The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

005.ธยานะภาวะในงานสถาปัตยกรรมภายใน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

005.ธยานะภาวะในงานสถาปัตยกรรมภายใน

005.ธยานะภาวะในงานสถาปัตยกรรมภายใน

85
2.1.4 ฝา ยการเงิน มีหนาท่ดี ูแลเรอื่ งของการเงนิ รายรบั -รายจา ยภายในองคก ร
2.1.5 ฝายศูนยพิทักษ (ทนาย) มีหนาท่ีชวยเหลือและรองขอความเปนธรรม
แทนผูถูกกระทําและใหคําปรึกษาทางดานกฎหมาย การทํางานของฝายศูนยพิทักษมีเจาหนาที่
ท้งั หมด 4คน โดยจะตอ งมีเจาหนาท่ปี ระจํามูลนิธเิ พ่อื นหญงิ อยางนอย 2คน

ภาพท่ี 59 ฝายศูนยพ ิทกั ษ (ทนาย) ใหค าํ ปรึกษาของมลู นธิ เิ พ่ือนหญงิ
2.2 เจาหนาท่ีหมุนเวียน เปนเจาหนาที่ของมูลนิธิเพ่ือนหญิง ซ่ึงมีหนาท่ีดูแลผูท่ีถูก

ทํารา ย ทง้ั ที่ของความชวยเหลอื ณ มลู นิธิเพ่อื นหญงิ และจากสถานท่ีจริง
2.2.1 ฝายแรงงาน ในกลุมแรงงานหญิงยานออมนอย-ออมใหญ ไทยเกรียง

บางพลี พระประแดง รวมทงั้ ในภมู ภิ าคเหนือทจี่ งั หวัดลาํ พูน มูลนิธิเพอ่ื นหญิงใหก ารสนบั สนนุ ดาน
การฝกอบรมความรูเกี่ยวกับ พ.ร.บ. การประกันสังคม กฎหมายแรงงาน สิทธิมนุษยชนของสตรี
สขุ ภาพจากการทํางาน และการแลกเปล่ียนดงู าน การรวมกลุมออมทรัพย การสงเสริมอาชีพเพื่อการ
พึง่ ตนเอง

86

ภาพท่ี 60 ฝา ยแรงงานของมลู นธิ ิเพอื่ นหญิง
2.2.2 ฝายศูนยพิทักษความรุนแรงเพื่อชุมชน (หมุนเวียน) มีหนาที่ดูแล

เครือขายผูหญิงชาวบาน เปนกิจกรรมภายใตโครงการชุมชนปลอดความรุนแรงและโครงการลด
เหลา ลดความรุนแรงในครอบครัว มูลนิธิเพื่อนหญิงสนับสนุนการจัดต้ังศูนยชวยเหลือผูหญิงและ
เด็กในชุมชน โดยการฝกอบรมทักษะการใหคําปรึกษา การสรางความเขาใจใหคนในชุมชนชวยกัน
สอดสองดูแล ปองกันมิใหเกิดปญหาความรุนแรงตอเด็กและผูหญิงในชุมชน รณรงคใหคนใน
ชมุ ชนมีทศั นคตใิ หมวา “สามไี มมสี ทิ ธิทํารายทุบตีภรรยา” “ปญหาของครอบครัวไมใชเรื่องสวนตัว
แตเปนเรื่องของชุมชน” รวมท้ังการประสานงานระหวางศูนยชวยเหลือผูหญิงและเด็กใน
โรงพยาบาลของรัฐ เครือขายผูหญิงชาวบาน ที่มูลนิธิเพื่อนหญิงใหการสนับสนุนในภาคใตพื้นท่ี
จงั หวดั ชมุ พร สงขลา ภาคอีสานพน้ื ท่ี จงั หวดั อํานาจเจรญิ และภาคเหนือพ้ืนทจ่ี ังหวดั เชียงใหม

87
ภาพที่ 61 ฝายศนู ยพ ิทกั ษความรนุ แรงเพอื่ ชมุ ชน (หมุนเวียน) ของมลู นธิ เิ พอื่ นหญงิ

88

สรุปแนวความคดิ ในการออกแบบ

1. สรปุ รูปแบบโครงการ
1.2 ลกั ษณะของโครงการ
โครงการปรับปรุงสํานักงานของมูลนิธิเพ่ือนหญิง เพื่อสอดแทรกสภาวะท่ี

สามารถสรา งความสมดลุ ของรางกายและจติ ของบุคลากรภายในองคกรของมลู นิธเิ พ่ือนหญงิ
1.2 แนวความคดิ ในการออกแบบ
สรางงานออกแบบสถาปตยกรรมภายใน โดยมี “ธยานะ” เปนเครื่องมือที่

สามารถบ่ันทอนมลพิษทางจิตเพื่อกายท่ีม่ันคงและสามารถถายทอด “ธยานะ” เปนรูปแบบของงาน
สถาปตยกรรมภายใน ซึ่งเปนลักษณะของสภาพแวดลอมที่มีสวนชวยในการสรางเกราะปองกัน
พรอมบําบดั รา งกายและจิตใจใหเขม แขง็ ได

1.3 ท่ีตง้ั โครงการ
สามารถตอบสนองตอการสรางความสมดุลของรางกายและจิตตอสภาวะของ

บุคลากรภายในองคก รของมูลนิธิเพ่อื นหญิง
1.4 องคประกอบโครงการ
องคประกอบของโครงการน้ีเกิดขึ้นใหม มีความตอเน่ืองท้ังดานแนวความคิด

และเนอื้ หา ซ่ึงประสานเปนหน่ึงเดยี วกนั ทั้งโครงการ
1.5 การลาํ ดับเรอ่ื ง
ความหมายของคําวา “ธยานะภาวะ” เพื่อนํามาแปลความหมายในลักษณะของ

สถาปตยกรรมภายใน ในแงมุมของที่วา ง ทางเดนิ หลักและพ้นื ทปี่ ระโยชนใ ชส อยภายใน
1.6 สื่อ จัดแสดง
“ธยานะภาวะ” เปน สาระของทว่ี า งภายในความหมายเชิงลึก หมายถึง การหลุด

พนจากความพัวพันดวยอารมณภายนอกทุกประการ เพ่ือเขาถึงความสงบภายใน ธยานะเกิดข้ึนเม่ือ
บุคคลนนั้ ปฏิบตั แิ ละรับรูไ ดด ว ยตวั เอง

1.6 วธิ ีการจดั แสดง
สรา งสถาปต ยกรรมภายในใหสอดคลอ งกับเนอ้ื หา

2. องคประกอบของโครงการ
2.1 ทจี่ อดรถ
2.2 ทางเขาโครงการ
2.3 ทางเขาหลักสําหรับเจา หนา ทม่ี ลู นิธเิ พอ่ื นหญงิ และบุคคลท่วั ไป

89

2.4 ทางเขา รองสาํ หรบั เจาหนา ท่ีมูลนธิ เิ พอ่ื นหญงิ และผถู กู ทําราย
2.5 สว นใหคาํ ปรึกษาและปรับสภาพ
2.6 สวนวจิ ยั และหองสมุด
2.7 สว นปฏิบัติสมาธิ
2.8 สว นปฏบิ ัตงิ านของเจาหนาท่ี
2.9 หอ งประชมุ สาํ หรับ 10 คนและ 20 คน
2.10 สวนเตรยี มอาหาร
2.11 หองนา้ํ
2.12 สวนพักผอน

บทท่ี 5
การพัฒนาแนวความคดิ สงู านออกแบบ

กระบวนการพัฒนาแนวความคดิ ในการออกแบบโครงการ

จากสภาวะของสังคมในปจจุบัน เหตุการณมากมายคอยรุมเราและบั่นทอน ท้ังทางดาน
รางกายและจิตใจ การหาหนทางใดหนทางหนึ่ง เพ่ือเปนทางออกจากปญหา เพื่อใหสามารถ
เผชิญหนากับปญหาและหาหนทางแกไขปญหาดวยปญญา ซึ่งหนทางในการแกไขปญหาท่ีน้ีคือ
“ธยานะ”

ปญ หา หนทางแกไ ขปญหา ผลทจ่ี ะเกิดขึน้ หลังจากการแกป ญหา

แผนภาพที่ 4 แสดงแนวทางการแกป ญหา

“ธยานะภาวะ” จึงเปนหนทางหน่ึง ซึ่งเปนปจจัยในการแกไขปญหาในแงมุมของการ
ปฏิบัติตน ซึ่งสามารถสะทอนและถายทอดเร่ืองราว สูงานออกแบบสถาปตยกรรมภายใน โดย
ทาํ การศกึ ษามลู นธิ เิ พ่ือนหญงิ เพ่อื เปน โครงการศึกษาตวั อยา ง

ธยานะ คือ การหลุดพนจากภายนอกเพื่อความสงบภายใน สะทอ น งานสถาปต ยกรรมภายใน

แผนภาพที่ 5 แสดงความสมั พันธระหวาง “ธยานะ” สงู านออกแบบ

ดังน้ัน จึงทําการศึกษาปญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคมปจจุบัน ซึ่งสงผลกระทบตอเพศหญิง
โดยตรง โดยสามารถแยกผลกระทบทเ่ี กิดข้ึนได 2 ประเภท ดังน้ี

