The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

005.ธยานะภาวะในงานสถาปัตยกรรมภายใน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

005.ธยานะภาวะในงานสถาปัตยกรรมภายใน

005.ธยานะภาวะในงานสถาปัตยกรรมภายใน

35

การศึกษากรณีศกึ ษาตัวอยาง

กรณีศึกษาท่ี 1
ปจจุบันน้ีธุรกิจสถานพักผอนเพ่ือแสวงหาความสงบลวนใหบริการที่พักพิงจิตใจใหได
พักผอนจากสภาวะกดดนั ของโลกยุคใหม และในแหลง พกั ใจจํานวนมาก มีอยูที่หนึ่งที่สามารถสงบ
จิตใจไดโดยไมตองตัดขาดจากความมีสไตลอยางสิ้นเชิง ใน Country Tipperary ใกล ๆ เมือง
Clonmel ทีมสถาปนิกจาก Dublin ที่ช่ือ Bates Maher ไดจัดสรางกลุมอาศรมไมเล็ก ๆ ท่ีมีลักษณะ
ตา งจากความเปน สถานปฏิบัตธิ รรมทวั่ ไปอยางสิน้ เชิง

ภาพที่ 5 อาศรม “Poustiniae” ประเทศสวิตเซอรแลนด (Wall Paper Thai Edition 2005 : 34)

อาศรมแตละหลังจะไดรับมุมองธรรมชาติท่ีตางกันและยังเปดรับองศาของแสงแดดท่ี
เปลี่ยนไปตามชวงเวลาสูภายใน อาศรมเหลาน้ีเปนที่รูจักในชื่อ Poustiniae ดวยงบประมาณ 5 แสน
ยูโร หลวงพอ Pierce จาก Rosminian Order ตองการให Poustiniae แหงน้ี เปนที่สงบจิตใจของผูที่
ตองการความเปนสวนตัวมากกวาการไปใชบริการ Glencomeragh อันเปนศูนยใหญขององคกรซ่ึง
ตั้งอยูไมไกลออกไป Kevin Bate และ Tom Maher สถาปนิกผูออกแบบโครงการนําแรงบันดาลใจ
จากพ้ืนปาซึ่งอยูรอบ ๆ มาถายทอดเปนท่ีพักทรงกลอง 4หลัง ท่ีสรางจากไมสน Douglas ประเภท
โชวลายฟนเลื่อยแบบดิบ ๆ ผสมกับการใชไมสนขัดผิวเรียบซึ่งเปนสไตลที่ไดรับอิทธิพลมาจาก

36
สตูดิโอของ Peter Zumthor ในสวิตเซอรแลนด ผลลัพธท่ีไดก็คือการผสมผสานลักษณะท่ีดูแข็ง
กระดาง เขากับความเน้ียบของแผนไมปดผิวที่กลายเปนทางเลือกที่ดีที่สุดทางหน่ึงในการใชวัสดุ
จากธรรมชาติ

อาศรม 3 หลัง ต้ังอยูบนเนินเขา (สวนหลังท่ี 4 นั้น อยูท่ีตีนเนินใกลกับอาคารหลัก และ
มีการติดต้ังทางลาดเพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูพิการ) เนินเขากลายเปนสวนประกอบสําคัญ
ของการออกแบบ โครงสรางคอนกรีตที่ยื่นออกไปในอากาศรองรับชองหนาตางที่ไลความสูง 3
ระดับ ทําใหเ กดิ มมุ มองทห่ี ลากหลายของบรรยากาศทที่ าํ ใหผ ูเขาพักเกดิ สมาธิ

ผนังซ่ึงติดกระจกที่ผิวดานนอกน้ันมีบานพับที่สามารถเปดออกได เมื่อยามปกติผนัง
กระจกจะชวยเพิ่มความกวางของสวนที่อยูภายในเขตรั้ว และเมื่อเปดผนังเขามาภายในอาคาร ผนัง
กระจกจะสะทอนนํามุมมองภายนอกเขามาสูบริเวณอางจากุซซี่ซ่ึงตั้งอยูดานใน ทําใหอาศรมหลังน้ี
สะทอ นภาพของส่ิงทีอ่ ยแู วดลอ มออกมาท้ังทางตรงและในเชิงอุปมาอุปมัย

ภาพที่ 6 คนรักธรรมชาติ สามารถสมั ผสั มุมมองภายนอกแมก ระทง่ั ยามนอนแชใ นอางจากซุ ซี่
ณ อาศรม Poustiniae ประเทศสวิตเซอรแ ลนด (Wall Paper Thai Edition 2005 : 34)

37
สาํ หรบั ผูท ีต่ อ งการทาํ สมาธิโดยไมถ ูกรบกวนจากธรรมชาติเกนิ ไปนักกส็ ามารถเลือกใช
พื้นทสี่ วนรูปรางแคบ ๆ ยาว ๆ ซึ่งลอมรอบดวยร้ัวและผนังกระจกซ่ึงจําลองโลกกวางในบรรยากาศ
สันโดษเอาไว นอกจากน้ันยังมีประตูบานใหญที่เปดออกสูระเบียงคอนกรีตพื้นผิวทรายพน ซึ่ง
แยกตัวออกจากอาศรมหลงั อืน่ และเสน ทางเดินภายนอกทาํ ใหม คี วามเปน สวนตัวสูง
ผิวหนงั ทีด่ หู ยาบกระดา งภายนอกอาคารนน้ั ตา งกบั การตกแตง ภายในอาคารอยางสน้ิ เชงิ
Maher บอกวา เขาหยิบยืมลักษณะของความขัดแยงนี้มาจากศิลปะนามธรรมของ Patrick Scott
ศิลปนไอริชผูสรางสรรคงานจากใบไมสีทอง เฟอรนิเจอรภายในอยางเตียงซ่ึงพับเก็บเปนโซฟาได
และโตะทําครัวไมบีชซ่ึงสามารถปรับระดับเปนท่ีนั่งนั้นไดรับการออกแบบใหดึงดูดสายตาจนคุณ
จะลมื มองอปุ กรณเคร่ืองใชอ นื่ ๆ สวนเฟอรนิเจอรช น้ิ อืน่ ๆ นน้ั ทําจากไมสดี าํ ทําใหต ัดกบั ผนังสีขาว
อยางชดั เจน
ไมใชเร่ืองแปลกอะไรถาอาศรมสําหรับบมเพาะจิตใจท่ีดูคลายหองอบไอนํ้าขนาดใหญ
แหงน้ีจะมีหองชําระลางรางกายที่มีความพิเศษเฉพาะตัว ภายในหองน้ํามีพื้นท่ีอาบน้ําฝกบัวบนพ้ืน
ระแนงไมทเ่ี ผยใหเ ห็นอางอาบนํ้าท่ีฝง ตัวในระดับท่ีตํ่าลงไป

ภาพท่ี 7 ผนังกระจกภายในเผยใหเห็นสภาพแวดลอมภายนอกไดโ ดยไมถกู รบกวนสมาธิจนเกินไป
ณ อาศรม Poustiniae ประเทศสวติ เซอรแ ลนด (Wall Paper Thai Edition 2005 : 34)

38

ในขณะท่ีอาศรมทางกลองนี้ออกแบบมาเพ่ือใหผูเขามาสงบจิตใจสามารถเลือกไดวา
ตองการติดตอกับโลกภายนอกมากนอยแคไหน แตการปลอยใหคนท่ีอยูภายในตัดขาดจากโลก
ภายนอกอยางส้ินเชงิ นัน้ คงไมดีแน Kieran Doran จงึ ทาํ ผนงั ท่ีมชี องเปดซ่ึงทําจากอะลมู เิ นยี มและไม
เตรียมเอาไว วันดีคืนดีเขาและสถาปนิกก็ชวยกันยายผนังเหลาน้ีไปไวตามจุดตาง ๆ เพ่ือเสาะหา
มมุ มองที่ดที ่ีสดุ สาํ หรับผูป ฏบิ ัตธิ รรม

Rosminians นั้น กอตั้งข้ึนโดย Antonio Rosmini บาทหลวงอิตาเล่ียนซึ่งมีความ
เชี่ยวชาญดานปรัชญาและเช่ือในหลักการทําปรัชญาสมาธิ และเขาก็คือผูท่ีเห็นดวยวากลองเหลานี้
เหมาะสมแลว กบั การสง เสรมิ ใหคนเกิดความคิดอยางมีสติ (Wall Paper Thai Edition 2005 : 34-35)

