The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bowkylady, 2022-06-15 23:22:09

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ปีการศึกษา 2561-2565

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ) โรงเรียนบานชองแคบ
(Strategic Planning For Banchongkhaep School)
ปก ารศึกษา 2561 - 2565

โรงเรียนบา นชอ งแคบ อำเภอพบพระ จังหวดั ตาก
สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ) โรงเรียนบานชองแคบ
(Strategic Planning For Banchongkhaep School)
ปก ารศึกษา 2561 - 2565

โรงเรียนบา นชอ งแคบ อำเภอพบพระ จังหวดั ตาก
สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คำเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
โรงเรยี นบา นชองแคบ

คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานโรงเรยี นบานชอ งแคบมีมตเิ หน็ ชอบแผนพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ) พุทธศักราช 2561 -2565 ของโรงเรยี นบา นชองแคบ ซึ่งเกดิ จากความรว มมอื ของ
คณะครู และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐานโรงเรยี นบา นชอ งแคบ และเหน็ วา เปนประโยชนแ กนักเรยี น
และโรงเรียนเปน อยา งมาก คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบา นชองแคบ จงึ ขอขอบคณุ
คณะทำงานแผนกลยุทธ พุทธศกั ราช 2561 -2565 ของโรงเรียนบานชอ งแคบทุกทา น

(นายสมจิต ดวงจนั ทร)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐานโรงเรียนบานชองแคบ

สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2

คำนำ

การจัดการศึกษาเปนกระบวนการที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีคุณลักษณะตามท่ี
สงั คมและประเทศชาติมุง หวัง ซึ่งการจะพัฒนาไปสเู ปาหมายดังกลาวได จำเปนจะตองมียุทธวิธีท่ีเหมาะสมกับ
สภาพแวดลอมของสังคมที่เปลี่ยนแปลงและสอดคลองกับความพรอมขององคกร ดังนั้น ในการจัดการศึกษา
ของโรงเรียนจึงจำเปนตองกำหนดยุทธศาสตรและวางแผนการดำเนินการอยางเหมาะสม เพื่อเปนกรอบ
แนวทางในการจดั ทาแผนพัฒนาการศกึ ษา ประจำปข องสถานศกึ ษา

ดวยเหตุนี้ โรงเรียนบานชองแคบจงึ ไดจ ัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ) ปการศึกษา
2561-2565 เพื่อใหบุคลากรทุกระดับใชเปนแนวทางในการพัฒนาการศึกษา ใหมุงสูมาตรฐานคุณภาพและ
นำไปสูการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้เพื่อบรรลุเปาหมายของการจัดการศึกษาของโรงเรียนอยางมี
ประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล

โรงเรียนขอขอบพระคุณทุกทานที่มีสวนรวมในการพัฒนาโรงเรียนบานชองแคบ ใหบรรลุตาม
วิสยั ทัศน พนั ธกจิ เปาประสงค ของโรงเรียน และหวังวา เอกสารฉบับนี้จะเปนประโยชนใ นการพัฒนาการศึกษา
ของโรงเรียน บุคลากรทุกทานในโรงเรียนจะรวมมือกันปฏิบัติหนาท่ี เพื่อใหแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาฉบบั
น้ี สามารถนำไปสูการปฏิบัติและพัฒนานักเรียน และโรงเรียนบานชองแคบใหกาวหนาและเปนไปตามที่ได
กำหนดไว เอกสารที่มคี ุณคาตอการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น

หวังเปนอยางย่ิงวาทุกคนในองคกรจะรว มมือปฏิบัติตามสิ่งทีก่ ำหนดในแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
ฉบับนี้จนสำเร็จ

( นายสุวทิ ย นกเที่ยง )
ผูอ ำนวยการโรงเรียนบานชองแคบ

สารบญั หนา

คำนำ 1
คำเห็นชอบของคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 1
บทท่ี 1 สภาพท่ัวไป ปญ หา และความตอ งการของสถานศึกษา 2
3
1. ประวตั ิ ทต่ี งั้ / สภาพพน้ื ที่เขตบรกิ ารและการกำหนดยทุ ธศาสตรต ามนโยบาย 4
2. ปรัชญา สีประจำโรงเรยี น
3. โครงสรางการบรหิ ารจดั การศึกษา/แผนภูมิโครงสราง 18
4. ผลการดำเนนิ งาน สภาพปญหาความตองการจำเปน 18
18
บทที่ 2 ทศิ ทางการบริหารจัดการศกึ ษา 18
1. วสิ ยั ทศั น
2. พนั ธกจิ 44
3. กลยุทธ 44
44
บทที่ 3 ภูมิปญ ญาทองถิน่ วทิ ยากรภายนอก และแหลง การเรยี นรู 45
1. ความหมายภูมปิ ญญาทองถ่นิ แลวิทยากรภายนอก 45
2. ภมู ปิ ญญาทอ งถนิ่ วิทยากรภายนอกที่อยูในเขตบริการ 46
3. ภมู ปิ ญญาทอ งถิ่น วทิ ยากรภายนอกท่ีอยนู อกเขตบริการ
4. แหลง การเรียนรใู นเขตบริการ 47
5. แหลง การเรียนรนู อกเขตบริการ 47
59
บทท่ี 4 บทบาทของผมู ีหนา ท่จี ัดการศึกษาและผูมีสว นเก่ยี วของ
1. บทบาทของผบู ริหาร ของครูและของนักเรียนตอการพัฒนาการศกึ ษา 63
2. บทบาทของบิดามารดา ผปู กครองและองคก รชมุ ชน
66
บทท่ี 5 การใชง บประมาณและทรัพยากร
69
บทท่ี 6 แนวทางการตดิ ตาม วัดและประเมนิ ผล

ภาคผนวก
ผลการประเมินภายนอกของสมศ และขอเสนอแนะของสมศ.
คำสง่ั แตงต้งั คณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

บทท่ี 1
สภาพทวั่ ไปปญ หาและความตอ งการของสถานศกึ ษา

1. ประวัติ ทีต่ ั้ง/สภาพพืน้ ท่ีเขตบริการ และการกำหนดยุทธศาสตรตามนโยบาย

โรงเรียนบา นชองแคบ ทีต่ ้ังเลขที่ 203 หมู 1 ตำบลชองแคบ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก 63160
โทรศพั ท 095-6600197 สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2 สำนกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มีเนื้อทจ่ี ำนวน 6 ไร 2 งาน 74 ตารางวา

ประวัติโรงเรยี นโดยยอ
โรงเรยี นบา นชอ งแคบ เริ่มกอต้ังเมื่อวนั ที่ 23 ตลุ าคม 2476 ต้ังอยทู ี่ หมู 1 บา นชองแคบ
ตำบลชอ งแคบ อำเภอแมส อด จงั หวดั ตาก จนถึง พ.ศ.2528 กระทรวงมหาดไทยไดยกฐานะตำบลพบพระ
เปนกิ่งอำเภอ และอำเภอตามลำดับ โรงเรยี นจึงไดข ้ึนอยูกับอำเภอพบพระจนถึงปจจบุ ัน
ปจ จุบนั โรงเรียนบานชอ งแคบเปดทำการสอน 3 ระดบั คือ ระดับกอ นประถม ระดบั ประถมศกึ ษา
และระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน (เปด ขยายโอกาสปการศึกษา 2542) เขตบริการของโรงเรียนมี 4 หมูบาน
คอื หมูที่ 1 บา นชองแคบ , หมู 10 บา นหว ยแลง , หมทู ี่ 11 บานเงาไผ และ หมทู ี่ 3 บา นขุนหวยชองแคบ
(รับเฉพาะนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตอน) ระยะทางจากโรงเรียนถึงทีว่ า การอำเภอพบพระ 15 กโิ ลเมตร ถึง
สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2 45 กิโลเมตร ถึงศาลากลางจงั หวดั ตาก 144 กิโลเมตร

2. ปรัชญา/สุภาษติ คำขวญั และสีประจำโรงเรียน

ปรชั ญาโรงเรียน ขนั ติ หติ ะ สุขาวหา
แปลวา ความอดทนนำประโยชนสขุ มาให

คำขวญั โรงเรียน เรยี นดี มีคุณธรรม นำวินยั ใสใจสงิ่ แวดลอม

สีประจำโรงเรยี น น้ำเงนิ -ขาว สนี ้ำเงิน หมายถงึ ความมั่นคง สขุ มุ รอบคอบ
สีขาว หมายถึง ความนาเชื่อถือ ซ่อื สตั ย สขุ สงบ

อัตลกั ษณโ รงเรยี น แตงกายดี มีมารยาทงาม

เอกลักษณโรงเรยี น “บวร” รว มใจ

บวร รว มใจ หมายถงึ การรวมตัวของบาน วดั และโรงเรยี น
เพ่อื ความเจรญิ งอกงาม (ความรู) บงบอกถึงวฒั นธรรม (คุณธรรม)
อันจะเกดิ จากความดงี ามของคนทกุ คนท่ีจะรวมกนั พัฒนา

3. โครงสรา งการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
แผนภูมิการบรหิ ารจัดการศึกษาโรงเรียนบา นชอ งแคบ