90

91

ปญ หาทางสงั คมซ่งึ สง ผลตอเพศหญิงโดยตรง สง ผลตอ สภาพรา งกาย

- ละเมิดทางเพศ - ฆาตกรรม
- ทาํ รายรางกาย - บาดเจบ็
- ทาํ รา ยจิตใจ
- ต้ังครรภไมพึงประสงค สภาพจติ ใจ
- ตดิ เช้ือเอดส
- หวาดระแวงและหวาดกลัว
- สับสน
- ซมึ เศรา
- หมดหวังในชีวิต

แผนภาพที่ 6 แสดงปญ หาทางสังคมซ่งึ สง ผลตอ เพศหญงิ ท้งั ทางดา นรางกายและจติ ใจ

ตอมาจึงทําการศึกษาเกี่ยวกับหนทางแกไขปญหาทั้งสภาพรางกายและจิตของเพศหญิง
ทถี่ กู ทําราย สภาพรางกายท่ีบาดเจ็บ สามารถรักษาใหหายไดดวยการรักษาทางการแพทย แตจิตใจท่ี
บอบชํ้า คงไมมีวิธีใดรักษาใหหายขาดได การรักษาจึงเปนการเยียวยาและสรางเกราะคุมครอง
ปองกัน ใหส ามารถยอมรบั และเขมแขง็ เพื่อทจ่ี ะสามารถดาํ เนินชีวติ ไดอยางปกตสิ ขุ

หนทางแกไ ขปญหา โดย
สภาพรา งกาย

- รบั การรักษาจากโรงพยาบาล

สภาพจิตใจ

- ธรรมะบําบดั
- ธรรมชาตบิ ําบดั
- ดนตรบี าํ บดั
- ปรกึ ษานักจติ วิทยาคลินิก
- ปรึกษาจติ แพทย
- ปรกึ ษานักจิตวเิ คราะห เปนตน

แผนภาพที่ 7 แสดงหนทางแกไขปญ หา ท้งั ทางดานรางกายและจติ ใจ

92

ในการศึกษามลู นิธิเพอ่ื นหญิง ไดรับความกรุณาจากหัวหนาศูนยพิทักษสิทธิสตรีมูลนิธิ
เพื่อนหญงิ น.ส. สเุ พ็ญศรี พงึ่ โคกสงู ทา นไดเสยี สละเวลาอนั มคี า ของทา น บรรยายขอมูลของมูลนิธิ
เพ่อื นหญงิ การปฏิบัติงานของเจา หนาที่แตละฝาย และผลกระทบทางดานจิตใจของเจาหนาที่มูลนิธิ
เพื่อนหญิง เมื่อตองเปนผูรับฟงปญหาจากผูถูกทํารายมาก ๆ ดังน้ันทางมูลนิธิจึงมีทางออกใหกับ
เจาหนาท่ีมูลนิธิเพื่อนหญิง โดยใชธรรมะบําบัด คือ การน่ังสมาธิ เปนการผอนคลาย ลดภาวะความ
กดดันจากปญหาตาง ๆ ซึ่งปจจุบันมีสถานบําบัดทางจิต โดยใชสมาธิเปนเครื่องมือมากมาย เชน วัด
อาศรม ฯลฯ

ธรรมะบาํ บัด โดย “ธยานะ” ผลทจ่ี ะเกิดขึน้ หลังจากการแกปญหา

- จติ เปนสมาธิอยางสงบ
- รางกายและจิตใจเขม แขง็ หนักแนน มั่นคง

สภุ าพ นุมนวล สดชื่นผอ งใส งามสงา มเี มตตา

- สติสัมปชญั ญะทส่ี มบรู ณ
- รูจ ักตนเองและผูอน่ื ตามความเปน จริง
- ใชป ญ ญาแกไ ขปญหาไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ

แผนภาพท่ี 8 แสดงผลทีเ่ กดิ ขึน้ หลังจากการแกปญหาดวย “ธยานะ”

ปญ หาทางสังคม

ภัยคุกคามทางเพศ ธยานะ เปน เกราะคมุ ครองและปองกนั ส่ิงรุมเรา ตา ง
จติ เดมิ แท

ปญ หาทางเศรษฐกิจ

แผนภาพท่ี 9 “ธยานะ” เปนเกราะปอ งกนั และคมุ ครองจิตจากภัยตาง ๆ

93

การเขาถึงธยานะ คือ การยึดเอาจิตเปนศูนยกลาง เพราะเม่ือจิตสมบูรณ (เขาถึง
สภาวะวางเปลา คอื สญุ ญตา) กจ็ ะเปน มลู ฐานใหเ ขาถงึ สภาวะธรรมที่แท

ธยานะ ยึดเอาจติ เปน ศนู ยกลาง ความเปนจริงในธรรมชาติ ภาวะวา งเปลา

แผนภาพที่ 10 แสดงการเขาถึงธยานะและจดุ ปลายทางของธยานะ

“ธยานะ” เปนการหลุดพนจากการพัวพันดวยอารมณภายนอก เพื่อเขาถึงความสงบ
ภายใน ซ่ึงธยานะเปนสวนหนึ่งที่ทําใหเกิดสมาธิและเมื่อธยานะสามารถเกิดข้ึนในทุกขณะไดสมาธิ
ก็จะเกดิ ข้ึนดวย ดังนน้ั ในการออกแบบแกนทางสถาปตยกรรม โดยใหธยานะเปน แกนสําคัญที่จะทํา
ทําใหจติ หลุดพนจากสิง่ เราและสามารถกระจายธยานะสูสวนตางๆได ในเชิงสถาปตยกรรม ธยานะ
จึงเปนแกนหลักหรือทางสัญจรหลักในการนําพาใหเกิดสมาธิในทุกสวนสูการใชสอยของพื้นท่ีตาง
ในสถาปตยกรรมได โดยเมือ่ เกิดการกระทาํ ขึ้น ธยานะสามารถทําใหมองยอนสูจ ดุ เริม่ ตน ของ
ธยานะและมองเห็นถึงจุดปลาย แตธยานะไมมีจุดสิ้นสุด ธยานะทําใหเกิดสมาธิเพื่อผสานกายและ
จิตและสามารถเขาใจถึงสิ่งท่ีเกิดการกระทําในขณะน้ัน ดังนั้นในงานออกแบบสถาปตยกรรม
ภายใน จุดเร่ิมตนจึงกอเกิดจากธยานะเปนแกนหลัก โดยมีท่ีตั้งของมูลนิธิเพ่ือนหญิงและบริเวณ
พื้นท่ีโลง เปน สว นของการโอบลอ มธยานะ

94

ภาพที่ 62 แสดงส่ิงแวดลอมโดยรอบพน้ื ที่มูลนิธเิ พ่ือนหญิง

พื้นที่โลง อาคารเดิม พืน้ ท่โี ลง

ภาพท่ี 63 แสดงผงั บริเวณโดยรอบมลู นิธเิ พอื่ นหญิง

95
ภาพที่ 64 แสดงผังบรเิ วณของพ้นื ที่ใชส อยภายใน ชน้ั 1 ของมลู นธิ เิ พื่อนหญงิ
แผนภาพท่ี 11 แสดงความตอเนอ่ื งของพื้นทใ่ี ชสอยภายในของมูลนิธเิ พอ่ื นหญงิ

96

ในความหมายของมลู นธิ ิ เปน องคก รทใ่ี หค วามชว ยเหลือกับผทู ่ีตกอยใู นภาวะทีต่ อ งการ

ความชวยเหลือ ความเขาใจและชวยแกปญหาที่เกิดขึ้น โดยในการศึกษาน้ีมุงตรงจุดของการศึกษา

เฉพาะเพศหญิง มูลนิธิเพื่อนหญิงจึงเปนหนึ่งองคกรท่ีใหความชวยเหลือกับเพศหญิง มูลนิธิเพ่ือน

หญิงจึงเปนองคกรที่ใหความปกปอง คุมครองและโอบอุมภาวะของเพศหญิงทางดานจิตใจ ความ

บอบบางทางดานจิตใจซึ่งเปนธรรมชาติของเพศหญิง การตีความหมายของการชวยเหลือดวย

สภาวะของงานสถาปตยกรรม จึงเปนภาวะของการโอบอุมดวยตัวสถาปตยกรรมภายนอก

สถาปตยกรรมภายในรวมถงึ สภาพแวดลอ มโดยรอบโครงการ ซึง่ เปนการปกปอง คุมครองและโอบ

อุมภาวะทางดานจิตใจโดยเฉพาะเจาหนาท่ีมูลนิธิเพื่อนหญิงที่ตองรับปญหาจากผูที่ถูกทําราย

โดยตรง เนอื่ งจากมูลนิธเิ พื่อนหญงิ มจี าํ นวนของผูใชโครงการ ดังนี้

- บคุ คลทั่วไป 20% ของจํานวนผูใชโ ครงการท้ังหมด

- เจาหนาท่ีมลู นธิ ิเพื่อนหญิง 77% ของจํานวนผูใ ชโ ครงการท้ังหมด

- ผูถ กู ทาํ รา ย 3% ของจาํ นวนผใู ชโ ครงการท้งั หมด

ทมี่ า : มลู นิธเิ พ่ือนหญิง (ขอมลู ระหวา งมกราคม-ธันวาคม พ.ศ.2549)

ภาพท่ี 65 แสดงภาวะของเพศหญิง ซ่ึงมลู นิธเิ พอ่ื นหญิงใหความชว ยเหลอื ทาง
ดานกฎหมายและสังคมสงเคราะห

