The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

005.ธยานะภาวะในงานสถาปัตยกรรมภายใน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

005.ธยานะภาวะในงานสถาปัตยกรรมภายใน

005.ธยานะภาวะในงานสถาปัตยกรรมภายใน

ธยานะภาวะในงานสถาปต ยกรรมภายใน

โดย
นางสาวกิ่งแกว มโนนุกูล

วิทยานิพนธน เี้ ปน สวนหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสตู รปรญิ ญาศลิ ปมหาบณั ฑติ
สาขาวชิ าการออกแบบภายใน
ภาควชิ าออกแบบตกแตง ภายใน

บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
ปการศกึ ษา 2550

ลขิ สิทธ์ขิ องบณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

ธยานะภาวะในงานสถาปต ยกรรมภายใน

โดย
นางสาวก่งิ แกว มโนนกุ ูล

วิทยานิพนธน เี้ ปน สวนหนงึ่ ของการศึกษาตามหลกั สูตรปรญิ ญาศลิ ปมหาบณั ฑติ
สาขาวชิ าการออกแบบภายใน
ภาควชิ าออกแบบตกแตง ภายใน

บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศิลปากร
ปการศกึ ษา 2550

ลขิ สิทธ์ขิ องบณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

DHAYANA'S CONDITION IN INTERIOR ARCHITECTURE DESIGN

By
Kingkaew Manonukul

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree
MASTER OF FINE ARTS

Department of Interior Design
Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY
2007

บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร อนุมตั ิใหว ทิ ยานพิ นธเ รอื่ ง “ธยานะภาวะในงาน
สถาปต ยกรรมภายใน ” เสนอโดย นางสาวกิง่ แกว มโนนกุ ูล เปนสวนหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลักสตู ร
ปรญิ ญาศิลปมหาบัณฑติ สาขาวิชาการออกแบบภายใน

……...........................................................
(รองศาสตราจารย ดร.ศิรชิ ัย ชินะตังกรู )

คณบดีบณั ฑติ วิทยาลยั
วนั ท.่ี .........เดอื น.................... พ.ศ...........

อาจารยท ป่ี รกึ ษาวิทยานพิ นธ
1. อาจารยไ พบูลย จิรประเสริฐกุล
2. อาจารย ดร. ชลวิทย เจยี รจิตต

คณะกรรมการตรวจสอบวทิ ยานพิ นธ

.................................................... ประธานกรรมการ
(ผชู ว ยศาสตราจารย ร.ต.อ.อนชุ า แพงเกษร)
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ
(รองศาสตราจารยเ อกชาติ จนั อุไรรตั น) (อาจารยเทิดศกั ด์ิ เหล็กด)ี
............/......................../.............. ............/......................../..............

.................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ
(อาจารยไ พบลู ย จริ ประเสริฐกลุ ) (อาจารย ดร.ชลวิทย เจยี รจติ ต )
............/......................../.............. ............/......................../..............

47154301 : สาขาวชิ าการออกแบบภายใน
คําสําคญั : ธยานะ/งานสถาปตยกรรมภายใน

กิ่งแกว มโนนุกูล : ธยานะภาวะในงานสถาปตยกรรมภายใน. อาจารยท่ีปรึกษา
วทิ ยานพิ นธ : อ.ไพบลู ย จิรประเสริฐกลุ และ อ. ดร. ชลวทิ ย เจียรจิตต. 131 หนา.

จากวัตถุประสงคการศึกษาเร่ืองธยานะภาวะ เพ่ือศึกษาความหมายและความสําคัญ
ของธยานะตามแนวทางพุทธปรชั ญา โดยใชเปนเครอ่ื งมอื ในการสรา งเกราะปองกันทง้ั ภาวะรางกาย
และจิตใจ การศึกษาแนวทางการใชความหมายของธยานะ เพื่องานออกแบบสถาปตยกรรมภายใน
ซ่ึงสงผลตอการสรางความสมดุลของรางกายและสภาวะจิตของเพศหญิง รวมถึงบุคลากรภายใน
องคกรของมลู นิธเิ พ่ือนหญิง

“ธยานะ” เปนหนทางหนึ่ง เพ่ือทําใหจิตวางเปลา สงบน่ิงแนวแนและตั้งม่ัน ในขณะ
เดียวก็ใครครวญตรึกตรองถึงความเปนจริงในธรรมชาติ โดยพิจารณาสรรพส่ิงท้ังหลายลวนเปน
ทุกข ไมเที่ยงและไมใชตัวตน เพื่อวางทาทีในการดํารงชีวิต โดยมีเปาหมายเพื่อทําลายกิเลสและ
เขาถึงสัจธรรมบรรลุพุทธภาวะ สาระที่แทจริงของการเขาถึงธยานะ คือ การยึดเอาจิตเปนศูนยกลาง
เพราะเม่อื จิตสมบรู ณ เขาถึงสภาวะท่วี างเปลา กจ็ ะเปนมูลฐานใหเขาถึงสภาวะธรรมท่แี ท

ผลของการศึกษาวิเคราะหและการออกแบบโดยสังเคราะห ตามวัตถุประสงคและ
สมมุติฐานของการสรางพื้นท่ีวางท่ีมีคุณคาสูสถาปตยกรรมภายใน ซ่ึงเปนลักษณะของ
สภาพแวดลอมทม่ี ีสวนชว ยในการสรางเกราะปอ งกนั พรอ มบาํ บัดรางกายและจิตใจใหเขมแข็ง เพ่ือ
บุคลากรภายในองคกรของมูลนิธิ และบุคคลทั่วไป ซึ่งสามารถสรุปคุณคาทางพื้นที่ประกอบดวย
สุนทรยี ภาพทางปรัชญา ดังนี้

การสรางนัยยะทางนามธรรม รูปธรรม สูพ้ืนที่ใชสอยภายใน โดยมี “ธยานะภาวะ”
เปนสาระ

ภาควิชาออกแบบตกแตงภายใน บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ปก ารศกึ ษา 2550
ลายมอื ช่ือนกั ศึกษา........................................
ลายมือชอ่ื อาจารยท ี่ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ 1. ........................... 2. .............................



47154301 : MAJOR : INTERIOR DESIGN
KEY WORD : DHAYANA / INTERIOR ARCHITECTURE DESIGN

KINGKAEW MANONUKUL : DHAYANA'S CONDITION IN INTERIOR.
ARCHITECTURE DESIGN. THESIS ADVISORS : PAIBOON JIRAPRASERTKUN AND

131CHONLAVIT JAINJIT,Ph.D. pp.

This study Dhayana’s condition in Buddhist philosophy through interior
architecture design from a object about to believe the heart of philosophy abstract, to believe
of concrete object, to believe about a meaning of Dhayana of elements for balance and
protect constitution and the spirit for the women and staff Friends of Women foundation.

The study of Dhayana’s condition in Buddhist philosophy. This route to compose
oneself meditation and consciousness. Dhayana is consciousness being the nature to
consider everything aren’t real and don’t have anything. Dhayana for develop to do life
depend on yourself on the present. Dhayana is center of heart because the heart is
consciousness.

Achievement of analyze a study and to do design by the meaning of abstract, the
meaning of concrete and the meaning of sign in Dhayana’s condition in Buddhist philosophy
is develop to synthesis to be object and then to consciousness through Meditation space and
friends of women foundation for believe people that the everyone have intellect.

The principle of intangibles and tangibles for interior architecture space to
Dhayana’s condition.

Department of Interior Design Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2007
Student's signature ........................................
Thesis Advisors' signature 1. ........................... 2. ...........................



กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับน้ีสําเร็จลุลวงไดดวยดี ดวยความดูแลเอาใจใสและความชวยเหลือ
ตลอดเวลาจาก อาจารยไพบูลย จิรประเสริฐกุล อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ท่ีกรุณาผูวิจัย โดย
ใหความรู คําแนะนํา และเปนแรงผลักดันตลอดจนกําลังใจ ใหเพียรพยายามในการศึกษามาโดย
ตลอด ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณทานเปนอยางสูง ณ โอกาสน้ี และขอกราบขอบพระคุณ อาจารย
ชลวิทย เจียรจิตต อาจารยท่ีปรึกษารวม ที่อุทิศคําแนะนําอันดีงามทางพุทธศาสนาเปนแกนแทแหง
สาระท่ีดีตอแนวทางวิทยานพิ นธข องผวู จิ ัยเปนอยางดี

ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารยเอกชาติ จันอุไรรัตน, ผูชวยศาสตราจารย
ร.ต.อ. อนุชา แพงเกษร, ผูชวยศาสตราจารยพยูร โมสิกรัตน และอาจารย เทิดศักดิ์ เหล็กดี ที่กรุณา
ถายทอดความรเู พื่อการศึกษาตลอดระยะเวลา 4ปเตม็

นอกจากนี้การทําวิทยานิพนธฉบับน้ียังไดรับความอนุเคราะหเพ่ือสืบคนขอมูลจาก
หนวยงานมูลนิธิเพื่อนหญิงและน.ส. สุเพ็ญศรี พ่ึงโคกสูง หัวหนาศูนยพิทักษสิทธิสตรีมูลนิธิเพื่อน
หญิง ผูใหขอมูลเพื่อการวิจัยเกี่ยวกับการทํางานของมูลนิธิเพื่อนหญิง จึงขอกราบขอบพระคุณมา ณ
โอกาสน้ี

ขอขอบพระคุณ บรษิ ัท สเปซ แมทรกิ ซ ดีไซน คอนซลั แทนส (ประเทศไทย) ท่ีใหความ
อนุเคราะหเร่ืองเวลาในการทํางานและความรูจากการทํางาน ตลอดจนไดเรคเตอรท่ีกรุณา พี่อาย พี่
สมบตั ิ ท่มี อบความรูเพือ่ การปรบั ปรงุ ในการสง ทุกครงั้ จึงขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี

ขอขอบคุณพ่ีๆนองๆ บริษัท สเปซ แมทริกซ ดีไซน คอนซัลแทนส (ประเทศไทย) ที่
คอยใหกําลงั ใจและความชว ยเหลอื เสมอมา

ขอขอบพระคุณครอบครัว มโนนุกูล ที่ใหการสนับสนุนเร่ืองการศึกษาตลอดระยะเวลา
8ป ทไ่ี ดท ําการศกึ ษาที่มหาวทิ ยาลัยศิลปากรตลอดมา

ขอขอบคุณเพ่ือนๆมหาวิทยาลัยศิลปากรท่ีใหความชวยเหลือในดานขอมูลขาวสารของ
ทางมหาวิทยาลัยตา งๆมากมายและไดท าํ กจิ กรรมรว มกันตลอดระยะเวลาทีท่ าํ การศึกษา

สุดทายนี้ขอขอบคุณ นาย กฤษฎา ระติสุนทร และทุกกําลังใจที่เปนแรงผลักดันใน
การศึกษา รวมถึงกาํ ลงั แรงท่ใี หค วามชว ยเหลือมากมายจนสามารถสําเรจ็ วทิ ยานพิ นธฉบับนี้



สารบญั หนา

บทคัดยอภาษาไทย .............................................................................................................. จ
บทคดั ยอ ภาษาองั กฤษ ......................................................................................................... ฉ
กิตตกิ รรมประกาศ............................................................................................................... ฌ
สารบัญภาพประกอบ........................................................................................................... ฒ
สารบญั แผนภาพ..................................................................................................................
บทท่ี 1
1
1 บทนํา ................................................................................................................. 2
ความเปนมาและความสาํ คัญของปญ หา................................................... 2
จุดมุงหมายและวตั ถปุ ระสงคข องการศึกษา ............................................. 3
ขอบเขตของการศกึ ษา.............................................................................. 4
ขัน้ ตอนของการศึกษา .............................................................................. 4
สมมติฐานของการศกึ ษา .......................................................................... 4
ประโยชนท่คี าดวาจะไดรับ ...................................................................... 6
คาํ จาํ กดั ความท่ใี ชใ นการศกึ ษา................................................................. 6
8
2 วรรณกรรมและทฤษฎที เี่ กย่ี วขอ ง ....................................................................... 12
การศกึ ษาเอกสารท่ีเก่ยี วของกับธยานะในพระพทุ ธศาสนา...................... 14
ข้ันตอนและวธิ ีของธยานะ ....................................................................... 21
ประโยชนจ ากการปฏิบัติตามแนวทางแหง ธยานะ.................................... 22
ภาวะทางดา นรา งกายและจติ ใจของเพศหญิง ........................................... 24
ผลกระทบความรุนแรงทม่ี ีตอ เพศหญิง .................................................... 28
แนวทางแกป ญ หาทงั้ ดานรา งกายและจิตใจของเพศหญิง......................... 28
มูลนธิ เิ พ่ือหญิง (Friends of Women Foundation) .................................... 29
29
3 การศกึ ษาแนวทางสงู านออกแบบ .......................................................................
ภาคการศกึ ษาขอ มลู ..................................................................................
สังเคราะหค วามหมายของการศึกษา ........................................................
สังเคราะหความหมายของ “ธยานะภาวะ” ในงานสถาปตยกรรมภายใน..



บทที่ หนา
สงั เคราะหความหมายของธยานะสงู านออกแบบ..................................... 31
สรปุ แนวทางการนําไปใชเ พ่อื งานออกแบบสถาปต ยกรรมภายใน........... 32
การศึกษากรณศี ึกษาตวั อยา ง .................................................................... 35
63
4 การวเิ คราะหโครงการและแนวคดิ ในการออกแบบ ............................................ 63
การวิเคราะหลกั ษณะของโครงการ........................................................... 71
การวเิ คราะหว ตั ถุประสงคของโครงการ .................................................. 72
การศกึ ษาลักษณะการดาํ เนนิ งานของโครงการ ........................................ 80
การศกึ ษาผใู ชโ ครงการ............................................................................. 88
สรุปแนวความคดิ ในการออกแบบ ........................................................... 90
90
5 การพัฒนาแนวความคดิ สงู านออกแบบ............................................................... 122
กระบวนการพฒั นาแนวความคดิ ในการออกแบบโครงการ..................... 122
123
6 บทสรุปและขอเสนอแนะจากการศึกษา..............................................................
บทสรุปการศกึ ษา.....................................................................................
ขอ เสนอแนะ ............................................................................................

บรรณานกุ รม .................................................................................................................
ประวัตกิ ารศึกษา..................................................................................................................



สารบาญภาพประกอบ

ภาพที่ หนา
1 แสดงถึงวธิ กี ารปฏิบัติสมาธิ โดยการนง่ั สมาธิ..................................................... 9
2 แสดงการปฏบิ ตั ิสมาธิ โดยการยืนสมาธิ ............................................................. 10
3 แสดงการปฏบิ ตั สิ มาธิ โดยการเดนิ จงกรม.......................................................... 10
4 สญั ลักษณข องมลู นธิ ิเพอื่ นหญิง.......................................................................... 15
5 อาศรม “Poustiniae” ประเทศสวติ เซอรแ ลนด................................................... 35
6 คนรกั ธรรมชาติ สามารถสัมผัสมมุ มองภายนอกแมกระท่ังยามนอนแช
ในอา งจากุซซ่ี ณ อาศรม Poustiniae ประเทศสวติ เซอรแ ลนด ................ 36
7 ผนงั กระจกภายในเผยใหเ หน็ สภาพแวดลอ มภายนอก ณ อาศรม Poustiniae
ประเทศสวติ เซอรแ ลนด ............................................................................ 37
8 มมุ มองจากภายนอกอาคารเรอื นพกั ญาตโิ ยมหญงิ ทวี่ ัดวชริ บรรพต
จ.ชลบรุ ี ...................................................................................................... 39
9 ทางเขาจากภายนอกสพู น้ื ทีภ่ ายในเรอื นพักญาติโยมหญงิ ณ วดั วชิรบรรพต
จ.ชลบรุ ี ...................................................................................................... 40
10 การประสานกนั ระหวางมนษุ ยก บั ธรรมชาติ ธรรมะ และสถาปต ยกรรม
เรอื นพกั ญาติโยมหญิง ณ วดั วชริ บรรพต จ.ชลบุรี ..................................... 41
11 มมุ มองจากพน้ื ทีภ่ ายในสูพ น้ื ท่ีภายนอก ณ วดั วชิรบรรพต จ.ชลบรุ ี ............... 42
12 แสดงบริเวณโถงบนั ไดทางขนึ้ ช้ันสอง ณ วดั วชิรบรรพต จ.ชลบุรี ................... 43
13 พืน้ ท่ีสําหรบั ปฏิบัตสิ มาธิ ณ วดั วชริ บรรพต จ.ชลบุรี...................................... 44
14 แสดงพื้นทใ่ี ชส อยตา ง ๆ ภายในอาคารของวดั วชิรบรรพต จ. ชลบรุ ี .................. 45
15 บริเวณโถงบนั ไดบนพนื้ ท่หี อ งนอนรวมทชี่ ้ันสอง ณ วดั วชิรบรรพต จ.ชลบรุ ี.... 45
16 แสดงมุมมองจากชัน้ บนสพู นื้ ทโ่ี ลง ดา นลา งของวัดวชิรบรรพต จ.ชลบรุ ี............ 46
17 แสดงพ้ืนทโ่ี ดยรวมท้งั หมดของ Kantha Bopha Center ประเทศกัมพชู า ............ 48
18 แสดงดา นหนา ของอาคารในเวลากลางคนื ของ Kantha Bopha Center
ประเทศกัมพชู า.......................................................................................... 49
19 ดานหนาของโครงการ Kantha Bopha Center ประเทศกมั พูชา........................... 50
20 บรเิ วณประตทู างเขาหลักของ Kantha Bopha Center ประเทศกมั พูชา ................ 51



