจียม) การสรา้ งพระปดิ ตายอดนยิ มของวดั กำ� แพง ชลบรุ ี ทส่ี รา้ ง
เจ้าคณะใหญ่เมืองชลบุรี วัดก�ำแพง พระผู้ทรงบารมี ในสมัยหลวงพ่อเจียมน่าจะมีการสร้างหลายคร้ังด้วยกัน
ย่ิงใหญ่ ผู้ท่ีได้รับการยกย่องอย่างสูงจากคณะสงฆ์ท้ัง (เร่ิมประมาณ พ.ศ.2439 ถึงประมาณ พ.ศ.2452)
จงั หวดั ชลบรุ ี เปน็ ทเี่ ลอื่ มใสศรทั ธาของมหาชน โดยเฉพาะ ถ้านับถึงปัจจุบนั กม็ ีอายุการสร้างกวา่ 100 ปี
หนังสอื ทร่ี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 137
เฉลมิ สพะรพะเากนยี ชรลตมิ า๘ร๔ควพิถรี รษา
จดุ แลนดม์ าร์ค...สะพานใหม่
จังหวัดชลบุรี เมืองท่องเท่ียวท่ีมีการออกแบบ
จดั สรรการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ตามสตี า่ งๆ ขนานไปตามแนว
ชายหาดเพื่อแบ่งพ้ืนท่ีออกเป็นสัดส่วน ท้ังแหล่งส่งเสริม
การท่องเท่ียว แหล่งท่ีพักอาศัย แหล่งอุตสาหกรรม เพ่ือ
ความชดั เจนในการจัดระเบยี บของเมอื ง เมอื่ เมืองโตขึน้ ก็
ตอ้ งมกี ารวางระบบสาธารณปู โภคตา่ งๆ เพอ่ื รองรบั ความ
ตอ้ งการของประชาชน
การพัฒนาเมืองจะต้องมีองค์ประกอบต่างๆ
เริ่มจากงานด้านผังเมืองต่อยอดเป็นงานพัฒนาเมือง
งานอาคาร งานบริการด้านช่าง เพ่ือให้เป็นการพัฒนา
เมืองที่สมบูรณ์และย่ังยืน แต่ก็จะต้องเป็นการตกลง
ร่วมใจกันของทุกคน ทุกฝ่าย ที่จะใช้ประโยชน์จากที่ดิน
ร่วมกัน เพื่อเป็นการเน้นให้เมืองมีความปลอดภัยจาก
ธรรมชาติ มีสภาพแวดล้อมที่ดี มีระบบสาธารณูปโภค
และสาธารณปู การทีม่ ีมาตรฐาน
138 หนงั สอื ทีร่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี
ราชการของภาคน้ี ในปัจจุบันพบว่าเทศบาลเมืองชลบุรี
มีการจราจรทต่ี ิดขัดหนาแน่นเน่อื งมาจากหลายๆ สาเหตุ
อาทิ ปริมาณรถสัญจรที่สูงมากบนถนนสุขุมวิท รวมทั้ง
ในถนนสายอ่ืนๆ ที่มีทิศทางในแนวเหนือ-ใต้ ภายในเขต
เทศบาล และสภาพการจราจรทต่ี ิดขัดในย่านต่างๆ
ต่อมาคณะกรรมการพัฒนาพ้ืนท่ีชายฝั่งทะเล
ตะวันออก (กพอ.) จึงได้พิจารณาสนับสนุนโครงการ
ถนนเลยี บชายฝง่ั ทะเลจงั หวดั ชลบรุ ี โดยมอบหมายใหก้ รม
โยธาธิการเป็นผู้ด�ำเนินการตามมติคณะกรรมการพัฒนา
พื้นท่ีบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก คร้ังที่ 2 ท่ี กพอ.
