แนวทางการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา
ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
พ.ศ. 2562
สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ
ก
คานา
การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการบริหารและการดาเนินการตามภารกิจปกติของสถานศึกษา
เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพของผ้เู รียน ผรู้ บั บรกิ าร และทาใหเ้ กิดความมัน่ ใจกับผู้รับบริการการศึกษาว่า สถานศึกษาจะ
สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งจากการติดตามผลการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
ที่ผ่านมา พบว่า ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาบางส่วนยังไม่สามารถสะท้อนคุณภาพของการจัดการศึกษา
ได้อย่างแท้จริง และบางส่วนยังไม่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาบางประเภท จึงทาให้คณะกรรมาธิการ
ขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา มีการจัดทาแผนการปฏิรูปกฎหมายเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ
การศึกษา และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพ่ือมุ่งหวังให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเกิดการพัฒนา และมี
ความสอดคล้องกบั บริบทของสถานศกึ ษามากทสี่ ดุ
กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหน่วยงานหลักในด้านการจัดการศึกษาของประเทศ จึงได้มีการออก
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และจัดให้มีการปรับแก้ไขมาตรฐานการศึกษา
ให้สามารถสะท้อนถึงคุณภาพการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการสถานศึกษาได้อย่างแท้จริง เน้นการ
ประเมินคุณภาพจากผลการปฏิบัติงานตามสภาพจริง ไม่ยุ่งยาก และไม่เน้นการใช้เอกสารในการประเมิน
เพ่ือไม่ให้เป็นภาระกับสถานศึกษา ซ่ึงแนวทางการประเมินจะเป็นไปเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษาที่เป็นไปตามบริบทของสถานศึกษา ไม่ใช่เพ่ือการตัดสินว่า “ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน” ดังน้ัน บุคลากร
ในสถานศึกษาทุกคนจึงถือเป็นบุคคลสาคัญที่ต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานในสถานศึกษาเพ่ือให้การจัด
การศกึ ษา และการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาบรรลตุ ามมาตรฐานการศึกษาที่กาหนด
เอกสารเล่มน้ี จดั ทาขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน. หรือผู้ท่ีสนใจ นาไปศึกษาและใช้
เป็นแนวทางในการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา การประเมินคุณภาพการศึกษา และการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาให้บรรลุตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประกาศ ณ วันท่ี
6 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ซ่ึงในเอกสารเล่มนี้ มีเนื้อหาประกอบด้วย ความสาคัญและความจาเป็นในการกาหนด
มาตรฐานการศึกษา แนวคิดในการกาหนดมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐาน
การศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา คาอธิบาย เกณฑ์การพิจารณา และระดับคุณภาพของมาตรฐาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และแนวทางการนามาตรฐานการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
ทั้งน้ี จากเน้ือหาเอกสาร “แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2562” ฉบับนี้ สถานศึกษาสามารถนาไปพัฒนา หรือปรับแก้ไขให้เหมาะกับ
สภาพบริบท และการดาเนินงานตามสภาพจริงของสถานศึกษาได้ตามความเหมาะสม แต่ต้องสามารถสะท้อน
คุณภาพการจัดการศึกษาและการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาได้อยา่ งแท้จริง เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนดไว้ เพื่อให้สาธารณชนเกิดความม่ันใจว่า
สถานศกึ ษาจะสามารถจดั การศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ
ข
สานักงาน กศน. หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครู และ
บคุ ลากรในสงั กัดสานักงาน กศน. ตลอดจนผู้ที่มีความสนใจ สาหรับนาไปศึกษาและใช้เป็นแนวทางในการประเมิน
คุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ต่อไป
(นายดิศกุล เกษมสวัสดิ์)
เลขาธิการ กศน.
มีนาคม 2563
ค
สารบญั
หนา้
คานา ก
สารบญั ค
ส่วนท่ี 1 บทนา 1
1
ความสาคญั และความจาเปน็ ในการกาหนดมาตรฐานการศึกษา 4
แนวคดิ ในการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 9
มาตรฐานการศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา 12
วัตถุประสงค์ของการจัดทาเอกสาร 12
การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
ส่วนท่ี 2 คาอธิบาย เกณฑ์การพจิ ารณา และระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ 14
18
และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 63
83
มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 95
95
มาตรฐานการศึกษาต่อเน่ือง 99
99
มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย 100
สว่ นท่ี 3 แนวทางการนามาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบัติ
แนวทางการนามาตรฐานการศกึ ษาสู่การปฏบิ ัติ ระดับสถานศึกษา
แนวทางการนามาตรฐานการศกึ ษาสู่การปฏบิ ัติ ระดับสานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม.
แนวทางการนามาตรฐานการศกึ ษาสู่การปฏบิ ตั ิ ระดบั สานักงาน กศน.
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ตัวอยา่ ง การประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาเพือ่ การประกันคณุ ภาพ
ภายในของสถานศึกษา 102
ภาคผนวก ข ค่าเปูาหมายของสถานศึกษาเพ่ือใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 108
ภาคผนวก ค ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร ว่าด้วยการจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง พ.ศ. 2554 114
ภาคผนวก ง กฎกระทรวง กาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคุณภาพภายใน สาหรับ
สถานศึกษาทจี่ ัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 119
ภาคผนวก จ กฎกระทรวง การประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 124
ภาคผนวก ฉ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย พ.ศ. 2562 128
ภาคผนวก ช มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ. 2561 133
ภาคผนวก ซ เกณฑก์ ารเทยี บคะแนนกับระดบั คณุ ภาพ 144
รายชื่อผู้เก่ียวขอ้ งกบั การพัฒนามาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยให้
สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาชาติ พ.ศ. 2561 146
คณะดาเนนิ งานจัดทาเอกสารแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2562 150
ส่วนที่ 1
บทนา
ความสาคัญ และความจาเป็นในการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษา
การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคนให้มีคุณภาพ ถือเป็นเร่ืองสาคัญท่ีจะต้องทาให้ศักยภาพท่ีมีอยู่ในตัว
ของบุคคลแตล่ ะคนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มท่ี เพื่อทาให้เป็นคนรู้จักคิด วิเคราะห์ รู้จักการแก้ไขปัญหา มีความคิด
ริเร่มิ สร้างสรรค์ รจู้ กั การเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถปรบั ตวั ให้ทันกบั การเปล่ียนแปลงทางสังคมท่ีเกิดขึ้น มีคุณธรรม
จริยธรรม สามารถพึ่งตนเองและสามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ
จึงต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาสถานศึกษาเป็นหลัก เนื่องด้วยสถานศึกษาเป็นหน่วยงานหลักในการทาหน้าที่
ในการจดั การศึกษาให้แก่ประชาชน (สานักงาน กศน., 2561)
ปจั จุบนั สถานศกึ ษาส่วนใหญ่มีความแตกต่างกนั ทั้งในลักษณะของกลมุ่ เปูาหมายที่เป็นผู้เรียน ผู้รับบริการ
งบประมาณ และบุคลากรที่ปฏิบัติงาน รวมถึงปัจจัยในด้านอื่น ๆ ด้วย เช่น ความพร้อมด้านเทคโนโลยี สื่อ
สารสนเทศ ศกั ยภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงาน และภาคีเครือข่ายที่เข้ามาร่วมในการจัดการศึกษา
เป็นต้น ซึ่งส่ิงเหล่านี้ย่อมเป็นปัจจัยท่ีส่งผลต่อกระบวนการจัดการศึกษา ทั้งสิ้น ประกอบกับสภาพบริบท
ความต้องการของสถานศึกษา และชุมชน ท้องถ่ิน ส่งผลทาให้คุณภาพของการบริหารจัดการสถานศึกษา
และคุณภาพของผู้เรียนในสถานศึกษาแต่ละแห่งมีความแตกต่างกัน การประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นกลไก
สาคัญท่ีจะช่วยตรวจสอบ และกระตุ้นให้หน่วยงานทางการศึกษามีการควบคุมคุณภาพการศึกษาได้อย่างต่อเนื่อง
สอดคล้องกับสถานการณ์ทางสังคมทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป ซ่ึงระบบการประกันคุณภาพการศึกษาได้ถูกกาหนดไว้อย่างชัดเจน
ในพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 ทก่ี าหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบกับในมาตรา 48 กาหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและ
สถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่า การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วน
หน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อ
หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาตอ่ ไป
อย่างไรก็ตาม จากการติดตามผลการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาที่ผ่านมา พบว่า
ผลการดาเนนิ งานเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการประเมินคุณภาพภายนอกของการศึกษาระดับ
ต่าง ๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 จนถึงปัจจุบัน ท้ังของภาครัฐและเอกชน ตลอดจนสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้สาหรับ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีการประเมินคุณภาพภายนอกผ่านมาแล้วน้ัน พบว่า
การประเมินคุณภาพบางส่วนยังไม่สามารถสะท้อนการมีคุณภาพของการจัดการศึกษาได้อย่างแท้จริง และบางส่วนยังไม่
สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาบางประเภท ซ่ึงมีเปูาหมายของการจัดการศึกษาที่มีความแตกต่างกัน จึงทาให้
คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา มีการจัดทาแผนการปฏิรูปกฎหมายเกี่ยวกับการประกัน
คุณภาพการศึกษา และกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง เพื่อมุ่งหวังให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเกิดการพัฒนา และมี
ความสอดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศึกษามากทสี่ ุด (สานกั กรรมาธิการ 3 สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร, 2561)
2
กระทรวงศึกษาธิการถือเป็นหน่วยงานหลักในด้านการจัดการศึกษาของประเทศ จึงมีการกาหนด
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้ึน โดยมุ่งให้สถานศึกษาแต่ละแห่งต้องจัดให้มีระบบ
การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาแตล่ ะระดบั และแต่ละประเภทการศกึ ษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด
พ ร้ อ ม ทั้ ง จั ด ท า แ ผ น พั ฒ น า ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ที่ มุ่ ง พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า
และดาเนินการตามแผนท่ีกาหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผล
การประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี และเพ่ือให้
การดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงาน
ที่กากับดูแลสถานศึกษามีหน้าที่ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนาสถานศึกษา เพ่ือให้การประกันคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษาเกิดการพฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง
จากสถานการณ์และความสาคัญดังกล่าว สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย หรือสานักงาน กศน. ในฐานะหน่วยงานหลักที่มีบทบาทหน้าท่ีในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
การส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ
เพ่อื ส่งเสรมิ การศกึ ษาตลอดชวี ิตของประชาชน จึงได้ดาเนินการพัฒนามาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยของสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน. ข้ึน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา หรือ
ผูแ้ ทนสถานศึกษาจากทุกประเภทให้เข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดและพัฒนามาตรฐานการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีการตั้งเปูาหมายว่า “มาตรฐานการศึกษาท่ีกาหนด” ต้องเป็นมาตรฐานการศึกษาที่
สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง สามารถนาไปประเมินได้จริงตามศักยภาพของสถานศึกษา สามารถสะท้อนคุณภาพ
การศึกษาได้จริง มุ่งให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาในแต่ละประเภทของสถานศึกษาในสังกัด
สานักงาน กศน. ซ่ึงประกอบด้วย การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และ
การศกึ ษาตามอัธยาศัย
สาหรับการพัฒนามาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในแต่ละมาตรฐานและ
ในแต่ละประเด็นการพิจารณาตามรายมาตรฐาน น้ัน ได้มีการวิเคราะห์ และกาหนดให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศ
กาหนด ประกอบกับข้อกาหนดในกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 กฎกระทรวง กาหนด
ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สาหรับสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555
และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาต่อเนื่อง พ.ศ. 2554 รวมถึงสภาพบริบท และบทบาท
หนา้ ท่ใี นการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาทุกประเภทโดยภาพรวมในสังกัดสานักงาน กศน. ผนวกกับการวิเคราะห์
ข้อมูลทางสังคมที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 และหลักการ นโยบายด้านการศึกษา เป็นต้น เพื่อการกาหนด
มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีความน่าเชื่อถือ สอดคล้องกับแนวทางการกาหนด
มาตรฐานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร
ซ่ึงจากการดาเนินการพัฒนามาตรฐานการศึกษา จึงมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยไว้ 3 ประเภท คือ มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐาน
การศึกษาต่อเนื่อง และมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงในมาตรฐานการศึกษาแต่ละประเภทจะมุ่งพิจารณา
3
คุณภาพใน 3 ด้าน คือ คุณภาพของผู้เรียนหรือผู้รับบริการ คุณภาพการจัดการศึกษา และคุณภาพการบริหาร
จดั การของสถานศกึ ษา
ทั้งนี้ จากการพัฒนามาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้มีการนากรอบเน้ือหา
และประเด็นการพิจารณาตามรายมาตรฐานการศึกษาดังกล่าว เสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และ
ประสานความร่วมมือการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือขอรับข้อเสนอแนะเก่ียวกับมาตรฐาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในการประชุมคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสาน
ความร่วมมือการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย คร้ังที่ 1/2561 เม่ือวันที่ 14 พฤศจิกายน 2561
ณ หอ้ งประชมุ ราชวัลลภ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ และได้มีการจัดส่งกรอบเน้ือหา และประเด็นการ
พจิ ารณาตามรายมาตรฐานการศึกษาดงั กลา่ วไปขอความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะจากผ้อู านวยการสานักงาน กศน.