อาศรมแหง นี้เปนสถานทห่ี นึง่ ท่สี ามารถปลดปลอยความกดดนั ในสภาวะของการกดดัน
จากสภาพสังคมเขาสูสภาวะท่หี ลุดพน จากพันธะนาการของสังคม โดยใชส มาธิและธรรมชาติบําบัด
จิตใจ ซ่ึงใชมุมมองของธรรมชาติเพ่ือใหเกิดสมาธิ ซึ่งอาศรมแตละหลังจะมีทิศทางมุมมองของ
ธรรมชาติที่แตกตางกัน เพื่อความเปนสวนตัวและเกิดสมาธิสูงสุด อาศรมแหงน้ีตองการเปนสวน
หน่ึงของธรรมชาติ วัสดุที่ใชในการสรางจึงเปนวัสดุตามธรรมชาติ โดยมีการออกแบบที่เรียบงาย
และมีพื้นที่ใชสอยเพียงพอในการดํารงชีพ การนําลักษณะความเปนหนึ่งเดียวกับธรรมชาติและ
มมุ มองซง่ึ เปนสัดเปน สว นเพอื่ ใหเ กดิ การปลกี วเิ วกของผูท่มี าพกั ใหเกดิ สมาธสิ ูงสดุ

39

กรณศี กึ ษาที่ 2

ภาพที่ 8 มุมมองจากภายนอกอาคารเรอื นพักญาตโิ ยมหญงิ ท่วี ัดวชริ บรรพต จ.ชลบรุ ี
(Art 4D 2550 : 46)

40

ภาพที่ 9 ทางเขาจากภายนอกสพู ้ืนที่ภายในเรอื นพักญาติโยมหญงิ ณ วัดวชริ บรรพต
จ.ชลบุรี (Art 4D 2550 : 46)
ในนามของแมธรรมชาติและความซาบซ้ึงในรสพระธรรมคําสอนของพุทธศาสนา

สุริยะ อัมพันศิริรัตนและญาติมิตร ยังคงสรางกุศโลบายใหม ๆ ผานงานสถาปตยกรรมในแบบที่เขา
เช่ือวาใช ใหกับภิกษุ สามเณร และผูปฏิบัติธรรมไดใชเปนพาหนะท่ีนําไปสูญาณปญญา นับตั้งแต
กุฏิหลังแรกที่วัดเขาพุทธโคดมเมื่อสองปท่ีแลว มาจนถึงกุฏิอีกนับสิบหลัง พื้นที่ปฏิบัติธรรม ลาน
สมาธิ หอไตร ซ่ึงมีความหลากหลายของรูปแบบ และตางก็ถูกสรางข้ึนบนพ้ืนฐานเดียวกันคือ การ
แปรรปู กุศโลบายทเ่ี ช่ือมโยงสูห ลักธรรมคาํ สัง่ สอนและวิธีการปฏิบัติทางศาสนาใหกลั่นออกมาเปน
งานสถาปต ยกรรม

41

ภาพท่ี 10 การประสานกันระหวา งมนุษยก บั ธรรมชาติ ธรรมะ และสถาปต ยกรรม เรือนพัก
ญาตโิ ยมหญิง ณ วัดวชิรบรรพต จ.ชลบรุ ี (Art 4D 2550 : 47)
ในงานเรือนพักญาติโยมหญิงท่ีวัดวชิรบรรพตก็เชนกัน ตัวอาคารถูกสรางขึ้นดวย

กุศโลบายอีกบทหนึ่งผานองคประกอบสถาปตยกรรมมากมายหลายรูปแบบ เพ่ือเอื้อใหผูปฏิบัติ
ธรรมไดมีโอกาสสมั ผสั กบั ความงามแหงธรรมชาตคิ วบคไู ปกับการฝกตน

42

สถาปนิกอธบิ ายถึงท่มี าท่ีไปของโครงการแหง น้วี า

ระยะหลังเริ่มมีสถาบันการศึกษา และหนวยงานติดตอมาเพ่ือใหบุคลากรไดมีโอกาสเขามา
ปฏิบัติธรรม ซึ่งมีจํานวนมากขึ้นทุกวัน หลวงพอทานมีวิธีการสอนลูกศิษยโดยใชธรรมชาติเปน
แกน ทานอยากใหอาคารเปรียบเสมือนบานหลังท่ีสองของพุทธศาสนิกชน มีความอบอุน สงบ
สบาย คงสภาพธรรมชาติที่มีอยูเดิมไวใหมากที่สุด เพราะวัดเปนท่ีเยียวยาจิตใจ ทั้งสวนบุคคล
ครอบครัวและสังคม โดยทําหนาทาผสานกายและวิญญาณใหเปนหนึ่ง ซึ่งตองทําความเขาใจใน
แนวคดิ เหลานใ้ี หมท ั้งหมด เนอ่ื งจากมคี วามคาดหวงั มากมายเกดิ ขน้ึ

หากมองจากภายนอก อาจรูสึกไดเพียงวาเรือนพักญาติโยมหญิงแหงน้ี ก็เปน
“Signature” เดิม ๆ ของสุริยะท่ีถูกขยายขนาดขนมาอันเนื่องมาจากวัตถุปจจัยท่ีไดรับมีมากกวาการ
สรางกุฏิที่ผาน ๆ มา แตหากพินิจโดยละเอียดเราจะเห็นวาการทํางานคร้ังนี้สุริยะตองทําความเขาใจ
กับโจทยท่ีมีความซับซอน และความละเอียดออนมากขึ้น เนื่องจากผูใชอาคารสวนใหญเปนผูหญิง
กุศโลบายหลายประการจึงไมสามารถทําไดอยางตรงไปตรงมาแบบที่ทําใหกับภิกษุสามเณรในงาน
ออกแบบกุฏวิ ัด หรอื พนื้ ที่ธรรมวัตร

ภาพท่ี 11 มุมมองจากพ้นื ทีภ่ ายในสพู ืน้ ท่ภี ายนอก ณ วดั วชริ บรรพต จ.ชลบุรี
(Art 4D 2550 : 48)

43
ตัวอาคารสองชั้นซึ่งมีขนาดใหญกวา 2,000 ตารางเมตร เม่ือมองจากภายนอก เราไม
อาจจะประมาณขนาดของมันดวยสายตา เนื่องจากตัวอาคารน้ันถูกสรางและอําพรางซ่ึงปกคลุมดวย
แมกไมปาที่มขี นาดใหญและหนาแนน เปน presence/absence ท่ีจะคน พบไดก ็ตอเมอื่ เพียงกาวแรกที่
ผา นพน ซมุ ประตกู ออฐิ เลก็ ๆ กับโครงสรา งไมท ่ีประกอบเรยี บงา ยดานหนาอาคาร ผานสระนํ้าเล็กๆ
สองดานท่ีมีการติดตั้งงานประติมากรรมรูปทรงคลายเม็ดขาวสีทอง และผานแนวเสนนําสายตาบน
พน้ื ทเ่ี กดิ จาการสกดั ผวิ พ้ืนหินแกรนิตท่ีนอกจากจะชวยกันล่ืนแลว ยังกลายเปนเสนนําสายตาพุงเขา
ไปสูดานในอยางรุนแรงและหยุดกะทันหันดวยกอนหินภูเขาขนาดใหญซ่ึงมีอยูเดิม และสถาปนิก
ตองการรักษาไวเพื่อใหสัมผัสไดถึงเร่ืองราวของดิน ในชวงเวลาสั้น ๆ ตรงน้ีเองที่เรารูสึกไดถึงการ
เปล่ียนแปลงขนาดของพ้ืนที่อยางฉับพลัน (shock of space) เปนลักษณะเดียวกับการเดินเขาไปใน
โบสถหรือวิหาร หากเพียงภาพของพระประธานท่ีเราอาจคาดหวังจะไดเห็นน้ันไดถูกแทนที่ดวย
ภาพของปาธรรมชาติสีเขียวขจีและแนวสันเขาของท่ีต้ัง โดยมีโถงความสูงสองชั้นทําหนาที่เปน
กรอบภาพขนาดใหญท ีเ่ นนความงามและความย่ิงใหญข องธรรมชาติทีเ่ บ้อื งหนา

ภาพท่ี 12 แสดงบริเวณโถงบนั ไดทางขึน้ ชั้นสอง ณ วัดวชิรบรรพต จ.ชลบุรี
(Art 4D 2550 : 48)

44

ภาพที่ 13 พ้ืนที่สาํ หรบั ปฏิบตั ิสมาธิ ณ วัดวชิรบรรพต จ.ชลบุรี (Art 4D 2550 : 48)
ในสวนของการใชสอย สถาปนิกทําการแบงพ้ืนที่พักของญาติโยมหญิง ใหเกิดความ

