The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

DDD009.พระพิมพ์สุโขทัย ในกรุงวัดราชบูรณะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

DDD009.พระพิมพ์สุโขทัย ในกรุงวัดราชบูรณะ

DDD009.พระพิมพ์สุโขทัย ในกรุงวัดราชบูรณะ

แนวทางการจดั กลมุ พระพมิ พในกรพุ ระปรางคว ดั ราชบรู ณะ จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

โดย
นายนพพล งามวงษว าน

การคนควาอสิ ระนเ้ี ปน สว นหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ
สาขาวชิ าประวตั ศิ าสตรศ ลิ ปะ
ภาควชิ าประวัตศิ าสตรศ ิลปะ

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
ปการศึกษา 2553

ลขิ สิทธิข์ องบณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศิลปากร

A CATEGORIZATION APPROACH TO THE VOTIVE TABLETS CLASSIFICATION IN
PRA PRANG CRYPT, WAT RACHABURANA, AYUTTHAYA

By
Noppol Ngamwongwan

An Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree
MASTER OF ARTS

Department of Art History
Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY
2010

บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร อนมุ ัตใิ หก ารคน ควา อิสระเรอื่ ง “ แนวทางการจดั
กลุมพระพมิ พใ นกรพุ ระปรางคว ดั ราชบรู ณะ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ” เสนอโดย นายนพพล
งามวงษว าน เปน สวนหนึ่งของการศกึ ษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชา
ประวตั ิศาสตรศ ิลปะ

……...........................................................
(ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ)

คณบดีบัณฑติ วทิ ยาลัย
วันที่..........เดอื น.................... พ.ศ...........

อาจารยท ี่ปรกึ ษาการคน ควาอิสระ
ศาสตราจารย ดร.ศกั ดช์ิ ัย สายสงิ ห

คณะกรรมการตรวจสอบการคน ควา อสิ ระ

.................................................... ประธานกรรมการ
(ผูชว ยศาสตราจารย ดร.รุงโรจน ธรรมรงุ เรอื ง)
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ
(ศาสตราจารย ดร.ศกั ด์ชิ ยั สายสงิ ห)
............/......................../..............

51107314 : สาขาวิชาประวตั ิศาสตรศ ิลปะ
คาํ สําคญั : แนวทางการจัดกลุมพระพิมพใ นกรพุ ระปรางควัดราชบูรณะ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

นพพล งามวงษว าน : แนวทางการจดั กลมุ พระพมิ พในกรพุ ระปรางควดั ราชบูรณะ
จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา. อาจารยท ี่ปรกึ ษาการคนควาอิสระ : ศ.ดร.ศกั ดชิ์ ัย สายสิงห. 111 หนา .

พระพิมพท่ีพบภายในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นับเปน
แหลงขอมูลสําคัญในการศึกษารูปแบบพระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตน ท่ีประกอบไปดวยรูปแบบท่ี
สืบทอดมาจากพระพิมพอิทธิพลศิลปะลพบุรี และรูปแบบพระพิมพศิลปะสุโขทัย รวมถึงรูปแบบ
พระพิมพที่เกิดจากการผสมผสานกันระหวางอิทธิพลศิลปะลพบุรี และ อิทธิพลศิลปะสุโขทัย จน
เปนรูปแบบของพระพิมพท่ีมีลักษณะใกลเคียงกันเปนจํานวนมากภายในกรุพระปรางควัดราช
บูรณะแหงน้ี ทั้งนี้พระพิมพกลุมดังกลาวปรากฏอิทธิพลศิลปะสุโขทัยอยางชัดเจน โดยเฉพาะ
พุทธลักษณะของพระพุทธรูปบนพระพิมพ รวมถึงลวดลายประดับตางๆ อยางไรก็ตามกระแส
ของอิทธิพลศิลปะสุโขทัยท่ีมีอยูมากในพระพิมพภายในกรุแหงน้ีอาจแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธ
ทางการเมืองระหวางอาณาจักรสุโขทัยกับอาณาจักรอยุธยาท่ีมีมากในชวงคราวสรางพระปรางควัด
ราชบรู ณะ

ภาควชิ าประวตั ิศาสตรศ ิลปะ บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ปก ารศึกษา 2553
ลายมอื ช่อื นกั ศึกษา........................................
ลายมอื ชื่ออาจารยท ่ปี รึกษาการคน ควาอิสระ ........................................



51107314 : MAJOR : ART HISTORY
KEY WORD : A CATEGORIZATION APPROACH TO THE VOTIVE TABLETS CLASSIFICATION

IN PRA PRANG CRYPT, WAT RACHABURANA, AYUTTHAYA.
NOPPOL NGAMWONGWAN : A CATEGORIZATION APPROACH TO THE VOTIVE
TABLETS CLASSIFICATION IN PRA PRANG CRYPT, WAT RACHABURANA, AYUTTHAYA.
INDEPENDENT STUDY ADVISOR : PROF. SAKCHAI SAISINGHA, Ph.D. 111 pp.

The votive tablets found inside the crypt of Pra Prang Wat Ratchaboorana, Phra
Nakhon Si Ayutthaya Province, can be regarded as significant information resource in
studying the format of votive tablets in the early ages of Ayutthaya Kingdom Art. Such format
is the integration of Lopburi Art votive tablets and Sukhothai Art votive tablets which make a
lot of similar format of votive tablets inside this crypt. These votive tablets clearly show their
influence of Sukhothai Art, especially Buddhist characters of Buddha image on the votive
tablets including decorative textures. However the prominent influence of Sukhothai Art to
most of the votive tablets in this crypt may reflects the political relations of Sukhothai Kingdom
and Ayutthaya Kingdom at the construction time of Pra Prang Wat Ratchaboorana.

Department of Art History Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2010

Student's signature ........................................

Independent Study Advisor's signature ........................................



กติ ตกิ รรมประกาศ
การคนควาอิสระฉบับน้ีสําเร็จลุลวงไปดวยดีเนื่องจากไดรับการอบรมสงเสริมช้ี
แนวทางท่ีถูกท่ีควรจากบุคคลผูมีพระคุณ อันไดแก พระอุปชฌาย อาจารย บิดา มารดาผูบังเกิด
เกลา ครูบาอาจารยท ่ีไดป ระสิทธิ์ประสาทวชิ าความรมู าทั้งในอดตี และ ปจจุบัน ตลอดจนญาติพ่ี
นอ ง พรอมดวยกลั ญานมิตรทุกคนท่ีใหการสนับสนุน และใหก ําลงั ใจเสมอมา
นอกจากนี้ตองขอขอบคุณปราชญผูรูทุกทานที่ไดทําการศึกษาวิชาความรูเกี่ยวกับ
โบราณคดี และ ประวัติศาสตรศิลปะ พรอมกับไดถายทอดออกมาในรูปแบบหนังสือ เอกสาร
หรือส่ือตางๆ ท่ีสามารถเขาถึงสูผูที่สนใจ ซึ่งจากขอมูลตางๆเหลาน้ีไดมีสวนชวยในการสงตอ
ขอมูล และ แรงบันดาลใจ ตอ ผูท ี่มีความสนใจในดานประวัตศิ าสตร และ ศิลปะ เพ่ือที่จะสามารถ
ทาํ ความเขา ใจ และรักษาคุณคาของศิลปะไทยใหด ํารงอยตู อ ไปในทางท่ีถกู ท่คี วร



สารบัญ
หนา

บทคดั ยอ ภาษาไทย .................................................................................................................... ง
บทคัดยอ ภาษาองั กฤษ ............................................................................................................... จ
กิตตกิ รรมประกาศ..................................................................................................................... ฉ
สารบญั ภาพ ............................................................................................................................... ฌ
สารบัญลายเสน.......................................................................................................................... ฒ
บทที่
1 บทนํา............................................................................................................................. 1
2 ขอมลู การคน พบพระพิมพในกรพุ ระปรางควดั ราชบรู ณะ............................................. 6

ประวตั ิศาสตรก รงุ ศรีอยธุ ยาตอนตน ...................................................................... 6
ประวตั วิ ัดราชบรู ณะ.............................................................................................. 8
วัดราชบรู ณะ ประเดน็ การกําหนดอายุ................................................................... 9
การเปดกรใุ นองคพระปรางคว ัดราชบูรณะ........................................................... 13
การศึกษาพระพิมพใ นกรุพระปรางคว ัดราชบรู ณะ
ความเปนมาในการสรางพระพิมพ. ....................................................................... 16
ประวัตกิ ารศึกษาพระพมิ พในกรพุ ระปรางควัดราชบูรณะ.................................... 16
ประวตั กิ ารสรางพระพิมพ..................................................................................... 19
คตกิ ารสรางพระพมิ พในดนิ แดนไทยขอมูลทีไ่ ดจากจารึก .................................. 19
ผูสรา งพระพมิ พ................................................................................................... 21
3 รูปแบบของพระพมิ พส มัยอยุธยาตอนตนทพี่ บในกรุพระปรางคว ัดราชบูรณะ............. 24
แนวทางการศกึ ษารูปแบบพระพมิ พส มัยอยธุ ยาตอนตน
ในกรพุ ระปรางคว ัดราชบูรณะ .............................................................................. 24
หมวดที่ 1 พระพมิ พอ ทิ ธพิ ลศิลปะลพบุรี.............................................................. 41
หมวดท่ี 2 พระพมิ พศิลปะสโุ ขทยั ........................................................................ 56
หมวดที่ 3 พระพมิ พอทิ ธพิ ลศิลปะสุโขทยั ........................................................... 64
พระพมิ พอ ิทธพิ ลศิลปะสุโขทยั ระยะท่ี 1........................................................... 65
พระพมิ พอ ทิ ธพิ ลศลิ ปะสุโขทัย ระยะท่ี 2........................................................... 71



บทที่ หนา
4 วเิ คราะห และ สรุป........................................................................................................ 101

ลําดบั วิวัฒนาการทางดานรปู แบบของพระพิมพศ ิลปะอยธุ ยาตอนตน
ท่ีพบจากกรพุ ระปรางคว ดั ราชบรู ณะ.................................................................... 102
พระพมิ พอิทธพิ ลศลิ ปะลพบุรี ............................................................................. 102
พระพมิ พศลิ ปะสโุ ขทัย ........................................................................................ 102
พระพิมพอ ิทธิพลศิลปะสุโขทยั ............................................................................ 103
รปู แบบนยิ มพระพิมพอ ทิ ธพิ ลศลิ ปะสโุ ขทัยในกรพุ ระปรางค
วดั ราชบรู ณะ : ความสมั พนั ธก บั หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร.............................. 105
บรรณานกุ รม............................................................................................................................. 107
ประวัตผิ ูวจิ ัย .............................................................................................................................. 111



สารบัญภาพ
ภาพท่ี หนา
1 ปรางคป ระธานวดั ราชบูรณะ จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ....................................... 10
2 สว นบนปรางคป ระธานวัดราชบูรณะ.................................................................... 10
3 พระพุทธรูปปางมารวชิ ยั สาํ ริด ศิลปะสุโขทัยหมวดใหญ

จดั แสดงในพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง ชาตสิ โุ ขทยั ................................................ 25
4 พระพทุ ธรูปลีลา สาํ ริด ศิลปะสุโขทยั หมวดใหญ ประดษิ ฐานภายใน

ระเบียงพระอุโบสถวดั เบญจมบพติ ร กรุงเทพฯ............................................ 26
5 พระพทุ ธรูปปางมารวชิ ยั สาํ ริด ศลิ ปะแบบอทู องรนุ ที่ 1

พิพิธภณั ฑสถานแหงชาตพิ ระนคร ................................................................ 27
6 พระพุทธรปู ปางมารวชิ ยั ทองคํา ศลิ ปะแบบอทู องรนุ ที่ 2

พิพธิ ภัณฑสถานแหง ชาตเิ จา สามพระยา พระนครศรีอยุธยา......................... 28
7 พระพทุ ธรูปปางประธานอภัย สํารดิ ศลิ ปะแบบอทู องรนุ ที่ 2 ประดิษฐาน

ภายในระเบยี งพระอุโบสถ วัดเบญจมบพติ ร กรุงเทพฯ................................ 29
8 พระพุทธรูปปางมารวชิ ัย เนือ้ นาก ศลิ ปะแบบอูท องรนุ ท่ี 3

พพิ ิธภัณฑสถานแหง ชาตเิ จา สามพระยา พระนครศรีอยธุ ยา......................... 30
9 หนา มขุ ปรางคป ระธานวดั พระศรีรตั นมหาธาตุ ลพบรุ ี......................................... 32
10 พระพมิ พศลิ ปะลพบุรีไดจ ากกรพุ ระปรางคว ดั ราชบรู ณะ..................................... 32
11 กรอบซุม หนา นางประดับหนา กาล เจดยี ทรงปราสาทแบบสโุ ขทัย

ประจําทิศตะวันออก วดั มหาธาตุ สโุ ขทยั ..................................................... 34
12 กรอบซมุ หนา นางประดับรูปกนิ รี ไดจากวดั พระพายหลวง สุโขทัย

พิพธิ ภัณฑสถานแหง ชาตสิ โุ ขทัย................................................................... 34
13 กรอบซมุ หนานางประดับเจดยี ห มายเลข 25

วดั เจดียเ จ็ดแถว ศรสี ัชนาลยั ......................................................................... 35
14 จิตรกรรมภาพอดตี พุทธเจา ภายในวิหารพยาตองสู ศิลปะพุกามตอนปลาย ........ 36
15 จิตรกรรมฝาผนังคูหาปรางคม ุมตะวนั ตกเฉยี งเหนอื

บนฐานไพทปี รางคม หาธาตุ วดั มหาธาตุ พระนครศรอี ยุธยา....................... 37
16 จติ รกรรมภาพพระอดตี พทุ ธเจา บนผนงั มุขยนื่ ปรางคป ระธาน

วดั พระราม พระนครศรอี ยุธยา ..................................................................... 37



ภาพท่ี หนา
17 พระพุทธรูปปางมารวิชยั สาํ ริด ศลิ ปะลพบุรี

พบในกรพุ ระปรางควดั ราชบูรณะ ................................................................ 39
18 ซมุ ทรงโคง ปูนปน ภายในจระนําเจดียท รงปราสาทยอด

วดั มหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา..................................................................... 39
19 ซมุ ทรงโคง ปนู ปน ในศลิ ปะสโุ ขทัย

วัดตระพงั ทองหลาง สโุ ขทยั ......................................................................... 40
20 พระพิมพซุมทรงบรรพแถลง อทิ ธิพลศลิ ปะลพบุรี

จากกรุพระปรางควัดราชบูรณะ..................................................................... 42
21 พระพมิ พซมุ ทรงบรรพแถลง อิทธิพลศิลปะลพบรุ ี

จากกรพุ ระปรางควัดราชบรู ณะ
พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาตเิ จาสามพระยา พระนครศรอี ยธุ ยา......................... 43
22 พระพมิ พซมุ ทรงบรรพแถลง อิทธพิ ลศิลปะลพบุรี
จากกรุพระปรางคว ดั ราชบูรณะ
พิพิธภัณฑสถานแหง ชาตเิ จาสามพระยา พระนครศรีอยุธยา......................... 45
23 พระพมิ พท องคาํ พบในกรพุ ระปรางคว ัดราชบรู ณะ
พพิ ิธภัณฑสถานแหงชาตเิ จา สามพระยา พระนครศรอี ยธุ ยา......................... 45
24 พระพมิ พซ มุ เรือนแกว อทิ ธิพลศิลปะลพบรุ ี
จากกรุพระปรางควัดราชบรู ณะ..................................................................... 47
25 พระพิมพซ ุม เรือนแกว อิทธิพลศิลปะลพบรุ ี
จากกรพุ ระปรางควดั ราชบรู ณะ..................................................................... 48
26 ซุมเรือนแกว ปนู ปนประดบั ปรางคประธาน
วดั พระศรีรตั นมหาธาตุ ลพบรุ ี...................................................................... 49
27 ลักษณะซุมเรอื นแกว ในจิตรกรรมภาพอดตี พุทธเจา
ภายในวิหารพยาตองสู ศิลปะพุกามตอนปลาย ............................................. 50
28 พระพิมพซมุ เรอื นแกว อิทธิพลศิลปะลพบรุ ี
จากกรุพระปรางคว ดั ราชบรู ณะ..................................................................... 51
29 พระพิมพศลิ ปะลพบรุ ี จากกรพุ ระปรางควดั ราชบูรณะ
พิพธิ ภณั ฑสถานแหงชาตเิ จา สามพระยา พระนครศรีอยธุ ยา......................... 52
30 พระพิมพท องคาํ ศลิ ปะพุกาม.............................................................................. 52