จงั หวัด หรือศึกษานิเทศก์ และผู้อานวยการสถานศึกษา หรือผู้ที่รับผิดชอบหลักด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาทุกแห่งในสังกัดสานักงาน กศ น. ผ่านการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นออนไลน์
จากผลการสารวจความคิดเห็น พบว่า กลุ่มเปูาหมายมากกว่าร้อยละ 95 มีความเห็นท่ีดีต่อกรอบเน้ือหา
และประเด็นการพิจารณาตามรายมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในทุกประเด็น
สานักงาน กศน. จึงมีการนาเสนอมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยต่อปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ (นายประเสริฐ บุญเรือง) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางกนกวรรณ วิลาวัลย์) และ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) ตามลาดับ ส่งผลให้กระทรวงศึกษาธิการได้
ประกาศใช้ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประกาศ
ณ วันท่ี 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ซึ่งมาตรฐานการศึกษาถือเป็นข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่
พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง เพ่ือใช้เป็นหลักในการเทียบเคียง สาหรับการ
ส่งเสริมและกากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปในทิศทาง
เดยี วกนั และยังเป็นโอกาสในการสรา้ งความเทา่ เทยี มกนั ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การกาหนดให้มีมาตรฐานการศึกษา ให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษา 2 ประการ คือ 1) สถานศึกษา
ทุกแห่งต้องมีเกณฑ์เปรียบเทียบกับมาตรฐานการศึกษาที่เป็นมาตรฐานการศึกษาเดียวกัน และ 2) มาตรฐาน
การศึกษาจะทาให้สถานศึกษาเข้าใจชัดเจนว่าจะพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปในทิศทางใด มาตรฐานการศึกษา
จึงถือเป็นจุดเริ่มต้นหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ร่วมกัน ดังน้ัน
มาตรฐานการศึกษาจึงเป็นสิ่งสาคัญที่ทุกคนท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาต้องรับรู้ เรียนรู้ และปฏิบัติ
ตามความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเองอย่างเต็มศักยภาพ เพื่อให้บรรลุตามเปูาหมายของมาตรฐานการศึกษา
ทก่ี าหนดไว้ และรว่ มกนั รับผิดชอบในผลของการจดั การศกึ ษาทีเ่ กิดข้ึนดว้ ย
มาตรฐานการศึกษามีประโยชนต์ อ่ บุคคลและภาคีเครือขา่ ยที่เข้ามาเกย่ี วข้องกับการจดั การศึกษา ดังนี้
1. ผู้เรียน สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองตามความคาดหวังของตนเอง สถานศึกษา สังคม และ
ประเทศชาติ เชน่ ผู้เรยี นต้องมคี วามรู้ ความสามารถ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะท่ีดีตามท่ีกาหนด
ไวใ้ นมาตรฐานการศกึ ษา เปน็ ตน้
2. ครู สามารถใช้มาตรฐานการศึกษาไปเป็นกรอบแนวทางในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ และเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองตามคุณลักษณะ และคุณสมบัติที่กาหนดไว้ในมาตรฐาน
การศกึ ษา
4
3. ภาคีเครือข่าย สามารถใช้มาตรฐานการศึกษาไปเป็นกรอบแนวทางในการส่งเสริม สนับสนุน และ
ร่วมมือจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือการส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่
ประชาชน
4. พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ประชาชน และผูน้ าชมุ ชน สามารถใช้มาตรฐานเป็นเครื่องมือสื่อสารให้ประชาชน
ได้รับทราบกระบวนการจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ อันจะทาให้ประชาชนในชุมชน ท้องถิ่นเกิดความเข้าใจ
และตัดสินใจเข้ามาร่วมส่งเสริม สนับสนุน หรือเป็นภาคีเครือข่ายในการเข้ามาจัดหรือร่วมจัดการศึกษา รวมถึง
การช่วยยกระดบั คุณภาพผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนด
5. ประเทศชาติ สามารถใช้มาตรฐานเป็นเครื่องมือที่จะทาให้ทุกองค์ประกอบของระบบการศึกษา
ขับเคล่อื นไปในทิศทางเดยี วกนั และมเี ปูาหมายเดียวกัน สง่ ผลตอ่ ภาพสะทอ้ นท่ดี ีตอ่ การจดั การศึกษา
โอกาสนี้ เพอ่ื เป็นการเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็ง และการเตรยี มความพร้อมในการดาเนินงานด้านการประกัน
คุณภาพภายในให้แก่ผู้บริหาร และบุคลากรของสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน. โดยการสร้างความรู้
ความเข้าใจในการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประกาศ ณ วันท่ี 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562
สานักงาน กศน. จึงได้จัดทาเอกสาร “แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2562” ขึ้น เพ่ือให้หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน.
ตลอดจนผู้ที่มีความสนใจ นาไปใช้เป็นแนวทางในการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การประเมิน
คุณภาพการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อให้บรรลุตามเปูาหมายของมาตรฐานการศึกษาที่กาหนด
ไว้ตอ่ ไป
แนวคดิ ในการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
การท่ีสถานศึกษาจะจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ัน ต้องมีองค์ประกอบท่ีสาคัญหลายประการ
ได้แก่ การกาหนดภารกิจของสถานศึกษาที่ชัดเจน การกากับติดตามงานสม่าเสมอ การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน การมีความเป็นผู้นาด้านการจัดการเรียนรู้ท้ังครูและผู้บริหาร มีการสร้างโอกาสใน
การเรียนรู้และให้เวลาผู้เรียน มีการจัดส่ิงแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ สะอาด และปลอดภัย มีการจัดหลักสูตรท่ี
ชัดเจนสอดคล้องกับเปูาหมาย มีการใช้กลวิธีในการประเมินท่ีหลากหลาย มีการจัดการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนมี
ความสนใจ กระตือรอื ร้นในการเรียนรู้ พัฒนางานอยู่บนพ้ืนฐานของงานวิชาการและการวิจัย ใช้แหล่งเรียนรู้ท่ีมีอยู่
อย่างเต็มท่ีและมีการวางแผนการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ (สานักทดสอบทางการศึกษา, 2561) ซึ่งจาก
แนวคิดในการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาดังกล่าว ประกอบกับแนวคิดในการพัฒนามาตรฐาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่ว่า มาตรฐานการศึกษาท่ีกาหนดต้องเกิดขึ้นจากการมีส่วนร่วม
ของผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้แทนสถานศึกษาทุกประเภทในสังกัดสานักงาน กศน. ศึกษานิเทศก์ ข้าราชการครู
และนักวชิ าการศกึ ษา และต้องเป็นมาตรฐานข้ันต่าของหน่วยงานต้นสังกัด สาหรับนาไปใช้กับสถานศึกษาในสังกัด
สานักงาน กศน. ซึ่งการกาหนดมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้จัดทาขึ้นโดยการนา
ผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของการศึกษาระดับชาติ และผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของแต่ละระดับและประเภทการศึกษา
ท่ีปรากฏอยู่ในมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 มาเป็นกรอบในการกาหนดมาตรฐานการศึกษา ประกอบกับ
การวิเคราะห์พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มาตรฐาน
การศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด ข้อกาหนดในกฎกระทรวงการประกัน
5
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 กฎกระทรวง กาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สาหรับ
สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษา
ต่อเนื่อง พ.ศ. 2554 รวมถึงสภาพบริบท และบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทุกประเภทโดย
ภาพรวมในสังกัดสานักงาน กศน. และข้อมูลทางสังคมที่เก่ียวข้อง เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 และหลักการ นโยบายด้านการศึกษา
เพื่อให้ได้มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีความน่าเชื่อถือ สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 และมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศ
กาหนด ท่ีสามารถนาไปใช้ปฏิบัติได้จริง สามารถนาไปประเมินได้จริง สามารถสะท้อนคุณภาพการศึกษา
ได้จริง มุ่งให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาในแต่ละประเภทในสังกัดสานักงาน กศน. ดังน้ัน
จากการกาหนดมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา
ไวต้ ามประเภทการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาในสงั กดั สานักงาน กศน. ซ่งึ ประกอบดว้ ย
1. มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
2. มาตรฐานการศกึ ษาต่อเน่ือง
3. มาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศยั
ซง่ึ ในแต่ละประเภทของมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยดังกล่าวข้างต้น ได้มีการกาหนด
ประเด็นการพิจารณาคุณภาพไว้ 3 ด้าน คือ 1) คุณภาพของผู้เรียนหรือผู้รับบริการ 2) คุณภาพการจัดการศึกษา
และ 3) คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งในแต่ละด้านมีแนวคิดในการกาหนดประเด็นการพิจารณา
คณุ ภาพในแตล่ ะด้านไว้ ดังนี้
1. แนวคิดในการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาดา้ นคุณภาพของผู้เรียนหรอื ผรู้ บั บริการ
คุณภาพของผู้เรียน ได้ถูกระบุไว้อย่างชัดเจนในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 6 ท่ีว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไป
เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ (หมายถึง สุขกาย สุขใจ) สติปัญญา ความรู้ (หมายถึง
เป็นคนเก่ง) และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข
และในมาตรา 7 ที่ว่า “ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝัง จิตสานึกท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง การปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เ คารพ
กฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์
ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมท้ัง ส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถ
ในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ใฝุรู้และเรียนรู้ ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง”
ประกอบกับตามหลักการส่วนหน่ึงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
ได้ระบไุ วว้ า่ ต้องยึด “คนเป็นศูนยก์ ลางการพัฒนา” มงุ่ สร้างคุณภาพชีวิตและสุขภาวะท่ีดีสาหรับคนไทย พัฒนาคน
ให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝุรู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติท่ีดี รับผิดชอบต่อสังคม
มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ รวมถึง
การสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับสิ่งแวดล้อมอย่างเก้ือกูล อนุรักษ์ฟื้นฟู ใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดล้อมอย่างเหมาะสม
6
ซ่ึงในปัจจุบันรัฐบาลได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศแบบ
องค์รวมท่ีเชื่อมโยงกับมิติเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ศาสนา และการเมือง เพ่ือสร้างศักยภาพและคนไทยให้เป็น
กาลังคนที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสมบูรณ์ท้ังทางร่างกายและจิตใจ สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
และแสวงหาความรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ตลอดจนเป็นผู้ที่มีทักษะ ความรู้ ความสามารถท่ีจาเป็นต่อการดาเนินชีวิต
ในโลกศตวรรษท่ี 21 และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561 เห็นชอบ “มาตรฐานการศึกษา
ของชาติ พ.ศ. 2561” เพื่อเป็นข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ของคนไทย เพ่ือให้หน่วยงาน
องค์กรหลักของกระทรวงศึกษาธิการที่เก่ียวข้องได้ร่วมดาเนินการผลักดันโดยการนามาตรฐานการศึกษาของชาติ
ดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
ของชาตติ ่อไป (สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2561)
ดังนั้น จากความสาคัญและสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น ในการกาหนดมาตรฐานการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ด้านคุณภาพของผู้เรียน หรือผู้รับบริการ นั้น จึงมุ่งเน้นท่ีการพัฒนาผู้เรียน
หรือผู้รับบริการให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะท่ีดี (เช่น ความมีวินัย ความขยัน
ความซ่ือสัตย์ และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นต้น) มีความรู้ ความสามารถสอดคล้องตามจุดมุ่งหมาย
หรือวตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร มที กั ษะทจี่ าเป็นสาหรับการดารงชีวิตที่ดี (เช่น การอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์
คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ การแก้ไขปัญหา การเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี เป็นต้น) มีสุขภาวะและสุนทรียภาพท่ีดี โดย
ยึดค่านิยมร่วมของสังคม (ความเพียรอันบริสุทธิ์ ความพอเพียง วิถีประชาธิปไตย ความเท่าเทียมเสมอภาค) มาเป็น
ฐานในการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้เรียนรู้ ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม และเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง อันจะส่งผลให้เกิด
ความมั่นคง มงั่ คัง่ และย่งั ยืนของประเทศ หรือที่เรยี กวา่ ลกั ษณะของคนไทย 4.0 ตอ่ ไป
2. แนวคิดในการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาดา้ นคุณภาพการจัดการศกึ ษา
กา รพั ฒน าคุณภ าพการ ศึกษา เป็ นกร ะบ วน กา รเ ปล่ี ย นแ ปล ง ห รือ ปรั บ ปรุ งพั ฒน าการ จั ด
การศึกษาเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ และจะต้องสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้ปกครอง ชุมชน และ
สังคมโดยท่ัวไป ทั้งน้ี การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ต้องอาศัยความรับผิดชอบ
ร่วมในระดับประเทศ และระดับสถานศึกษาโดยต้องคานึงถึงองค์ประกอบที่สาคัญ 5 ประการ ได้แก่ หลักสูตร
ส่ือการสอนและเทคโนโลยี การประเมินผลผู้เรียน การพัฒนาครู การประเมินคุณภาพสถานศึกษา และการ
สนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษา (รัตนา ดวงแก้ว, 2557) ซึ่งในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 ได้กาหนดแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้
ของสถานศึกษาและหน่วยงานที่เก่ียวข้องไว้ดังนี้ คือ ต้อง 1) จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคลองกับความสนใจ
และความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 2) ให้มีการฝึกทักษะกระบวนการคิด การ
จัดการ การเผชิญปัญหาสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือปูองกันและแก้ไขปัญหา 3) จัดกิจกรรมให้
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝุรู้อย่างต่อเนื่อง
4) การจัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ังปลูกฝังคุณธรรม
ค่านิยมท่ีดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ 5) ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ
สภาพแวดลอ้ ม ส่ือการเรียนและอานวยความสะดวก เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถ
ใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ 6) ให้ผู้เรียนและผู้สอนเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอน
และแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ 7) ให้การเรียนรู้เกิดข้ึนได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับบิดา
มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝุาย เพ่ือร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ นอกจากนี้ ยังมีการระบุถึง
7
วธิ กี ารประเมินผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ไววา ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผลผู้เรียน โดยพิจารณาจากพัฒนาการ
ของผู้เรยี น ความประพฤติ การสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการ
เรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ,
มปป.) จากแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ดังกล่าว จึงกล่าวได้ว่า การจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการเรียนการ
สอน ถือเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซ่ึงจะบ่งบอกถึงคุณภาพการจัดการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ
ซึ่งในปัจจุบันการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการเรียนการสอนท่ีเป็นที่ยอมรับกันว่าสามารถส่งเสริมให้ผู้เรียน
ผู้รับบริการเกิดการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริงน้ัน ต้องเน้นที่ตัวของกลุ่มเปูาหมาย และเน้นการฝึกปฏิบัติ หรือลงมือทา
มากกวา่ การเรียนรู้ในเชิงทฤษฎีเพียงอย่างเดียว เพื่อให้ผู้ที่ผ่านการจัดกระบวนเรียนรู้ตามหลักสูตรของสถานศึกษา
มีกระบวนการคิด และการปฏิบตั ทิ ่ีสามารถนาความรู้ที่ได้รบั ไปสกู่ ารใช้หรอื ประยกุ ต์ใช้ได้ในการดาเนนิ ชีวติ
ดังนน้ั ในการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ด้านคุณภาพ
การจัดการศึกษา จึงมุ่งเน้นที่การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา การจัดหาหรือพัฒนาสื่อหรือนวัตกรรมและ
สภาพแวดลอ้ มที่เอือ้ ตอ่ การจัดการเรียนรู้ มีการใช้และพัฒนาบุคลากรท่ีทาหน้าท่ีในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้มี
ความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ตรงตามหลักสูตรหรือกิจกรรมท่ีจัดการเรียนรู้ รวมถึง
มีการกาหนดแนวทางการตรวจสอบ วัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยการใช้เครื่องมือ
หรือวิธีการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของหลักสูตร รวมถึงการแลกเปล่ียน
เรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับแก่กลุ่มเปูาหมายท่ีผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือเป็นการสะท้อนให้เห็นว่า
ผู้เรียน ผู้รับบริการต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ หรือทักษะ หรือคุณลักษณะเป็นไปตามจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของ
หลักสูตรหรือกิจกรรมท่ีจัดการเรียนรู้ และส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้เรียน และผู้รับบริการ และเพื่อการนาไปสู่
การปรบั ปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ ต่อไป
3. แนวคดิ ในการกาหนดมาตรฐานการศึกษาดา้ นคณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา
ตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ได้กาหนดทิศทางการบริหารไว้ในมาตรา 39 ว่าให้กระทรวงศึกษาธิการกระจายอานาจ
การบริหารและจัดการศึกษาให้แก่พื้นที่ และสถานศึกษา โดยแบ่งขอบข่ายงานการบริหารสถานศึกษาไว้ 4 ด้าน
ประกอบด้วย ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารท่ัวไป ประกอบกับ
ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และกฎกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สาหรับสถานศึกษาที่จัด
การศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
พ.ศ. 2551 ไดก้ าหนดใหส้ ถานศกึ ษาต้องดาเนินการ ดังนี้ 1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2) จัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจาปี 3) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
และแผนปฏิบัติการประจาปี 4) จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 5) จัดให้มีการประเมินคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 6) จัดทารายงานการประเมินตนเองประจาปี
7) เสนอรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และภาคีเครือข่าย
และเผยแพร่ต่อสาธารณชน 8) นาผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผน เพ่ือพัฒนา
คุณภาพการศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย 9) จัดระบบบริหารและ
สารสนเทศของสถานศึกษา และ 10) ยึดหลักการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา บุคลากรทุกคนใน
สถานศึกษา ภาคีเครอื ขา่ ย และผ้รู ับบรกิ าร
8
สถานศึกษาจึงมีอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบการบริหารสถานศึกษา เพื่อให้เกิดผล
การจดั การศกึ ษาทมี่ ีประสิทธิภาพสอดคล้องตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 และมาตรฐานการศึกษา
ที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด รวมถึงเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด
ซ่ึงผลท่ีเกิดขึ้นจากการจัดการศึกษาของแต่ละสถานศึกษาน้ัน อาจเกิดข้ึนแตกต่างกันออกไป ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับ
ศักยภาพและบริบทของสถานศึกษา และสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และความคาดหวัง
ของประชาชนทอี่ ยูใ่ นชมุ ชนทส่ี ถานศึกษาตงั้ อยดู่ ว้ ย
ดังนั้น ในการกาหนดมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ด้านคุณภาพ
การบริหารจัดการของสถานศึกษา จึงมุ่งเน้นท่ีการจัดระบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาท่ีเน้นการมีส่วนร่วม
ของบุคลากรในสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือข่าย และผู้ที่เก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาตามบทบาทหนา้ ที่ ในการร่วมกนั กาหนดและจดั ทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัด
การศึกษาหรือแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี นาไปสู่การปฏิบัติงานตามแผนของ
สถานศึกษา และจัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน จัดให้มีการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศท่ีเป็น
ผลมาจากการดาเนินงานตามสภาพจริงของสถานศึกษา และจัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา พร้อมทั้งจัดทารายงานการประเมินตนเองประจาปี ต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และภาคีเครือข่าย แล้วนาผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่งของการ
วางแผน ร่วมกับการศึกษาวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการของสถานศึกษา เพ่ือมุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาอย่างต่อเน่ือง และเพื่อเป็นการสนับสนุนการพัฒนาประชาชนคนไทยให้ได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียม
สามารถเป็นผู้เรียนรู้ ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม และการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ตามผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของ
การศึกษาท่ีกาหนดไว้ในมาตรฐานการศกึ ษาของชาติต่อไป
ทั้งนี้ ในการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยได้มีการกาหนดเกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพของแต่ละมาตรฐาน แต่ละด้าน และในแต่ละประเด็น
การพิจารณาไว้ 5 ระดับ คือ ระดับกาลังพัฒนา ระดับปานกลาง ระดับดี ระดับดีเลิศ และระดับยอดเย่ียม
ดังรายละเอยี ดท่ปี รากฏอยู่ในคาอธิบาย เกณฑ์การพิจารณา และระดับคุณภาพของมาตรฐานการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในสว่ นท่ี 2 ของเอกสารเล่มน้ี
9
มาตรฐานการศกึ ษากบั การประกันคุณภาพการศกึ ษา
มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพท่ีพึงประสงค์และมาตรฐานท่ีต้องการ
ใหเ้ กดิ ขน้ึ ในสถานศกึ ษาทุกแห่ง เพอ่ื ใช้เป็นหลักในการเทียบเคยี ง สาหรบั การส่งเสริมและกากับดูแล การตรวจสอบ
การประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มาตรฐานการศึกษาท่ีกาหนดข้ึน
จึงสามารถใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการส่งเสริม กากับดูแล ตรวจสอบ ประเมินผลและการประกัน
คณุ ภาพการศึกษา
ดังน้ัน การกาหนดให้มีมาตรฐานการศึกษาจึงมีความสาคัญต่อการจัดการศึกษา คือ ทาให้สถานศึกษา
มีเกณฑ์การเปรียบเทียบท่ีเป็นมาตรฐานการศึกษาเดียวกัน ถึงแม้สถานศึกษาแต่ละแห่งจะมีสภาพบริบท
หรือข้อจากัดที่แตกต่างกัน และมาตรฐานการศึกษายังทาให้สถานศึกษามีเปูาหมาย ทิศทางในการที่จะพัฒนา
คุณภาพการศึกษาที่ชัดเจน เป็นการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา เพ่ือประเมินความก้าวหน้า หรือประเมิน
คุณภาพภายนอกเพื่อการตรวจสอบ ยืนยันผลการประเมินคุณภาพภายในจึงเป็นแนวทางหน่ึงในการกระตุ้น
การปฏบิ ัติงานในด้านการบริหารและการจัดการศึกษา นอกจากนี้การกาหนดมาตรฐานการศึกษายังเป็นการกาหนด
ความคาดหวังให้กับครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ประชาชน ชุมชน สังคม และหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องใน
การจัดการศึกษา เพราะหากไม่มีมาตรฐานการศึกษา สาธารณชนก็จะไม่ทราบว่าสาระสาคัญที่แท้จริงของการจัด
การศึกษาเป็นอย่างไร การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันต้องเป็นไปในทิศทางใด คุณภาพการจัดการศึกษาแต่ละแห่งมี
จดุ เด่น จดุ ทคี่ วรพฒั นาในเร่ืองใดบ้าง เนื่องจากไม่มีเคร่ืองชี้วัดเทียบเคียง ทาให้ขาดความรับผิดชอบต่อสาธารณชน
การกาหนดให้มีมาตรฐานการศึกษาทาให้สถานศึกษาต้องถือเป็นความรับผิดชอบที่จะทาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตาม
มาตรฐาน ซ่ึงผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรของสถานศึกษาต้องจัดการเรียนรู้ให้ได้มาตรฐานมีคุณภาพการ
บริหารจัดการ ตลอดจนคุณภาพด้านการจัดสถานศึกษาให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ และมีกิจกรรม โครงการที่
ส่งเสริม สนับสนุน และเสนอต่อหน่วยงานโดยต้นสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ รวมถึงนโยบายของรัฐ และมาตรฐาน
ยงั เปน็ แนวทางให้สาธารณชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้การสนับสนุน ส่งเสริมสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ ได้
เพือ่ ให้คณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษาเปน็ ไปตามความคาดหวังของชมุ ชนและสังคมตอ่ ไป
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของระบบการบริหารคุณภาพการศึกษา
ที่มีความต่อเนื่องเป็นวงจร เพื่อสร้างความม่ันใจให้กับผู้เรียนหรือผู้รับบริการ ว่าจะได้รับการบริการ การจัด
การศึกษาที่มีคุณภาพ เร่ิมตั้งแต่ปัจจัยปูอนในการจัดการศึกษา กระบวนการจัดการศึกษา และผลผลิต/ผลลัพธ์
ท่เี กดิ ข้นึ จากการจดั การศึกษาภายใตบ้ รบิ ทของสถานศกึ ษานั้น ๆ ระบบการประกันคุณภาพจึงเป็นระบบท่ีทาให้เห็นถึง
แนวทางปฏิบัติที่จะนาไปสู่ผลผลิตที่มีคุณภาพ เป็นการรวมสิ่งต่าง ๆ ซ่ึงมีลักษณะซับซ้อนให้ประสานเป็น
หนง่ึ เดยี ว โดยมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ คือ การวางแผนพัฒนาคุณภาพ การควบคุมคุณภาพและการปรับปรุงคุณภาพ
และผลการปฏิบัตจิ ะต้องเปน็ ไปตามมาตรฐานหรือข้อกาหนดของการสร้างความพอใจให้กับผู้เรียนและการมีต้นทุน
การดาเนินงานที่เหมาะสม ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นการทากิจกรรมหรือการปฏิบัติภารกิจหลัก
อยา่ งมีระบบตามแบบแผนท่ีกาหนดไว้โดยระบบการประกันคุณภาพการศึกษาประกอบด้วยองคป์ ระกอบ 3 ด้าน คอื
1. ด้านการพัฒนาคุณภาพ เป็นองค์ประกอบของขั้นตอนการวางระบบการทางานท่ีใช้หลักการร่วมมือ
รวมพลังเป็นขั้นตอนท่ีผู้ปฏิบัติงานของสถานศึกษาทุกฝุายได้ร่วมกันทาความเข้าใจเกี่ยวกับการกาหนดเปูา หมาย
การปรับปรุงพัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ตามมาตรฐาน ท่ีกาหนดไว้ อีกท้ังมีการกาหนดกระบวนการ
ควบคุม และการถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลผลิตตามที่กาหนดไว้ และต้องบอกให้ได้ว่าการทางานท่ีมี
คุณภาพนั้นต้องมีลักษณะอย่างไร และผลงานท่ีมีคุณภาพต้องเป็นอย่างไร ต้องมีการวิเคราะห์ความเชื่อมโยง
10
ระหว่างมาตรฐานกับโครงการกิจกรรมในแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา และรวมท้ังสามารถนาข้อค้นพบท่ีได้จาก
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ไปสู่การวางแผนและลงมือพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ต่อไป ตลอดจนเป็นข้ันตอนการ
ดาเนินงานที่เกี่ยวกับการกาหนดเกณฑ์คุณภาพ หรือมาตรฐาน ตัวบ่งช้ี ร่วมกันของสถานศึกษา มีการนาข้อมูล
สารสนเทศที่เก่ียวข้องมาใช้ในการดาเนินงาน และการจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของ
สถานศกึ ษา
2. ด้านการติดตาม ตรวจสอบ เปน็ องค์ประกอบของข้ันตอนการดาเนินงานท่ีเก่ียวข้องกับการควบคุม กากับ
ดูแล ติดตามตรวจสอบ ความก้าวหน้าการดาเนินงานของการปฏิบัติงานตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ
จัดทารายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา พร้อมท้ังเสนอแนะมาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา ว่าสถานศึกษาหรือผู้ปฏิบัติงานมีการดาเนินงานหรือจัดการศึกษาเป็นไปตามเกณฑ์
คุณภาพหรอื มาตรฐานท่ีได้ตกลงรว่ มกนั หรือไม่ หากการดาเนินงานยังไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์คุณภาพ ผู้บริหารหรือผู้ที่
เกี่ยวข้องจะต้องเข้าไปร่วมแก้ไข และร่วมการดาเนินงานดังกล่าว เพื่อทาให้เกิดการปรับปรุง แก้ไขการดาเนินงาน
ได้ทันท่วงที ไม่ปล่อยให้การดาเนินงานดาเนินต่อไป ท้ังน้ีเพราะอาจจะก่อให้เกิดผลเสียต่อผลการดาเนินงานก็ได้
ดังน้ัน การติดตาม ตรวจสอบ ในข้ันตอนนี้จะต้องทาในทุกขั้นตอนของการดาเนินงาน และต้องทาอย่างต่อเนื่อง
เพือ่ มิให้เกิดข้อผิดพลาด
3. ด้านการประเมินคุณภาพ เป็นองค์ประกอบของข้ันตอนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของ
สถานศึกษา ในรอบปีของการประเมิน โดยมีคณะผู้ประเมิน ได้รับฟังรายงาน และศึกษารายงานผลการดาเนินงาน
เอกสาร และหลักฐานอ้างอิงต่าง ๆ ของสถานศึกษาอย่างละเอียด พร้อมท้ังได้ตรวจเย่ียมพ้ืนที่จัดการศึกษา
การวิจัย และการบริการวิชาการของสถานศึกษา ตลอดจนได้รับทราบข้อมูล ข่าวสารการดาเนินงานของ
สถานศึกษาจากผู้บริหาร ครู บุคลากรของสถานศึกษา ผู้เรียนหรือผู้รับบริการ และผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกภาคส่วน โดย
คณะกรรมการประเมินได้วิเคราะห์ผลการดาเนินงาน และสรุปผลการประเมิน ซึ่งจะต้องสามารถบ่งบอกได้ว่า
การดาเนินงานของสถานศึกษาในกิจกรรมใดท่ีทาได้ดีเลิศ สมควรเผยแพร่เป็นแนวปฏิบัติท่ีดี และมีปัจจัยอะไรบ้าง