เหมาะสมดานกาลเทศะ ระหวางฆราวาสและบรรพชิตอยางระมัดระวัง โดยรวมแลวมีการแบงเปน
สองสวนอยางชัดเจนคือพ้ืนท่ีสําหรับการใชงานตอนกลางและกลางคืน ซึ่งชวงเวลากลางวันนั้น
พ้ืนที่ช้ันลางจะมีการใชงานดานการศึกษาพระธรรม การเดินจงกรม การนั่งสมาธิ โดยในสวนนี้
สถาปนิกไดออกแบบชานไมท่ียื่นโครงสรางออกไปลอยตัวอยูทามกลางตนไม ทําใหบรรยากาศใน
การน่ังสมาธิน้ันสงบเงียบอยางสุดโตง รวมทั้งมีหองนอนสําหรับผูสูงอายุท่ีไมสามารถเดินขึ้นลง
บนั ไดชันไดสะดวก การเปดโลงและยกพื้นชั้นลางคลายใตถุนโดยปราศจากเฟอรนิเจอรใด ๆ ทําให
พ้ืนผิวมันเงาของพื้นหินแกรนิตนั้นสะทอนองคประกอบทางสถาปตยกรรมราวกับผืนน้ําอันเปน
อุปมาที่สถาปนิกต้ังใจจะใหเกิดข้ึนในงานชิ้นน้ี ในแตละวันพ้ืนที่ชั้นลางจะมีญาติโยมมาใชงานกัน
เปนจาํ นวนมากแมจะเปนฤดูรอนก็ตาม แตอุณหภูมิภายในเพิงพักแหงน้ีกลับทําใหเกิดสภาวะสบาย
ที่ยังคงเอื้อใหเกิดกิจกรรมหลายอยาง เชน การเดินจงกรม การอานหนังสือ หรือการนั่งสมาธิ อัน
เน่อื งมาจากบริบทรอบดา น และความโปรง โลงของตวั อาคาร

45

ภาพที่ 14 แสดงพื้นท่ีใชสอยตาง ๆ ภายในอาคารของวัดวชิรบรรพต จ.ชลบุรี (Art 4D 2550 : 49)

ภาพท1่ี 5 บรเิ วณโถงบนั ไดบนพ้นื ทห่ี องนอนรวมทช่ี ั้นสอง ณ วัดวชิรบรรพต จ.ชลบุรี
(Art 4D 2550 : 50)

46
พื้นท่ีชั้นบนถูกออกแบบมาเพื่อการใชงานเวลากลางคืน คือการนอนพักผอน และการ
ฝกสมาธิ การจัดวางผังชั้นบนแบงเปนหองนอนรวมสองฝงที่โอบลอมพ้ืนท่ีใชสอยสวนกลางที่ชั้น
ลาง และถูกเช่อื มตอ ดว ยพืน้ ท่จี ัดเกบ็ และหอ งอานหนังสือ ซ่ึงสามารถปรบั เปลย่ี นเปนทน่ี อนเพมิ่ ข้ึน
ไดในกรณีที่ผูปฏิบัติมามากเปนพิเศษ นอกจากน้ีสุริยะไดใหความสําคัญกับรายละเอียดปลีกยอยไม
ตา งจากท่ีเขาเคยทาํ ไวในงานทม่ี ขี นาดเล็ก ๆ เขาไดออกแบบหองนอนรวมใหมีขนาดไมเทากัน เพ่ือ
ความเหมาะสมกับการใชงานแตละครั้งและการดูแลรักษาในระยะยาว บริเวณดานหลังของอาคาร
ซ่ึงติดอยูกับแนวเขาและตนไมเปนมุมที่ลับตาและมีแดดสองถึง จึงมีการออกแบบโครงสรางทอ
เหล็กสําหรับการตากผาอยางเปนระเบียบ ในขณะที่สวนของหองอายนํ้าและหองสุขา ก็มีการ
ออกแบบไวเปนจํานวนมากเพ่ือใหเพียงพอตอการรับรอง ซ่ึงในบางวาระมีผูใชงานกวา 350คนใน
วันเดียวกัน (เม่ือเทียบอัตราสวนระหวางผูใชและจํานวนหองนํ้า เราม่ันใจวามีจํานวนมากกวา
หองนํ้าท่สี นามบินสุวรรณภูมอิ ยา งแนนอน)

ภาพท่ี 16 แสดงมุมมองจากช้ันบนสพู นื้ ทโี่ ลงดานลา งของวดั วชิรบรรพต จ.ชลบุรี
(Art 4D 2550 : 50)

47

เรือนพักญาติโยมหญิงแหงใหมแหงน้ีแสดงออกถึงพัฒนาการและความชํานาญเชิงชาง
ของสุริยะที่เปนผลมาจากประสบการณในงานชิ้นกอน ๆ อยางชัดเจน เขาไดใหความสําคัญกับ
สภาพภมู ปิ ระเทศดง้ั เดมิ มากข้ึน มีการคดั สรรวัสดเุ ทา ทีจ่ าํ เปน และเคลอ่ื นยา ยไดส ะดวกมาใชงานได
อยางเหมาะสม โดยเนนเลือกใชวัสดุที่หาไดงายในทองถิ่น เชน โครงสรางเหล็กนํ้าหนักเบาแบบ
หลอเสาคอนกรีตที่เปนทอกระดาษเพื่อประหยัดไมแบบ นอกจากนั้นยังคํานึงถึงการออกแบบขั้น
พื้นฐานที่เหมาะสมกับศักยภาพของชางทองถ่ินและเปดโอกาสใหลูกศิษยวัดไดมีสวนรวม สุริยะ
กลา วถึงบทสรปุ ถงึ กรรมวธิ ีการคิดท่ไี ดจ ากการทํางานในครั้งน้ีไวว า

“คนท่ัวไปคิดวาศาสนาคือบทสวด แคนี้ก็ยากแลวที่เราจะถึงนิพพาน มันตองใชปญญาอยาง

มาก ดังน้ันทุกอยางที่เราเห็นมันจึงเปนกุศโลบายท้ังสิ้น คนโบราณพยายามสรางกุศโลบายขึ้นมา
เพ่ือสอนเรา และผมเหน็ ดว ย ผมจงึ พยายามมองความงามของธรรมชาติ และผสานความงามพวกนี้
ในงานสถาปตยกรรม อยางเชนท่ีญี่ปุนจะชมซากุระก็ตองสรางศาลา มีการชงชา อาคารที่เราทํา
พวกนีม้ ันกเ็ ลยเหมือนยานพาหนะท่จี ะพาใหเราไปถงึ และสัมผัสไดถึงธรรมชาติ คุณเดินเขามา คุณ
เดินไปจับใบไม ไปดูทองฟา เราตองต้ังคําถามกับตัวเองตลอดวาเราตองการอะไร จําเปนมั้ย มี
ทําไม ถาเราเขาใจได เรากจ็ ะทาํ งานได และทําไดดดี วย” (Art4d 2550 : 46-51)

เรือนพักญาติโยมหญิงแหงนี้ไดถูกสรางมาจากพื้นฐานของการแปรรูปจากหลัก
คาํ สั่งสอนสูงานสถาปตยกรรม โดยผูปฏิบัติสามารถสัมผัสธรรมชาติควบคูกับการฝกสมาธิซึ่งผูใช
โครงการนส้ี วนใหญเปนผูหญิง ลกั ษณะของพ้ืนที่ภายในจะสูงผิดจากทางเขาอยางมาก ซ่ึงสามารถ
เปรียบเทียบไดกับลักษณะสถาปตยกรรมโบสถวิหาร ท่ีมีการเปล่ียนสัดสวนอยางทันทีระหวาง
ทางเขาและโถงภายใน โดยมีพระพุทธรูปประธานเปนจุดรวมสายตาเพื่อทําใหเกิดสมาธิโดย
ฉับพลัน ลักษณะของลานเพ่ือปฏิบัติสมาธิเปนชานไมย่ืนอยูทามกลางธรรมชาติลอยๆ การนั่ง
สมาธิแบบนี้จึงเปนการนั่งสมาธิสําหรับผูท่ีมีสภาพจิตที่พรอมกับการอยูลอมรอบดวยธรรมชาติใน
ท่ีสูง ซึ่งอาจจะทําใหรสู ึกกลัวและวติ กกบั ความปลอดภยั แทนที่จะสามารถมจี ติ ท่ีตั้งม่นั ในสมาธิ