ภาพที่ หนา
21 แสดงรายละเอยี ดระแนงไมข องประตูดา นหนา ของ Kantha Bopha Center
ประเทศกมั พชู า.......................................................................................... 51
22 โถงใตห อ งประชุมใหญ เห็นโครงสรางหองประชมุ Kantha Bopha Center
ประเทศกมั พชู า.......................................................................................... 52
23 มองจากบรเิ วณหนาหอ งสมดุ กลับออกมาบริเวณตอ นรบั และ
ลานอเนกประสงค ณ Kantha Bopha Center ประเทศกมั พชู า.................. 53
24 บนชน้ั ลอยเขาหองประชุม Kantha Bopha Center ประเทศกัมพูชา.................... 54
25 แสดงพ้นื ทภ่ี ายในหอ งประชมุ Kantha Bopha Center ประเทศกัมพูชา............... 54
26 ทางเดินดา นหลังเขาหอ งอบรมเลก็ Kantha Bopha Center ประเทศกัมพูชา....... 55
27 บริเวณดานหลงั หองอาหาร Kantha Bopha Center ประเทศกมั พชู า ................. 56
28 แสดงพ้ืนทใ่ี ชส อยภายในอาคาร Kantha Bopha Center ประเทศกมั พชู า ............ 57
29 แสดงพื้นทใ่ี ชส อยภายในอาคาร Kantha Bopha Center ประเทศกัมพูชา ........... 58
30 แสดงรูปดา นและรูปตัดของอาคาร Kantha Bopha Center ประเทศกัมพชู า ....... 58
31 ภายในคอรท ดา นใน เห็นสเปซท่เี ปด โลงเช่ือมตอ ถึงกนั Kantha Bopha Center
ประเทศกมั พชู า.......................................................................................... 59
32 บริเวณทางเดนิ ดานหลังของหองประชมุ เหน็ องคประกอบของพืน้ ผวิ วสั ดุ
Kantha Bopha Center ประเทศกัมพูชา ...................................................... 60
33 แสดงแผนทีต่ งั้ ของมลู นิธิเพอื่ นหญิง................................................................... 64
34 แสดงสาํ นักงานศาลยตุ ิธรรม ฝงตรงขา มเยอ้ื งกบั ทางเขา มลู นธิ เิ พื่อนหญงิ .......... 66
35 แสดงบรเิ วณทางเขา ของมูลนธิ เิ พื่อนหญงิ ........................................................... 66
36 ภายในซอยรชั ดาภิเษก 42 ซง่ึ เปนแหลงชมุ ชนและบานพกั อาศัย ........................ 67
37 แสดงปา ยบอกของมลู นิธิเพ่อื นหญงิ ................................................................... 67
38 แสดงภาพอาคารสํานักงานมลู นิธิเพื่อนหญงิ ....................................................... 68
39 ทางเขา ดานหนาของมูลนิธเิ พ่อื นหญิง................................................................. 68
40 ทางเขา ทีส่ องของมูลนิธิเพอ่ื นหญิง เปนทางเขาสาํ หรับผูม าปรกึ ษาทางดาน
กฎหมาย..................................................................................................... 69
41 บรเิ วณทัง้ สองขางของอาคารมลู นธิ เิ พือ่ นหญงิ เปน พน้ื ทโี่ ลงมตี น ไม
ปกคลุม ....................................................................................................... 69



ภาพที่ หนา
42 บริเวณฝง ตรงขามกบั มลู นิธิเพอื่ นหญงิ เปน พน้ื ทโ่ี ลง ซึ่งตดิ กบั บานพกั อาศัย..... 70
43 พ้นื ที่โลง ซ่ึงถายจากมมุ มองจากดานบนอาคารมลู นิธเิ พ่ือนหญงิ ........................ 70
44 แรงงานหญิง ซึ่งถูกเอาเปรยี บแรงงานจากนายจา งทไี่ มเปน ธรรม ....................... 71
45 แสดงบริเวณทจี่ อดรถของมลู นิธิเพือ่ นหญงิ ........................................................ 74
46 ทางเขาหลักของอาคารมลู นธิ เิ พื่อนหญงิ ............................................................. 74
47 ทางเขา รองของมลู นิธเิ พือ่ นหญิงสาํ หรับเจา หนา ท่แี ละผทู ี่ตอ งการปรกึ ษาทนาย 75
48 บริเวณทใ่ี ชส าํ หรับใหค าํ ปรกึ ษาของมลู นธิ ิเพอ่ื นหญงิ ........................................ 75
49 หองประชมุ สําหรบั 10 คนของมลู นิธเิ พือ่ นหญงิ ............................................... 76
50 หอ งประชุม สําหรับ 20 คนของมลู นธิ เิ พอ่ื นหญิง ............................................... 76
51 หอ งพักชว่ั คราว สําหรบั ผูถกู ทํารา ยของมลู นธิ เิ พอื่ นหญงิ ................................... 77
52 หองสมุดของมลู นธิ ิเพอื่ นหญงิ ............................................................................ 77
53 แสดงการจดั เก็บหนังสอื อยา งเปน หมวดหมูภ ายในหอ งสมดุ มลู นธิ เิ พอ่ื นหญงิ .. 78
54 มมุ มองจากสว นเตรียมอาหาร สสู วนพกั ผอ นดานนอกของมูลนิธเิ พ่ือนหญิง ..... 78
55 ฝายประชาสมั พนั ธข องมูลนธิ ิเพอื่ นหญงิ ............................................................ 82
56 ฝา ยระดมทนุ ของมลู นธิ เิ พื่อนหญิง...................................................................... 83
57 ฝา ยขอมูล วชิ าการ และการเผยแพรข องมลู นิธิเพ่อื นหญงิ .................................. 84
58 ฝายการเงนิ ของมูลนธิ ิเพ่ือนหญงิ ........................................................................ 84
59 ฝายศนู ยพทิ กั ษ (ทนาย) ใหค ําปรกึ ษาของมลู นิธเิ พ่ือนหญิง ................................ 85
60 ฝายแรงงานของมลู นธิ ิเพือ่ นหญิง........................................................................ 86
61 ฝายศนู ยพิทกั ษค วามรุนแรงเพอ่ื ชมุ ชน (หมุนเวยี น)ของมลู นธิ เิ พอื่ นหญิง .......... 87
62 แสดงสงิ่ แวดลอ มโดยรอบพนื้ ท่ีมูลนิธิเพอื่ นหญิง ............................................... 94
63 แสดงผังบรเิ วณโดยรอบมูลนิธิเพ่ือนหญิง........................................................... 94
64 แสดงผงั บรเิ วณของพ้นื ทใี่ ชส อยภายใน ชนั้ 1 ของมูลนิธเิ พื่อนหญงิ ................... 95
65 แสดงภาวะของเพศหญิง ซึ่งมูลนธิ เิ พือ่ นหญิงใหความชว ยเหลอื
ทางดานกฎหมายและสังคมสงเคราะห ...................................................... 96
66 แสดงการแปลความหมายสสู ญั ลักษณ เพอ่ื งานออกแบบสถาปต ยกรรมภายใน.. 97
67 พืน้ ท่ีของโครงการ 3385 ตร.ม. โดยมีพ้ืนทส่ี เี ทาเปน พน้ื ท่ใี ชส อยภายใน........... 98
68 แสดงการเช่อื มและความตอเน่ืองของพนื้ ทโี่ ดยมธี ยานะเปนตวั เช่ือม................ 99



ภาพท่ี หนา
69 แสดงลักษณะการจัดวางตวั อาคารเพื่อสอดคลอ งกบั แนวความคิดของธยานะ
และมลู นิธิเพอ่ื นหญิงของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรม
ภายใน” ...................................................................................................... 100
70 แสดงทางเดนิ และการเชือ่ มตอ ของพ้ืนทีใ่ ชส อยภายในโครงการ “ธยานะภาวะ
ในงานสถาปตยกรรมภายใน” ............................................................................. 101
71 แสดงผงั บริเวณของพืน้ ท่ีโดยรอบโครงการ “ธยานะภาวะ
ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”.................................................................... 101
72 แสดงสถาปต ยกรรมภายนอกโครงการ “ธยานะภาวะในงานสถาปต ยกรรม
ภายใน” ...................................................................................................... 102
73 แสดงสถาปตยกรรมภายนอกโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรม
ภายใน” ...................................................................................................... 102
74 แสดงทศั นียภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน” ...... 103
75 แสดงทศั นยี ภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน” ...... 103
76 แสดงทัศนียภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน” ...... 104
77 แสดงทัศนียภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน” ...... 104
78 แสดงทัศนยี ภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน” ...... 105
79 แสดงทศั นียภาพของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน” ...... 105
80 แสดงทางเขา หลักและผงั การวางเคร่อื งเรอื น ของตกึ ซาย ช้นั 1 ของโครงการ
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”............................................. 107
81 แสดงทศั นยี ภาพทางเขา หลกั โครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรม
ภายใน” ...................................................................................................... 108
82 แสดงทัศนียภาพหอ งประชมุ 20 คนของโครงการ “ธยานะภาวะ
ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”.................................................................... 108
83 แสดงทางเขาหลกั และผังการวางเคร่อื งเรอื น ของตกึ ซา ย ช้ัน2 ของ
โครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”............................. 109
84 แสดงมุมมองจาก ชน้ั 2 ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรม
ภายใน” สทู างเขา หลกั ของอาคาร .............................................................. 110



ภาพที่ หนา
85 แสดงมุมมองหอ งสําหรับอา นหนังสือและพ้นื ทสี่ เี ขียว บรเิ วณ ชนั้ 2 ของ
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”…………………...……….. 110
86 แสดงทางเขา รองและผังการวางเครอ่ื งเรือน ของตกึ ขวา ชัน้ 1 ของโครงการ
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”.............................................. 111
87 แสดงการจดั แบง ฝายการปฏิบัติงานของเจา หนา ท่ีมลู นิธิเพื่อนหญิง ................... 112
88 แสดงทศั นยี ภาพทางเขา รองของตึกขวา ชน้ั 1 ของโครงการ
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”.............................................. 113
89 แสดงทศั นียภาพบริเวณฝายประชาสมั พันธข องตึกขวา ชั้น1 ของโครงการ
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน”.............................................. 113
90 แสดงบริเวณปฏบิ ัติงานของเจาหนา ทีม่ ลู นธิ ิเพอ่ื นหญงิ ของตกึ ขวา ชน้ั 1
ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน” ....................... 114
91 แสดงสวนใหค าํ ปรกึ ษาสาํ หรับผูถกู ทาํ รา ยและสวนพกั ผอ นสาํ หรับเจา หนาท่ี
มลู นิธเิ พ่ือนหญงิ (มมุ มองท่ี 1)ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถา
ปตยกรรมภายใน”...................................................................................... 114
92 แสดงสว นใหค ําปรกึ ษาสาํ หรับผถู กู ทํารา ยและสว นพักผอ นสําหรบั เจา หนาที่
มูลนิธเิ พือ่ นหญงิ (มุมมองท่ี 2)ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถา
ปต ยกรรมภายใน”...................................................................................... 114

93 แสดงบรเิ วณเก็บและคน หาขอ มูลและบริเวณทางขนึ้ ชน้ั 2สําหรบั เจาหนาที่ 115
มลู นธิ ิเพอ่ื นหญงิ ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงาน 115
สถาปตยกรรมภายใน” ............................................................................... 117
117
94 แสดงหอ งประชุมสาํ หรับ 10ทีน่ ง่ั ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงาน 121
สถาปตยกรรมภายใน” ...............................................................................

95 แสดงผงั การวางเครื่องเรอื นบริเวณชนั้ 2 ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงาน
สถาปต ยกรรมภายใน” ...............................................................................

96 แสดงบริเวณทางเขา จากทางเชื่อมอาคารตกึ ซายสหู อ งสมุดตึกขวาของ
โครงการ“ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”...............................

97 แสดงบรเิ วณภายในของหองสมดุ ทม่ี ีการเชอื่ มตอระหวางภายนอกและภายใน
สามารถใชเ ปน สถานที่คน ควาซง่ึ สงบดวยธรรมชาติ .................................



ภาพท่ี หนา
98 แสดงสีและพนื้ ผวิ ของผนังคอนกรีตของโครงการ “ธยานะภาวะ 119
ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”.................................................................... 121
99 แสดงทัศนียภาพบรเิ วณฝา ยประชาสมั พันธข องตกึ ขวา ชน้ั 1 ของโครงการ 121
“ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน” .............................................
100 แสดงบรเิ วณปฏบิ ัติงานของเจาหนา ทมี่ ูลนธิ ิเพ่อื นหญิงของตึกขวา ชั้น 1 122
ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรมภายใน” ...................... 122
101 แสดงบรเิ วณภายในของหอ งสมุดทม่ี กี ารเชอ่ื มตอ ระหวา งภายนอกและ
ภายใน สามารถใชเ ปน สถานท่ีคน ควาซ่งึ สงบดว ยธรรมชาต“ิ ธยานะภาวะ
ในงานสถาปต ยกรรมภายใน”....................................................................
102 แสดงมมุ มองของหองสมดุ ของโครงการ “ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรม
ภายใน” ......................................................................................................



สารบาญแผนภาพ

แผนภาพท่ี หนา
1 โครงสรา งการทาํ งานมูลนิธิเพื่อนหญิง ............................................................... 17
2 ทิศทางของจดุ เริ่มตนและจดุ สิน้ สุดของธยานะ................................................... 32
3 แสดงการวเิ คราะหความสําคญั ของสถานที่ตั้งโครงการ...................................... 65
4 แสดงแนวทางการแกปญหา................................................................................ 90
5 แสดงความสมั พันธร ะหวาง “ธยานะ” สูงานออกแบบ ....................................... 90
6 แสดงปญหาทางสงั คมซ่ึงสงผลตอเพศหญงิ ทง้ั ทางดา นรา งกายและจิตใจ.......... 91
7 แสดงหนทางแกไ ขปญ หา ท้ังทางดานรางกายและจติ ใจ..................................... 91
8 แสดงผลท่ีเกดิ ข้นึ หลังจากการแกป ญหาดว ย “ธยานะ” ....................................... 92
9 “ธยานะ” เปนเกราะปอ งกนั และคมุ ครองจติ จากภยั ตาง ๆ ................................. 92
10 แสดงการเขา ถงึ ธยานะและจดุ ปลายทางของธยานะ............................................ 93
11 แสดงความตอเน่อื งของพ้ืนทใ่ี ชสอยภายในของมลู นธิ ิเพ่อื นหญิง...................... 95
12 แสดงวฎั จกั รของธยานะอยางทีม่ จี ดุ สน้ิ สดุ ......................................................... 99
13 แสดงโครงสรา งของพ้นื ท่ใี ชส อยภายในโครงการ “ธยานะภาวะ
ในงานสถาปตยกรรมภายใน” .................................................................... 106



บทท่ี 1

บทนาํ

ความเปนมาและความสําคัญของปญ หา

เมื่อจิตสงบแนวเรียบสนิท จะคิดพิจารณาส่ิงใด เร่ืองใด ก็มองเห็นงายเขาใจชัดเจนเมื่อเขาใจ
ธรรมชาติของสิ่งทั้งหลาย รูเทาทันธรรมดาของความเปนไปตามเหตุปจจัย จิตใจก็หายเรารอน
กระวนกระวาย สงบ ผอ งใส เปนอิสระปลอดกิเลส ไรทุกข เปนประโยชนสูงสุดของชีวิต ถึงแมยัง
ไมใ ชปญญา เพยี งแตสมาธิอยางเดยี ว เกดิ ขึ้นเมื่อใดจติ ใจก็สงบผอ งใส มคี วามสุข ดับกิเลสดับทุกข
ไดช่ัวคราว ตลอดเวลาท่ีสมาธินั้นยังคงอยู สมาธิเปนเพียงวิธีการเพ่ือเขาถึงจุดหมายไมใชตัว
จุดหมาย ผูเริ่มปฏิบัติอาจตองปลีกตัวออกไปมีความเก่ียวของกับชีวิตสังคมนอยเปนพิเศษ เพื่อ
การปฏิบัติฝกอบรมระยะหนึ่ง แลวจึงออกมามีบทบาทในทางสังคม ตามความเหมาะสมของตน
ตอไป อีกประการหน่ึง การเจริญสมาธิโดยท่ัวไปก็มิใชจะตองมาน่ังเจริญอยูทั้งวันท้ังคืน และวิธี
ปฏิบตั กิ ็มมี ากมาย เลือกใชไดตามความเหมาะสมกับจรยิ า (ป. อ. ประยุทธ ปยตุ โฺ ต 2546 : 1)

ภายใตก ารเจรญิ เติบโตทางดานวัตถุทีค่ รอบงาํ ชีวติ และจิตใจของคน ในสภาวะแวดลอม
ของสภาพสังคมปจ จบุ ัน การเปล่ียนแปลงทางสังคมมผี ลมาจากการขยายตวั ภายใตร ปู แบบเศรษฐกิจ
ของระบบทุนนิยมหรือรูปแบบอ่ืน ๆ ซ่ึงมนุษยไมสามารถปฏิเสธความตองการปจจัยข้ันพ้ืนฐานได
สภาพสังคมดังกลาวกอใหเกิดสภาวการณท่ีบีบรัดธรรมชาติของมนุษย รวมถึงความกดดันจากแรง
ปะทะจากภายนอกสภู ายใน

ปจจัยดังกลาวกอใหเกิดเสนทางของความคิดหลายแงมุม บางสามารถกลืนหายตาม
กาลเวลา บางกลับโตม าดว ยแรงเทา ความแตกตางของความรูสึกที่เกิดข้ึนภายในจิตใจยอมเปนเสน
ขนานทางความคิด สภาพแวดลอมจึงมีผลตอการหลอหลอมและปลูกฝงจิตสํานึกของการดําเนิน
ชวี ิตตอ ไปในอนาคต

เหตุการณท่ีเกิดขึ้นภายใตแรงกดดันและความคาดหวังจากภาวะของสังคมไดสะทอน
ใหเ ห็นถึงเบ้อื งลกึ ของสภาพจติ ใจที่ถกู บบี คัน้ โดยเฉพาะเพศหญิง ความออนลา ทัง้ สภาพรางกายและ
จิตใจยอมเกิดขึ้นขนานไปพรอมกับการพัฒนาอันรวดเร็วของสังคม สภาพของสังคมในปจจุบันทํา
ใหเกิดผลกระทบตอภาวะทางจิต ซ่ึงสงผลตอรางกายโดยตรง การพัฒนาทั้งทางดานรางกายและ

1

2

จิตใจใหเขมแข็งจึงเปนเกราะปองกันธรรมชาติของมนุษย เพ่ือสามารถกาวสูสภาวะของสังคมที่มี
ขนาดใหญข้ึนตามลําดับ หนวย – สิบ – รอย – พัน … การสรางความสมดุลท้ังทางดานรางกายและ
จิตใจใหสามารถยืดหยุนตามสภาพแวดลอมทางกายภาพอยางมีสติและสมาธิ พรอมผสานกายที่ยัง
เคล่ือนไหวกับจิตที่ต้ังมั่น เพ่ือชีวิตจะสามารถดําเนินไปตามจิตที่บริสุทธิ์ ซึ่งเปนการกลับคืนสู
จุดเริม่ ตน ของมนุษยได