ท่ที าให้ผลการดาเนนิ งานประสบความสาเร็จ และในขณะเดียวกันก็ต้องสามารถบ่งบอกได้ว่ากิจกรรมหรือโครงการใดที่
จะต้องมีการพัฒนาปรับปรุงให้ดีข้ึน และจะต้องมีข้อเสนอแนะอะไรบ้างที่เป็นรูปธรรม ที่บอกได้ว่าจะต้อง
มีการพฒั นาอะไรและทาอย่างไรบ้าง ซ่ึงจะทาให้สถานศึกษาทราบถึงระดับคุณภาพการดาเนินงานของสถานศึกษา
แนวทางการพฒั นา ปรบั ปรงุ ที่ต้องแก้ไข รวมถึงเป็นการเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ใหแ้ กผ่ ้มู สี ่วนเกี่ยวขอ้ งทราบ
จากองค์ประกอบทั้ง 3 ด้าน ล้วนมีความสัมพันธ์เกี่ยวเน่ืองเป็นวงจรการพัฒนาท่ีต่อเนื่องโดยมีมาตรฐาน
การศึกษาเป็นเปูาหมายและเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา โดยผู้บริหารสถานศึกษาเป็น
ตัวขับเคล่ือนสาคัญ โดยให้บุคลากรในสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการ
กาหนดทิศทางการทางานใหผ้ ูเ้ ก่ยี วข้องทุกฝาุ ยปฏิบตั ิงานอย่างมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล ดังแผนภาพ
11
A การพฒั นาคณุ ภาพ P
การจัดการศึกษา D
C
D การประกัน C
คุณภาพทม่ี ี
P มาตรฐาน A
เป็นเปูาหมาย
การประเมนิ คณุ ภาพ การติดตาม ตรวจสอบ
การจัดการศึกษา คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา
AP
CD
แผนภาพ การพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพ
จากแผนภาพ จะเห็นว่ากระบวนการดาเนินงานตามองค์ประกอบท้ัง 3 ด้าน มีความสัมพันธ์เก่ียวเน่ืองกัน
เป็นวงจรการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาที่ไม่หยุดนิ่ง โดยผ่านวงจรคุณภาพและมีมาตรฐานเป็นเปูาหมายหลัก
โดยเริ่มจากการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตามตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษา และการประเมิน
คณุ ภาพการจดั การศึกษา ซึง่ องคป์ ระกอบท้ัง 3 ด้าน ถอื เปน็ เครื่องมือในการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา
ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่ามาตรฐานการศึกษามีความสาคัญเก่ียวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษาดังที่ปรากฏ
ในกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ขอ้ 3 การกาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ซ่ึงหลักปฏิบัติ
ทั่วไปจะกาหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และประเภท
การศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมทั้งจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนท่ีกาหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผล
และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามการดาเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษา และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 48 ให้หน่วยงาน
ตน้ สงั กดั และสถานศกึ ษาจัดให้ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายใน
เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปี
เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ดังนั้น มาตรฐานการศึกษาจึงมีความสาคัญกับ
การประกันคุณภาพการศึกษาเพราะมาตรฐานการศึกษาเป็นข้อกาหนดเก่ียวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์และ
มาตรฐานทต่ี ้องการให้เกดิ ข้ึนในสถานศึกษาทกุ แห่งเพือ่ ใช้เป็นหลกั ในการเทยี บเคียง สาหรับการส่งเสริม กากับดูแล
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและการประกนั คุณภาพการศึกษา
12
วัตถปุ ระสงค์ของการจัดทาเอกสาร
เอกสาร “แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย พ.ศ. 2562” เล่มนี้ จัดทาข้ึนเพ่ือให้สถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน. หรือผู้ท่ีสนใจ นาไปใช้เป็น
แนวทางในการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา การนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาสู่การปฏิบัติ
การประเมินคุณภาพการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุตามเปูาหมายของมาตรฐานการศึกษาท่ี
สถานศกึ ษากาหนดไว้
การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ถือเป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินงานตามกฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ท่ีกาหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งต้องจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา
แต่ละระดับและแต่ละประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมท้ังจัดทา
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และดาเนินการตามแผน
ที่กาหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินการ
เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่
หนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรือหน่วยงานทกี่ ากับดแู ลสถานศกึ ษาเปน็ ประจาทุกปี
ท้ังน้ี ในส่วนของการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ
ได้ประกาศใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ประกาศ ณ วันที่ 6 ธนั วาคม พ.ศ. 2562
ดังน้ัน ในการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อให้สะท้อนภาพความเช่ือมโยงระหว่าง
มาตรฐานการศึกษาข้ันต่าท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด กับสภาพบริบทและความต้องการของ
กลุ่มเปูาหมาย สถานศึกษา และชุมชน ท้องถ่ิน รวมถึงการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีเป็น
ลักษณะเฉพาะของสถานศึกษา สถานศึกษาจึงต้องมีการกาหนด และประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา ซ่ึงต้องไม่น้อยกว่ามาตรฐานแต่ละประเภท ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบท่ีกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกาหนดไว้ โดยสถานศึกษาสามารถกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพิ่มเติมนอกเหนือจาก
ท่ีกระทรวงศกึ ษาธิการประกาศให้ใช้ได้ เชน่ การเพ่ิมเตมิ มาตรฐานการศกึ ษา การเพิ่มเติมประเด็นการพิจารณา
หรือตวั บ่งช้ี เป็นต้น เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพบริบท ศักยภาพและความต้องการของสถานศึกษา และความเป็น
ลักษณะเฉพาะของสถานศึกษา (ถ้ามี) ซ่ึงสถานศึกษาสามารถกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยใช้
แนวทางการดาเนนิ งาน ดงั ต่อไปน้ี
1. ศึกษามาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศ
กาหนด
2. ทบทวนบทบาทหน้าท่ีของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา และ
ลักษณะเฉพาะของสถานศึกษา (ถ้ามี) รวมถึงการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในสถานศึกษา
3. ดาเนินการกาหนด และประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยวิเคราะห์มาจาก
ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษาขั้นต่าแต่ละประเภท ที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนดกับบทบาท
หน้าที่ของสถานศึกษาท่ีมีการจัดการศึกษาในแต่ละประเภท (การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
13
ขั้นพื้นฐาน การจัดการศึกษาต่อเน่ือง และการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย) ลักษณะเฉพาะของสถานศึกษา (ถ้ามี)
รวมถึงสภาพบรบิ ทและความต้องการของสถานศึกษา ซ่ึงมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษาจะกาหนดและประกาศใช้
ต้องไมน่ ้อยกวา่ มาตรฐานแต่ละประเภท ของมาตรฐานการศึกษานอกระบบทกี่ ระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนดไว้
ท้งั น้ี มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา หมายถึง ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพท่ีพึงประสงค์
และเป็นส่ิงที่ต้องการให้เกิดข้ึนในสถานศึกษา เพ่ือใช้เป็นหลักในการเทียบเคียง สาหรับการส่งเสริมและกากับดูแล
การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยกาหนดให้เป็น
มาตรฐานการศึกษาแต่ละประเภท รวมถึงประเด็นการพิจารณา ซึ่งต้องกาหนดจากการวิเคราะห์ความเช่ือมโยงระหว่าง
มาตรฐานการศึกษาขั้นต่าแต่ละประเภทท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด (มาตรฐานการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเน่ือง มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย) กับบทบาทหน้าที่ของ
สถานศึกษาท่ีมีการจัดการศึกษาในแตล่ ะประเภท ได้แก่ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา
ตอ่ เนอื่ ง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย รวมถึงลักษณะเฉพาะของสถานศกึ ษา (ถ้ามี)
นอกจากนี้ สาหรับในบางมาตรฐานการศึกษาหรือประเด็นในการพิจารณาบางประเด็นท่ีต้องมี
การกาหนดคา่ เปูาหมายทเ่ี กี่ยวกับผลลพั ธท์ ่จี ะใหเ้ กิดแกผ่ ้เู รยี น สาหรบั ใชใ้ นการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ให้สถานศึกษาใช้ข้อมูลสารสนเทศท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินงานในปีงบประมาณก่อนหน้า ท่ีจะจัดทารายงาน
การประเมินตนเองของสถานศึกษา มาเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเพื่อกาหนดค่าเปูาหมายของสถานศึกษา
โดยพิจารณาร่วมกับศักยภาพและความพร้อมของสถานศึกษา เพ่ือให้ค่าเปูาหมายท่ีสถานศึกษากาหนดขึ้น
เป็นค่าเปูาหมายที่มีความน่าเชื่อถือและแปรผันเป็นไปตามศักยภาพและบริบทของแต่ละสถานศึกษาที่มี
ความแตกตา่ งกนั
4. นามาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษาประกาศใช้ไปจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาหรือ
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา และแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี เพือ่ ดาเนินการจัดการศึกษา การบริหารจัดการสถานศึกษา
และการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาต่อไป
14
ส่วนท่ี 2
คาอธบิ าย เกณฑ์การพจิ ารณา และระดับคุณภาพ
ของมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.
2553 ระบุไว้ว่า “มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกาหนดเก่ียวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และมาตรฐาน
ที่ต้องการให้เกดิ ขึน้ ในสถานศกึ ษาทุกแหง่ เพ่ือใช้เปน็ หลกั ในการเทยี บเคียงสาหรับการสง่ เสรมิ และกากับดูแล
การตรวจสอบ การประเมนิ ผล และการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกนั ”
สาหรั บการพัฒนา มาตรฐานการศึกษาและประเด็นการพิจารณาในการประเมิน ของแต่ละมาตรฐาน
การศึกษานั้น ได้มีการวิเคราะห์ และกาหนดให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 มาตรฐาน
การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด ประกอบกับข้อกาหนดในกฎกระทรวง
การประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 กฎกระทรวง กาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน
สาหรบั สถานศกึ ษาทจ่ี ัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษา
ต่อเนื่อง พ.ศ. 2554 รวมถึงสภาพบริบท และบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทุกประเภทโดย
ภาพรวมในสังกัดสานักงาน กศน. ผนวกกับการวิเคราะห์ข้อมูลทางสังคมที่เก่ียวข้อง เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 หลักการ และนโยบาย
ดา้ นการศึกษา เป็นต้น เพื่อการกาหนดมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีความน่าเชื่อถือ
สอดคลอ้ งกับแนวทางการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ซึ่งจากการดาเนินการพัฒนามาตรฐานการศึกษา จึงมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยไว้ 3 ประเภท คือ มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มาตรฐาน
การศึกษาต่อเนื่อง และมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงมาตรฐานการศึกษาแต่ละประเภทจะมุ่งพิจารณา
คุณภาพใน 3 ด้าน คือ คุณภาพของผู้เรียนหรือผู้รับบริการ คุณภาพการจัดการศึกษา และคุณภาพการบริหาร
จัดการของสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั ประกาศ ณ วันท่ี 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562
ทั้งนี้ มาตรฐานการศึกษาในแต่ละประเภท ได้มีการกาหนดเกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพของแต่ละ
มาตรฐานไว้ 5 ระดับ คือ ระดับกาลังพัฒนา ระดับปานกลาง ระดับดี ระดับดีเลิศ และระดับยอดเยี่ยม ดังรายละเอียด
ตามคาอธบิ าย เกณฑก์ ารพิจารณา และระดับคุณภาพของมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ในแต่ละประเภท ดงั น้ี
15
มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มีจานวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงมีประเด็น
การพจิ ารณา จานวน 8 ประเด็น ประกอบดว้ ย
1.1 ผ้เู รียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนท่ีดีสอดคล้องกบั หลกั สตู รสถานศึกษา
1.2 ผู้เรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะท่ีดีตามที่สถานศึกษา
กาหนด
1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปล่ียน
ความคิดเหน็ ร่วมกบั ผอู้ ื่น
1.4 ผูเ้ รยี นการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมคี วามสามารถในการสร้างสรรค์งาน ช้ินงาน หรอื นวตั กรรม
1.5 ผ้เู รียนการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล
1.6 ผู้เรยี นการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานมสี ุขภาวะทางกาย และสุนทรยี ภาพ
1.7 ผูเ้ รียนการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานมีความสามารถในการอา่ น การเขียน
1.8 ผูจ้ บการศึกษาขั้นพ้ืนฐานนาความรู้ ทกั ษะพื้นฐานที่ได้รับไปใช้หรอื ประยุกต์ใช้
มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ซึ่งมปี ระเด็นการพิจารณา จานวน 4 ประเดน็ ประกอบด้วย
2.1 การพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาทีส่ อดคล้องกบั บริบท และความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น
2.2 ส่อื ทเ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้
2.3 ครูมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั การเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ
2.4 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซ่ึงมีประเด็นการพิจารณา จานวน
9 ประเดน็ ประกอบด้วย
3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาทเี่ น้นการมีส่วนรว่ ม
3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
3.3 การพฒั นาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา
3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจดั การ
3.5 การกากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
3.6 การปฏิบตั ิหน้าทข่ี องคณะกรรมการสถานศึกษาท่เี ป็นไปตามบทบาททก่ี าหนด
3.7 การส่งเสรมิ สนับสนุนภาคีเครือขา่ ยใหม้ สี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา
3.8 การส่งเสรมิ สนับสนนุ การสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้
3.9 การวจิ ัยเพ่ือการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา
หมายเหตุ มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา สามารถใช้รว่ มกันได้ท้ังมาตรฐานการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง และมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย
16
มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนื่อง
มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนื่อง
มาตรฐานการศึกษาต่อเนอื่ ง มีจานวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ซ่ึงมีประเด็นการพิจารณา จานวน 3 ประเด็น
ประกอบด้วย
1.1 ผูเ้ รียนการศกึ ษาต่อเนอื่ งมคี วามรู้ ความสามารถ และ หรอื ทักษะ และ หรือคุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์
การจบหลักสูตร
1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองสามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วม
ของสงั คม
1.3 ผูจ้ บหลักสตู รการศกึ ษาต่อเนอ่ื งท่นี าความรู้ไปใชจ้ นเห็นเปน็ ประจักษ์หรือตวั อยา่ งท่ีดี
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง ซ่ึงมีประเด็นการพิจารณา จานวน
5 ประเด็น ประกอบดว้ ย
2.1 หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนือ่ งมีคุณภาพ
2.2 วทิ ยากรการศึกษาต่อเน่ือง มีความรู้ ความสามารถ หรอื ประสบการณต์ รงตามหลกั สูตรการศึกษาต่อเนื่อง
2.3 ส่อื ทเ่ี อือ้ ต่อการเรียนรู้
2.4 การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาตอ่ เน่อื ง
2.5 การจดั กระบวนการเรยี นรู้การศกึ ษาต่อเนอื่ งทม่ี ีคุณภาพ
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จานวน
9 ประเดน็ ประกอบดว้ ย
3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษาที่เน้นการมสี ว่ นรว่ ม
3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา
3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่ือสนับสนุนการบริหารจดั การ
3.5 การกากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา
3.6 การปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องคณะกรรมการสถานศึกษาท่ีเป็นไปตามบทบาททก่ี าหนด
3.7 การส่งเสริม สนบั สนนุ ภาคเี ครอื ข่ายให้มสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา
3.8 การส่งเสรมิ สนบั สนนุ การสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้
3.9 การวจิ ยั เพอ่ื การบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศึกษา
หมายเหตุ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใช้ร่วมกันได้ท้ังมาตรฐานการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเน่ือง และมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย
17
มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มจี านวน 3 มาตรฐาน ประกอบดว้ ย
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงมีประเด็นการพิจารณา จานวน
1 ประเดน็ ประกอบดว้ ย
1.1 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือ
กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จานวน
4 ประเดน็ ประกอบด้วย
2.1 การกาหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย
2.2 ผจู้ ัดกจิ กรรมมีความรู้ ความสามารถในการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั
2.3 สอ่ื หรอื นวตั กรรม และสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย
2.4 ผู้รบั บรกิ ารมีความพงึ พอใจต่อการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซ่ึงมีประเด็นการพิจารณา จานวน
9 ประเด็น ประกอบดว้ ย
3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาทเ่ี น้นการมสี ่วนรว่ ม
3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
3.3 การพฒั นาครู และบุคลากรของสถานศึกษา
3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจัดการ
3.5 การกากับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา
3.6 การปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องคณะกรรมการสถานศึกษาท่ีเปน็ ไปตามบทบาททีก่ าหนด
3.7 การส่งเสรมิ สนับสนุนภาคีเครอื ขา่ ยใหม้ ีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา
3.8 การส่งเสรมิ สนบั สนุนการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้
3.9 การวิจยั เพ่ือการบริหารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา
หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใชร้ ว่ มกันไดท้ ้ังมาตรฐานการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเน่ือง และมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย
18
มาตรฐานการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
19
มาตรฐานการศึกษานอกระบบ
ระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา ค่าน้าหนกั
คะแนน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี นการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 50
1.1 ผูเ้ รยี นการศึกษาขั้นพืน้ ฐานมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีดีสอดคลอ้ งกับหลักสตู รสถานศึกษา 10
1.2 ผู้เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่ดีตามท่ีสถานศึกษา 10
กาหนด
1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยน 5
ความคิดเห็นร่วมกับผอู้ ่นื
1.4 ผู้เรยี นการศึกษาขั้นพน้ื ฐานมคี วามสามารถในการสรา้ งสรรคง์ าน ช้ินงาน หรอื นวัตกรรม 5
1.5 ผเู้ รียนการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทลั 4
1.6 ผูเ้ รยี นการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ 4
1.7 ผเู้ รยี นการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน 4
1.8 ผู้จบการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานนาความรู้ ทักษะพ้นื ฐานที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้ 8
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานทเ่ี นน้ ผู้เรยี น 20
เปน็ สาคญั
2.1 การพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาทส่ี อดคลอ้ งกับบริบท และความต้องการของผเู้ รยี น ชุมชน ท้องถนิ่ 5
2.2 สอ่ื ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ 5
2.3 ครมู ีความรู้ ความสามารถในการจดั การเรียนร้ทู เี่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั 5
2.4 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ 5
มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 30
3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาท่ีเน้นการมสี ว่ นร่วม 3
3.2 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา 4
3.3 การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา 3
3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทลั เพ่ือสนบั สนนุ การบริหารจดั การ 3
3.5 การกากบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา 3
3.6 การปฏบิ ตั ิหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการสถานศึกษาทีเ่ ปน็ ไปตามบทบาททกี่ าหนด 3
3.7 การส่งเสรมิ สนบั สนุนภาคีเครอื ขา่ ยให้มสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา 3
3.8 การสง่ เสริม สนบั สนนุ การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้ 5
3.9 การวจิ ัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา 3
20
มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน มีจานวน 3 มาตรฐาน ประกอบดว้ ย
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี นการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
เป็นการพิจารณาจากผลที่เกิดจากการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท่ีเกิดข้ึนกับ
ผู้เรียน ประกอบด้วย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสร้างสรรค์งาน ช้ินงาน หรือนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึง
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความสามารถในการนาความรู้
ทักษะพืน้ ฐานไปใช้หรือประยุกตใ์ ช้ และสามารถทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื ได้
นอกจากนี้ พิจารณาจากผู้เรียนที่มีพฤติกรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะท่ีดีเป็นไปตามท่ี
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดไว้ 9 ประการ (สะอาด สุภาพ กตัญญู
ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ สามัคคี มีน้าใจ มีวินัย) มีจิตอาสา และเคารพในกฎกติกาบนหลักประชาธิปไตย ภูมิใจใน
ท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ วัฒนธรรม ประเพณีไทย รวมท้ังภูมิปัญญาไทย
สามารถอยู่และทางานร่วมกับผู้อ่ืนบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านเพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา
วัฒนธรรม ประเพณีได้ โดยปราศจากความขัดแย้ง แสดงออกทางพฤติกรรม มีกิริยาที่เหมาะสม ถูกกาลเทศะ
มีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ หรอื มีคุณลักษณะท่ีสอดคล้องกับอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากาหนด โดยไม่ขัดต่อ
กฎหมายและวัฒนธรรมท่ดี งี าม
โดยมปี ระเด็นการพจิ ารณา จานวน 8 ประเดน็ ดงั น้ี
1. ผู้เรยี นการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นที่ดีสอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รสถานศึกษา
2. ผเู้ รียนการศึกษาข้ันพ้นื ฐานมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะทีด่ ตี ามท่สี ถานศึกษากาหนด
3. ผู้เรยี นการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความ
คิดเหน็ ร่วมกบั ผู้อ่นื
4. ผเู้ รยี นการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานมคี วามสามารถในการสร้างสรรคง์ าน ชนิ้ งาน หรอื นวัตกรรม
5. ผู้เรยี นการศึกษาขน้ั พื้นฐานมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัล
6. ผู้เรียนการศึกษาข้ันพน้ื ฐานมสี ุขภาวะทางกาย และสุนทรยี ภาพ
7. ผเู้ รียนการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานมคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน
8. ผู้จบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานนาความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานที่ไดร้ ับไปใชห้ รือประยุกต์ใช้
21
ประเดน็ การพิจารณาที่ 1.1 ผูเ้ รยี นการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นที่ดี
สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรสถานศกึ ษา
คา่ นา้ หนักคะแนน 10 คะแนน
คาอธบิ าย
พิจารณาจากผู้เรียนทุกระดับการศึกษาท่ีมีความรู้ ความสามารถ หรือทักษะตามจุดมุ่งหมายการจัดการ
เรียนรู้ในรายวชิ าบงั คับท่ีเป็นไปตามแผนการลงทะเบียนเรียนที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา โดยพิจารณา
จากคะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนของผู้เรียน หรือคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-Net) ระดับสถานศึกษา จานวน 2 ภาคเรียนในปีงบประมาณท่ีจะดาเนินการ
ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา
เกณฑก์ ารพจิ ารณา
คะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนของผู้เรียนทุกระดับการศึกษาในรายวิชาบังคับของสถานศึกษา หรือ
คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-Net) เปรียบเทียบกับค่าคะแนน
เปูาหมายที่สถานศึกษากาหนดไว้
เกณฑก์ ารให้คะแนน
0 คะแนน = สถานศึกษามีร้อยละเฉล่ียของจานวนรายวิชาบังคับที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการสอบ
ปลายภาคเรียนของผู้เรียนในรายวิชาบังคับ หรือคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ
โรงเรยี น (N-Net) ทเ่ี ท่ากบั หรือสูงกว่า ค่าคะแนนเปูาหมายท่ีสถานศกึ ษากาหนดไว้ ตง้ั แตร่ อ้ ยละ 0.00 - 9.99
1 คะแนน = สถานศึกษามีร้อยละเฉล่ียของจานวนรายวิชาบังคับที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการสอบ
ปลายภาคเรยี นของผเู้ รยี นในรายวิชาบังคับ หรือคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดบั ชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน
(N-Net) ที่เท่ากบั หรือสงู กวา่ ค่าคะแนนเปูาหมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนดไว้ ตงั้ แต่ร้อยละ 10.00 - 19.99
2 คะแนน = สถานศึกษามีร้อยละเฉล่ียของจานวนรายวิชาบังคับท่ีมีคะแนนเฉล่ียผลการสอบ
ปลายภาคเรยี นของผเู้ รยี นในรายวิชาบังคับ หรือคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน
(N-Net) ทเี่ ทา่ กับหรอื สงู กวา่ ค่าคะแนนเปาู หมายท่สี ถานศึกษากาหนดไว้ ต้ังแตร่ ้อยละ 20.00 - 29.99
3 คะแนน = สถานศึกษามีร้อยละเฉลี่ยของจานวนรายวิชาบังคับที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการสอบ
ปลายภาคเรยี นของผเู้ รียนในรายวิชาบังคับ หรือคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน
(N-Net) ท่เี ท่ากบั หรือสงู กวา่ คา่ คะแนนเปูาหมายท่ีสถานศกึ ษากาหนดไว้ ตงั้ แตร่ ้อยละ 30.00 - 39.99
4 คะแนน = สถานศึกษามีร้อยละเฉล่ียของจานวนรายวิชาบังคับที่มีคะแนนเฉล่ียผลการสอบ
ปลายภาคเรยี นของผเู้ รียนในรายวิชาบังคับ หรือคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน
(N-Net) ท่เี ท่ากับหรอื สูงกว่า ค่าคะแนนเปาู หมายท่สี ถานศึกษากาหนดไว้ ต้งั แต่ร้อยละ 40.00 - 49.99
5 คะแนน = สถานศึกษามีร้อยละเฉล่ียของจานวนรายวิชาบังคับท่ีมีคะแนนเฉลี่ยผลการสอบ
ปลายภาคเรยี นของผูเ้ รียนในรายวิชาบังคับ หรือคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน
(N-Net) ทเี่ ท่ากบั หรือสงู กวา่ คา่ คะแนนเปาู หมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนดไว้ ตั้งแต่รอ้ ยละ 50.00 ขนึ้ ไป
22
การคานวณคะแนนทไี่ ดเ้ ทียบกบั ค่าน้าหนักคะแนน และการเทยี บกบั เกณฑร์ ะดับคุณภาพ
1. คานวณคะแนนท่ีได้จากเกณฑ์การให้คะแนนเทยี บกับค่าน้าหนกั คะแนน (คา่ น้าหนกั คะแนน 10 คะแนน)
จากสตู ร
คะแนนท่ีได้ (จากเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน) X คา่ นา้ หนกั คะแนน = คะแนนที่ได้
คะแนนเตม็ (จากเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน)
2. นาคะแนนท่ีได้ไปเทียบกับเกณฑร์ ะดบั คุณภาพ
ระดบั คุณภาพ กาลงั พฒั นา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเย่ยี ม
ชว่ งคะแนน 0.00 - 4.99 5.00 - 6.25 6.26 - 7.50 7.51 - 8.75 8.76 - 10.00
แนวทางการดาเนินงาน
1. ให้สถานศึกษากาหนดค่าคะแนนเปูาหมาย เฉพาะรายวิชาท่ีมีแผนการลงทะเบียนเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษาในปีงบประมาณท่ีสถานศึกษาจัดทารายงานการประเมินตนเอง โดยใช้คะแนนเฉล่ียผลการสอบ
ปลายภาคเรียนของผู้เรียน หรือคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติการศึกษานอกระบบโรงเรียน
(N-Net) จานวน 2 ภาคเรียน ท่ีมีอยู่คร้ังล่าสุดในแต่ละรายวิชา มาเป็นข้อมูลสารสนเทศเพื่อกาหนดค่าคะแนน
เปูาหมาย ดงั กลา่ ว
2. ให้สถานศึกษานาคะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนของผู้เรียน หรือคะแนนเฉลี่ยผลการสอบประเมิน
คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ (N-Net) ไปเปรียบเทยี บกบั ค่าคะแนนเปูาหมายทีก่ าหนดไว้ตามขอ้ 1
3. ให้สถานศึกษานับจานวนรายวิชาบังคับที่มีคะแนนเฉล่ียผลการสอบปลายภาคเรียนของผู้เรียน