ผอู ำนวยการสถานศกึ ษา

กรรมการทปี่ รึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา

แผนงานวิชาการ แผนงานงบประมาณ แผนบคุ ลากร แผนงานบริหารทว่ั ไป

1. การพัฒนาหรือการดำเนนิ การ 1. การจัดทำแผนงบประมาณและคำขอ 1. การวางแผนอัตรากำลงั 1, การพัฒนาระบบเครือขา ยขอ มลู
เกีย่ วกบั การใหค วามเหน็ การ ตัง้ งบประมาณ เพ่อื เสนอตอเลขาธกิ าร 2. การจัดสรรอตั รากำลังขา ราชการ สารสนเทศ
พฒั นาสาระหลกั สตู รทอ งถ่นิ สำนกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขั้น ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 2. การประสานงานและพัฒนา
พื้นฐาน 3. การสรรหาและบรรจุแตงต้ัง เครอื ขายสถานศกึ ษา
2. การวางแผนงานดา นวิชาการ 2. การจัดทำแผนการใชจา ยเงิน ตามที่ 4. การเปล่ยี นตำแหนงใหสงู ข้ึน การ 3. การวางแผนการบรหิ ารงาน
3. การจดั การเรียนการสอนใน ไดรับจัดสรรงบประมาณจากสำนกั งาน ยา ยขาราชการครุและบุคลากร การศึกษา
คณะกรรมการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานโดยตรง ทางการศกึ ษา 4. งานวิจยั เพอ่ื การพัฒนานโยบาย
สถานศึกษา 3. การอนมุ ัตกิ ารจายงบประมาณที่ 5. การดำเนินการเก่ยี วกับการเลอ่ื น และแผน
4. การพฒั นาหลกั สูตรของ ไดร บั จดั สรร ขนั้ เงินเดือน 5. การจัดระบบการบรหิ ารและพัฒนา
4. การขอโอนและการขอเปล่ียนแปลง 6. การลาทกุ ประเภท องคกร
สถานศกึ ษา งบประมาณ 7. การประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน 6. การพฒั นามาตรฐานการปฏิบัตงิ าน
5. การพัฒนากระบวนการเรียนรู 5. การรายงานผลการเบิกจาย 8. การดำเนนิ การทางวินยั และการ 7. งานเทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษา
6. การวัดผล ประเมนิ ผล และ งบประมาณ ลงโทษ 8. การดำเนินงานธรุ การ
6. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงาน 9. การส่ังพักราชการและการส่งั ให 9. การดูแลอาคารสถานที่และ
ดำเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน การใชง บประมาณ ออกจากราชการไวก อ น สิ่งแวดลอ ม
7. การวจิ ยั เพือ่ พัฒนาคุณภาพ 7. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงาน 10. การรายงานการดำเนินการทาง 10. การจดั ทำสำมะโนประชากร
การใชผลผลติ จากงบประมาณ วินยั และการลงโทษ 11. การรับนกั เรียน
การศกึ ษาในสถานศึกษา 8. การระดมทรพั ยากรและการลงทุน 11. การอทุ ธรณและการรอ งทกุ ข 12. การเสนอความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั
8. การพฒั นาและสงเสรมิ ใหมแี หลง เพือ่ การศกึ ษา 12. การออกจากราชการ การจดั ตั้ง ยุบ รวมหรอื เลกิ สถานศึกษา
9. การปฏบิ ัตงิ านอ่ืนใดตามทีไ่ ดรบั 13. การจดั ระบบและการจดั ทำ 13. การประสานงานจัดการศึกษาใน
เรียนรู มอบหมายเก่ยี วกับกองทนุ เพ่ือการศึกษา ทะเบยี นประวัติ ระบบ นอกระบบและตามอธั ยาศัย
9. การนิเทศการศกึ ษา 10. การการบรหิ ารจัดการทรัพยากร 14. การจดั ทำบญั ชรี ายชอ่ื และการ 14. การระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา
10. การแนะแนว เพอื่ การศกึ ษา ใหค วามเหน็ เกย่ี วกับการเสนอขอ 15. การทัศนศึกษา
11. การพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพ พระราชทานเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ

ภายในสถานศกึ ษามาตรฐาน
การศึกษา
12. การสง เสรมิ ชมุ ชนใหม ีความ
เขมแข็งทางวชิ าการ
13. การประสานความรวมมือในการ
พฒั นาวิชาการกบั สถานศึกษาและ
องคก รอื่น

โครงสรางการบริหารจัดการศกึ ษา(ตอ)

แผนงานวชิ าการ แผนงานงบประมาณ แผนบคุ ลากร แผนงานบรหิ ารทัว่ ไป

14. การสงเสริมและสนบั สนุนงาน 11. การวางแผนพัสดุ 15. การสงเสริมการประเมินวทิ ย 16. งานกิจการนกั เรียน
วชิ าการแกบคุ คล ครอบครวั องคก ร 12. การกำหนดรูปแบบรายการ หรอื ฐานะขาราชการครูและบุคลากร 17. การประชาสัมพนั ธง านการศกึ ษา
หนวยงาน สถานศกึ ษาและสถาน คณุ ลักษณะเฉพาะของครุภณั ฑหรือ ทางการศึกษา 18. การสงเสรมิ สนับสนนุ และ
ประกอบการอนื่ ท่ีจัดการศกึ ษา สิ่งกอ สรางท่ีใชงบประมาณเพอ่ื เสนอตอ 16. การสง เสริมและยกยองเชดิ ชู ประสานงานการจัดการศกึ ษาของ
15. การจัดทำระเบยี บและแนวปฏิบตั ิ เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้น เกยี รติ บคุ คล องคกร หนว ยงานและสถาบนั
เกี่ยวกบั งานดา นวชิ าการของ พน้ื ฐาน 17. การสงเสริมมาตรฐานวิชาชีพ สังคมอน่ื ท่จี ัดการศึกษา
สถานศึกษา 13. การพฒั นาระบบขอ มลู สารสนเทศ และจรรยาบรรณวชิ าชีพ 19. งานประสานราชการสว นภูมภิ าค
16. การคัดเลอื กหนังสือ แบบเรียน เพือ่ การจัดทำและจัดหาพสั ดุ 18. การสง เสรมิ วินัย คณุ ธรรม และสว นทอ งถิ่น
เพื่อใชใ นสถานศึกษา 14. การจัดหาพัสดุ จรยิ ธรรมสำหรบั ขา ราชการครูและ 20. การรายงานผลการปฏิบตั งิ าน
17. การพัฒนาสอื่ และใชสือ่ 15. การควบคุมดแู ล บำรงุ รักษาและ บคุ ลากรทางการศกึ ษา 21. การจดั ระบบการควบคมุ ภายใน
เทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา จำหนายพสั ดุ 19. การริเรม่ิ สงเสริมการขอรบั หนวยงาน
16. การจดั หาผลประโยชนจ าก ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ครูและ 22. แนวทางการจัดกจิ กรรมเพ่ือ
ทรพั ยส ิน บุคลากรทางการศึกษา ปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมในการลงโทษ
17. การเบิกเงินจากคลัง 20. การพัฒนาขา ราชการครแู ละ นกั เรยี น
18. การรบั เงิน การเกบ็ รกั ษาเงิน และ บุคลากรทางการศกึ ษา
การจา ยเงิน
19. การนำเงินสงคลัง
20. การจัดทำบัญชีการเงิน
21. การจดั ทำรายงานทางการเงนิ และ
งบการเงิน
22. การจัดทำหรือจดั หาแบบพมิ พบ ัญชี
ทะเบียนและรายงาน

4. ผลการดำเนินการ สภาพปญหาและความตองการจำเปน

4.1 ผลการดำเนนิ การทผี่ านมา

4.1.1 ผลงาน รางวัลทช่ี นะการแขงขันประกวดและไดร ับการยกยองของโรงเรยี น ผูบรหิ ารโรงเรยี น

คณะครแู ละนักเรยี นในระดับตา งๆที่สำคัญดังน้ี

ปการศกึ ษา 2561

ประเภท ระดบั รางวลั /ช่ือรางวัลทีไ่ ดร ับ หนว ยงานทีม่ อบรางวลั

โรงเรียน การทดสอบระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2561

ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 6

1. วิชาภาษาไทย มีคะแนนเฉล่ยี สงู กวาระดับเขตพน้ื ที่ สพป.ตาก เขต 2

2. วิชาภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลย่ี สูงกวาระดับเขตพ้นื ท่ี

ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 3

3. วิชาคณติ ศาสตร มีคะแนนเฉลี่ยสูงกวา ระดบั เขตพื้นที่

4. วิชาวทิ ยาศาสตร มีคะแนนเฉลย่ี สงู กวาระดบั เขตพ้ืนที่

5. วชิ าภาษาองั กฤษ มีคะแนนเฉลย่ี สงู กวาระดับเขตพ้ืนที่

ผูบริหาร(ระบุชื่อ) ผูบรหิ ารยอดเยยี่ ม : นายสุวิทย นกเทยี่ ง ชมรมผบู ริหารและบคุ ลากร

ทางการศึกษา อ.พบพระ

คณะคร(ู ระบชุ ่ือ) ครดู ศี รีพบพระ : นางสาวรศั มี หลามี สมาคมผบู รหิ ารฯพบพระ

ครผู สู อนยอดเย่ยี ม : นายสธุ ี เทพกนั สพป.ตาก เขต 2

ธรุ การยอดเยย่ี ม : นางสาววารณุ ี มาสขุ สพป.ตาก เขต 2

นกั เรียน(ระบชุ ่ือ) ครูผูสอนนักเรียนเขา รว มการแขงขันงานศิลปหตั ถกรรม สำนกั งานคณะกรรมการ
ครั้งท่ี 68 ระดับชาติ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
รางวัลเหรยี ญเงนิ การแสดงตลก ระดับชน้ั ป.1- ม.3 กระทรวงศึกษาธิการ

นางสาวชนกวรรณ บญุ เรือง สำนกั งานคณะกรรมการ
นายธนาวฒั น โปบู การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
งานศลิ ปหัตถกรรม ครง้ั ที่ 68 ระดับชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ
รางวัลเหรียญเงนิ การแสดงตลก ระดับชน้ั ป.1- ม.3
นายสรณยั ใจเรยี น
เดก็ ชายณฐั วิ ฒุ ิ วังวงษ
นายอนสุ รณ ยส่ี ุน ศรี
นางสาวบษุ บงศ ศรดี าราธรรม
นางสาวจารุวรรณ สจี นั ทรเพญ็
เด็กชายธนากร สวี ิใจ

4.1.2 ผลการทดสอบระดับชาติ NT / O-NET

1) ผลสอบ NT นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปท ่ี 3 ปการศึกษา 2560 - 2561

คะแนนเฉลย่ี รอ ยละ

ความสามารถ ปการศึกษา ระดบั ระดบั ระดับ เปรียบเทียบกบั

โรงเรียน สพป.ตาก 2 ประเทศ ระดบั ประเทศ

ความสามารถ 2560 48.34 42.59 52.67 -4.33
ดา นภาษา 2561 53.83 42.85 53.18 0.65
เพมิ่ ขึ้น/ลดลง 5.49 0.26 0.51

ความสามารถ 2560 33.6 32.24 37.75 -4.15
ดานคำนวณ 10.4
2561 57.59 40.30 47.19
เพิ่มขน้ึ /ลดลง 23.99 8.06 9.44

ความสามารถ 2560 51.65 37.8 45.31 6.34
ดานเหตุผล 2561 46.46 38.83 48.07 -1.61
เพิ่มขน้ึ /ลดลง -5.19 1.03 2.76

2560 44.53 37.54 45.25 -0.72

รวมทุกดาน 2561 52.63 40.66 49.48 3.15

เพิม่ ขน้ึ /ลดลง 8.1 3.12 4.23

จากตารางสรุปไดว า โดยภาพรวมชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 3 มคี ะแนนเฉลย่ี 52.63 ซึ่งสูงกวา

ระดบั สพป.ตาก เขต 2 และสูงกวาระดับประเทศ เมื่อพิจารณาแตละกลุมความสามารถ ปรากฏ

วา ความสามารถดานคำนวณ สงู สดุ และรองลงมาตามลำดับ คือ ความสามารถดา นภาษา และดาน

เหตผุ ล

2) ผลสอบ O-NET ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6 ปการศึกษา 2560 - 2561

ปการศกึ ษา ปก ารศกึ ษา คะแนนเฉล่ยี รอ ยละ (ปการศึกษา 2558)

กลุม สาระการ 2560 2561 ระดบั โรงเรียน สงั กัดสพฐ. ระดบั ประเทศ
เรยี นรู ระดบั ร.ร. ระดบั ร.ร.
คะแนน สว น คะแนน สวน คะแนน สวน
คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลย่ี เฉลีย่ เบ่ียงเบน เฉลยี่ เบีย่ งเบน เฉลี่ย เบ่ียงเบน
มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน

ภาษาไทย 46.21 48.75 48.75 11.51 54.61 15.20 55.90 15.65

คณติ ศาสตร 32.63 29.5 29.5 13.12 35.65 18.98 37.5 20.41

วิทยาศาสตร 35.87 33.35 33.35 7.82 35.47 15.05 39.93 12.63

ภาษาองั กฤษ 29.08 34 34 10.68 35.47 15.05 39.24 18.38

คะแนนเฉลีย่ 35.95 36.40 36.40 40.30 43.14

จากตารางสรปุ ไดว า โดยภาพรวมชน้ั ประถมศึกษาปที่ 6 มีคะแนนเฉลย่ี 36.40 ซ่ึงสูงกวา

ระดับ สงั กัดสพฐ. แตต่ำกวาระดบั ประเทศ เมอ่ื พิจารณาแตล ะกลมุ สาระการเรียนรู ปรากฏวา กลุม

สาระการเรียนรภู าษาไทย สงู สดุ และรองลงมาตามลำดับ คือ กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาตางประเทศ

(ภาษาองั กฤษ) กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร และกลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร

แผนภูมิเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลีย่ Onet ปี การศกึ ษา 2560 - 2561

60

50

40

30 ปีการศึกษา 2560
ปีการศกึ ษา 2561

20

10

0 คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
ภาษาไทย

3) ผลสอบ O-NET ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 ปการศึกษา 25620 - 2561

ปก ารศกึ ษา ปก ารศึกษา คะแนนเฉลย่ี รอ ยละ (ปการศึกษา 2561)

กลมุ สาระการ 2560 2561 ระดบั โรงเรยี น สังกดั สพฐ. ระดบั ประเทศ
เรียนรู ระดบั ร.ร. ระดบั ร.ร.
คะแนน สว น คะแนน สว น คะแนน สวน
คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลยี่ เฉลีย่ เบี่ยงเบน เฉลีย่ เบย่ี งเบน เฉลย่ี เบ่ยี งเบน
มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน

ภาษาไทย 41.36 46.31 46.31 15.32 55.04 15.79 54.42 16.02

คณิตศาสตร 23.43 25.50 25.50 10.67 30.28 16.02 30.04 16.03

วทิ ยาศาสตร 30.00 33.88 33.88 8.41 36.43 10.99 36.10 11.01

ภาษาอังกฤษ 25.29 26.50 26.50 6.30 29.10 10.94 29.45 11.55

คะแนนเฉลยี่ 30.02 33.05 33.05 37.71 37.50

จากตารางสรุปไดวา โดยภาพรวมช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 3 มีคะแนนเฉล่ยี 33.05 ซงึ่ ต่ำกวา

ระดบั สังกัด สพฐ. ต่ำกวา ระดับประเทศ เมื่อพจิ ารณาแตละกลุม สาระการเรียนรู ปรากฏวา กลมุ

สาระการเรยี นรูภาษาไทย สูงสุด และรองลงมาตามลำดับ คือ กลมุ สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาองั กฤษ) และกลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร

แผนภมู เิ ปรยี บเทยี บคะแนนเฉลี่ย Onet ปี การศึกษา 2560 - 2561

50

45

40

35

30

25 ปีการศกึ ษา 2560
ปีการศึกษา 2561
20

15

10

5

0 คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
ภาษาไทย

4.1.3 ผลการประเมนิ และขอเสนอแนะจากการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม จาก สมศ.

1) ผลการประเมนิ ระดับการศึกษาปฐมวยั

ระดบั คณุ ภาพ

การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน : ระดบั การศึกษาปฐมวัย ปรบั พอใช ดี ดมี าก
ปรงุ

กลมุ ตัวบงชพี้ นื้ ฐาน

ตวั บง ชี้ที่ 1 เด็กมีพฒั นาการดานรางกายสมวยั 

ตวั บง ชท้ี ่ี 2 เดก็ มีพัฒนาการดานอารมณแ ละจิตใจสมวยั 

ตวั บง ชที้ ่ี 3 เดก็ มีพฒั นาการดานสงั คมสมวยั 

ตวั บงชที้ ่ี 4 เดก็ มีพฒั นาการดานสตปิ ญญาสมวัย 

ตวั บงชี้ท่ี 5 เด็กมีความพรอมศึกษาตอ ในขน้ั ตอไป 

ตวั บง ช้ที ่ี 6 ประสทิ ธผิ ลการจัดประสบการณก ารเรยี นรูทีเ่ นนเด็กเปน 

สำคัญ

ตวั บง ชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนา 

สถานศกึ ษา

ตัวบง ชท้ี ี่ 8 ประสิทธผิ ลของระบบการประกนั คุณภาพภายใน 

กลุม ตวั บงชีอ้ ตั ลกั ษณ

ตัวบงช้ีท่ี 9 ผลการพัฒนาใหบ รรลตุ ามปรชั ญา ปณธิ าน/วิสยั ทัศน 

พันธกจิ และวัตถุประสงค ของการจดั ต้งั สถานศึกษา

ตัวบงชท้ี ี่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจดุ เดนท่ีสงผลสะทอนเปน 

เอกลักษณของสถานศึกษา

กลุมตัวบงชี้มาตรการสง เสรมิ

ตวั บง ชที้ ี่ 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพอ่ื สง เสรมิ บทบาทของ 

สถานศกึ ษา

ตวั บงชท้ี ่ี 12 ผลการสงเสริมพัฒนาสถานศกึ ษาเพ่อื ยกระดบั มาตรฐาน 

รกั ษามาตรฐาน และพัฒนาสูความเปน เลิศทีส่ อดคลองกับแนวทางการ

ปฏริ ูปการศึกษา

ผลการรับรองมาตรฐานคณุ ภาพ  รับรอง  ไมรับรอง

2) ผลการประเมนิ ระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

ระดบั คุณภาพ

การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน : ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ปรับ พอใช ดี ดมี าก
ปรงุ

กลมุ ตวั บงชพ้ี ื้นฐาน 

ตัวบง ชท้ี ่ี 1 ผเู รยี นมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี

ตวั บง ชท้ี ี่ 2 ผเู รยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา นิยมที่พงึ ประสงค 

ตัวบง ชท้ี ี่ 3 ผเู รียนมคี วามใฝร ูและเรียนรอู ยางตอ เนื่อง 

ตวั บง ชี้ท่ี 4 ผเู รียนคิดเปน ทำเปน 

ตัวบง ชี้ท่ี 5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู รยี น 

ตวั บง ชี้ท่ี 6 ประสทิ ธิผลของการจดั การเรียนการสอนเนนผูเรียนเปน 

สำคัญ

ตวั บง ชท้ี ี่ 7 ประสิทธภิ าพของการบริหารจัดการและการพัฒนา 

สถานศกึ ษา

ตวั บง ช้ที ี่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษา 

และตนสังกดั

กลมุ ตวั บงชีอ้ ัตลกั ษณ

ตวั บงชี้ที่ 9 ผลการพฒั นาใหบรรลตุ ามปรชั ญา ปณิธาน/วสิ ัยทศั น 

พนั ธกิจและวัตถปุ ระสงค ของการจัดต้ังสถานศึกษา

ตัวบงชท้ี ่ี 10 ผลการพัฒนาตามจดุ เนน และจุดเดน ท่ีสง ผลสะทอนเปน 

เอกลักษณของสถานศึกษา

กลุมตัวบง ชี้มาตรการสงเสรมิ

ตัวบงชี้ท่ี 11 ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพ่ือสงเสรมิ บทบาทของ 

สถานศกึ ษา

ตวั บง ชี้ที่ 12 ผลการสง เสริมพัฒนาสถานศึกษาเพอ่ื ยกระดบั มาตรฐาน 

รักษามาตรฐาน และพฒั นาสูความเปนเลศิ ท่สี อดคลองกบั แนวทางการ

ปฏริ ปู การศกึ ษา

ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไมรับรอง

3) ขอเสนอแนะจากผลการประเมนิ คุณภาพภายในและภายนอก

ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
จดุ เดน
1. เดก็ มีพฒั นาการดานรางกายสมวัย มพี ฒั นาการดา นอารมณและจิตใจสมวยั มีพฒั นาการดาน

สงั คมสมวัย มพี ฒั นาการดานสตปิ ญญาสมวัย มีพฒั นาการดา นสติปญ ญาสมวัย เด็กมีความพรอมศึกษาตอใน
ขั้นตอ ไป สถานศึกษาดำเนินการไดบ รรลตุ ามปรัชญา ปณธิ าน/วสิ ัยทัศน พันธกจิ และวัตถุประสงคของการ
จัดต้ังสถานศึกษา มีผลงานเปนท่ียอมรบั ของชุมชน ไดก ำหนดเปน จุดเดนจดุ เนนทเ่ี ปนอัตลักษณ คือ คุณธรรม
นำชีวิต สะทอ นผลเปนเอกลักษณของสถานศึกษา คือ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม สถานศึกษาดำเนินโครงการพิเศษ
คอื โครงการจดั ทำหลกั สตู ร

2. ผบู รหิ ารมภี าวะผนู ำและมีความสามารถในการบริหาร จดั การพฒั นาสถานศกึ ษาอยา งมี
ประสทิ ธภิ าพ มีผลการสง เสริมพัฒนาสถานศกึ ษาเพื่อรกั ษามาตรฐาน ท่สี อดคลองกับแนวทางปฏริ ูปการศึกษา
โดยไดรบั ความรว มมือจากคณะครู ผบู รหิ ารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ผปู กครอง รวม
วางแผนและดำเนนิ งานอยางเปน ระบบ

3. ครูมคี วามรักและศรัทธาในวิชาชีพครู มีความสามารถในการจดั ประสบการณการเรียนรูที่เนนเด็ก
เปน สำคญั อยางมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล

4. สถานศกึ ษาจดั ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสอดคลอ งกับกฎกระทรวง ดำเนินการจดั ทำ
รายงานประเมนิ ตนเองทกุ ปการศึกษาอยา งตอ เนื่อง