48

กรณศี กึ ษาที่ 3

ภาพที่ 17 แสดงพืน้ ที่โดยรวมทง้ั หมดของ ศนู ยป ระชมุ Kantha Bopha Center ประเทศกัมพูชา
(Art 4D 2550 : 58)

49

ภาพที่ 18 แสดงดานหนาของอาคารในเวลากลางคืนของ ศูนยประชุม Kantha Bopha Center
ประเทศกมั พูชา (Art 4D 2550 : 59)
บนเสน ทางไปนครวดั ในตอนเชาปลายเดือนพฤศจิกายนเต็มไปดวยความคึกคัก ฤดูกาล

ทองเที่ยวกาํ ลงั อยูใ นชว งขาขนึ้ กอนทจ่ี ะพีคในเดือนธันวาคม ทุกวันน้ีเสียมราฐกําลังกลายเปนเมือง
ทองเท่ียวเต็มรูปแบบ หลังจากท่ีรัฐบาลกัมพูชาไดปรับปรุงเสนทางเดินท้ังทางรถและเครื่องบิน
นักทอ งเทีย่ วจากทกุ ภมู ิภาคของโลกหล่งั ไหลสูเ สียมราฐมากขนึ้ โดยมีเปาหมายเดยี วกันคอื นครวัด

เปาหมายคร้ังนี้ไมไดอยูท่ีนครวัด แตเปนศูนยประชุมขนาดยอม ๆ ท่ีสรางข้ึนใหม
Kantha Bopha Center อยูบนเสนทางออกจากตัวเมืองเสียมราฐไปยังนครวัด สําหรับคนท่ีนี่อาจไม
คอยมีใครรูวานี่คือ ศูนยประชุมหรืออาจไมรูวามันคือ ตึก แตถาพูดถึง Kantha Bopha คนท่ีน่ีรูจักดี
วา คอื โรงพยาบาลเดก็ ทมี่ าจากมูลนิธชิ อ่ื เดียวกนั นี้

50

ภาพท่ี 19 ดา นหนา ของโครงการ เหน็ โครงกริดคอนกรตี กบั สกรีนลาํ ไมไผ ซง่ึ เปนองคป ระกอบ
ท่ีบังสายตาของดานหลงั หองประชุม Kantha Bopha Center ประเทศกมั พูชา
(Art 4D 2550 : 60)

51

ภาพที่ 20 บริเวณประตทู างเขา หลักของ ศนู ยป ระชมุ Kantha Bopha Center ประเทศกัมพูชา
(Art 4D 2550 : 61)

ภาพที่ 21 แสดงรายละเอียดระแนงไมของประตูดานหนาของ ศูนยประชุม Kantha Bopha Center
ประเทศกัมพูชา (Art 4D 2550 : 61)

52

ภาพที่ 22 โถงใตหองประชมุ ใหญ เห็นโครงสรางหอ งประชุม Kantha Bopha Center ประเทศ
กมั พูชา (Art 4D 2550 : 61)

53
Kantha Bopha เปนโรงพยาบาลเด็กท่ีกอต้ังโดยนายแพทยบีท ริชเนอร กุมารแพทยชาว
ออสเตรีย-สวิส ซ่งึ เดนิ ทางเขา มาปฏบิ ตั ิภารกิจชวยเหลือผูปวยเด็กในกัมพูชาประมาณ 30ปกอน คุณ
หมอริชเนอรกอตั้งโรงพยาบาลเด็กแหงแรกในพนมเปญ ตอมาไดหยุดทําการลง เมื่อเขมรแดงยึด
อํานาจในกัมพูชาไดขอใหคุณหมอริชเนอรฟนฟูโรงพยาบาลขึ้นมาอีกคร้ังพรอมกับกอสรางสาขา
ใหมในพนมเปญเอง และตามมาดวยสาขาที่สามเสียมราฐ ทุกวันนี้ Kantha Bopha เปนโรงพยาบาล
เด็กที่ใหการชวยเหลือและรักษาผูปวยเด็กฟรี โดยไดรับเงินสนับสนุนจากหนวยงานตาง ๆ ของ
เอกชนทง้ั หมดทั้งในกัมพชู าและจากตา งประเทศ
ไมนานมาน้ี Kantha Bopha ในเสียมราฐ ไดรับเงินสนับสนุนจากสวิตเซอรแลนด ใน
การกอสรางศูนยประชุมในพื้นที่ดินติดกับโรงพยาบาลเดิม นอกจากเพื่อใชรองรับการฝกอบรม
บุคลากรดานการแพทยส ําหรับโรงพยาบาลแลว ยังสามารถใชรองรบั การประชมุ การฉายภาพยนตร
ไปจนถงึ การจัดคอนเสริ ตและงานแสดงนิทรรศการ

ภาพท่ี 23 มองจากบริเวณหนา หอ งสมดุ กลบั ออกมาบริเวณตอนรบั และลานอเนกประสงค
ซ่งึ สามารถจัดนทิ รรศการได ณ ศนู ยประชุม Kantha Bopha Center ประเทศกัมพชู า
(Art 4D 2550 : 62)

54

ภาพท่ี 24 บนชั้นลอยเขาหอ งประชุม Kantha Bopha Center ประเทศกมั พชู า (Art 4D 2550 : 63)

ภาพที่ 25 แสดงพ้ืนทภ่ี ายในหองประชมุ Kantha Bopha Center ประเทศกมั พูชา
(Art 4D 2550 : 63)

55
โปรแกรมประกอบดว ยสว นหลกั ตา ง ๆ คือ หอ งประชมุ ขนาดใหญ 2 หอง ขนาดประมาณ
600 และ 200 ทน่ี งั่ ตามลาํ ดับ หองอบรมสัมมนา 4 หอ ง ขนาดหองละ 60 คน หองสมุดและหองอาหาร
งานสถาปตยกรรมทง้ั หมดอกแบบโดย Asma Architects ทีมสถาปนกิ ในเสียมราฐ

ภาพท่ี 26 ทางเดินดา นหลงั เขาหองอบรมเลก็ Kantha Bopha Center ประเทศกัมพูชา
(Art 4D 2550 : 63)
สถาปนกิ สรา งระเบยี บขึน้ ในผงั อยางเรียบงายตรงไปตรงมา mass ของหองประชุมใหญ

2 หอง ถูกจัดอยูดวยกัน ดุลน้ําหนักกับ mass ของหองอบรมยอย 4 หอง หองสมุดและหองอาหาร
ซึ่งวางองคประกอบเปนรูปตัว L รับกับ mass ขนาดใหญของหองประชุม แนวทางเดินขนาดใหญ
เปน แกนสัญจรหลกั อยูตรงกลางกลุมอาคารท้ังหมดและกระจายการเขา ถึงสทู ุกสวนของโครงการ

56
ภาพที่ 27 บริเวณดา นหลงั หองอาหาร Kantha Bopha Center ประเทศกมั พชู า (Art 4D 2550 : 64)

57
ภาพที่ 28 แสดงพน้ื ทใี่ ชส อยภายในอาคาร ศนู ยป ระชุม Kantha Bopha Center ประเทศกมั พชู า

58

ภาพที่ 29 แสดงพื้นที่ใชสอยภายในอาคาร ศูนยประชุม Kantha Bopha Center ประเทศกัมพูชา
(Art 4D 2550 : 65)

ภาพท่ี 30 แสดงรูปดานและรูปตัดของอาคาร Kantha Bopha Center ประเทศกัมพูชา (Art 4D
2550 : 65)