ทุกระดับการศึกษาในรายวิชาบังคับของสถานศึกษา หรือคะแนนเฉลี่ยผลการสอบประเมินคุณภาพการศึกษา
นอกระบบระดับชาติ (N-Net) ที่เท่ากับหรือสูงกว่าค่าคะแนนเปูาหมายที่สถานศึกษากาหนดไว้ แล้วนาผล
มาคิดเป็นร้อยละเฉล่ียของจานวนรายวิชาบังคับท่ีมีคะแนนเฉล่ียผลการสอบ ท่ีเท่ากับหรือสูงกว่าค่าคะแนน
เปูาหมายทีส่ ถานศกึ ษากาหนดไว้ เป็นรายภาคเรียน จานวน 2 ภาคเรียน
4. นาร้อยละที่คานวณได้ ท้ัง 2 ภาคเรยี น มาบวกกันแล้วหารด้วย 2 เพ่ือหาร้อยละเฉลี่ยของจานวนรายวิชา
ที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการสอบท่ีเท่ากับหรือสูงกว่าค่าคะแนนเปูาหมายที่สถานศึกษากาหนดไว้ ในภาพรวมท้ัง
ปีงบประมาณ
5. นาร้อยละเฉลย่ี ทไ่ี ด้คานวณในขอ้ 4. ไปเทยี บกับเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
6. คิดคานวณคะแนนทีไ่ ดเ้ ทียบกับค่านา้ หนักคะแนน
7. นาคะแนนท่ไี ด้ไปเทียบกับเกณฑร์ ะดับคุณภาพ เพื่อแปรผลระดบั คณุ ภาพ
23
ตวั อยา่ ง
กรณีสถานศกึ ษา เลอื กใช้คะแนนเฉลีย่ ผลการสอบปลายภาคเรยี นของผเู้ รียน เพ่ือกาหนดค่าคะแนน
เป้าหมายของสถานศึกษา
สถานศึกษาแห่งหน่ึง มีผู้เรียนลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น
และมธั ยมศึกษาตอนปลาย ในปีงบประมาณ 2563 (ภาคเรียนที่ 2/2562 และภาคเรียนที่ 1/2563) มีผลคะแนนเฉล่ีย
ผลการสอบปลายภาคเรียนระดับสถานศกึ ษาเปรียบเทียบกับคา่ เปูาหมายท่สี ถานศึกษากาหนดไว้ ดงั นี้
ภาคเรยี นที่ 2/2562 ภาคเรยี นที่ 1/2563 ผลการเปรียบเทยี บคะแนนเฉลยี่
ผลการสอบปลายภาคเรียนระดบั
ระดบั /รายวิชาบังคับ คะแนนเฉลย่ี ผลการ คะแนนผลสัมฤทธิ์ คะแนนเฉลย่ี คะแนน สถานศกึ ษากบั คะแนนผลสมั ฤทธิ์
สอบปลายภาคเรยี น ทสี่ ถานศกึ ษา ผลการสอบปลาย ผลสัมฤทธ์ิ ทสี่ ถานศึกษาตั้งคา่ เปา้ หมายไว้
ระดบั สถานศึกษา ภาคเรียนระดบั ท่ีสถานศึกษาต้ัง
ตั้งคา่ เปา้ หมายไว้ คา่ เปา้ หมายไว้ ภาคเรยี นที่ ภาคเรยี นท่ี
สถานศกึ ษา 2/2562 1/2563
ประถมศกึ ษา ต่ากวา่
สงู กวา่
1. ทกั ษะการเรียนรู้ 37.26 39.11
สูงกว่า
2. ภาษาไทย 33.50 33.00 สูงกว่า
3. วทิ ยาศาสตร์ 36.00 35.50 สงู กวา่
สูงกว่า
4. สงั คมศกึ ษา 23.00 22.50
ตา่ กว่า
ม.ตน้ สงู กว่า
1. ทักษะการเรยี นรู้ 39.11 37.26 สูงกว่า
สูงกวา่
2. ภาษาไทย 33.50 33.00 ต่ากว่า
สงู กว่า
3. วทิ ยาศาสตร์ 35.50 36.00
45
4. สงั คมศึกษา 25.00 22.50 4x100/6 = 5x100/6 =
ม.ปลาย 66.66 83.33
66.66 + 83.33 = 74.99
1. ทักษะการเรยี นรู้ 36.00 35.50
2
2. ภาษาไทย 23.00 22.50
3. วทิ ยาศาสตร์ 37.26 39.11
4. สงั คมศกึ ษา 33.50 33.00
จานวนรายวิชาบังคับที่มีคะแนนเฉล่ียฯ ระดบั สถานศึกษา เท่ากบั หรือสูงกว่า
คะแนนผลสัมฤทธิท์ สี่ ถานศกึ ษาตงั้ คา่ เปูาหมายไว้
คานวณร้อยละของจานวนรายวชิ าบงั คับท่มี คี ะแนนเฉลย่ี ผลการสอบปลายภาคเรยี น เท่ากบั หรอื สูงกวา่ คะแนน
ผลสัมฤทธท์ิ ีส่ ถานศึกษาตั้งค่าเปูาหมายไว้ในแตล่ ะภาคเรยี นรวม 2 ภาคเรยี น
คานวณร้อยละเฉลย่ี ในภาพรวม ทงั้ ปีงบประมาณ
24
ดังนน้ั เมอ่ื นาคา่ เฉล่ียรอ้ ยละของจานวนรายวิชาบงั คบั ที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียน เท่ากับ
หรือสูงกว่า ค่าคะแนนเปูาหมายที่สถานศึกษากาหนดไว้ในภาพรวมของทั้งปีงบประมาณ ซ่ึงคานวณได้ ร้อยละ
74.99 ไปเทียบกับเกณฑ์การใหค้ ะแนน จงึ สรปุ ได้วา่ ในประเด็นการประเมินคุณภาพการศกึ ษาน้ี สถานศกึ ษา
ได้คะแนน 5 คะแนน
จงึ นาคะแนนทีไ่ ด้ ไปแทนคา่ ตามสูตร ดงั น้ี
คะแนนท่ีได้ (จากเกณฑ์การให้คะแนน) X ค่าน้าหนักคะแนน = คะแนนท่ไี ด้
คะแนนเตม็ (จากเกณฑก์ ารให้คะแนน)
5 คะแนน X 10 คะแนน = 10 คะแนน
5 คะแนน
นาคะแนนท่ีไดไ้ ปเทียบกับเกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ
ระดบั คณุ ภาพ กาลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม
ช่วงคะแนน 0.00 - 4.99 5.00 - 6.25 6.26 - 7.50 7.51 - 8.75 8.76 - 10.00
ดงั น้ัน จงึ สรปุ ได้วา่ ในประเด็นการพิจารณานี้ สถานศกึ ษา ไดค้ ะแนนจากการประเมินคุณภาพ 10 คะแนน จึงอยู่ใน
ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม
หมายเหตุ กรณีที่สถานศึกษาเลือกใช้คะแนนเฉลี่ยผลการสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน
(N-Net) เพ่ือกาหนดคา่ คะแนนเปูาหมายของสถานศกึ ษา ใหด้ าเนนิ การเชน่ เดียวกนั กับแนวทางท่ีปรากฏ
อยู่ในตัวอย่าง ดังกล่าวข้างต้น แต่ให้ใช้คะแนนเฉลี่ยผลการสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ
โรงเรียน (N-Net) แทนการใช้คะแนนเฉลย่ี ผลการสอบปลายภาคเรียนของผเู้ รยี น
ขอ้ มูล รอ่ งรอย หลักฐาน
1. รายงานผลคะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนของผู้เรียนทุกระดับการศึกษาในรายวิชาบังคับของ
สถานศึกษา หรือคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-Net) ระดับ
สถานศึกษาในแต่ละรายวิชาบังคับที่เป็นไปตามแผนการลงทะเบียนเรียนที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา
ของปงี บประมาณทีด่ าเนนิ การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา
2. ข้อมูล หรือตารางสรุปข้อมูลคะแนนเฉลี่ยผลการสอบภาควิชาบังคับของสถานศึกษาเปรียบเทียบกับค่า
คะแนนเปูาหมาย ทก่ี าหนดไว้
25
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 1.2 ผ้เู รยี นการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ
คุณลักษณะท่ีดีตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
ค่านา้ หนักคะแนน 10 คะแนน
คาอธบิ าย
พจิ ารณาจากผ้เู รยี นท่ีมีพฤตกิ รรมที่สะท้อนถึงการมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะท่ีดีเป็นไปตามท่ี
หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กาหนดได้ 9 ประการ (สะอาด สุภาพ กตัญญู
ขยนั ประหยัด ซ่ือสตั ย์ สามคั คี มนี า้ ใจ มีวนิ ัย) มีจิตอาสา เคารพในกฎกติกาบนหลักประชาธิปไตย ภูมิใจในท้องถ่ิน
เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ วัฒนธรรม ประเพณีไทย รวมทั้งภูมิปัญญาไทย สามารถอยู่
และทางานร่วมกับผู้อืน่ บนพ้ืนฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านเพศ อายุ เช้ือชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม
ประเพณไี ด้ โดยปราศจากความขดั แย้ง
ทง้ั นี้ สถานศกึ ษาสามารถกาหนดคุณลักษณะของผู้เรียนเพิ่มเติมได้ โดยไม่ขัดต่อกฎหมายและวัฒนธรรมท่ี
ดงี าม
เกณฑ์การพิจารณา
1. สถานศึกษามีการกาหนดโครงการ กิจกรรม เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะทีด่ ีตามที่สถานศกึ ษากาหนด
2. สถานศึกษามีการดาเนินงานโครงการ กิจกรรม เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะทดี่ ตี ามที่สถานศึกษากาหนด
3. สถานศึกษามีการประเมินผล สรุปผล และรายงานผลการดาเนินงานโครงการ กิจกรรม
เพ่อื ส่งเสริม สนบั สนุนให้ผู้เรียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะท่ีดีตามทส่ี ถานศึกษากาหนด
4. สถานศึกษามีผู้เรียนที่ผ่านการประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะท่ีดีตามท่ี
สถานศกึ ษากาหนด ในระดับ ดขี ึน้ ไป โดยมีจานวนไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ของจานวนผเู้ รียน
5. สถานศึกษามีผู้เรียนที่ได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ หรือเป็นแบบอย่างท่ีดีในด้านท่ีเกี่ยวข้องกับการมี
คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม หรือคณุ ลักษณะที่ดี ตามค่าเป้าหมายท่ีสถานศกึ ษากาหนด
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
1 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑก์ ารพิจารณา จานวน 1 ข้อ
2 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 2 ขอ้
3 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนินงานไดเ้ ปน็ ไปตามเกณฑก์ ารพิจารณา จานวน 3 ขอ้
4 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานได้เปน็ ไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 4 ข้อ
5 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา จานวน 5 ข้อ
26
การคานวณคะแนนทีไ่ ดเ้ ทยี บกบั คา่ น้าหนกั คะแนน และการเทยี บกับเกณฑร์ ะดบั คุณภาพ
1. คานวณคะแนนที่ได้จากเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนเทยี บกับค่าน้าหนกั คะแนน (ค่าน้าหนกั คะแนน 10 คะแนน)
จากสูตร
คะแนนท่ไี ด้ (จากเกณฑ์การให้คะแนน) X คา่ น้าหนักคะแนน = คะแนนท่ไี ด้
คะแนนเตม็ (จากเกณฑก์ ารให้คะแนน)
2. นาคะแนนท่ีไดไ้ ปเทยี บกบั เกณฑร์ ะดับคุณภาพ
ระดบั คณุ ภาพ กาลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลศิ ยอดเย่ยี ม
ช่วงคะแนน 0.00 - 4.99 5.00 - 6.25 6.26 - 7.50 7.51 - 8.75 8.76 - 10.00
ขอ้ มลู ร่องรอย หลกั ฐาน
1. โครงการ กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ
คณุ ลักษณะท่ดี ีตามท่สี ถานศึกษากาหนด
2. สรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการ กิจกรรมท่ีส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
ค่านยิ ม และคุณลักษณะทีด่ ตี ามที่สถานศกึ ษากาหนด
3. แบบประเมนิ คุณธรรมตามพฤตกิ รรมบ่งช้ี
4. ข้อมูล และรายงานผลการประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะท่ีดีของผู้เรียน จานวน
2 ภาคเรยี น
5. บันทกึ อืน่ ๆ ของครู เชน่ บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ บนั ทึกการเยีย่ มบ้านผู้เรียน บันทึกการแนะแนว/
การช่วยเหลอื ผ้เู รยี น เป็นต้น
6. ภาพถา่ ยการจัดโครงการ กิจกรรมท่เี ก่ียวข้อง
7. การส่มุ ตรวจขอ้ มูลจากสภาพจริง โดยการสัมภาษณห์ รือสังเกตพฤตกิ รรมของผ้เู รียนบางส่วน
8. ใบประกาศ เกยี รตบิ ัตร โล่ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
9. อน่ื ๆ
27
ประเด็นการพิจารณาท่ี 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คดิ อย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นร่วมกบั ผูอ้ ่นื
คา่ นา้ หนกั คะแนน 5 คะแนน
คาอธิบาย
พจิ ารณาจากผูเ้ รียนทม่ี คี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ โดยใช้ข้อมูลและเหตุผล
ประกอบการตัดสินใจ แก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง สมเหตุสมผล และสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ร่วมกับผอู้ น่ื ได้
เกณฑ์การพจิ ารณา
สถานศึกษามีจานวนผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปล่ียน
ความคดิ เหน็ ร่วมกบั ผูอ้ ่นื ได้ เป็นไปตามคา่ เป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนด
เกณฑก์ ารให้คะแนน
0 คะแนน = สถานศึกษาไม่มีผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นร่วมกับผู้อน่ื
1 คะแนน = สถานศึกษามีจานวนผู้เรียนที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อ่ืน ต่ากว่าค่าเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 50 ของค่าเปูาหมายที่สถานศึกษา
กาหนด
2 คะแนน = สถานศึกษามีจานวนผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
แลกเปล่ียนความคิดเห็นร่วมกับผู้อ่ืน ต่ากว่าค่าเป้าหมายแต่ไม่เกินร้อยละ 50 ของค่าเปูาหมายที่สถานศึกษา
กาหนด
3 คะแนน = สถานศึกษามีจานวนผู้เรียนที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ร่วมกับผู้อ่ืน เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่สถานศกึ ษากาหนด
4 คะแนน = สถานศึกษามีจานวนผู้เรียนที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อ่ืน สูงกว่าค่าเป้าหมาย แต่ไม่เกินร้อยละ50 ของค่าเปูาหมายที่สถานศึกษา
กาหนด
5 คะแนน = สถานศึกษามีจานวนผู้เรียนที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น สูงกว่าค่าเป้าหมาย มากกว่าร้อยละ 50 ของค่าเปูาหมายท่ีสถานศึกษา
กาหนด
นาคะแนนท่ีได้จากเกณฑ์การใหค้ ะแนนไปเทยี บกบั เกณฑ์ระดบั คุณภาพ (ค่านา้ หนักคะแนน 5 คะแนน)
ระดบั คณุ ภาพ กาลังพฒั นา ปานกลาง ดี ดีเลศิ ยอดเยี่ยม
ชว่ งคะแนน 0.00 - 2.49 2.50 - 3.12 3.13 - 3.75 3.76 - 4.38 4.39 - 5.00
28
ขอ้ มลู รอ่ งรอย หลกั ฐาน
1. แผนการจดั การเรยี นรู้ในรายวชิ าทเี่ ก่ยี วข้อง
2. บันทกึ หลังการจดั การเรียนรู้
3. รายงานผลการดาเนนิ งานโครงงาน/โครงการ กจิ กรรม
4. รายงานผลการจัดการเรียนรู้ที่เก่ียวข้องกับการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีความสามารถใน
การคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และการแลกเปล่ยี นความคดิ เห็น
5. ผลงาน ชิน้ งาน หรอื รายงานของผเู้ รยี น
6. ภาพถ่ายการจดั โครงการ กิจกรรมที่เกย่ี วขอ้ ง
7. การสุม่ ตรวจสอบข้อมูลจากสภาพจรงิ โดยการสัมภาษณ์ หรือสังเกตจากพฤตกิ รรมของผ้เู รยี น
8. อนื่ ๆ
29
ประเด็นการพิจารณาที่ 1.4 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน
ชน้ิ งาน หรือนวัตกรรม
คา่ นา้ หนักคะแนน 5 คะแนน
คาอธบิ าย
พิจารณาจากผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ท่ีได้จากการจัด การศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขัน้ พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา และสามารถเชื่อมโยงความรู้ ประสบการณ์ท่ีได้รับกับที่มีอยู่เดิม แล้วนาไปใช้
ในการจดั ทาโครงงาน ชิน้ งาน สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื สงิ่ ใหม่ ๆ ให้เกิดข้ึนและใช้ประโยชน์ได้จริง โดยเป็น
ผลมาจากการส่งเสรมิ สนับสนุนของสถานศึกษา
เกณฑก์ ารพิจารณา
1. สถานศึกษามีการจัดการเรียนรู้ หรือกิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีความสามารถในการจัดทา
โครงงาน ชนิ้ งาน สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื สิ่งใหม่ ๆ
2. ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สามารถจัดทาโครงงาน ชิ้นงาน ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์
หรือสงิ่ ใหม่ ๆ ได้
3. ผู้เรียนสามารถสร้างโครงงาน ชิ้นงาน ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือสิ่งใหม่ ๆ ท่ีสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ไดจ้ รงิ เป็นไปตามคา่ เป้าหมายท่ีสถานศกึ ษากาหนด
4. สถานศึกษามีการเผยแพร่ ผลงานโครงงาน ช้ินงาน ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือส่ิงใหม่ ๆ
ของผู้เรียนผา่ นชอ่ งทางสื่อต่าง ๆ
5. สถานศึกษามีการจัดแข่งขัน ประกวดโครงงาน ชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือส่ิงใหม่ ๆ
ของผู้เรียนให้แก่ผู้เรียน หรือมีการจัดส่งโครงงาน ชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือสิ่งใหม่ ๆ ของผู้เรียน
ไปประกวด แข่งขันร่วมกบั หน่วยงาน หรือสถานศกึ ษาอ่ืน
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
1 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนินงานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 1 ขอ้
2 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนินงานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 2 ข้อ
3 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนินงานได้เป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 3 ข้อ
4 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานได้เปน็ ไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 4 ขอ้