จดุ ทค่ี วรพัฒนา
1. สถานศึกษาไมด ำเนนิ การจดั กิจกรรมและประสบการณท ่ใี หเดก็ เกิดทกั ษะสามารถบอกความ
ตองการหรอื ความพอใจบอกสิ่งตาง ๆ ได ทำกจิ กรรมตามความสมคั รใจ และศึกษาแหลงเรียนรทู ั้งในและนอก
สถานศกึ ษา เพื่อเด็กไดแ สดงออกถึงความชืน่ ชอบ ชืน่ ชม และสนใจใครรธู รรมชาติรอบตัว การพฒั นาความคดิ
รวบยอดเกีย่ วกบั สิ่งตาง ๆ ทเ่ี กิดจากการเรียนรูใหมีความรูความเขา ใจเกย่ี วกบั ความรขู น้ั พื้นฐาน เรอื่ งความ
เขาใจและใชภาษาทาทางในการส่อื สารไมชัดเจน
2. สถานศึกษามสี ถานท่พี ักรอใหผูปกครอง แตไมไดจ ดั มมุ เรยี นรสู ำหรบั ผปู กครองและสถานศึกษามี
สภาพแวดลอ มเปน ปา และภเู ขา ไมมีแผนรองรับภัยธรรมชาตใิ หเ ปน รปู ธรรมเดน ชดั
3. ครูทำการประเมินพฒั นาการีเดก็ ทีไ่ มห ลากหลาย การจัดทำบนั ทกึ หลงั การจดั กจิ กรรมและ
ประสบการณไมครบทุกหนวยการเรยี นรู
4. การประกันคณุ ภาพภายในดำเนินการ ไมมปี ฏทิ นิ การประกันคุณภาพภายในใหเปน รปู ธรรม
สอดคลองกบั การประเมนิ ของหนวยงานตนสงั กดั
ขอ เสนอแนะเพื่อการพฒั นาตามกฎกระทรวงวาดว ยระบบ หลกั เกณฑ และวิธีการประกันคณุ ภาพ
การศึกษา พ.ศ.2553
1. ดานผลการจัดการศึกษา

1. สถานศึกษาควรจดั กิจกรรมพัฒนาเด็กใหสามารถบอกความตอ งการหรอื ความพอใจ
บอกสิ่งตาง ๆ ได โดยฝกใหเด็กทำกิจกรรมตามความสนใจและความสมคั รใจ

2. สถานศึกษาควรจัดกจิ กรรมศึกษาแหลงเรียนรูท้ังในและนอกสถานศึกษา เพอ่ื ใหเดก็ ได
แสดงออกถึงความช่ืนชอบ ต่ืนตาตน่ื ใจ และสนใจใครร ูธรรมชาติรอบตวั

3. สถานศกึ ษาควรพัฒนาเดก็ ในดานความคดิ รวบยอดเกี่ยวกับส่ิงตา ง ๆ ทีเ่ กิดจากการ
เรยี นรูใหมีความเขา ใจเกยี่ วกับความรพู ้ืนฐาน การแกป ญ หา การสังเกต การสำรวจ และภาษาทาทางในการ
สื่อสาร

2. ดา นการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
1. สถานศกึ ษาควรจดั ใหมีมมุ เรียนรสู ำหรบั ผูปกครองในสถานที่พกั รอ
2. สถานศกึ ษาควรมีแผนรองรบั การปอ งกนั ภัยธรรมชาติใหเ ปนรูปธรรมเดน ชดั

3. ดานการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน ผเู รยี นเปน สำคัญ
สถานศึกษาควรพฒั นาครูใหมีความรูค วามสามารถในการจัดทำแผนการจดั ประสบการณ

และมีการประเมินพฒั นาการเดก็ ใหหลากหลายใหมีประสิทธภิ าพ โดยการสงเขารบั การอบรมประชมุ สมั มนา
จากสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2 เพอื่ นำความรูท้งั เชิงวิชาการและการจดั การเรียน
การสอนมาพัฒนาเด็กดวยวิธกี ารที่หลากหลายใหต อเน่ือง

4. ดา นการประกนั คุณภาพภายใน
สถานศึกษาควรมปี ฏิทนิ การประเมนิ คุณภาพภายในสอดคลองกบั หนวยงานตน สงั กดั

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
จุดเดน
1. ผเู รยี นมสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มีคุณธรรม จริยธรรมและคา นยิ มทพี่ ึงประสงค มคี วามใฝรู

และเรียนรอู ยา งตอ เน่ือง คิดเปน ทำเปน มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนดี สถานศกึ ษาดำเนนิ การมีผลการพฒั นาให
บรรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน/วิสยั ทศั น พนั ธกจิ และวัตถุประสงคข องการจัดต้ังสถานศกึ ษา ผลการพฒั นาตาม
จุดเนน และจุดเดน ที่สง ผลสะทอนเปนเอกลกั ษณของสถานศึกษา คือ คุณธรรม จรยิ ธรรมสกู ารขบั เคลอื่ น
เศรษฐกิจพอเพยี ง สถานศึกษาดำเนนิ งานโครงการพิเศษเพ่ือสงเสริมบทบาทของสถานศึกษา ไดแก โครงการ
ผเู รียนมีสุขภาพทีด่ ีและมสี นุ ทรียภาพ

2. สถานศกึ ษาสงเสรมิ ประสิทธภิ าพของการบริหารจดั การพฒั นาสถานศึกษา ตามกรอบงาน
โครงสรางทง้ั 4 ดาน (ดา นวชิ าการ งบประมาณ บริหารบุคคล และบรหิ ารท่วั ไป) เพ่ือพัฒนาสถานศึกษา
โดยการยกระดับมาตรฐาน สอดคลองกับแนวปฏริ ปู การศึกษา

3. ครมู ปี ระสิทธผิ ลในการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นนผเู รยี นเปน สำคัญ
4. สถานศกึ ษาจัดระบบการประกันคุณภาพภายใน มกี ารประเมนิ ตนเองอยางสมำ่ เสมอทุกป
การศึกษา

จุดทค่ี วรพัฒนา
1. การพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในกลมุ สาระการเรยี นรูที่มคี ุณภาพตำ่ กวาดี คือ กลุม สาระ
การเรียนรูภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรู
สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม กลุม สาระการเรียนรสู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา กลมุ สาระการเรยี นรู
ภาษาตา งประเทศ
2. สถานศึกษาในดา นการบริหารจัดการ ประสทิ ธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานยัง
ไมไ ดแตง ตัง้ ที่ปรึกษาหรอื คณะอนุกรรมการเพ่ือดำเนินงานตามระเบียบ
3. พัฒนาประสิทธภิ าพของครดู านกระบวนการวัดและประเมินผลผเู รียน การนำผลการประเมินมาใช
ในการซอมเสริมและพฒั นาผูเรียน รวมทัง้ ปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นการสอน และการจดั กิจกรรมการเรียนท่ี
เนนศกั ยภาพและความตอ งการของผูเรียน จดั หาส่ือหลากหลาย ตลอดถึงการสอนเสริมเพิม่ เติมใหผ เู รยี น
4. สถานศึกษาดำเนินการจัดระบบการประกนั คุณภาพภายใน โดยเฉพาะการพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษาไมต อเน่อื ง

ขอเสนอแนะเพ่ือการพฒั นาตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลกั เกณฑ และวธิ กี ารประกันคณุ ภาพ
การศกึ ษา พ.ศ.2553

1. ดานผลการจดั การศึกษา
1. การพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นท่มี ีคุณภาพต่ำกวาระดบั ดี ไดแก กลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร กลมุ สาระการเรยี นรูส ังคม
ศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา กลุมสาระการเรียนรู
ภาษาตา งประเทศ โดยจัดทำแผนพฒั นายกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ปรับกระบวนการเรียนการสอนของครผู สู อน
จดั หาสื่อ เสริมความรใู หแกผ เู รียนใหเ หมาะสม จัดหาครูทีม่ ีความรเู ฉพาะทางมาสอนและเพมิ่ การนิเทศกำกับ
ตดิ ตามงานการเรียนการสอนในสถานศกึ ษาใหมากข้นึ

2. สถานศกึ ษาควรจดั ใหมกี ารสอนเพ่ิมเติมในกลมุ สาระการเรียนรูดังกลา วในชัน้
ประถมศึกษาปท่ี 6 และช้นั มัธยมศึกษาปที่ 3 หลังเลกิ เรยี นวนั ละ 1 ช่วั โมง เปนการเตรียมตัวในดานการฝกทำ
แบบทดสอบที่มีลกั ษณะเปนแนวเดยี วกับแบบทดสอบในระดบั ชาติ กอ นการเขา ทดสอบระดับชาติลว งหนา
1-2 เดือน

2. ดา นการบรหิ ารจัดการศึกษา
1. สถานศกึ ษาควรดำเนินการใหค ณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มีการแตงตั้งท่ีปรึกษา

หรอื คณะอนุกรรมการเพื่อใหถูกตองตามระเบยี บ เปนการพัฒนาปรับปรุงการบรหิ ารจัดการในดาน
ประสิทธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศึกษาใหมคี ณุ ภาพ

2. สถานศกึ ษาควรพฒั นาปรับปรุงดา นการใชผ ลการประเมินการนิเทศติดตามงานเพ่อื การ
พฒั นางานตามงานหลกั และงานรอง โดยการจดั ระบบขอมูลสารสนเทศใหมีความถูกตองเปนปจจบุ ัน สามารถ
นำมาใชเ ปน ขอมลู พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาไดท ันที

3. ดา นการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน ผูเรียนเปน สำคัญ
1. ครูควรเพ่มิ กระบวนการวัดและประเมนิ ผลผเู รยี นตามสภาพจรงิ ดว ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย

การสรางวินยั ในการเรียนรูใ หเ กดิ แกผ ูเ รียน ควรเนน การตดิ ตามผเู รียนรายบุคคล แกไขพฤตกิ รรมการเรียนรู
ของผูเ รยี น โดยประสานความรว มมือกบั ผูปกครองใหเหมาะสม

2. ครคู วรประเมนิ ความกาวหนาของผเู รียนดวยวิธที หี่ ลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติของ
วชิ าและระดับพฒั นาการของผเู รียน รวมทงั้ การวางเงื่อนไขใหผ ูเ รยี นประเมนิ ความกาวหนา ของตนเองและ
นำมาใชป รบั ปรงุ และพัฒนาตนเอง และนำผลการประเมินมาใชใ นการซอมเสริมและพฒั นาผูเ รียน รวมทงั้
ปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอน

3. ครูควรจัดกจิ กรรมการเรียนที่เนน ศกั ยภาพและความตองการของผเู รียน ปรับ
กระบวนการเรียนการสอนใหเ หมาะสม จดั หาส่ือหลากหลายใหต รงกบั ผลงานวจิ ัยในช้ันเรยี น ในรปู แบบฝก
ทกั ษะและมลั ตมิ ีเดยี เพื่อนำมาสอนเสริมเพ่ิมเติมใหผ ูเ รยี นไดร ับโอกาสการเรียนรูทถ่ี กู ตองทันสมยั สอดคลอง
กบั ความตองการของผูเรียนและชุมชน

4. ดานการประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศึกษาควรจัดระบบการประกันคุณภาพภายในใหสอดคลองกับเกณฑของเขตพ้นื ท่ี

การศกึ ษาและมาตรฐานของชาติตามกฎกระทรวง มุงเนนการปรับปรงุ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา ง
ตอเนือ่ งโดยใหมีสวนรวมของผมู ีสวนเก่ยี วของจากทุกภาคสว น