59
องคประกอบหลัก ๆ ทางสถาปตยกรรมท่ีสถาปนิกใชในการออกแบบ คือผนังใน
ลักษณะของระนาบเปดขนาดใหญ ตัดกันเปนฉากเพ่ือเนนแกนใหชัดเจน และเชื่อมองคประกอบ
ท้งั หมดเขา ดว ยกัน ในขณะท่ใี นทางแนวนอนสถาปนกิ ใชอ งคป ระกอบทางสถาปตยกรรม เชน สระ
น้ํา roof terrace ท้ังในระดับช้ันพ้ืน และช้ันตาง ๆ ของอาคาร มีตัวเช่ือมคือการจัดสวนในรูปแบบ
ตา ง ๆ กัน สอดแทรกและรอยเรียงองคป ระกอบปลีกยอยทั้งหมดเขาดวยกัน เกิดเปนองคประกอบท่ี
มี Unity จากวัสดุ การใชง าน รูปรางและขนาดทางสถาปตยกรรมทแี่ ตกตา งและหลากหลาย เมื่อมอง
ถึงสภาพแวดลอมรอบ ๆ โครงการ ท้ังหมดนี้คือความพยายามสรางระเบียบใหเกิดขึ้นใน Site ใน
บรบิ ทที่รายลอ มไปดว ยองคประกอบท่ีแตกกระจายและไรร ะเบียบ ไมว าจะเปนพน้ื ท่วี า งหรอื อาคาร
ตางขนาดตา งรูปแบบท่ีกระจดั กระจายอยูในพื้นทีร่ อบ ๆ ท่ีต้ัง
หองประชุมใหญ 2 หองถูกจัดวาง mass ดูเกือบจะเปนรูปจัตุรัสในผังวางตําแหนงลง
ตรงมุมท่ีดิน mass ของหองประชุมใหญกรุผนังดวยอิฐสีแดง โครงกริดเสาคานคอนกรีตเปลือย
สรางสกีนดวยไมไผปกเรียงกัน ทําหนาที่เปนผืนผนังที่บังสายตาของสวน backstage และทําหนาท่ี
เชื่อมหองประชุมใหญทั้งสองเขาดวยกัน น่ีคือสวนที่เปนภาพลักษณท่ีชัดเจนท่ีสุดของ
สถาปตยกรรมโครงการนี้ และนา จะเปนภาพลักษณทางสถาปตยกรรม (architectural image) ท่ีผูคน
สามารถจดจําอาคารได

ภาพที่ 31 ภายในคอรทดา นใน เหน็ สเปซที่เปดโลงเช่ือมตอถึงกัน ของศูนยประชุม Kantha Bopha
Center ประเทศกัมพชู า (Art 4D 2550 : 64)

60

ภาพท่ี 32 บรเิ วณทางเดินดา นหลังของหอ งประชุมเห็นองคป ระกอบของพนื้ ผิววัสดุ เชน
คอนกรตี อิฐและไมไผ ศูนยป ระชุม Kantha Bopha Center ประเทศกมั พชู า
(Art 4D 2550 : 64)
วัสดุที่ใหพ้ืนผิวทางสถาปตยกรรมภายนอกถูกปลอยใหแสดงพ้ืนผิวตามธรรมชาติ โดย

ไมมีการปรุงแตง แตถูกออกแบบดวยรายละเอียดท่ีประณีตและลงตัว ประสบการณที่ดีเมื่อไดเดิน
สัมผัสกับสถาปตยกรรมจริง ๆ ก็คือคุณภาพของท่ีวางเมื่อเดินผานแผงประตูใหญเขาไป space
ภายในบริเวณเปดโลง ตอเน่ือง ล่ืนไหลและนุมนวล ไมรูสึกวุนวายและสับสน ซ่ึงนาจะเกิดจากการ

61

ใชองคประกอบหลัก ๆ ทางสถาปตยกรรมที่ไมใชใหผลในเร่ืองของ visual อยางเดียว แตชวย
สื่อสาร กํากับทิศทางการสัญจร รวมท้ังกําหนดของเขตตาง ๆ เห็นไดชัดจากการใชสระน้ําในจุด
ตาง ๆ ในโครงการท้ังหมดน้ีอาจมาจากแนวความคิดสําคัญแรกสุดของสถาปนิกที่ตองการสราง
architect order ใหเกิดขึ้นภายใน complex ยอม ๆ แหงน้ีและ order น้ีเองทําใหเราสัมผัสไดถึงความ
งามของทว่ี างทางสถาปต ยกรรม

ในภาพรวม สถาปตยกรรมโครงการนี้ คือสถาปตยกรรมสมัยใหม (Modern
Architecture) ไดรบั อิทธิพลจากสถาปต ยกรรมของ เลอ คอรบซู ิเอร อยา งชัดเจน ไมวาจะเปนการใช
คอนกรีตเปลือย ผนังพลาสเตอรวอลลทาสีขาว และเนนดวยสีสันสดใสในบางจุด การใชอิฐ ไป
จนถึงรายละเอียดปลีกยอยทางสถาปตยกรรม แตสถาปนิกไดผสมผสานองคประกอบทาง
สถาปตยกรรมที่ใหความรูสึกถึงความเปนตะวันออก ความเปนทองถิ่นเขาไปดวยอยางแนบเนียน
ไมวาจะเปนการใชไมไ ผ การใชนํ้า พืชพรรณในงานภูมิสถาปตยกรรมและการออกแบบท่ีวางท่ีเปด
โลง ตอเนื่องกนั ของภายนอกและภายใน

หากเปนบทเพลง สถาปตยกรรมโครงการนี้ก็นาจะเปนเหมือนบทเพลงเพ่ือชีวิตที่
ประพันธดวยแบบแผน และทวงทํานองที่เปนสากลดวยภาษาของทองถิ่น สถาปนิกบอกวาตองการ
ใหสถาปตยกรรมของมูลนิธิแหงน้ี “เปด” และตอนรับคนท่ัวไป เปนสถาปตยกรรมท่ีตอบสนองตอ
ดินฟาอากาศของทองถ่ิน ใชวัสดุที่ธรรมดาสามัญ และใช open space สรางเอกลักษณใหกับ
สถาปตยกรรมท่ีเรียบงาย ซ่ึงสะทอนถึงจิตวิญญาณขององคกร ดวยงบประมาณกอสรางเพียง 120
ลานบาท และการกอสรางท้ังหมดทําโดยชางทองถิ่น ตองนับวาพวกเขาสามารถสรางสรรคงาน
สถาปตยกรรม โครงการนี้ใหประสบความสาํ เรจ็ ตามทีต่ ง้ั ใจไวใ นระดับทีน่ าพอใจมากทเี ดียว

Asma Archiects เปนทีมสถาปนิกรุนใหมที่ประกอบดวยสถาปนิกชาวกัมพูชาและ
ฝร่ังเศส ในประเทศโลกท่ีสามท่ีอยูในระหวางการกอสรางประเทศขึ้นใหมอยางกัมพูชา ทีม
สถาปนิกหนุมสาวกลุมน้ีเริ่มมีงานออกแบบสถาปตยกรรม ซึ่งสวนใหญเปนงานโครงการเล็ก ๆ ใน
พนมเปญและเสียมราฐ ในงานออกแบบศูนยประชุม Kantha Bopha พวกเขาไดแสดงใหเห็นวางาน
ของเขานาจะเปนจุดเชื่อมตอ และเปนความหวังของสถาปตยกรรมรวมสมัยในกัมพูชาใหกลับมา
เดินหนาอกี ครง้ั ในตนศตวรรษท่ี 21 นี้ สิง่ ท่นี า ประทับใจที่สดุ ของงานออกแบบโครงการนี้ คือ พวก
เขาไดแสดงใหเห็นถึงสถาปตยกรรมท่ีมีพลังและวิญญาณ วิถีทางของศิลปะไดชวยเลื่อนพรมแดน
ระหวางคนสองซีกโลก และศลิ ปะกไ็ ดทํางานของมนั โดยไมม ีพรมแดน (Art4d 2550 : 58-64)

ศนู ยประชุมแหง นี้เปนการปรบั ปรุงจากโรงพยาบาลเด็กจากมลู นิธิ Kantha Bopha ตั้งแต
ลักษณะทางเขาดานหนาของโครงการเปนการใชวัสดุธรรมชาติคือ ไมไผเพื่อใหเกิดการบดบัง
สายตาจากภายนอกแตก็ยังสามารถมองผานไดมุมมองอื่นๆ ซ่ึงแสดงถึงความรูสึกความเปนสวนตัว

62

แตไ มทบึ จนไมม อี ากาศผานเลย เนอื่ งจากประเทศกัมพชู ามงี บประมาณในการปรับปรุง การเลือกใช
วัสดุใหเหมาะสมและราคาไมสูงจนเกิดไปจึงใชวัสดุธรรมชาติซึ่งสามารถหาไดตามทองถ่ิน โดย
ลักษณะทางสัญจรภายในมีแนวทางเดินหลักเปนแกนสัญจรอยูตรงกลางกลุมของอาคารเพื่อ
สามารถกระจายสทู ุกสวนของอาคารและมีความตอเนอ่ื งกนั ระหวา งภายนอกและภายในอาคาร