2/2538 (18 เมษายน 2539) ท�ำการส�ำรวจศึกษา
ความเหมาะสมตลอดจนศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม
โครงการเพ่ือประกอบการน�ำเสนอคณะกรรมการ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติพิจารณาอนุมัติก่อนด�ำเนินโครงการ
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ไขปัญหาการจราจรในเขต
เทศบาลเมืองชลบุรี อันรวมถึงปัญหาการจราจรในเขต
ชุมชนและเทศบาลท่ีอยู่ใกล้เคียง และปัญหาการจราจร
ผา่ นเมอื งทม่ี าจากตำ� บลบางทรายทางทศิ เหนอื ตำ� บลเสมด็
และตำ� บลอา่ งศลิ าทางทศิ ใตข้ องแนวเสน้ ทางโครงการดว้ ย
การพัฒนาอุตสาหกรรมในช่วงท่ีผ่านมาส่งผลต่อ รวมทั้งแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจอันมีผลเน่ืองจากการ
ความเจรญิ ของภมู ภิ าคในพนื้ ทชี่ ายฝง่ั ทะเล ภาคตะวนั ออก จราจรท่ตี ิดขดั และปญั หาการเคลอื่ นตวั ของการจราจรใน
รวมถึงจังหวัดชลบุรีด้วยเป็นอย่างสูง แม้ว่าในเขตเมือง แนวเหนอื -ใต้ เนือ่ งจากมถี นนเช่อื มโยงท่ไี ม่เพยี งพอ และ
ชลบุรีจะไม่ใช่ศูนย์กลางของการพัฒนาอุตสาหกรรมของ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดชลบุรี อันเนื่องมา
ภาคเมอื่ เทยี บกบั บรเิ วณแหลมฉบงั และบรเิ วณมาบตาพดุ จากสภาพการจราจรทด่ี ขี น้ึ
ก็ตาม แต่ก็มีการพัฒนาและมีการเจริญเติบโตมากข้ึน สะพานเลียบชายฝั่งทะเลได้ริเร่ิมคร้ังแรกโดย
เนื่องจากต้ังอยู่บนเส้นทางของความเจริญเติบโตของ เทศบาลเมอื งชลบรุ ี และตอ่ มาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั
ภาคตะวันออกและถูกก�ำหนดให้เป็นศูนย์กลางของการ ชลบุรี และกรมโยธาธิการและผังเมือง ได้ด�ำเนินการ
ให้บริการและศูนย์กลางทางการศึกษาและการบริหาร ต่อ โดยมรี ายละเอียดดังนี้
หนังสือท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี 139
๑. เทศบาลเมอื งชลบุรี
เน่ืองด้วยเมืองชลบุรีได้มีการประกาศใช้ผังเมือง
รวมเมืองชลบุรี ซึ่งส�ำนักผังเมืองได้ท�ำการวางผังก�ำหนด
แนวก่อสร้าง ถนนเลยี บชายฝัง่ ทะเลตัง้ แต่ปลายถนนสาย
ชลบรุ ี-อา่ งศิลา ถึงปลายถนนวบิ ูลย์ธรรมรกั ษ์ เพ่ือระบาย
การจราจรในชุมชนชายทะเลมิให้แออัดในตัวเมืองและ
เป็นถนนบายพาสเส้นที่สอง ซ่ึงหากก่อสร้างถนนเลียบ
ชายฝั่งทะเลน้ีข้ึนจะเป็นประโยชน์แก่ชาวชลบุรีและ
ประชาชนท่ัวไปอย่างมาก
เทศบาลเมืองชลบุรีได้พิจารณาแล้วว่าภายในเขต
เทศบาลเมืองชลบุรีประสบปัญหาด้านการจราจรติดขัด
มากขึ้นทุกวัน โดยเฉพาะในบริเวณถนนวชิรปราการ
ถนนเจตน์จ�ำนงค์ ถนนสุขุมวิทและซอยที่แยกจากถนน
วชิรปราการและถนนพิพิธท้ัง 34 ซอยท่ีลงไปชุมชน
ชายทะเลฝั่งทิศตะวันตกของเทศบาลเน่ืองจากซอย
คับแคบ รถยนต์จากชุมชนหมู่บ้านชายทะเลเข้าออกยาก
หากไดก้ อ่ สรา้ งถนนเลยี บชายฝง่ั ทะเลขนึ้ จะชว่ ยระบายรถ
จากชมุ ชนชายทะเลไปทางถนนเลยี บชายฝง่ั ทะเล สามารถ
ลดความแออัดของรถในตัวเมืองออกไปได้และแนวถนน การป้องกันและระงับอัคคีภัยในบริเวณหมู่บ้านชายทะเล
เลียบชายฝั่งทะเลยังจะเป็นแนวป้องกันและควบคุม อีกทางหน่ึงด้วย เนื่องจากปัจจุบันรถดับเพลิงไม่สามารถ
มิให้มลภาวะบนชายฝั่งทะเลเคล่ือนตัวลงสู่ทะเล อีกทั้ง เข้าทางปากซอยถนนพิพิธและถนนวชิรปราการได้
ยังจะช่วยยับยั้งและป้องกันการรุกล�้ำแนวชายทะเลของ เน่ืองจากปากซอยคับแคบ แต่ในอนาคตจะสามารถใช้