เมื่อผลท่ีไดรับจากสภาวการณของสังคมทําใหเพศหญิง ซ่ึงเปนเพศท่ีบอบบางไดรับ
ผลกระทบตอภาวะทั้งทางดานรางกายและจิตใจ ซึ่งในปจจุบันมีองคกรท่ีคอยใหความชวยเหลืออยู
เชน มูลนิธิเพื่อนหญิง เปนตน ภาวะของบุคคลและบุคลากรในสังคม เกิดความบกพรองจากปญหา
ตาง ๆ ท่ีรุมเรา เปนเหตุใหคนในสังคมตองการภูมิคุมกัน สําหรับการเจริญชีวิตที่ม่ันคงดํารงอยูดวย
ความสงบสุข ภายใตความสับสนวุนวายท่ีเกิดขึ้น “ธยานะ” จึงเปนหนทางหน่ึงในการปรับสภาวะ
ทางจิตใหมีความสมดุลกับสภาวะของรางกาย โดยมีสถาปตยกรรมเปนสื่อกลางเพ่ือเช่ือมโยงภาวะ
ตาง ๆ ใหประสบผลสําเร็จในเชิงปฏิบัติ

จุดมงุ หมายและวัตถุประสงคของการศกึ ษา

1. เพ่ือศึกษาความหมายและความสาํ คัญของ “ธยานะ” ทางพระพทุ ธศาสนา
2. ศึกษาสภาวะของ “ธยานะ” เพื่อใชเปนปจจัยในการสรางเกราะปองกันภาวะรางกาย
และจติ ใจของบคุ ลากรภายในองคกรมูลนธิ เิ พอ่ื นหญิง
3. ศึกษาแนวทางการใชความหมายของ “ธยานะ” ในงานสถาปตยกรรมภายในท่ีจะ
สงผลตอ การสรา งความสมดุลของรางกายและภาวะจิตของบุคลากรภายในองคกรมลู นธิ เิ พ่ือนหญงิ

ขอบเขตของการศึกษา

วิทยานิพนธน้ี มุงศึกษาเร่ือง “ธยานะ” และภาวะของสมาธิเพ่ือเสริมสรางภาวะความ
สมดุลท้ังทางดานรางกายและจิตใจ รวมถึงรูปแบบและลักษณะการถายทอด “ธยานะ” สูงาน
สถาปตยกรรมภายในที่เหมาะสมตอการเจริญชีวิตอยางมีสติของบุคลากรภายในองคกรของมูลนิธิ
เพ่อื นหญงิ

3

ข้ันตอนของการศกึ ษา

รายละเอียดของขัน้ ตอนการศึกษามีดงั น้ี

1. ภาคการศกึ ษาขอมลู
1.1 ทําการศึกษาคนควาและเก็บรวบรวมขอมูลจาก เน้ือหาปรัชญาทาง

พระพุทธศาสนาเร่ือง “ธยานะ” การรวบรวมเนื้อหาสามารถทําไดทั้งจากการเรียนรูท่ีผานการศึกษา
ที่มเี น้อื หาทเ่ี ก่ยี วขอ ง จาการสอบถามจากผูรทู ี่มปี ระสบการณ และการทดลองปฏิบตั ดิ ว ยตนเอง

1.2 ทําการศึกษาคนควา เปรียบเทียบและเทียบเคียงกับงานวิจัยอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของ
เชน หนังสือท่ีเกี่ยวของกับธยานะหรือการปฏิบัติสมาธิ คํากลาวสําคัญที่เกี่ยวของกับธยานะ
คําแนะนําจากอาจารยท ่ปี รึกษาและผมู ีประสบการณ จากผคู น ควา วจิ ัยเก่ยี วกับการสมาธิ

1.3 ต้ังโจทยหรือประเด็นที่ตองการทําเพ่ือการเรียนรูภายในโครงการ สามารถ
จํากัดพื้นที่ใชสอยภายในสําหรับงานออกแบบใหแนนอน เพ่ือประโยชนตองานออกแบบใน
ขั้นตอนสุดทา ย

1.4 พิจารณาเกณฑการเลือกพ้ืนที่ต้ังโครงการ โดยมีท่ีมาจากการศึกษาวิเคราะห
ขอมูลที่เกี่ยวของกับธยานะทางพุทธปรัชญาและจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ดังน้ัน
พื้นท่ีต้ังของโครงการจึงสามารถตอบรับไดดีจากขอมูลท่ีศึกษา อีกทั้งยังสามารถตอบรับไดดีกับ
ประโยชนตอ บรบิ ทโดยรอบอกี ดวย

2. ภาคการออกแบบ
2.1 รวบรวมและวิเคราะหขอมูลที่มาท้ังหมด สรุปจัดทําเปนรายละเอียดของ

โครงการ
2.2 การวางผังแบบและวางตําแหนงสวนพ้ืนที่ตาง ๆ ใหมีความเกี่ยวเน่ืองสัมพันธ

เหมาะสม และสามารถสรางความสมดุลเปนไปตามแนวคิดท่ีกําหนดไว จึงปรับปรุงเปล่ียนแปลง
เพ่ือใหเกิดความเหมาะสมกบั ลกั ษณะของโครงการ โดยคํานึงถึงหลักปรัชญาท่ีนํามาใชในโครงการ
เปนสําคัญ และสามารถนําแนวความคิดสูงานออกแบบจากนามธรรมสูรูปธรรมทางการออกแบบ
ไดอยางชัดเจน

3. ภาคการนําเสนอผลงาน
นําเสนอผลงานเพื่อเปนการสรุปและเสนอแนะโครงการในลักษณะที่สมบูรณ

ครอบคลุมกับประเดน็ หรือกรอบทกี่ าํ หนดไว เชน
3.1 ถา ยทอดจากแนวความคดิ สงู านออกแบบ ซึ่งเปนลกั ษณะของผังภาพ

4

3.2 หุนจําลอง ซ่ึงสามารถส่ือถึงผลงานในลักษณะของ 3 มิติ ซ่ึงถายทอด
แนวความคิดจาการศึกษาขอมูลและทําการแปรรูปออกมาในรูปแบบท่ีสามารถนําไปพัฒนาใชกับ
งานออกแบบขั้นสมบรู ณต อไป

3.3 การวางผงั แปลน ที่สอดคลอ งกบั หลักปรชั ญาท่ที าํ การศกึ ษา
3.4 รปู ทศั นียภาพภายในโครงการ

สมมติฐานของการศึกษา

“ธยานะ” เปนเคร่ืองมือที่สามารถบ่ันทอนมลพิษทางใจเพ่ือกายที่ม่ันคง สามารถดําเนิน
ชีวิตอยางปกติสุข และสามารถถายทอด “ธยานะ” เปนรูปแบบของงานสถาปตยกรรมภายใน ซ่ึง
เปนลักษณะของสภาพแวดลอมที่มีสวนชวยในการสรางเกราะปองกัน พรอมบําบัดรางกายและ
จิตใจใหเ ขม แขง็ ได

ประโยชนท่คี าดวาจะไดร ับ

1. เขาใจถึงปญหาที่เกิดข้ึนในสภาพของสังคมปจจุบันและทราบถึงวิธีแกไขเพื่อดํารง
อยรู วมกันในสงั คมอยางสงบสุข

2. มูลนิธิเพ่ือนหญิงและหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนําไปใชเพ่ือเปนขอมูลสําหรับ
การพัฒนารางกายควบคูกับการพัฒนาทางดานจิตใจใหเกิดความสมดุล โดยมีองคประกอบของ
สภาพแวดลอมทางกายภาพ รวมถึงลักษณะขององคกร เพื่อเปนส่ือกลางในการชวยเหลือพัฒนา
สภาพของจิตใจใหม ีความเขม แขง็ พรอมที่จะยนื หยดั ในสงั คมปจจบุ นั ไดอ ยา งเปนสุข

3. ทราบถึงข้ันตอนการสรางงานสถาปตยกรรมภายในที่สามารถสะทอนความหมาย
ของคาํ วา “สงบ” ดว ย “ธยานะ”ได

คาํ จํากดั ความท่ใี ชใ นการศกึ ษา

ธยานะ หมายถึง สมาธิจิตที่สงบนิ่ง แนวแน ในภาษาสันสกฤต หรือ คําวา ฌาน ใน
ภาษาบาลี จีนทับศัพทคําน้อี านวา ฉาน ออกเสียงเปนภาษาแตจิ๋ววา เซี้ยง หรือ เซ้ียม ภาษาญี่ปุนออก
เสียงอักษรจีนคํานี้วา เซน (ล. เสถียรสุด 2519 : 17) คําวา ธยานะ มีรากศัพทมาจากคําวา ธโย

5

แปลวา คนคิด (โกมุที ปวัตนา 2533 : 125) การเพงอารมณจนใจแนวแนเปนสมาธิ ภาวะที่จิตสงบ
นิ่ง หรอื กระบวนการท่ีทาํ ใหจ ติ สงบนงิ่ (พระธรี วัฒน บญุ ทอง 2546 : 10)

ภาวะ หมายถึง ความมี, ความเปน, ความปรากฏ, ความเกิด (พจนานุกรมนักเรียนฉบับ
เพิม่ คําศพั ทปรบั ปรงุ ใหม 2529 : 322)

สมาธิ หมายถึง ความแนวแนเปนหน่ึงเดียวของจิต ความต้ังม่ันของจิต หรือภาวะที่จิต
แนวแนตอสิ่งที่กําหนด คําจํากัดความของสมาธิท่ีพบเสมอ เชน จิตตัสเสกัคคตา หรือเรียกส้ัน ๆ
วา เอกัคคตา ซึ่งแปลวา ภาวะท่ีจิตมีอารมณเปนหนึ่ง คือ การท่ีจิตกําหนดแนวแนอยูกับส่ิงใดสิ่ง
หน่ึง ความมีใจต้ังมั่น หรือความมีอารมณเปนหนึ่งเดียว จิตแนวแนไมหว่ันไหว เดินเรียบ อยูกับกิจ
ไมว อกแวก ไมสาย ไมฟงุ ซา น ความตั้งม่นั แหง จติ เปน การทําใหใ จสงบ การมจี ิตแนวแนอ ยใู นสิ่งใด
สิ่งหน่ึง โดยเฉพาะมักใชเปนคําเรียกงาย ๆ สําหรับอธิจิตตสิกขา (ป. อ. ประยุทธ ปยุตฺโต 2538 :
824)

บทที่ 2

วรรณกรรมและทฤษฎีทีเ่ ก่ียวของ

การศกึ ษาเอกสารทเ่ี กี่ยวของกบั ธยานะในพระพุทธศาสนา

ความหมายของธยานะ พทุ ธทาสภกิ ขุกลา วไวใ นหนงั สือ “เวย หลาง” ความวา

ธยานะ หมายถึง การหลุดพนจากความพัวพันดวยอารมณภายนอกทุกประการ เพื่อเขาถึง
ความสงบภายใน ถาเราพัวพันอยูกับอารมณภายนอก จิตภายในก็จะปนปวน เม่ือเราหลุดจาก
การพัวพันดวยอารมณภายนอก จิตก็จะต้ังอยูในศานติ จิตเดิมแทของเราเปนของบริสุทธิ์อยาง
แทจริง แลวเหตุผลที่วา ทําไมเราจึงปนปวนเพราะเรายอมตัวใหอารมณ ซึ่งแวดลอมเราอยูลาก
เอาตัวเราไป ผูที่สามารถรักษาจิตของตนไวไมใหปนปวน ไมวาจะอยูในทามกลางสิ่งแวดลอม
ชนิดไหน ท่ีกลาวมาเหลาน้ี นั่นแหละชื่อวาไดบรรลุถึงสมาธิ การเปนอิสระไมพัวพันดวย
อารมณภ ายนอกทุกอยาง ชื่อวา ธยานะ การลุถึงศานติในภายใน ช่ือวา สมาธิ เมื่อใดเราอยูในฐานะ
ที่จะปฏิบัติฌาน ดํารงจิตในภายในใหตั้งอยูในสมาธิ เมื่อนั้นเช่ือวา เราไดลุถึงธยานะและ
สมาธิ ขอความในโพธิสัตวสีลสูตร มีอยูวา จิตเดิมแทของเรานั้นเปนของบริสุทธิ์อยางแทจริง
(พทุ ธทาสภกิ ขุ 2520 : 65-66)

ในคัมภรี ศรู างคมสตู ร ไดใหค วามหมายของคําวา ธยานะ ไวว า

ธยานะ หมายถึง การศึกษาการเขาฌาน การขจัดความมีอยูเพ่ือเขาถึงจิตเดิมแท (Essence of
Mind) อันหมายถึง จิตที่ไมมีอะไรปรุงแตงและอะไรปรุงแตงไมได ซึ่งจิตเดิมแทน่ันแหละ คือ
อมิตาภะ หรือ อมิตายุ โดยพื้นฐานท่ีแทจริงแลว จิตที่สมบูรณแหงพระตถาคตนั้น เปนจิตท่ีไม
ประกอบดวยกองธาตุแหงความวาง กลาวคือ ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุลม และธาตุไฟ ไมประกอบไป
ดวย ตา หู จมูก ลิ้น กาย สติปญญา ไมมีรูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ ไมมองเห็น
ความรูสึกของบริเวณอื่น รวมท้ังสติปญญาของสิ่งนั้น การตรัสรูจึงไมไดรับความสวาง จึงเปน
เครื่องผูกพันรวมท้ังความแกและความตาย การตรัสรูแหงความไมสิ้นสุด จึงเปนสิ่งที่ไมไดรับ
ความสวางเก่ียวดองกับสิ่งอื่น ไมมีความทุกขยาก ไมไดสะสมกองทุกข แนวทางแหงกิเลสก็ทําให
หมดส้ินไมสุขุม ทรัพยสมบัติท่ีไดมาทําใหเปนจริง ไมทํากุศลทาน ไมมีวินัย ไมมีวิริยะ ความ
กระตือรือรน ไมมีความอดทน ตลอดทั้งสมาธิ (ธยานะ) ปญญา ไมมีบารมี ไมมีสิ่งที่ทําใหเทา

6

7

เทียมกับพระตถาคตได พระอรหันตสัมมาสัมโพธิญาน บรมสุข คือ ความเย็นแหงพระนิพพาน นี้
เปนความจริงที่ไมสิ้นสุด ไมใชความสุขสําราญ ไมมีตัวตน ไมมีความบริสุทธิ์ (The Surangama
Sutra 1973 : 95)

ธยานะ จึงเปนสภาวะของจิตขณะท่ีจิตวางเปลา สงบน่ิงแนวแนและตั้งม่ัน (สมถะ) ใน
ขณะเดียวกันก็ใครครวญตรึกตรองถึงความเปนจริงในธรรมชาติ โดยพิจารณาสรรพส่ิงทั้งหลาย
ลวนเปนทุกข ไมเท่ียง และไมใชตัวตน เพ่ือวางทาทีในการดําราชีวิต ในกระแสของความเปนจริง
นั้น (สมาปต ติ) โดยมเี ปาหมายเพอื่ ทาํ ลายกเิ ลสตัณหาและเขาถงึ สัจธรรมบรรลพุ ทุ ธภาวะ ดังนั้นธยา
นะจึงเปนสิ่งที่มีความสมบูรณในตัว นอกเหนือไปจากความสัมพันธตอส่ิงใด ๆ และขอบเขตใด ๆ
สาระที่แทจริงของการเขาถึงธยานะ คือ การยึดเอาจิตเปนศูนยกลาง เพราะเมื่อจิตสมบูรณ (เขาถึง
สภาวะวางเปลา คือ สุญญตา) ก็จะเปนมูลฐานใหเขาถึงสภาวะธรรมท่ีแท ดังน้ัน การเขาถึง
แหลงกําเนิดแหงจิตอันสมบูรณจึงเปนเงื่อนไขของการเขาถึง ธยานะ การเขาถึงธยานะ เหมือนกับ
การด่ืมน้ํา จะรูไดวา น้ําน้ันจะเย็นหรือรอนประการใด ตองดื่มเองเทานั้นจึงจะทราบได ฉันใด ธยา
นะ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน และเปนเร่ือง “จิตสืบตอจิต” ซึ่งเปนวิธีหนึ่งของการสืบตอของเซน โดยเชิง
ทั่วไป ก็นับวาเปนวิธีที่ดีวิธีหน่ึง เพราะเปนเร่ืองนําเอาประสบการณจากสัญชาติญาณของคนหนึ่ง
มามอบใหแกอ กี คนหน่ึง โดยใหผูรบั ไดประสบการณท เ่ี หมือนกนั (The Surangama Sutra 1973 : 3)

กลาวโดยสรุป คําวา ธยานะ เปนหลักคําสอนสําคัญในการปฏิบัติ เพื่อพัฒนาจิตให
เขมแข็งและปรับจิตใหสะอาดบริสุทธ์ิหลุดจากความพัวพันดวยอารมณภายนอกทุกอยาง ดํารงจิต
ภายในใหต้ังอยูในสมาธิ อันจะอํานวยประโยชนตอการดําเนินชีวิต ควบคูกับสภาวะของการ
เจริญเติบโตของสังคม การมีสมาธิบริบูรณ จะเปนผูมีสติสมบูรณ เม่ือจิตเปนสมาธิหน่ึงท่ีแนวแน
แลว ก็จะเกิดปญญาไดโ ดยงา ย เพราะจิตสงบไมห ว่นั ไหว ไมก ระเพือ่ มไปตามกระแสแหง โลก

การศึกษาธยานะ จึงเปนหนทางหนึ่งเพื่อการปฏิบัติดวยตัวเอง หมายถึงการฝกหัดจิตใจ
หรือการอบรมจิตใจใหสงบ สงัด และสวาง จากความทุกข เราสามารถเรียกวา การบริหารจิตและ
การพัฒนาจิต ซึ่งหมายถึงการรูจักการรักษาคุมครองจิตดวยวิธีฝกอบรมอยางสมํ่าเสมอ เพ่ือลดละ
ความวุนวาย และความเครยี ดทีเ่ กดิ กบั รา งกายและจิตใจของเรา ใหเ กิดความเขมแข็ง นาํ มาใชในการ
ปฏบิ ตั งิ านทกุ อาชีพและกอใหเกิดสุขภาพจิตที่ดี มีความมั่นใจและสุขใจในทุกกาลเทศะ เพราะจิตที่
พฒั นาดีแลว ยอ มมคี วามสงบสุข ประกอบกรรมดเี ปนประโยชนแกสว นรวมและแกต นเอง