นวัตกรรมหรือตัวอยางการปฏิบตั ิทด่ี ี (Good Practice) ของสถานศึกษาท่ีเปนประโยชนตอ สงั คม
การปฏบิ ตั ิที่เปนเลศิ ของสถานศึกษา ไดแ ก โครงการเศรษฐกจิ พอเพียงมีการจัดกจิ กรรมการขบั เคลื่อน
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำรทิ ฤษฎีเกษตรพอเพียง กิจกรรมการทำปุย หมักชวี ภาพ แทนการใช
สารเคมี ปลกุ พืชผกั สวนครัว การเลยี้ งหมู เลย้ี งไก เลี้ยงวัวและการเพาะเหด็ นางฟา เปนพ้ืนฐานใหผ เู รยี น
ออกไปอยรู ว มสังคมชมุ ชน มคี ุณภาพชีวิตที่ดีข้นึ

สภาพปญหาความตองการจำเปน เปนสภาพปญ หาจากการวเิ คราะหส ภาพแวดลอ มภายในและ
ภายนอก ดว ยเทคนิค SWOT เพ่ือนำไปสูการกำหนดความตอ งการจำเปน ในการแกป ญหา และพฒั นาภารกิจ
หลกั และภารกจิ รองและการงานตามนโยบายที่เกีย่ วของระดบั ตางๆ

การวเิ คราะหป จ จยั สภาพแวดลอม ( SWOT Analysis)
สภาพแวดลอมการจดั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานของโรงเรยี น จากขอมูลสารสนเทศ วเิ คราะหจดุ เดน

จุดทค่ี วรพฒั นา อปุ สรรคและโอกาสภาพรวม ไดข อสรปุ ดงั นี้
จดุ เดน

ดานผูเ รยี น
พบวา การพัฒนาทางกาย อารมณ สงั คมและสติปญ ญาของนักเรียนเปน ไปตามเปา หมาย นกั เรียนมี
พัฒนาการในดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม ความซ่ือสัตยสจุ รติ การประหยัดและออม การมสี ุขภาพแข็งแรง การ
อนรุ ักษส ิง่ แวดลอม การมีสุนทรียภาพทางศิลปะและดนตรี การมที กั ษะในการแสวงหาความรดู วยตนเอง
ดา นครผู สู อน
พบวา เปนผูมคี ุณวุฒิ ตรงกับงานทรี่ ับผิดชอบ และมีครูเพยี งพอตามเกณฑ ครูไดรับการพัฒนาอยา ง
ตอ เน่ือง ครมู ีการทำงานแบบมีสวนรว ม
ดา นผบู รหิ าร
พบวา มภี าวะผูนำและมคี วามรูค วามสามารถทางการบรหิ าร ผูบริหารเปดโอกาสใหบ คุ คลไดร ับการ
อบรมและศกึ ษาตอ มีการสงเสรมิ ใหจดั การเรียนการสอนท่ีเนนผูเรยี นเปน สำคัญ ผบู ริหารเปดโอกาสใหครูมี
สวนรวมในการบริหาร และเปนผูที่มีความสามารถในการสรางความสัมพันธ กับชมุ ชนเปนอยา งดี

จุดท่คี วรพฒั นา
ดา นผเู รยี น
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนทกุ กลุมประสบการณอยูในระดบั ตอ งพัฒนา ยังขาดทักษะการคดิ วิเคราะห

สังเคราะหและการคดิ ริเริ่มสรางสรรค ขาดการแสวงหาความรูด ว ยตนเอง
ดานครูผสู อน
การสอนยงั เปน แบบบรรยายในบางรายวชิ า สอนเนน เนื้อหาตามหนงั สอื ไมเ นน ตามตวั ช้ีวัดใน

หลักสูตร และยงั ไมเ ปน ไปตามแนวทางการปฏิรปู การเรยี นการสอน ครยู งั จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนไมตรง
กบั แผนการจดั การเรยี นรู และยังขาดการประเมนิ ผลและการนำผลการประเมนิ มาใชนอ ยมาก

ดา นผบู รหิ าร
การดำเนนิ การตามแผนและโครงการบางสว น ขาดการประเมินผลและการนำผลการประเมนิ มาใช
และการนิเทศตดิ ตามอยางตอเนอ่ื ง

โอกาส
1. ผูป กครองบางสว นมีอาชีพจักสานโรงเรียนสามารถเชิญมาเปนวทิ ยากรในฐานะภูมิปญญาไทยได
2. ชุมชนเปนแบบชนบทมคี วามผูกพนั สามัคคีกันดี ทำใหโรงเรยี นสามารถสรางความสมั พันธไดงาย
3. ชมุ ชนรกั ษาขนบธรรมเนยี มประเพณีท่ดี ี เปน แหลงเรียนรูแ ละแบบอยางใหแกน ักเรียน
4. หมูบา นมีวัดหรือสำนักสงฆ ซ่ึงเปน ทีอ่ บรมศลี ธรรม จริยธรรมแกน กั เรียนเปน อยา งดี
5. องคการบรหิ ารสว นทองถนิ่ ไดแก อบต.ชอ งแคบ และ อบจ.ตาก ใหค วามสนบั สนนุ โรงเรยี นดี
6. โรงเรยี นไดรับเงินอุดหนนุ มาโดยตรง ทำใหส ะดวกตอการปฏิบัติงาน

อปุ สรรค
1. ผูปกครองยากจนทำใหใชแ รงงานเด็ก
2. สภาพพ้ืนดนิ แหง แลง หนาแลงขาดแคลนนำ้ อุปโภคและบริโภค
3. ในชมุ ชนบางสวนไมเ ปนแบบอยา งที่ดีแกนักเรยี น เชน การพนัน การสูบบหุ ร่ี และการดื่มสุรา

สภาพแวดลอมภายนอก
โอกาส (Opportunity)

1) ดา นนโยบาย การเมอื ง และกฎหมาย
1.1 โรงเรยี นไดร บั การสนับสนนุ งบประมาณในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษามากขึน้
1.2 มีการกระจายอำนาจตามนโยบายของรัฐบาลมายังโรงเรียนมากข้นึ ทั้งในดาน

งบประมาณและวิชาการ
1.3 มกี ฎหมายที่เกย่ี วของใหมๆ ทำใหโรงเรียนมีความคลองตวั ในการบรหิ ารงาน

2) ดานสงั คมและวัฒนธรรม
2.1 ชุมชนใหความสนใจท่จี ะมีสวนรวมในการพัฒนาการศึกษา
2.2 ผปู กครองใหความรว มมือในการดแู ลอบรมนกั เรียน

3) ดา นเทคโนโลยี
3.1 โรงเรยี นไดรับการสนับสนุนระบบInternet เพ่ือใชใ นการจดั การเรยี นการสอน
3.2 โรงเรยี นไดร บั การสนบั สนุน จากชุมชนและองคก รปกครองสว นทองถ่นิ ดา นส่ือ

เทคโนโลยสี ำหรบั การเรียนรูของนกั เรยี น
3.3 คณะครแู ละบุคลากรมีการใชสื่อ นวัตกรรมใหมๆ มาจดั การเรียนการสอน

4) ดานเศรษฐกจิ ชุมชน
4.1 ชุมชนมอี าชพี จักสานไมไผ เปนแหลงเรียนรขู องทองถ่ิน
4.2 มีพืน้ ท่ีบริเวณทเ่ี ปน แหลงเรยี นรนู อกหองเรยี น เชน สวนสม โอ ไรข า วโพด ไรนา

อปุ สรรค (Threats)
1) นโยบาย การเมืองและกฎหมาย
1.1 นโยบายไมแ นน อนเน่ืองจากมีการปรบั เปล่ียนผบู ริหารระดับสงู บอ ย

1.2 ระเบียบปฏิบัตไิ มศักดส์ิ ิทธ์ิ ขาดการนำไปปฏบิ ัตใิ หเกิดผลอยา งจริงจงั
2) ดานสงั คมและวฒั นธรรม

2.1 ผปู กครองบางสวนไมเขาใจชัดเจนเกีย่ วกับบทบาทหนาทข่ี องตนเองมงุ ใหเปน หนา ที่ของ
โรงเรยี นในการจดั การศึกษา
3) ดานเทคโนโลยี

3.1 บุคลากรขาดความรใู นการใชเทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอน
3.2 ระบบ ICT ดานการจดั กิจกรรมการเรียนรูกา วหนาอยางรวดเรว็ ทำใหครตู ามไมทัน
4) ดา นเศรษฐกิจของชุมชน
4.1 สภาวะเศรษฐกจิ ตกต่ำ คา ครองชีพสงู ทำใหชุมชนไมม งี บประมาณสนับสนุนโรงเรียน
ในการพัฒนาการศึกษาอยา งเพยี งพอ
4.2 ผปู กครองเดินทางไปหางานทำในเมือง นกั เรียนขาดการดูแลเอาใจใส

สภาพแวดลอ มภายใน
จดุ แข็งของโรงเรียน (Strength)

1) ดานบุคลากร
1.1 ครูมีการพฒั นาตนเองในดา นการเรียนการสอนมากข้นึ
1.2 ครมู ีการปรับเปลย่ี นพฤติกรรมการเรียนการสอนทีเ่ นน นกั เรยี นเปน สำคญั มากขึ้น
1.3 ครูอาจารยใ หความรวมมือและสนบั สนนุ การพฒั นาการศกึ ษาของโรงเรียน

2) ดา นการเงนิ
2.1 โรงเรียนไดร บั งบประมาณสนับสนุนการพัฒนาการศึกษามากขน้ึ
2.2 ผนู ำองคการบริหารสว นตำบล มคี วามเขา ใจดานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจึงใหการ

สนับสนนุ งบประมาณมากขึ้น
3) ดานอาคารสถานที่ วสั ดุอปุ กรณและเทคโนโลยี

3.1 โรงเรยี นมีพ้นื ที่ เพียงพอในการจัดกิจกรรมและสรางแหลง เรียนรู
3.2 ชุมชนใหการสนับสนุนงบประมาณกอสรา งหองสมุดและหอ งเรียนคอมพวิ เตอร
4) ดา นการบริหารจดั การ
4.1 ผูบริหารมคี วามกระตือรือรน เอาใจใสง าน
4.2 มเี จาหนา ทงี่ านธุรการมาชวยแบงเบาภาระทำใหครูมเี วลาทำการสอนเพ่ิมข้นึ
4.3 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และชุมชนมีสว นรวมมือในการบริหารจัด
การศกึ ษาดมี าก
จดุ ออนของโรงเรยี น (Weakness )
1) ดานบคุ ลากร
1.1 ครูบางสวนไมมวี ุฒิตรงตามวชิ าที่รบั ผิดชอบสอน