ผู้ที่อาศัยอยู่ใกล้แนวชายฝั่งทะเล นอกจากน้ีเทศบาลจะ เส้นทางสะพานเลียบชายฝั่งทะเลท�ำให้สามารถเข้าถึงที่
ได้รับประโยชน์ในด้านการเพ่ิมขีดความสามารถในด้าน เกิดเหตไุ ด้อย่างรวดเร็วยง่ิ ขึ้น
140 หนังสอื ทีร่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี
เทศบาลเมืองชลบุรีจึงได้ท�ำการก่อสร้างสะพาน มีความยาวรวม 450 เมตร ยกระดับพ้นระดับน้�ำทะเล
ค.ส.ล. ในแนวสะพานเลียบชายฝั่งทะเลขึ้น โดยมีส�ำนัก ติดต้ังไฟฟ้าเป็นเสาเหล็กโคมหลอดโซเดียม ขนาด 250
การช่าง เทศบาลเมืองชลบุรีเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ วัตต์ ชนิดกง่ิ คู่ จ�ำนวน 25 ต้น โดยก่อสร้างสะพานเลียบ
โดยลักษณะของโครงการเป็นโครงการท่ีส่งผลการพัฒนา ชายทะเลทางด้านถนนคลองสังเขปตรงมาทางทิศใต้ถึง
เทศบาลเมืองชลบุรีให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนตาม บริเวณปลายซอยทา่ เรือพลี
แนวทางการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 9 ช่วงท่ี 2 ก่อสร้างสะพาน ค.ส.ล. ขนาดกว้าง
(พ.ศ. 2545 - 2549) ยุทธศาสตร์ด้านบริการโครงสร้าง
พ้ืนฐาน การวางผังเมือง การคมนาคม และการพักผ่อน
หยอ่ นใจ เปน็ โครงการทม่ี งุ่ เนน้ การแกไ้ ขปญั หาการจราจร
ในเขตเทศบาล ให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการ
สัญจรไปมา เป็นการพัฒนาระบบบริการสาธารณูปโภค
พ้ืนฐาน ด้านการคมนาคมในเขตเมืองเอื้อประโยชน์
สว่ นรวมและเอ้อื ต่อการพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ มรอบเมือง โดย 23.00 เมตร ยาวประมาณ 365 เมตร มีทางเท้ากว้าง
มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรในเขตเมือง ขา้ งละ 1.50 เมตร ยกระดบั พน้ ระดบั นำ้� ทะเล ตดิ ตง้ั ไฟฟา้
เป็นการลดปริมาณรถยนต์ในถนนวชิรปราการ ถนน เปน็ เสาเหลก็ โคมหลอดโซเดยี ม ขนาด 250 วตั ต์ ชนดิ กงิ่ คู่
เจต์จ�ำนง ถนนสุขุมวิท และซอยต่างๆ ออกไปด้านนอก จำ� นวน 20 ตน้ โดยกอ่ สรา้ งตอ่ เชอ่ื มจากโครงการกอ่ สรา้ ง
ตัวเมืองและเป็นการป้องกันและควบคุมมลภาวะบน ในช่วงที่ 1 ตั้งแต่บริเวณปลายซอยท่าเรือพลีมาเช่ือมกับ
ชายฝั่งทะเลที่จะเคล่ือนตัวลงสู่ทะเลป้องกันการบุกรุกท่ี ปลายถนนพาสเภตราบรเิ วณวงเวยี นปลาฉลาม รวมความ
สาธารณะบริเวณชายทะเล รวมทั้งเป็นการเพิ่มขีดความ ยาวของสะพานชว่ งที่ 1 ตงั้ แต่ ถนนคลองสังเขปถึงปลาย
สามารถในการป้องกันและระงับอัคคีภัย รถดับเพลิง ซอยทา่ เรือพลี และช่วงท่ี 2 ต้งั แต่ปลายซอยท่าเรือพลีถึง
สามารถเขา้ สกัดเพลิงไดอ้ ย่างรวดเรว็ ทนั เหตกุ ารณย์ ่งิ ข้นึ ปลายถนนพาสเภตรา มีระยะทางทั้งสิ้น 815 เมตร โดย
เปา้ หมายของโครงการ ด�ำเนินการในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2543 ถึง 2546
ก่อสรา้ งสะพานเลียบชายฝงั่ ทะเล 2 ช่วง ใช้งบประมาณ 177,880,000 บาท ทั้งน้ีเทศบาลเมือง
ช่วงท่ี 1 ก่อสร้างสะพาน ค.ส.ล. ขนาดกว้าง ชลบุรี ได้ด�ำเนินการในการก่อสร้างสะพานเลียบชายฝั่ง
17.00 เมตร ยาว 300 เมตร และขนาดกว้าง 23.00 ทะเลในช่วงต้ังแต่หลังศาลารวมใจชนถึงถนนพาสเภตรา
เมตร ยาว 150 เมตร มีทางเท้ากว้างข้างละ 1.50 เมตร ระยะทางยาว 420 เมตร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 รวมท้ัง