8

ข้ันตอนและวธิ ขี องธยานะ

ธยานะ เปน การนําหลกั สมาธิ ตลอดถึงการฝกฝนทางจิตใหมีความสัมพันธกับกาย โดย
การเผชิญหนากับความจริงดวยทาทีแหงจิตและอนัตตา โดยละสิ้นถึงเปาหมายดวยจิตอันสงบ
ทามกลางความจริงโดยไมมีเง่ือนไข เมื่อคนเราไปยึดมั่นถือมั่นอยูกับสิ่งตาง ๆ แมแตการยึดม่ันอยู
กับการฝกปฏิบัติธรรมของตน จิตใจของเราก็จะไมสงบ และตองการหาสัจธรรมตอไปอยางไมมีที่
ส้ินสุด สติจึงเปนเคร่ืองมืออยางเดียวของมนุษยที่สามารถขจัดความคิดปรุงแตงใหทะลวงพังทลาย
ลงมา เปรียบเหมือนกับเราตองการเจาะแผนไมกระดานใหเปนวงกลมตรงกลาง และเรามีเคร่ืองมือ
เพียงชนิ้ เดยี วคอื สวา น สิ่งท่ีเราจะตองทําก็คือใชสวานเจาะไมกระดานใหเปนรูปวงกลม คร้ังแรกเรา
อาจจะเจาะหา ง ตอ มาเราจะเจาะถขี่ น้ึ ๆ จนกระทั่งรูสวานเรียงตัวกันครบเปนรูปวงกลม ไมกระดาน
ตรงกลางจะหลดุ ออกมาเปน รปู วงกลมทันที การเจรญิ สตทิ ตี่ อเน่อื งคือ สมาธิท่ีแท

...ความสุขอันเกิดจากจิตสงบ เปนความสุขที่ซื้อหามาดวย ราคาถูกท่ีสุด แตกลับมีคุณคา
มหาศาลย่ิงกวาสมบัติพัสถานใด ๆ ทั้งสิ้น ความสุขของจิตที่แทจริง จะเกิดขึ้นกับบุคคลท่ีหม่ัน
ฝก ฝนหรืออบรมจิตอยเู สมอ... (พระภาวนาวิสุทธคิ ุณ 2535 : 11)

พระตชิ นทั ฮนั ห ซ่ึงเปนพระชาวเวียดนาม ไดกลาวไวในเรื่อง “ปาฏิหาริยแหงการตื่น
เสมอ” วา

ในมหาสติปฏฐานสูตรท่ีใชเจริญสติสัมปชัญญะในเวลาการทํางานตาง ๆ ลวนแลวแต
กลาวถึงการบําเพ็ญสมาธิ เพื่อใหเขาใจในเร่ืองความเปนเหตุเปนปจจัยของกันและกัน ซึ่งตอง
ปฏิบัติอยูเสมอ เชน เมื่อต่ืนนอนตอนเชา ทานสอนใหนึกในใจกอนอื่นใดวา ฉันต่ืนแลว เม่ือเดิน
อยูย อ มรูช ัดวา เราเดินอยู เม่อื ยืนอยูยอมรชู ัดวา เรายืนอยู เมอ่ื นัง่ อยยู อมรูชัดวาเราน่ังอยู แมตั้งกายไว
ดวยอาการใด ๆ ยอมรูถึงกายน้ัน แลวเราตองมีสติรูพรอมถึงลมหายใจเขาออกแตละคร้ัง การ
เคล่ือนไหวแตละหน ความคิดทุกความคิด ความรูสึกทุกความรูสึก พูดงาย ๆ คือ มีสติรูสึกตัวทั่ว
พรอมถึงทุกสิ่งที่เน่ืองกับตัวเรา ดังน้ันวิถีทางแหงสติ จึงเปนทั้งมรรคและผลในเวลาเดียวกัน เม่ือ
เราฝกสติเพื่อใหไดสมาธิ สติก็เปนมรรค แตตัวสติเองก็เปนหัวใจของความตื่น ความเบิกบาน สติ
จึงเปนผลดวย การมรสติก็คือการมีชีวิต สติจึงชวยใหเราปลอดจากความหลงลืม และความคิด
ฟุงซานตาง ๆ ในท่ีสุดเราก็เขาใจถึงฌานปติ คือความสุขที่เราไดรับขณะอยูในสมาธิ (ฌาน) เมื่อ
ม่นั ฝกฝนสมาธบิ อ ย ๆ จะทาํ ใหเ ราสขุ กายเบาใจ สามารถทาํ ใหจิตสงบรํางับ เพื่อเขาถึงภาวะที่มีสติ
สมบูรณ (ตชิ นทั ฮนั ห 2519 : 37, 67)

9
คุณลักษณะสาํ คญั ของธยานะไดม ีบันทกึ แรกเร่มิ ดว ยอักษรพกู ันจนี ตอนหน่งึ วา
“ 1) เนน การถายทอดนอกคมั ภรี 

2) ไมย ึดติดอยูกบั ตวั อักษร
3) จต้ี รงเขาสจู ติ และ
4) เขาถงึ พทุ ธภาวะโดยการมองดธู รรมชาตแิ หงตน” (เซนไค ชิบายามะ 2526 : 33-40)
การฝกจติ ใหเ ปน สมาธนิ ี้ ผูป ฏบิ ัติสามารถเลอื กอิริยาบถในทา ตาง ๆ ไดด ังนี้ คอื
1. ทา นง่ั

ภาพที่ 1 แสดงถึงวิธกี ารปฏบิ ตั ิสมาธิ โดยการนัง่ สมาธิ

10

2. ทายืน

ภาพที่ 2 แสดงการปฏบิ ตั สิ มาธิ โดยการยืนสมาธิ

3. ทา นอน
4. ทา เดนิ เรียกวา เดินจงกรม

ภาพท่ี 3 แสดงการปฏบิ ตั ิสมาธิ โดยการเดินจงกรม

11

ทานพุทธทาสภิกขุ ไดสรุปประมวลไว 4 ขอ โดยระยะท้ัง 6 ดังกลาวคือ สติปฏฐาน 4
ซึง่ สามารถสรุปและถอดความไดด ังน้ี

อันดับแรก คือ การดูที่ลมหายใจ ลมหายใจในภาษาบาลีเรียกวา “กาย” เรียกลมหายใจ
กับกายเปนสิ่งเดียวกัน เพราะวา “กาย” หมายถึง ฝายรูปถูกหลอเล้ียงดวยลมหายใจ ดังน้ันการดูลม
หายใจ คอื ดกู าย การดกู ายหรอื การดลู มหายใจมวี ธิ ีดู 4 ขน้ั ตอน คือ

1. ดูลมหายใจยาว
2. ดลู มหายใจส้ัน
3. ดูลมหายใจทปี่ รุงแตงรางกาย
4. ดลู มหายใจทปี่ รุงแตง รางกายซ่ึงคอ ย ๆ รํางับลง ละเอยี ดลง
อันดับท่ีสอง คือ การดูเวทนา เวทนานี้หมายถึง ความรูสึก รูสึกเปนสุขเปนสุขในสมาธิ
ลมหายใจคอย ๆ ละเอียดออ นลง การดเู วทนา มวี ธิ ีดู 4 ลกั ษณะ คือ
1. ดเู วทนาที่เกดิ ขน้ึ เปน ปต ิ คือ การพอใจในการกระทําท่ีกําลงั กระทาํ อยู
2. ดูสขุ ทเี่ กิดข้นึ
3. ดปู ติและสุขทป่ี รุงแตงจิต
4. ดปู ตทิ ีป่ รุงแตง จติ นอ ยลง ๆ จนไมป รงุ แตง
อันดบั ทีส่ าม คือ การดจู ิต ซึง่ มีลกั ษณะการดู 4 ลักษณะ คือ
1. ดตู วั จิตลวนนนั้ เปนอยางไร
2. ดูจติ ทป่ี ราโมทยปต ิ วาเปนอยางไร
3. ดจู ติ ทถี่ กู ทําใหต งั้ ม่ัน ใหหยุด ใหส งบนนั้ เปน อยางไร
4. ดูจิตที่ถูกทําใหปลอ ยวางจากตัวกูของกู นิวรณ หรอื อุปกิเลส ตา ง ๆ วาเปน อยางไร
อันดับที่ส่ี คือ การดูธรรม ธรรมในท่ีน้ีหมายถึง สัจธรรมหรือความจริง มีการดู 4
ลักษณะ คอื
1. เพงดคู วามไมเท่ยี ง เปน ทกุ ข เปน อนัตตา หรือสุญญตาท่มี อี ยใู นทุกส่ิง
2. ดูความเบ่ือหนายคลายกําหนดั (วริ าคะ) ท่ีจะเกิดตามมาจากการพิจารณาดไู ตรลักษณ
3. ดคู วามไมเกดิ ของความคดิ ปรุงแตงกิเลสตณั หาตัวกขู องกู (ดนู โิ รธ)
4. ดูความวา งที่สลดั ถอนหมดในความเปนตัวกูของกู (ปฏินิสสคั คะ)
(วริยา ชนิ วรรโณ และคณะ 2548 : 121-124)

12

ประโยชนจ ากการปฎิบัติตามแนวทางแหงธยานะ

ทานพทุ ธทาสภิกขอุ ธิบายถึงประโยชนข องการปฏิบัตสิ มาธไิ ว 4 ประการ สรปุ คือ

1. เพ่อื ใหมีจติ ใจสงบสขุ ทนั ตาเห็น

2. จะมีญาณทัสนะทีพ่ เิ ศษ

3. จะมสี ตสิ มั ปชญั ญะท่ีสมบูรณ

4. จะทําอาสวะ คือ กเิ ลสใหสิ้นได

แตการะสามารถสําเร็จผลดังกลาวนี้ ทานพุทธทาสภิกขุ กลาววา มีวิธีฝกไดเฉพาะเรื่อง

กลา วคือ

ประโยชนในประการแรก หากตองการความสงบเย็นทันตาเห็น ก็จะตองฝกแบบที่จิต
สงบอยางยิ่ง ใหสมาธิเปนอัปปนาสมาธิ กระท่ังเปนฌานในที่สุด ซึ่งแปลวา ฝกไปในทางที่จะให
เปนสมาธอิ ยางสงบ

ประโยชนประการท่ีสอง หากตองการณานทัสนะ จะตองฝกไปในทางแสงสวาง ซ่ึง
เรียกวา อาโลกสัญญาทิวาสญั ญา

ประโยชนประการท่ีสาม เพ่ือใหสติสัมปชัญญะสมบูรณ จะตองมีวิธีฝกไปในทางที่จะ
คอยเฝากาํ หนดการเกดิ ขึน้ ต้งั อยู ดับไป ของเวทนาสัญญาและวิตก

ประโยชนประการท่ีส่ี คือ การทําอาสวะกิเลสใหส้ิน มีวิธีปฏิบัติเฉพาะคือ เฝาพิจารณา
การเกดิ ข้นึ แปรไป ละสลายลงของเบญจขันธ หรอื ควบคมุ การเกดิ ขึ้น ตั้งอยู การดบั ไปของตวั กขู อง
กู (วริยา ชินวรรโณ และคณะ 2548 : 124-125)

การปฏิบัติสมาธิสงผลตอสุขภาพจิตและการพัฒนาบุคลิกภาพ คือ ทําใหเปนผูมีจิตใจ
และบุคลิกลักษณะเขมแข็ง หนักแนน ม่ันคง สงบ เยือกเย็น สุภาพ นุมนวล สดชื่นผองใส
กระฉับกระเฉง กระปร้ีกระเปรา เบิกบาน งามสงา มีเมตตากรุณา มองดูรูจักตนเองและผูอื่นตาม
ความเปนจรงิ (ประยทุ ธ ปยตุ ฺโต 2536 : 15-16) ซงึ่ มีสง ผลโดยตอการดําเนินชวี ิตประจาํ วัน ดงั นี้

1. สามารถเรียนหนังสือไดผลดี ไดคะแนนสูง เพราะมีความจําแมนยํา และจําดีขึ้นกวา
แตกอน เปนความจริงที่ปรากฏชัดวา นักเรียน นักศึกษา หรือผูใดก็ตามที่สุขภาพจิตดี ยอมเรียน
หนังสอื ไดด ี สามารถทํางานไดม าก และไดผ ลดมี ีประสิทธภิ าพสูง

2. ทาํ สงิ่ ตาง ๆ ไดด ขี ้นึ ไมค อยผิดพลาด เพราะมสี ตสิ มบรู ณข ึน้
3. สามารถทํางานไดมากขึ้น และไดผลดีอยางมีประสิทธิภาพ เพราะมีจิตท่ีเปนสมาธิ
แนวแน ไมฟุงซาน ไมว อกแวก มีความตัง้ ใจในการทาํ งานใหประสบผลสาํ เร็จ ลลุ วงไปดวยดี

13

4. ทําใหโรคภัยบางอยางหายไปไดถาจิตใจมีความเขมแข็งจะสงผลใหรางกายเขมแข็ง
ดวย เพราะจิตกับกายนั้นมีความสัมพันธเก่ียวเนื่องกันอยางใกลชิดการบริหารจิตใหเขมแข็งรักษา
โรคบางอยางใหห ายไปได

5. ทําใหเปนคนมีอารมณเยือกเย็นมีความสุข มีผิวพรรณผองใส สงผลใหการดําเนิน
ชวี ติ ประจําวันเปนไปอยางสะอาด สงบและสวาง มีชีวิตท่ีมีความสุข ซึ่งในที่น้ีมิใชวามีความสุขจาก
การมีทรัพยสินเงินทองมากมายแตเปนเพราะจิตที่มีความสุข ไมขุนของ หมนหมอง จิตที่เปนสมาธิ
เปรียบประดุจดังสระหรือบงึ น้ําใหญ ไมมสี ิ่งใดรบกวนใหกระเพือ่ มไหว

6. ทําใหอยูในสังคมไดอยางปกติสุข ทําใหผูท่ีอยูรอบขางมีความสุขไปดวย ไมกระทํา
ตนเปนภาระของสังคม ไมเบียดเบียนผูอ่ืน ตรงกันขามสมารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางสงบสุข และ
ชว ยเหลอื สงั คมไดด ี ทําใหผ ูค นรอบขางมสี ุขภาพจิตท่ดี ีดวย

7. สามารถแกไขความยุงยาก และความเดือดรอนวุนวายในชีวิตไดดวยวิธีท่ีถูกตอง
เปนเรื่องธรรมดาท่ีมนุษยในสังคมยอมตองประสบความทุกขเดือดรอน ความยุงยากในชีวิต ไมมี
ผูใดเลยท่ีจะดํารงชีวิตอยางสุขสบายโดยตลอด ตราบใดท่ียังเปนมนุษยธรรมดาอยู ขอสําคัญก็คือ
จะตองสามารถแกไขความทุกขเดือดรอนน้ันไดอยางถูกตอง นั่นคือการปฏิบัติสมาธิทําใหจิตใจ
เขม แข็ง ใชปญ ญาแกไขปญ หาไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพน่นั เอง (พระวิสุทธกวี 2533 : 3-4)

ดวยเหตุน้ีจึงอาจกลาวไดวา ความสุขท่ีแทจริงนั้นจะหาไดจากใจของเราเอง และผูที่จะ
ไดรับความสุขชนิดน้ีไดนั้น จะตองฝกจิตดวยตนเองจึงจะทราบและสามารถเขาถึงธยานะไดอยาง
แทจรงิ

การเขาถึงธยานะ คือการคนพบวา มันสมองซ่ึงรวมถึงกิจกรรมของมันสมอง
ประสบการณทม่ี ันมี ทงั้ หมดสามารถสงบลงไดอยางแทจริง ไมใชดวยการบีบบังคับ เพราะวาขณะท่ี
บบี บังคับสภาวะน้ัน จะไมกอเกดิ ผล แตห ากเริม่ ท่จี ะเฝา ดู ฟงความเคล่ือนไหวของความคิด มันสมอง
จะสงบเงียบลงไดอยางแทจริง แตความสงบเงียบนี้ไมใชการหลับใหลแตเปนการตื่นตัว การปฏิบัติ
สมาธิไมใชเร่ืองของความคิดเพียงอยางเดียว แตเม่ือใดท่ีใจเคลื่อนสูจิต จิตจะมีคุณลักษณะที่ตาง
ออกไป ตอจากน้ันจิตก็คือสภาวะท่ีไมมีขอบเขตกําหนด การเฝาดูส่ิงท่ีเกิดขึ้นทั้งหมด รูชัดแจงอยาง
มีสวนรวมในนั้น ทั้งหมดคือสวนหน่ึงของสมาธิ การปฏิบัติสมาธิ ไมใชทางดําเนินอันนําไปสูจุด
สุดทา ยอยา งใดอยางหนง่ึ มนั เปนทงั้ ทางดาํ เนินและจดุ สุดทาย ท่บี ริสุทธิ์จากกาละ

14

ตชิ นัท ฮนั ห กลา ววา

คนสวนใหญมักตั้งคําถามวา “อะไรผิด” แตกลับลืมท่ีจะถามวา “อะไรถูก” เพราะในความ
เปนจริงมีหลายสิ่งท่ีไมผิด ในขณะที่ตางคนตางพุงความสนใจไปยังสิ่งท่ีผิด ซึ่งนั้นอาจเปนการ
กระทําที่ทําใหสถานการณ เลวรายลงไปอีก ดังน้ัน เราจึงควรพัฒนาความสามารถท่ีจะสัมผัสกับ
สิ่งท่ีไมผิด สิ่งที่สดช่ืน ส่ิงท่ีประเทืองใจและส่ิงที่ดีงามในปจจุบันขณะดวยการเจริญสติ เพ่ือจะได
ตระหนักถึงสันติสุขที่เกิดขึ้นอยางเต็มที่ “การมองลึกสูธรรมชาติที่แทแหงตน” เปนปญญาอันไร
ซึ่งการแบงแยกที่สะทอนภาพแหงความเปนจริงออกมาในตัวมันเอง เรียกวา “จิตที่แท” รับรู
ประสบการณตรัสรูดวยจิตภายใน ไมมีการกลาววานี้คือ เอกภาพหรือสิ่งใดๆ เพราะประสบการณ
ทีแ่ ทนน้ั ไมม คี ําอธบิ ายใดสามารถอธิบายได (ติช นทั ฮนั ห 2539 : 69)

การเจริญสติ คือ การทําจิตใหสงบและม่ันคงอยูกับลมหายใจของผูปฏิบัติ เพื่อผูปฏิบัติ
จะไดรวมเปนหนึ่งเดียวกับงานที่ตนกําลังทํา ผลที่ไดจากการเจริญสติ คือ การไดประจักษวาเรา
แตละคน มนุษยชาติและธรรมชาติลวนมีความสัมพันธอิงอาศัยกันและกันอยางไมอาจแยกออก
จากกันได

