The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือมัคนายกน้อย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สพป.ขอนแก่น เขต 4, 2022-05-12 01:26:54

คู่มือมัคนายกน้อย

คู่มือมัคนายกน้อย

คำนำ

มคั นายก(ภาษาบาลี) หรอื มรรนายก (ภาษาสันสกฤต) แปลวา่ ผนู้ ำทาง คือผูน้ ำบุญ ผู้
แนะนำทางบุญ ผูช้ ้ีทาง ใชเ้ รยี กคฤหัสถผ์ ้ปู ระสานติดตอ่ ระหวา่ งวัดกบั ชาวบา้ นในกจิ กรรมต่างๆของ
วดั หรือเป็นหวั หน้าในพิธีทำบญุ พิธีกรรมต่างๆ เชน่ การอาราธนาศีล อาราธนาธรรม การนำถวาย
ทานตา่ งๆ ตลอดจนจดั แจงดูแลศาสนพธิ อี ืน่ ๆใหถ้ กู ตอ้ งเรยี บร้อย อาจเป็นชายหรอื หญงิ กไ็ ด้
มคั นายกที่ดแี ละเก่งจะทำให้งานบุญต่างๆ สำเรจ็ เรียบร้อยต้องมีความรู้ ความเข้าใจในศาสนพิธีและ
ประเพณปี ฏบิ ตั ิใหถ้ ูกตอ้ ง

สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 4 ได้ตระหนักและเหน็ ความสำคัญ
ในการปลูกฝังหลกั ธรรมในทางพระพทุ ธศาสนา คุณธรรม จรยิ ธรรม แกเ่ ดก็ และเยาวชน จงึ ไดจ้ ัด
หนังสือ “ค่มู อื มัคนายกน้อย” เพือ่ ใช้เปน็ กระบวนการพัฒนาเดก็ และเยาวชนตลอดจนผูท้ ่สี นใจได้ฝกึ
ปฏบิ ัติตามหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี สามารถนำไปปฏบิ ตั ิและแนะนำแกผ่ ู้อนื่ ได้
และร่วมกันอนรุ กั ษ์สืบสานศิลปวฒั นธรรมประเพณีของชาติ เป็นการสืบทอดเป็นมรดกทางวฒั นธรรม
อนั เปน็ ส่ิงทีน่ า่ ภาคภมู ิใจของประชาชนชาวไทยตลอดไป

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 4 หวังเปน็ อย่างย่ิงวา่ หนังสือ
“คูม่ ือมัคนายกนอ้ ย”เลม่ น้ี จักเปน็ ประโยชนแ์ ก่ศาสนพธิ ีกร นกั เรยี น นกั ศึกษา และประชาชนท่ัวไป
ได้ศึกษาและใช้เปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน สืบไป

สารบญั หน้า

ประวัตพิ ระพทุ ธเจ้า 1
หลกั ธรรมสำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา 5
วันสำคญั ทางพระพุทธศาสนา 8
การปฏบิ ตั ิตอ่ พระภิกษสุ งฆ์ 12
การกรวดน้ำและรับพรพระ 14
คำนมัสการพระรตั นตรัย 16
คำบูชาพระรตั นตรยั 16
คำอาราธนาศีล 16
คำอาราธนาพระปริตร 17
คำอาราธนาธรรม 17
คำถวายตา่ ง ๆ 19
การกรวดนำ้ และรบั พรพระ 21
คำกรวดน้ำ 21
บทกรวดนำ้ 21
คำอธิษฐาน..แผ่กุศล 22
คำลา พระรตั นตรยั 22
คำแผ่เมตตา 23
เทคนคิ วธิ กี ารฝึกสวดมนต์หมู่ (ทำนองสรภญั ญะ) 24
การปฏบิ ัติศาสนพิธเี บื้องตน้ 27
ประเภทของศาสนพธิ ีทางพระพุทธศาสนา 28
แบบอยา่ งการเตรียมสถานท่ี 30
การตัง้ โต๊ะหมู่บูชาในงานศาสนพธิ ี 40
การปฏิบตั งิ านศาสนพิธี 50
แนวทางการจัดงานศาสนพิธกี ับสถาบนั พระมหากษัตริย์ 58
วนั เฉลิมพระชนมพรรษา 65
การถวายผ้าพระกฐนิ พระราชาทน 71
การถวายผ้าป่า 76