ภาพท่ี หนา
31 พระพิมพป ระเภทแผง อิทธิพลศลิ ปะลพบุรี

จากกรพุ ระปรางคว ัดราชบูรณะ..................................................................... 53
32 พระพมิ พป ระเภทแผง ศลิ ปะพกุ าม ..................................................................... 54
33 พระพิมพประเภทแผง อทิ ธิพลศิลปะลพบุรี

จากกรพุ ระปรางคว ัดราชบูรณะ..................................................................... 54
34 พระพิมพซมุ หนา นาง ศิลปะสุโขทยั

จากกรุพระปรางควัดราชบูรณะ..................................................................... 57
35 รปู พุทธประวตั ติ อนเสด็จลงจากดาวดงึ ส

มณฑปวัดตระพังทองหลาง สุโขทัย ............................................................. 57
36 กรอบซุมหนา นางประดบั เจดยี หมายเลข 25

วัดเจดยี เ จ็ดแถว ศรีสัชนาลัย ......................................................................... 61
37 พระพิมพซุมหนา นาง ศลิ ปะสโุ ขทยั

จากกรปุ รางคประธานวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุ สุพรรณบรุ ี........................... 62
38 พระพมิ พซุมทรงบรรพแถลง อิทธิพลศิลปะสุโขทัย

จากกรุพระปรางคว ัดราชบูรณะ..................................................................... 66
39 พระพิมพซ มุ ทรงบรรพแถลง อทิ ธพิ ลศิลปะสุโขทยั

จากกรพุ ระปรางคว ดั ราชบรู ณะ..................................................................... 67
40 พระพิมพซ มุ เรอื นแกว อิทธพิ ลศิลปะสโุ ขทัย

จากกรพุ ระปรางคว ัดราชบรู ณะ..................................................................... 68
41 พระพมิ พซ มุ เรือนแกว อิทธิพลศิลปะสุโขทัย

จากกรพุ ระปรางคว ดั ราชบรู ณะ..................................................................... 68
42 พระพิมพประเภทแผง อิทธพิ ลศิลปะสุโขทัย

จากกรุพระปรางควดั ราชบรู ณะ..................................................................... 69
43 พระพทุ ธรูปแบบอูทองรนุ ท่ี 3 หนิ ทราย

วัดมหาธาตุ พระนครศรอี ยธุ ยา..................................................................... 70
44 พระพิมพด นุ เงนิ พบจากกรพุ ระปรางคว ัดมหาธาตุ ............................................. 71
45 พระพิมพซุมหนา นาง อทิ ธพิ ลศิลปะสโุ ขทัย

จากกรพุ ระปรางควัดราชบูรณะ..................................................................... 73



ภาพท่ี หนา
46 พระพมิ พซ มุ หนา นาง อทิ ธิพลศิลปะสโุ ขทัย

จากกรพุ ระปรางควัดราชบูรณะ..................................................................... 73
47 พระพมิ พซุม หนา นาง (ซุมเสมาทิศ) อทิ ธิพลศลิ ปะสุโขทัย

จากกรพุ ระปรางควัดราชบรู ณะ
พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาตเิ จาสามพระยา พระนครศรีอยุธยา......................... 74
48 พระพิมพทองคาํ ดุนนูน แสดงอทิ ธิพลศลิ ปะจนี จากกรุพระปรางคว ัดราชบรู ณะ
พพิ ิธภัณฑสถานแหง ชาตเิ จา สามพระยา พระนครศรีอยธุ ยา......................... 75
49 เทวดาโปรยดอกไมในภาพพทุ ธประวตั ติ อนยมกปาฏหิ าริย
มณฑปวัดตระพังทองหลาง สโุ ขทัย ............................................................. 76
50 กรอบซุม หนานางประดบั ซุมจระนําในกรุพระปรางควัดราชบรู ณะ..................... 77
51 พระพมิ พซุมทรงโคง อิทธิพลศลิ ปะสุโขทยั
จากกรุพระปรางควัดราชบูรณะ..................................................................... 78
52 พระพิมพซมุ ทรงโคง อิทธิพลศิลปะสโุ ขทยั
จากกรุพระปรางควัดราชบรู ณะ..................................................................... 79
53 พระพิมพท องคาํ ดุนนนู ในกรอบทองแดงรปู ซุมทรงโคง จากกรพุ ระปรางค
วัดราชบูรณะ พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาตเิ จา สามพระยา พระนครศรีอยธุ ยา ... 81
54 ลายประดับกรอบจารกึ วดั สรศกั ดิ์ พิพธิ ภัณฑสถานแหง ชาติสุโขทัย................... 81
55 พระพมิ พซมุ ทรงโคง อิทธพิ ลศิลปะสโุ ขทัย
จากกรพุ ระปรางควัดราชบรู ณะ..................................................................... 83
56 จิตรกรรมฝาผนงั ภาพพระพุทธเจา ประทับในซมุ ทรงโคง
ภายในกรพุ ระปรางคว ัดราชบรู ณะ ................................................................ 84
57 จิตรกรรมฝาผนงั ภาพพระพุทธรปู อิรยิ าบถลีลา
ประทบั ในซุมทรงโคง ภายในกรพุ ระปรางคว ัดราชบูรณะ........................... 84
58 พระพมิ พประเภทโพธิบลั ลงั ก อิทธิพลศิลปะสโุ ขทัย
จากกรุพระปรางคว ดั ราชบูรณะ..................................................................... 85
59 ภาพคดั ลอกจิตรกรรมฝาผนงั ภายในประจําทิศตะวนั ตก
วัดเจดยี เ จ็ดแถว ศรีสชั นาลัย ......................................................................... 86



ภาพท่ี หนา
60 พระพมิ พป ระเภทแผง อิทธพิ ลศลิ ปะสุโขทัย

จากกรุพระปรางควัดราชบูรณะ
พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาตเิ จาสามพระยา พระนครศรอี ยุธยา......................... 87
61 ภาพพทุ ธประวตั ติ อนยมกปาฏหิ าริยท ี่สาวัตถี
มณฑปวดั ตระพังทองหลาง สุโขทัย ............................................................. 87
62 พระพิมพประเภทแผง อิทธิพลศิลปะสโุ ขทัย
จากกรพุ ระปรางคว ัดราชบรู ณะ..................................................................... 88
63 พระพิมพซมุ หนา นาง อทิ ธพิ ลศลิ ปะสโุ ขทัย
จากกรุพระปรางคว ัดราชบรู ณะ..................................................................... 88
64 พระพิมพซ ุมทรงบรรพแถลง อิทธพิ ลศิลปะสโุ ขทยั
จากกรพุ ระปรางควดั ราชบรู ณะ..................................................................... 90
65 พระพมิ พซ ุมทรงบรรพแถลง อทิ ธิพลศิลปะสุโขทยั
จากกรุพระปรางควัดราชบรู ณะ..................................................................... 90
66 พระพิมพซ มุ ทรงบรรพแถลง อิทธพิ ลศลิ ปะสโุ ขทยั
จากกรุพระปรางคว ดั ราชบูรณะ..................................................................... 91
67 พระพิมพซุมหนา นาง อทิ ธิพลศลิ ปะสโุ ขทัย
จากกรพุ ระปรางควัดราชบูรณะ..................................................................... 91
68 พระพิมพซุมเรือนแกว อทิ ธพิ ลศิลปะสุโขทัย
จากกรุพระปรางควัดราชบรู ณะ
พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง ชาตเิ จา สามพระยา พระนครศรอี ยุธยา......................... 92
69 พระพิมพซุมเรอื นแกว อทิ ธพิ ลศลิ ปะสุโขทัย
จากกรพุ ระปรางควัดราชบรู ณะ..................................................................... 93
70 จิตรกรรมฝาผนงั ภาพพระพุทธเจาในซุม เรือนแกว
ในกรพุ ระปรางคว ัดราชบูรณะ พระนครศรอี ยุธยา ........................................ 94
71 พระพิมพป ระเภทแผง อิทธพิ ลศิลปะสุโขทัย
จากกรุพระปรางควดั ราชบูรณะ..................................................................... 95
72 พระพมิ พประเภทแผง อทิ ธิพลศลิ ปะสโุ ขทัย
จากกรุพระปรางควดั ราชบรู ณะ..................................................................... 96



ภาพที่ หนา
73 พระพิมพประเภทแผง อทิ ธิพลศลิ ปะสโุ ขทัย

จากกรุพระปรางคว ดั ราชบูรณะ..................................................................... 97



ลายเสนที่ สารบญั ลายเสน
1 หนา

2 ภาพลายเสน กระหนกซุมประภามณฑลประดบั จระนาํ เจดยี 
วดั ไกเ ต้ีย สุพรรณบุรี .................................................................................. 46
3
ลักษณะสว นฐานของพระพมิ พศลิ ปะสุโขทยั
4 จากกรพุ ระปรางควดั ราชบรู ณะ พระนครศรีอยุธยา.................................... 59

5 ซมุ หนา นางบนพระพิมพศลิ ปะสุโขทัย
6 จากกรุพระปรางคว ดั ราชบูรณะ พระนครศรีอยุธยา.................................... 60

7 กรอบซุมหนานางประดบั เจดียห มายเลข 25
วดั เจดียเ จด็ แถว ศรีสัชนาลยั ....................................................................... 61

กรอบซุมหนานางประดับซมุ จระนําในกรพุ ระปรางคว ัดราชบูรณะ.................... 77
ภาพพุทธประวตั ิตอนเสดจ็ ลงจากดาวดึงส

สลกั บนจารกึ วัดสรศักด์ิ พิพิธภณั ฑสถานแหง ชาตสิ ุโขทยั ......................... 83
พระพทุ ธเจาในซุมเรอื นแกว ใตพ มุ โพธิ์พฤกษ

จติ รกรรมฝาผนังในกรพุ ระปรางควัดราชบูรณะ พระนครศรอี ยธุ ยา .......... 94



บทท่ี 1
บทนาํ

ความเปนมาและความสาํ คัญของปญหา
จากการสํารวจกรุภายในองคพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในป

พ.ศ.2500 ทางกรมศิลปากรไดคนพบเครื่องทองจํานวนมาก รวมถึงการคนพบพระพิมพทองคํา
และพระพิมพทําดวยชิน (ดีบุก) อีกจํานวนหนึ่ง1 กระทั่งตอมาใน พ.ศ.2501 กรมศิลปากรไดทําการ
เปดกรุทั้ง 7 กรุ ภายในองคพระปรางควัดราชบูรณะ และผลที่ไดจากการขุดสํารวจในคร้ังน้ีคือการ
พบพระพทุ ธรปู จาํ นวนหนึง่ และพระพิมพท าํ ดวยชินอกี จํานวนนบั แสนองค2

ขอ มูลจากพระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์ิ ระบุวาวัดราชบูรณะ
สรางขึ้นใน พ.ศ.1967 โดยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจาสามพระยา) หรือแมกระทั่งลักษณะ
ทางสถาปตยกรรมของวัดราชบูรณะแหงนี้ นักวิชาการในปจจุบันสวนใหญไดลงความเห็นวาเปน
รูปแบบของสถาปตยกรรมในสมัยอยุธยาตอนตนอยางแนชัด3 ดังนั้นจึงมีความเปนไปไดวาพระ
พิมพจํานวนนับแสนองคที่พบภายในกรุพระปรางควัดราชบูรณะจะตองสรางขึ้นในรุนราวคราว
เดียวกับพระปรางค หรือสรางขึ้นกอนแลวจึงนํามาบรรจุรวมในองคพระปรางค4 ดังสังเกตไดจาก
รูปแบบพระพมิ พศิลปะทวารวดี และพระพมิ พศิลปะลพบุรี

1 กฤษณ อินทโกศัย, “รายงานการเปดกรุในองคพระปรางควัดราชบูรณะ,” ใน
จิตรกรรม และศิลปวัตถุ ในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (พระนคร : กรม
ศิลปากร, 2501), 26.

2 กฤษณ อินทโกศัย, “เปดกรุวัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา,” ใน พระพุทธรูป
และ พระพิมพในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (พระนคร : กรมศิลปากร,
2502), 14.

3 สันติ เล็กสุขุม, ศิลปะอยุธยา งานชางหลวงแหงแผนดิน , พิมพคร้ังท่ี 3 (กรุงเทพฯ :
สาํ นกั พิมพเ มอื งโบราณ, 2550), 43, 55, 154, 155, 156.

4 หลวงบริบาลบุรีภัณฑ, “ประติมากรรมสมัยอยุธยา,” ใน จิตรกรรม และศิลปวัตถุ ในกรุ
พระปรางควัดราชบูรณะ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา (พระนคร : กรมศลิ ปากร, 2501), 41.

1

2

อยางไรก็ตามพระพิมพในกรุพระปรางควัดราชบูรณะสวนใหญมีรูปแบบศิลปกรรม
ในชวงพุทธศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งจัดอยูในสมัยอยุธยาตอนตน และจัดเปนหลักฐานสําคัญใน
การศึกษารูปแบบพระพิมพสมัยอยุธยาตอนตนท่ีทราบถึงแหลงคนพบที่ชัดเจน และมีเอกสารทาง
ประวตั ิศาสตรร องรบั ดงั น้นั ในการศกึ ษารูปแบบพระพิมพสมัยอยธุ ยาตอนตน ในกรพุ ระปรางควัด
ราชบูรณะอาจชวยยังผลสูความเขาใจถึงพัฒนาการทางดานรูปแบบพระพิมพสมัยอยุธยาตอนตน
รวมถึงความเขาใจเก่ียวกบั อทิ ธิพลทางศิลปะที่อาจเกย่ี วเน่ืองกับอาํ นาจทางการเมอื งในขณะน้นั

โดยสวนหน่ึงยังคงสืบทอดรูปแบบศิลปะมาจากศิลปะลพบุรี และอีกสวนหนึ่งเปนพระ
พิมพท่ีเก่ียวของโดยตรงกับอิทธิพลศิลปะสุโขทัย พระพิมพสมัยอยุธยาตอนตนกลุมท่ีสืบทอด
รูปแบบมาจากอิทธิพลศิลปะลพบุรีมักจะปรากฏแบบอยางเชนเดียวกับพระพิมพแบบลพบุรี
โดยเฉพาะพระพิมพประเภทซุมทรงบรรพแถลง และซุมประภามณฑล รวมถึงรูปแบบ
พระพุทธรูปบนพระพิมพที่ชวนใหนึกถึงพระพุทธรูปแบบอูทองระยะแรก ซ่ึงยังคงปรากฏพุทธ
ลกั ษณะทดี่ ดุ ันแบบอิทธิพลศลิ ปะลพบรุ ี

นอกจากอิทธิพลศิลปะลพบุรีที่พบในพระพิมพสมัยอยุธยาตอนตนแลว ยังปรากฏพระ
พิมพท่ีมีอิทธิพลศิลปะสุโขทัยอีกเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะในสวนของรูปแบบพระพุทธรูปบน
พระพิมพท่ีแสดงออกมาสอดคลองกับพระพุทธรูปหมวดใหญในศิลปะสุโขทัย และเรามักเรียก
รูปแบบพระพุทธรูปแบบดังกลาววาพระพุทธรูปแบบอูทองรุนท่ี 3 นอกจากนี้ยังมีพระพิมพที่ทํา
เปนพระพุทธรูปอิริยาบถลีลาแบบสุโขทัย รวมถึงการทําซุมเรือนแกวใหมีลักษณะเปนซุมหนา
นางแบบศิลปะสุโขทัย และเปนท่ีนาสังเกตวาพระพุทธรูปแบบอูทองรุนท่ี35 และพระพิมพท่ี
ปรากฏลักษณะอิทธิพลศิลปะสุโขทัย โดยเฉพาะพระพิมพรูปพระลีลาซึ่งเกี่ยวของอยางใกลชิดกับ
ศิลปะสุโขทัยไดพ บเปน จําวนมากในกรพุ ระปรางคว ัดราชบูรณะซึง่ อาจแสดงถึงแบบอยางที่นิยมใน
สมัยสรา งวดั

ดังนั้นการศึกษารูปแบบและการจัดกลุมพระพิมพท่ีมีรูปแบบศิลปะอยูในชวงอยุธยา
ตอนตนที่พบจากกรุพระปรางควัดราชบูรณะ สามารถชวยใหทราบถึงรูปแบบพระพิมพที่นาจะ
สรา งขึ้นในชว งของการสรา งพระปรางคว ดั ราชบูรณะวา มีลักษณะรปู แบบทน่ี ิยมเปนเชนไร รวมถึง
ลักษณะทางศิลปกรรมท่ีปรากฏบนพระพิมพกลุมดังกลาว อาจชวยยังผลไปสูความเขาใจในดาน

5 หมอ มเจา สุภัทรดศิ ดิศกุล, “โบราณวัตถุที่คนพบจากพระปรางควัดราชบูรณะรุนท่ี 2,”
ใน พระพทุ ธรูป และ พระพมิ พในกรุพระปรางคว ัดราชบูรณะ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (พระนคร
: หางหุนสว นจาํ กัดศวิ พร, 2502), 16.