หนังสอื ท่รี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี 141
ถนนเลยี บชายทะเลบรเิ วณถนนคลองสงั เขป ระยะทางยาว คลองสังเขป ระยะทาง 1,400 เมตร และก่อสร้างทาง
150 เมตร ในปี พ.ศ. 2538 ซ่ึงถอื เป็นจุดเร่ิมตน้ ของการ เช่ือมสะพานดังกล่าว ยาวประมาณ 460 เมตร โดยใช้
ดำ� เนนิ การพฒั นากอ่ ใหเ้ กดิ โครงการกอ่ สรา้ งสะพานเลยี บ รูปแบบรายละเอียดของงานก่อสร้างสะพานเลียบชายฝั่ง
ชายฝั่งทะเลจงั หวัดชลบุรใี นช่วงอื่นๆ ตราบจนถึงปัจจบุ นั ทะเลจากเทศบาลเมอื งชลบรุ เี พอ่ื ประกอบในการกอ่ สรา้ ง
ซ่ึงถือเป็นจุดแลนด์มาร์คใหม่ของจังหวัดชลบุรี จะเห็นได้ โดยเทศบาลเมืองชลบุรีได้อนุญาตให้องค์การบริหารส่วน
ว่าผลจากการด�ำเนินโครงการนี้ ส่งผลให้ลดปัญหาการ จงั หวัดชลบรุ ี ใช้รูปแบบงานก่อสร้างสะพานเลยี บชายฝัง่
จราจรตดิ ขดั ภายในเขตเทศบาลเมอื งชลบรุ แี ละประชาชน ทะเลจงั หวัดชลบุรี เมือ่ วนั ท่ี 1 เมษายน 2547
ได้รับความสะดวกสบายในด้านการคมนาคมมากขึ้น จงั หวดั ชลบรุ ี โดยองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ชลบรุ ี
รวมทั้งประชาชนในท้องถิ่นและพื้นท่ีใกล้เคียง ตลอดจน ได้ขอพระราชทานช่ือสะพานเลียบชายฝั่งทะเลจังหวัด
นักท่องเท่ียวที่เดินทางมาท่องเท่ียวในจังหวัดชลบุรี มี ชลบุรี และขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญ
สถานท่ีท่องเท่ียวและพักผ่อนหย่อนใจท่ีสวยงาม ส่งผล ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ 5 ธันวาคม
ให้คุณภาพชวี ติ โดยรวมของประชาชนดขี น้ึ 2554 ประดิษฐานที่ป้ายชื่อสะพาน เพื่อเป็นกิจกรรม
2. องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี ได้ด�ำเนิน เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 9
โครงการกอ่ สรา้ งสะพานเลยี บชายฝง่ั ทะเลจากชว่ งบรเิ วณ เนอ่ื งในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา
คลองสังเขปไปถงึ แยกเทศบาลตำ� บลบางทราย ความยาว 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 และให้ประชาชนชาวจังหวัด
1,400 เมตร จังหวัดชลบุรีขอให้องค์การบริหารส่วน ชลบรุ แี ละผู้ทีใ่ ช้สะพานฯ สญั จรไป-มา น้อมรำ� ลึกในพระ
จังหวัดชลบุรีเร่งรัดด�ำเนินการโครงการก่อสร้างสะพาน มหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ซงึ่ ไดร้ บั
ค.ส.ล. เลยี บชายฝง่ั ทะเลจงั หวดั ชลบรุ ี โดยใชง้ บประมาณ พระราชทานชอื่ สะพานเลยี บชายฝง่ั ทะเลจงั หวดั ชลบรุ วี า่
ขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ชลบรุ ี โดยเรมิ่ ตน้ จากซอย “ชลมารควถิ ีเฉลมิ พระเกียรติ 84 พรรษา”
ขา้ งสถานดี ับเพลิงบางทรายไปเชอ่ื มตอ่ กับสะพานบรเิ วณ
142 หนังสือท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี
ล่าสุดจังหวัดชลบุรียังจะพัฒนาโครงการอย่างต่อ
เนื่องให้สมบูรณ์มากย่ิงขึ้น โดยจะต่อขยายทางทิศเหนือ
จากช่วงบางทรายถึงถนนสุขุมวิท บริเวณคลองต�ำหรุ 9
กิโลเมตร และต่อขยายทางทิศใต้จากถนน หน้าองค์การ
บรหิ ารสว่ นจังหวดั ชลบุรี ไปถงึ ทางหลวง 3134 เป็นถนน
เข้าอา่ งศิลา 2.50 กโิ ลเมตร
สะพานแห่งน้ีถือเป็นอีกหนึ่ง “แลนด์มาร์คของ
จังหวัดชลบุรี” ซึ่งอยู่ในตัวเมืองไม่ไกลจากชายหาด
บางแสนและเขาสามมุก เป็นสะพานเลียบชายทะเล