สารบญั (ต่อ) หนา้
79
แนวทางการจัดงานมงคล 80
มารยาทชาวพทุ ธ 81
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ 81
งานบุญพิธี 83
พธิ สี งฆ์เนอื่ งในงานมงคลสมรส 87
การเตรียมการและการปฏบิ ัติพิธีงานศพท่ัวไป 100
การจดั ทานพธิ ี 103
ฮตี สิบสอง คองสบิ สี่ 106
สวดบาลีแปลภาษาไทย 111
สวดบาลแี ปลภาษาองั กฤษ 117
ภาคผนวก 118
การจดั โตะ๊ หม่บู ชู า(ภาพ) 121
การกราบ (ภาพ)
123
กิจกรรมการแขง่ ขนั 125
132
กิจกรรมการประกวดแขง่ ขันสุดยอดพุทธบตุ ร 133
กิจกรรมการประกวดกล่าวคำอาราธนาและถวายทาน
บรรณานุกรม
คณะผูจ้ ดั ทำ

1

พทุ ธประวัติของพระพุทธเจา้

ประสตู ิ
พระพุทธเจา๎ พระนามเดิมวาํ “ สิทธัตถะ “ เป็นพระราชโอรสของพระเจา๎ สทุ โธทนะและพระนางสิริมหามายา

แหํงกรงุ กบลิ พสั ด์ุ แควน๎ สกั กะ พระองค์ทรงถอื กําเนิดในศากยวงค์ สกุลโคตมะ พระองค์ประสตู ิ ในวนั ศกุ ร์ ข้นึ ๑๕ คํ่า
เดือน ๖ ( เดือนวสิ าขะ ) ปจี อ กอํ นพุทธศกั ราช ๘๐ ปี ณ สวนลมุ พินวี นั ซึ่งตงั้ อยรํู ะหวํางกรงุ กบลิ พัสดุ์ แควน๎ สักกะ กับ
กรงุ เทวทหะ แควน๎ โกลิยะ ( ปัจจบุ นั คือตาํ บลรุมมินเด ประเทศเนปาล )

การขนานพระนาม และทรงเจริญพระชนม์
พระราชกุมารไดร๎ บั การทํานายจากอสิตฤาษหี รือกาฬเทวลิ ดาบส มหาฤาษผี ๎บู ําเพ็ญฌานอยํใู นปาุ หิมพานต์ซงึ่ เปน็ ที่

ทรงเคารพนับถือของพระเจา๎ สทุ โธทนะวาํ “ พระราชกุมารน้เี ป็นอัจฉริยมนุษย์ มีลกั ษณะมหาบรุ ุษครบถว๎ น บุคคลท่ีมี
ลักษณะดังนี้ จักต๎องเสดจ็ ออกจากพระราชวงั ผนวชเปน็ บรรพชิตแลว๎ ตรัสรเู๎ ป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ๎าผไ๎ู มํมีกิเลส
ในโลกเป็นแนํ “

หลงั จากประสูติได๎ ๕ วนั พระเจา๎ สุทโธทนะโปรดให๎ประชุมพระประยรู ญาติ และเชิญพราหมณ์ ผูเ๎ รยี นจบไตรเพท
จาํ นวน ๑๐๘ คน เพื่อมาทาํ นายพระลักษณะของพระราชกุมาร