3

กระแสอิทธิพลทางศิลปะท่ีดําเนินอยูในชวงระยะเวลาการสรางพระปรางควัดราชบูรณะ (ครึ่งหลัง
พทุ ธศตวรรษท่ี20) รวมถงึ ความเขา ใจในดานอํานาจทางการเมอื งในชว งเวลาดังกลา วดวยเชน กนั

ความมุงหมายและวตั ถปุ ระสงคใ นการศึกษา
1. เพื่อแสดงวิธีการกําหนดอายุของพระพิมพภายในกรุพระปรางควัดราชบูรณะให

ชัดเจนโดยวิธีการศึกษารูปแบบพระพุทธรูปบนพระพิมพ รวมถึงลวดลายประดับตางๆบนพระ
พมิ พ

2. เพื่อทราบถึงรูปแบบพระพิมพในชวงสมัยอยุธยาตอนตน รวมถึงอิทธิพลทางศิลปะที่
มบี ทบาทตอ รูปแบบพระพมิ พแ บบดงั กลาว

3. เพื่อทราบถึงรูปแบบพระพิมพที่นิยมอยูในชวงระยะเวลาการสรางพระปรางควัดราช
บูรณะ รวมถึงอิทธพิ ลทางศิลปะท่ีมบี ทบาทตอ พระพิมพร ูปแบบดังกลา ว

4. ผลสัมฤทธิ์จากการศึกษารูปแบบพระพิมพในกรุพระปรางควัดราชบูรณะกลุมที่นาจะ
สรางข้ึนในคราวสรางพระปรางควัดราชบูรณะ อาจชวยยังผลสูความเขาใจถึงกระแสความนิยมใน
รูปแบบพระพุทธรูปบนพระพิมพ ซึ่งอาจเก่ียวเนื่องกับรูปแบบที่นิยมของพระพุทธรูปในสมัยการ
สรางพระปรางค

5. เพ่ือทราบถึงคติความหมายทางพุทธประวัติที่แสดงผานรูปแบบพระพิมพในกรุพระ
ปรางคว ดั ราชบูรณะ

6. จากการศึกษารปู แบบพระพมิ พภายในกรพุ ระปรางควัดราชบูรณะ สามารถอธิบายถึง
ความสัมพันธร ะหวางอาณาจักรอยธุ ยา กบั อาณาจักรสุโขทยั ทง้ั ในดา นรูปแบบอิทธพิ ลทางศลิ ปะ
ซ่งึ อาจโยงใยไปสูความสัมพันธทางดา นการเมอื ง

สมมุตฐิ านของการศกึ ษา
พระพิมพท่ีพบภายในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนพระ

พมิ พทนี่ าจะสรา งขึน้ พรอมกับการสรางพระปรางค ซ่ึงก็อาจตรงกับรัชกาลของสมเด็จเจาสามพระ
ยา โดยพระพิมพสวนใหญปรากฏรูปแบบทางศิลปะในชวงพุทธศตวรรษท่ี 20 ที่ประกอบไปดวย
รูปแบบพระพิมพท่ีสืบทอดมาจากอิทธิพลศิลปะลพบุรี และรูปแบบพระพิมพศิลปะสุโขทัย
รวมถึงรูปแบบพระพิมพที่เกิดจากการผสมผสานกันระหวางอิทธิพลศิลปะลพบุรี และ อิทธิพล
ศิลปะสุโขทัยจนเปนรูปแบบของพระพิมพท่ีมีลักษณะใกลเคียงกันเปนจํานวนมากภายในกรุพระ
ปรางควัดราชบูรณะแหงน้ี อยา งไรก็ตามกระแสของอิทธิพลศลิ ปะสุโขทยั ทม่ี อี ยูมากในพระพิมพ

4

ภายในกรุพระปรางควัดราชบูรณะนี้อาจแสดงใหเห็นถึงชวงสมัยแหงการรวมตัวกันของอิทธิพล
ศิลปะลพบรุ กี ับศลิ ปะสุโขทยั ซึ่งอาจเนอ่ื งมาจากความสมั พนั ธก ันทางการเมอื ง

ขอบเขตการศึกษา
1. ศึกษาพระพิมพท่ีพบภายในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เฉพาะพระพมิ พเน้อื ชนิ ท่มี รี ปู แบบศลิ ปะในชวงอยธุ ยาตอนตน
2. ศึกษาพระพิมพกรุพระปรางควัดราชบูรณะ โดยมุงเนนท่ีรวบรวมไวในหนังสือ

“จิตรกรรมและศิลปวัตถุในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” หนังสือ
“พระพุทธรปู และ พระพมิ พ ในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” และจากท่ี
จัดแสดงอยใู นพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาตสิ มเด็จเจาสามพระยา จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา เปน หลัก

ขน้ั ตอนการศึกษา
1. ศึกษาขอมูลและเอกสารท่ีเกี่ยวของกับพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัด

พระนครศรีอยธุ ยา
2. ศึกษาถึงตําแหนงของกรุภายในพระปรางค รวมถึงพระพิมพและวัตถุอ่ืนๆ ท่ีคนพบ

ภายในกรพุ ระปรางคว ัดราชบูรณะ
3. ทําการจําแนกรูปแบบทางศิลปะของพระพิมพออกเปนหมวดหมู โดยยึดทฤษฎี

รปู แบบอิทธพิ ลศิลปะสมัยตางๆเปนตัวชว ยพิจารณา
4. นําลวดลายประดับบางอยางท่ีพบประดับอยูบนพระพิมพไปใชเทียบเคียงกับลวดลาย

ประดับสถาปตยกรรม หรือประติมากรรมในสมัยอยุธยาตอนตน เพื่อที่จะใชเปนเกณฑในการ
กําหนดอายุ และรูปแบบทางศิลปกรรมไดชดั เจนยิ่งขน้ึ

5. ทําการศึกษาและตรวจสอบรูปแบบของพระพิมพชนิดที่พบมากในกรุพระปรางควัด
ราชบรู ณะ เพือ่ อาจยังผลไปสรู ปู แบบพระพมิ พท ีน่ ยิ มในชวงคราวสรางพระปรางควัดราชบูรณะ

6. ศึกษาเอกสารทางประวัตศิ าสตรอนั เกย่ี วเนอื่ งกบั สภาพทางสังคมและการเมืองในสมยั
อยุธยาตอนตน โดยเฉพาะในรชั กาลของสมเดจ็ เจา สามพระยา

7. นําผลท่ีไดจ ากขอ มูลท้ังหมดมาทําการวิเคราะห สรปุ ผล และเสนอผลการวิจัยออกมา
ในรูปเลมสารนพิ นธ

5

ประโยชนท ค่ี าดวาจะไดร บั
1. มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับรูปแบบพระพิมพสมัยอยุธยาตอนตน โดยเฉพาะ

รปู แบบพระพมิ พท่นี ิยมอยใู นชว งคราวสรา งพระปรางคว ดั ราชบรู ณะ
2. สามารถทราบถึงอิทธิพลศิลปะของพระพิมพในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ เพื่อ

นําไปสคู วามเขาใจในดา นอิทธพิ ลทางการเมอื งในสมัยอยุธยาตอนตน
3. พระพิมพท่ีพบภายในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ อาจใชเปนหลักฐานสําคัญใน

การศึกษารูปแบบพระพิมพในสมัยอยุธยาตอนตน ที่สามารถนํารูปแบบไปใชเทียบเคียงกับพระ
พิมพท่ีพบจากแหลงโบราณสถานอ่ืนที่ไมมีขอมูลทางประวัติศาสตร เพื่อใชสนับสนุนในการ
กําหนดอายุโบราณสถานแหลงนนั้

ขอ ตกลงเบอ้ื งตน
1. พระพิมพจํานวนมากที่พบภายในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ ปรากฏรูปแบบท่ี

หลากหลาย รวมถึงรูปแบบพระพิมพท่ีมีมากอนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา เชน พระพิมพศิลปะ
ทวารวดี และพระพิมพศิลปะลพบุรี อยางไรก็ดีเปนท่ีทราบกันแลววาพระพิมพที่มีรูปแบบกอน
สถาปนากรุงนั้นมีรูปแบบที่เปนเอกลักษณสามารถจําแนกไดโดยงาย แตในสวนของพระพิมพท่ีมี
รูปแบบศิลปะในชวงสมัยอยุธยาตอนตนน้ันปรากฏรูปแบบที่หลากหลาย จนชวนใหคิดไดวาใน
สมัยอยุธยาตอนตนอาจมีการพัฒนารูปแบบพระพิมพอยางตอเนื่อง ซึ่งอาจขึ้นอยูกับระยะเวลา
และอิทธิพลทางศลิ ปะแบบใหมท่เี ขามามบี ทบาทในอาณาจักรอยุธยาตอนตน

ดังนั้นในการศึกษาพระพิมพในกรุพระปรางควัดราชบูรณะครั้งน้ีจึงมุงเนนเฉพาะกลุม
พระพิมพที่มรี ูปแบบศิลปะในชวงอยุธยาตอนตน เพ่ือที่ตองการจะทราบถึงพัฒนาการของรูปแบบ
พระพิมพสมัยอยุธยาตอนตนแตละชวงสมัยจนกระทั่งสามารถทราบถึงรูปแบบพระพิมพที่นิยมอยู
ในคราวสรา งพระปรางควัดราชบูรณะ รวมถึงอทิ ธิพลศิลปะทม่ี ีบทบาทอยูใ นขณะนั้น

2. วิธกี ารในการศกึ ษารูปแบบพระพมิ พสมัยอยุธยาตอนตนที่พบในกรุพระปรางคว ดั ราช
บูรณะ มีวธิ กี ารโดยจะเลือกพระพิมพที่มีรูปแบบทางศิลปะใกลเคียงกันมาจัดเปนหมวดหมู ซ่ึงแต
ละหมวดยงั สามารถแยกออกเปน แตละประเภท เชน ประเภทประดับซุม ประเภทแผง และประเภท
โพธิบัลลังก อยางไรก็ตามในการศึกษาคร้ังนี้จะเลือกเฉพาะพระพิมพท่ีมีลักษณะเดนของแตละ
ประเภทมาทําการศึกษาเทานั้น ทั้งนี้เนื่องจากความหลากหลายของรูปแบบพระพิมพที่มีลักษณะ
คลายกันคอนขางมากจึงจําเปนตองเลือกเฉพาะพระพิมพท่ีสามารถนํารูปแบบมาศึกษาเปรียบเทียบ
กบั หลักฐานทางประวตั ิศาสตร และโบราณคดไี ดงาย

บทที่ 2
ขอมูลการคนพบพระพมิ พในกรปุ รางคประธานวดั ราชบรู ณะ

1. ประวัติศาสตรกรุงศรอี ยธุ ยาตอนตน
ขอมูลจากพระราชพงศาวดารกรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์กลาวถึง สมเด็จพระ

รามาธิบดีที่ 1 (พระเจาอูทอง) ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาข้ึนในป พ.ศ.18931 อํานาจของอาณาจักร
อยุธยาไดขยายไปทุกทิศ รวมถึงสามารถยึดเมืองชัยนาทหัวเมืองสําคัญในดินแดนสุโขทัย ซ่ึง
ขณะนน้ั อาจหมายถึงเมอื งพษิ ณุโลก2 และในชว งปแ รกแหง การสถาปนากรงุ ศรอี ยุธยา สมเด็จพระ
เจาอูทองทรงโปรดเกลาฯ ใหพระราชโอรสคือสมเด็จพระราเมศวรไปครองลพบุรีในฐานะเมือง
ลูกหลวง3 ซ่ึงเมืองลพบุรีถือเปนเมืองที่มีบทบาทสําคัญอยางมากต้ังแตสมัยอยุธยาตอนตน โดย
เปนการสบื ทอดวฒั นธรรมเขมรท่ปี รับเปลี่ยนจนเปนแบบเฉพาะของตัวเอง และสืบทอดมายังสมัย
อยุธยาตอนตน ต้ังแตรูปแบบปรางค ระบบแผนผัง พระพุทธรูป และงานปูนปนประดับศาสน
สถาน จากหลักฐานทางศิลปกรรมดังกลาวทําใหเกิดสมมติฐานอยางหนึ่งวา พระเจาอูทองหรือ
กลุมคนท่ีมาสถาปนากรุงศรีอยุธยานั้นนาจะมาจากเมืองลพบุรีก็อาจเปนได รวมทั้งเมื่อมีการ
สถาปนากรงุ ศรีอยุธยาเปน ราชธานแี ลว ลพบรุ กี ย็ ังเปนเมืองสาํ คัญในฐานะเมืองลูกหลวงท่พี ระเจา อู
ทองไดสถาปนาพระราชโอรสมาปกครอง ดังกลาวมาแลว ขางตน4

เม่ือสมเดจ็ พระเจาอูทองสวรรคต (พ.ศ.1912) สมเด็จพระราเมศวรเสดจ็ จากเมอื งลพบรุ ี
มาเสวยราชยไ ดเ พียง 1 ป ขนุ หลวงพะงว่ั พระเชษฐาของพระมเหสพี ระเจาอทู อง เสด็จจากเมือง

1 “พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบบั หลวงประเสริฐอกั ษรนติ ิ,์ ” ใน คาํ ใหก ารชาวกรุงเกา
คาํ ใหก ารขนุ หลวงหาวดั และพระราชพงศาวดารกรงุ เกา ฉบับหลวงประเสรฐิ อกั ษรนติ ิ์, พมิ พค รัง้ ที่
2 (กรุงเทพฯ : สาํ นักพิมพค ลงั วทิ ยา, 2510), 443.

2 ประเสริฐ ณ นคร, “พิษณโุ ลกกับอาณาจกั รสุโขทัย,” ใน ประวัตศิ าสตรเบ็ดเตลด็ รวม
บทนพิ นธ “เสาหลกั ทางวชิ าการ”ของ ศาสตราจารย ดร.ประเสรฐิ ณ นคร (กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมพ
มติชน, 2549), 94-98.

3 พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหตั ถเลขา เลม 1, พมิ พค รง้ั ท่ี 7 (กรงุ เทพฯ : สาํ นักพิมพ
คลังวิทยา, 2516), 111.

4 ศักด์ิชัย สายสิงห, พัฒนาการศิลปกรรมสมัยกอ นอยธุ ยา (พทุ ธศตวรรษที่ 18-23)
(กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร, 2549), 191.