5 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานได้เปน็ ไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 5 ข้อ
นาคะแนนท่ไี ด้จากเกณฑ์การใหค้ ะแนนไปเทยี บกบั เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ (ค่าน้าหนกั คะแนน 5 คะแนน)
ระดบั คณุ ภาพ กาลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเยย่ี ม
ชว่ งคะแนน 0.00 - 2.49 2.50 - 3.12 3.13 - 3.75 3.76 - 4.38 4.39 - 5.00
30
ขอ้ มูล ร่องรอย หลกั ฐาน
1. รายงานผลการจัดการเรยี นรู้ที่เก่ียวข้องกับการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีความสามารถในการจัดทา
โครงงาน ช้นิ งาน ส่งิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือสงิ่ ใหม่ ๆ
2. แผนการจดั การเรยี นรู้ในรายวชิ าทีเ่ กยี่ วข้อง
3. บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้
4. ผลงานโครงงาน ช้ินงาน สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือสิ่งใหม่ ๆ ของผู้เรียน เช่น การประดิษฐ์
พานไหวค้ รู การตกแตง่ เทียนพรรษา การผกู ผา้ ในงานพธิ ี โครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นต้น
5. โครงการ กจิ กรรมทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การจดั แขง่ ขัน ประกวดโครงงาน ช้ินงาน ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ
สงิ่ ใหม่ ๆ ของผู้เรยี น
6. ภาพถ่าย ชนิ้ งาน ส่ิงประดษิ ฐ์ หรอื งานสร้างสรรค์ของผ้เู รยี น
7. หลกั ฐานการเผยแพร่โครงงาน ช้นิ งาน สง่ิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื ส่งิ ใหม่ ๆ ของผ้เู รียน
8. หลกั ฐานการนาโครงงาน ชิ้นงาน ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือสิ่งใหม่ ๆ ไปใช้ได้จริง หรือหลักฐาน
เชิงประจักษ์
9. อน่ื ๆ
31
ประเดน็ การพจิ ารณาท่ี 1.5 ผู้เรียนการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล
คา่ น้าหนักคะแนน 4 คะแนน
คาอธบิ าย
พิจารณาจากผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการเรียนรู้ การพัฒนาตนเอง ชุมชน
สงั คม การสอ่ื สาร การทางาน และการดารงชีวิต
เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั หมายถึง การนาเคร่อื งมอื อปุ กรณ์ และเทคโนโลยี เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แท็บเลต
โปรแกรมสาเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ เป็นต้น มาใช้ด้วยความรู้ ความเข้าใจให้เกิดประโยชน์
เพ่ือการสอ่ื สาร การปฏิบตั ิงาน และการทางานรว่ มกับผูอ้ น่ื
เกณฑ์การพจิ ารณา
ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการเรียนรู้ การพัฒนาตนเอง ชุมชน
สังคม การส่ือสาร การทางาน และการดารงชีวติ
การคานวณคะแนนที่ได้เทียบกบั คา่ นา้ หนักคะแนน และการเทยี บกบั เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ
1. คานวณคะแนนที่ได้ดว้ ยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ โดยใชส้ ัดส่วนรอ้ ยละ 100 เทา่ กบั 4 คะแนน ดงั น้ี
รอ้ ยละของผ้เู รียนท่ีมีคุณลักษณะเปน็ ไปตามเกณฑ์การพิจารณา X 4 คะแนน
100
2. นาคะแนนทไี่ ดไ้ ปเทียบกบั เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ
ระดับคณุ ภาพ กาลงั พฒั นา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเย่ียม
ช่วงคะแนน 0.00 - 1.99 2.00 - 2.50 2.51 - 3.00 3.01 - 3.50 3.51 - 4.00
ข้อมูล รอ่ งรอย หลักฐาน
1. เทคโนโลยีดจิ ิทลั ท่สี ถานศึกษามอี ยู่ และใชง้ านไดจ้ ริง
2. ผลงาน หรือช้ินงานของผเู้ รยี น
3. รายงานผลการจัดการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีดจิ ิทลั
4. การสุ่มตรวจข้อมูลจากสภาพจริง โดยการสัมภาษณ์หรือสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนบางส่วนเกี่ยวกับ
การใช้เทคโนโลยีดิจิทลั
5. อนื่ ๆ
32
ประเดน็ การพิจารณาที่ 1.6 ผูเ้ รยี นการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรยี ภาพ
คา่ น้าหนกั คะแนน 4 คะแนน
คาอธิบาย
พจิ ารณาจากผ้เู รียนท่ีมภี าวะทางรา่ งกายที่เหมาะสมในแต่ละชว่ งวัย และมีสุขภาพจติ อารมณ์ และสังคมทด่ี ี
เกณฑ์การพจิ ารณา
1. ร้อยละของผเู้ รียนไดร้ บั การตรวจสุขภาพ หรือมหี ลักฐานการตรวจสขุ ภาพ
2. ร้อยละของผู้เรียนที่มีการเข้าร่วมโครงการ กิจกรรม ด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ นันทนาการ จิตอาสา
หรอื การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
การคานวณคะแนนท่ไี ด้เทียบกบั ค่านา้ หนกั คะแนน และการเทียบกบั เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ
1. คานวณคะแนนที่ได้ดว้ ยการเทยี บบญั ญัตไิ ตรยางศ์ โดยใชส้ ดั สว่ นรอ้ ยละ 100 เท่ากบั 4 คะแนน ดงั นี้
รอ้ ยละเฉลี่ยของผู้เรียนทม่ี คี ุณลักษณะเป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณาท้ัง 2 ข้อ X 4 คะแนน
100
2. นาคะแนนทไี่ ด้ไปเทยี บกบั เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ
ระดับคณุ ภาพ กาลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลศิ ยอดเยีย่ ม
ชว่ งคะแนน 0.00 - 1.99 2.00 - 2.50 2.51 - 3.00 3.01 - 3.50 3.51 - 4.00
ขอ้ มูล ร่องรอย หลกั ฐาน
1. หลักฐานการตรวจสุขภาพของผเู้ รียน
2. รายงานผลการดาเนินงานโครงการ กจิ กรรมท่ีเกยี่ วข้อง
3. ภาพถ่ายการเข้ารว่ มโครงการ กจิ กรรมทเี่ กี่ยวขอ้ ง
4. การสุ่มตรวจข้อมูลจากสภาพจริง โดยการสัมภาษณ์หรือสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนบางส่วนท่ีมี
คณุ ลักษณะสอดคลอ้ งกบั คาอธบิ าย
5. อืน่ ๆ
33
ประเดน็ การพิจารณาท่ี 1.7 ผู้เรียนการศึกษาข้นั พืน้ ฐานมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน
คา่ นา้ หนักคะแนน 4 คะแนน
คาอธิบาย
พิจารณาจากผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการอ่าน การเขียนภาษาไทย เพื่อการส่ือสาร ที่เป็นไปตามเกณฑ์
ในแต่ละระดับการศกึ ษา ดังนี้
ระดับประถมศกึ ษา มคี วามสามารถในการอ่านออก เขยี นได้
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มคี วามสามารถอา่ น และเขยี นไดค้ ล่อง
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มีความสามารถในการอ่านจับใจความ และเขียนเชงิ สร้างสรรค์
เกณฑก์ ารพิจารณา
ร้อยละของผู้เรียนที่มีความสามารถในการอ่าน การเขียนภาษาไทย เพ่ือการสื่อสารท่ีเป็นไปตามเกณฑ์
ในแตล่ ะระดับชน้ั
การคิดคานวณคะแนนที่ไดเ้ ทยี บกบั คา่ นา้ หนักคะแนน และการเทียบกบั เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ
1. ให้สถานศึกษานับจานวนผู้เรียนท่ีผ่านเกณฑ์การอ่าน การเขียนในแต่ละระดับมารวมกัน แล้วนาไปหา
คา่ รอ้ ยละ
2. นาค่ารอ้ ยละทไ่ี ด้ไปคานวณคะแนนที่ได้ ไปคานวณด้วยการเทยี บบัญญตั ิไตรยางศ์ โดยใชส้ ัดส่วนร้อยละ
100 เทา่ กบั 4 คะแนน (ค่าน้าหนักคะแนน 4 คะแนน) ดงั นี้
ร้อยละของผู้เรียนทม่ี ีคุณลักษณะเปน็ ไปตามเกณฑ์การพิจารณา X 4 คะแนน
100
3. นาคะแนนท่ีได้ไปเทยี บกับเกณฑ์ระดับคณุ ภาพ
ระดบั คุณภาพ กาลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเยยี่ ม
ชว่ งคะแนน 0.00 - 1.99 2.00 - 2.50 2.51 - 3.00 3.01 - 3.50 3.51 - 4.00
ขอ้ มูล ร่องรอย หลกั ฐาน
1. แผนการจัดการเรยี นรู้ในรายวิชาที่เกยี่ วขอ้ ง
2. สมุดบันทึกการเรยี นรู้ ใบงาน ช้นิ งาน และแฟมู สะสมงานของผเู้ รียน
3. ผลการวดั ระดับการรู้หนังสอื ของผู้เรียน
4. การสุ่มตรวจข้อมูลจากสภาพจริง โดยการสัมภาษณ์หรือสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเกี่ยวกับการอ่าน
การเขียน และการสือ่ สารภาษาไทยของผเู้ รยี น
5. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้
6. อ่ืน ๆ
34
ประเด็นการพิจารณาที่ 1.8 ผู้จบการศึกษาข้ันพื้นฐานนาความรู้ ทักษะพื้นฐานท่ีได้รับไปใช้
หรอื ประยุกต์ใช้
ค่าน้าหนกั คะแนน 8 คะแนน
คาอธิบาย
พิจารณาจากผู้จบการศึกษาตามหลักสูตรสามารถนาความรู้ และทักษะพ้ืนฐานที่ได้รับไปใช้
หรอื ประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชวี ิต การประกอบอาชีพ หรอื เพอ่ื การศึกษาตอ่ ในระดบั ทสี่ งู ขึน้
เกณฑ์การพิจารณา
จานวนผู้จบการศึกษาตามหลักสูตรสามารถนาความรู้ ทักษะพื้นฐานท่ีได้รับไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการ
ดาเนินชีวติ การประกอบอาชพี หรอื เพือ่ การศกึ ษาต่อในระดับที่สูงขน้ึ เป็นไปตามคา่ เป้าหมายที่กาหนด
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
0 คะแนน = สถานศึกษาไมม่ ผี ูจ้ บทม่ี ีการนาความร้ไู ปใช้
1 คะแนน = สถานศกึ ษามีจานวนผู้จบทม่ี กี ารนาความร้ไู ปใช้ต่ากวา่ ค่าเปา้ หมาย มากกวา่ ร้อยละ 50
ของคา่ เปาู หมายที่สถานศกึ ษากาหนด
2 คะแนน = สถานศึกษามจี านวนผู้จบที่มีการนาความรู้ไปใช้ตา่ กวา่ คา่ เป้าหมาย แตไ่ ม่เกนิ ร้อยละ 50
ของค่าเปูาหมายท่ีสถานศกึ ษากาหนด
3 คะแนน = สถานศึกษามจี านวนผู้จบทม่ี ีการนาความร้ไู ปใช้เปน็ ไปตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด
4 คะแนน = สถานศึกษามีจานวนผู้จบทม่ี ีการนาความรู้ไปใช้สูงกว่าคา่ เป้าหมาย แต่ไม่เกินร้อยละ 50
ของค่าเปูาหมายท่ีสถานศกึ ษากาหนด
5 คะแนน = สถานศึกษามีจานวนผู้จบทม่ี ีการนาความร้ไู ปใช้สูงกวา่ คา่ เป้าหมาย มากกวา่ ร้อยละ 50
ของค่าเปาู หมายทีส่ ถานศึกษากาหนด
การคิดคานวณคะแนนที่ไดเ้ ทียบกบั คา่ นา้ หนกั คะแนน และการเทียบกบั เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ
1. คานวณคะแนนที่ได้เทียบกบั ค่านา้ หนักคะแนน (ค่านา้ หนักคะแนน 8 คะแนน) จากสูตร
คะแนนทไี่ ด้ (จากเกณฑ์การใหค้ ะแนน) X คา่ นา้ หนกั คะแนน = คะแนนท่ีได้
คะแนนเตม็ (จากเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน)
2. นาคะแนนทีไ่ ด้ไปเทยี บกับเกณฑร์ ะดบั คุณภาพ
ระดบั คุณภาพ กาลังพฒั นา ปานกลาง ดี ดเี ลศิ ยอดเยย่ี ม
ช่วงคะแนน 0.00 - 3.99 4.00 - 5.00 5.01 - 6.00 6.01 - 7.00 7.01 - 8.00
35
ข้อมูล ร่องรอย หลกั ฐาน
1. รายงานผู้จบหลักสูตรรวมจานวน 2 ภาคเรียนในปีงบประมาณที่ดาเนินการประเมินคุณภาพการศึกษา
เช่น เม่ือจัดทารายงานการประเมินตนเอง ปีงบประมาณ 2563 ให้ใช้รายงานผู้จบหลักสูตรของภาคเรียนที่
2/2562 และภาคเรียนท่ี 1/2563 เป็นตน้
2. รายงานสรุปผลการติดตามผู้จบหลกั สูตรท่นี าความร้ไู ปใช้หรือประยุกต์ใช้
3. แบบติดตามผจู้ บหลักสตู ร
4. หนังสือขอตรวจสอบวฒุ ิ
5. หลักฐานอืน่ ๆ ทแ่ี สดงว่าผู้จบหลกั สูตรมกี ารนาความรู้ไปใช้หรอื ประยุกต์ใช้
6. อนื่ ๆ
36
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่เน้นผู้เรียน
เปน็ สาคัญ
พิจารณาจากกระบวนการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีสถานศึกษามีการพัฒนา
หลักสูตรขึ้นอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับบริบท และความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย และชุมชน ท้องถิ่น เพ่ือใช้
ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน มุ่งเน้นให้
ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการออกแบบการเรยี นรู้ ผ่านกระบวนการคิด และการลงมือปฏิบัติท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีสื่อ
เทคโนโลยีดจิ ิทลั แหล่งเรียนรู้ หรือภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินทเี่ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ มกี ารสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างครู
กับผู้เรียน ในฐานะครูกับผู้เรียน มีการกาหนดแนวทางการตรวจสอบ การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ สามารถตรวจสอบได้ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อนาผลการประเมินมาพัฒนาคุณภาพ
ผเู้ รียน ตลอดจนมีการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน และผู้ที่มีความสนใจ
ในการเรยี นรู้
โดยมปี ระเด็นการพิจารณา จานวน 4 ประเด็น ดงั น้ี
1. การพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับบริบท และความต้องการของผู้เรยี น ชุมชน ท้องถิ่น
2. สอ่ื ท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้
3. ครมู ีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนร้ทู ่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ
4. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ
37
ประเดน็ การพิจารณาที่ 2.1 การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับบรบิ ท
และความตอ้ งการของผเู้ รียน ชมุ ชน ท้องถนิ่
คา่ นา้ หนกั คะแนน 5 คะแนน
คาอธบิ าย
พิจารณาจากการดาเนินงานของสถานศึกษาที่สามารถพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาข้ึนอย่างเป็นระบบ
ถูกต้องตามหลักวิชาการ มีความสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
มีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย รวมถึงนโยบายของหน่วยงาน
ต้นสังกัด โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมี
ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะตามที่หลักสูตรกาหนดไว้ โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญครบถ้วน ซึ่ง
อย่างน้อยต้องประกอบด้วย หลักการ จุดหมายของหลักสูตร กลุ่มเปูาหมาย โครงสร้างหลักสูตร ระยะเวลาเรียน
วธิ กี ารจดั การเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล และการจบหลักสตู ร
เกณฑ์การพิจารณา
1. มหี ลักสตู รสถานศึกษาที่จัดทาข้ึน โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา และได้รับการ
อนุมตั จิ ากผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
2. หลักสูตรสถานศึกษามีองค์ประกอบสาคัญครบถ้วน ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วย หลักการ จุดหมาย
ของหลักสูตร กลุ่มเปูาหมาย โครงสร้างหลักสูตร ระยะเวลาเรียน วิธีการจัดการเรียนรู้ กระบวนการจัด
การเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล และการจบหลกั สูตร
3. หลักสูตร สถานศึกษา มีเน้ือหาที่มี ความสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หา และความตอ้ งการของกลุ่มเปาู หมาย
4. มกี ารนาหลกั สูตรสถานศึกษาไปใช้ในการจัดการเรียนรตู้ ามจุดหมายของหลกั สตู ร
5. มกี ารประเมนิ ผลการนาหลกั สตู รไปใช้ และนาผลการประเมินมาปรบั ปรุง หรือพัฒนา
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
1 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนินงานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 1 ข้อ
2 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนินงานไดเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 2 ขอ้
3 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนินงานได้เป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 3 ข้อ
4 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 4 ขอ้
5 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนินงานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 5 ข้อ
นาคะแนนที่ไดจ้ ากเกณฑ์การให้คะแนนไปเทยี บกับเกณฑ์ระดบั คุณภาพ (คา่ นา้ หนักคะแนน 5 คะแนน)
ระดับคณุ ภาพ กาลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลศิ ยอดเยี่ยม
ช่วงคะแนน 0.00 - 2.49 2.50 - 3.12 3.13 - 3.75 3.76 - 4.38 4.39 - 5.00