พระประยูรญาติได๎พร๎อมใจกันถวายพระนามวํา “สิทธตั ถะ” มีความหมายวาํ “ ผู๎มีความสาํ เร็จสมประสงค์ทุกสงิ่ ทกุ
อยํางทต่ี นตงั้ ใจจะทาํ ” สวํ นพราหมณเ์ หลาํ นัน้ คัดเลือกกนั เองเฉพาะผู๎ท่ีทรงวทิ ยาคุณประเสรฐิ กวาํ พราหมณท์ ้ังหมดได๎ ๘
คน เพอ่ื ทํานายพระราชกุมาร พราหมณ์ ๗ คนแรก ตาํ งก็ทํานายไว๎ ๒ ประการ คือ “ ถ๎าพระราชกุมารเสด็จอยํูครอง
เรือนก็จักเป็นพระเจา๎ จกั รพรรดผิ ๎ูทรงธรรม หรือถา๎ เสดจ็ ออกผนวชเป็นบรรพชิตจักเป็นพระอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจ๎าผ๎ูไมํ
มกี ิเลสในโลก” สวํ นโกณฑัญญะพราหมณ์ ผมู๎ ีอายุน๎อยกวําทกุ คน ได๎ทํานายเพยี งอยาํ งเดียววํา พระราชกมุ ารจักเสด็จ
ออกจากพระราชวงั ผนวชเป็นบรรพชติ แลว๎ ตรัสรูเ๎ ปน็ พระอรหันตสมั มาสมั พุทธเจา๎ ผไู๎ มํมีกิเลสในโลก “
เม่ือเจ๎าชายสิทธัตถะประสูตไิ ด๎ ๗ วัน พระราชมารดากเ็ สด็จสวรรคต ( การเสด็จสวรรคตดังกลาํ วเปน็ ประเพณีของผู๎ท่ี
เป็นพระมารดาของพระพุทธเจ๎า ) พระเจ๎าสทุ โธทนะทรงมอบหมายให๎พระนางมหาปชาบดีโคตมซี ่งึ เป็นพระกนิษฐาของ
พระนางสิริมหามายา เปน็ ผ๎ถู วายอภิบาลเลย้ี งดู เม่อื พระสิทธตั ถะทรงพระเจริญมีพระชนมายไุ ด๎ ๘ พรรษา ได๎ทรงศกึ ษา
ในสาํ นกั อาจารยว์ ิศวามิตร ซ่ึงมีเกยี รตคิ ุณแพรขํ จรไปไกลไปยังแควน๎ ตํางๆ เพราะเปดิ สอนศลิ ปวทิ ยาถึง ๑๘ สาขา
เจ๎าชายสิทธัตถะทรงศึกษาศิลปวิทยาเหลํานีไ้ ดอ๎ ยํางวํองไว และเช่ยี วชาญจนหมดความสามารถของพระอาจารย์

อภิเษกสมรส

ด๎วยพระราชบิดามีพระราชประสงคม์ ั่นคงท่จี ะใหเ๎ จา๎ ชายสทิ ธัตถะทรงครองเพศฆราวาสเป็นพระจักพรรดผิ ทู๎ รง
ธรรม จึงพระราชทานความสุขเกษมสําราญ แวดลอ๎ มด๎วยความบันเทิงนานาประการแกํพระราชโอรสเพอ่ื ผูกพระทยั ให๎
มน่ั คงในทางโลก เมื่อเจ๎าชายสิทธัตถะเจริญพระชนม์ได๎ ๑๖ พรรษา พระเจ๎าสุทโธทนะมพี ระราชดาํ ริวําพระราชโอรส
สมควรจะได๎อภิเษกสมรส จึงโปรดใหส๎ ร๎างปราสาทอันวจิ ติ รงดงามข้นึ ๓ หลัง สาํ หรับให๎พระราชโอรสได๎ประทับอยําง
เกษมสําราญตามฤดกู าลทั้ง ๓ คือ ฤดูร๎อน ฤดูฝน และฤดหู นาว แลว๎ ตงั้ ชอื่ ปราสาทนั้นวาํ รมยปราสาท สรุ มยปราสาท
และสุภปราสาทตามลําดบั และทรงสํขู อพระนางพมิ พาหรือยโสธรา พระราชธดิ าของพระเจา๎ สุปปพุทธะและพระนางอมิ
ตา แหํงเทวทหะนคร ในตระกูลโกลิยวงค์ ใหอ๎ ภเิ ษกด๎วย เจ๎าชายสทิ ธัตถะได๎เสวยสุขสมบัติ จนพระชนมายุมายไุ ด๎ ๒๙
พรรษา พระนางพิมพายโสรธาจงึ ประสูตพิ ระโอรส พระองคม์ ีพระราชหฤทยั สเิ นหาในพระโอรสเปน็ อยาํ งยิง่ เมื่อพระองค์
ทรงทราบถึงการประสูติของพระโอรสพระองค์ตรสั วํา “ ราหลุ ชาโต, พันธน ชาต , บวํ งเกดิ แลว๎ , เครือ่ งจองจําเกดิ แลว๎