6

7

สพุ รรณบรุ ีมาเสวยราชยแทน ทรงพระนามวา สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 1 สวนสมเด็จพระราเม
ศวรกเ็ สดจ็ กลบั ไปครองเมอื งลพบุรตี ามเดิม6 ในชวงทีส่ มเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1ทรงครอง
ราชยอยู 16 ป ไดทรงยกทัพไปทําสงครามกับเมืองเหนือหลายคร้ัง และสามารถตีสุโขทัยเปน
เมืองข้ึนไดในป 19217 ชวงเวลาดังกลาวน้ีเองอาจเปนชวงท่ีรูปแบบศิลปะสุโขทัยแพรเขามาสู
อาณาจักรอยุธยา

ในป พ.ศ.1931 สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 1 สวรรคต พระเจาทองลันผูเปนพระราช
โอรสเสดจ็ ขึร้ ครองราชยแทนพระราชบิดา และในปนั้นเองสมเด็จพระราเมศวรเสด็จจากลพบุรีมา
ครองราชยโ ดยการปลงพระชนมพระเจา ทองลนั 8

ในป พ.ศ.1938 สมเด็จพระราเมศวรสวรรคต พระราชโอรสคือสมเด็จพระรามราชา ได
ทรงครองราชยตอ แตต อมาทรงยอมสละราชสมบตั ิใหก บั เจา นครอินทร พระราชนัดดาของสมเด็จ
พระบรมราชาธิราชที่ 1 ซึ่งมาจากเมืองสุพรรณบุรี ในป พ.ศ.1952 เมื่อครองราชยแลวทรงพระนาม
วา สมเด็จพระนครินทราธิราช9 และพระองคถือเปนพระเจาแผนดินกรุงศรีอยุธยาพระองคแรกท่ี
เสด็จไปเมืองจนี 10

สมเด็จพระนครินทราธิราชทรงมีพระราชโอรส 3 พระองค คือ เจาอายครองเมือง
สุพรรณบุรี เจาย่ีครองเมืองแพรกศรีราชา (เมืองสรรคบุรี) และเจาสามพระยาครองเมืองชัยนาท
(พิษณุโลก) ซ่ึงตอมาเจาสามพระยาไดครองราชยตอจากพระราชบิดา ใน พ.ศ.196711 เมื่อ
ครองราชยแลวทรงพระนามวา สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ในรัชกาลของพระองคมีหลักฐาน
งานศิลปกรรมทีย่ ังหลงเหลอื มาถงึ ปจจบุ ันอันสะทอ นถงึ การเก่ยี วของกบั อทิ ธิพลศิลปะสุโขทัยอยาง
ชัดเจน โดยเฉพาะอยางย่ิงงานศิลปกรรมท่ีคนพบในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ ที่มีท้ังในสวน

6 “พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์,” ใน คําใหการชาวกรุงเกา
คําใหก ารขนุ หลวงหาวัด และพระราชพงศาวดารกรงุ เกา ฉบบั หลวงประเสรฐิ อักษรนิต,ิ์ 444.

7 เรอ่ื งเดียวกนั , 445.
8 เรื่องเดยี วกัน, 445.
9 เร่ืองเดียวกนั , 445-446.
10 สืบแสง พรหมบญุ , ความสมั พันธในระบบบรรณาการระหวางจีนกับไทย (กรุงเทพฯ :
มลู นธิ โิ คลงการตําราสงั คมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2525), 85-104.
11 “พระราชพงศาวดารกรงุ เกา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนติ ิ์,” ใน คําใหการชาวกรุงเกา
คําใหก ารขนุ หลวงหาวดั และพระราชพงศาวดารกรงุ เกา ฉบับหลวงประเสรฐิ อกั ษรนติ ,์ิ 446.

8

ของ เครือ่ งทอง งานจติ รกรรมฝาผนัง พระพทุ ธรปู และพระพิมพอีกเปนจาํ นวนมาก ซง่ึ ศิลปวตั ถุ
ตา งๆเหลานน้ี ับวา เปน ตวั แทนของรูปแบบงานศิลปกรรมในชวงอยธุ ยาตอนตน ไดเปนอยางดี

2. ประวตั ิวดั ราชบรู ณะ
วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยูท่ี ตําบลทาวาสุกรี อําเภอ

พระนครศรีอยุธยา ดานตะวันออกติดถนนมหาราช ดานใตติดถนนตลาดเจาพรหม ดานตะวันตก
ตดิ ถนนกลาโหม ดานเหนอื มีอาณาเขตตดิ ตอ กับวดั พลบั พลาชัย

รายละเอียดเรื่องการสรางวัดดังกลาวปรากฏในพระราชพงศาวดารฉบับพระ
ราชหัตถเลขา กลาวถึงการทําสงครามแยงชิงราชสมบัติระหวางพระราชโอรสของสมเด็จพระนคริ
นทราธิราช พระนามวา เจาอายพระยา และ เจาย่ีพระยา โดยเจาอายพระยาตั้งทัพที่วัดพลับ
พลาไชย ตําบลปามะพรา ว สวนเจา ยพ่ี ระยามาต้งั ทพั ณ วดั ไชยภมู ิ จะเขา ทางตลาดเจา พรหม ชาง
ตน มาปะทะกันเขา ทเ่ี ชิงสะพานปา ถา น ทง้ั สองพระองคทรงพระแสงของาว ตองพระศอขาดพรอม
กันท้ังสองพระองค มุขมนตรีออกไปเฝาเจาสามพระยา ทูลการซึ่งพระเชษฐาธิราชขาดคอชางท้ัง
สองพระองค แลวเชิญเสด็จเขามาในพระนครเสวยราชสมบัติ ทรงพระนาม สมเด็จพระบรม
ราชาธิราชเจา ทานจึงใหขุดเอาพระศพเจาอายพระยาเจาย่ีพระยาไปถวายพระเพลิง ท่ีถวายพระ
เพลงิ น้ันใหส ถาปนาพระมหาธาตุ และพระวิหาร เปนพระอารามแลว ใหนามช่ือวา วัดราชบุรณะ
ท่ีเจา อา ยพระยาเจายี่พระยาชนชางกันถงึ พริ าลยั ใหกอพระเจดยี ส ององคไวทีเ่ ชิงสะพานปาถาน”12

และนอกจากน้ีในพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์ิระบุถึงขอมูลการ
สรา งวดั ราชบรู ณะไวในทาํ นองเดียวกนั คอื

ศักราช 786 (พ.ศ.1967) มะโรงศก สมเด็จพระอินทราชาเจาทรงพระประชวนนฤพาน ครั้ง
นั้นเจาอายพระยาแลเจาย่ีพระยา พระราชกุมารทานชนชางดวยกัน ณ สะพานปาถาน เถิงพิราไลย
ท้ัง 2พระองคที่นั้น จึงพระราชกุมาร เจาสามพระยา ไดเสวยราชสมบัติพระนครอยุธยา ทรงพระ
นาม สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจา แลทานจึงกอพระเจดียสองพระองคสวมที่เจาพระยาอายแล
เจาพระยาย่ีชนชางดวยกนั เถิงอนิจภาพตําบลปาถานนัน้ ในศกั ราชนนั้ สถาปนาวดั ราชบุณ13

12 พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา เลม1, 119.
13 “พระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับหลวงประเสรฐิ อักษรนติ ์ิ,” ใน คําใหการชาวกรุงเกา
คาํ ใหก ารขนุ หลวงหาวดั และพระราชพงศาวดารกรงุ เกา ฉบบั หลวงประเสรฐิ อักษรนติ ,ิ์ 446.

9

2.1 วดั ราชบรู ณะ : ประเดน็ การกําหนดอายุ

แผนผงั ท่ี 1 วัดราชบูรณะ จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
ทีม่ า : กรมศิลปากร, พระราชวงั และวดั โบราณในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พรอมทง้ั รปู ถายและ
แผนผงั (กรุงเทพฯ :โรงพมิ พสํานักทาํ เนยี บนายกรัฐมนตรี, 2511), 37.

แผนผังของวัดราชบูรณะโดยรวมใหความสําคัญกับแนวแกนทิศตะวันออก (แผนผัง
ที่1) โดยมีพระปรางคขนาดใหญเ ปนประธานของวัดมีระเบียงคดลอมพืน้ ทีบ่ รเิ วณโดยเฉพาะ ดาน
ตะวันออกของระเบยี งคดคือวหิ าร ดานตะวันตกของระเบียงคดคืออุโบสถซึ่งมีขนาดเล็กกวาวิหาร
สําหรับลักษณะการจัดวางตําแหนงสิ่งกอสรางแบบดังกลาวเปนระเบียบท่ีเดนชัดในชวงอยุธยา
ตอนตน 14

ปรางคประธานวัดราชบูรณะผานการซอมปฏิสังขรณคร้ังสําคัญมาแลว ทั้งในอดีต
สมัยกรุงศรีอยุธยา และสมัยปจจุบันในความรับผิดชอบของกรมศิลปากร แตโครงสรางและ
ลักษณะสําคัญของปรางคสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตนยังชัดเจน15 กลาวคือ เหนือฐานไพทีส่ีเหลี่ยม
จัตุรัส ฐานขององคปรางคเร่ิมดวยฐานบัวลูกฟกในผังเพิ่มมุมซอนกันจํานวนสองหรือสามฐาน
จากน้ันขึ้นไปเปนชั้นเชิงบาตรแลวตอดวยสวนของเรือนธาตุที่มีการเพิ่มมุม โดยมุมเดิมส่ีมุมของ
เรือนธาตุจะเดนชดั ดว ยขนาดใหญ เปนประธานของบรรดามุมท่ีเพิ่ม ดานตะวันออกของเรือนธาตุ
ทําเปนมุขที่มีทางเขาสามทางเรียกวา“ตรีมุข” และที่ตรีมุขมีเจดียยอดทรงระฆังต้ังอยูบนสันหลังคา

14 สันติ เล็กสุขุม, งานชางหลวงแหงแผนดิน ศิลปะอยุธยา, พิมพคร้ังที่ 3 (กรุงเทพฯ :
สํานักพิมพเมืองโบราณ, 2550), 42-45.

15 สันติ เล็กสุขุม, เจดียรายทรงปราสาทยอด วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
(กรุงเทพฯ : อมรนิ ทรวิชาการ, 2541), 10-16.

10

สว นดานทศิ ตะวันตก ทิศเหนอื และทิศใต ของเรือนธาตุทําเปนซุมจระนําประดิษฐานพระพุทธรูป
ปูนปนนนู สูง (ภาพที่ 1)

ภาพที่ 1 ปรางคป ระธานวัดราชบูรณะ จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

ภาพที่ 2 สวนบนปรางคป ระธานวดั ราชบูรณะ

11

ตอจากสวนเรือนธาตุข้ึนไปคือสวนยอดท่ีเปนทรงแทง ตอเนื่องแนวเพิ่มมุมท่ีขึ้นมา
จากสว นกลาง ทรงแทงนี้แบง เปน ชั้นซอ นลดหลน่ั กัน แตล ะชนั้ มลี ักษณะคอดลางผายบน โบราณ
นิยมเรียกกันวา “ชั้นรัดประคด” ช้ันรัดประคดแตละชั้นยนยอตามลําดับข้ึนไปจนเปนยอดมน ตอ
ปลายยอดดวยนภศูล อยางไรก็ตามในสวนของชั้นรัดประคดแตละช้ันจะประดับดวยกลีบขนุน
และยานกลางของช้นั รดั ประคดแตละช้ันประดับซมุ วมิ าน (ภาพที่ 2)

งานชางสมัยอยุธยาตอนตนที่ปรางคประธานวัดราชบูรณะ ยังมีหลักฐานทางดาน
ลวดลายปูนปนท่ีประดับอยู ซึ่งศาสตราจารย ดร.สันติ เล็กสุขุม ไดทําการศึกษาลวดลายปูนปนที่
ปรางคประธานวัดราชบูรณะพรอมกับไดกําหนดอายุลวดลายประดับสมัยสรางพระปรางควาเปน
งานท่ีคลี่คลายมาระดับหนึ่งแลวจากงานปูนปนประดับปรางควัดสม ที่กําหนดอายุอยูในราว พ.ศ.
1893-195216

สวนงานที่ทําข้ึนคราวบูรณะของปรางคประธานวัดราชบูรณะ ก็มีอยูดวย ซึ่งแสดง
ลกั ษณะแตกตางชัดเจนจากลวดลายสมัยสราง สําหรับงานสมัยบูรณะดังกลาวอาจอยูในชวงกรุงศรี
อยุธยาตอนปลาย17 เชน เดียวกบั สง่ิ กอ สรางในบรเิ วณวัดที่มีรปู แบบ และระเบยี บการจัดวางแตกตา ง
ไปจากสมัยอยุธยาตอนตนก็อาจเปนงานท่ีสรางขึ้นใหมในชวงอยุธยาตอนปลาย ดังตัวอยาง เจดีย
รายทรงปราสาทยอดในวัดราชบรู ณะ18

จากรปู แบบทางศิลปกรรมแบบอยุธยาตอนตนของวัดราชบูรณะในปจจุบัน กลาวได
วา พระมหาธาตุที่ถูกกลาวในพงศาวดาร นาจะเปนองคพระปรางคประธานที่ปรากฏเปน
โบราณสถานในปจจุบัน พระวิหารอาจเปนพระวิหารหลวงทางทิศตะวันออกขององคพระปรางค
สวนพระอุโบสถนั้นต้ังอยูทางดานตะวันตก และหันหนาไปทิศตะวันตก ซึ่งจากหลักฐานทาง
ศิลปกรรมดังกลาวนี้สามารถกําหนดอายุการสรางท่ีแนนอนวาอยูในสมัยของสมเด็จพระบรม
ราชาธิราชท่ี 2 (เจาสามพระยา) ในป พ.ศ.1967 หากยึดตามศักราชในพระราชพงศาวดารฉบับหลวง
ประเสริฐฯ

16 สันติ เลก็ สขุ มุ , ววิ ฒั นาการของช้ันประดับและลวดลายสมัยอยุธยาตอนตน (กรุงเทพฯ
: อมรนิ ทรการพมิ พ, 2522), 81-82.

17 สันติ เล็กสุขุม, วิวัฒนาการของช้ันประดับและลวดลายสมัยอยุธยาตอนตน, 24, 26,
28, 29.

18 สันติ เล็กสุขุม, เจดียรายทรงปราสาทยอด วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา,
94.

12

แผนผังท่ี 2 ผนังหนาตดั ทางด่งิ แสดงตําแหนง กรุประธาน และกรุบรวิ าร ใตฐ านปรางคประธานวดั
ราชบูรณะ พระนครศรอี ยธุ ยา

ท่ีมา : กรมศิลปากร, พระพทุ ธรปู และพระพมิ พใ นกรุพระปรางควดั ราชบูรณะ จังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา (พระนคร : หางหุนสว นจํากดั ศวิ พร, 2502), แผนผังแสดงกรุทายเลม.

13

2.2 การเปด กรใุ นองคพ ระปรางควดั ราชบรู ณะ
เนื่องจากในป พ.ศ.2500 ไดมีผูรายรวมกับเจาหนาที่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ลักลอบขุดเขาไปในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ เก็บเอาทรัพยสมบัติที่เปนทองและของมีคาไป
มากมาย ทางกรมศิลปากรจึงตองดําเนินการเปดกรุเพื่อจัดเก็บรักษาศิลปวัตถุในองคพระปรางค19
และในป พ.ศ.2501ไดมกี ารขุดสาํ รวจอีกครั้ง20

จากการลักลอบขุดกรุครั้งน้ัน ผูรายไดมีการเจาะเปดศิลาแลงลึกลงไปจากหอง
ครรภคฤหะประมาณ 3.60 เมตร ตรงปากหลุมกวางประมาณ 2.50 เมตร แลวหลุมคอยๆเล็ก สอบ
ลงจนถึงกนหลุมซึ่งมีพ้ืนท่ีเหลือกวางประมาณ 0.70 เมตร เม่ือเปดพื้นข้ึนดานลางคือกรุหองท่ี 1
(แผนผงั ที่ 2)

กรหุ องท่ี 1 ลักษณะเปนหอ งส่ีเหลยี่ มเกือบจตั รุ ัส ผนังทงั้ 4 ดา นกวางประมาณ 1.30-
1.40 เมตร ผนังสูงประมาณ 4.00 เมตร ที่ผนังทั้ง 4 ดาน มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเขียนเปนภาพ
เทวดาเหาะแบบไทยท่ีมีอิทธิพลศิลปะสุโขทัย21 และภาพผูคนแตงกายแบบจีนสมัยราชวงศเหม็ง22
จากปากคําของผูตองหาที่ลักลอบขุดกรุระบุวา ในกรุหองที่ 1 มีพระพุทธรูปทองคําบรรจุอยู 3-4
องค นยั วา องคใหญขนาดหนาตกั ประมาณ 1 ศอก แลวไมมีอะไรอีก

จากการสํารวจหองกรุในองคพระปรางควัดราชบูรณะอยางละเอียดในป พ.ศ.2501
พบวากรหุ องท่ี 1อาจมกี รุเกบ็ ของอยูรอบนอกของผนังหอง จึงไดทําการเปดกรุดังกลาวโดยเริ่มจาก
การขุดทางทศิ ตะวนั ตก ไดพบหอ งกรกุ วาง 0.70 เมตร ยาว 1.36 เมตร สูง 2.00 เมตร ภายในบรรจุ
พระพิมพ และพระพุทธรูปสําริดไวเต็มแนน และท่ีผนังดานทิศตะวันตกเปนภาพเขียนสีเต็มผนัง
สวนดานอื่นไมมีภาพ คงโบกปูนธรรมดา เม่ือขุดกรุดานทิศใตและทิศเหนือพบพระพิมพและ

19 กฤษณ อินทโกศัย, “รายงานการเปดกรุ ในองคพระปรางค วัดราชบูรณะ,” ใน
จิตรกรรม และ ศิลปวัตถุ ใน กรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (พระนคร :
กรมศิลปากร, 2501), 22-28.