เม่ือบุคคลมีสติอยางแทจริงแลวยอมประจักษในคุณคาของลมหายใจทุกขณะและการดํารง
อยูของธรรมชาติและมนุษยชาติรอบตัว และเมื่อไดตระหนักอยางนั้นแลว เรายอมตระหนักวา หาก
ปราศจาก “ธรรมชาติ” ก็ปราศจาก “มนุษย” หากปราศจาก “นอก” ก็ปราศจาก “ใน” ดังน้ัน หากเรา
เขา ใจหลักการองิ อาศัยซ่ึงกันและกันเชนนั้นแลว ความรัก ความกรุณา และความเมตตา ยอมเกิดขึ้น
ภายในจติ ใจของเรา “ทง้ั หมดคือหนึง่ และหนงึ่ คอื ท้งั หมด” เพราะทุกๆอนุภาคมีอยูไดเพราะอนุภาค
มอี ยูไดเพราะอนภุ าคอืน่ ทงั้ หมด (ตชิ นทั ฮนั ห, 2537 : 33)

ปญหาการคุกคามทางเพศมีมากในสังคมปจจุบัน ผูที่ถูกกระทํายอมไดรับผลกระทบ
และการเปล่ียนแปลงในชีวิตโดยตรง ผูคนท่ีรายลอมก็ไดรับผลกระทบทางดานจิตใจเชนกัน
“ธยานะ” จึงเปนหนทางหน่ึงในการยุติปญหาดวยสติ เพ่ือตั้งจิตใหแนวแนและหาแนวทางแกไข
โดยสามารถรับคําแนะนําจากหนวยงานท่ีมีความเขาใจเพศหญิงโดยเฉพาะ สูการปฏิบัติท่ีถูกตอง
องคกรที่ใหคําแนะนํา เพศหญิงมีอยูหลายองคกรในประเทศไทย เชน มูลนิธิเพื่อนหญิง ก็เปนหนึ่ง
องคกรที่ใหคําปรึกษาทางดานกฎหมาย ใหคําแนะนําในการปฏิบัติตน และแนะนํากิจกรรมที่เปน
ประโยชนตอ ผอู นื่ ตอไป เพอ่ื กาวคืนสูสังคมอยา งปกติสุข

15

มลู นธิ ิเพื่อนหญงิ (Friends of Women Foundation)

ภาพที่ 4 ภาพสญั ลักษณข องมลู นิธเิ พ่อื นหญิง

ความเปนมา
มูลนิธิเพ่ือนหญิง เปนองคกรพัฒนาเอกชน กอตั้งขึ้นเม่ือปลายป พ.ศ. 2523 ภายใตช่ือ
"กลุมเพื่อนหญิง" ไดรับการจดทะเบียนโดยกรุงเทพมหานคร เปน "มูลนิธิเพื่อนหญิง" และมีฐานะ
เปนนิติบุคคลจากกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันท่ี 5 กันยายน 2534 มีบทบาทพิทักษสิทธิและใหความ
ชวยเหลือสตรีท่ีตกอยูในภาวะวิกฤติ อาทิ จากภัยคุกคามทางเพศ ต้ังครรภไมพึงประสงค สามี
ทอดทิง้ ทาํ รา ยทบุ ตี ถกู ลอลวงและบงั คับคาประเวณี ถกู เลิกจา งโดยไมเปน ธรรม และถูกเลือกปฏิบัติ
ในเรื่องของอาชีพ เพ่ือเปนการแกไขปญหาที่ตนเหตุ มูลนิธิเพ่ือนหญิง ไดนําขอมูลเผยแพรตอ
สาธารณชนและตอภาครัฐเพ่ือผลักดันใหกําหนดนโยบายและแนวปฏิบัติที่เปนจริงในการคุมครอง
พิทกั ษส ทิ ธิ รวมถึงการสงเสริมคณุ ภาพชวี ติ ของสตรโี ดยรวม
บทบาทและภารกจิ
มูลนิธิเพื่อนหญิงมีบทบาทและภารกิจในการสงเสริมแนวคิดและความเขาใจในมิติ
บทบาทหญิงชายบนพ้ืนฐานที่วาหญิงชายยอมมีความเสมอภาคมาแตกําเนิด สังคมจึงควรใช
มาตรฐานเดียวกันในการคุมครอง พิทักษสิทธิ สงเสริมคุณภาพชีวิตหญิงชายตามหลักกฎหมาย
และสทิ ธิมนษุ ยชน โดยมูลนธิ ิเพอ่ื นหญิง ใชย ุทธศาสตรการเสริมสรางกระบวนการเรียนรูใหผูหญิง
เขา ใจในบทบาท หนาท่ี และสิทธิของสตรี นําไปสูความเขมแข็งและมีอํานาจตอรองเชิงโครงสราง
ในระดับปจเจกและเครือขายดวยเหตุที่มูลนิธิเพื่อนหญิงเปนองคกรเล็ก การทํางานจึงมีลักษณะ
เลือกบางประเด็นข้ึนมาศึกษาทํางานในพ้ืนที่ และชวยเหลืออยางจริงจังจนเกิดเปนองคความรูและ

16

พัฒนาเปนรูปแบบตัวอยางในทางปฏิบัติขยายผลไปยังพื้นท่ีตาง ๆ ท้ังในกลไกของรัฐและชุมชน
สามารถเสริมสรางความเขมแข็งใหกับผูหญิงและเครือขาย ยังผลใหเกิดการพ่ึงตนเองไดใน
ระยะยาว

เปาหมาย
เพื่อสงเสริมพัฒนาความเขมแข็งของผูหญิง ระดับฐานนําไปสูการพัฒนาแบบยั่งยืน
เพ่ือใหเปนแกนนําในการผลักดันเปล่ียนแปลงกลไก และนโยบายรัฐเพ่ือคุมครองสิทธิผูหญิงที่ถูก
ละเมิดสทิ ธทิ ุกรปู แบบ
ยุทธศาสตร
1. สงเสริมและพัฒนากระบวนการรวมกลุมผูหญิงที่ประสบปญหาความรุนแรงท้ังใน
กรงุ เทพฯ และพน้ื ท่ีเครือขายทีม่ ลู นิธิเพือ่ นหญงิ ลงไปสนบั สนนุ
2. สรางคานิยมและทัศนคติท่ีถูกตองในเร่ืองความรุนแรงในครอบครัว ตองถือเปน
เรือ่ งความรุนแรงตอสังคม
3. พัฒนาแกนนําผูหญิง ผูประสบปญหาวิกฤติความรุนแรงเปนแกนนํารณรงค เพ่ือ
เปลี่ยนแปลงกลไก นโยบาย กฎหมาย และใหรัฐจัดงบประมาณสนับสนุนกลไก
4. สรางเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณระหวางกลุมผูประสบภาวะวิกฤตและหนวยงาน
ชวยเหลอื ผหู ญิงทั้งภาครฐั และเอกชนและชมุ ชน
5. เปนศูนยรับเรื่องราวรองทุกขใหแกผูหญิงที่ประสบภาวะวิกฤต โดยบริการดาน
คําปรึกษาดาน กฎหมาย ดาํ เนินคดี และดานสังคมสงเคราะห
6. จัดทําองคความรู ทางเลือกและทางออกของผูหญิงท่ีผานพนความรุนแรงเผยแพรสู
สังคม เพือ่ ชว ยเสนอทางออก ใหแ กผูหญิงที่กาํ ลังประสบวกิ ฤตคิ วามรนุ แรง
7. สนับสนุนเครือขายชวยเหลือผูหญิงของภาครัฐและเครือขายผูหญิงชาวบาน ให
สามารถชวยเหลือผหู ญิงไดอยา งมีประสิทธภิ าพ โดยจัดเวทแี ลกเปล่ยี นดงู าน
กจิ กรรมภายในองคก ร
1. ศนู ยช วยเหลอื และพิทักษส ทิ ธิสตรี
2. การเสรมิ สรางความเขม แขง็ ใหเครอื ขาย

2.1 เครือขายแกนนําแรงงานหญิง
2.2 เครอื ขายชมรมหญงิ ชว ยเหลอื หญิง
2.3 เครือขา ยผหู ญิงชาวบา น
2.4 เครือขายผหู ญงิ กับสุขภาพ
3. การรว มมือกบั เครือขา ยหนวยงานภาครัฐ

17

3.1 เครือขายพนักงานสอบสวน หญิง-ชาย
3.2 เครือขา ยศูนยช ว ยเหลือผหู ญิงและเดก็ โรงพยาบาลของรัฐ 20 โรงพยาบาล
4. งานขอมูล วชิ าการ และเผยแพร
4.1 ศูนยขอ มูล
4.2 ผลติ สอื่ และสิง่ พิมพ
5. การจัดกจิ กรรมรณรงคระดบั นโยบายและระดับปฏบิ ตั กิ ารของภาครฐั
6. การระดมทุนเพอ่ื สนบั สนนุ กิจกรรมมลู นิธิเพ่อื นหญงิ

โรงพยาบาล สถานีตํารวจในทองท่เี กิด

ผหู ญงิ ทป่ี ระสบปญ หา (Case)

แกนนาํ ชมุ ชน มลู นธิ ิเพือ่ นหญงิ

แผนภาพที่ 1 แสดงโครงสรา งการทาํ งานมลู นธิ เิ พื่อนหญิง

เม่ือกาวขามผานประตูแหงความสงบสูวิถีชีวิตในยุคปจจุบันท่ีประกอบดวยคานิยม
หลายอยางที่ซึมซาบอยูตามสถาบันตาง ๆ ไดมีคานิยมเกี่ยวกับการคาดหวังบทบาทของชายและ
หญิงรวมกันอยู สังคมจะมีการคาดหวังวา ชายและหญิงควรจะตองแสดงพฤติกรรมอยางไรจึงจะ
เหมาะสมกับเพศของตน วฒั นธรรมเก่ียวกับเร่อื งเพศน้ีแตกตางกันไปตามแตละสังคม

จุดเร่ิมตนของสังคมขนาดเล็กหรือครอบครัวท่ีเราสามารถสัมผัสไดจากความรักความ
อบอุนจากพอ แม ญาติพี่นอง และเมื่อเติบใหญการกาวสูสังคมภายนอก เพื่อการเรียนรูที่มากขึ้น
พบปะ แลกเปล่ียนความคิดเห็น เพอ่ื กาวสสู งั คมที่มีขนาดใหญและกวางขึ้นตามลําดับ ความเขมแข็ง
จากภายใน สงผานตัวแปร สูภาวะภายนอก จากจุดเล็ก ๆ ในหนวย ขยายถึงองคกรที่ใหญขึ้น จิตที่

18

เขมแข็งจะสามารถสงผลตอการดํารงชีพอยางปกติสุข ในหน่ึงสังคม การแบงแยกตามลักษณะ
ภายนอกอยางหยาบ คือ เพศ ลักษณะของความแตกตางจากเพศทางวัฒนธรรม เห็นไดจากหอง
คลอดเด็กออนในโรงพยาบาล เด็กผูชายจะหอดวยผาสีฟาและเด็กผูหญิงจะหอดวยผาสีชมพู ความ
แตกตางท่ีเกิดข้นึ เริม่ ตนข้ึนต้ังแตต อนที่เราเกิดแลว

ภาวะทางดานรางกายและจติ ใจของเพศหญิง

ความเช่ือเก่ียวกับเรื่องเพศท่ีปรากฏในการแพทยไดกอใหเกิดความคิดแกบุคคล
โดยทัว่ ไปวา ผูหญงิ เปน เพศที่ออ นแอ เจาอารมณ ใจคอไมห นกั แนน ม่นั คง ยิ่งในระยะท่ีเกี่ยวกับการ
ต้ังครรภ แตกเน้ือสาวมีประจําเดือนหรือใกลจะหมดประจําเดือน ความผิดปกติทางดานอารมณก็ย่ิง
จะมากขึ้น ลักษณะพวกนี้ถูกมองวาเปนอาการผิดปกติของผูหญิงอันเน่ืองมาจากความออนแอตาม
ธรรมชาติ อาการเจ็บปวยในผูหญิงน้ันไดรับการวินิจฉัยวา มีสาเหตุมาจากความบกพรองตาม
ธรรมชาติหรือการปฏิบัติตนไมเหมาะสมเกี่ยวกับเพศ เชน การสําสอน การแสดงความรักตอสามี
อยางเปดเผย การเอาจรงิ เอาจังกบั การเรียนและการงานมากเกินไป การมีความทะเยอทะยานในชีวิต
มากเกินไป ลักษณะเหลานี้ถูกเหมารวมวาเปนสาเหตุของการเกิดโรคท้ังนั้น (กาญจนา แกวเทพ
2535 : 19)

ดวยลักษณะทางกายภาพทางธรรมชาติของเพศหญิง ความแตกตางทางดาน
ความสามารถท่ีถูกกําหนดข้ึนจากสังคมและวัฒนธรรม จึงสงผลกระทบตอรางกายและจิตใจ
“ความเครียด” จงึ เปนภาวะหนึ่งท่เี กิดข้นึ จากแรงบีบคัน้ ของสังคม ดังตัวอยางเหตุการณที่เกิดขึ้นใน
สังคมไทยปจจบุ ัน

กรณีศึกษาที่ 1 : พาลกู คา กาม
ตํารวจสืบสวนภาค 7 ลอซื้อจับกุมนางตุก (นามสมมติ) ท่ีพาลูกสาว วัย 18 ป กับเพ่ือน
อีกคน วัย 15 ป ไปขายบริการทางเพศท่ีโรงแรมคันทรี อ.เมืองสุพรรณบุรี เด็กสาวอางหาเงินซ้ือ
ยาบาเสพและซอื้ เสื้อผา ไปเที่ยวเตร (ไทยรฐั 2548 : 1)

กรณีศกึ ษาท่ี 2 : เสยี ว-สยวิ -สนกุ แบบใหมของโจ ไทยยคุ “ดอทคอม”
วัยรุนหญิงมักจะตกเปนเหย่ือของมิจฉาชีพ ทางอินเตอรเน็ตไดงาย ท้ังโดยรูตัวยินยอม
และรูเทาไมถึงการ เชน แชทรูม โพสตรูปแอบถาย เวบแคมเปลือยกาย หรือถอดเสื้อผา และขาย
บริการบนอินเตอรเน็ต ซึ่งเจาของเว็ปโป มักแอบแฝง ขายซีดีลามกหรือหวังรายไดจากคาโฆษณา

19

แตขณะน้กี าํ ลงั ถกู สังคมจับตามองอยา งยิ่ง บางเวบ็ ท่เี คยเปนท่นี ิยม เขาดูไดตลอดเวลาก็ถูกส่ังปดเสีย
เปนสวนใหญ จึงมีคําถามข้ึนมาวา เว็บโป ซีดีลามก จะสูญพันธุไปจากสังคมไทยหรือไม (ผูจัดการ
ออนไลน 2547)

กรณศี กึ ษาที่ 3 : จากเหตสุ ะเทือนใจ น.ส.ณฐั ยา หรอื นองบิ๋ม ใจบรรจง อายุ 23 ป เลขาฯ
สาวบริษทั เอเชยี แปซฟิ ค จาํ กัด คิดสน้ั กระโดดจากสถานรี ถไฟฟา บที เี อส เสยี ชวี ติ

“ระยะหลังลูกสาวผมเครียดเร่ืองงาน เพราะตองรับผิดชอบงานหลายหนาท่ี เน่ืองจาก
บริษัทยังอยูในชวงเตรียมขยายงาน เมื่อชวงตนเดือนเม.ย.ลูกสาวไดทําเอกสารผิดพลาดซ่ึงทาง
หัวหนาไดชี้แจงใหเขาใจ และไมไดติดใจในความผิดพลาดแตอยางใด แตเนื่องจากลูกสาวเปนคน
คิดมากจึงมาปรึกษาในเร่อื งนแ้ี ละขอลาออกจากงานอีกคร้ัง บอกวาไมไหวแลว ดวยความสงสารลูก
จึงไดอ นุญาตแตใ หล ูกสาวสัญญาวาตองสงมอบงานใหคนทม่ี ารบั ชวงตอ เรยี บรอ ยเสียกอน

‘ครอบครวั ผมเปนครอบครัวท่อี บอนุ มปี ญหาอะไร ลกู ๆ จะมาขอคาํ ปรกึ ษาตลอด’
หากไปโทษวา บริษัทไมดีใหลูกทํางานหนัก ก็ไมใชเร่ืองจริงเพราะท่ีบริษัทก็ดูแลลูก
สาวผมเปนอยางดี เจานายก็รักลูกสาวผมเหมือนลูก แตระยะหลังลูกสาวผมมีความวิตกกังวล
เนื่องจากความเครียดทําใหจ ติ ใจและรางกายเริม่ เสอ่ื มถอย” (ผูจัดการออนไลน 2548)
จากงานเขียนของ แองเจลลา เฮล (Angela Hale) เร่ือง “คนงานหญิงในกระแสการคา
โลก” (World Trade is A Women’s Issue)” จัดทําโดย Women Working World Wide (WWW)
ไดประมวลภาพ และขอเขียนเกี่ยวกับการเปดการคาเสรีท่ีมีผลกระทบตอผูหญิงและการทํางาน
โดยระบุไว ดงั น้ี
1. งานที่ผูหญิงทําสวนใหญไมไดถูกตีคาเปนคาจาง หรือไมก็เปนงานที่ไมไดรับการ
ยอมรับ เชน งานบาน การดแู ลลูก การดูแลครอบครวั และผสู งู อายุ
2. งานที่ผูหญิงสวนใหญที่ทําแลวไดรับคาจาง มักไมใชงานที่มีความสําคัญในระบบ
เศรษฐกิจ เชน งานในธุรกิจขนาดเล็กท่ีใชเงินทุนนอย งานท่ีรับมาทําท่ีบาน งานการขายพืชผล หรือ
งานไมป ระจํา ท่ีไมไ ดรับการคุมครองตามกฎหมาย
3. แรงงานหญิงกระจุกตัวอยูในอุตสาหกรรมบางประเภท ท้ังในและนอกระบบและมี
การเลือกปฏิบัติระหวางหญิงและชาย เชน มีการกําหนดวาผูชายตองทํางานเกี่ยวของกับเคร่ืองจักร
และเทคโนโลยี ผูหญิงตองทํางานบานและงานบริการรับใช หรือกรรมกรหญิงตองทํางานตัดเย็บ
เสอื้ ผา และทาํ ความสะอาด สว นผูชายเปน แรงงานผลิตรถยนตห รือตอ เรือ เปน ตน
4. งานของผูหญิงมีคุณคาต่ํา การใหคุณคาในงานของผูหญิงทําใหผูหญิงไดคาจางนอย
และถือวามีคุณคานอยกวางานท่ีไดคาจางของผูชาย โดยสังคมมีทัศนคติวา ผูหญิงไมไดหาเล้ียง