2

ออกบรรพชา
เจ๎าชายสทิ ธตั ถะทรงเปน็ ผูม๎ ีพระบารมีอันบริบูรณ์ ถึงแม๎พระองคจ์ ะทรงพรง่ั พร๎อมด๎วยสุขสมบตั ิมหาศาลกม็ ิได๎

พอพระทัยในชีวิตคฤหสั ถ์ พระองค์ยงั ทรงมพี ระทยั ฝักใฝุใครํครวญถงึ สจั ธรรมทจ่ี ะเป็นเครอื่ งนําทางซ่ึงความพน๎ ทุกข์อยูํ
เสมอ พระองค์ไดเ๎ คยสดจ็ ประพาสอทุ ยาน ได๎ทอดพระเนตรเทวทูตทั้ง ๔ คือคนแกํ คนเจ็บ คนตาย และบรรพชิต
พระองค์จงึ สังเวชพระทัยในชวี ิต และพอพระทยั ในเพศบรรพิต มีพระทยั แนํวแนทํ จ่ี ทรงออกผนวช เพ่อื แสวงหาโมกข
ธรรมอนั เป็นทางดับทกุ ขถ์ าวรพน๎ จากวัฏสงสารไมํกลบั มาเวียนวํายตายเกิดอีก พระองค์จึงตัดสนิ พระทยั เสด็จออกทรง
ผนวช โดยพระองค์ทรงม๎ากัณฐกะ พร๎อมดว๎ ยนายฉนั นะ มํงุ สแูํ มนํ าํ้ อโนมานที แควน๎ มลั ละ รวมระยะทาง ๓๐ โยชน์
(ประมาณ ๔๘๐ กโิ ลเมตร ) เสด็จขา๎ มฝ่งั แมํนํ้าอโนมานทแี ล๎วทรงอธษิ ฐานเพศเป็นบรรพชติ และทรงมอบหมายใหน๎ าย
ฉันนะนําเคร่ืองอาภรณ์และม๎ากัณฐกะกลบั นครกบลิ พสั ด์ุ

เข้าศึกษาในสานักดาบส
ภายหลงั ทท่ี รงผนวชแลว๎ พระองคไ์ ด๎ประทบั อยูํ ณ อนุปิยอัมพวัน แควน๎ มัลละเป็นเวลา ๗ วัน จากน้ันจึงเสดจ็ ไป

ยังกรงุ ราชคฤห์ แคว๎นมคธ พระเจา๎ พิมพิสารไดเ๎ สดจ็ มาเฝาู พระองค์ ณ เทอื กเขาปัณฑวะ ได๎ทรงเห็นพระจริยาวัตรอนั
งดงามของพระองค์ก็ทรงเลอื่ มใส และทรงทราบวาํ พระสมณสิทธตั ถะทรงเห็นโทษในกาม เห็นทางออกบวชวาํ เปน็ ทางอนั
เกษม จะจารกิ ไปเพื่อบําเพ็ญเพียร และทรงยินดใี นการบําเพญ็ เพียรนนั้ พระเจ๎าพิมพิสารได๎ตรสั วาํ “ ทํานจักเป็น
พระพทุ ธเจา๎ แนนํ อน และเมอื่ ได๎เป็นพระพทุ ธเจ๎าแลว๎ ขอได๎โปรดเสด็จมายังแควน๎ ของกระหมอํ มฉนั เปน็ แหงํ แรก “ซง่ึ
พระองค์ก็ทรงถวายปฏญิ ญาแดพํ ระเจ๎าพมิ พิสาร