97
ดังนั้น เจา หนาท่ีมูลนธิ เิ พอ่ื นหญงิ เปน ผูที่ใชโ ครงการน้มี ากท่ีสุด ในการออกแบบพ้ืนท่ี
การใชสอยภายใน จึงแบงพ้ืนที่ใชสอยเพ่ือการทํางานของเจาหนาที่มูลนิธิเพื่อลดภาวะความตรึง
เครยี ดของเจาหนาท่ีดวยการบําบัดดวยธรรมชาติและธยานะผสานความตอเนื่องของลักษณะการใช
งานภายในโครงการ
การนําแนวความคิดสูงานออกแบบสถาปตยกรรมภายในซ่ึงสามารถแปลความหมายสู
สัญลักษณดังนี้

ภาพที่ 66 แสดงการแปลความหมายสสู ญั ลักษณ เพอ่ื โครงการ “ธยานะภาวะ ในงาน
สถาปต ยกรรมภายใน”
ในการออกแบบเพื่อสรางสัญลักษณ ท่ีมีลักษณะของธยานะผสมผสานกับการปกปอง

คมุ ครองและโอบอุมในงานสถาปตยกรรมภายใน การถอดความหมายตามลักษณะพื้นที่ใชสอยของ
ภาวะตาง ๆ กัน ภายในสภาวะของพ้ืนที่กลองสี่เหล่ียม การเปดพ้ืนที่และบดบังพื้นที่บางสวนบาง
สามารถทําใหเกิดภาวะของความรูสึกที่แตกตางกัน เมื่ออยูในภาวะท่ีมีการปดลอมของผนังทั้งหมด
เพื่อแสดงถงึ ความรูสกึ ปลอดภัยและอึดอัดไปพรอม ๆ กนั เนื่องจากตัวแปรขนาดของพ้ืนทีห่ รอื วสั ดุ

98
ท่ใี ช ซ่ึงสามารถเปลย่ี นแปลงความรูสึกไดเชนกัน ซึ่งในการออกแบบพ้ืนที่ใชสอยมูลนิธิเพื่อนหญิง
เมื่อถอดสัญลักษณสูรูปแบบการออกแบบ ไดคํานึงถึงการบําบัดดวยธรรมชาติ เพ่ือลดความตรึง
เครียดของสภาวะการทํางาน การออกแบบพ้ืนท่ีจึงมีการเช่ือมตอของพ้ืนที่และการเปด-ปด ของพ้ืน
ทเี พ่ือความเหมาะสมของการใชพ น้ื ที่ โดยมแี กนหลกั ของธยานะเปนตัวเช่อื มพน้ื ทตี่ า ง ๆ เขา ดว ยกนั

ภาพท่ี 67 พ้นื ทีท่ งั้ หมดของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”
คือ 3385 ตร.ม. โดยมีพน้ื ทส่ี เี ทาเปน พื้นทใ่ี ชส อยภายใน1011.48 ตร.ม.

99

ภาพที่ 68 แสดงการเชอ่ื มและความตอ เน่อื งของพ้ืนทขี่ องโครงการ “ธยานะภาวะ ในงาน
สถาปต ยกรรมภายใน” โดยมีธยานะเปน ตัวเชือ่ ม
เนื่องจากสภาวะของจิตที่มีสมาธิจะไมมีจุดเริ่มตนและไมมีจุดสิ้นสุด ความตอเน่ือง

ของพ้นื ทใี่ ชสอย จงึ มีลักษณะของวัฏจักรอยางไมมที ส่ี ิน้ สุด

แผนภาพที่ 12 แสดงวฏั จกั รของธยานะอยางที่มีจุดส้ินสุด

100

ภาพท่ี 69 แสดงลกั ษณะการจดั วางตวั อาคารเพอื่ สอดคลองกบั แนวความคดิ ของธยานะ
และมูลนิธเิ พือ่ นหญงิ ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”
ลกั ษณะการจัดวางตัวอาคาร แสดงความหมายเพือ่ การปกปอง คุมครองและโอบอุมของ

มูลนิธิ โดยมีเจาหนาท่ีของมูลนิธิคอยใหความชวยเหลือ และมีธยานะเปนแกนกลาง (สีเขียว) ซึ่ง
สามารถเชื่อมตอความตอเน่ืองของพื้นท่ีและกระจายธยานะสูพ้ืนที่ตาง ๆ โดยมีพ้ืนที่ (สีดํา) เปน
พื้นที่ที่เกิดจากการทับซอนกันของพ้ืนท่ีใชสอย เพ่ือเกิดพื้นที่ท่ีใหเกิดความรูสึกเพื่อความปลอดภัย
ของผูถูกทํารายและเจาหนาท่ีมูลนิธิ ลักษณะของพื้นที่คือ การพูดคุยปญหาตาง ๆ ที่ผูถูกทําราย
ไดรบั มา โดยมเี จาหนา ท่ีมลู นิธิคอยใหความชวยเหลือและผอนคลายกิจกรรม เชน การทําสมาธิ การ
ผอนคลายดวยดนตรบี ําบัดและการพกั สมองจากการมองดูธรรมชาติ ซ่ึงสถาปตยกรรมภายในแสดง
ถึงการปกปอง โดยเปนหองปดแตสามารถมองเห็นไดบาง (โปรงแสง) เน่ืองจากผูถูกทํารายไม
พรอมตอการพบปะกับสังคม การปกปดเปนบางสวนและคอยใหความปลอดภัยดวยการเฝาดูผาน
ตัวกรองบาง ๆ บวกกับการปฏิบัติตัวตามคําแนะนําของนักสังคมสงเคราะหจึงเปนทางออกใหกับผู
ถูกทํารายได ซง่ึ ผทู ร่ี ับปญหาจากผูถูกทาํ รายคือ เจาหนา ท่ีมูลนิธิก็ตองการความผอนคลายเชนกนั

101

ภาพท่ี 70 แสดงทางเดินและการเชือ่ มตอ ของพ้ืนที่ใชสอยภายในโครงการ “ธยานะภาวะ ในงาน
สถาปตยกรรมภายใน”

ภาพที่ 71 แสดงผงั บรเิ วณของพน้ื ท่โี ดยรอบโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”

102
ภาพที่ 72 แสดงรูปดานภายนอกของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”
ภาพท่ี 73 แสดงรูปดานภายนอกของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

103
ภาพท่ี 74 แสดงทศั นยี ภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”
ภาพท่ี 75 แสดงทศั นยี ภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

104
ภาพท่ี 76 แสดงทัศนียภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”
ภาพที่ 77 แสดงทศั นยี ภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

105
ภาพท่ี 78 แสดงทัศนียภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”
ภาพที่ 79 แสดงทศั นยี ภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

106
เมื่อลักษณะของสถาปตยกรรมภายนอกตอบโจทยของการออกแบบตามแนวความคิด
ของ “ธยานะ” สถาปต ยกรรมภายในจึงสามารถตอบโจทยไดดวยพน้ื ทใ่ี ชสอย ซ่ึงสามารถแสดงออก
ของพ้ืนท่ีวางภายในได โดยพื้นที่ใชสอยภายในโครงการเกิดข้ึนจากลักษณะการทํางานของมูลนิธิ
เพ่ือนหญิงและสวนเพ่ิมเติมของพ้ืนท่ีใชสอยเพ่ือเปนการเสนอแนะพ้ืนท่ีใชสอยตามแนวความคิด
ของ “ธยานะ” จงึ เกิดลักษณะของพน้ื ทใี่ ชส อยใหมด ังน้ี

แผนภาพที่ 13 แสดงโครงสรางของพืน้ ที่ใชส อยภายในโครงการ “ธยานะภาวะ
ในงานสถาปตยกรรมภายใน”

107

ภาพที่ 80 แสดงทางเขาหลกั และผงั การวางเครอื่ งเรือน ของตึกซาย ชนั้ 1 ของโครงการ “ธยานะ
ภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”
เมื่อเดินทางมาถึงมูลนิธิเพื่อนหญิงและทําการจอดรถ บริเวณดานหนาของอาคารทําให

ไดสัมผัสและซึมซับสภาพแวดลอมรอบ ๆ อาคาร ซ่ึงเต็มไปดวยความรมรื่นของธรรมชาติและ
สามารถเขาสูทางเขาหลักของอาคาร ซ่ึงมีบันไดที่มีความกวางและเนนเสนแนวนอน ท่ีสื่อถึงความ
สงบและสามารถมองเห็นอกี อาคารไดอยา งชดั เจนเปนลักษณะของความตอ เน่ืองของธยานะ ซ่งึ เปน
โครงสรางหลักของอาคารนี้ ทางขวาของบันไดคือ หองประชุมสําหรับ 20 คน เพ่ือรองรับ
คณะกรรมการเจาหนาท่ีของมูลนิธิเพ่ือการประชุมและสําหรับสัมมนาบุคคลท่ัวไปที่มีความสนใจ
ในการวิจัยเก่ียวกับเพศหญิง ทางซายของบันไดคือ พื้นท่ีโลงติดกับผืนนํ้า ซึ่งใหความชุมช้ืนและ
เปนหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ สามารถน่ังสมาธิหรือใชพ้ืนที่เพื่อทํากิจกรรมกลางแจงได พื้นท่ีน้ีให
ความรูสึกถึงการกลับสูธรรมชาติและบําบัดดวยธรรมชาติ ดวยการใหอาหารปลาและมองดูถึง
ธรรมชาติพรอมกับความเมตตาตอธรรมชาติ เปนการบําบัดดวยกิจกรรมที่สามารถเกิดข้ึนภายใน
โครงการ