20 กฤษณ อินทโกศัย, “เปดกรุวัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา,” ใน
พระพุทธรูป และพระพิมพ ในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (พระนคร :
หา งหุนสวนจาํ กดั ศวิ พร, 2502), 11-14.

21 สิรินุช เรืองชีวิน, “จิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยาตอนตน ในกรุพระปรางควัดราช
บรู ณะ จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา” (สารนพิ นธปริญญาศลิ ปศาสตรม หาบณั ฑติ สาขาประวัติศาสตร
ศิลปะ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2549), 22-23.

22 เรอ่ื งเดยี วกนั , 19-22.

14

พระพุทธรูปเต็มแนนเชนเดียวกัน และมีภาพเขียนเหมือนกับหองกรุดานทิศตะวันตก ซ่ึงมีขนาด
หองกวางยาวเทากันท้ัง 3 หอง หลังจากไดนําศิลปวัตถุออกจากกรุทั้ง 3 แลว ไดมีการปดตายกรุ
ยอยท้ังสามที่พบใหมน้ี โดยเปดใหชมเพียงกรุหองท่ี 1 ที่เปนหองกลางใหญมีภาพจิตรกรรม
(แผนผงั ท่ี 3)

แผนผงั ท่ี 3 กรุชั้นท่ี 1ในกรปุ รางคป ระธานวดั ราชบูรณะพระนครศรอี ยธุ ยา
ที่มา : กรมศลิ ปากร, พระพทุ ธรูปและพระพิมพในกรุพระปรางควดั ราชบูรณะ จงั หวดั
พระนครศรอี ยธุ ยา (พระนคร : หางหนุ สว นจํากัดศวิ พร, 2502), 12.

แผนผังที่ 4 กรุชน้ั ท่ี 2ในกรุปรางคประธานวดั ราชบรู ณะพระนครศรีอยธุ ยา
ที่มา : กรมศิลปากร, พระพุทธรูปและพระพิมพในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา (พระนคร : หางหนุ สว นจาํ กดั ศวิ พร, 2502), 12.

15

กรุหองที่ 2 เปดกรุครั้งแรกในป พ.ศ.2500 เปนกรุที่อยูเบ้ืองลางของกรุหองที่ 1 โดย
มีลักษณะเปนหองสี่เหลี่ยม ผนังทั้ง 4 ดาน กวางดานละ 1.40 เมตร สูง 2.75 เมตร ผนังทั้ง 4 ดาน
ทําเปนลักษณะซุมทรงโคงลึกเขาไปในผนังประมาณ 37 เซนติเมตร รอบผนังและรอบซุมมีภาพ
จิตรกรรมแบง เปน ช้นั ๆ ช้ันที่ 1 เปนเร่อื งเกีย่ วกบั พระอดตี พทุ ธเจา23 ช้ันที่ 2 และ 3 เปน พุทธประวตั ิ
ตอนสําคัญตางๆ ช้ันท่ี 4 เปนแถวพระอสีติสาวก และช้ันที่ 5,6,7 และในซุม เปนเรื่องชาดก24
รวมท้ังเพดานกรุก็มีลวดลายดาวเพดาน ภายในซุมทรงโคงดานทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศ
ตะวันตก มีโตะสําริด สูง 42 เซนติเมตร กวางประมาณ 33-34 เซนติเมตร ยาวประมาณ 71-72
เซนติเมตร วางอยูซุมละ 1 ตัว สวนซุมดานทิศใตไมมีโตะ ถัดซุมทั้ง 4 ออกมามีหินปูทําเปนพื้น
หอ งเตม็ ทงั้ หอ ง

กรุหองที่ 2 นี้เปนหองท่ีใชเก็บเคร่ืองทองตางๆ เชน เคร่ืองราชกกุธภัณฑ เคร่ือง
ราชปู โภคทองคํา เคร่ืองประดับศรีษะชายหญิง ทองคํา เคร่ืองตกแตงตางๆทําดวยทองคํา รวมถึง
ชิน้ สวนปรางคท องคําจําลอง ปจจบุ ันเคร่ืองทองตา งๆเหลาน้ีจดั แสดงอยทู พ่ี พิ ิธภัณฑสถานแหง ชาติ
เจาสามพระยา

ตอมาในป พ.ศ.2501 กรมศลิ ปากรไดทําการสํารวจหองกรุอยางจริงจังพรอมกับสราง
บนั ไดลงสูหอ งภาพเขียน ในคร้ังน้ีไดตรวจพบวามีกรุอยูดานนอกของกรุหองท่ี 2 ซ่ึงเมื่อเจาะผนัง
พระปรางคดานนอกของคูหาท่ีเคยบรรจุเคร่ืองทองทางดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือเพ่ือหลอเสา
ผนัง ไดพ บกรุบรรจพุ ระพิมพจาํ นวนมาก จากนัน้ จงึ ไดทําการสาํ รวจตอในผนงั ดา นทิศตะวนั ออก
เฉียงใต ก็พบกรุบรรจุพระพิมพและพระพุทธรูปสําริดเต็มแนนทั้งกรุ พระพิมพบรรจุอยูตอนลาง
พระพุทธรูปสําริดวางทับพระเครื่องอยูตอนบน การบรรจุน้ันคงบรรจุพระพิมพวางซอนกันแนน
อยางมีระเบียบ แตพระพุทธรูปสําริดวางสลับซับซอนกันเทาท่ีจะมีชองวางสอดบรรจุไวได ซ่ึง
พระพุทธรูปสําริดท่ีไดจากกรุน้ีมีจํานวน 128 องค สวนพระพิมพมีอยูมากมายเชนเคย สําหรับกรุ
ทางดานทิศตะวันตกเฉียงใต และกรุทิศตะวันตกเฉียงเหนือพบพระพิมพบรรจุอยูคอนหอง
โดยเฉพาะกรุดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือทั้งกรุพบพระพิมพแผนปางลีลา ลักษณะคลายกลีบขนุน
ขององคพระปรางค ซึ่งชาวบานมักเรียกวา “พระใบขนุน” สําหรับพระใบขนุนเหลาน้ีไดถูกนํามา

23 แสง มนวิทูร, “เร่ืองพระอดีตพุทธ,” ใน จิตรกรรม และ ศิลปวัตถุ ใน กรุพระปรางค
วดั ราชบูรณะ จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา, 42-53.

24 สวาง สิมะแสงยาภรณ, “แบบศิลปะที่ปรากฏในงานจิตรกรรมฝาผนังภายในกรุ ณ
พระปรางคประธานวัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” (ศิลปะนิพนธปริญญาศิลปะบัณฑิต
ภาควิชาประยกุ ตศิลปศกึ ษา คณะมัณฑนศิลป มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, 2522), 32-37.

16

จาํ หนายใหแ กผ ูท่ีมจี ติ รศรทั ธาเพือ่ นํารายไดม าสรา งพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเจาสามพระยาในเวลา
ตอมา (แผนผงั ที่ 4)

กรุหองท่ี 3 เปนกรุที่อยูลึกถัดลงไปจากกรุหองท่ี 2 หลังจากเจาหนาท่ีงัดหินพ้ืนหอง
ขึ้นก็พบวามีกรุหองท่ี 3 อยู ลักษณะเปนหองสี่เหล่ียม กวางประมาณ 1.40 เมตร สูงประมาณ 1.20
เมตร ภายในหองแบงออกเปน 2 สวน สวนในกอปูนเปนหองสี่เหล่ียมเล็กๆกวางประมาณ 0.80
เมตร ภายในบรรจุเจดียทองคํา 1 องค มีครอบเปนรูปคลายครอบแกวครอบไว 4 ช้ัน คือ ช้ันตน
เปนเหล็กบุชิน ช้ันที่ 2 และ 3 เปนทองเหลือง ชั้นที่ 4 เปนเงิน แลวถึงเจดียทองคําเปดได ภายใน
บรรจุพระพุทธรูปทองคํา พระเจดียแกวผลึก พระพุทธรูปแกวผลึก กับเครื่องทองกระจุกกระจิก
อื่นๆ และมีแผนใบลานทองคําจารึกอักษรขอมมวนกลมบรรจุอยูดวย25 บริเวณรอบๆเจดียทองคํามี
พระพุทธรูปทองคําและเงิน รูปสัตวตางๆ ทําดวยทองคําและเงินพิมพเปนแผนบรรจุเรียงรายอยู
โดยรอบ สวนดานนอกของกรุหองที่ 3 กวางประมาณ 0.40 เมตร มีพระพุทธรูปสําริด พระพิมพ
เนื้อชนิ กระปกุ เคลอื บ เครื่องใชทาํ ดว ย เงิน สาํ ริด และทองเหลือง บรรจอุ ยโู ดยรอบ

จากการเปดกรุในองคพระปรางควัดราชบูรณะ ทั้งในป พ.ศ.2500 และ พ.ศ.2501
นอกจากพบงานจิตรกรรมฝาผนังที่แสดงถึงรูปแบบงานจิตรกรรมในสมัยอยุธยาตอนตนแลว ทาง
กรงศิลปากรไดเก็บสิ่งของภายในกรุที่มีท้ังของที่ทําดวยทอง เงิน นาก และเพชรนิลจินดา และ
นอกจากน้ันเปนเคร่ืองใชโลหะ หิน เครื่องสังกโลก และเคร่ืองใชดินเคลือบ นอกจากนี้ยังมี
พระพุทธรูปสําริดจํานวนมาก ซ่ึงสวนใหญเปนพระพุทธรูปแบบอูทองรุนท่ี 326 พรอมกันน้ันยังได
พบพระพิมพอกี เปน จํานวนนับแสนองค

3. การศกึ ษาพระพิมพใ นกรพุ ระปรางคว ัดราชบูรณะ : ความเปน มาในการสรางพระพมิ พ
3.1 ประวตั ิการศึกษาพระพมิ พในกรพุ ระปรางคว ัดราชบรู ณะ
พระพิมพที่พบภายในกรุพระปรางควัดราชบูรณะสวนใหญเปนพระเนื้อดีบุกสีเงิน

เปนประกายวาว หรือมักจะเรียกกันวา “ชินเงิน” และเปนท่ีนาสังเกตอยางหน่ึงคือ บรรดาพระ
พิมพของอยุธยาตอนตนสวนใหญมักเปนพระพิมพเนื้อโลหะ เชน ชินเงิน ชินตะกั่ว มากกวาจะ
เปนเน้ือดินเผา เชน ทางแถบ สุโขทยั กาํ แพงเพชร สุพรรณบุรี เปนตน

25 ฉํ่า ทองคําวรรณ, “คําอานจารึก,” ใน จิตรกรรม และ ศิลปวัตถุ ใน กรุพระปรางควัด
ราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา, 60.

26 หมอมเจา สุภัทรดิศ ดิศกุล, “โบราณวัตถุท่ีคนพบจากพระปรางควัดราชบูรณะ รุนที่
2,” ใน พระพทุ ธรูป และพระพมิ พ ในกรพุ ระปรางควดั ราชบรู ณะ จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา, 16.

17

ทั้งนี้ไดมีนักวิชาการบางทานต้ังขอสังเกตวา การที่ทางอยุธยานิยมพระพิมพท่ีเปน
เนื้อโลหะก็อาจเปนเพราะความกาวหนาทางเทคโนโลยีท่ีมีความกาวหนากวาเมืองอ่ืนๆ จึงนิยมใช
วัสดุที่แข็งและคงทนกวา รวมถึงนิยมพระพิมพเนื้อชินท่ีอาบปรอทและพระพิมพที่มีการปดทอง
เชน พระพมิ พใ นกรุพระปรางควัดราชบรู ณะ27

ในสวนของรูปแบบพระพิมพท ี่พบในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ ไดรับการรวบรวม
ไวในหนังสือ “พระพุทธรูปและพระพิมพ ใน กรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา” โดยทางกรมศิลปากรไดทําการรวบรวมรูปแบบตางๆของพระพิมพท่ีพบ
จํานวนมากเมือ่ ครง้ั ทําการเปด กรุในพระปรางคว ดั ราชบรู ณะครัง้ ที่ 2 ในป พ.ศ.2501 ท้ังน้ี หมอมเจา
สภุ ัทรดศิ ดศิ กลุ ไดทรงจัดกลมุ เปน แตละรูปแบบ28 ดังนี้

1. แบบตางประเทศ มี 1 แบบ คือแบบปาละของอนิ เดยี
2. แบบทวารวดี พระพิมพแบบน้ีตนแบบเดิมมาจากอิทธิพลศิลปะปาละในอินเดีย แต

ในสมยั ทวารวดนี ิยมนาํ รปู แบบดังกลาวมารวมใชกบั พระพิมพ
3. แบบลพบุรี มีมากพอใช เปนพระพิมพในแบบมหายาน เปนตนวา พระพุทธเจา

หลายพระองค หรือพระพทุ ธองคอ ยูตรงกลางและมีพระโพธิสตั วอ วโลกิเตศวรอยู
เบือ้ งขวา นางปญญาบารมอี ยูเบื้องซา ย หรือมรี ูปเหวัชระประกอบเปน ตน
4. แบบอยุธยา เปนกลมุ ท่พี บมากที่สุด และสามารถแบงออกเปน 2 แบบ คือ

4.1 เลยี นแบบสุโขทยั สว นมากมักทาํ เปนพระลีลา ยักยายแบบไปตา งๆนานา
4.2 แบบอยุธยาแท นยิ มทําเปนพระพทุ ธรูปปางมารวิชัย ปางประทานอภยั

ปางสมาธิ หรอื ปางประทานเทศนา อยูโดดก็มี มเี รือนแกวประกอบกม็ ี
บางครง้ั มีพระสาวกประกอบ

27 ศรีศักร วัลลิโภดม, พระเครื่องในเมืองสยาม (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมติชน, 2537),
25.

28 หมอมเจา สุภัทรดิศ ดิศกุล, “โบราณวัตถุท่ีคนพบจากพระปรางควัดราชบูรณะ รุนที่
2,” ใน พระพุทธรูป และพระพิมพ ในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, 17-
18.