การแสวงหาธรรมระยะแรกหลังจากทรงผนวชแลว๎ สมณสิทธตั ถะได๎ทรงศึกษาในสํานักอาฬารดาบส กาลามโคตร
และอุทกดาบส รามบุตร ณ กรุงราชคฤห์ แควน๎ มคธ พระองคไ์ ด๎ทรงประพฤติพรหมจรรย์ในสํานักของอาฬารดาบส กา
ลามโคตร ทรงได๎สมาบตั ิคือ ทุตยิ ฌาน ตติยฌาน อากาสานญั จายตนฌาน วิญญานญั จายตนฌาน และอากญิ จัญญายตน
ฌาน สวํ นการประพฤติพรหมจรรย์ในสาํ นักอทุ กดาบส รามบุตร น้ันทรงได๎สมาบัติ ๘ คอื เนวสญั ญานาสัญญายตนฌาน
สาํ หรับฌานที่ ๑ คอื ปฐมฌานน้นั พระองค์ทรงได๎ขณะกาํ ลงั ประทับขัดสมาธิเจริญอานาปานสติกัมมัฏฐานอยูํใตต๎ น๎ หว๎า
เน่อื งในพระราชพิธีวัปปมงคล ( แรกนาขวญั ) เมื่อคร้ังทรงพระเยาว์
เมือ่ สําเรจ็ การศกึ ษาจากทั้งสองสาํ นักนี้แล๎วพระองค์ทรงทราบวาํ มใิ ชหํ นทางพ๎นจากทุกข์ บรรลุพระโพธิญาณ ตามท่ีทรง
มํงุ หวงั พระองคจ์ ึงทรงลาอาจารยท์ ั้งสอง เสด็จไปใกลบ๎ รเิ วณแมนํ ํ้าเนรญั ชรา ที่ตําบลอรุ ุเวลาเสนานิคม กรงุ ราชคฤห์
แคว๎นมคธ

บาเพญ็ ทุกรกริ ยิ า
“ ทกุ ร “ หมายถงึ สิ่งที่ทําไดย๎ าก “ ทกุ รกิริยา” หมายถงึ การกระทํากจิ ทที่ ําได๎ยาก ได๎แกกํ ารบําเพ็ญเพียรเพ่ือ

บรรลธุ รรมวิเศษ”
เม่ือพระองคท์ รงหันมาศึกษาคน๎ คว๎าดว๎ ยพระปญั ญาอนั ยิ่งด๎วยพระองคเ์ องแทนการศกึ ษาเลาํ เรยี นในสํานัก

อาจารย์ ณ ทิวเขาดงคสริ ิ ใกลล๎ ํมุ แมนํ า้ํ เนรัญชรานนั้ พระองค์ได๎ทรงบําเพ็ญทุกรกริ ยิ า คอื การบําเพ็ญอยาํ งยงิ่ ยวดใน
ลกั ษณะตาํ งๆเชํน การอดพระกระยาหาร การทรมานพระวรกายโดยการกลนั้ พระอสั สาสะ พระปัสสาสะ ( ลมหายใจ )
การกดพระทนต์ การกดพระตาลุ ( เพดาน) ดว๎ ยพระชวิ หา (ล้ิน) เปน็ ตน๎ พระมหาบรุ ุษไดท๎ รงทรงบําเพ็ญทกุ รกิริยาเป็น
เวลาถึง ๖ ปี ก็ยงั มิได๎ค๎นพบสัจธรรมอันเป็นทางหลุดพน๎ จากทกุ ข์ พระองคจ์ งึ ทรงเลกิ การบําเพ็ญทุกรกิรยิ า แล๎วกลับมา
เสวยพระกระยาหารเพอ่ื บํารงุ พระวรกายใหแ๎ ขง็ แรง ในการคิดค๎นวธิ ใี หมํ ในขณะท่พี ระมหาบุรษุ ทรงบาํ เพ็ญทุกรกริ ยิ า