108

ภาพที่ 81 แสดงทัศนยี ภาพทางเขาหลักโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

ภาพที่ 82 แสดงทศั นยี ภาพหองประชมุ 20 คนของโครงการ “ธยานะภาวะ
ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

109

ภาพที่ 83 แสดงทางเขาหลกั และผงั การวางเคร่ืองเรอื น ของตึกซา ย ชัน้ 2 ของโครงการ
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

จากทางเขาหลัก เมื่อข้ึนสูบริเวณชั้น2 ทางขวาของบันไดคือ พ้ืนท่ีสีเขียว เกิดขึ้นเพื่อ
สรางความใกลชิดและเปนหนึ่งเดียวกับธรรมชาติจากดานบน ชวยในการผอนคลายจากความออน
ลาทางสายตาสูสมาธิ โดยมีธรรมชาติเปนจุดรวมของสมาธิ ทางซายของบันไดคือ หองสําหรับอาน
หนังสือและทํากิจกรรมในรม การอานหนังสือเปนหนทางหนึ่งที่ทําใหเกิดสมาธิ ในลักษณะของ
การผอนคลายความเครยี ดและสามารถรบั รเู รื่องราวตาง ๆ ไดจากการทําสมาธิดวยการอาน เมื่อมอง
จากหองสาํ หรบั อา นหนังสือ จะสามารถสัมผสั และการผอ นคลายดวยพ้ืนทีส่ เี ขยี ว

หนทางของธยานะไดเช่ือมตอเสน ทางสูพืน้ ทีป่ ฏบิ ตั ิงาน โดยเสนทางนี้ไดผ สมผสานกบั
ธรรมชาตเิ พ่อื ใหเหน็ ความจรงิ ของธรรมชาติ เพอ่ื เปน การผอ นคลายดว ยธยานะ หนทางที่มีจิตต้ังมั่น
สูจุดหมายเดียวทําใหสามารถรูถึงทุกขณะของการกระทําและสามารถมองยอนถึงเหตุของการ
กระทาํ ได

110

ภาพท่ี 84 แสดงมุมมองจาก ชั้น2 ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”
สทู างเขา หลักของอาคาร

ภาพที่ 85 แสดงมมุ มองหองสาํ หรับอา นหนังสอื และพนื้ ทส่ี เี ขยี ว บริเวณ ชั้น2 ของโครงการ
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”

111
จากทางเขาสูทางเดิน สามารถเช่ือมตอสวนพ้ืนท่ีพักผอน สวนวิจัยและหองสมุด โดย
พ้ืนท่ีใชสอยของมูลนิธิใน ช้ัน2 เปนสวนที่บุคคลทั่วไปสามารถใชประโยชนจากพ้ืนที่ทั้งช้ัน ซ่ึงจะ
ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานของเจาหนาที่และผูถูกทําราย บริเวณช้ัน 2 คือสวนของ “ธยานะ” ใน
มุมของการพักผอนจากความตรึงเครียดและปญหาตาง ๆ เพื่อมองยอนถึงธรรมชาติของตัวเองได
อยางแทจริง เพราะมธี ยานะอยูท กุ ขณะ

ภาพที่ 86 แสดงทางเขารองและผังการวางเครอื่ งเรอื น ของตกึ ขวา ช้นั 1 ของโครงการ
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

ทางเขารองเปนทางเขาสําหรับบุคคลทั่วไปที่เดินทางมาเพ่ือติดตอแตไมสามารถเขาสู
บริเวณปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีได โดยมีประตูกั้นเฉพาะเจาหนาท่ีเทานั้นท่ีจะสามารถผานได
เน่ืองจากโครงการน้ีเปนมูลนิธิเพ่ือนหญิง บุคคลทั่วไปจึงสามารถเขาถึงบริเวณฝายประชาสัมพันธ
เทาน้นั ซึ่งมที างเดนิ เปน ตวั เชอื่ มพื้นทใี่ ชส อยทง้ั หมดและในทางเขา รองชนั้ 1 มีการเพิ่มประโยชนใช
สอยจากพ้ืนท่ีเดิมคือ สวนพักผอนของเจาหนาที่และสามารถปรับเปล่ียนเปนพ้ืนที่สําหรับให
คําปรึกษาสําหรับผูถูกทํารายในบางกรณี โดยในสวนของหองพักผอนนี้ตองการใหผูที่เขามาใช
ประโยชนจ ากพ้นื ท่นี ้รี ูสกึ ถงึ ความปลอดภยั และความผอนคลายจากมมุ มองและจากแนวความคดิ ใน
การเลือกพ้ืนที่ เน่ืองจากสวนนี้เกิดจากการซอนทับกันของพ้ืนท่ีสถาปตยกรรม และเปนมุมมองที่
สามารถรับความเปนธรรมชาติซ่ึงมีสวนทิศทางของธยานะเปนตัวปกปองสายตาจากดานบนได

112

สว นของพื้นที่ปฏิบตั งิ านของเจา หนา ท่มี ลู นิธเิ พื่อนหญงิ วิธีการจดั วางของการทํางานเปน การจัดวาง
เพ่ือใหเกิดการทํางานอยางมีสมาธิแตยังสามารถที่จะทํางานรวมกัน ปรึกษางานกันดวยโตะกลางที่
เตรียมจัดวางไวเพ่ือเปนการประชุมกันแบบไมเปนทางการนัก เน่ืองจากมูลนิธิมีขอมูลท่ีตองทําการ
จัดเก็บจํานวนมาก การเตรียมชั้นจัดเก็บเอกสารใหเปนระเบียบก็เปนหนทางหนึ่งท่ีชวยใหการ
ทํางานเปนระเบียบและเกิดสมาธิไดมากขึ้น โดยในการทํางานน้ีสามารถแบงตามแผนกตาง ๆ ได
ดงั น้ี

1 2 3 45 6

1. ฝา ยประชาสมั พนั ธ 1 คน

2. ฝา ยขอ มูล วชิ าการและการเผยแพร 3 คน

3. ฝายระดมทุน 2 คน

ฝา ยการเงนิ 2 คน

4. ฝา ยแรงงาน 3 คน

5. ฝายศนู ยพทิ กั ษความรนุ แรงเพอื่ ชมุ ชน (หมนุ เวียน) 3 คน

6. ฝา ยศนู ยพทิ กั ษ (ทนาย) 4 คน

ภาพที่ 87 แสดงการจัดแบงฝา ยการปฏบิ ัตงิ านของเจาหนา ทมี่ ลู นิธเิ พอื่ นหญิง

113

ภาพที่ 88 แสดงทัศนยี ภาพทางเขารองของตกึ ขวา ช้ัน 1 ของโครงการ “ธยานะภาวะ
ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

ภาพท่ี 89 แสดงทัศนยี ภาพบริเวณฝา ยประชาสัมพันธของตกึ ขวา ชน้ั 1 ของโครงการ
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

114

ภาพท่ี 90 แสดงบรเิ วณปฏบิ ตั ิงานของเจา หนาท่มี ลู นธิ เิ พอื่ นหญงิ ของตกึ ขวา ชนั้ 1 ของ
โครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

ภาพท่ี 91 แสดงสวนใหค ําปรึกษาสําหรับผถู กู ทาํ รา ยและสว นพักผอนสาํ หรบั เจา หนาที่
มลู นิธเิ พื่อนหญงิ (มุมมองท่ี 1) ของ“ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”

115

ภาพท่ี 92 แสดงสวนใหค ําปรึกษาสาํ หรบั ผถู ูกทํารายและสว นพักผอ นสาํ หรับเจาหนา ท่ี
มลู นธิ ิเพื่อนหญงิ (มมุ มองท่2ี ) ของ“ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

ภาพที่ 93 แสดงบรเิ วณเก็บและคนหาขอ มลู และบริเวณทางขน้ึ ชน้ั 2 สําหรับเจา หนา ท่ี
โครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน

116

ภาพที่ 94 แสดงหอ งประชมุ สําหรับ 10ทน่ี ง่ั ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรม
ภายใน

เม่ือขึ้นมาบริเวณช้ัน 2 ของอาคาร คือสวนของนันทนาการและการจัดกิจกรรมภายใน
อาคาร โดยมีสวนพักผอนเปนตัวแบงระหวางสวนนันทนาการและหองสมุดเพื่อการวิจัย หองสมุด
เพื่อการวิจัยนี้ สามารถศึกษาเปนลักษณะสวนบุคคลหรือการทํางานรวมกันเปนกลุมโดยไมรบกวน
บริเวณสวนบุคคล บรรยากาศโดยรอบหองสมุดเปนลักษณะของการผอนคลายดวยธรรมชาติที่อยู
บริเวณโดยรอบอาคารเพอื่ เปน การพักผอ นสายตาดวยตน ไมส เี ขยี ว การจัดวางเปนการจัดวาง
ตามลักษณะของธยานะท่ีมุงตรงมาสูสมาธิ เนื่องจากหองสมุดคือสวนหนึ่งท่ีทําใหผูศึกษาเกิดสมาธิ
เพอ่ื สามารถนาํ ไปตอ ยอดการทาํ งานของตนเองได

117

ภาพท่ี 95 แสดงผังการวางเคร่ืองเรอื นบริเวณชน้ั 2 ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงาน
สถาปต ยกรรมภายใน”