38
ขอ้ มูล ร่องรอย หลักฐาน
1. คาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา หรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ
งานวิชาการสถานศึกษา
2. บนั ทกึ หรอื รายงานการประชุมทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การพฒั นาหลักสูตร
3. หลักสูตรสถานศึกษา
4. รายงานผลการประเมินผลการนาหลักสตู รไปใช้ และรายงานการนาผลการประเมินมาปรับปรุง หรือพัฒนา
5. อื่น ๆ
39
ประเด็นการพิจารณาท่ี 2.2 ส่ือท่ีเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้
ค่าน้าหนกั คะแนน 5 คะแนน
คาอธิบาย
พิจารณาจากการดาเนินงานของสถานศึกษาที่สามารถพัฒนา หรือจัดหาสื่อการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
สอดคล้องกับหลักสูตรและวิธีการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา รวมถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน
เพ่อื ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ ความเข้าใจในเนื้อหาสาระตามหลักสตู รสถานศึกษา
ในท่นี ้ี สือ่ การเรยี นรู้ แบ่งเปน็ 3 ประเภท คอื
1) สอื่ สงิ่ พมิ พ์ หมายถึง หนังสือ และเอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่แสดงหรือเรียบเรียงสาระความรู้ต่าง ๆ
โดยใชต้ วั หนังสือทีเ่ ป็นตวั เขียน หรอื ตวั พิมพ์เปน็ ส่ือในการแสดงความหมาย
2) ส่ือเทคโนโลยี หมายถึง สื่อการเรียนรู้ท่ีผลิตข้ึนใช้ควบคู่กับเคร่ืองมือโสตทัศนวัสดุ หรือเคร่ืองมือ
ท่ีเป็นเทคโนโลยีใหม่ ๆ รวมถึงกระบวนการต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการ
เรียนรู้
3) สื่ออื่น ๆ ได้แก่ บุคคล ธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม วัสดุ เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ แหลง่ เรยี นรู้ เป็นตน้
เกณฑ์การพจิ ารณา
1. มกี ารพัฒนา หรอื จดั หาส่ือการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายสอดคล้องกบั หลกั สูตรสถานศึกษา
2. มกี ารจัดทาข้อมลู สารสนเทศ หรือทาเนียบสอ่ื การเรียนรู้
3. มีการใช้สอื่ การเรยี นร้ทู ห่ี ลากหลายในการจัดการเรียนรู้
4. มกี ารประเมินความพึงพอใจของผเู้ รยี นทมี่ ตี ่อส่อื การเรียนรู้
5. มีการนาผลการประเมินความพึงพอใจไปใช้ในการพัฒนา หรือจัดหาสื่อการเรียนรู้ที่เป็นไปตามความ
ตอ้ งการ
เกณฑ์การให้คะแนน
1 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนินงานได้เป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 1 ข้อ
2 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 2 ขอ้
3 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนินงานได้เป็นไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 3 ขอ้
4 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานได้เปน็ ไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 4 ขอ้
5 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนินงานได้เปน็ ไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 5 ข้อ
นาคะแนนท่ีไดจ้ ากเกณฑ์การให้คะแนนไปเทยี บกบั เกณฑ์ระดบั คุณภาพ (คา่ นา้ หนักคะแนน 5 คะแนน)
ระดบั คณุ ภาพ กาลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลศิ ยอดเย่ียม
ชว่ งคะแนน 0.00 - 2.49 2.50 - 3.12 3.13 - 3.75 3.76 - 4.38 4.39 - 5.00
40
ขอ้ มลู ร่องรอย หลักฐาน
1. บนั ทกึ ขอ้ ความ คาสงั่ บันทึกหรอื รายงานการประชมุ ที่เก่ียวขอ้ ง
2. รายการ หรอื ทาเนยี บสือ่ เทคโนโลยีดจิ ิทัล แหลง่ เรียนรู้ หรอื ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่
3. เครอื่ งมอื หรอื แบบประเมินความพงึ พอใจมตี ่อสื่อการเรียนรู้
4. ข้อมูล หรอื รายงานผลการประเมนิ คุณภาพเกีย่ วกบั การใช้สอื่ เทคโนโลยีดิจทิ ลั แหลง่ เรียนรู้
หรือภูมิปญั ญาท้องถ่ิน
5. รายงานผลการนาผลการประเมินคุณภาพไปใช้ในการพัฒนาหรือจัดหาส่ือ เทคโนโลยีดิจิทัล
แหล่งเรียนรู้ และภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน
6. หลักสตู รสถานศึกษา
7. แผนการจัดการเรียนรู้
8. อนื่ ๆ
41
ประเด็นการพิจารณาท่ี 2.3 ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ
ค่านา้ หนกั คะแนน 5 คะแนน
คาอธิบาย
พิจารณาจากการดาเนินงานของครูที่สามารถบริหารจัดการ เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนอย่าง
เตม็ ความสามารถ เพอ่ื มุ่งใหผ้ ้เู รียนมคี วามรู้ ทกั ษะ หรือคุณลกั ษณะเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ทคี่ านงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล โดยมกี ารสารวจความต้องการในการ
เรียนรู้ และเปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นไดม้ สี ว่ นรว่ มในการออกแบบการจดั การเรียนรู้ มีการใช้สื่อ และจัดสภาพแวดล้อมท่ี
เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ รวมถึงการให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียนอย่างท่ัวถึง เช่น การวิจัย
ในชนั้ เรยี นเพอื่ พฒั นา หรอื แก้ไขปญั หาของผเู้ รียน เป็นต้น เพือ่ ใหก้ ารจัดกระบวนการเรียนรู้บรรลุตามวัตถุประสงค์
ของหลกั สูตรสถานศึกษา
ในที่น้ี ครู หมายถึง ข้าราชการครู หรือบุคคลที่ได้รับการแต่งต้ังจากสถานศึกษาให้ทาหน้าที่จัดกระบวนการ
เรยี นรู้การศึกษาขน้ั พื้นฐาน
เกณฑก์ ารพิจารณา
1. ครทู กุ คนและผ้เู รยี นรว่ มกันวิเคราะห์ความต้องการการเรียนรู้เปน็ รายบุคคล หรอื รายกลุ่ม
2. ครทู ุกคนออกแบบการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสมกบั ผู้เรยี น
3. ครทู ุกคนมีการจดั การเรียนรู้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้
4. ครูทุกคนมบี ันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
5. ครทู ุกคนมกี ารทาวิจัยในช้ันเรียน เพอื่ พฒั นาหรอื แก้ไขปัญหาของผเู้ รยี น
6. ครูทุกคนมกี ารจัดระบบช่วยเหลือผเู้ รียน ให้คาแนะนา ปรึกษา เพื่อใหป้ ระสบความสาเร็จในการเรียนรู้
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
1 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนินงานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 1 - 2 ข้อ
2 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 3 ขอ้
3 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานได้เป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 4 ข้อ
4 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 5 ข้อ
5 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 6 ขอ้
นาคะแนนท่ีไดจ้ ากเกณฑก์ ารให้คะแนนไปเทยี บกับเกณฑ์ระดับคุณภาพ (คา่ นา้ หนกั คะแนน 5 คะแนน)
ระดับคุณภาพ กาลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเยย่ี ม
ชว่ งคะแนน 0.00 - 2.49 2.50 - 3.12 3.13 - 3.75 3.76 - 4.38 4.39 - 5.00
42
ข้อมลู รอ่ งรอย หลกั ฐาน
1. ผลการวเิ คราะห์ศกั ยภาพการเรยี นรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล และรายกลมุ่
2. แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ
3. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
4. รายงานการวจิ ัยในชน้ั เรียน เพื่อพฒั นาหรือแก้ไขปญั หาของผูเ้ รียน
5. การสุ่มตรวจข้อมลู จากสภาพจริง โดยการสมั ภาษณห์ รอื สังเกตพฤตกิ รรมของผ้เู รยี น
6. แบบประเมนิ คุณภาพครู หรือผู้จดั การเรยี นรู้
7. อนื่ ๆ
43
ประเดน็ การพิจารณาท่ี 2.4 การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
ค่านา้ หนกั คะแนน 5 คะแนน
คาอธิบาย
พิจารณาจากการดาเนินงานของครูที่มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนการศึกษา
นอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างเป็นระบบ โดยมีการใช้เคร่ืองมือ หรือวิธีการวัดและประเมินผล
ท่ีสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และแจ้งข้อมูลผลการประเมินการเรียนรู้ย้อนกลับ
ไปยงั ผูเ้ รียน และนาไปสู่การพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้
เกณฑ์การพจิ ารณา
1. ครูทุกคนมีการกาหนดแนวทางการวัดและประเมินผลท่ีสอดคล้องกับจุดหมายหรือวัตถุประสงค์ของ
หลกั สูตรไว้ในแผนการจดั การเรยี นรู้อยา่ งชัดเจน
2. ครทู ุกคนมีการจดั ทาเครอื่ งมือหรือมวี ธิ ีการวัดและประเมินผลทสี่ อดคล้องกบั แผนการจัดการเรยี นรู้
3. ครทู ุกคนมกี ารช้แี จงรายละเอียดวิธีการวัดและประเมนิ ผลให้แกผ่ ู้เรียน
4. ครทู กุ คนมีการแจ้งผลการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรแู้ กผ่ เู้ รยี นได้รบั ทราบ
5. ครทู ุกคนมีการนาผลการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ไปใช้ในการพฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรู้
เกณฑก์ ารให้คะแนน
1 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานได้เป็นไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 1 ข้อ
2 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานได้เปน็ ไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 2 ขอ้
3 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนินงานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 3 ข้อ
4 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานได้เปน็ ไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 4 ข้อ
5 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 5 ข้อ
นาคะแนนทไ่ี ด้จากเกณฑ์การให้คะแนนไปเทยี บกบั เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ (ค่าน้าหนักคะแนน 5 คะแนน)
ระดับคุณภาพ กาลังพฒั นา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเยย่ี ม
ชว่ งคะแนน 0.00 - 2.49 2.50 - 3.12 3.13 - 3.75 3.76 - 4.38 4.39 - 5.00
ข้อมูล ร่องรอย หลกั ฐาน
1. บันทึกข้อความ คาส่ัง บนั ทึกหรอื รายงานการประชมุ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
2. แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ีสอดคล้องกบั หลกั สตู รสถานศกึ ษา
3. เครอ่ื งมือหรอื วธิ ีการวดั และประเมนิ ผลทสี่ อดคล้องกับแผนการจดั การเรียนรู้
4. รายงานผลการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
5. บนั ทึกหลงั การจัดการเรียนรู้
6. อนื่ ๆ
44
มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา
พิจารณาจากความสามารถในการจัดระบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของ
บุคลากรในสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือข่าย และผู้ที่เกี่ยวข้องในการกาหนดมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาหรือแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี นาไปสู่
การปฏิบัติงานตามแผนของสถานศึกษา และจัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน พร้อมท้ังจัดทา
รายงานผลการดาเนินงานโครงการ กิจกรรม และนาผลการประเมินดังกล่าวไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา รวมถึงการพัฒนาครู วิทยากร ผู้จัดการเรียนรู้ และบุคลากรอ่ืน ๆ ในสถานศึกษาให้มี
ความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติงาน ตลอดจนการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีถูกต้อง
เปน็ ปัจจุบัน สามารถนาไปใช้ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา และการจดั การเรยี นรู้ ได้อย่างมคี ุณภาพ
ในที่น้ี บุคลากรของสถานศึกษา หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการทุกประเภท และ
พนกั งานจ้างเหมาบรกิ าร ซง่ึ ปฏบิ ัติงานอยู่ในสถานศึกษา ท้ังทางด้านงานวิชาการ งานงบประมาณ งานบุคคล และ
งานท่ัวไป
โดยมปี ระเดน็ การพจิ ารณา จานวน 9 ประเด็น ดังน้ี
1. การบริหารจดั การของสถานศกึ ษาท่เี น้นการมสี ่วนร่วม
2. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
3. การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศกึ ษา
4. การใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพอ่ื สนบั สนนุ การบริหารจดั การ
5. การกากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
6. การปฏิบตั หิ น้าทข่ี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาท่ีเป็นไปตามบทบาททีก่ าหนด
7. การส่งเสรมิ สนบั สนุนภาคเี ครอื ข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา
8. การส่งเสริม สนบั สนนุ การสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้
9. การวจิ ัยเพอ่ื การบรหิ ารจดั การศกึ ษาสถานศึกษา
45
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาทีเ่ น้นการมสี ว่ นรว่ ม
คา่ น้าหนกั คะแนน 3 คะแนน
คาอธบิ าย
พิจารณาจากการดาเนินงานของสถานศึกษาที่เน้นให้บุคลากรของสถานศึกษาได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ
กาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
หรือแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษา
ของชาติ นโยบายของรฐั บาลหรือหนว่ ยงานตน้ สังกดั
เกณฑ์การพิจารณา
1. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษารว่ มกบั บุคลากรของสถานศกึ ษาไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ร่วมกันกาหนดเป้าหมายการจัด
การศึกษา วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ และอัตลักษณ์ของสถานศกึ ษา
2. ผู้บริหารสถานศึกษาร่วมกับบุคลากรของสถานศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ร่วมกันกาหนดมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3. ผู้บริหารสถานศึกษาร่วมกับบุคลากรของสถานศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ร่วมกันจัดทาแผนพัฒนาการ
จดั การศกึ ษาหรอื แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบตั ิการประจาปีของสถานศกึ ษา
4. มีการนาข้อมูลความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน หรือผู้รับบริการ มาใช้ในการจัดทาแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาหรือแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบตั ิการประจาปขี องสถานศกึ ษา
5. แผนพฒั นาการจดั การศึกษาหรือแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ได้รับคาปรึกษา ข้อเสนอแนะ และได้รับ
ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
6. แผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา ได้รับคาปรึกษา ข้อเสนอแนะ และได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษา
7. โครงการ กิจกรรมท่ีปรากฏอยู่ในแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา มีความสอดคล้องกับนโยบาย
ของหน่วยงานต้นสังกัด
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
1 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนินงานไดเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์การพจิ ารณา จานวน 1 - 3 ขอ้
2 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 4 ข้อ
3 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 5 ขอ้
4 คะแนน = สถานศึกษาสามารถดาเนินงานไดเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 6 ข้อ
5 คะแนน = สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์การพิจารณา จานวน 7 ข้อ