3

นั้น ได๎มีปญั จวัคคยี ์ คอื พราหมณ์ทัง้ ๕ คน ได๎แกํ โกณฑญั ญะ วปั ปะ ภัททิยะ มหานามะ และอสั สชิ เปน็ ผค๎ู อยปฏิบัติ
รับใช๎ ดว๎ ยหวงั วําพระมหาบุรุษตรัสรแ๎ู ล๎วพวกตนจะไดร๎ ับการสงั่ สอนถํายทอดความรบู๎ า๎ ง และเมอื่ พระมหาบุรษุ เลกิ ลม๎
การบําเพ็ญทุกรกริ ิยา ปญั จคั คยี ก์ ็ได๎ชวนกนั ละทงิ้ พระองค์ไปอยูํ ณ ปาุ อสิ ปิ ตนมฤคทายวัน นครพาราณสี เป็นผลให๎
พระองค์ไดป๎ ระทบั อยูํตามลาํ พังในท่ีอันสงบเงยี บ ปราศจากสงิ่ รบกวนท้ังปวง พระองค์ได๎ทรงตั้งพระสตดิ าํ เนินทางสาย
กลาง คอื การปฏบิ ตั ิในความพอเหมาะพอควร นัน่ เอง

ตรสั รู้
พระพุทธเจา๎ ทรงตรสั รู๎ เวลารุงํ อรุณ ในวันเพญ็ เดือน ๖ ( เดือนวสิ าขะ) ปรี ะกา กอํ นพุทธศักราช ๔๕ ปี นาง