ภาพท่ี 96 แสดงบรเิ วณทางเขา จากทางเชอ่ื มอาคารตึกซา ยสหู อ งสมดุ ตึกขวาของโครงการ
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

118

ภาพที่ 97 แสดงบริเวณภายในของหองสมุดทม่ี กี ารเชอื่ มตอระหวา งภายนอกและภายใน
สามารถใชเปนสถานท่ีคนควา ซึ่งสงบดว ยธรรมชาตขิ อง “ธยานะภาวะ ในงาน
สถาปต ยกรรมภายใน”

เม่ือเขาสูบริเวณทางเขาของช้ัน 2 ซึ่งเปนพื้นท่ีใชสอยสําหรับบุคคลท่ัวไปและเจาหนาท่ี
มูลนิธิเพ่ือนหญิง โดยพื้นท่ีใชสอยในช้ันน้ีจะแบงการใชงานของผูถูกทํารายและบุคคลท่ัวไป
เน่ืองจากกรณีท่ีผูถูกทํารายยังไมพรอมออกมาพบกับสังคมภายนอก ในการจัดพื้นที่ใชสอยจึงใช
ระบบทางเขาและระดับชั้นเปนตัวแบงแยกเพ่ือแบงลักษณะของผูใชโครงการอยางชัดเจน โดยท่ี
เจาหนาที่ของมูลนิธิเพื่อนหญิงยังสามารถใชทางเดินภายในเปนจุดเช่ือมตอกัน เน่ืองจากสถานที่
แหงน้ีเปนสถานที่เฉพาะบุคคลท่ีไดรับอนุญาตจึงจะสามารถเขาสูภายในพ้ืนท่ีใชสอยตาง ๆ ไดและ
ในการใชสถานท่จี ะมีเจาหนาทค่ี อยควบคมุ และใหความชว ยเหลอื ยงั สวนตาง ๆ ของโครงการ

ในการออกแบบโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน” นอกจากรูปแบบ
ของงานดานสถาปตยกรรมภายนอกและภายในแลว สิ่งที่คํานึงถึงและสามารถสื่อความหมายทาง
สถาปตยกรรมไดอยางชัดเจนยิ่งขึ้น คือ วัสดุ การเลือกใชวัสดุในโครงการน้ี ทางดานของรูปแบบ
ของงานสถาปตยกรรมตองการส่ือถึงความเปนกลางของวัสดุ เพ่ือไมยึดติดกับสีและพื้นผิว
อยา งเชน ในงานของทาดาโอะ อันโด ไดใหคํานิยามน้ีในงานสถาปตยกรรมเรือนแถวสึมิโยชิ ซึ่งอัน
โดใชผ นังคอนกรตี เปนฉากรับแสงมากกวา ท่ีจะแสดงออกในลักษณะขององคประกอบพื้นฐานของ
ผนงั ดังนั้นผนังวสั ดทุ ี่ใชจ ะตอ งมีความหมายติดตัวนอ ยทส่ี ดุ ตัวอยา งของวสั ดุทม่ี ีความหมายชดั เจน

119
เชนบรรดาผนงั ทาสตี า ง ๆ ซงึ่ สปี รากฏออกมาเปนตัวกําหนดความหมายของผนังตอ การรบั รูของคน
เชน ผนังสีไขไกจะมีความหมายที่อบอุน (ผานทางความรูสึก) ผนังคอนกรีตในชวงทศวรรษที่ 80
และ 90 ก็ตองนับวาเปนผนังที่มีความหมายติดตัวนอยท่ีสุด การเปรียบเทียบงานของ เลอ คอรบูซิ
เอร ซึ่งเนนคอนกรีตเปลือยเชนกัน ในชวงเวลาของตนศตวรรษที่ 20 คอนกรีตผสมเปนวัสดุสําหรับ
การกอสรางอาคารท่ีคอนขางใหมและนาต่ืนตาตื่นใจ ซ่ึงคอนกรีตมีความหมายของการผลิตตาม
ระบบอุตสาหกรรมติดอยู ซึ่งสําหรับในชวงเวลาของอันโด คอนกรีตเปลือยเปนวัสดุที่ดาษดื่นเสีย
แลว ประเด็นทางความคิดเกยี่ วกบั อตุ สาหกรรมและความเปนสากลก็เปลี่ยนไปหรือจางหายไป การ
ใชคอนกรีตเปลือยในความคิดท่ีวามันเปนวัสดุที่มีความหมายติดตัวนอยท่ีสุด คือคอนขางเปนกลาง
และผนังคอนกรีตไดกลายเปนฉากท่ีรับใชธรรมชาติคือ แสงและเวลาที่เปล่ียนผานไป สามารถ
แสดงออกมาบนฉากและคอนกรีตซอนความเปนตัวเองอยูภายใตฉากน้ี เรียกวาวัสดุของผนังถูกทํา
ใหม ีคุณลกั ษณะของวสั ดุนอยที่สุด

ภาพท่ี 98 แสดงสีและพนื้ ผวิ ของผนงั คอนกรตี ของโครงการ “ธยานะภาวะ
ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

120

ดงั นนั้ บรรยากาศของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน” จงึ มคี วาม
เรียบงายของวัสดุ รวมถึงสีท่ีเลือกใชในการออกแบบภายในคือ สีขาว เพื่อแสดงนัยยะของความ
บริสุทธิ์ที่มีเกราะปองกันดวย “ธยานะ” ในมุมมองของภาพรวม สีขาวทําใหดูสวาง เหมาะสําหรับ
การทํางาน โดยเฟอรน ิเจอรใ ชว สั ดุปดดว ยลามิเนต ซึ่งเปนวสั ดุทีเ่ หมาะกับสํานักงาน ไมเปนรอยขีด
ขวนงาย สาํ หรับพ้ืนในสว นของการทํางานจะใชพรมช้ิน ซ่ึงสามารถถอดเปล่ียนไดงายและสามารถ
ซับเสียงท่ีเกดิ จากการเดนิ หรือการเล่อื นเฟอรนิเจอรแ ละเปนการเก็บความเรยี บรอยของสายไฟทเี่ ดนิ
บนพืน้ เพื่อใหเ กิดความเปน ระเบยี บเพื่อการทาํ งานอยา งมสี มาธิ

121

ภาพท่ี 99 แสดงทัศนียภาพบริเวณฝายประชาสัมพนั ธข องตกึ ขวา ช้นั 1 ของโครงการ
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”

ภาพที่ 100 แสดงบรเิ วณปฏิบัติงานของเจา หนา ท่มี ลู นธิ ิเพ่ือนหญิงของตกึ ขวา ชน้ั 1 ของ
โครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”

122

ภาพท่ี 101 แสดงบริเวณภายในของหอ งสมดุ ทมี่ ีการเช่ือมตอ ระหวา งภายนอกและ
ภายใน สามารถใชเ ปน สถานทีค่ นควา ซง่ึ สงบดวยธรรมชาติของ โครงการ “ธยานะ
ภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”

ภาพท่ี 102 แสดงมมุ มองของหองสมุดของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรม
ภายใน”

บทที่ 6

บทสรุปและขอ เสนอแนะจากการศกึ ษา

บทสรปุ ผลการศกึ ษา

สรุปผลดา นปรัชญาที่ศึกษาและวิเคราะห
“ธยานะ” หมายถึง การหลุดพนจากความพัวพันดวยอารมณภายนอกทุกประการ เพื่อ
เขาถงึ ความสงบภายใน ถาเราพัวพันอยูกับอารมณภายนอก จิตภายในก็จะปนปวน เม่ือเราหลุดจาก
การพัวพันดวยอารมณ ไมวาจะอยูในทามกลางสิ่งแวดลอมชนิดไหน น่ันแหละชื่อวาไดบรรลุถึง
สมาธิ การเปน อสิ ระไมพวั พนั ดวย อารมณภ ายนอกทกุ อยา ง
ธยานะจงึ เปนสงิ่ ทม่ี คี วามสมบรู ณใ นตวั นอกเหนอื ไปจากความสัมพันธตอส่ิงใดๆ และ
ขอบเขตใดๆ สาระที่แทจริงของการเขาถึงธยานะ คือ การยึดเอาจิตเปนศูนยกลาง เพราะเม่ือจิต
สมบรู ณ (เขาถงึ สภาวะวางเปลา คอื สุญญตา) ก็จะเปนมูลฐานใหเ ขา ถึงสภาวะธรรมท่ีแท
ผลการศึกษามีเน้ือหาสาระที่เปนนามธรรม โดยรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับธยานะและลง
มือปฏิบัติจริง เพ่ือใหเกิดความเขาใจถึงการเริ่มตนของการปฏิบัติ สิ่งที่เกิดข้ึนขณะปฏิบัติและผลที่
ไดรับหลังจากการปฏิบัติ ความเปนจริงของธรรมชาติคือเหตุปจจัยตนที่ผูปฏิบัติไดรับรูขณะปฏิบัติ
ไดท ันที จิตใจทีโ่ ลง หยดุ ความวุน วาย เมอื่ กา วเทาเขา สสู ถานท่ีปฏบิ ตั ธิ รรม ธยานะจงึ เปน การรับรูได
ก็ตอเมื่อผูปฏิบัติลงมือปฏิบัติดวยตัวเองเทาน้ัน การเดินทางของธยานะของแตละบุคคลจะแตกตาง
กนั ไป สดุ แลวแตผ ูใดสามารถตคี วามหมายของธยานะในลกั ษณะใด