18

นอกจากนี้ นาย มานิต วัลลิโภดม ยังไดจําแนกแบบศิลปะออกเปนแตละประเภท
เชน ประเภทซุมเรือนแกว ประเภทซุมปราสาทโพธิ์พฤกษ ประเภทซุมเสมาทิศ ประเภทลอยตัว
และประเภทแผง เปน ตน29

พระพมิ พจํานวนนบั แสนองคที่พบภายในกรพุ ระปรางควดั ราชบูรณะ เปนที่แนนอน
วาตองสรางขึ้นในรุนราวคราวเดียวกับพระปรางค หรือสรางข้ึนกอนแลวนํามาบรรจุรวมในองค
พระปรางค30 ซึ่งพระพิมพกลุมดังกลาวถือเปนกลุมหลักฐานสําคัญในการศึกษารูปแบบของพระ
พิมพสมัยอยุธยาตอนตน แตอยางไรก็ตามพระพิมพเหลาน้ีมีลักษณะทางพุทธศิลปของแตละพิมพ
แตกตางกันไป เชน พระพิมพท่ีปรากฏรูปแบบศิลปะทวารวดี ศิลปะลพบุรี พระพิมพที่มีรูปแบบ
สืบเนื่องมาจากอิทธิพลศิลปะลพบุรี และพระพิมพศิลปะแบบสุโขทัย ซึ่งเปนที่ทราบกันแลววา
รูปแบบพระพิมพแบบทวารวดี และแบบลพบุรี เปนรูปแบบที่มีเอกลักษณสามารถจําแนกได
โดยงาย ประกอบกับในชวงของการสรางพระปรางควัดราชบูรณะ กรุงศรีอยุธยาไดสถาปนา
มาแลว 74 ป อํานาจของอาณาจักรทวารวดี และขอม ไดหมดไปแลวในดินแดนแถบน้ี แตการพบ
พระพิมพแบบทวารวดี และแบบลพบุรี อาจเปนการนําพระพิมพที่มีอยูกอนมารวมบรรจุ หรือนํา
แมพ ิมพแ บบดงั กลา วมาใชสรา งพระเพ่อื บรรจใุ นในองคพระปรางค

ประเด็นสําคัญท่ีผูศึกษาสนใจในการทําการศึกษาพระพิมพในกรุพระปรางควัดราช
บรู ณะคร้ังน้ี กเ็ พ่อื หารูปแบบพระพิมพในชว งสมัยอยุธยาตอนตน เทา นน้ั รวมถงึ รูปแบบพระพิมพ
ที่นิยมอยูในชวงสมัยของการสรางปรางควัดราชบูรณะ เพ่ือศึกษาถึงอิทธิพลทางศิลปะท่ีอาจ
เกี่ยวของกับอํานาจทางการเมือง การคา และศาสนา ท่ีไดรับมาจากถ่ินอื่น โดยเฉพาะอิทธิพล
ศิลปะสุโขทัย อยางไรก็ตามการศึกษารูปแบบพระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตนในกรุพระปรางควัด
ราชบูรณะยังสามารถนํารปู แบบท่ไี ดไ ปใชเ ทยี บเคยี งกบั พระพิมพท่ีมีลักษณะพิมพคลายกันที่ขุดพบ
จากกรุอ่ืนๆ ซ่ึงอาจเปนพระพิมพที่อยูในยุคเดียวกัน และอยูภายใตอํานาจทางการเมืองเดียวกัน
ดังจะไดทาํ การศึกษาตอ ไป

29 มานิต วัลลิโภดม, “พระพิมพวัดราชบูรณะ,” ใน พระพุทธรูป และพระพิมพ ในกรุ
พระปรางคว ดั ราชบรู ณะ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา, 28-38.

30 หลวงบริบาลบุรีภัณฑ, “ประติมากรรมสมัยอยุธยา,” ใน จิตรกรรม และ ศิลปวัตถุ ใน
กรุพระปรางคว ดั ราชบูรณะ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา, 41.

19

3.2 ประวตั กิ ารสรางพระพมิ พ
พระพิมพเปนอุเทสิกเจดียชนิดหน่ึงที่สรางขึ้นตามคติความเช่ือทางพุทธศาสนา ซ่ึง

แตเดิมคงมวี ตั ถปุ ระสงคเพียงเพื่อเปนทรี่ ะลึกในการเดนิ ทางไปนมสั การสังเวชนียสถาน 4 แหง ของ
พระพุทธเจาในประเทศอินเดีย อันไดแก เมืองกบิลพัสดุ สถานท่ีประสูติ เมืองพุทธคยา
สถานท่ีตรัสรู เมืองพาราณสี สถานที่แสดงปฐมเทศนา และเมืองกุสินารา สถานท่ีเสด็จดับขันธ
ปรนิ ิพพาน

พระพิมพในระยะเริ่มแรกคงทําเปนแตเพียงรูปสัญลักษณตางๆที่เกี่ยวของกับพุทธ
ประวัติ เชน รูปดอกบัวหรือรอยพระพุทธบาท แทนเหตุการณตอนประสูติ รูปบัลลังกหรือตน
โพธ์ิ แทนเหตุการณตอนตรัสรู รูปธรรมจักรและกวางหมอบ แทนเหตุการณตอนแสดงปฐม
เทศนา และรูปสถูปแทนเหตุการณตอนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ตอมาภายหลังจึงเกิดมีรูป
พระพุทธเจาประกอบรวมอยูกับสัญลักษณเหลาน้ี เชน รูปพระพุทธเจาประทับอยูใตตนโพธ์ิ หรือ
ประทับในซุมสถูป ดังในพระพิมพซุมพุทธคยาในศิลปะปาละเปนตน สําหรับพระพิมพในยุค
ตนๆมักสรางขึ้นดวยดิน ทําใหสามารถสรางไดคร้ังละมากๆ บุคคลผูปรารถนาบุญกุศลหรือเพื่อ
หวังความเจริญรุงเรืองยิ่งๆข้ึนไปจึงนิยมสรางพระพิมพ เพราะเช่ือวาเปนหนทางที่จะไดรับกุศลผล
บุญโดยไมตองใชทรัพยสมบัติมากมายนัก จึงอาจเปนเหตุใหมีการสรางพระพิมพแพรหลายออก
จากชมพูทวีปอันเปนแหลงกําเนิดไปยังดินแดนตางๆท่ีพุทธศาสนาเผยแผเขาไปถึงอยางกวางขวาง
ในเวลาตอ มา

ประเพณีการสรางพระพิมพขยายกวางออกไปยังดินแดนตางๆพรอมๆกับการ
เปลย่ี นแปลงทางความคิด และความเช่อื ถือเกยี่ วกบั คติการสราง จากเดิมท่ีใชเ ปนทรี่ ะลกึ ในการไป
นมสั การสงั เวชณียสถาณตางๆ กลายมาเปน การสรางเพอ่ื สบื ทอดอายุพระพุทธศาสนา จึงเปนเหตุ
ใหม ีการสรางพระพมิ พอนั เปนสัญลักษณแทนองคสมเด็จพระบรมศาสดา พรอมกับจารึกพระคาถา
“เยธมมฺ า” ซ่งึ เปน หัวใจของพระพุทธศาสนาลงบนพระพมิ พ เพอ่ื เปนเคร่ืองเตือนใจใหผูพบเห็นได
รวู ามพี ระพทุ ธศาสนาซง่ึ มีพระพทุ ธเจา เปนศาสดาเกดิ ขนึ้ 31

3.2.1 คตกิ ารสรา งพระพมิ พใ นดนิ แดนไทย : ขอ มลู ท่ไี ดจ ากจารึก
พระพิมพท่ีพบในดินแดนประเทศไทยในปจจุบัน ปรากฏหลักฐานเกาสุดใน

สมัยทวารวดี มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 12-16โดยมีศูนยกลางความเจริญอยูบริเวณภาคกลาง
ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยเฉพาะแถบจังหวัดนครปฐม ราชบุรี

31 ยอรช เซเดส, ตํานานพระพมิ พ (พระนคร : ศลิ ปาบรรณาคาร, 2495), 1-5.

20

กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ลพบุรี สิงหบุรี ปราจีนบุรี กาฬสินธุ และมหาสารคาม ฯ ซ่ึงเปนบริเวณ
ทีม่ กี ารขดุ พบพระพมิ พรูปแบบตางๆเปน จํานวนมาก

พระพิมพแบบทวารวดีมักสรางดวยดินเผา และมักจารึกคาถา “ เยธมฺมา” ดวย
อักษรคฤนถ หรือตัวอักษรขอมโบราณ เปนภาษาบาลี โดยเขาใจวาเปนการสรางข้ึนเพื่อสืบอายุ
พระพุทธศาสนา ซึง่ โดยทวั่ ไปของพทุ ธศาสนิกชน การสรางปชู นียสถานวัตถุข้ึนก็เพ่ือเปนการสืบ
พุทธศาสนา และเพ่ือกอใหเกิดกุศลผลบุญตอตัวผูสรางเอง สอดคลองกับการคนพบจารึกบนหลัง
พระพิมพศิลปะทวารวดีบางองคซึ่งระบุวาใครเปนผูสราง เชน จารึกนาดูน 3 เขียนบนหลังพระ
พิมพวา “บุญแหงจักรพรรดิ”32อีกตัวอยางหนึ่งไดแกจารึกบนหลังพระพิมพท่ีพบจากเมืองฟาแดด
สงยาง จารกึ วา “บุญของปญ อปุ ฌาย อาจารยผูมีคุณและมชี อื่ เสียง”33 ขอมูลจากจารกึ ท้ังสองแสดง
ใหเห็นถึงความแตกตางจากพระพิมพในทวารวดีภาคกลาง ซ่ึงนิยมจารึกขอพระธรรมในพุทธ
ศาสนา เชน คาถาเยธมฺมา เปนสาํ คญั อยางไรก็ตามขอ มลู จากจารึกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่
มีอายุอยูในชวงเวลาเดียวกันนี้ แสดงถึงแนวความเชื่อของพุทธศาสนิกชนท่ีมีตอการสรางปูชนีย
สถานวัตถุเนื่องในพุทธศาสนาเกี่ยวกับความเชื่อเร่ืองการสะสมบุญเพ่ือไปเกิดในยุคพระศรีอาริย
ดังปรากฏอยูใ นจารึกโนนศิลา 1 และ จารึกโนนศิลา 334

กระท่ังมาในชวงพุทธศตวรรษท่ี 19 ลงมา การจารึกคาถา “เยธมฺมา” บนหลัง
พระพิมพไมปรากฏความนิยม ทั้งในสวนของ พระพิมพแบบลพบุรี (นิยมในชวงพุทธศตวรรษที่
18 เล่อื ยลงมาถึงสมัยอยุธยาตอนตน) แบบอูทอง แบบสุโขทัย และแบบอยุธยา แตสันนิษฐานได
วาวัตถุประสงคในการสรางพระพิมพของผูคนในยุคนี้อาจเนื่องมาจากการสืบพุทธศาสนา พรอม
กับการสะสมบุญเพื่อใหไปเกิดในยุคพระศรีอาริย ทั้งน้ีเนื่องจากชวงเวลาดังกลาวคติเก่ียวกับ
“ปญจอันตรธาน” ที่จะมาถึง โดยเชื่อตามคัมภีรของลังกาท่ีวา เม่ือ พ.ศ.5,000 มาถึง
พระพทุ ธศาสนาจะเสือ่ มทราม ดงั นนั้ สัตบรุ ษุ ท้งั หลายควรเรง กระทาํ บญุ ในพระพทุ ธศาสนา จงึ จะ
ไดมาเกิดทันศาสนาของพระศรอี าริย ดังที่ปรากฏในจารึกนครชุม ทจ่ี ารึกข้ึนใน พ.ศ.1,90035

32 อุไรศรี วนศะริน, “จารึกภาษามอญบางหลักในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,” ใน
ดินแดนไทยจากยุคประวัติศาสตรตอนตนจนถึงคริสตศตวรรษที่ 15, (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
ศลิ ปากร, 2531. เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการระดบั ชาติฝรัง่ เศสไทย ครงั้ ที่ 1), 505.

33 เรอื่ งเดยี วกัน, 509.
34 เรอ่ื งเดียวกนั , 507-509.
35 กรมศิลปากร, จารึกสมัยสโุ ขทยั (กรุงเทพฯ : กรมศลิ ปากร, 2526), 26-39.

21

จารึกแผนดีบุกพบที่พระปรางควัดมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา สันนิษฐานวา
จารกึ ขนึ้ เม่ือ พ.ศ.1917 กลา ววา

ดวยกศุ ลผลกูขาหลอพระพุทธพมิ พ ถว นวันเกิดทําบูชาพระศรีรัตนตรัย ฟงพระสัดปกรณาภิ
ธรรม สรรพบริบูรณกัลปนาอานิสงสนี้ไปทั่วไตรภพสบ สัตวนิกร บิดรญาติ สาธุชน สวนตนกู
ขาขอไปเกิด เอากําเนิดในดุสิต คัลบพิตรพระไมตรี เม่ือพระศรีสรรเพชญ เสด็จมาเปนพระพุทธ
ขอมาอุบัติ ในกษัตริยตระกูล ไพเราะสูร เปรมปราชญ อาจโอยทาน หาญหาว ลือท่ัวทุกแดน
แสนสาธุบูชา ทันฟงขพุง ธรรมเทศนาสมเด็จพระเจา ขอเขาบวชทรงผนวชชมบุญ ภุล บาตร
จีพร อยาหัก กรโกนเกศ เด็จก เลสตระบัดอรหัตหันสงสาร โดยพระไปนิรพานฟากฟา ขอได
เยี่ยงกูขาอธิษฐานนี้แด อันน้ีช่ือผูกระทําพระพิมพนี้แล พออายไดเจ็ดสิบหาป วันไดญิบหม่ืนเจ็ด
พันหารอยวัน กระทําพระถวนวันเทาดังน้ี อันนี้สวนแมเฉาไดเจ็ดสิบหาป วันไซญิบหมื่นเจ็ดพัน
หารอยวัน กระทําพระถวนวันดังนี้ พออายผูลูกและเขียนแล กระทําดวยทานดังนี้ ขอจงไดดังขา
อธิษฐานดงั นี้36

จากขอมูลดังกลา วจะเหน็ วา คตกิ ารสรางพระพมิ พในชว งเวลาดงั กลาว นอกจาก
จะเปนการสบื พุทธศาสนาแลว ยังเปน การหวงั ผงบญุ ใหบ งั เกดิ แกตนหรือผูที่ตองการอุทิศใหในภพ
ตอๆไป ซึ่งมักเปนเร่ืองขอใหไดเกิดในตระกูลสูง เกิดทันยุคพระศรีอาริย การใหไดไปถึงพระ
นิพพาน หรือไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาในอนาคต นอกจากน้ีการสรางพระพิมพในสมัยดังกลาว
มักจะนยิ มสรา งพระพิมพเ ทาอายุ โดยคดิ เปนจาํ นวนวนั เชน อายุ 75 สรา งพระพมิ พ 27,500 องค

3.2.2 ผสู รา งพระพิมพ
พระพมิ พมกั สรางขึ้นดว ยวัตถุดิบทห่ี าไดท ่ัวไป เชน ดนิ ดีบุก หรอื ตะกว่ั ซ่ึง

ทําใหสามารถสรางไดคร้ังละมากๆ บางครั้งก็มีการนํา เงิน และทองคํามาสรางเปนพระพิมพดวย
เชนกัน แตก็มีปริมาณไมมากนัก ซึ่งจากวัตถุดิบท่ีสามารถหาไดโดยงายนี้อาจสงผลใหบุคคล
โดยท่ัวไปท่ีหวังไดรับกุศลผลบุญสามารถท่ีจะสรางพระพิมพได แตอยางไรก็ตามขั้นตอนวิธีการ
ในการสรางพระพิมพมิไดสําเร็จที่องคพระพิมพแตอยางเดียว หากจะตองสรางเจดียบรรจุพระ
พิมพ ซ่ึงก็ตองอาศัยปจจัยหลายดาน ทั้งดานงานชาง ดานทุนทรัพย และกําลังคน ซึ่งในอดีต
มักจะเปนกลุมกษัตริยที่จะมีสวนสําคัญในการสรางพระพิมพ ดังตัวอยางในพระพิมพศิลปะทวาร
วดพี บท่นี าดูน จังหวดั มหาสารคาม ปรากฏจารกึ ดานหลงั วา “บูญแหง จกั รพรรดิ์”37

36 เร่อื งเดยี วกนั , หนา 105-107.
37 อุไรศรี วนศะริน, “จารึกภาษามอญบางหลักในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,” ใน
ดนิ แดนไทยจากยุคประวตั ศิ าสตรต อนตนจนถึงครสิ ตศ ตวรรษที่ 15, 505.