1.2 ครมู ปี ญหาทางการเงนิ ขาดความสนใจการจัดการเรยี นการสอน
1.3 ครูขาดความกระตอื รือรน ในการเรยี นรกู ารใชเทคโนโลยี (ส่ือ ICT) ท่ที นั สมัยทำใหการจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอนไมพฒั นาขึ้น
2) ดานการเงนิ
2.1 ขาดบคุ ลากรทีม่ ีความรูในเรื่องการเงินและบัญชี
2.2 ระเบยี บนโยบายบางสว นทำใหก ารบริหารงานการเงินไมค ลอ ง
3) ดา นอาคารสถานที่
3.1 ไมไ ดร บั การสนบั สนนุ งบประมาณคาทีด่ ินและสงิ่ กอ สรางทำใหขาดแคลนหองพเิ ศษ
และหองปฏบิ ัติการตาง ๆ
4) ดา นการบรหิ ารและการจัดการ
4.1 มีงานนโยบายใหมๆ เพิม่ มากขึ้นโรงเรียนตองจดั ทำแผนงาน/โครงการสนับสนุนมากขึน้
ตลอดจนตองรายงานขอมูล/ผลการดำเนนิ งานตามโครงการน้นั ๆ มากขึน้ ทำใหค รูอาจารยมภี าระการ
ทำงานนอกเหนือการจดั การเรยี นการสอนมากขนึ้ โรงเรยี นไมไดร ับการดแู ลเอาใจใสจ ากสำนักงาน
เขตพ้ืนท่กี ารศึกษาในเรอ่ื งการนิเทศการเรียนการสอนของครูผสู อนอยา งท่วั ถึง ทำใหค ณุ ภาพ
การศึกษาไมพฒั นาข้ึน

บทท่ี 2

ทิศทางการบริหารจัดการศกึ ษา

วิสัยทัศน
มคี ณุ ธรรม นำวชิ าการสมู าตรฐานสากล พัฒนางานบคุ คล โดยยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พนั ธกิจ
1. สง เสริมการพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนรใู หไดมาตรฐานการศึกษาระดบั ชาติ และสากล

เพือ่ ผูเรียนใหมีความสมดลุ ท้ังดา นความรูค วามคิด และความสามารถเต็มศักยภาพ
2. สง เสรมิ การจดั การการศึกษา อบรมผูเรยี นใหเ ปน ผูมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และความรับผดิ ชอบ

ตอสงั คมบนพน้ื ฐานเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. สงเสรมิ สนบั สนนุ การจดั กิจกรรมทีห่ ลากหลาย เพอื่ พฒั นาผูเรยี นใหมคี วามสมบูรณทั้งรางกาย

และจิตใจ
4. พฒั นาส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง วิทยาการ เพื่อใชแสวงหาองคค วามรสู ูการเปนองคกร

แหง การเรียนรู
5. สงเสรมิ และพัฒนาครู และบคุ ลากรใหเ ปนผมู ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและไดมาตรฐานวิชาชีพ

อยางตอเนือ่ ง
6. สงเสรมิ พฒั นาประสานความรวมมือระหวางวดั โรงเรียน ชุมชน สังคม และเครือขา ยผูปกครอง

ใหเขา มามสี วนรว มในการจดั การศกึ ษา
7. สงเสรมิ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการที่ดสี ู คุณภาพมาตรฐานการศกึ ษาระดบั สากล

โดยใชโรงเรียนเปน ฐาน
8. สง เสริมใหม คี วามรู ความเขา ใจ มสี ว นรวมในระบบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย

ทรงเปนพระประมขุ ดำรงไวซ ึ่งเอกลักษณ วัฒนธรรม และความเปนไทย

กลยุทธ
กลยทุ ธท่ี 1 ดา นการจัดการศึกษาเพ่ือความม่นั คง
กลยุทธท่ี 2 ดา นการพัฒนาคุณภาพผูเ รยี น และสง เสรมิ การจดั การศึกษาเพอื่ สรางขีด ความสามารถในการ
แขงขนั
กลยทุ ธที่ 3 ดา นการสงเสรมิ พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
กลยุทธที่ 4 ดา นโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทยี ม การเขา ถึงบริการทางการศกึ ษา
กลยุทธท่ี 5 ดา นการจัดการศึกษาเพ่อื สรา งเสริมคุณภาพชีวิตทีเ่ ปน มิตรกับสิง่ แวดลอ ม
กลยุทธท่ี 6 ดา นการพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการและสง เสริมใหท กุ ภาคสว นมีสว นรวมในการจดั การศึกษา

เปา ประสงค
1. ผเู รยี นผา นเกณฑการประเมนิ ดานคุณธรรมและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค
2. ผเู รยี นนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ นชีวิตประจำวัน
3. ผูเรยี นผานเกณฑการประเมนิ ขนั้ ต่ำตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
4. ผูเรียนมสี ขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิตที่ดี
5. มีหลกั สตู รสถานศกึ ษาและหลักสูตรทองถ่นิ ท่เี สริมสรา งสมรรถนะนกั เรียนตามมาตรฐาน
การศึกษาขนั้ พื้นฐาน
6. บุคลากรทางการศกึ ษามีความกา วหนาทางดานวชิ าชพี
7. มอี งคก รและเครือขายรวมในการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ

จุดเนน
1. นักเรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรยี นรูหลกั เพิ่มข้ึน โดยผลการทดสอบระดับชาติ
(O-NET) เพ่มิ ข้นึ อยา งนอ ยรอยละ 3
2. เดก็ ปฐมวัยทกุ คนไดร ับการเตรยี มความพรอมดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญาตาม
หลักสตู รการศึกษาปฐมวัยอยางมคี ุณภาพ
3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ทุกคนอานออก เขียนได คิดเลขเปน และนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปท่ี 6 ทุกคนอา นคลอ ง เขยี นคลอง คดิ เลขคลอ ง และมีทักษะการคดิ ขน้ั พน้ื ฐาน
4. นกั เรียนทุกคนมคี วามสำนึกในความเปน ไทย มจี ิตสาธารณะ และอยอู ยางพอเพียง
5. นกั เรียนทีม่ ีความสามารถดานคณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี และศิลปะศาสตรทกุ คน
ไดรบั การสงเสรมิ ใหม ีความเปนเลศิ
6. ประชากรวยั เรยี นทุกคนมโี อกาสเขา ถึงบริการทางการศึกษาดว ยทางเลือกทหี่ ลากหลายเพื่อลด
อัตราเดก็ ตกหลน ออกกลางคัน สง เสริมการเรียนตอหรือประกอบอาชีพ
7. นกั เรยี น ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุกคน ไดร ับการพัฒนาอยางมีคุณภาพ สอดคลองกับ
อัตลักษณข องตน
8. นักเรยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทุกคน มีความพรอมเขาสปู ระชาคมอาเซียน มภี ูมิคุม กัน
ตอ การเปล่ยี นแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม
9. โรงเรยี นบานชองแคบมีระบบประกันคุณภาพภายในท่ีเขมแขง็ และไดรบั การรับรองจากการ
ประเมนิ คุณภาพภายนอก

กรอบการดำเนินงานตามแผนพฒั
โรงเรียนบา นชอ งแคบ สำนกั งานเขตพ

กลยทุ ธที่ 1 จัดการศกึ ษาเพ่ือความมน่ั คง

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค 1. นักเรียนรอย
1. ยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เรยี น 8 กลมุ สา
1. เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 8 2. นักเรยี นระด
กลมุ สาระการเรียนรใู หส งู ขน้ึ มผี ลการทดสอบ
2. เพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น สาระการเรียนร
NT/O-NET ของโรงเรยี นใหส งู ขึน้

ฒนาการศึกษา พ.ศ.2561 – 2565
พนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2

เปา หมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผรู บั ผดิ ชอบ
20,000 ป 2562 ป 2563 ป 2564 27,640
ยละ 75 มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการ 27,640 27,640 27,640 ครูทพิ ยส ุดา
าระการเรยี นรอู ยใู นระดบั ดี ขันคำ
ดบั ชัน้ ป.3, ป.6 และ ม.3
บระดบั ชาตเิ ฉลย่ี แตล ะกลุม
รไู มต ่ำกวาระดับประเทศ

รวม 20,000 27,640 27,640 27,640 27,640

กรอบการดำเนนิ งานตามแผนพัฒ
โรงเรยี นบานชอ งแคบ สำนักงานเขตพ

กลยุทธท ี่ 1 จดั การศึกษาเพ่ือความม่นั คง

โครงการ/กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค

2. เสริมสรา งคณุ ธรรมจริยธรรมใน 1. ผเู รยี นไดร บั การสง เสริมในเรื่องการมีวนิ ัย ดา นปริมาณ
สถานศึกษา ตอ ตนเอง สงั คม ประเทศชาติ 1. นักเรยี นโรงเ
2. ผเู รยี นไดร ับการพฒั นาในดานคณุ ธรรม ไดร ับการพัฒน
จริยธรรม คานยิ มอันดงี าม และการมีจติ 2. นักเรียนระด
สาธารณะ เขา รวมกิจกรรม
ศกึ ษา
3. นกั เรยี นสอ
หลวงในแตระด
ดา นคณุ ภาพ
1. นักเรยี นไดร
จริยธรรม คา น
สาธารณะ
2. นักเรยี นสาม
ชีวิตประจำวันไ

ฒนาการศึกษา พ.ศ.2561 – 2565
พนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2

เปาหมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผรู บั ผดิ ชอบ
3,000 ป 2562 ป 2563 ป 2564 5,000
เรียนบานชองแคบทุกคน 5,000 5,000 5,000 ครูเมธณี ี
นาดานคณุ ธรรมจริยธรรม คำบรรลอื
ดบั ชน้ั ป.4 – ม.3 ทุกคนได
มการเรียนการสอนธรรม

อบผา นธรรมศึกษาภาคสนาม
ดบั ช้ัน รอยละ 80 ขึน้ ไป

รับการพัฒนาคุณธรรม
นิยมอนั ดีงามและมีจติ

มารถนำไปประยุกตใ ชใน
ได

รวม 3,000 5,000 5,000 5,000 5,000

กรอบการดำเนนิ งานตามแผนพัฒ
โรงเรยี นบา นชอ งแคบ สำนักงานเขตพ

กลยุทธที่ 1 จดั การศึกษาเพ่ือความม่นั คง

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค
3. โครงการหองสมดุ มีชวี ติ
1. ผเู รยี นมนี ิสัยรักการอา นและแสวงหา ดา นปรมิ าณ
ความรูดวยตนเองจากหองสมุด แหลง เรยี นรู 1. ผูเรียนมนี ิสยั ร
ดว ยตนเองจากห
และสอื่ ตา งๆ รอบตัว
และสือ่ ตา งๆ รอบ
2. ผูเรยี นมที กั ษะในการอาน ฟง ดู พูด 2. ผเู รียนมีทกั ษะ
เขียน และตงั้ คำถามเพื่อคน ควา หาความรู และตง้ั คำถามเพ
เพ่มิ เตมิ ละ 80

3. ผูเรียนเรียนรูรว มกนั เปนกลุม แลกเปลยี่ น 3. ผูเรียนเรยี นรูร
ความคิดเหน็ เพ่อื การเรียนรูระหวา งกนั
ความคดิ เห็นเพือ่

รอยละ 80

ดา นคุณภาพ

ผูเ รียนโรงเร

อา น การเขียน แ

หาเหตุผล สนใจ

รอบตวั ใชหอ งสม

ท้ังในและนอกสถ

ตนเอง เรยี นรูรวม

และชอบมาโรงเร

ฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2561 – 2565
พ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2

เปาหมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผรู บั ผดิ ชอบ
5,000 ป 2562 ป 2563 ป 2564 5,000
รักการอา นและแสวงหาความรู 5,000 5,000 5,000 ครูชนกวรรณ
หอ งสมุด แหลง เรยี นรู บญุ เรอื ง
บตัว รอยละ 80
ะในการอา น ฟง ดู พูด เขยี น
พอื่ คน ควา หาความรเู พิ่มเติม รอย

รวมกันเปน กลมุ แลกเปลยี่ น
อการเรียนรูระหวา งกัน

รียนบานชองแคบ มีนิสัยรกั การ
และการฟง รูจักตั้งคำถามเพ่อื
จแสวงหาความรูจากแหลงตางๆ
มุด แหลง ความรูและสอื่ ตาง ๆได
ถานศึกษา มีวธิ ีการเรียนรูข อง
มกบั ผูอ่ืนได สนกุ กบั การเรยี นรู
รยี น

รวม 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000

กรอบการดำเนินงานตามแผนพฒั
โรงเรียนบา นชอ งแคบ สำนกั งานเขตพ

กลยุทธท ี่ 1 จัดการศึกษาเพื่อความมนั่ คง

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค

4. สง เสรมิ กจิ การนักเรียนและกิจกรรม 1. เพือ่ ใหนักเรยี นเหน็ ความสำคญั และมี เชงิ ปริมาณ
วนั สำคัญ สว นรวมในกจิ กรรมของวนั สำคญั ตา งๆ 1. นักเรียนรอ ย
2. เพ่อื ปลกู ฝงคุณธรรม จรยิ ธรรมในการ มีสวนรวมในกจิ
อนุรกั ษ ประเพณี ขนบธรรมเนยี มตา งๆของ 2. นักเรยี นรอย
ชาติ ใหก บั นกั เรียน ในการอนรุ กั ษ
3. เพอ่ื ใหช มุ ชน โรงเรยี น วัด มีสว นรว มและ ตางๆของชาติ
ถา ยทอดประเพณวี ัฒนธรรมทีส่ ำคญั ของ เชิงคุณภาพ
ทองถ่นิ 1. นกั เรยี นโรงเ
ความสำคญั แล
สำคัญตา งๆ
2. นักเรียนโรงเ
จรยิ ธรรมในกา
ขนบธรรมเนยี ม
3. ชมุ ชน โรงเร
ถา ยทอดประเพ
ทองถิ่น

ฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2561 – 2565
พืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2

เปาหมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผรู บั ผิดชอบ
ป 2562 ป 2563 ป 2564
ยละ 80 เห็นความสำคัญ และ 113,900 143,000 ครูธนาวฒั น
จกรรมของวนั สำคญั ตา งๆ 143,000 143,000 143,000 โปบู
ยละ 80 มีคุณธรรมจรยิ ธรรม
ประเพณี ขนบธรรมเนยี ม

เรียนบา นชองแคบเห็น
ละมสี วนรว มในกิจกรรมวัน

เรยี นบา นชองแคบมคี ณุ ธรรม
ารอนรุ กั ษ ประเพณี
มตางๆของชาติ
รยี นวดั มสี ว นรวมและ
พณีวฒั นธรรมท่ีสำคญั ของ

รวม 113,900 143,000 143,000 143,000 143,000

กรอบการดำเนินงานตามแผนพฒั
โรงเรียนบา นชองแคบ สำนกั งานเขตพ

กลยุทธท่ี 1 จดั การศกึ ษาเพื่อความม่ันคง

โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค
5. วัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา
1. เพ่ือจัดทำแบบทดสอบและเครอ่ื งมือ เชงิ ปรมิ าณ
วดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี นทุก นักเรยี นทุก
ระดบั ช้ัน
2. เพ่ือใชเ ปน หลกั ฐานในการวัดผลและ ประเมนิ ผลการ
ประเมินผลการศึกษาของนักเรยี นทกุ ระดับ เชิงคุณภาพ
ชน้ั ในแตละภาคเรียน
3. เพอ่ื แสดงสถิตแิ ละผลสมั ฤทธท์ิ างการ นกั เรียนทกุ
เรียนใหผบู รหิ าร และผสู อนใชเปน ขอ มูลใน ประเมนิ ผลการ
การพัฒนางานดา นการจดั การเรยี นการสอน

ฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2561 – 2565
พน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2

เปา หมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผูรบั ผิดชอบ
5,000 ป 2562 ป 2563 ป 2564 5,000
กคน ไดเ ขารบั การวัดผลและ 5,000 5,000 5,000 ครูสุมนนาฏ
รศกึ ษา ประจำภาคเรียน
คงแพ

กคนผา นการวัดและ
รศึกษาทกุ รายวิชา

รวม 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000

กรอบการดำเนินงานตามแผนพฒั
โรงเรียนบา นชองแคบ สำนกั งานเขตพ

กลยทุ ธท ี่ 1 จดั การศกึ ษาเพ่ือความมนั่ คง

โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค

6. สรางวินัยและประชาธปิ ไตยใน 1. เพือ่ ฝกใหนักเรยี นรจู ักการปฏิบตั ติ นเปน เชงิ ปริมาณ
โรงเรยี น ผูน ำ – ผูต ามที่ดี 1. จดั การเลอื กตัง้ ป
2. เพอ่ื ใหน กั เรียนรจู ักบทบาท สทิ ธิ – คณะกรรมการนกั เร
หนา ทข่ี องตนเอง 2. นกั เรยี นท่ีมีสทิ ธ
3. เพือ่ ใหน กั เรยี นมคี วามรเิ ริ่มสรา งสรรค นักเรยี นชน้ั ป. 1 –
กลา พูด กลาคดิ กลาทำ และกลา แสดงออก 3. นกั เรยี นท่มี ีสทิ ธ
อยา งมีเหตผุ ลบนพื้นฐานความถูกตอ งและ ป. 5 – ม. 3
เปน ประชาธิปไตย 4. อาจารยผ ูค วบคมุ
4. เพ่ือใหนักเรียนเกดิ ทกั ษะ ความรู – 5. ระยะเวลาในการ
ความเขา ใจ ในระบบการปกครอง กอ นปดเรยี น 2/25
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ เปน เชงิ คุณภาพ
ประมุข
1. นักเรยี นเกิดทกั ษ
เลอื กตง้ั และการป
2. ไดประธานนักเร
3. มสี ภานกั เรียนทถ
4. มคี ณะกรรมการ
กำหนดบทบาทภาร

ฒนาการศึกษา พ.ศ.2561 – 2565
พ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2

เปา หมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผรู บั ผดิ ชอบ
1,000 ป 2562 ป 2563 ป 2564 1,000
ประธานนกั เรยี นและ 1,000 1,000 1,000 ครูสมุ นนาฏ
รยี น
ธใ์ิ นการลงคะแนนเลือกตง้ั ไดแ ก คงแพ
– ม. 2
ธิ์ลงสมัครรับเลอื กตง้ั คอื นกั เรยี นชนั้

มการเลอื กต้งั จำนวน 3 ทา น
รเลือกต้งั ชว ง 2 สัปดาหท ่ี สุดทา ย
561 ระยะเวลา 1 วนั

ษะความรู ความเขา ใจเกย่ี วกับการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตย
รยี นท่มี าจากการเลือกต้งั
ทถ่ี ูกจัดตั้งขน้ึ โดยมาจากการเลอื กตง้ั
รนกั เรยี นแตละฝายอยางถกู ตอ ง และ
ระหนา ท่ี

รวม 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000

กรอบการดำเนินงานตามแผนพัฒ
โรงเรยี นบานชองแคบ สำนักงานเขตพ

กลยทุ ธท ่ี 1 จดั การศกึ ษาเพื่อความม่นั คง

โครงการ/กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค
7. ปอ งกันสารเสพตดิ ในสถานศกึ ษา
1. เพอ่ื ใหค วามรู ความเขา ใจแกน กั เรียนใน เชิงปรมิ าณ
เร่อื งสารเสพตดิ 1. กลุมนกั เรยี นใ
2. เพ่อื กระตุนใหน ักเรยี นไดป รับเปลย่ี น ประถมศกึ ษาปท
พฤตกิ รรม และเจตคตทิ ่ีจะหลกี ไกลยาเสพ รว มกจิ กรรม
ตดิ 2. คณะวิทยากร
3. เพอ่ื สงเสรมิ ใหน กั เรยี นไดม ีโอกาสไดม ี สาธารณสขุ ทหา
สวนรว มในการจัดกิจกรรมสง เสรมิ สขุ ภาพ คณะครู จำนวน
ตางๆ เชิงคณุ ภาพ
4. เพอ่ื สง เสรมิ ความรว มมอื ระหวา งนกั เรยี น 1. นักเรยี นมคี วา
คณะครู ผูป กครอง หนว ยงานอนื่ ๆ ใน ของสารเสพติด
การปอ งกันปญ หาสารเสพตดิ ใหแกนกั เรียน 2. มีพฤตกิ รรมใน
นาชืน่ ชมในเรื่อง
3. เปน ตัวแทน
โรงเรียนและชุมช
4. เกดิ ความรวม
หนวยงานตา งๆใ
ของนกั เรยี น

ฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2561 – 2565
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2

เปาหมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผูรับผิดชอบ
1,000 ป 2562 ป 2563 ป 2564 1,000
ในระดับชั้นนักเรยี นระดบั ชน้ั 1,000 1,000 1,000 ครูวิลาวณั ย
ท่ี 6 ถงึ มัธยมศกึ ษาตอนตนเขา จันหอม

รจาก สถานตี ำรวจภูธรพบพระ
าร พระวิทยากร ผูนำชมุ ชน
น 20 คน

ามรูความเขา ใจในภัยอนั ตราย

นทางบวก เปนตัวอยา งทีด่ ี
งหลกี ไกลจากสารเสพติด
แกนนำในเร่ืองสารเสพติดใน
ชนในอนาคต
มมือในโรงเรียน ชุมชน และ
ในการปองกนั ปญหาสารเสพติด

รวม 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000

กรอบการดำเนินงานตามแผนพัฒ
โรงเรียนบานชอ งแคบ สำนกั งานเขตพ

กลยทุ ธท ี่ 1 จัดการศกึ ษาเพ่ือความมนั่ คง

โครงการ/กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค
8. ธนาคารขยะในโรงเรยี น
1. เพือ่ ใหนกั เรยี นมีจติ สำนึกในการอนุรกั ษ เชงิ ปรมิ าณ
และพัฒนาสง่ิ แวดลอมในโรงเรยี นใหส ะอาด นกั เรียนโร
ปราศจากเชื้อโรค
2. เพ่อื ใหนกั เรียนรูจกั แยกแยะขยะเพ่อื นำ ประถมศกึ ษาป
กลับมาใชใ หม เชงิ คุณภาพ

นกั เรียนมีจ
พฒั นาส่ิงแวดล
ปราศจากเชอ้ื โร

ฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2561 – 2565
พ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2

เปาหมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผูรับผิดชอบ
1,000 ป 2562 ป 2563 ป 2564 1,000
รงเรียนบา นชอ งแคบช้นั 1,000 1,000 1,000 ครูธนาวฒั น
ปท่ี 1 ถึงชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 โปบู

จติ สำนกึ ในการอนุรกั ษแ ละ
ลอมในโรงเรยี นใหส ะอาด
รค

รวม 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000

กรอบการดำเนินงานตามแผนพฒั
โรงเรียนบา นชองแคบ สำนกั งานเขตพ

กลยทุ ธท ี่ 1 จัดการศกึ ษาเพ่ือความมั่นคง

โครงการ/กิจกรรม วตั ถุประสงค
9. ระบบดูแลชว ยเหลือนักเรียน
1. เพ่ือใหส ถานศกึ ษามกี ารจดั ระบบดแู ล เชงิ ปรมิ าณ
ชว ยเหลือผเู รียนทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพและ 1. สถานศกึ ษาม
ครอบคลมุ ถึงผเู รยี นทุกคน ผเู รยี นทม่ี ีประส
2. เพอ่ื ใหครูเยย่ี มบา นนกั เรยี นทกุ คนและนำ ถงึ ผูเ รยี นทกุ คน
ขอมลู ระบบดแู ลชว ยเหลอื ผเู รยี นไปใชใ น 2. ครรู อยละ 8
การวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา และนำขอ มลู ระ
ไปใชใ นการวา
การศึกษา
เชิงคณุ ภาพ

การดำเนิน
นกั เรยี นเปนไป
สมบรู ณ และน
ชวยเหลอื ตามค

ฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2561 – 2565
พ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2

เปา หมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผรู บั ผดิ ชอบ
1,000 ป 2562 ป 2563 ป 2564 1,000
มีการจดั ระบบดูแลชวยเหลอื 1,000 1,000 1,000 ครูเมธณี ี
สทิ ธิภาพและครอบคลมุ คำบรรลอื
น ในระดบั ดี
80 เย่ียมบานนกั เรยี นทุกคน
ะบบดแู ลชวยเหลือผูเ รยี น
างแผนพฒั นาคุณภาพ

นงานตามระบบดแู ลชวยเหลือ
ปอยางเปน ระบบ ครบถว น
นักเรยี นทุกคนไดรบั การ
ความแตกตา งอยา งทัว่ ถึง

รวม 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000

กรอบการดำเนินงานตามแผนพัฒ
โรงเรียนบา นชองแคบ สำนกั งานเขตพ

กลยุทธท ี่ 1 จดั การศึกษาเพ่ือความมัน่ คง

โครงการ/กจิ กรรม วัตถุประสงค
10. โครงการอาหารกลางวนั
1. เพ่อื ใหนักเรยี นทกุ คนไดร บั ประทาน เชิงปริมาณ

อาหารกลางวนั ทมี่ คี ณุ ภาพอยา งเพียงพอ 1. นกั เรียนทุกค

เหมาะสมตอ ความตอ งการของรางกายและ กลางวนั ครบ

สขุ ภาพอนามัยทดี่ ี - ระดบั ชั้นอนุบ

2. เพ่อื ชวยเหลือนักเรียนทยี่ ากจนขาดแคลน วนั = 132

ไดรับทานอาหารกลางวนั - ระดบั ชนั้ ประ

3. เพ่ือใหน ักเรียนทำน้ำยาลา งจานใชใน 200 วนั = 4

โครงการอาหารกลางวันได เชิงคุณภาพ

1. นกั เรยี นไดร

ท่ีเพยี งพอและถ

2. นักเรียนมสี ขุ

ฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2561 – 2565
พื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2

เปาหมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผรู ับผดิ ชอบ
คนไดร บั ประทานอาหาร ป 2562 ป 2563 ป 2564
544,400 544,400 ครูทวีกานต
544,400 544,400 544,400 ศรสี ุวรรณ

บาล 33 × 20 บาท × 200
2,000บาท
ะถมศกึ ษา 103 × 20 บาท ×
412,000บาท

รบั ประทานอาหารในปริมาณ
ถกู หลกั โภชนาการ
ขภาพอนามยั ดขี ้นึ

รวม 544,400 544,400 544,400 544,400 544,400

กรอบการดำเนนิ งานตามแผนพัฒ
โรงเรยี นบา นชอ งแคบ สำนกั งานเขตพ

กลยุทธท่ี 1 จดั การศกึ ษาเพื่อความม่ันคง

โครงการ/กจิ กรรม วตั ถุประสงค

11. เด็กมพี ัฒนาการดา นสติปญญา 1. เพือ่ ใหนักเรียนสนใจเรียนรสู ง่ิ รอบตัว เชงิ ปริมาณ
ซกั ถามอยางต้งั ใจและรักการเรียนรู เดก็ นักเรียน
2. เพื่อใหนกั เรียนมีความคิดรวบยอด
เกี่ยวกบั สิ่งตา งๆทเ่ี กิดข้ึนจากประสบการณ เกณฑการประเมิน
การเรยี นรู สตปิ ญ ญา
3. เพ่ือใหนักเรียนมที ักษะทางภาษาที่ เชิงคณุ ภาพ
เหมาะสมกบั วัย 1. เพื่อใหนกั เรยี น
4. เพอื่ ใหนักเรยี นมีทกั ษะกระบวนการทาง อยา งตัง้ ใจและรัก
วิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร 2. เพื่อใหนักเรยี น
5. เพื่อใหน กั เรียนมจี นิ ตนาการและความคดิ ตางๆท่ีเกดิ ข้นึ จาก
สรางสรรค 3. เพอ่ื ใหนกั เรยี น
วยั
4. เพ่ือใหน ักเรียน
วทิ ยาศาสตรและค
5. เพอื่ ใหนักเรยี น
สรา งสรรค

ฒนาการศึกษา พ.ศ.2561 – 2565
พื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2

เปา หมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผูร ับผิดชอบ
15,000 ป 2562 ป 2563 ป 2564 15,000
นระดบั ชั้นอนบุ าลรอยละ80ผา 15,000 15,000 15,000 ครูวิลาวณั ย
นพฒั นาการทางดานดา น จันหอม

นสนใจเรียนรูสงิ่ รอบตัวซกั ถาม
กการเรยี นรู
นมีความคิดรวบยอดเกยี่ วกบั สิ่ง
กประสบการณการเรียนรู
นมที ักษะทางภาษาท่เี หมาะสมกบั

นมีทกั ษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร
นมีจนิ ตนาการและความคดิ

รวม 15,000 15,000 15,000 15,000 15,000

กรอบการดำเนินงานตามแผนพฒั
โรงเรยี นบานชองแคบ สำนักงานเขตพ

กลยทุ ธท ่ี 2 พัฒนาคุณภาพผเู รียน

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค
1. ความเปน เลศิ ทางวิชาการ
1. เพ่อื จัดกจิ กรรมใหน กั เรียนไดแสดงออกซึง่ เชิงปริมาณ
ความสามารถในดานทกั ษะทางวิชาการ ดนตรี 1. นกั เรยี นมีควา
นาฏศิลป ศลิ ปะ และกฬี า ทกั ษะทางวิชากา
2. เพ่อื จดั กิจกรรมสรางสรรคใหนักเรียนแสดง ทกั ษะทเ่ี ปนประ
ความสามารถที่เปนเลิศดา นวชิ าการศลิ ปะ เกิดจากการแลก
ดนตรี และกฬี า รว มกันรอยละ 8
3. เพื่อเปนลานแหงการแลกเปลยี่ นเรียนรูของ 2. นักเรยี นท่เี ขา
ครู ความสามารถทา
รอ ยละ 5
เชิงคณุ ภาพ
1. นกั เรยี นมีโอก
กิจกรรมทางวิชา
2. บคุ ลากรไดมีโ
เกดิ ทักษะการปฏ
นกั เรยี นและประ
กวางขวาง

ฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2561 – 2565
พื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2

เปาหมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผูร บั ผดิ ชอบ
40,000 ป 2562 ป 2563 ป 2564 45,000
ามรู ความเขา ใจในกิจกรรม 45,000 45,000 45,000 ครูทิพยส ุดา
าร ดนตรี และกฬี า และนำ ขันคำ
ะโยชนมาประยุกตใชในชวี ิต ซึ่ง
กเปลีย่ นเรียนรปู ระสบการณ
80
ารว มแขงขนั ทกั ษะ
างดานวิชาการมผี ลงานเพิ่มข้ึน

กาสเขา รวมกจิ กรรมตา ง ๆ ทง้ั
าการและกิจกรรมสรางสรรค
โอกาสปฏบิ ัติงานรวมกนั ทำให
ฏิบัติงาน สง เสรมิ ศกั ยภาพของ
ะสบการณ การเรยี นรอู ยา ง

รวม 40,000 45,000 45,000 45,000 45,000

กรอบการดำเนินงานตามแผนพฒั
โรงเรยี นบา นชองแคบ สำนกั งานเขตพ

กลยทุ ธท่ี 2 พฒั นาคุณภาพผเู รยี น

โครงการ/กิจกรรม วตั ถุประสงค
2. ทัศนศึกษาแหลง เรยี นรนู อกสถานที่
1. เพ่ือใหนักเรยี นมีทักษะในการแสวงหา เชงิ ปรมิ าณ
ความรูดวยตนเอง รกั การเรียนรู และพัฒนา 1. นักเรียนระด
ตนเองอยูเสมอ 2. นักเรยี นระด
2. เพือ่ ใหน ักเรยี นไดเ รยี นรูดว ย 3. นักเรยี นระด
ประสบการณจ รงิ จากสถานทจ่ี ริง เชงิ คุณภาพ
1. ผูเรยี นรูจักแ
แหลงเรยี นรู แล
2. ผูเรียนมที กั ษ
เขียน และตัง้ ต
เพ่ิมเตมิ
3. ผูเรียนสามา
4. คณะครบู คุ ล
จากแหลง ศึกษา
หนา ทีอ่ ยา งเหม

ฒนาการศกึ ษา พ.ศ.2561 – 2565
พนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2

เปา หมาย ป 2561 งบประมาณ (บาท) ป 2565 ผูร บั ผดิ ชอบ
80,000 ป 2562 ป 2563 ป 2564 80,000
ดบั กอ นประถมศกึ ษาทุกคน 80,000 80,000 80,000 ครูสกุ ญั ญา
ดบั ประถมศกึ ษาทุกคน เอียดแกว
ดับมธั ยมศึกษาตอนตน ทกุ คน

แสวงหาความรดู วยตนเองจาก
ละสื่อตา ง ๆ
ษะในการอา น ฟง พูด ดู
ำถามเพือ่ คนควาหาความรู

ารถเรยี นรรู วมกนั เปน กลุม
ลากรพัฒนาทักษะการเรยี นรู
าเรียนรเู พอื่ พัฒนางานใน
มาะสม

รวม 80,000 80,000 80,000 80,000 80,000


Click to View FlipBook Version