สรุปผลดา นงานออกแบบสถาปต ยกรรมภายใน
เน่ืองจากการนําเสนอ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน” คือการนําเสนอ
ความหมายของธยานะเพ่ือเปนเคร่ืองบ่ันทอนมลภาวะทางจิตเพ่ือกายท่ีม่ันคง ผนวกกับปญหาทาง
สังคมที่มีตอเพศหญิง โดยมีมูลนิธิเพ่ือนหญิงคอยใหความชวยเหลือและแกปญหาตางๆเพ่ือผูที่ถูก
ทําราย จึงเนนความสําคัญไปที่เจาหนาที่ของมูลนิธิเพ่ือนหญิง ซึ่งไดรับผลกระทบโดยตรงจาก
ปญหา โดยคํานึงถึงลักษณะของสภาพแวดลอมของมูลนิธิเพื่อนหญิง พื้นท่ีใชสอยภายในมูลนิธิ
เพ่ือนหญิง ลักษณะของการทํางานภายในมูลนิธิเพื่อนหญิง ซึ่งในการศึกษาโครงการนี้ไดรวมเอา

122

123

การแปรรูปจากความหมายของ “ธยานะ” และ มูลนิธิเพ่ือนหญิง เพื่อใหเกิดเปนสถาปตยกรรม
ภายในทส่ี ง ผลตอ การสรา งความสมดุลทัง้ รางกายและจติ ใจของบุคลากรในองคกรมลู นิธเิ พอื่ นหญงิ

ขอเสนอแนะ

การทําวิทยานิพนธตองอาศัยความพรอมและทุมเท ท้ังเรื่องเวลา แรงกาย แรงใจ อยาง
มาก การศึกษาในดานของขอมูลเพ่ือนําไปใชในการแปรรูปในงานออกแบบเปนเรื่องที่อาจารยทุก
ทานใหความสําคัญในจุดนี้เปนอยางมาก กระบวนการคิดเพ่ือการเชื่อมโยงอยางมีเหตุและผล จึงทํา
ใหวิทยานิพนธดึงเอกลักษณของรูปแบบ จากตัวหนังสือคลี่คลายเปนงานสามมิติ ซ่ึงถือวาเปนเรื่อง
ยากมาก การคิดใหมและลมเลิกความคิดเดิมๆ มีมุมมองท่ีกวางข้ึนเพื่อสามารถแตกแขนงการ
ออกแบบใหเกดิ องคค วามรทู มี่ ากข้ึน

บรรณานกุ รม

. บนั ทกึ การประชุมธรรมวนิ ยั : ท่สี าํ นักปฏิบัตธิ รรมบณุ ยก ัญจนารามมลู นิธิ ตําบล
หนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวดั ชลบุร.ี เม่ือวันท่ี ๒๘ -๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๑.
พมิ พเปน อานสุ รณเ พอื่ คารวะเนอ่ื งในโอกาสทา นอาจารยแนบ มหานรี านนทมอี ายุ
ครบ ๘๐ป เม่อื วนั ที่ ๓/ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๑. กรุงเทพมหานคร: อักษรธเนศร
การพมิ พ, ๒๕๒๑.
. รม เงาวัดหนองปา พง. ม.ป.ท., ๒๕๓๒.
จรรยา สทุ ธฌิ าโณ, พระมหา. ชวี ิต ขอ คิด และงานของเจา ช่นื . กรงุ เทพมหานคร: บริษัท
อมรนิ ทรพ รน้ิ ติง้ กรพุ จํากดั , ๒๕๓๕.
. ชวี ติ และงานของทา นปญ ญานนั ทะ. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัทอมรนิ ทรพร้ินต้ิงกรพุ
จํากัด, ๒๕๓๔.
จนั ทร อินทวีโร. พระอาจารย โอวาท. ม.ป.ท., ๒๕๒๙.
จําลอง ฝงชลจติ ร. ยนั ตระ อมโร ภกิ ขุ : มัคคเุ ทศนทางวญิ ญาณ. นนทบรุ :ี สาํ นกั พมิ พ
ประโยชนสขุ , ๒๕๓๖.
เฉก ธนะสิริ. สมาธกิ ับคุณภาพชวี ติ . พิมพค ร้งั ที่ ๓. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท แปลพับลิชชง่ิ
จาํ กัด, ๒๕๓๑.
ชยสาโรภิกขุ. ธรรมนาํ สมัย. อุบลราชธานี : ลเิ บอรตเี้ พรส แอนด อารตกรปุ , ๒๕๓๔.
ชอบ ฐานสโม, หลวงป.ู หนงั สอื ชีวประวัต.ิ ฉบับปรับปรงุ . กรงุ เทพมหานคร: หา งหุนสวนจํากดั
ป. สมั พันธพ าณชิ ย, ๒๕๓๕.
พระอาจารยช า สภุ ัทโท. ดพธญิ าณ. กรุงเทพมหานคร: ฟนนี่พบั บลิชชง่ิ , ๒๕๒๕.
พระชนิ วงศาจารย (หลวงพอพุธ ฐานโิ ย). ธรรมปฏิบัติ และการตอบปญ หาการปฏบิ ตั ธิ รรม.
กรุงเทพมหานคร : นีลนาการพิมพ, ๒๕๒๗.
. พระพุทโธ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพค รสุ ุภา, ๒๕๒๗.
พระอธิการไชยบูลย ธมั มชโย. โอวาทหลวงพอธัมมชโย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพนงิ ไวเตก ,
๒๕๓๒.
ฐติ วณโฺ ณ ภกิ ขุ. วปิ สสนาภาวนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พม หามกุฎราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๕.
ถวลิ (บญุ ทรง) วตั ิรางกลู . อุบาสกิ า ผยู เู บ้ืองหลังของวดั พระธรรมกาย. กรุงเทพมหานคร:
อักษรบัณฑติ , ๒๕๓๑.

124

125

พระอาจารยมหาถาวร จิตตถาวโร. ประวตั แิ ละธรรมะอาจารยมหาถาวร จติ ตถาวโร.
กรุงเทพมหานคร: กองทุนโลกทิพย, ม.ป.ป.

พระทองพูน คณุ สมปฺ นโฺ น. ๙๑ ปหลวงปสู ามอภญิ จโน. กรุงเทพมหานคร : เกษมการพิมพ,
๒๕๓๓.

พระอาจารยทลู ขิปปณฺโณ. พบกระแสธรรม. กรุงเทพมหานคร : สุทธสุภา, ๒๕๓๔.
พระเทพมนุ ี (วิลาส ญาณวโร). คมู อื การศึกษาวปิ สสนากรรมฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ

การศาสนา, ๒๕๒๖.
. คมู อื การศกึ ษาสมถกรรมฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพก ารศาสนา, ๒๕๒๖.
พระเทพเวที (ประยุทธ ปยตุ โฺ ต). ตามทางพทุ ธกิจ. กรงุ เทพมหานคร: อมรินทรพริ้นติ้งกรุพ,
๒๕๓๑.
. พุทธ. กรงุ เทพมหานคร : ม.ป.ท., ๒๕๓๒.
. สมาธิ: ฐานสสู ุขภาพจติ และปญญาหย่งั รู. กรงุ เทพมหานคร: สํานกั พิมพศยาม,
๒๕๓๖.
หลวงพอ เทยี น จิตตฺ สโุ ภ. ปกต.ิ กรงุ เทพมหานคร: กลมุ เทียนสวางธรรม, ๒๕๓๒.
. สวา งทกี่ ลางใจ. กรุงเทพมหานคร: กลุมศึกษาและปฏบิ ตั ธิ รรม, ๒๕๒๖.
หลวงพอ เทยี น จิตฺตสุโภ (พนั ธ อินทผิว). สูตรสําเรจ็ อึดใจเดียว. นนทบรุ :ี วัดสนามใน, ๒๕๓๔.
ธนติ อยโู พธ.ิ์ บนั ทึกประสบการณป ระจาํ วนั ในการปฏิบัตวิ ัปส สนากรรมฐาน. กรงุ เทพมหานคร,
ม.ป.ท., ๒๕๓๔.
พระอาจารยธ มมฺ ธโร ภิกข.ุ ทางไปพระนพิ าน. นครศรธี รรมราช : ศนู ยวปิ สสากัมมฏั ฐาน
สวนพุทธธรรม วดั ชายนา, ๒๕๑๙.
ธรรมกาย, มูลนธิ ิ. ธรรมทายาท. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท., ๒๕๒๕.
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธ)ิ . คา ของคน. กรุงเทพมหานคร : สํานกั งานกลาง
กองการวปิ สสนาธรุ ะ วัดมหาธาตุฯ, ๒๕๓๖.
พระธรรมธรี ราชมหามนุ ี (โชดก ญาณสทิ ธิ). ปดประตอู บาย ทางไปสูนพิ พาน: คูมือสอบอารมณ
กรรมฐาน. เรยี บเรียงโดย พระอาจารยม หาสีสะยาดอ อัครมหาบัณฑติ ธมั มาจารยิ ะ.
กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พพิทักษอ กั ษร, ๒๕๓๓.
พระธรรมธรี าชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธ)ิ , พระ. วิปส สนากรรมฐาน ภาค ๑ เลม ๑
กรงุ เทพมหานคร: บริษทั อมรนิ ทรพร้ินติ้งกรพุ จาํ กดั , ๒๕๓๒.