เริ่มจากถนนสุขุมวิทจนถึงวัดเขาบางทราย ทอดยาว
โค้งขนานไปกับท้องทะเล สามารถมองวิวของทะเลที่
๓. กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง ไดด้ ำ� เนนิ โครงการ สวยงามขนาบข้าง ในช่วงท่ีน�้ำทะเลลดลงจะมองเห็นร้ิว
ก่อสรา้ งสะพานเลียบชายฝ่งั ทะเล แบ่งเปน็ 3 ชว่ ง ไดแ้ ก่ ทรายสลับกับน�้ำทะเล และภาพของกระชังปลาอยู่กลาง
(1) เทศบาลต�ำบลบางทรายถึงซอยบางทราย ๘๓ ทะเล ต้ังเรียงรายกันอย่างสวยงามโดยเฉพาะบรรยากาศ
ความยาว ๙๘๐ เมตร ยามเยน็ ชว่ ง พระอาทติ ยต์ กดนิ ถอื เปน็ โครงการทป่ี ระสบ
(2) ศาลารวมใจชนไปถึงโรงปรับปรุงคุณภาพน้�ำ ผลส�ำเร็จในเร่ืองส่งเสริมการท่องเท่ียวและการอนุรักษ์
อำ� เภอเมอื งชลบุรี จังหวดั ชลบรุ ี ความยาว 2,170 เมตร ทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงภายหลังจากการด�ำเนินโครงการ
(3) โรงปรับปรุงคุณภาพน�้ำ อ�ำเภอเมืองชลบุรี พบว่ามีตะกอนดิน และสัตว์น้�ำเพ่ิมมากขึ้น เช่น ปูทะเล
จังหวัดชลบุรี ถึงถนนหน้าองค์การบริหารส่วนจังหวัด และหอย เข้ามาอาศัยอยูเ่ ป็นจำ� นวนมาก
ชลบุรี ความยาว 1,810 เมตร
หนังสอื ท่รี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบุรี 143
ตลาดประมงทา่ เรือพลี
จดุ นดั พบแวะพักของคนรกั อาหารทะเล
เทศบาลเมืองชลบุรี มีพื้นท่ีฝั่งตะวันตกติดกับ ท่าเรือพลีซ่ึงเดิมมีชื่อว่า “สะพานศาลเจ้า” เน่ืองจาก
ฝั่งทะเลอ่าวไทย ซ่ึงสภาพภูมิประเทศของทะเลดังกล่าว สะพานดังกล่าวมี “ศาลเจ้าฮกเก้ียนปุ้นเถ้า” ต้ังอยู่
เอ้ือต่อการประกอบอาชีพประมงของชาวบ้านที่อาศัยริม ต้นซอย และศาลเจ้าทีต้ีเปบ้อ ตั้งอยู่บริเวณปลายซอย
ชายฝั่งและเป็นอาชีพหลักของชาวเมืองชลบุรีมาแต่เก่า ซึ่งติดท่าเทียบเรือประมง ศาลเจ้าทีตี้เปบ้อเป็นศาลเจ้า
ก่อน ประกอบกับมีท่าเทียบเรือประมงหรือสะพานปลา ที่มีความศักด์ิสิทธ์ิ เป็นที่เคารพนับถือของชาวเมืองชล
144 หนังสอื ทร่ี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี
เป็นสถานท่ีรับเจ้า ส่งเจ้า และท�ำพิธีลอยกระทงใน ท่ีอยู่อาศัย ปัจจุบันสะพานดังกล่าวได้ถูกถมและถูกสร้าง
เทศกาลกินเจของ ทกุ ๆ ปี จึงเป็นทม่ี าของค�ำวา่ “สะพาน เป็นถนน แต่คนพื้นถ่ินเรียกขานว่าซอย เทศบาลเมือง
ศาลเจา้ ”ปจั จบุ นั ชาวบา้ นมกั จะเรยี กตดิ ปากวา่ “สะพานเจา้ ” ชลบุรี โดยนายจ�ำนงค์ จันทถิระ เป็นนายกเทศมนตรี
เดมิ ทเี ดยี ว “สะพานศาลเจา้ ” เปน็ ทา่ เทยี บเรอื ทส่ี ำ� คญั ของ (พ.ศ.2483 - 2487) ได้ต้ังช่ือสะพานต่าง ๆ ให้มีความ
เมืองชลบุรี มีท่าเรือสินค้า เรือส�ำเภา เรือประมงมาจอด สอดคลอ้ งถงึ 34 ซอย สะพานศาลเจา้ จงึ เปลย่ี นชอ่ื มาเปน็
เทยี บทา่ เรอื ขนถา่ ยและจำ� หนา่ ยสนิ คา้ อาหารและอน่ื ๆ แต่ สะพานทา่ เรอื พลี หรอื ซอยทา่ เรอื พลใี นปจั จบุ นั นอกจาก
ปัจจุบันได้เปล่ียนมาเป็นท่าเทียบเรือประมง ท�ำการขนส่ง นี้ปลายซอยสะพานศาลเจ้ายังเป็นที่ตั้งของโรงน้�ำปลา
ซอ้ื ขายอาหารทะเล และเปน็ ทางสญั จรของประชาชน แต่ ทั่งซังฮะหรือน�้ำปลาทิพรส ซ่ึงเป็นโรงงานแห่งแรกและ
ก่อนนัน้ ซอยตา่ ง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองชลบรุ ี มีสภาพเป็น เก่าแก่แห่งหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันยังท�ำการหมัก