บทที่ 4

การวเิ คราะหโครงการและแนวความคดิ ในการออกแบบ

การวิเคราะหล ักษณะของโครงการ

จากการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวของและวิเคราะหความหมายของ “ธยานะภาวะ”
และทาํ การวิเคราะหขอมลู เกยี่ วกบั การแกไ ขปญหาท้ังทางดานรา งกายและจิตใจ โดยเนนที่เพศหญิง
ซ่ึงมีหนวยงานท่ีคอยใหความชวยเหลือทั้งภาครัฐและเอกชน เชน สถานีตํารวจที่มีพนักงาน
สอบสวนหญงิ ศนู ยช วยเหลือเด็กและสตรใี นภาวะวิกฤต (OSCC) หรือศูนยพึ่งได กองแรงงานหญิง
และเด็ก ฮอทไลนคลายเครียดกรมสุขภาพจิต ศูนยพิทักษสิทธิเด็กและสตรี ศูนยเสริมสราง
ครอบครัวใหอบอุนและเปนสุข ศูนยรับเร่ืองราวรองทุกขของขาราชการ (ถูกคุกคามทางเพศในที่
ทํางาน) สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย องคกรพัฒนาเอกชนใหคําปรึกษาแก
ผูหญิง เปนตน ซึ่งเมื่อทําการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะขององคกร มูลนิธิเพ่ือนหญิงเปนมูลนิธิ
ตัวอยา งทสี่ ามารถตอบโจทยต ามวัตถุประสงคของโครงการ เพื่อเปน โครงการศึกษาตวั ยางทีด่ ี

พื้นท่ีต้ังโครงการนั้นต้ังอยูบริเวณชุมชนซ่ึงสามารถเดินทางไดอยางสะดวก แตการ
เดินทางระหวางทางเขา (ซอยรัชดาภิเษก 42) จนถึงท่ีต้ังของมูลนิธิเพื่อนหญิง มีระยะทางคอนขาง
ไกลและตองผานแยกมาก ซง่ึ ทางมูลนธิ กิ ็อาํ นวยความสะดวก โดยการมปี ายบอกทางเปนระยะ ๆ

ท่ีตั้งของมูลนิธิเพ่ือนหญิง อยูที่ 386/61-62 ซอยรัชดาภิเษก 42 ถนนรัชดาภิเษก แขวง
ลาดยาว เขตจตั จุ กั ร กทม. 10900 ดา นหนา ของอาคารหนั หนาไปทางทิศเหนือ

63

64
ภาพที่ 33 แสดงแผนท่ตี ้งั ของมูลนธิ เิ พ่ือนหญงิ

65

เรือนจาํ กลางคลอง ศาลายตุ ธิ รรม สถาบันวิจยั
เปรม แหง ชาติ
มลู นิธเิ พอื่ นหญงิ
สน.ประชาชน่ื มหาวทิ ยาลยั
สน.พหลโยธนิ แหลง ชุมชน เกษตรศาสตร
หางสรรพสินคา

แผนภาพที่ 3 แสดงการวิเคราะห ความสาํ คัญของสถานท่ีตง้ั ของโครงการ

สถานที่ตั้งของโครงการ โดยพิจารณาจากความสําคัญของมูลนิธิ ซึ่งเก่ียวโยงกับ
วัตถุประสงคและเปาหมายของมูลนิธิ ณ สถานท่ีตั้งน้ี มูลนิธิต้ังอยูบริเวณชุมชนเมืองสะดวกในการ
เดินทางเน่ืองจากมีรถประจําทางหลายสายผานและสามารถไปถึงสถานท่ีสําคัญเพื่อชวยเหลือได
อยางรวดเร็ว เน่ืองจากการดําเนินงานของมูลนิธิเพ่ือนหญิงจะตองมีการเดินทางบอย เพื่อใหความ
ชวยเหลือกับผูปวยฉุกเฉิน ณ สถานท่ีนั้น การเดินทางท่ีสะดวกจึงเปนสิ่งจําเปนในการจัดตั้งมูลนิธิ
แตจะตองไมเปดเผยจนเกินไป เพราะตองใหความคุมครองและความปลอดภัยแกผูถูกทํารายและ
เจาหนาที่ของมูลนิธิเพื่อนหญิง มูลนิธิเพื่อนจึงเลือกลักษณะของบานเทาวเฮาล สูง4ช้ัน เปนสถานที่
ทาํ งาน โดยมีตนไมเปน เสมือนเกราะปองกันการรบกวนจากภายนอก

66
ภาพที่ 34 แสดงสํานักงานศาลยตุ ิธรรม ฝง ตรงขามเยื้องกบั ทางเขา มลู นธิ ิเพ่ือนหญิง
ภาพที่ 35 แสดงบรเิ วณทางเขา ของมลู นิธเิ พ่ือนหญงิ

67
ภาพที่ 36 ภายในซอยรชั ดาภเิ ษก 42 ซ่งึ เปน แหลง ชุมชนและบา นพักอาศัย
ภาพท่ี 37 แสดงปา ยบอกทางของมลู นธิ เิ พื่อนหญิง

68
ภาพที่ 38 แสดงภาพอาคารสํานกั งานมูลนิธิเพอ่ื นหญิง
ภาพท่ี 39 ทางเขา ดานหนา ของมลู นิธิเพ่อื นหญิง

69

ภาพที่ 40 ทางเขาท่ีสองของมูลนิธิเพ่ือนหญิง เปนทางเขาสําหรับผูมาปรึกษาทางดาน
กฎหมาย

ภาพท่ี 41 บรเิ วณท้งั สองขางของอาคารมลู นิธเิ พือ่ นหญิง เปน พน้ื ทโี่ ลง มีตนไมปกคลุม

70
ภาพที่ 42 บรเิ วณฝง ตรงขา มกบั มูลนธิ เิ พือ่ นหญิง เปนพืน้ ทโี่ ลง ซึ่งตดิ กับบานพักอาศยั
ภาพท่ี 43 พน้ื ทีโ่ ลง ซ่งึ ถา ยจากมมุ มองจากดานบนอาคารมลู นิธเิ พอ่ื นหญิง

71

การวเิ คราะหว ัตถปุ ระสงคของโครงการ

จากบทบาท ภารกิจและเปาหมายของมูลนิธิเพ่ือนหญิงน้ัน ซ่ึงเปนศูนยชวยเหลือและ
พิทักษสิทธิสตรี โดยใหความชวยเหลือดานกฎหมายและสังคมสงเคราะหเฉพาะรายแกเพศหญิงท่ี
ตกอยูใ นสภาวะดังน้ี

1. วกิ ฤติความรุนแรงในครอบครวั
2. ถกู คุกคามทางเพศ
3. ถูกบงั คบั ลอลวงใหค า ประเวณี
4. ตั้งครรภไ มพ ึงประสงค
5. ถกู เลิกจา งงาน โดยไมไดรบั ความเปนธรรม
6. ถูกเลือกปฏบิ ัติจากภาวะความเปนหญิง

ภาพที่ 44 แรงงานหญิง ซ่งึ ถูกเอาเปรียบแรงงานจากนายจางทีไ่ มเปน ธรรม

72

มูลนิธิเพื่อนหญิง เปนเครือขายผูหญิงท่ีผานพนวิกฤติความรุนแรงนครอบครัวมาแลว
จากการแนะนําใหคําปรึกษาของมูลนิธิเพื่อนหญิง ไดรวมตัวกันเปนอาสาสมัครทํากิจกรรมและให
คําปรึกษาชวยเหลือผูหญิงที่ตกอยูในภาวะวิกฤติทางรางกายและจิตใจ เพื่อใหมีกําลังใจรับมือกับ
ปญหาตาง ๆ ในชีวิตอยางมีสติและรูเทาทัน โดยทนายความ นักสังคมสงเคราะห มีกระบวนการ
ฟนฟูจิตใจและเปนกําลังใจใหตอสูเพื่อหลุดพนจากความทุกข ความกดดัน จากสภาวะท่ีตองการ
ทางเลือก มีความเปน อิสระ และสามารถพ่ึงตนเองได

วตั ถปุ ระสงคของมลู นิธิเพอ่ื นหญิงจึงมีบทบาทในการแกไขปญหาของเพศหญิงจากการ
ถูกทํารายในดานตาง ๆ เพื่อผูท่ีถูกทํารายสามารถยืนหยัดในสังคมไดอยางปกติสุข จึงไดเลือก
โครงการที่ตั้งสํานักงานของมูลนิธิเพ่ือนหญิงเปนโครงการศึกษา “ธยานะภาวะ” ในงานออกแบบ
สถาปตยกรรมภายใน