126

. วปิ ส สนากรรมฐาน ภาค ๑ เลม ๒ . กรุงเทพมหานคร: บริษัท อมรนิ ทรพริ้นติ้งกรพุ
จาํ กัด, ๒๕๓๒.
. วปิ สสนากรรมฐาน ภาค ๒ . กรงุ เทพมหานคร: บริษทั อมรินทรพ ร้นิ ต้ิงกรพุ จาํ กดั ,
๒๕๓๒.
. หลกั ปฏิบัตสิ มถะวิปส สนา. กรุงเทพมหานคร: กองทลู มูลนธิ พิ ระธรรมธรี ราช
มหามนุ ี, ๒๕๓๑.
นพิ พิทา. “ ปญหาโพธริ ักษา และสนั ตอิ โศก บทเรียนของชาวพทุ ธ”. ใน สมาธิ ปที่ ๔ ฉบบั ที่ ๔๐.
นโิ รธรงั สีสีคัมภีรปยญาจารย (เทสถ เทสรังส)ี . พระ. บญั ญติหก และฝกหดั สมาธิ
โดยบริกรรมพุทโธ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพชวนพมิ พ, ๒๕๓๑.
นิโรธรังสสี ีคัมภีรปย ญาจารย (เทสถ เทสรังส)ี . พระ. ฝก หดั สมาธิ โดยบริกรรมพทุ โธ.
คณะศษิ ยานุศษิ ย, ชมรมเผยแผพ ทุ ธธรรมเจรญิ ผล จดั พิมพถวายเนอื่ งในวาระคลาย
วันเกิดอายคุ รบ ๘๗ ป ของพระนโิ รธรงั สี คัมภีรปญญาจารย (เทสก เทสรังสี) ๒๖
เมษายน ๒๕๓๓ กรุงเทพมหานคร: บัณฑติ การพิมพ, ๒๕๓๒.
. อัตโนประวตั ิ ท่รี ะลกึ คลายวนั เกดิ และฉลองสมณศักด์ิ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๔
กรงุ เทพมหานคร: หา งหุน สว นจาํ กัด ป. สมั พันธพ าณิชย, ๒๕๓๔.
บัว ญาณสมั ปน โน, พระมหา. กา วเดนิ ตามหลัดศาสนธรรม: เทศนอบรมพระ. กรงุ เทพมหานคร:
โรงพิมพช วนพมิ พ, ๒๕๓๑.
. เขาสูแดนนพิ าน: เทศนอ บรมพระ. กรุงเทพมหานคร: หางหุน สว น จาํ กัด ป.
สัมพันธพ าณชิ ย, ๒๕๒๙.
ราชวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐติ วณโฺ ณ), พระ. คมู ือบําเพญ็ กรรมฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ
มหามกุกราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๓.
. บทอบรมกรรมฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๔.
ลูกศษิ ยบนั ทกึ เลม ๔. จัดพมิ พเปน ะรรมฐาน ในงานทาํ บญุ ประจาํ ป วดั จนั ทาราม (ทา ซุง)
อุทัยธานี ๑๔ มนี าคม ๒๕๓๕.
วงศ ชาญบาล(ี ชาํ ระ). พระวสิ ทุ ธิมรรค เลม ๒ กรงุ เทพมหานคร, ๒๕๒๗.
วชิรญาณวโรรส. สมเด็ขพระมหาสมรเจา กรมพระยา. สารานุกรมพระพุทธศาสนา.
กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพม หามกุฏราชวทิ ยาลยั , ๒๕๒๙.
วรทัศน วัชรวล.ี ยนั ตระอมโรภิกขุ. วิถชี วี ติ บนเสน ทางพทุ ธธรรม. กรงุ เทพมหานคร: เพญ็ บญุ ,
๒๕๓๓.
วิเศษสจั ธาดา, พันเอก พระยา. มนสิกาโรบาย. กรงุ เทพมหานคร: โนงพิมพยงหลี, ๒๔๗๓.

127

วีระ ถาวโร, พระมหา. กรรมฐาน ๔๐. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช วนพมิ พ, ๒๕๓๑.
. คมู อื ปฏิบตั ิกรรมฐาน. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พช วนพมิ พ, ๒๕๑๙.

ศรวี สิ ทุ ธิกวี, พระ. การพัฒนาจคิ ภาคหนงึ่ . กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พมหามกุฏราชวทิ ยาลัย,
๒๕๓๐.
. คูมือบาํ เพญ็ กรรมฐาน. กรงุ เทพมหานคร: สภาการศึกษามหามกฎุ ราชวทิ ยาลยั
๒๕๓๐.

ศรีสยาดอ (โสภณเถร), พระมหา. วธิ ีปฏบิ ัติวิปสสนา บันทกึ โดย หลวงบรบิ าลเวชกจิ . พระนคร:
โรงพิมพอ ดุ ม, ๒๔๙๗.

สัมพันธ กอ งสมุทร (บรรณาธกิ าร). พทุ ธทาสภกิ ขกุ ับยนั ตระอมดรภกิ ขุ. กรงุ เทพมหานคร:
เจรญิ วทิ ยก ารพมิ พ, ๒๕๓๐.

สัมพิพฒั นเมธาจารย (ถาวร จติ ตฺ ถาวโร), พระครปู ลัด. อุบายธรรมทาํ ใจใหสงบ. กรงุ เทพมหานคร :
วิบลู ยก จิ การพมิ พ, ๒๕๓๕.

สิริวัฒน คําวนั สา. ประวัตพิ ระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพมหา
จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๔.

สารัตถสมจุ จยั , คัมภีร. อรรถกถาธมั มจักกปั ปวตั ตนสูตร. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพป ระสิทธิ
การพิมพ, ๒๕๑๗.

เสถียร โพธินันทะ. ประวตั ศิ าสตรพ ระพทุ ธศาสนา ฉบบั มขุ ปาฐะ ภาค ๒. กรงุ เทพมหานคร:
โรงพิมพมหามกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๑๕.

หลา เขมปตฺโต. หลวงปู ชวี ประวัต.ิ กรุงเทพมหานคร: ศิลปสยามการพมิ พ, ๒๕๓๒.
. ธรรมคาํ สอน. กรุงเทพมหานคร: ศลิ ปสยามการพมิ พ, ๒๕๓๓.

เหรยี ญ วรลาโภ. หลวงปู (พระครูญาณปรชี า). อัตโนประวตั พิ รอมพระธรรมเทศนาและ
วธิ ีเจรญิ สมถวิลปสสนา. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา,๒๕๓๖.

อรยิ สงฆ. หลวงปู. ธรรมโอวาท. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พมื หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ,
๒๕๓๕.

อรุณ เวชสวุ รรณ. สวนโมกข เมืองไชยาและพุทธทาสภกิ ขุ. กรุงเทพมหานคร: แพรพ ทิ ยา, ๒๕๑๔.
อาภาณ พกุ กะมาน. สมาธ.ิ กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพมลู นิธธิ รรมสันต,ิ ๒๕๓๐.
อุบาลคี ณุ ูปมาจารย (จนั ทร สริ จิ นั โท). คิรมิ านนทสตู . กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พม ติ รสัมพนั ธ

กราฟฟค อารต, ๒๕๓๐.
. อัตโนประวตั แิ ละธรรมบรรยาย. ศนู ยอ บรมภาวนาสริ จิ นั โท วัดบรมนิวาส
จัดพมิ พเ ปน ธรรมบรรณาคารล, ๒๕๒๙.

128

พุทธนคิ มเชียงใหม. วิธรี ะงบั ดับทุกข. เชียงใหม: บรษิ ัท กลางเวยี นการพมิ พ จาํ กดั , ๒๕๒๙.
โพธญิ าณเถระ. (หลวงพอ ชา สุภัทโท). พระ. นอกเหนือเหตผุ ล คณะศษิ ยน ุศิษย ชาวคณะชมรม