สะพานไม้ สรา้ งตอ่ เปน็ ทางเดนิ รมิ สองฝง่ั สะพานปลกู เปน็ และผลิตนำ้� ปลาอยู่
หนงั สือทีร่ ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี 145
ความสมบูรณ์อยู่ ควรจะมีการพัฒนาให้เป็นแหล่ง
ท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ และผลักดันให้เกิดแหล่งท่องเที่ยว
ใหม่ในจังหวัด เพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเท่ียวทาง
ประวัติศาสตร์ท่ีส�ำคัญแห่งหน่ึงของจังหวัดชลบุรี และ
เปน็ การสง่ เสรมิ การคา้ ขาย การประมงและเศรษฐกจิ ของ
ชุมชน จึงได้จัดต้ังตลาดประมงท่าเรือพลีขึ้น โดยการมี
ส่วนร่วมของชุมชนโดยรอบและมีพิธีเปิดตลาดต้ังแต่วัน
เสาร์ท่ี 24 กรกฎาคม 2553
ในชว่ งแรก ๆ ยังไมไ่ ด้รับความสนใจหรอื เป็นที่รูจ้ กั
ของประชาชนโดยทวั่ ไปหรอื นกั ทอ่ งเทยี่ วมากนกั เนอื่ งจาก
สอื่ ประชาสมั พันธ์ยงั มีข้อจ�ำกดั หลาย ๆ ด้าน ยงั ไม่พฒั นา
ดงั เชน่ ปจั จบุ นั นจี้ นกระทงั่ รายการตลาดสดสนามเปา้ จาก
ททบ.5 มาถา่ ยทำ� รายการและออกอากาศ จงึ ท�ำใหต้ ลาด
แมว้ า่ ในปจั จบุ นั การทำ� ประมงสว่ นใหญจ่ ะใชเ้ ครอ่ื งไม้
เครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีท่ีทันสมัยแต่การท�ำ
ประมงของชุมชนชาวเลของเมืองชลบุรี ยังท�ำการประมง
เชิงอนุรักษ์ ใช้เรือขนาดเล็กและอุปกรณ์แบบภูมิปัญญา
ทอ้ งถน่ิ จบั กงุ้ หอย ปู ปลา และมกี ลมุ่ ผเู้ ลย้ี งหอยในทะเล
น้�ำตื้น เช่น หอยแมลงภู่ หอยนางรม หอยแครง ซึ่งได้
จ�ำหน่ายในตลาดสดเมืองชลบุรี พ้ืนท่ีข้างเคียงและ
ตา่ งจงั หวดั จนเปน็ สนิ คา้ และเอกลกั ษณข์ องชาวชลบรุ มี า
อย่างช้านาน ในช่วงปี พ.ศ. 2550-2553 ประสบปัญหา
ภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำ ประกอบกับเกิดภาวะเส่ือมโทรม
ของพื้นที่ซ่ึงมีความเสื่อมสภาพไปตามกาลเวลาและการ
เปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจยุคใหม่ ท�ำให้ตลาดประมง
พน้ื บา้ น ตลาดอาหารทะเลประเภทตา่ ง ๆ ทมี่ คี วามรงุ่ เรอื ง
ในอดีตกาลเป็นตลาดร้าง ไร้ผู้คนและนักท่องเท่ียวเข้ามา
ซื้ออาหารทะเลเหมือนแต่กอ่ น
จังหวัดชลบุรีและเทศบาลเมืองชลบุรีได้เห็นความ
ส�ำคัญและจุดเด่นท่ีน่าสนใจของตลาดประมงชายทะเล
เมืองชลบุรีท่ียังคงมีท่าเทียบเรือประมง วิถีชีวิตของ
ชาวประมงและอาคารบ้านเรือนแบบโบราณท่ียังคง
146 หนังสอื ท่รี ะลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี
เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในหมู่ของนักท่องเท่ียว นักชิม ผลิตภัณฑ์ OTOP สินค้าอุปโภคบริโภค และอื่น ๆ มา
นกั ช้อป จากทว่ั ภูมภิ าคจนถึงปัจจุบนั นี้ จำ� หนา่ ยในตลาดได้
ตลาดประมงท่าเรือพลีเปิดด�ำเนินการให้มีการ ในการบริหารจัดการดูแลตลาดประมงท่าเรือพลี
ค้าขายเฉพาะวันเสาร์ พ่อค้า แม่ค้าจะตั้งร้านจ�ำหน่าย แรกเริ่มต้ังแต่จัดต้ังคณะผู้บริหารเทศบาลและเจ้าหน้าท่ี
สนิ คา้ สองฝง่ั รมิ สะพาน โดยจดั พน้ื ทต่ี รงกลางไวส้ ำ� หรบั ตง้ั เทศบาลโดยเฉพาะกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จะ
โต๊ะและเก้าอี้ส�ำหรับนั่งรับประทานอาหารในบรรยากาศ เป็นผคู้ วบคุม ก�ำกับ ดแู ล ท้ังดา้ นการตลาดตลอดจนการ
ริมทะเล สินค้าหลกั ๆ จะเป็นอาหารทะเล ซ่งึ วตั ถดุ บิ สว่ น ควบคุมมาตรฐานและการสุขาภบิ าลอาหาร จนในปี พ.ศ.