22

กระท่ังมาในชวงพุทธศตวรรษท่ี 19-20 เราไดพบขอมูลเกี่ยวกับการรวมมือกัน
สรางพระพิมพ ทั้งโดยกษัตริย เจาเมือง และประชาชนท่ัวไป ดังปรากฏในจารึกวัดบางสนุก
จารึกขึ้นเม่ือราว พ.ศ.1882 กลาวถึง เจาเมืองตรอกสลอบไดชักชวนบรรดาลูกเจาลูกขุนมูลนาย
ไพรไทย ตลอดจนชาวแมชาวเจาท้ังหลายรวมกันสรางพระพุทธพิมพดวยเหียก (ดีบุก) ดวยดิน ได
หมื่นพันรอยแปดอัน แลถวายเครื่องบําเพ็ญกุศลอื่นๆ เพื่อเปนพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา พอ
ถึงยามดี วันเมิงเปา เดือน 7 ออก 15 คา่ํ ปกัดเมา และ โถะ แตก อหินแลงสืบ...ทงั้ สทายปนู 38

นอกจากขอมูลดังกลาวน้ีแลวพระพิมพท่ีพบเปนจํานวนมากในกรุพระปรางค
วัดราชบูรณะ จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับการรวมมือกนั สรา งพระพิมพ ทั้ง
ในสวนของกษัตริย ประชาชน รวมถึงชาวตางชาติ ดังที่ทราบกันแลววาวัดราชบูรณะสรางข้ึน
โดยสมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 2 (เจาสามพระยา) ใน พ.ศ.1967 โดยอาจมีพระราชประสงคเพื่อ
ถวายเปนพระราชกุศลแดเจาอายพระยา และเจาย่ีพระยา ซึ่งการสรางพระพิมพ และการถวาย
เคร่ืองราชูปโภค รวมถึงเคร่ืองบําเพ็ญกุศลตางๆ บรรจุลงภายในกรุพระปรางค ก็เพ่ือเปนพุทธบูชา
และสืบอายุพระพุทธศาสนา ซ่ึงในการบําเพ็ญพระราชกุศลคร้ังน้ีประชาชนท่ัวไปสามารถมีสวน
รวมในการกศุ ลคร้งั น้ีดว ย ทงั้ น้ใี นพระพมิ พเนื้อดบี ุกท่ีพบในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ มีอยูบาง
องคท่ีพบจารึกดานหลังพระพิมพ ซ่ึงมีลักษณะตัวอักษรไทยเปนแบบสุโขทัย และอักษรขอมแบบ
สมัยอยุธยาตอนตน ท่ีอาจกลาวถึงรายชื่อผูสรางพระพิมพ เชน “พอจันทส่ีองค” “นาอีสามองค”
“อันนี้พระพออายพระเขาทั้งนี้ไดแปดตน” 39 เปนตน รวมถึงไดพบจารึกอักษรจีนดานหลังพระ
พิมพในกรุดังกลาว เม่ือแปลเปนภาษาไทยไดใจความวา “ในรัชสมัยไตเหม็งคนแซต้ัง (มีแซเอ้ีย
และแซอ่ืนอีก) มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจึงรวมใจกันสรางพระสัมมาสัมพุทธเจานี้ข้ึน
ไว”40

จากขอมูลดังกลาวชวนใหคิดวาพระพิมพเน้ือดีบุกจํานวนนับแสนองค ที่พบ
ภายในกรพุ ระปรางคว ัดราชบรู ณะอาจเกิดข้นึ จากกําลังศรทั ธาจากหลายฝาย โดยเฉพาะชาวตางชาติ
ก็มีสิทธิในการรวมสรางพระพิมพบรรจุลงในพระปรางคคร้ังนี้ดวย อยางไรก็ตามอุบาสก
อุบาสิกา ท่ีมีจิตรศรัทธาและมีทุนทรัพยเพียงพอก็สามารถสรางพระพิมพบรรจุในพระเจดียไดโดย

38 กรมศิลปากร, จารกึ สมัยสโุ ขทัย, 21-25.
39 ฉ่ํา ทองคําวรรณ, “คําอานจารึก,” ใน จิตรกรรม และ ศิลปวัตถุ ใน กรุพระปรางควัด
ราชบรู ณะ จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา, 63.
40 พระพุทธรูป และพระพิมพ ในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา,
41-42.

23

ไมตองพึ่งพาอํานาจของกษัตริย ดังขอมูลที่ไดจาก จารึกวัดสองคบ 3 ท่ีจารึกในพ.ศ.1976 ระบุถึง
“...มหาอบุ าสกอุบาสิกา ญาติกาเทาใด พอยีตัดผมและแมสรอยมีใจศรัทธากอพระเจดียอันตนหน่ึง
ได 5วา 2 ศอก เจริญประเพณีมใิ หหมองในคลองธรรมนแ้ี ล แตเครอื่ งประจุพระ พระทอง 21 พระ
เงิน 2ตน พระดบี กุ 161...”41

จากจารึกที่เกี่ยวของกับการสรางพระพิมพที่รวบรวมมา พอจะสรุปถึง
วัตถุประสงคในการสรางพระพิมพที่มุงเนนถึงการส่ืบอายุพระพุทธศาสนา และการมุงหวังใน
ผลประโยชนท่ีจะบังเกิดแกตน หรือผูท่ีตองการอุทิศใหในภพตอๆไป ซ่ึงสวนใหญมักเปนเรื่อง
ขอใหไดถึงพระนิพพานในยุคพระศรีอาริย รวมถึงในการสรางพระพิมพจะใชวัสดุที่หางาย
สามารถทําไดทีละมากๆ ประชาชนทั่วไปสามารถมีสวนรวมในการสรางพระพิมพ เพราะเชื่อวา
เปนหนทางท่จี ะไดรับกุศลกศุ ลผลบุญโดยไมตองใชทรัพยสมบัติท่ีมากนัก สําหรับพระพิมพท่ีพบ
ในกรพุ ระปรางคว ดั ราชบรู ณะ ปรากฏหลกั ฐานเกี่ยวกบั การท่ีประชาชนมสี วนรวมในการสรา งพระ
พิมพบรรจุกรุ โดยพบรายนามของบุคคลจารึกอยูดานหลังพระพิมพท่ีมีทั้งแบบอักษรสุโขทัย
อักษรขอมแบบอยุธยาตอนตน และอักษรจีน ซึ่งเปนที่สังเกตวาอาจมีชาวสุโขทัยเขามามีสวนรวม
ในการสรางพระพิมพ รวมถึงชาวจีนก็มีบทบาทในการสรางพระพิมพคร้ังนี้ดวย และจากเหตุ
ปจจัยดังกลาวอาจสง ผลใหพ ระพิมพใ นกรพุ ระปรางคว ดั ราชบูรณะมีหลากหลายรูปแบบดว ยกนั

41 กรมศลิ ปากร, จารกึ ในประเทศไทย เลม5 (กรงุ เทพฯ : กรมศลิ ปากร, 2529), 183-188.

บทท่ี 3
รูปแบบของพระพิมพสมยั อยุธยาตอนตนที่พบในกรุพระปรางคว ดั ราชบรู ณะ

ตามที่พระราชพงศาวดารกรุงเกาหลายฉบับกลาวในทิศทางเดียวกันวาวัดราชบูรณะสราง
ข้ึนในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 2 (เจาสามพระยา) และจากหลักฐานทางศิลปกรรมของ
ปรางคประธานก็สอดคลองกับรูปแบบศิลปกรรมในชวงอยุธยาตอนตน ท้ังน้ีเปนที่ชัดเจนวาวัตถุ
ส่ิงของภายในกรุพระปรางควัดราชบูรณะจะตองมีอยูกอนการสรางพระปรางค หรือเปนงานท่ี
สรางขึ้นเพื่อบรรจุในคราวสรางพระปรางค รวมถึงพระพิมพที่พบในกรุพระปรางคน้ีมีท้ังรูปแบบ
พระพิมพที่มีกอนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา และรูปแบบพระพิมพในชวงอยุธยาตอนตนที่มีเปน
จาํ นวนมากภายในกรุนี้

อยางไรก็ตามพระพิมพในกรุพระปรางควัดราชบูรณะท่ีมีรูปแบบทางศิลปกรรมในชวง
พุทธศตวรรษท่ี 19-20 สามารถท่ีจําแนกออกเปนกลุมตามอิทธิพลทางศิลปะซ่ึงเปนพัฒนาการ
ทางดานรูปแบบที่สืบเนื่องมาจากระยะเวลา อิทธิพลทางศาสนาและการเมือง โดยสวนหนึ่ง
สามารถพิจารณาไดจากรูปแบบพระพุทธรูปบนพระพิมพเปนหลัก แตจากขนาดของพระพิมพที่มี
ขนาดเล็กการแสดงออกของพุทธศิลปในพระพุทธรูปมีขอจํากัดเม่ือเทียบกับการพิจารณา
พระพทุ ธรูปทีม่ ขี นาดใหญ

ดงั นน้ั สวนสาํ คัญท่จี ะใชใ นการจัดกลุม พระพิมพต อ ไปคือการศึกษารายละเอียดประกอบ
ในพระพิมพ เชนรูปแบบซุมเรือนแกว ลักษณะพิมพ รวมถึงลวดลายตางๆที่ประดับรวมในพระ
พิมพที่สามารถนําไปเทียบเคียงกับศิลปกรรมในสมัยอยุธยาตอนตนโดยท่ัวไปทั้งในงานจิตรกรรม
รวมถึงงานประติมากรรม และในการศึกษารูปแบบพระพิมพสมัยอยุธยาตอนตนท่ีพบในกรุพระ
ปรางควัดราชบูรณะสามารถจําแนกไดเปนหมวดใหญๆโดยใชแนวทางในการศึกษารูปแบบพระ
พิมพในแตล ะหมวดที่แยกศกึ ษาออกเปนสวนๆ คือ รูปแบบพระพุทธรูปบนพระพิมพ รูปแบบซุม
เรือนแกว และประเภทของพมิ พ ดงั ที่ไดทาํ การศกึ ษาไวใ นตอ ไปนี้

แนวทางการศกึ ษารปู แบบพระพิมพสมยั อยธุ ยาตอนตน ในกรพุ ระปรางควดั ราชบรู ณะ

ไดแบง การศกึ ษารายละเอยี ดของพระพมิ พออกเปน แตล ะสว นดังตอไปน้ี

24

25

การศกึ ษารปู แบบพระพทุ ธรปู บนพระพิมพ
รูปแบบของพระพุทธรูปบนพระพิมพสมัยอยุธยาตอนตนท่ีพบในกรุพระปรางควัดราช

บรู ณะสามารถนํามาเทียบเคียงกับรูปแบบพระพุทธรูปในชวงพุทธศตวรรษที่ 19-20 ที่มีการกําหนด
รูปแบบไวเปนท่ีแนชัดแลว ท้ังในสวนของพระพุทธรูปในศิลปะสุโขทัย และพระพุทธรูปแบบอู
ทอง ดังมแี นวทางศกึ ษาดังตอไปน้ี

รูปแบบพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัย สามารถจําแนกได 4 หมวดใหญดวยกันคือ หมวด
วัดตระกวน หมวดใหญ หมวดพระพุทธชินราช และหมวดกําแพงเพชร อยางไรก็ตามในจํานวน
พระพุทธรูป 4 หมวดนี้พระพุทธรูปหมวดใหญมีการพบมากกวาหมวดอ่ืน และถือเปน
ลักษณะเฉพาะของพระพุทธรูปในศิลปะสุโขทัย1 พระพุทธรูปหมวดใหญมีลักษณะท่ีสําคัญคือ
พระพักตรรปู ไข พระขนงโกงโคง พระเนตรเหลือบลงตํ่า พระนาสิกงุม พระโอษฐอมยิ้มเล็กนอย
พระหนุเปนปม ขมวดพระเกศาเล็กและมีพระรัศมีเปนรูปเปลว พระอังสาใหญ บ้ันพระองคเล็ก
นิยมครองจีวรหมเฉียงแบบบางแนบพระวรกาย สังฆาฏิเรียวยาวลงมาจรดพระนาภีปลายแยกออก
คลายเข้ียวตะขาบ นิยมสรางในปางมารวิชัยประทับน่ังขัดสมาธิราบบนฐานหนากระดานเรียบ
(ภาพท่ี 3) และนยิ มสรา งอริ ยิ าบถลลี า (ภาพท่ี 4)

ภาพท่ี 3 พระพทุ ธรูปปางมารวิชยั สํารดิ ศลิ ปะสุโขทยั หมวดใหญ จดั แสดงในพิพธิ ภณั ฑสถาน
แหงชาติสุโขทัย

1 สันติ เลก็ สุขุม, ประวัตศิ าสตรศลิ ปะไทย ฉบับยอ การเรมิ่ ตน และการสืบเนอ่ื งงานชา ง
ในศาสนา, พมิ พคร้งั ที่ 2 (กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พเ มืองโบราณ. 2547), 96-98.

26

ภาพท่ี 4 พระพุทธรปู ลีลา สําริด ศิลปะสโุ ขทัยหมวดใหญ ประดิษฐานภายในระเบยี งพระอุโบสถ
วดั เบญจมบพติ ร กรงุ เทพฯ
สายวิวฒั นาการของพระพุทธรูปในหมวดใหญนั้นนาจะมาจากอิทธิพลศิลปะลังกา และ

อาจเกิดขึ้นในชวงที่สุโขทัยปรับเปล่ียนมาเปนพุทธศาสนาแบบเถรวาทที่รับมาจากลังกา โดยอาจมี
มาแลว ต้งั แตส มัยพอขนุ รามคําแหงหรือพญาเลอไทย และอาจเปนไปไดวาพระพุทธรูปหมวดใหญ
เปนท่ีแพรหลายมากในชวงรัชกาลพญาลิไทย คือตั้งแตปลายพุทธศตวรรษที่ 19 ถึงกลางพุทธ
ศตวรรษท่ี 20 ท้ังนี้เน่ืองจากยุคสมัยดังกลาวเปนยุคแหงความเจริญรุงเรืองทางศาสนา รวมถึงเปน
ยุคท่รี ุง เรอื งท่สี ุดของสุโขทยั 2

รูปแบบพระพุทธรูปแบบอูทอง เปนรูปแบบที่เกิดขึ้นกอนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา
และมีการสรางเลื่อยมาจนถึงในสมัยอยุธยาตอนตน นิยมพบมากในบริเวณที่ราบลุมภาคกลางของ
ประเทศไทย และนอกจากนี้พระพุทธรูปแบบอูทองก็ยังสามารถจําแนกออกมาไดอีก 3 ลักษณะ
ใหญๆ ดว ยกันคือ

2 ศักดชิ์ ัย สายสงิ ห, ศิลปะสุโขทัย บทวเิ คราะหห ลักฐานโบราณคดี จารึกและศิลปกรรม,
พมิ พคร้ังที่ 2 (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวทิ ยาลัยศิลปากร, 2551), 125.

27

พระพทุ ธรูปแบบอูทองรุนที่ 1 (ภาพที่ 5) มีอิทธิพลศิลปะทวารวดีและขอมผสมกัน
โดยเฉพาะศิลปะขอมสมัยนครวัด และสมัยบายน3 พระพุทธรูปอูทองแบบน้ีอาจเกิดขึ้นระหวาง
กลางพุทธศตวรรษท่ี18-194 พุทธลักษณะของพระพุทธรูปแบบอูทองรุนที่ 1 คือ พระพักตรรูป
เหล่ยี ม พระขนงตอกันดูคลายรูปปกกา พระโอษฐหนา พระนลาฏกวาง มีไรพระศกคาด เม็ดพระ
ศกเล็ก รัศมีรูปดอกบัวตูม หากเปนพระอิริยาบถประทับนั่งจะนิยมแสดงปางมารวิชัย ครองจีวร
หมเฉียง สังฆาฏิเปนแผนใหญและยาวลงมาจรดบริเวณพระนาภีปลายตัดตรง และบริเวณบ้ัน
พระองคปรากฏแถบรัดประคดเปนแผนใหญ ในสวนอิริยาบถประทับยืนจะครองจีวรหมคลุมแบบ
บางแนบพระวรกายโดยมีชายสบงโผลพนขอบจีวรดานลาง บริเวณบั้นพระองคทําเปนแถบ
รัดประคดขนาดใหญคาดทับแนวจบี ผาหนานาง

ภาพท่ี 5 พระพทุ ธรูปปางมารวชิ ัย สาํ รดิ ศลิ ปะแบบอูทองรุนท่ี 1
พิพธิ ภณั ฑสถานแหง ชาตพิ ระนคร

ทมี่ า : สันติ เล็กสขุ มุ , ประวัติศาสตรศ ิลปะไทยฉบบั ยอ การเร่ิมตนและการสืบเน่อื งงานชา ง ใน
ศาสนา, พิมพค รัง้ ที่ 2 (กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพเ มืองโบราณ. 2547), 102.

3 ศักด์ชิ ยั สายสงิ ห, พัฒนาการศลิ ปกรรมสมยั กอนอยธุ ยา (พทุ ธศตวรรษท1่ี 8-23)
(กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยศิลปากร, 2549), 65.

4 สนั ติ เลก็ สขุ มุ , ศลิ ปะอยุธยา งานชา งหลวงแหง แผน ดิน, พิมพค รง้ั ที่ 3 (กรุงเทพฯ :
สาํ นกั พิมพเมอื งโบราณ, 2550), 139.