เผยแผพ ุทธรรมเจริญผล จัดพมิ พเ ปน มฑุ ติ าสักการะถวายเนือ่ งในโอกาสอายคุ รบ ๖๙ ป
ของพระโพธญิ าณเถระ (หลวงพอ ชา สภุ ทั โท) ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๓๐ กรุงเทพมหานคร:
บณั ฑิตการพิมพ, ๒๕๓๐.
. สันติภมู ิ. วดั หนองปาพง อาํ เภอวารนิ ชําราบ จงั หวดั อุบลราชธานี จัดพิมพเ ปน
ธรรมานสุ รณในโอกาสอุปสมบทหมนู ักศึกษาของชมุ ชนศกึ ษาพุทธธรรมศิริราช
ปฏบิ ัติธรรม ณ วดั ถาํ้ ผาปง อาํ เภอวงั สะพงุ จงั หวดั เลย ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๓๐.
กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พเ รอื นแกว การพมิ พ, ๒๕๓๐.
. กวา จะเปนสมณะ. อุบลราชธาน:ี วัดปา นานาชาต,ิ ๒๕๓๔.
. กญุ แจภาวนา. อบุ ลราชธาน:ี วทิ ยาออฟเซท็ การพิมพ, ๒๕๓๕.
. นํา้ ไหลน่ิง: ธรรมสําหรับฆราวาส. กรงุ เทพมหานคร: บนั นี่พบั บลิชชง่ิ , ๒๕๓๑.
. สันติภูม:ิ ธรรมเทศนา. กรงุ เทพมหานคร: ชุมชนศกึ าพทุ ธธรรมสิริราช, ๒๕๓๐.
โพธริ กั ษ. พระ. สัจจะแหง ชวี ติ . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมลู นิธิธรรมสันติ, ๒๕๓๑.
ไพจิตรวทิ ยากร, หลวง (แปล). การบําเพญ็ ฌานทางพุทธศาสนาตามหลักของนิกายเถรวาท
โดย Constant Lounsbery. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔.
ภาวนาพศิ ศาลเถระ (พธุ ฐานโิ ย). พระ. ธรรมปฏิบตั แิ ละการปฏบิ ตั ธิ รรม. กรงุ เทพมหานคร:
หอรัตนชยั การพิมพ, ๒๕๒๙.
ภาวนาวสิ ทุ ธิคุณ. พระ และวิชัย สุธีชานนท. หลกั กการฝกสมาธิและวธิ ีการฝก สมาธิระดับประถม
และมัธยมศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพว ญิ ญาณ, ๒๕๓๕.
ภมุ รา ตาละลักษณ. รวมพระธรรมเทศนา วเิ คราะการเจรญิ สมถวปิ ส สนาตามแนววิชาธรรมกาย.
กรุงเทพมหานคร: พิมพคร้งั ที่ ๒, ๒๕๓๒.
มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. ประวตั วิ รรณคดบี าลี ตอนที่ ๑-๒ กรงุ เทพมหานคร:โรงพมิ พ
มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๔๐๖.
มนั ภูรทิ ตั ตเถร. ธรรมปฏบิ ัติ. อนุสรณเนอื่ งในการท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทาน
พระบรมราชนเุ คราะห และเสด็จพระราชดาํ เนินพระราชทานเพลงิ ศพ ศาสตาจารย
คุณหญงิ ไชศรี ณ ศลี วนั ต. กรงุ เทพมหานคร: ไทยวฒั นาพาริชย, ๒๕๒๔.
มัน่ ภรู ิทัตโต. พระอาจารย. มุตโตทัย แนวทางปฏบิ ตั ิใหห ลุดพน. กรงุ เทพมหานคร: บริษัท
ชอบวณิชชา จาํ กดั , ๒๕๓๑.

129

มลู นธิ ิสํานักปกบิ ัติธรรมบุณยก ญั จนาราม. พุทธศาสนาคืออะไร? กรุงเทพมหานคร: บริษัท
อมรนิ ทรพ รน้ิ ต้งิ กรพุ จาํ กดั , ๒๕๓๖.

เมตตานันโท ภิกข.ุ ความรูเ รอื่ งธรรมกาย. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั บานหนแู กว จาํ กัด, ๒๕๓๕.
ยงยุทธ์ิ วริ ยิ ายทุ ธังกุร. หลวงพอวัดปากน้าํ กับอานภุ าพวชิ ชาธรรมกาย. กรงุ เทพมหานคร:

เจรญิ วิทยก ารพิมพ, ๒๕๓๖.
ยุวพทุ ธกิ สมาคมแหง ประเทศไทย. ธรรมทานของคุณแม ดร. สิริ กรนิ ชยั . กรงุ เทพมหานคร:

หอรตั นชัยการพิมพ, ๒๕๓๔.
ราชวสิ ุทธิกวี (พจิ ติ ร ฐติ วณโฺ ณ), พระ. การบรหารจติ . กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพม หามกฏุ ราช

วิทยาลยั , ๒๕๓๓.
บัว ญาณสัมปน โน. เขาสูแ ดนอวกาสของจติ ของธรรมะ: เทศนอบรมพระ กรงุ เทพมหานคร:

หา งหุนสว นจาํ กัด ป. สมั พันธพาณิชย, ๒๕๒๙.
. ความลึกลบั ซบั ซอ นของงจิตวญิ ญาณ : เทศนอบรมพระ กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพช วนพมิ พ, ๒๕๓๑.
. จิตภาวนา-หนทางสูความสงบเย็นใจ: พระธรรมเทศนาของพระมหาบัว
ญาณสมั ปนโน. ม.ป.ท.,๒๕๓๑.
. ปฏิปทาของพระธุดงคกรรมฐานสายทานอาจารยืมัน่ ภูรทิ ตั ตเถระ กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพช วนพมิ พ, ๒๕๑๒.
. ประวัติทานพระอาจารยืมนั่ ภรุ ิทัตตเถระ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พช วนพิมพ,
๒๕๓๔.
ประกาส วัชราภรณ. พทุ ธทาส: ประทปี แหง สวนโมกข. กรุงเทพมหานคร: สํานกั พมิ พด อกหญา ,
๒๕๓๖.
ประเวศ วะส.ี สวนโมกข ธรรมกาย สันตอิ โศก. กรงุ เทพมหานคร: หมอชาวบา น, ๒๕๓๐.

ปสันโน, อาจารยพระ. จงมาด.ู กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพช วนพมิ พ, ๒๕๓๕.
. ธรรมพนภัย. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พชวนพมิ พ, ๒๕๓๖.

ปญญานนั ทภกิ ขุ และพุทธทาสภกิ ข.ุ ธรรมโอสถ: นนทบรุ :ี บรษิ ัท พิมพดี จาํ กดั , ๒๕๓๕.
ปุย แสง(แปล). มิลนิ ทปญ หา. กรุงเทพมหานคร: สํานกั พมิ พลกู ส. ธรรมภกั ดี, ๒๕๓๑.
พงษศ กั ด์ิ เตชธมั โม, พระ. หลักการดาํ เนนิ ชวี ิตทีเ่ ก่ยี วขอ งกับวตั ถุและการฝกจิตเบื้องตน โดย
เตชธมโฺ มภิกข.ุ กรุงเทพมหานคร: บริษทั สยามสมยั จาํ กดั , ๒๕๒๙.
พร รัตนสุวรรณ. คมู ือการฝกอานาปานสั สติสมาธ.ิ กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพว ญิ ญาณ, ๒๕๒๙.

130

. ชวี ติ และผลงานของอาจารยพ ร รัตนสุวรรณ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพว ิญญาณ,
๒๕๓๖.
. พุทธวิทยา เลม ๑. พระนคร: โรงพิมพว ญิ ญาณ, ๒๕๑๔.
. พทุ ธวิทยา เลม ๒. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พว ญิ ญาณ, ๒๕๓๒.
. สมาธแิ ละวปิ ส สนาในชิวติ ประจําวนั เลม ๑. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พวญิ ญาณ,
๒๕๒๙.
พระไตรปฏกภาษาบาลี อักษรไทย ฉบบั มหามกฎุ ราชวิทยาลยั . กรุงเทพมหานคร: เฉลิมชาญ
การพิมพ, ๒๕๒๕.
พิมลธรรม อาสภมหาเถระ. พระ (แปล). วสิ ุทธิมรรคพระปฏบิ ตั ศิ าสนา สมถทีปนกี ถา แปลจาก
บาลีกรณวเิ ศษ. วสิ ทุ ธิมรรค. กรงุ เทพมหานคร: บริษัทประยูรวงศ จาํ กดั , ๒๕๒๖.
พุทธทาสภกิ ข.ุ การทาํ สมาธิและวปิ สสนาที่แทจ รงิ . กรงุ เทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๕๓๖.
. สมาธิภาวนา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพมิ พเ ลย่ี งเซยี ง, ๒๕๐๓.
. อานาปานัสสติสมบูรณแ บบ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๕๓๕.
. โอวาททา นพุทธทาส. กรงุ เทพมหานคร: รุงแสงการพมิ พ, ๒๕๓๔.
พุทธนิคมเชยี งใหม. ประวตั วิ ัดอุโมงค (สวนพทุ ธธรรม). เชียง: กลางเวียง การพิมพ, ๒๕๓๐.

131

ประวัติผวู ิจยั

ชือ่ -สกุล นางสาวกง่ิ แกว มโนนกุ ูล
ท่ีอยู 5/2358 หมบู า น ประชาชื่น ซอย 22/1 ถนน สามัคคี ตาํ บล บางตลาด
อาํ เภอ ปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี 11120
ท่ที ํางาน บรษิ ัท สเปซ แมทรกิ ซ ดีไซน คอนซลั แทนส (ประเทศไทย) จาํ กัด
เลขที่ 1-7 อาคาร ซลิ ลคิ เฮาศ ชน้ั 5 ยูนคิ 504, ช้ัน 6 ยูนิค 601 เอ
ถนน สลี ม แขวงสีลม เขตบางรัก กรงุ เทพฯ 10500
โทร. 02 233 8828, แฟกซ 02 233 8829

ประวตั ิการศึกษา

พ.ศ. 2540 - สาํ เร็จการศึกษามัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 จากโรงเรียนอสั สัมชัญคอนแวนต
พ.ศ. 2544 - สําเร็จการศึกษาศิลปะบณั ฑติ (การออกแบบภายใน)

มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

ประวตั ิการทาํ งาน

พ.ศ. 2545-2547 ตําแหนง Interior designer
พ.ศ. 2547-2549 บริษทั Bent severin & Associates.
พ.ศ. 2549-ปจ จบุ ัน ตาํ แหนง Interior designer
บรษิ ัท Idee group co. ltd.
ตาํ แหนง Senior interior designer
บรษิ ัท Space Matrix Design Consultants (Thailand) ltd.


Click to View FlipBook Version