20

ครอบครัว และงานของผูหญิงไมมีความถาวรม่ันคงเทาผูชาย โอกาสเล่ือนขั้นตําแหนงของผูหญิงก็
นอ ยกวาชาย

ปญหาท่ีไดยกตัวอยางขางตนน้ี คือ ปญหาท่ีเกี่ยวกับระบบทุนนิยม ในเหตุการณแรก
ความกดดันทางดานจิตใจท่ีบอบบาง (ความเครียด) สงผลถึงการแกไขปญหาท่ีผิด ซ่ึงสงผลกระทบ
โดยตรงตอบคุ คลรอบ ๆ ขางและสังคม กรณีศึกษาที่ 1 และ 2 การแลกเปลี่ยนเพ่ือผลตอบแทน วัตถุ
นิยมยอมแปรผันไปตามความเจริญทางดานวัตถุ เพศหญิงใชเรื่องเพศ เปนเคร่ืองมือในการหา
ผลประโยชน ซ่ึงสงผลกระทบตอสังคมและปญหาสังคมท่ีตามมา เชน การทําแทง การท้ิงลูกตาม
พ้ืนท่ีสาธารณะ เปนตน ซ่ึงผลตอบแทนท่ีไดมาเปนเพียงคานิยมทางดานวัตถุที่ไมยั่งยืน เมื่อ
เหตุการณทุกอยางผานไปตามกาลเวลาที่ไดบมสอนดวยตัวเอง การมองยอนถึงส่ิงที่ไมสามารถ
แกไขไดอ ีก ความทกุ ขหรือปมท่ีตกคางภายในจติ ใจ ไมส ามารถลบเลือนมนั ได

ปญหาของสภาพตามธรรมชาตขิ องเพศหญงิ ทาํ ใหผ ูเ ขมแข็งกวา มีอาํ นาจเหนือและกดขี่
ผูออนแอ ตามสัญชาตญาณของสตั วโ ลก สัตวที่ตัวใหญและแข็งแรงยอมเปนผูไดเปรียบในการตอสู
ผูที่ออนแอจะตองอยูใตบังคับบัญชา และใหสิทธิ์ขาดทุกอยางกับจาฝูง ในกรณีศึกษาที่3 แรงบีบคั้น
จากความกดดันและความคาดหวังจากสังคม สงผลตอภาวะรางกายและจิตใจ เมื่อความบอบบาง
ของจิตใจไมสามารถทนตอแรงกดน้ัน เหตุการณดังกลาวจึงเกิดขึ้น ในทางกลับกันจิตใจท่ีแข็งแรง
จะสามารถทนและแกปญหาจากสภาวะดังกลาวได หนทางในการแกไขปญหามีอีกมาก คิด
ไตรตรอง เลอื กหนทางที่ถูกตอ งและไมใหเกิดผลกระทบตอบคุ คลอื่น

กรณศี กึ ษาท่ี 4 : ปา นวล
ปานวล (นามสมมติ) ปจจุบันอายุ 60 ป เปนที่รูจักของชาวบานในฐานะผูใหญใจดี สามี
ของปา เสยี ชวี ิตเมือ่ ป พ.ศ. 2547 ในชว งที่สามียังมชี วี ิตอยมู ปี ญหาความรนุ แรงในครอบครวั สามีเริ่ม
ดื่มเหลากับชางท่ีมาชวยสรางบานหลังจากน้ันก็ดื่มเรื่อยมา นอกจากนี้สามียังเปนคนข้ีหึงมากไม
ยอมใหปาออกไปทใ่ี ดเลย เมอื่ สามีเมา ปามักถูกดาวาตลอด แสดงความไมไววางใจ ขมขู เคยเอาปน
ออกมาขยู ิงข้นึ ฟาเปนประจํา มีคร้ังหน่งึ ปากับสามที ะเลาะกนั รุนแรงมาก ปาทนไมไหวกระโดดแยง
ปน สามีกลัวปน ลั่นใส จงึ ผลักปาไปกระแทกกับฝาบาน ปานวลโมโหมากกระโดดชกสามี หลังจาก
เหตุการณคร้ังนั้น สามีก็ไมเคยเอาปนออกมายิงขูอีกเลย แตยังคงด่ืมเหลาเหมือนเดิม ปาบอกวา
เมอ่ื กอ นมีเรอื่ งทะเลาะกนั ทุกวนั
การดื่มเหลาของสามีปานวลสงผลกระทบตอจิตใจของปาและลูกชาย ปานวลเองก็
สังเกตวาเวลาสามีดื่มเหลาเมาลูกชายจะเงียบหงอยไป และการด่ืมเหลาของสามีทําใหเศรษฐกิจของ
ครอบครวั แยลง เพราะเม่ือสามเี มาเหลามกั เลนการพนนั และเสียพนันเปนประจาํ ถึงแมว าปจ จบุ นั ลกู

21

ชายมคี รอบครัวและหนา ท่ีการงานท่ีดี แตพอเริ่มทํางานมีรายไดเปนของตนเองลูกชายก็เริ่มดื่มเหลา
ปา มักขอรองไมใหด ม่ื เหลา เพราะเหน็ ตวั อยา งจากพอ สองปต อ มาลูกชายก็เลิกดม่ื เหลาได

ขณะนปี้ า นวลไดใชเ วลาวา งอุทศิ ตนเองเปน อาสาสมคั รชวยเหลอื งานของศนู ยชวยเหลือ
ผูหญิงและเด็กใหแกชุมชน 5 ธันวา และชุมชนฟาใหม โดยการชักชวนคนในชุมชนให ลด ละ เลิก
ดื่ม ปานวลใชวิธีการพูดคุยแนะนํา ติดตาม และชักชวน การแกปญหาความรุนแรงที่เพศหญิงไดรับ
จากการด่ืมเคร่ืองดื่มมึนเมาเปนปจจัยที่ทําใหผูเสพขาดสติ ยั้งคิดและสามารถกระทําสิ่งท่ีนอกเหนือ
การควบคมุ ท่ีรุนแรงตอบคุ คลรอบ ๆ ขาง

22

ตารางท่ี 1 แสดงลักษณะการกระทําความรุนแรงตอ เดก็ และสตรที ี่มผี ลจากการดมื่ เหลา

ลกั ษณะการกระทาํ ความรนุ แรงที่มีเหลา เปน ปจ จยั รว ม

เดอื น ละเมิดทางเพศ ทาํ รา ย ทําราย อื่น ๆ รวม
ขม ขนื อนาจาร รางกาย จติ ใจ 7
มกราคม 7
กุมภาพนั ธ 3 1 111 10
มีนาคม 7
เมษายน 4 - 2-1 8
พฤษภาคม 6
มถิ ุนายน 2 - 224 3
กรกฎาคม 5
สงิ หาคม 3 - 211 5
กันยายน 7
ตุลาคม 6 - 2-- 2
พฤศจกิ ายน 12
ธนั วาคม 4 - 1-1 79

รวม 2 - 1--

3 - 2--

3 - 2--

3 1 111

1 - 1--

8 1 21-

42 3 19 6 9

ศูนยพิทักษสิทธิเด็กและสตรี โรงพยาบาลชุมพรเขตอุดมศักดิ์, พัฒนาการเครือขาย
ชุมชนลดเหลาลดความรุนแรงตอผูหญิงและเด็ก, (ขอมูลระหวางมกราคม-ธันวาคม พ.ศ. 2547 :
2548 ) 145, 262-264

จากขอมูลที่ปรากฏในตารางท่ี 1 แสดงใหเห็นวาในป พ.ศ. 2547 มีเด็กและผูหญิงมา
ขอรบั บริการท่ศี ูนยพ ิทกั ษสทิ ธเิ ดก็ และสตรี โรงพยาบาลชุมพรฯ ที่มีผลมาจากการด่ืมเหลาเปนกรณี
ถูกขมขืนมากที่สุด มีจํานวนถึง 42 ราย รองลงมาเปนการทํารายรางกาย 19 ราย ถูกทอดท้ิง 9 ราย
ถกู ทาํ รายจติ ใจ 6 ราย และถูกกระทําอนาจาร 3 ราย

23

พฤติกรรมการด่ืมเหลาของผูชายในฐานะผูนําครอบครัวยังสงผลกระทบตอฐานะทาง
เศรษฐกิจของครอบครัวของตนดวย เน่ืองจากไดนํารายไดสวนหนึ่งมาใชจายเปนคาเหลา และเมื่อ
เงินหมดก็เบียดเบียนครอบครัว บางรายมีพฤติกรรมการดื่มเหลาขามวันขามคืนจนไมสามารถไป
ทํางานได เม่ือขาดงานก็ไมมีรายไดมาใหครอบครัว ซึ่งสงผลใหมีปญหาความสัมพันธระหวางสามี
ภรรยา ถึงขั้นครอบครัวแตกแยก ไมสามารถทนอยูตอไปได เพราะมีการทํารายรางกายและทะเลาะ
กันทุกวัน หรือผูชายบางรายไมเพียงติดเหลาแตยังไปมีผูหญิงคนใหม ทอดท้ิงไมสนใจดูแลภรรยา
และลูก พฤติกรรมดังกลาวสงผลกระทบทั้งทางดานรางกายและจิตใจ จนกลายเปนปญหาสังคมใน
ภายหนาได

กรณศี กึ ษาท่ี 5 : จับคาผาเหลอื ง 5 นกั เรยี นชายรุมขนื ใจ ม.4 ถายคลปิ เผยแพร
ตํารวจ ปดส. จับกุม 5 นักเรียนชายช้ัน ม.5 รุมกันขมขืนนักเรียนหญิงช้ัน ม.4 โรงเรียน
เดียวกัน หลังจากชวนไปรวมงานวันเกิด แลวมอมเหลามอมเบียร จากนั้นใชโทรศัพทมือถือถาย
คลิปวิดีโอไปเผยแพร แถมมีรุนพ่ีสุดช่ัวพบคลิปวิดีโอแลวนําไปแบล็กเมลหวังรวมหลับนอนอีก
สาวเจาเลยบอกความจริงกับแม พาแจงตํารวจจับกุมไดท้ัง 5 คน โดย 1 ใน 5 อยูระหวางบวชเปน
พระตองจับสึกมาดําเนินคดี เบื้องตนทั้งหมดใหการรับสารภาพ วา ไดรวมกันกอเหตุดังกลาวจริง
โดยอางวา วันเกิดเหตุ ไดด่ืมสุราเขาไป จนมึนเมา จึงเกิดอารมณชั่ววูบ และชักชวนกันลงมือขมขืน
(ผจู ัดการออนไลน 2549)
กรณีศกึ ษาท่ี 6 : จับหนมุ ใบฆา สาวบรกิ าร อา งย๊ัวถูกไมตหี ัวแตกกอ น
รวบหนุมใบฆ า หญิงบริการรมิ คลองหลอด อา งผตู ายมาขอเงินจึงใหไป 200 บาท พอมา
ขอคร้ังสองจึงปฏิเสธ ผูตายโกรธใชไมตีศีรษะแตกเลยย๊ัวใชมีดปาดคอดับ ดานนายใบ ใหการผาน
ลามภาษามือวา กอนเกิดเหตุน่ังดื่มเหลาอยูกับเพ่ือน 3-4 คน ระหวางน้ันมี น.ส.ปุ ผูตายเดินเขามา
หาเพื่อขอเงิน แตตนไมให ทําให น.ส.ปุโกรธ ทุบตีตนและยังใชไมทุบหัวตนจนหัวแตก จึงใชมีด
พกปาดคอ น.ส.ปุ กอนจะแทงท่ีบริเวณลําคออีกคร้ังจนถึงแกความตาย จากน้ันจึงกระทําชําเรา
ผูตาย โดยกอนท่ีจะถูกจับไดเดินมาขอเงินประชาชนบริเวณสะพานลอยหนาหางพาตาปนเกลา จึง
ถูกจับกุมดงั กลาว (คมชัดลกึ 2549)
กรณีศกึ ษาท่ี 7 : สลด นร. สาว ม. 3 โดนโทรมมะเรง็ ซ้ําครา ชวี ติ
นางออยใหการวา เพื่อนของ ด.ญ.มดมาชวนกันออกไปเท่ียวแลวหายไปทั้งคืนกลับมา
ตอนเชาพยายามสอบถาม พอรุงข้ึนอีกวันมีชาวบานร่ําลือกันวามีเด็กหญิงในหมูบานถูกกลุมวัยรุน
พาไปขมขืนเมื่อคืนวันท่ี 23 ส.ค. จึงคาดคั้นสอบถามจนทราบความจริง วาถูกกลุมวัยรุนลวงไป
ขมขนื ทีก่ ระทอ มกลางทุง นาใน ต.กระจนั อ.อูท อง โดยมีชายวัยรนุ รออยูอีก 4 คน กอนที่จะถูกท้ัง 5

24

คน ชวยกันจับขึงพืดเรียงคิวรุมโทรมจนสําเร็จความใคร ตํารวจสงตัว ด.ญ.มดไปตรวจรางกายท่ี
โรงพยาบาลอูทอง ตอมาหลานสาวมีอาการซีดเซียวและอาเจียนอยางหนัก เอาแตนอนซมไมยอม
รับประทานอาหาร เหมือนหมดอาลัยตายอยาก เนื่องจากไดรับความกระทบกระเทือนทางจิตใจ
อยางรุนแรง จึงพาไปพบแพทย ก็ตองตกใจเมื่อแพทยตรวจพบวาหลานสาวเปนโรคมะเร็งในเม็ด
เลือดขาว ประกอบกับสภาพจิตใจท่ีย่ําแยจากเหตุการณท่ีถูกรุมโทรมขมขืน ทําใหอาการทรุดหนัก
ลงเรือ่ ย ๆ จนกระทงั่ เสียชีวติ (ไทยรฐั 2549 : 1)

กรณีศกึ ษาที่ 8 : อจ. ฝรงั่ - ม. ดงั ลวงขย้ี นศ. สาว
องคกรสตรีเสวนาระบุมีอาจารยฝรั่งสถาบันการศึกษาดังขยี้ น.ศ. สาว วางแผนชั่วดวย
การพาไปท่ีหองอางสอนลีลาศ กลุมนักศึกษาสงอีเมลเตือนภัยเพ่ือน เตรียมจี้ใหสถาบันรวม
รับผิดชอบและใหด ําเนนิ การ หว งผูหญงิ ถูกขนื ใจมากข้นึ สว นใหญเ ปน เหย่ือนายจา งหรอื อดีตสามี
น.ส. สุเพ็ญศรี พึ่งโคกสูง หัวหนาศูนยพิทักษสิทธิสตรี มูลนิธิเพ่ือนหญิง กลาววา
ปญหาละเมิดทางเพศผูหญิงและเด็กเพ่ิมมากข้ึนทุกป แตละปมีการรองมายังมูลนิธิเฉล่ียไมตํ่ากวา
100 ราย แตมีการดําเนินคดีจริงเพียง 1 ใน 5 ซ่ึงสวนใหญเปนการถูกขมขืนกระทําชําเรา รุมโทรม
ทั้งเหย่ือและผูกระทํามีอาชีพการงานดี พบทั้งคนไทยและคนตางชาติ เชน ญี่ปุน เวียดนาม เปนตน
“ผูกระทําท่ีขมขืนผูหญิงและเด็กสวนใหญเปนหัวหนางาน นายจาง พอ คนรูจัก อดีตสามี แฟน เรา
พบผูหญิงรายหนึ่งอายุ 18 ป ไปรับจางทําสวนในบานอดีตนักการเมือง ขณะออกจากหองน้ําคน
ใชไดถ ูกผูช าย 3 คน ที่เปนชา งกอสรา งมาตอ เตมิ บานขมขืนรุมโทรม ซ่ึงเช่ือวารางกฎหมายใหมหาก
ออกมาบังคบั ใช จะชว ยเหลือบรรเทาสถานการณล งได” (ขา วสด 2549 : 1)
จากกรณีศึกษาท่ี 5-8 เหตุการณที่เกิดข้ึนสามารถพบเห็นไดทุกวัน โดยเพศหญิงมักถูก
ทําราย เน่ืองจากความใครเปนเหตุจูงใจ เหตุผลมากมายในคําใหการ แลวเหตุผลท่ีแทจริงคืออะไร
มันไมใชเกิดจากการท่ีเราไมสามารถไตรตรอง ควบคุมสติ ของตนเองหรือ เม่ือผูหญิงไดรับ
ผลกระทบจากบุคคลและสิ่งแวดลอมที่กดดัน ซึ่งไมสามารถยอนเวลาใหเหมือนดังเดิม บอยคร้ังใน
การแกไขปญหาที่เกิดขึ้น เราพยายามที่จะแกไขสิ่งที่ผิดดวยการเปลี่ยนสิ่งอ่ืนหรือคนอ่ืน ๆ ซ่ึงถูก
มองวาเปนสาเหตุของความทุกข แตดูเหมือนจะเปนส่ิงท่ีเกินกําลัง เพราะแทที่จริงแลวสิ่งเดียวที่เรา
สามารถทาํ ไดคอื การเปลย่ี นมุมมองปญ หาและมมุ มองชีวิตของเราเอง

25

ผลกระทบความรนุ แรงทมี่ ีตอเพศหญิง

ประเทศตาง ๆ ท่ัวโลกยืนยันวาผูหญิงในสังคมรอยละ 20-50 ถูกกระทํารุนแรงจากสามี
หรือคนรัก และรอยละ 50-60 ของผูหญิงที่ถูกกระทํานี้ถูกกระทํารุนแรงทางเพศดวย ดังตัวอยาง
ตอ ไปน้ี

1. 1 ใน 5 ของผูหญิงท่ัวโลก เคยถูกทํารายทางรางกายหรือทํารายทางเพศ ในชวงเวลา
ใดเวลาหนึ่งในชวี ติ ของเธอ

2. ใน 1 นาที ท่ัวโลกมีผูหญิงถูกขมขืน 1.3 ราย ใน 15 นาที จะมีผูหญิงถูกขมขืนถึง 20
ราย

3. การสํารวจในหลายประเทศช้ีใหเห็นวา ผูหญิงรอยละ 10-15 ถูกบังคับใหมี
ความสมั พนั ธทางเพศโดยสามี และสาํ หรบั ผหู ญงิ ท่ถี กู ทํารา ยรา งกายโดยสามีมสี ัดสวนสงู กวา น้ี

4. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สํารวจพบวา มีผูหญิงไทยวัยเจริญพันธุ ยุติ
การตัง้ ครรภไมพ ึงประสงคป ระมาณปละ 300,000 - 400,000 ราย

5. กองโรคเอดส ระบุวา ป 2542 ผูหญิงไทยทีติดเชื้อเอดสมีจํานวนเพ่ิมข้ึน คือ
ประมาณ 300,000 ราย หรอื รอ ยละ 40 ของจํานวนผูตดิ เชื้อท้งั หมด

6. รายงานจากสํานักงานตํารวจแหงชาติ ระบุวา ในป 2543-2544 มิถุนายน มีคดีขมขืน
เกดิ ขน้ึ จํานวน 5,315 คดี หรอื เฉลี่ยเดือนละ 295 คดี หรือประมาณวันละ 10 คดี

7. จากการทํางานของมูลนิธิเพื่อนหญิง รวมกับเครือขายตาง ๆ พบวาผูถูกกระทําทาง
เพศท่ีอายุนอยท่ีสุดเปนทารกหญิงวัย 3 เดือน และอายุมากที่สุด (จากขาวหนังสือพิมพ) เปนหญิง
ชราอายุ 102 ป

8. ผูกระทําความผิดทางเพศท่ีอายุนอยที่สุดเปนกลุมเด็กชายอายุ 5-9 ขวบ รวมกันลวง
ละเมดิ ทางเพศเดก็ หญงิ อายุ 4 ขวบ และผกู ระทาํ ผิดท่อี ายมุ ากทส่ี ุดมีอายุกวา 70 ป

9. จากการใหคําปรึกษาหญิงท่ีเดือดรอนของศูนยพิทักษสิทธิสตรีมูลนิธิเพื่อนหญิง
ประมาณปละ 2,000 ราย พบวา มากกวารอยละ 60 เปนปญหาความรุนแรงในครอบครัว เชน สามี
ทาํ รา ยรา งกายสามไี ปมหี ญงิ อื่น ๆ ไมรับผิดชอบครอบครัว

ทางดา นรางกาย
ถูกฆาตกรรม : อาจเริ่มจากการถูกขูเข็ญ คุกคาม และจบลงดวยการถูกฆาตกรรมหรือ
เสยี ชีวิต
บาดเจ็บ :
1. ตง้ั แตร ุนแรงไมม ากนกั แคฟกซา้ํ ไปจนถงึ กระดูกหกั และพิการ

26

2. มีทั้งจากการถูกขมขืน การไมรับผิดชอบของฝายชายเม่ือมีเพศสัมพันธ การไม
สามารถตอรองเรื่องการคุมกาํ เนดิ กับคูครองได

3. เดก็ ผูหญงิ ซง่ึ ถูกทารณุ กรรมทางเพศตั้งแตเ ลก็ มีความเสยี่ งสงู
4. ตงั้ ครรภไ มพึงประสงคน าํ ไปสกู ารทาํ แทง
ทางดานจิตใจ ความกระวนกระวายใจ ความหวาดระแวง สับสน หวาดกลัว ซึมเศรา
หรอื ความหมดหวงั ในชวี ิต

แนวทางแกป ญ หาท้งั ดา นรา งกายและจิตใจของเพศหญิง

ความเครยี ดทเี่ กดิ ตอผูห ญงิ โดยเฉพาะ มดี ังตอ ไปนี้
1. ปจจุบันมีผูหญิงจํานวนมากที่ตองทํางานนอกบานและตองรับผิดชอบงานในบาน
และการดูแลลูกเองทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีแรงกดดันทั้งท่ีเกิด จากท่ีเรารูสึกเองและจากผูอ่ืนวา เรา
ตอ งทํางานทัง้ สองหนาทีน่ ี้อยางครบถว นสมบรู ณ
2. งานสวนใหญท่ีผูหญิงทํามักจายคาแรงต่ํา และมักไมเปดโอกาสใหผูหญิงไดแสดง
ศักยภาพอยา งเต็มท่ี
3. ผูห ญิงจํานวนมากตองเลีย้ งลูกคนเดียวและจน
4. ผหู ญงิ บางคนตอ งอยบู านตลอดเวลากับลูกเลก็
5. การเผชิญกับการลวนลามและการละเมิดทางเพศตามถนน ในที่ทํางานและในบาน
(กฤตยา อาชวนิจกลุ 2539 : 4-5)
ทฤษฎีทางบุคลิกภาพไดอธิบายถึงธรรมชาติดั้งเดิมของผูหญิงวา มีลักษณะไมตอสู ไม
ดิ้นรน ตองพ่ึงพาคนอื่น และมีลักษณะเหมือนเด็ก การรักษาทางจิตมุงประเด็นไปท่ีลดการบนของ
ผูหญิง เก่ียวกับคุณภาพชีวิตของตนเอง และมุงที่จะใหมีการสนับสนุนใหมีการปรับเปลี่ยนตาม
สภาพความเปนอยู นักบําบัดจิตตระหนักวาสภาพเสียเปรียบของผูหญิงน้ันมีสวนโดยตรงที่จะ
ทําลายสุขภาพจิตของผูหญิงไดอยางไร ผูเชี่ยวชาญมักมองปญหาทางอารมณของผูหญิงมีสาเหตุมา
จากภายในของตัวผูหญิงเองมากกวาที่พบในผูชาย และไมรับรูสภาวะภายนอกที่นําซึ่งความเครียด
ในชีวิตของผหู ญิงเลย
ในการแกปญหาทางดานจิตใจของเพศหญิง นักบําบัดจิตมุงใหเกิดความเสมอภาคใน
ผูหญิง ใหเกียรติผูหญิงและตระหนักถึงอิทธิพลทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจที่มีตอสภาพของ
อารมณ (ผูหญงิ เพื่อผูหญงิ 2539 : 78)

27

ในการศึกษาลักษณะขององคกรมูลนิธิเพื่อนหญิง ไดรับความอนุเคราะหจาก
คณุ สุเพญ็ ศรี ทาํ ใหท ราบขอ มลู และลกั ษณะการทํางาน ซึ่งนํามาสรุปเปนขอมูลในการประกอบ เพื่อ
การศกึ ษา ดังน้ี

มูลนิธิเพ่ือนหญิงเปรียบเสมือนบานพักช่ัวคราว ท่ีมีเจาหนาที่ใหการดูแล ปองกันการ
เกิดปญหาอื่น ๆ และฟนฟูผูประสบปญหาใหสามารถดํารงชีวิตในสังคมไดอยางปกติสุข ซึ่งทาง
มูลนิธิรวมกับเครือขายของภาครัฐ จัดโครงการพิเศษ เพื่อรณรงคประชาสัมพันธใหกับประชาชน
ทั่วไปสามารถรับขอมูลและขาวสาร เพ่ือนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ซึ่งสวนใหญเปนการ
สงเสริมความสัมพันธของครอบครัว เชน โครงการ Save over daughter, โครงการเลิกเหลา และ
รณรงคเลิกการสูบบุหร่ี เปนตน มูลนิธิเพื่อนหญิงใหความดูแลและใหความสําคัญกับสิทธิสตรีและ
เด็ก เครือขายของมูลนิธิเพ่ือนหญิงไมเพียงแตจะใหความชวยเหลือเทาน้ันแตทางมูลนิธิใหความรู
และความเขาใจใหกับผูท่ีถูกกระทํา เพ่ือสามารถนําไปชวยเหลือบุคคลอื่นตอไป มูลนิธิเพ่ือนหญิงมี
หนวยงานตามจงั หวดั ตาง ๆ เชน จังหวัด เชียงใหม, อํานาจเจรญิ , ชุมพร, สมุทรปราการ, อ.ออ มนอ ย
จ.ราชบุรี เปน ตน

ลักษณะการทํางานขององคกร มีการแบงหนาที่อยางชัดเจนแตมีการทํางานรวมกัน ซ่ึง
ลกั ษณะการเช่ือมตอของระบบงานมีมากในองคก รนี้

ฝายระดมทุนสํานักงาน ลักษณะงานธุรกิจ จัดหาทุนทั้งทางภาครัฐและชุมชนอํานวย
ความสะดวก สงจดหมาย ฝายแรงงานหญิง เพ่ือพัฒนาแรงงานหญิงทางดานการศึกษาและพัฒนา
คณุ ภาพชวี ติ ฝา ยผลิตสง่ิ พมิ พ เพื่อรวบรวมขอมลู และรวบรวมรายงานทอ งถน่ิ ตา ง ๆ ฝายศูนยพิทกั ษ
สิทธิสตรี เพื่อใหคําปรึกษาทางดานจิตใจและทางดานกฎหมาย ฝายศูนยรับเร่ืองรองราวทุกข ให
ความชวยเหลือ รณรงค และลงพน้ื ท่ใี นชุมชน

ภาวะของการรองรับสภาพความเครียดและแรงกดดันจากผูประสบปญหา ทําใหมิติ
ทางดานจิตวิญญาณ เกิดภาวะของความเครียด ซ่ึงตกตะกอนอยูภายในใจ จึงทําใหเกิดกิจกรรม
ขบวนการธรรมะจิตบําบัด เพื่อเจาหนาท่ีภายในองคกรฝกสมาธิและเจริญสติ โดยใชหลักการของ
นพลักษณและอัตลักษณ วิเคราะหถึงภูมิหลัง ซึ่งเปนการวิเคราะหลักษณจากคนอ่ืนแลวมองตัวเอง
และการเรียนรูคน มองอยางเขาใจ เอาใจเขามาใสใจเรา เน่ืองจากเบ้ืองหลังของการเจริญเติบ
ตามลําดับของคนมีผลตอการดําเนินชีวิต อารมณ และจิตใจของผูน้ัน การแกปญหาจึงเปนการ
แกปญหาของแตละเหตุการณ แตละคน ประกอบกับการใชธรรมะแกการเยียวยาเพื่อเปนการรักษา
จากภายในสูภายนอกและใชกฎหมายในสิทธิตามครรลองครองธรรมจึงสามารถทําใหเขาใจถึง
ปญหาอยา งแทจ ริง

บทที่ 3

การศกึ ษาแนวทางสูง านออกแบบ

รายละเอียดของขนั้ ตอนการศกึ ษาเพือ่ นาํ มาสแู นวทางการออกแบบ มีดังนี้

ภาคการศึกษาขอ มลู

1. ทําการศึกษาคนควาและเก็บรวบรวมขอมูลจาก เน้ือหาปรัชญาทางพระพุทธศาสนา
เรื่อง “ธยานะ” การรวบรวมเนื้อหาสามารถทําไดทั้งจากการเรียนรูท่ีผานการศึกษาท่ีมีเน้ือหาท่ี
เกยี่ วของ จาการสอบถามจากผูร ทู ี่มีประสบการณ และการทดลองปฏบิ ัติดว ยตนเอง

2. ทําการศึกษาคนควา เปรียบเทียบและเทียบเคียงกับงานวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวของเชน
หนังสือที่เกี่ยวของกับธยานะหรือการปฏิบัติสมาธิ คํากลาวสําคัญที่เก่ียวของกับธยานะ คําแนะนํา
จากอาจารยท ี่ปรึกษาและผมู ีประสบการณ จากผูคน ควา วิจยั เกย่ี วกับการสมาธิ

3. ตั้งโจทยหรือประเด็นที่ตองการทําเพ่ือการเรียนรูภายในโครงการ สามารถจํากัด
พ้ืนที่ใชสอยภายในสําหรับงานออกแบบใหแนนอน เพ่ือประโยชนตองานออกแบบในขั้นตอน
สุดทาย

4. พิจารณาเกณฑก ารเลือกพ้ืนทตี่ ัง้ โครงการ โดยมีที่มาจากการศึกษาวิเคราะห ขอมูลท่ี
เก่ียวขอ งกบั ธยานะทางพุทธปรัชญาและจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ดังน้ันพื้นท่ี ต้ังของ
โครงการจึงสามารถตอบรับไดดีจากขอมูลที่ศึกษา อีกทั้งยังสามารถตอบรับไดดีกับประโยชนตอ
บริบทโดยรอบอีกดวย

28

29

สงั เคราะหค วามหมายของการศกึ ษา

ธยานะ คือ อะไร ..........
ภาวะ คอื อะไร ............
ในการศกึ ษาเร่อื งใด จะตองเขาใจวา สงิ่ ทีจ่ ะทําการศกึ ษาใหแจมแจงเสียกอ น จึงจะเขา ใจ
ถึงความสัมพันธวาเปนอยางไร ความสัมพันธกันกับองคประกอบภายในเปนอยางไร และมี
ความสมั พันธอยา งไรกบั ส่งิ แวดลอมภายนอก ในดานการศกึ ษาปรชั ญาทางพระพุทธศาสนา จะตอง
ทาํ การศึกษาวา ปรชั ญานี้คอื อะไรและมีรายละเอียดอยา งไร พรอมวิเคราะหและแยกแยะความหมาย
เพ่ือนํามาซ่งึ คาํ ตอบตามแนวทางของพทุ ธปรชั ญา

สงั เคราะหค วามหมายของ “ธยานะภาวะ” ในงานสถาปตยกรรมภายใน

“ธยานะภาวะ” คือ ภาวะท่ีเกิดขึ้นไดในทุกขณะของการกระทํา ไมวาจะเปนสถานที่ใด
เวลาใด ธยานะภาวะจึงเปนภาวะหนึ่งของจิตท่ีสงบและหลุดพนจากสิ่งรุมเราภายนอก เม่ือ
สภาพแวดลอมภายนอกไมสงบ ภาวะภายในของจิตก็จะไมสงบเชนกัน จิตเดิมของมนุษยน้ัน
บริสุทธ์ิแตเน่ืองจากสิ่งแวดลอมชักนําใหจิตเดิมไขวเขวและคลอยตามสภาพแวดลอม ถาหาก
สามารถรักษาจิตไมใหไขวเขวตามสภาพแวดลอมไดแลว จิตน้ันจะสามารถดํารงอยูใน
สภาพแวดลอมและไมส ามารถคลอยตามสิง่ รุมเราตางๆ เนื่องจากภาวะภายในของจิตต้งั อยูใ นสมาธิ

ธยานะภาวะจึงเปนสวนหน่ึงในชีวิตประจําวันและสามารถปฏิบัติไดทุกชวงเวลา เม่ือ
เร่ิมลืมตา สมองเริ่มสั่งการเพื่อเฝาดูสิ่งท่ีเกิดข้ึนและมองเห็นในทุกขณะ สมาธิจะเริ่มเขามาควบคุม
รางกายและความคิดรวมถึงระบบควบคุมการหายใจเขาและหายใจออก รางกายตองสงบ สุขภาพดี
และปราศจากความเครียด ความรูสึกที่รับรูไดไวตองคงใหมีไวเสมอ และจิตที่เต็มไปดวยความยุง
เหยิงและความพยายามไขวควาเพื่อใหไดมาประการตาง ๆ ตองยุติลง ไมใชเฉพาะทางดานกายภาพ
เทาน้ันที่เร่ิมตนแตนาจะเปนการเร่ิมตนทางดานจิตใจอันประกอบดวยทัศนะและอคติทั้งหลาย
รวมท้ังความสนใจเฉพาะตัวของตัวเองที่จําตองรูเห็น เม่ือสุขภาพจิตดี กระปรี้กระเปราและวองไว
ความรูจะแรงข้ึนและรับรูไดไวเปนพิเศษ จากนั้นรางกายอันมีปญญาของมันเองตามธรรมชาติซ่ึง
ไมไ ดถูกทําลายใหเ สียไปดว ยนิสัยเคยชินหรอื รสนิยมจะทําหนาทเี่ ทา ที่มนั ควรทํา

ดังนั้น ธยานะจึงเริ่มดวยจิตไมใชเร่ิมจากรางกาย จิตหมายถึงความคิดและการ
แสดงออกหลากหลายของความคิด การเพงเฉพาะลงไปอาจทําใหความคิดคับแคบจํากัดอยูใน
ขอบเขตและเปราะบาง แตการเพงเฉพาะลงไปจะเปนส่ิงที่เกิดขึ้นเมื่อมีความรูพรอมอยูถึงวิถีทาง

30

ของความคิด ความรูพรอมอยูนี้ไมไดออกมาจากผูคิดซ่ึงเปนผูเลือกเอามาหรือขจัดออกไป เปนผู
ยึดถือเอาไวหรือปฏิเสธไมยอมรับ ความคิดคือวัตถุ ไมอาจแสวงหาสิ่งท่ีพนออกไปจากกาละเพราะ
ความคดิ คอื ความจํา และประสบการณในความทรงจําเหมอื นกับฤดูใบไมรวงที่ผา นมา

ในความรูสึกตัวพรอมอยูในสิ่งทั้งหมดน้ีจะมีความเอาใจใส ซ่ึงไมใชผลออกมาจาก
ความไมใสใจ ความไมใสใจน่ันเองที่บงการใหเกิดนิสัยชอบความสนุกพึงใจทางกายและทําให
ความรูสึกรุนแรงนั้นจืดจางลง ความรูสึกตัวพรอมอยูในความไมใสใจคือความใสใจ การเห็น
ขบวนการอันซับซอนทั้งหมดน้ีคือสมาธิ ซ่ึงจากสมาธินี้เทาน้ันที่ทําใหเกิดระเบียบขึ้นในความ
สับสน ระเบียบนี้สมบูรณเทาเทียมวิชาคณิตศาสตรและจากสิ่งน้ีจะมีการกระทํา เปนการกระทําใน
ขณะนั้น ระเบียบไมใชการจัดการออกแบบ หรือการทําใหเกิดสัดสวนท่ีเหมาะสมขึ้นมา ส่ิงเหลานี้
จะเกิดข้ึนหลังจากสิ่งน้ัน ระเบียบออกมาจากจิตท่ีไมยุงเหยิงอันอัดแนนอยูดวยสิ่งที่เปนความคิด
เม่ือความคิดเงยี บลงจะมีความวางซึ่งก็คอื ระเบียบ