ใหญ่ได้มาจากการท�ำประมงของชาวเลในพ้ืนท่ี ซึ่งแบ่ง 2557 ทางเทศบาลเมืองชลบุรีได้เล็งเห็นว่าการบริหาร
เป็นกลุ่มอาหารประเภทต่าง ๆ ได้ดงั นี้ จัดการตลาดควรจะให้ผู้ประกอบการได้มีส่วนร่วม จึงได้
1. อาหารทะเลสด เชน่ กุง้ หอย ปู ปลา หมึก ฯลฯ ประชุมคัดเลือกตัวแทนของพ่อค้าแม่ค้าที่จ�ำหน่ายสินค้า
2. อาหารทะเลแห้ง เช่น ปลาแห้ง ปลาเค็ม ปลา อาหารทะเล ในตลาดเป็นคณะกรรมการตลาด โดยจดั ตง้ั
แดดเดียว ก้งุ แห้ง หมกึ แห้ง ฯลฯ เป็นชมรมผู้ประกอบการตลาดประมงท่าเรือพลีเพ่ือท�ำ
3. อาหารทะเลปรุงสุก เช่น ปลาทอด ปูต้ม แกงสม้ หนา้ ทด่ี แู ลรบั ผดิ ชอบชว่ ยกนั พฒั นาสนิ คา้ การตลาดเพอื่ ให้
ย�ำชนิดตา่ ง ๆ หมกึ ยา่ ง หอ่ หมก หอยตม้ กุ้งเผา ทอดมนั เกดิ ความหลากหลาย ระดมความคดิ เหน็ จากทกุ ฝา่ ย ทจ่ี ะ
กุ้ง ฯลฯ ทำ� ใหต้ ลาดไดร้ บั ความนยิ มและจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ได้ มากขนึ้
4. อาหารประจำ� ถน่ิ เมอื งชลบรุ ี เชน่ กา้ มปใู บ้ ผดั ไท ในส่วนการควบคุมคุณภาพอาหารนั้น กอง
ปู หอยทอด ข้าวผดั ปู ส้มต�ำทะเล หอยจ๊อ หมี่กรอบสูตร สาธารณสขุ และส่ิงแวดล้อมได้จดั ใหม้ ีการเฝา้ ระวงั ตรวจ
โบราณ แจงลอน นำ้� พริกไข่ปู ผักปลาคก ฯลฯ ตดิ ตาม โดยเกบ็ ตวั อยา่ งอาหารเพอื่ ตรวจหาแบคทเี รยี และ
5. ขนมพ้ืนบ้าน อาหารพื้นเมือง เช่น ขนมเรไร ส่ิงปนเปื้อนต่าง ๆ ตามมาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร
ขา้ วเหนยี วมะมว่ งและหนา้ ตา่ ง ๆ ขา้ วหลาม ขนมหมอ้ แกง
ผลไม้ตามฤดูกาล ผลผลติ ของเกษตรกรชลบรุ ฯี ลฯ
เนอื่ งจากตลาดประมงมีพืน้ ทีค่ อ่ นขา้ งจำ� กดั สนิ ค้า
ก็จะเน้นอาหารสด อาหารแห้ง อาหารปรุงสุกดังที่ได้
กล่าวมาแล้ว จึงไม่สามารถจัดสินค้าประเภทอ่ืนๆ เช่น
หนังสอื ท่ีระลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบุรี 147
ของส�ำนักสุขาภิบาลอาหารและน้�ำ กรมอนามัย อยู่เป็น
ประจำ� ปีละ 4 คร้งั มีการมอบปา้ ย Clean Food Good
Taste (CFGT) ใหก้ บั รา้ นทไ่ี ดม้ าตรฐาน สะอาดและรสชาติ
อรอ่ ย ทง้ั นเี้ พอ่ื เปน็ การรบั รองวา่ ผบู้ รโิ ภคหรอื นกั ทอ่ งเทย่ี ว
ท่ีมาทานอาหารท่ีตลาดประมง หรือซ้ือไปรับประทานที่
บา้ นหรือเปน็ ของฝากสำ� หรบั ครอบครัว เพ่ือนฝูง ฯ ไดร้ บั
ประทานอาหารทปี่ ลอดภยั และมคี ุณภาพอยา่ งแน่นอน
ตลาดประมงท่าเรือพลีเป็นตลาดท่ีมีนักชิม
นกั ชอ้ ป หลงใหลในรสชาตอิ าหารทะเล ยง่ิ นานวนั ยงิ่ มผี คู้ น
มาทอ่ งเท่ยี วมากยิ่งขน้ึ จึงทำ� ใหต้ ลาดไดร้ ับการสนบั สนุน
การบริหารจัดการและส่งเสริมการประชาสัมพันธ์และ
สนบั สนนุ ใหเ้ ปน็ ตลาดตน้ แบบจากหลาย ๆ หนว่ ยงาน รว่ ม ถือเป็นแลนด์มาร์คแห่งใหม่ของชลบุรี เป็นแหล่งพักผ่อน
จดั กจิ กรรมและชว่ ยสง่ เสรมิ การตลาด อาทเิ ชน่ สำ� นกั งาน และแหล่งท่องเที่ยวของผู้คนท้ังในจังหวัดชลบุรีและ