การศกึ ษาลกั ษณะการดําเนินงานของโครงการ

มูลนิธิเพื่อนหญิง มีบทบาทและภารกิจในการสงเสริมแนวคิดและความเขาใจในมิติ
บทบาทหญิงชายบนพื้นฐานท่ีวาหญิงชายยอมมีความเสมอภาคมาแตกําเนิด สังคมจึงควรใช
มาตรฐานเดยี วกนั ในการคุมครอง พิทกั ษส ทิ ธิ สง เสริมคุณภาพชีวิตหญิงชาย ตามหลักกฎหมายและ
สิทธิมนุษยชน โดยมูลนิธิเพ่ือนหญิง ใชยุทธศาสตรการเสริมสรางกระบวนการเรียนรูใหผูหญิง
เขาใจในบทบาท หนาท่ีและสิทธิของสตรี นําไปสูความเขมแข็งและอํานาจการตอรองเชิง
โครงสรา งในระดบั ปจเจกและเครอื ขาย

ดวยเหตุที่มูลนิธิเพื่อนหญิง เปนองคกรขนาดเล็ก การทํางานจึงมีลักษณะเลือกบาง
ประเด็นขน้ึ มาศกึ ษาทาํ งานในพื้นที่และชวยเหลืออยางจริงจัง จนเกิดเปนองคความรูและพัฒนาเปน
รูปแบบตัวอยางในทางปฏิบัติขยายผลไปยังพ้ืนที่ตาง ๆ ท้ังในกลไกของรัฐและชุมชน สามารถ
เสริมสรา งความเขมแข็งใหกบั ผูหญิงและเครอื ขาย ยังผลใหเ กิดการพ่ึงตนเองไดใ นระยะยาว

องคประกอบของมลู นธิ ิเพือ่ นหญงิ
1. ท่ีจอดรถ
2. ทางเขา หลกั ของอาคาร
3. ทางเขา รองสําหรับเจา หนา ทีแ่ ละผทู ่ีตองการปรึกษาทนาย
4. หองใหค าํ ปรึกษา
5. สว นปฏบิ ตั ิงานของเจา หนา ที่
6. หองประชมุ สาํ หรบั 10 คนและ 20 คน

73

7. หองพักช่ัวคราว
8. หอ งสมดุ
9. สวนเตรียมอาหาร
10. หอ งนํา้
11. สวนพักผอน

74
ภาพที่ 45 แสดงบริเวณท่จี อดรถของมลู นิธิเพือ่ นหญิง
ภาพที่ 46 ทางเขา หลกั ของอาคารมลู นธิ ิเพ่อื นหญิง

75
ภาพที่ 47 ทางเขารองของมลู นธิ เิ พอื่ นหญงิ สาํ หรับเจา หนา ท่ีและผูที่ตอ งการปรกึ ษาทนาย
ภาพท่ี 48 บรเิ วณที่ใชส ําหรบั ใหค ําปรึกษาของมูลนธิ เิ พือ่ นหญิง

76
ภาพที่ 49 หอ งประชุม สาํ หรบั 10 คนของมูลนิธเิ พอ่ื นหญิง
ภาพที่ 50 หอ งประชมุ สาํ หรับ 20 คนของมูลนิธิเพอ่ื นหญิง

77
ภาพท่ี 51 หอ งพกั ชัว่ คราว สาํ หรับผถู กู ทํารา ยของมลู นธิ เิ พอื่ นหญิง
ภาพที่ 52 หองสมุดของมลู นธิ เิ พือ่ นหญงิ

78
ภาพท่ี 53 แสดงการจัดเกบ็ หนังสือ อยา งเปน หมวดหมู ภายในหองสมุดมลู นิธิเพอ่ื นหญิง
ภาพท่ี 54 มุมองจากสว นเตรียมอาหาร สสู วนพักผอนดานนอกของมลู นิธเิ พ่อื นหญิง

79

ความแตกตางของมิติความสัมพันธของเพศมีมาแตชานานจนกลายเปนวัฒนธรรมของ
แตละพื้นถ่ิน เชน วัฒนธรรมแบบชายเปนใหญในภาคอีสานที่ตอกยํ้าและส่ังสอนใหผูชายมีอํานาจ
เหนือผหู ญงิ ณ ตาํ บลโนนหนามแทง กลา วถึงคําสอนสําหรับการปฏิบัติตนเองของผูหญิงที่เขาพิธี
แตงงานวา

ผัวน้ี มึงอยาไดวา เวลากินขาว ผัวตองกินกอน ตองตื่นกอน นอนทีหลัง หรือเวลานอน
ผูชายตองนอนหมอนสูงกวา ผูหญิงตองนอนหมอนตํ่ากวาผูชาย เมื่อเปนเมียเขาแลวตองเปน
เบญจกัลยาณี ผัววาอยางไรตองวาอยางน้ัน ทุกวันพระผูหญิงตองจัดดอกไม ธูป เทียน มาขอขมา
สามี เพราะ 7 วันท่ีอยูดวยกันผูหญิงอาจทําความผิดตอสามี หรือแมวาผูหญิงไมไดทําความผิด ก็
ตองขอขมาไวก อ น

คาํ ส่ังสอนดงั กลาวไดแสดงถึงสถานภาพของผูหญิงท่ีดอยกวาชาย ซึ่งในปจจุบันอาจไม
มีเหลือใหเห็นแลว แตความเชื่อวาผูชายเปนใหญ มีอํานาจเหนือผูหญิงยังคงฝงรากลึก คานิยมแบบ
ชายเปนใหญถูกส่ังสอนและตอกย้ําใหคนในชุมชนปฏิบัติตาม เมื่อเกิดปญหาขึ้นในครอบครัว เชน
การท่ีผูชายใชความรุนแรงตอผูหญิง ชุมชนจะโทษวาเปนความผิดของฝายหญิง เชน กรณีสามีทุบตี
ภรรยา คนในชุมชนจะมองวา เพราะผูหญิงไมเกงงานบานงานเรือน สมควรถูกสามีทุบตี หรือ
ผูหญิงที่ถูกขมขืน คนในชุมชนจะมองวาเปนความผิดของผูหญิงท่ีทําตัวไมเหมาะสม แตงตัวยั่ว
ผูชาย นุงกระโปรงส้ัน หรือใสเสื้อสายเด่ียว ฯลฯ เม่ือผูหญิงหรือเด็กถูกกระทําความรุนแรงจากใน
ครอบครัว คนในชุมชนจึงมองวาเปนเรื่องสวนตัว นาอับอาย ผูเสียหายไมควรออกมาพูด สงผลให
ปญ หาความรุนแรงตอ ผหู ญงิ เกดิ ทวคี วามรนุ แรงมากข้ึน

ปจจัยรวมของการเกิดปญหาความรนุ แรงภายในครอบครัว คือ สุรา พบวารอยละ 70-80
ของกลุมตัวอยางผูชายที่ด่ืมเหลาหรือเครื่องด่ืมแอลกอฮอล มีประสบการณใชความรุนแรงท้ังกับ
ภรรยา ลกู หรือบคุ คลอน่ื ทงั้ ทางรางกาย วาจา และการละเมดิ ทางเพศ อนั มีแรงกระตุนสวนหนึ่งมา
จากการดื่มเหลา ในสวนผูหญิงท่ีถูกสามีหรือคนในครอบครัวทํารายเพราะเมาเหลา พบวาไดรับ
ผลกระทบดานสุขภาพกายและจิตของผูกระทํามากท่ีสุด กลุมตัวอยางเกือบทั้งหมดที่ไดรับ
ผลกระทบตอบวาไมกลาตอสูกลับ ไมกลาเลาใหใครฟง รวมทั้งไมกลาไปพบแพทยเมื่อไดรับ
บาดเจ็บเพราะอับอาย โดยคิดวาเปนเร่ืองท่ีภรรยาตองอดทนและรองรับอารมณของสามีในฐานะ
ภรรยาท่ีดี และยงั พบวาปญหาความรุนแรงมาจากคานิยมแบบชายเปนใหญที่มีความเช่ือวา สามีเปน
เจาของภรรยาและลูก มีสิทธิดุดา ทํารายทุบตีได (มูลนิธิเพื่อนหญิงและคณะรายงานการวิจัยเร่ือง
ผลกระทบของสุราในฐานะปจจัยรว มการเกิดปญหาความรุนแรงในครอบครวั พ.ศ. 2546)

80

การศกึ ษาผใู ชโครงการ

ประเภทผูใชโครงการ

การแบงประเภทของผูใชโครงการเพื่อเปนแนวทางในการศึกษาพฤติกรรมของผูใช

อาคารแตละกลมุ ทแี่ ตกตา งกนั ออกไป สําหรับกลมุ ผูใชอาคารศึกษาจากกรณี สํานักงานมูลนิธิเพ่ือน