28

พระพุทธรูปแบบอูทองรุนที่ 2 พระพุทธรูปแบบอูทองกลุมนี้มีลักษณะโดยรวม
สืบทอดมาจากกลุมท่ีเรียกวาแบบอูทองรุนที่ 1 เกือบทุกประการแตยังมีขอแตกตางที่ใชเปนตัวแบง
ลักษณะที่สําคัญอันถือเปนพัฒนาการท่ีเกิดข้ึนในพระพุทธรูปกลุมน้ีคือ การทําพระรัศมีเปนรูป
เปลว พระพุทธรูปแบบอูทองรุนท่ี 2 น้ีคงเกิดขึ้นหลังแบบแรกซ่ึงนาจะมีอายุอยูในชวงพุทธ
ศตวรรษที่19-205 (ภาพที่ 6,7)

ภาพท่ี 6 พระพทุ ธรปู ปางมารวิชยั ทองคาํ ศลิ ปะแบบอทู องรนุ ท่ี 2 พพิ ิธภัณฑสถานแหงชาติ
เจาสามพระยา พระนครศรอี ยุธยา

ท่ีมา : กรมศลิ ปากร, นาํ ชมพิพิธภณั ฑสถานแหง ชาติเจาสามพระยา (กรุงเทพฯ : รุง ศลิ ปก ารพมิ พ,
2548), 210.

5 สันติ เลก็ สขุ ุม, ประวตั ศิ าสตรศ ลิ ปะไทยฉบบั ยอ การเรมิ่ ตน และการสืบเน่ืองงานชา ง
ในศาสนา, 152.

29

ภาพท่ี 7 พระพทุ ธรูปปางประธานอภัย สาํ รดิ ศลิ ปะแบบอูทองรุนที่ 2 ประดิษฐานภายในระเบยี ง
พระอุโบสถ วดั เบญจมบพติ ร กรุงเทพฯ
พระพุทธรูปแบบอูทองรุนท่ี 3 พระพุทธรูปแบบอูทองในชวงน้ีมีลักษณะของ

พระพุทธรูปแบบสุโขทัยเขามาผสมมากข้ึน เชน พระพักตรเปนรูปไขชัดเจนย่ิงขึ้นแตยังคงมีการ
ประดับไรพระศกอยู รวมถงึ ปลายสังฆาฏิมแี ฉกเปนรปู คลายเขยี้ วตะขาบ อิทธิพลศิลปะสุโขทัยท่ีมี
อยูมากน้ีสงผลใหพระพุทธรูปแบบอูทองมีลักษณะใหมเกิดข้ึนซ่ึงนับเปนรูปแบบพระพุทธรูปแบบ
อูทองรุนท่ี 3 กาํ หนดอายุอยูใ นชว งพทุ ธศตวรรษท่ี 206 (ภาพที่ 8)

6 เร่อื งเดียวกัน, 152-153.

30

ภาพท่ี 8 พระพุทธรปู ปางมารวชิ ยั เน้อิ นาก ศลิ ปะแบบอทู องรนุ ที่ 3 พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติ
เจา สามพระยา พระนครศรอี ยธุ ยา

ทม่ี า : กรมศลิ ปากร, เคร่อื งทองกรวุ ดั ราชบูรณะศลิ ปะของแผนดิน (กรุงเทพฯ : รุงศิลปการพิมพ,
2550), 107.
การศึกษารปู แบบประเภทของพระพิมพ

ในการศึกษาพระพิมพสมัยอยุธยาตอนตนในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ ไดจําแนก
ลักษณะพระพิมพออกเปนแตละประเภท คือ พระพิมพประเภทประดับซุม พระพิมพประเภท
โพธิบัลลังก และ พระพิมพป ระเภทแผง

พระพมิ พประเภทประดบั ซมุ
นิยมทําเปนภาพพระพุทธรูปปางตางๆ ประดิษฐานภายในซุมทรงตางๆ บางครั้งมีการ
เพ่ิมเติมรายละเอียดบางสวน เชน เหนือซุมทําเปนพุมโพธ์ิพฤกษ มีพระสาวกขนาบท้ังสองขาง
หรือบริเวณเสาซุมประดับแจกันดอกไม รูปแบบของซุมบนพระพิมพสวนใหญปรากฏ 2 ลักษณะ
ดวยกัน คือ ซุมท่ีมีลักษณะคลายดานหนาของอาคาร (หนาบรรพ) และซุมที่มีลักษณะเปนรัศมี
กระจายรอบพระวรกายของพระพุทธรูป (ฉัพพรรณรังสี) สําหรับลักษณะของซุมสองรูปแบบ
ดังกลาวนี้ หากนํามาประดับรวมกับพระพุทธรูปเรามักจะเขาใจความหมายของซุมท้ังสองแบบนี้วา

31

“ซมุ เรือนแกว ” ท่ีนอกเหนอื จากจะมีความหมายในเชิงประติมานวทิ ยา แลว ยงั มีสว นชว ยเสรมิ พทุ ธ
บารมใี หกบั พระพทุ ธรปู ดว ยเชนกนั

อยางไรก็ตามพระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตนในกรุพระปรางควัดราชบูรณะปรากฏ
รูปแบบท่ีหลากหลายดวยกัน รวมถึงรูปแบบของซุมบนพระพิมพท่ีมีรูปแบบแตกตางกันไปตาม
ระยะเวลาและอิทธิพลทางศิลปะ ท้ังน้ีหากกําหนดช่ือเรียกลักษณะซุมที่มีรูปแบบแตกตางกันไป
เหลาน้ีวา “ซุมเรือนแกว” ก็อาจสงผลตอความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะของซุมรูปแบบตางๆ ท่ีอาจ
เกย่ี วเนือ่ งกบั แรงบันดานใจจากอิทธิพลศิลปะที่แตกตางกัน ดังนั้นเพ่ือความสะดวกในการจัดกลุม
พระพมิ พดงั กลา วจงึ มคี วามจาํ เปนตองกําหนดชื่อเรียกลักษณะของซุม เพื่อความเขาใจลักษณะของ
ซุม และอาจเช่ือมโยงตอไปยังอิทธิพลทางศิลปะท่ีสงผลตอรูปแบบซุมแตละประเภท โดยใน
การศึกษาคร้ังนส้ี ามารถจําแนกรปู แบบของซุมบนพระพมิ พใ นกรพุ ระปรางควดั ราชบูรณะกลุมที่จัด
อยูใ นชวงศิลปะอยุธยาตอนตน ปรากฏรูปแบบดังน้ี คือ ซุมทรงบรรพแถลง ซุมหนานาง ซุมเรือน
แกว และ ซุมทรงโคง ซ่งึ จะแยกทําการศกึ ษาในดานความหมาย และ รายละเอยี ด ตอไป

ซุมทรงบรรพแถลง7 หรือซุมทรงบันแถลง เปนชื่อเรียกซุมแบบหนึ่งท่ีมีลักษณะ
คลา ยจัว่ และมักหมายถึงเฉพาะซมุ ท่เี ปน ทรงจวั่ ซ่งึ เปน การยอ ขนาดจากจว่ั หนา บันของอาคาร (ภาพ
ท่ี 9) มาทําจําลองเปนสัญลักษณใหมีขนาดเล็ก ซุมทรงบรรพแถลงนี้นาจะคล่ีคลายมาจากลักษณะ
ซุมโคงเขาสลับโคงออกในศิลปะลพบุรี8 และพบมากในพระพิมพแบบลพบุรีที่นิยมทําเปน
พระพุทธรปู ประดษิ ฐานภายในซมุ ทรงบรรพแถลงท่ีมีลักษณะ เสาคูรองรับจั่วหนาบรรพ (หนาบัน)
ท่ีมีกรอบซุมแบบคดโคง (ภาพท่ี 10) ซึ่งรูปแบบซุมดังกลาวน้ีอาจแทนสัญลักษณของอาคารท่ี
ประทับของพระพุทธเจา ดังจะเห็นไดชัดในพระพิมพศิลปะลพบุรีบางพิมพที่ทําเปนพระพุทธรูป
ประดษิ ฐานภายในปราสาทแบบขอม

7 สันติ เล็กสขุ มุ , เจดยี ค วามเปนมาและคําศพั ทเรยี กองคป ระกอบเจดียใ นประเทศไทย,
พิมพครง้ั ที่ 5 (กรุงเทพฯ : สํานกั พมิ พม ตชิ น, 2552), 94-95, อางจาก สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอ เจา
ฟา กรมพระยานรศิ รานุวัดตวิ งศ และ พระยาอนมุ านราชธน, บันทกึ เรอ่ื งความรตู างๆ เลม ที่ 3, พมิ พ
ครง้ั ที่ 2 (กรงุ เทพ : บรษิ ทั สํานกั พมิ พไ ทยวฒั นาพานิช จาํ กัด, 2521), 122.

8 เรอื่ งเดียวกัน, 94.

32

ภาพที่ 9 หนา มขุ ปรางคประธานวดั พระศรีรตั นมหาธาตุ ลพบุรี

ภาพท่ี 10 พระพมิ พศลิ ปะลพบุรไี ดจ ากกรพุ ระปรางควัดราชบรู ณะ
ที่มา : กรมศลิ ปากร, นําชมพพิ ิธภัณฑสถานแหง ชาตเิ จา สามพระยา (กรงุ เทพฯ : รุงศิลปการพมิ พ,
2548), 111.

33

สําหรับความเปนมาของรูปแบบพระพุทธรูปประดิษฐานภายในซุมที่เปนสัญลักษณ
ของอาคาร เขาใจวามีตนแบบอยูท่ีพระพิมพแบบ “ซุมพุทธคยา” ในศิลปะอินเดีย ซึ่งลักษณะพระ
พมิ พแ บบดังกลาวคือการจาํ ลองภาพพระพทุ ธเจาประทับภายในวิหารมหาโพธิ ตําบลพุทธคยา อัน
เปนสถานที่พระพุทธเจาทรงตรัสรู9 ดังน้ันซุมท่ีมีลักษณะคลายอาคาร จึงอาจมีความหมายในเชิง
สญั ลักษณของปราสาท (เรือนฐานันดรสูง) หรอื อาคารทปี่ ระทบั ของพระพุทธเจา (คันธกุฎี)

ซุมหนานาง หรือกรอบซุมที่เปนวงโคง 2โคงมาบรรจบกันในลักษณะคลายกรอบ
หนานาง กรอบซุมลักษณะน้ีเปนที่นิยมมากในศิลปะสุโขทัยและอาจไดรับอิทธิพลโดยตรงมาจาก
ศลิ ปะลังกาโดยการนําเขามาจากพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามณีหลังจากเดินทางกลับจากการไป
ศึกษาพุทธศาสนาในประเทศลังกา ในชว งรัชกาลของพญาเลอไทย ราวกลางพุทธศตวรรษท่ี1910

รูปแบบกรอบซมุ หนา นางในศิลปะสุโขทยั ประกอบดวย 3 ลกั ษณะใหญด ว ยกัน คือ
กรอบซุมหนานางท่ีสวนยอดประดับดวยหนากาล ปลายกรอบซุมท้ัง 2 ขางประดับมกรมีขาและมี
หางเปนกลมุ กระหนก (ภาพท่ี 11) หรอื ในแบบที่สว นปลายกรอบซุมทําเปนรูปกินรี (ภาพที่12) อีก
แบบหน่ึงเปนกรอบซมุ หนา นางแบบที่ประดับลายดอกไมอยูจุดก่ึงกลางดานบนของกรอบซุม สวน
ปลายกรอบซุมทั้ง 2 ขางทําเปนวงโคงของตัวกระหนกที่แสดงวงโคงของตัวกระหนกสําคัญกวา
สวนหัวกระหนก (ภาพที่ 13) ซ่ึงลวดลายกระหนกดังกลาวอาจแสดงความเก่ียวของกับศิลปะ
พุกาม11 สําหรับพระพิมพในศิลปะสุโขทัยนิยมทําเปนพระพุทธรูปประดิษฐานในซุมที่เปนรูปเสาคู
รองรับกรอบซุมหนานางท่ีมีความหมายในเชิงสัญลักษณของปราสาท เชนเดียวกับซุมทรงบรรพ
แถลงในพระพมิ พอ ทิ ธพิ ลศลิ ปะลพบุรี

9 สนั ติ เลก็ สขุ ุม, “เรอื นแกว หรอื ซุม คือรูปสญั ลกั ษณข องอาคาร,” ศลิ ปวฒั นธรรม 16, 12
(ตุลาคม2538) : 176-177.

10 พริ ยิ ะ ไกรฤกษ, ประวตั ิศาสตรศลิ ปะในประเทศไทย ฉบบั คมู ือนกั ศกึ ษา (กรุงเทพฯ :
อมรินทรการพมิ พ, 2528), 166.

11 สนั ติ เล็กสมุ , เจดียส มยั สโุ ขทัย ท่ีวดั เจดยี เจ็ดแถว (กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พเมืองโบราณ
, 2534), 183-189.

34

ภาพท่ี 11 กรอบซมุ หนา นางประดับหนากาล เจดยี ทรงปราสาทแบบสโุ ขทยั ประจาํ ทศิ ตะวนั ออกวดั
มหาธาตุ สุโขทัย

ภาพท่ี 12 กรอบซุมหนา นางประดับรูปกนิ รี ไดจ ากวัดพระพายหลวง สโุ ขทัย พิพธิ ภณั ฑสถาน
แหง ชาติสโุ ขทัย

35

ภาพท่ี 13 กรอบซุมหนานางประดับเจดียห มายเลข 25 วดั เจดยี เ จด็ แถว ศรสี ชั นาลยั

ซุมเรือนแกว เม่ือกลาวถึงซุมเรือนแกวเรามักเขาใจถึงซุมที่หยักโคงลอไปกับพระ
วรกายของพระพุทธรูปลักษณะเดียวกับซุมของพระพุทธชินราช แตอยางไรก็ดีซุมเรือนแกวมี
ความหมายครอบคลุมลักษณะซุมแบบอาคารที่ใชประดับรวมกับพระพุทธรูปดวยเชนกัน แตจาก
การศึกษาพระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตนในกรุพระปรางควัดราชบูรณะปรากฏรูปแบบซุมเรือนแกว
หลายแบบดวยกนั ทั้งแบบทเ่ี ปน ซุมทรงบรรพแถลง ซุม หนา นาง และซมุ แบบซุมพระพุทธชินราช
ซ่ึงความแตกตางกันของรูปแบบซุมนี้อาจเกิดข้ึนจากความแตกตางทางดานระยะเวลาและอิทธิพล
ทางศิลปะ ท้ังน้ีหากเรากําหนดเรียกรูปแบบซุมตางๆเหลานี้โดยรวมวา “ซุมเรือนแกว” ก็อาจเกิด
ปญหาในการจําแนกอิทธิพลศิลปะบนพระพิมพ ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงมีแนวทางในการ
กําหนดช่ือเรียกซุมเรือนแกวแบบตางๆตามลักษณะท่ีเดนชัดเพื่อความสะดวกในการจัดกลุมดังท่ี
กําหนดเรียก ซุมทรงบรรพแถลง และ ซุมหนานาง ในเบ้ืองตน และไดกําหนดเรียกช่ือซุมท่ีมี
ลกั ษณะเดยี วกบั ซุมของพระพุทธชนิ ราชเปน “ซมุ เรือนแกว ” ตามความเขาใจโดยทั่วไป

ลักษณะซุมเรือนแกว ของพระพิมพศิลปะอยุธยาตอนตนในกรุพระปรางควัดราช
บูรณะทําเปนกรอบลอมตามเสนรอบนอกพระวรกายขององคพระพุทธรูป เราอาจแบงซุมเรือน
แกว แบบนอี้ อกเปน สองสว น คือสว นลา งซง่ึ ขน้ึ มาเปน เสนต้ังแลว โคง เขา รบั กบั สวนพระศอ และ
ในชวงโคงเขาในสวนน้ีเองมักประดับกระหนกมวนเขาทั้งสองขาง ตอข้ึนไปเปนสวนบนซึ่งมี
ปลายบรรจบกันเปนรูปเรียวแหลมรับกับทรงของพระเศียรอันมีพระรัศมีเปนยอดแหลม รูปทรง
ซุมเรือนแกวในลักษณะแบบดังกลาวไดมีมาแลวในศิลปะพุกามของพมา เชน ซุมเรือนแกวใน


Click to View FlipBook Version