ท่องเท่ียวและกีฬา จังหวัดชลบุรี, กรมการค้าภายใน ตา่ งจังหวัด ไดม้ าจอดรถเพ่อื ชมบรรยากาศและธรรมชาติ
กระทรวงพาณชิ ย์ และบรษิ ทั ไปรษณยี ไ์ ทย จำ� กดั เปน็ ตน้ ของนำ�้ ทะเล ตลอดจนชมวถิ ชี วี ติ ดง้ั เดมิ ของอาชพี ประมง
ปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลให้ตลาดประมงท่าเรือพลีได้มี เชน่ การเลย้ี งหอยแมลงภู่ หอยนางรม เปน็ ตน้ การพกั ผอ่ น
การพัฒนาและมีอัตราเติบโตอย่างมั่นคงและเป็นที่รู้จัก หย่อนใจ การนั่งล้อมวงรับประทานอาหารในบรรยากาศ
อย่างกว้างขวางจวบจนทุกวันนี้ มีหลายปัจจัยโดยเฉพาะ ยามเย็น ยิ่งท�ำให้ตลาดประมงท่าเรือพลีมีความโดดเด่น
การท่ีเทศบาลเมืองชลบุรีได้ด�ำเนินการก่อสร้างสะพาน ไดร้ บั ความสนใจจากผคู้ นทเี่ ดนิ ทางมาทอ่ งเทย่ี วในจงั หวดั
เลียบชายฝั่งทะเลระยะแรกความยาว 815 เมตร เพื่อ ชลบุรีเป็นจ�ำนวนมาก อีกทั้งบริเวณด้านข้างของตลาด
แก้ไขปัญหาการจราจรในตัวเมืองและเป็นการอ�ำนวย ประมงเปน็ ทา่ เทยี บเรอื หาปลาถอื เปน็ ทศั นยี ภาพทงี่ ดงาม
ความสะดวกด้านการคมนาคมให้กับประชาชน ในพ้ืนท่ี ยง่ิ นกั หากนกั ทอ่ งเทย่ี วไดม้ านง่ั รบั ประทานอาหาร พรอ้ ม
ซง่ึ ในปจั จบุ นั จงั หวดั ชลบรุ ี ไดก้ อ่ สรา้ งสะพานเลยี บชายฝง่ั ชมทวิ ทศั น์ โดยเฉพาะยามพระอาทติ ยอ์ สั ดง ซง่ึ มใี หช้ มกนั
ทะเลระยะที่ 2,3,4 ต่อเนื่องกับสะพานเดิม มีความยาว 2 บรรยากาศ คือ พระอาทิตย์เล่ือนลาลับในท้องทะเล
รวมทั้งส้ิน 7 กิโลเมตร ซ่ึงส่งผลให้การเดินทาง การ (ยามน้�ำขึ้น) หรือพระอาทิตย์ตกในทะเลโคลนสุดลูกหู
คมนาคม มายังตลาดประมงท่าเรือพลี มีความสะดวก ลกู ตา (ยามนำ้� ลง) ซง่ึ สามารถมาเทย่ี วชมบรรยากาศเชน่ นี้
สบายมากย่ิงข้ึน ประกอบกับสะพานเลียบชายทะเลน้ี ได้ท่ีตลาดประมงทา่ เรอื พลแี ห่งน้ี
148 หนงั สอื ทร่ี ะลกึ ๘๔ ปี เทศบาลเมืองชลบรุ ี
เดินเล้ยี ว เทีย่ วตลาด
ไมพ่ ลาดของอร่อย/แหล่งซือ้ ของฝาก
รา้ นอาหารยา่ นท่าเกวียน
ตงั้ อยูถ่ นนอคั นิวาต ต�ำบลบางปลาสร้อย เป็นย่าน
ร้านอาหารเก่าแก่ใจกลางเมืองชลบุรี สมัยโบราณไม่มี
รถยนต์ส�ำหรับการเดินทางและขนส่ง คนจากต่างอ�ำเภอ
ทั้งหลายเม่ือขนพืชผลเกษตรมาค้าขายในเมืองใช้เกวียน
เทียมควายกันเป็นปกติ นัดกันใช้บริเวณน้ีเป็นท่าขนถ่าย
สนิ คา้ จงึ เรยี ก กนั วา่ “ทา่ เกวยี น” เนอื่ งจากระยะหา่ งจาก
ต่างอ�ำเภอสมัยท่ีการคมนาคมยังไม่สะดวก ต้องผ่านป่า
ผ่านดงไปกลับวันเดียวไม่ทัน ชาวไร่ชาวนาที่ขนส่งสินค้า
จึงต้องมากินอยู่พักแรมท่ีท่า เกิดเป็น “ย่านท่าเกวียน”
จงึ มรี า้ นอาหารเกา่ แกข่ องเมอื งชลบรุ ตี ง้ั แตน่ น้ั มา แมว้ า่ จะ
เปลย่ี นแปลงตามกาลเวลาผา่ นมามากกวา่ รอ้ ยปี บรเิ วณน้ี
ยงั หลงเหลือเค้าโครงมาจนทุกวนั นี้ อาหารย่านทา่ เกวียน
ที่ต้องแวะชิม คือ เป็ดพะโล้ ปลาคก แกงจืดเต้าหู้อ่อน
หมสู บั โบราณ เปิดขายเวลาประมาณ 07.00 – 19.00 น.
หนงั สอื ท่ีระลึก ๘๔ ปี เทศบาลเมอื งชลบรุ ี 149