หญงิ เปน แบบอยาง โดยแบงออกไดเ ปน 3 ประเภทคอื

1. ผูถูกทํารา ย

2. เจาหนา ทข่ี องมูลนิธิเพอื่ นหญิง

3. บคุ คลท่ัวไป

ซง่ึ แตละประเภทสามารถแบงแยกเปนกลุมยอ ย ดังนี้

1. ผูถูกทําราย (ผูท่ีตองการคําปรึกษา) ในกรณีผูถูกทํารายท้ังสภาพรางกายและจิตใจ

ทางมูลนิธิเพื่อนหญิงจะติดตอและดําเนินการสงผูถูกทํารายเขาการรักษาท่ีโรงพยาบาลกอนเปน

อันดับแรก โดยมีเจาหนา ทีม่ ูลนิธเิ พ่อื นหญงิ คอยใหค วามชวยเหลอื พดู คยุ และรับฟงปญหาท่ีผูถูกทํา

รายโดนกระทํามา เพ่ือใหคาํ ปรึกษาและเมื่อเกิดเปนคดีความทางมูลนิธิเพ่ือนหญิงพรอมที่จะใหฝาย

ทนายของทางมูลนิธิเขาดําเนินการชวยเหลือและคอยดูแล ใหคําปรึกษา โดยเจาหนาท่ีมูลนิธิเพ่ือน

หญิงพรอมที่จะใหคําปรึกษานอกสถานที่หรือ ณ มูลนิธิเพ่ือนหญิงแลวแตกรณี มูลนิธิเพื่อนหญิง

พรอมท่ีจะพูดคุยเปนเพ่ือนดูแลปญหาทางดานจิตใจ เพ่ือผูถูกทํารายสามารถเดินหนาและกาวเผชิญ

กบั สังคมภายนอกได

2. เจาหนาที่ของมูลนธิ ิเพ่ือนหญงิ แบง ออกเปน 2 สวนดังน้ี

2.1 คณะกรรมการมูลนธิ เิ พื่อนหญิง

ประธานกติ ตมิ ศักด์ิ ผศ.อัมพร สุคนั ธวณชิ

ประธาน ผศ.ดร.วลิ าสินี พพิ ิธกลุ

รองประธาน รศ.ดร.กาญจนา แกว เทพ

เลขาธกิ าร น.ส.สุรภี ชตู ระกลู

เหรญั ญกิ น.ส.เพญ็ ศิริ ประภาสพงศ

กรรมการ รศ.ไฉไล ศกั ดิวรพงศ

กรรมการ นายเดช พุม คชา

กรรมการ น.ส.สรุ ินทร พิมพา

กรรมการ นางแนงนอ ย ปญ จพรรค

กรรมการ นายสรรพสทิ ธิ์ คุมพประพนั ธ

81

ผูอาํ นวยการ น.ส.ธนวดี ทา จนี

ผูจ ัดการ นายจะเด็จ เชาวนวไิ ล

2.2 เจาหนา ที่ประจํามูลนธิ เิ พ่ือนหญงิ

ฝายประชาสัมพันธ 1 คน

ฝายระดมทุน 2 คน

ฝา ยขอ มูล วิชาการและการเผยแพร 3 คน

ฝายแรงงาน 3 คน

ฝา ยการเงิน 2 คน

ฝายศนู ยพิทกั ษค วามรุนแรงเพ่อื ชุมชน (หมนุ เวียน) 3 คน

ฝายศูนยพ ิทักษ (ทนาย) 4 คน

3. บคุ คลท่ัวไป

3.1 นักวิชาการ เปนกลุมที่มีจุดประสงคเพื่อการศึกษาวิจัยหาขอมูลโดยตรงหรือ

เจาหนาท่ีจากหนวยงานอื่น ๆ รวมท้ังนักวิชาการ ผูเชียวชาญท่ีถูกเชิญมาบรรยายหรืออภิปราย เชน

บคุ ลากรจากหนว ยงานอื่น ผทู รงคุณวุฒิ เปน ตน

3.2 นักเรียนนักศึกษา เปนกลุมผูเขาที่มีความตองการทางดานวิชาการอยางจริงจัง

มีการติดตอกับโครงการลวงหนา มีความตองการในการจัดบรรยายหรือสัมมนาและใชในสวนของ

หอ งสมดุ

พฤติกรรมของผใู ชโ ครงการ

การศึกษาพฤติกรรมของผูใชโครงการน้ี โดยศึกษาจากผูเขาใชภายในพ้ืนท่ีมูลนิธิเพ่ือน

หญิง เปน แนวทางและสามารถแบงพฤติกรรมของผใู ชไดดงั ตอ ไปนี้

1. ผูถูกทําราย (ผูที่ตองการคําปรึกษา) เม่ือมูลนิธิเพื่อนหญิงไดรับแจงเหตุ เจาหนาที่

มูลนิธิเพื่อนหญิงทําการเดินทางไปยังที่เกิดเหตุ เพ่ือทราบถึงสถานการณในขณะน้ัน เมื่อตรวจสอบ

ถงึ สภาพของผูถกู ทําราย โดยผูถูกทาํ รา ยไมไดร บั บาดแผลทางรา งกายและสามารถม่ีจะเดนิ ทางมายัง

มูลนิธิเพ่ือนหญิงได ดังน้ันเจาหนาที่มูลนิธิเพื่อนหญิงจึงพาผูถูกทํารายกลับมาท่ีมูลนิธิเพื่อนหญิง

เพอ่ื ใหค าํ ปรึกษาถงึ ปญหา การแกไขปญหาและผลที่จะเกดิ ขนึ้ ตอ ไป

2. เจาหนา ทข่ี องมูลนิธเิ พ่อื นหญงิ จะสามารถแบง พฤตกิ รรมของผูใ ช ดังน้ี

2.1 เจาหนาท่ีประจําสํานักงานมูลนิธิเพ่ือนหญิง เปนเจาหนาท่ีของมูลนิธิ ซึ่งมี

หนา ที่ดแู ลภายในองคกร

82

ภาพที่ 55 ฝา ยประชาสัมพันธของมูลนิธิเพ่อื นหญงิ
2.1.1 ฝายประชาสัมพันธ มีหนาท่ีดูแลเก่ียวกับการรับขาวสารทาง

หนังสอื พมิ พ วิทยุ โทรทัศน และจากสอ่ื ประเภทอนื่ ๆ
2.1.2 ฝายระดมทุน มีหนาที่ผลิตวัสดุและส่ือรณรงคที่มีสัญลักษณสื่อ

ความหมายมิติชายและหญิง เชน เส้ือยืด กระเปา หมวก ฯลฯ เพื่อใชเปนส่ือในการรณรงคตามงาน
สัมมนา ท้ังในประเทศและเวทีสากล รวมทั้งศูนยการคาตาง ๆ รวมท้ังการตั้งกลองรับบริจาคตาม
สถานทีต่ า ง ๆ

83

ภาพท่ี 56 ฝายระดมทุนของมลู นิธเิ พือ่ นหญงิ
2.1.3 ฝายขอมูล วิชาการ และการเผยแพร ศูนยขอมูลมีหนาท่ีในการรวบรวม

จัดเก็บ จัดทําและวิเคราะหขอมูลเก่ียวกับสถานการณผูหญิงท่ีมูลนิธิเพ่ือนหญิง ดําเนินกิจกรรม
จัดทําเปนองคความรู รณรงคเผยแพรสูสาธารณชนท้ังในประเทศและตางประเทศในรูปแบบตาง ๆ
ในการผลิตส่ือและสิ่งพิมพ ทางมูลนิธิไดผลิตหนังสือพิมพหญิงชายกาวไกล, วารสารสตรีทัศน
รายงานสถานการณผูหญิงในเชิงวิเคราะห, จดหมายขาวภาษาอังกฤษ เปนเวทีแลกเปลี่ยนขอมูลกับ
เครือขายผูหญิงในระดับสากล, คูมือตาง ๆ เชน คูมือเพื่อนหญิง คูมือแรงงานหญิง, เขียนบทความ
เผยแพรในหนังสือพิมพและวารสารตาง ๆ , จัดทําเว็บไซตของมูลนิธิเพื่อนหญิง รายงาน
สถานการณส ิทธิสตรที ั้งในและตางประเทศ

84
ภาพท่ี 57 ฝายขอ มลู วิชาการ และการเผยแพรของมูลนธิ เิ พื่อนหญิง
ภาพที่ 58 ฝา ยการเงนิ ของมลู นิธิเพอ่ื นหญงิ


Click to View FlipBook Version