แมน้ําสายนี้เปนแมนํ้าที่เยี่ยมยอดจริง ๆ กวาง ลึก มีเมืองใหญนอยตั้งอยูสองฟาก
ฝง ชางเปน อิสระไมต องระมัดระวังอะไรแตกระนั้นมันก็ไมปลอยปะละทิ้งตัวของมัน
เอง ชีวิตบรรดามีพํานักอยูบนสองฟากฝงรวมท้ังทุงนาสีเขียว ปาไม บานท่ีต้ังอยูโดด
เด่ียว ความตาย ความรักและการแตกทําลายสลายลงไป มีสะพานกวางและยาวมาก
ทอดขามมันไป ดูสงางามและใชงานไดดี ลําธารและสายนํ้าอ่ืนมากมายไหลเขามา
สมทบ แตมันคือแมของสายน้ําท้ังหลายไมวาเล็กหรือใหญ แมน้ําสายนี้เต็มเปยมอยู
เสมอ ทําตัวเองใหใสสะอาดตลอดไป และในชวงยามเย็น ชางเปนความสุขเสีย
เหลือเกินท่ีไดมองดูแมน้ําสายนี้ มีสีลุมลึกในกอนเมฆและแมน้ําน้ีเปนสีทอง แตรูน้ํา
เลก็ ๆ ไกลออกไปโพน ซึง่ อยูในระหวางกอนหนิ ใหญโตมโหฬารซ่งึ ดูจะเพงเพียรท่ีจะ
ทาํ ใหเ กดิ รูนํา้ นเ้ี ปนจุดเรมิ่ ตน ของชวี ิต และจุดจบของมันเลยพนออกไปจากทั้งสองฝง
และทะเล (กฤษณมูรติ 2527 : 39)

สมาธิเหมือนกับแมนํ้าสายน้ี เพียงแตวามันไมมีจุดเริ่มตนและจุดจบ มันเริ่มตนและจุด
จบของมันก็คอื จดุ เริม่ ตน นน่ั เอง ไมมีสาเหตุและลีลาของการเคล่ือนไหวของมันคือการเกิดใหม มัน
ใหมอยูเสมอไมเคยที่จะเก็บรวบรวมเขามาเพ่ือท่ีจะเปนส่ิงเกา มันไมมีมลทินเพราะมันไมไดมี
รากเหงาอยูท่ีกาละ นับเปนการดีท่ีจะทําสมาธิ ไมใชบีบค้ันใหมันเกิดขึ้น ไมใชเพียรพยายามทําแต
อยางใด แตเริ่มตนดวยรูนํ้าเล็ก ๆ และไปใหพนจากกาละและอวกาศอันเปนท่ีซึ่งความคิดและ
ความรสู กึ เขา ไปไมได และประสบการณไ มปรากฏ

31

เมื่อเปรียบเทียบประสบการณธยานะกับธรรมชาติท่ีสัมผัส ขณะที่เดินไปตามชายหาด
ลูกคล่ืนใหญโตมาปะทะและแตกกระจาย และเกิดเสนโคงริมชายหาดที่สวยงามมีพลังเกิดขึ้นอยาง
มหาศาล เม่ือเดินสวนทางลมทําใหรูสึกวา ไมมีอะไรระหวางทองฟาและผืนน้ํา น้ีคือการเปดออก
สิ้นเชิง ยอมรับความรูสึกสัมผัสรอบ ๆ ตัว ทองฟา ทะเลและผูคน น่ันคือ สมาธิ การไมปดกั้น ไมมี
ส่งิ กัน้ ขวางภายใน ตอ สิ่งหน่ึงส่ิงใด เปนอิสระสิ้นเชิง จากแรงกระตุน จากกฎเกณฑขอบีบคั้นตาง ๆ
และตัณหาทง้ั หลาย ทาํ ใหรสู ึกถึงการหลดุ พน จากสิง่ พันธะนาการท้ังปวง

สังเคราะหค วามหมายของ “ธยานะภาวะ” สงู านออกแบบ

ธยานะ คือ หนทางหนึ่ง ซึ่งสามารถสรางเกราะปองกันเพื่อความสมดุลทั้งทางดาน
รางกายและจิตใจ เมื่อจิตภายในเปนสุข จิตนั้นจะสงผลสูภายนอก เมื่อจิตเขมแข็งรางกายก็แข็งแรง
ดวย ซึ่งสามารถรับรูไดจากสุขภาพกายที่ดีขึ้น อาการโรคภัยไขเจ็บ ความเครียด กระวนกระวายใจ
ลดนอยลง รางกายผอนคลายปรับสมดุลในการทํางานของอวัยวะตาง ๆ ธยานะภาวะหรือสภาวะ
ขณะสงบ

ดังน้ันการออกแบบ ธยานะภาวะ ในงานสถาปตยกรรมภายใน จึงมุงเนนถึงลักษณะ
พื้นท่ีการใชสอยภายใน เพ่ือแสดงถึงการแปลความหมายจาก ธยานะภาวะสูสภาวะของพื้นที่วาง
โดยเปรียบเทียบพื้นที่ประโยชนใชสอยกับธยานะภาวะและเพิ่มเติมสวนพ้ืนท่ีการใชงานให
เหมาะสมกับการปรับสภาพ เพ่ือความสมดุลท้ังทางดานรางกายและจิตใจของผูใชสอยพ้ืนท่ีภายใน
ใหมากข้ึน ทางดานจิตใจการบําบัดดวยธรรมชาติ ซึ่งเปนหนทางหนึ่งในการผอนคลายใหจิตเกิด
พ้ืนท่ีวางภายในเพ่ือสามารถรับรูสภาพแวดลอมภายนอกโดยไมคลอยตามส่ิงรุมเรา และทางดาน
รางกาย อิริยาบถของการนั่งพักผอนและการเดินจงกรมจะชวยใหรางกายผอนคลายมีการเปลี่ยน
ทวงทาของการปฏิบัติสมาธิ ทําใหรางกายไดรับการออกกําลังกายไปดวย พรอมท้ังเปนการกระตุน
อวยั วะตาง ๆ ใหทาํ งานสมบูรณขึ้น

32

สรปุ แนวทางการนาํ ไปใชเพ่อื งานออกแบบสถาปตยกรรมภายใน

1. ธยานะภาวะ สามารถเกิดข้ึนไดท้ังในขณะกอนการปฏิบัติสมาธิ ขณะปฏิบัติสมาธิ
และหลังจากการปฏิบัติสมาธิก็ได ดังน้ันธยานะจึงเกิดขึ้นในทุกขณะที่เกิดการกระทํา เพียงแตจะ
เกิดขึ้นในลักษณะและภาวะแบบไหน ธยานะทําใหเกิดการรับรูและพึงปฏิบัติในขณะเดียวกัน การ
รับรูถึงส่ิงท่ีกําลังปฏิบัติอยูในทุกขณะ ทําใหเกิดสมาธิที่ตั้งม่ันเพ่ือผลสัมฤทธของการกระทํานั้น
อยางมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด เม่ือเกิดการกระทําใดเกิดขึ้น เม่ืออยูภายใต “ธยานะ” การกระทําน้ัน
จะเกดิ ผลของการกระทําอยางท่ีสดุ เชน เมอื่ เริ่มตนการทาํ งานโดยเกิดจากสมาธิ สตจิ ะตามมาเพอื่ ให
ทราบถึงการกระทําในทุกขณะของการทํางาน และเม่ือการทํางานเกิดความออนลา ธยานะเริ่ม
หายไป การผอนคลายเพื่อใหเกิดความวาง ทําใหสามารถเรียนรู รับความคิดใหมๆและเริ่มทําส่ิง
ตางๆไดอยางมีประสิทธิภาพอยางเต็มท่ี และธยานะก็จะเริ่มเกดใหมตอไป ดังนั้นธยานะจึงไมมี
จุดเริ่มตน และธยานะก็ไมมีจดุ สิ้นสดุ เชน กนั

แผนภาพท่ี 2 แสดงทิศทางของจุดเริ่มตนและจุดสน้ิ สดุ ของธยานะ

ธยานะ คือจิตเกิดสมาธิท่ีต้ังมั่นอยูในทุกขณะของการกระทํา เมื่อธยานะเปนแกน
ของจิต จิตจะเปนสมาธิในทุกขณะท่ีดําเนินชีวิต ในทุกๆอิริยาบถของการยางกาวของการกระทํา
ธยานะทําใหเห็นความเปนจิตของธรรมชาติในทุกสิ่งและธรรมชาติน้ันเองท่ีจะทําใหจิตกลับเปนจิ
ตบริสุทธ เพ่ือรับรูสิ่งที่ตางๆที่เกิดขึ้นอยางเขาใจธรรมชาติ ตัวตนอยางถองแท ดังนั้นธรรมชาติจึง
เปนสวนหน่ึงของการกลับคืนสูตัวตนที่แท เนื่องจากเจาหนาท่ีมูลนิธิเพ่ือนหญิงตองพบเจอและรับ
ฟง ปญหามากมายจากผถู ูกทาํ รา ยท่ตี อ งการทีพ่ ่ึงคอยใหค ําปรึกษาและเขาใจจิตใจที่บอบช้ําจาการถูก
ทําราย เจาหนาที่มูลนิธิจึงตองการการผอนคลายความตรึงเครียด โดยการนําธยานะเขามาเปนสวน

33

หน่ึงของการทํางาน การประชุม และการวิจัย เพื่อเปนการผอนคลายจิตใจ ซ่ึงเปนการบําบัดโดย
ธรรมชาติ ในลักษณะของรูปธรรม คือ สิ่งแวดลอมรอบๆโครงการ เพราะธรรมชาติ คือ ความ
บริสุทธิ์โดยไมมีการปรงุ แตง และไมม อี ะไรปรุงแตง ได เพือ่ กลบั ไปสูจ ติ ที่บริสุทธ์ิ

2. มูลนิธิเพื่อนหญิง เปนองคกรท่ีคอยใหความชวยเหลือเพศหญิงที่ถูกทําราย โดยการ
ใหคําปรึกษาทางดานกฎหมายและสังคมสงเคราะหเฉพาะราย เพื่อใหเพศหญิงที่ถูกทํารายเพื่อ
สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุข ดังน้ันเจาหนาท่ีมูลนิธิเพ่ือนหญิงจึงไดรับผลกระทบ
จากปญ หาของผทู ถ่ี กู ทํารา ยโดยตรง ทางดา นจติ ใจของเจา หนาทีม่ ลู นิธิเพือ่ นหญิงจึงไดรับภาวะของ
ความเครียด ความหดหูจากเหตุการณที่ผูถูกทํารายไดประสบมา ดังน้ันจิตที่สงบและตั้งอยูในศานติ
เขมแข็ง จึงจะสามารถชวยเหลือและเปนที่พ่ึงใหกับผูท่ีถูกทํารายมา สวนทางดานรางกาย เม่ือจิตอยู
ในสภาวะของการตั้งม่ันไมไหวตามส่ิงเรารอบดาน รางกายก็จะไมไดรับผลกระทบจากส่ิงเรา
เชนกัน

การตีความหมายของมูลนิธิเพ่ือนหญิง เปนองคกรที่ใหความชวยเหลือ การโอบอุม
การปกปองภาวะจิตของผูที่ถูกทําราย เพื่อสามารถดํารงอยูในสังคมปจจุบันไดอยางปกติ แมวาการ
ชวยเหลือดังกลาวอาจจะไมสามารถทําใหผูถูกทํารายมีภาวะจิตที่เหมือนเดิมได แตเปนการผอน
หนักใหเปนเบา ซ่ึงเจาหนาท่ีมูลนิธิเพื่อนหญิงที่มีประสบการณจะสามารถมองถึงปญหาในมุมมอง
ที่กวางและหลากหลายกวา การใชม ุมมองในการแกไขปญหาเพียงดา นเดยี วและการคมุ ครองสิทธ์ิใน
การดําเนินการทางกฎหมายกับผูท่ีกระทําผิด โดยสามารถเรียกรองสิทธิสตรีท่ีพ่ึงจะไดรับจาก
เหตุการณท่ีเกิดข้ึน ในทางกลับกันปญหาตางๆที่เกิดขึ้นกับเพศหญิงท่ีถูกทําราย เจาหนาท่ีมูลนิธิ
เพื่อนหญิงเปนผูท่ีไดรับผลกระทบจากปญหาตางๆโดยตรง ภาวะทางดานจิตใจจึงไดรับผลกระทบ
จากเหตุการณข องผถู กู ทํารายและหาวิธีเพอ่ื แกปญ หานนั้ ใหลุลวง ความกดดันที่เจาหนามูลนิธิเพื่อน
หญิงไดรับ เปนภาวะความเครียด ความกดดัน จากปญหาที่คอยรุมเรา เชน ในการทํางานสวนของ
ทนายของมูลนิธิเพ่ือนหญิง ซ่ึงมีเจาหนาท่ีท่ีคอยใหคําปรึกษา 4คน อยูประจํามูลนิธิ 2คนและ
ออกไปชวยเหลือผูถูกทํารายตามสถานท่ีตางๆ 2คน ดวยเน่ืองจากในหนึ่งวันมีผูท่ีถูกทํารายที่
ตองการคําปรึกษามากกวา 10ราย เจาหนาท่ีจึงไดรับฟงปญหามากกวา 1 ดังนั้นภาวะทางจิตของ
เจาหนา ทม่ี ลู นธิ ิเพ่ือนหญงิ จงึ ตองการภาวะของการผอนคลายดวยการพูดคุยเพ่ือหาขอยุติของปญหา
และการบาํ บัดจากธรรมชาติ เพือ่ ความใกลช ิดและเปนหนง่ึ เดียวกับธรรมชาติ ซึ่งสภาพแวดลอมเดิม
ของมลู นิธยิ งั ตอ งการการผอ นคลายจากธรรมชาตเิ น่อื งจากมสี วนหยอมอยูบริเวณทางเขาที2่

ดังนั้น สภาพแวดลอมของโครงการจึงเปนสวนหนึ่งท่ีสามารถเยียวยาภาวะทางดาน
รางกายและจิตใจของเจาหนาท่ีมูลนิธิเพื่อนหญิง โดยเพ่ิมสวนของประโยชนใชสอยภายใน
โครงการ ใหมีสวนของการพักผอน พูดคุยตามอิริยาบถตางๆมากข้ึนและการแบงพ้ืนที่เพื่อเปน

34

สัดสว นของการทาํ งานเพ่ือใหเกิดสมาธใิ นการทาํ งานมากข้ึน เนอื่ งจากในการออกแบบธยานะภาวะ
ในงานสถาปตยกรรมภายใน ธยานะจึงเกิดในทุกๆท่ีของงานสถาปตยกรรมนี้ ดังน้ันตั้งแตบริเวณ
ทางเขาหลักจึงใชการยางกาวอยางมีสติเพื่อใหเกิดสมาธิในการกาวแตและกาว เพ่ือหนทางการเดิน
อยางม่ันคงโดยใชจิตเปนเข็มทิศในการตั้งทิศทางของการเดินไปยังพ้ืนท่ีใชสอยอื่นๆตอไป เมื่อเขา
สบู รเิ วณการทํางานของเจาหนาท่ีมลู นิธิ ธยานะจะเกิดขน้ึ ไดด ว ยการผอนคลายจากสภาวะตางๆแลว
จึงเขาสูสภาวะของการทํางานท่ีแบงสัดสวนในการทํางานอยางชัดเจนหรือการเขาสูธยานะอยาง
เฉียบพลัน เพื่อพรอมในการทํางานอยางทันทวงที การทํางานคือการต้ังสมาธิอยูกับงานที่กําลังทํา
จึงจะประสบผลสําเร็จในการทํางานนั้นๆ ซึ่งเปนลักษณะเดียวกับธยานะที่สภาวะจิตท่ีเกิดข้ึน เปน
ภาวะที่สงบกับสิ่งท่ีกําลังปฏิบัติอยูในทุกขณะ เนื่องจากสถานท่ีทํางานของเจาหนามูลนิธิมีหนังสือ
เอกสารการวิจยั และเอกสารทั่วไปเปน จาํ นวนมาก จากจดั เก็บและการคน หาอยา งเปนระเบยี บจงึ เปน
อีกหนทางหน่ึงที่จะทําใหเจาหนาที่มูลนิธิเพื่อนหญิง สามารถเกิดสมาธิขณะปฏิบัติงานไดโดย
ฉับพลัน

การเช่ือมตอของพื้นท่ีภายในองคกรมูลนิธิเพื่อนหญิง โดยมีธยานะภาวะเปนแกน
หลัก ในการเชื่อมตอภายในโครงการเพื่อการเขาสูพ้ืนที่ใชสอยตางๆสามารถเช่ือมเขาถึงทุกๆพ้ืนที่
โดยมีการแบงช้ันที่เปนสัดสวน เพ่ือใหเกิดสมาธิในทุกๆพ้ืนที่ใชสอย ซ่ึงเม่ือเปรียบเทียบกับการฝก
จิตเพ่ือเปนสมาธิ การเดินจงกรมเปนหนทางหน่ึงท่ีทําใหเกิดสมาธิไดในขณะเดินและรูเทาทันของ
การยางกาวแตละกาว การต้ังจิตไปสูการภาวนาสามารถรวมจิตท่ีฟุงซานกับกายท่ียางกาวไปสู
จดุ หมายเดยี ว การเดินอยา งรูทันกายและจิต เปนการเรม่ิ ตน ที่แตกตา งจากการเดนิ ในกิจวตั ร การรตู วั
อยทู กุ ขณะ วากําลงั ทาํ อะไรและรตู วั อยทู กุ ขณะที่กําลังปฏิบัติสมาธิ นั่นคือ การมีสติอยูทุกขณะ เมื่อ
การเดินถึงจุดปลายทางการหมุนตัวกลับอยางมีสติ วาเรากําลังหมุนกลับตัวอยู การจัดวางพื้นท่ีใช
สอยภายในจึงมีลักษณะเหมือนการเดินจงกรม คือทางเดินที่เช่ือมตอกันโดยไมมีจุดเร่ิมตนและจุด
จบของการเดนิ แตเ ปน การเดินที่รเู ทา ทันถึงพน้ื ท่ใี ชสอยในแตล ะสว นทมี่ ีความตอเนื่องกันทง้ั หมด

ดังน้ันสภาพแวดลอมโดยรอบของโครงการ ธยานะภาวะ ในงานสถาปต ยกรรม
ภายในจึงเกิดเปนสภาพแวดลอมท่ีลอมรอบไปดวยธรรมชาติและสัตวตามธรรมชาติ ธารน้ํา ตนไม
พื้นท่ีสีเขียว เพ่ือความรมร่ืน ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของการบําบัดจิตดวยธรรมชาติ โดยมีสถาปตยกรรม
ซึ่งมีธรรมชาติคอยโอบลอมและมีธยานะเปนหนทางหน่ึงท่ีทําใหเกิดภาวะของสมาธิในทุกๆพ้ืนท่ี
ของโครงการ


Click to View FlipBook Version