สุชาดาได๎นําข๎าวมธปุ ายาสเพ่ือไปบวงสรวงเทวดา ครั้นเห็นพระมหาบรุ ษุ ประทบั ท่ีโคนต๎นอชปาลนโิ ครธ (ต๎นไทร)ดว๎ ย
อาการอนั สงบ นางคดิ วาํ เป็นเทวดา จงึ ถวายขา๎ วมธุปายาส แลว๎ พระองค์เสด็จไปสทํู ําสปุ ดิษฐ์รมิ ฝ่ังแมํนา้ํ เนรัญชรา ทรง
วางถาดทองคาํ บรรจุข๎าวมธปุ ายาสแลว๎ ลงสรงสนานชําระลา๎ งพระวรกาย แลว๎ ทรงผา๎ กาสาวพสั ตรอ์ นั เปน็ ธงชัยของพระ
อรหนั ตสมั มาสัมพุทธเจา๎ ทุกพระองค์ หลังจากเสวยแลว๎ พระองค์ทรงจับถาดทองคาํ ข้ึนมาอธษิ ฐานวํา “ ถ๎าเราจักสามารถ
ตรสั รู๎ได๎ในวนั น้ี กข็ อให๎ถาดทองคําใบนจี้ งลอยทวนกระแสนาํ้ ไป แตํถา๎ มิได๎เปน็ ดงั น้ันก็ขอใหถ๎ าดทองคาํ ใบนจี้ งลอยไป
ตามกระแสนาํ้ เถิด “ แลว๎ ทรงปลอํ ยถาดทองคาํ ลงไปในแมํนํ้า ถาดทองคาํ ลอยตดั กระแสนํ้าไปจนถงึ กลางแมนํ ํา้ เนรญั ชรา
แลว๎ ลอยทวนกระแสนํา้ ข้นึ ไปไกลถึง ๘๐ ศอก จึงจมลงตรงที่กระแสนา้ํ วน ในเวลาเยน็ พระองคเ์ สดจ็ กลับมายังต๎นโพธ์ิท่ี
ประทบั คนหาบหญา๎ ชอ่ื โสตถิยะได๎ถวายหญ๎าปลู าดที่ประทับ ณ ใต๎ตน๎ โพธิ์ พระองคป์ ระทับหันพระพักตร์ไปทางทิศ
ตะวันออก และทรงต้ังจิตอธษิ ฐานวํา “ แม๎เลอื ดในกายของเราจะเหอื ดแห๎งไปเหลือแตํหนัง เอน็ กระดูกก็ตาม ถ๎ายังไมํ
บรรลุธรรมวเิ ศษแล๎ว จะไมยํ อมหยุดความเพยี รเปน็ อนั ขาด “ เม่อื ทรงตง้ั จิตอธษิ ฐานเชํนนนั้ แลว๎ พระองค์ก็ทรงสาํ รวม
จิตใหส๎ งบแนํวแนํ มพี ระสติต้ังมนั่ มีพระวรกายอนั สงบ มีพระหทัยแนวํ แนเํ ป็นสมาธิบรสิ ุทธิ์ผดุ ผอํ งปราศจากกเิ ลส
ปราศจากความเศร๎าหมอง อํอนโยน เหมาะแกกํ ารงาน ต้ังมัน่ ไมหํ วั่นไหว ทรงน๎อมพระทยั ไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติ
ญาณ ( ญาณเป็นเหตรุ ะลึกถึงขันธ์ที่อาศยั ในชาตปิ างกอํ นได๎ )ในปฐมยามแหํงราตรี ตํอจากนัน้ ทรงน๎อมพระทยั ไป
เพือ่ จตู ปุ าตญาณ ( ญาณกาํ หนดรก๎ู ารตาย การเกิดของสตั ว์ทง้ั หลาย ) ในมชั ฌิมยามแหงํ ราตรี ตํอจากน้ันทรงนอ๎ ม
พระทัยไปเพือ่ อาสวักขยญาณ ( ญาณหยงั่ รูใ๎ นธรรมเปน็ ท่ีสิ้นไปแหงํ อาสวกิเลสทงั้ หลาย) คอื ทรงร๎ูชัดตามความเปน็ จริงวาํ
นท้ี กุ ข์ น้ีทุกขสมุทัย นี้ทุกขนโิ รธ นท้ี กุ ขนิโรธคามนิ ปี ฏปิ ทา นี้อาสวะ นอี้ าสวสมทุ ัย นี้อาสวนโิ รธ นี้อาสวนิโรธคามินี
ปฏปิ ทา เม่ือทรงรูเ๎ หน็ อยาํ งน้ี จิตของพระองคก์ ็ทรงหลุดพ๎นจากกามสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ เมอ่ื จิตหลดุ พ๎นแล๎ว
พระองค์กท็ รงร๎ูวําหลุดพ๎นแล๎ว ทรงร๎ูชัดวําชาตสิ ้นิ แล๎ว อยจํู บพรหมจรรยแ์ ลว๎ ทํากจิ ที่ควรทําเสร็จแล๎ว ไมมํ ีกจิ อนื่ เพอ่ื
ความเป็นอยํางน้ีอีกตอํ ไป น่นั คือพระองค์ทรงบรรลวุ ิชชาที่ ๓ คอื อาสวักขยญาณ ในปจั ฉิมยาม แหงํ ราตรนี น้ั เอง ซงึ่ กค็ ือ
การตรัสร๎พู ระสัพพญั ญุตญาณ เปน็ พระอรหนั ตสัมมาสมั พทุ ธเจา๎ จากการที่พระองค์ทรงบําเพ็ญพระบารมมี าอยํางยง่ิ ยวด
พระองค์ทรงตรัสรใู๎ นวนั เพ็ญเดอื น ๖ ปีระกา ขณะพระชนมายุได๎ ๓๕ พรรษา นับแตวํ นั ทสี่ ด็จออกผนวชจนถึงวันตรัสรู๎
ธรรม รวมเป็นเวลา ๖ ปี
พระธรรมอันประเสรฐิ ท่ีพระพุทธเจ๎าตรสั รนู๎ ัน้ คอื อริยสจั ๔ ( ทกุ ข์ สมุทัย นโิ รธ มรรค )

ประกาศพระศาสนาครั้งแรก
เมื่อพระพุทธเจ๎าตรัสรแ๎ู ล๎วทรงเสวยวมิ ุตสิ ุข ณ บริเวณต๎นพระศรีมหาโพธเิ์ ปน็ เวลา ๗ สปั ดาห์ ทรงราํ พึงวํา

ธรรมะทพ่ี ระองค์ตรสั รูเ๎ ปน็ การยากสําหรับคนทั่วไป จึงทรงนอ๎ มพระทัยไปในทางท่ีจะไมํประกาศธรรม พระสหัมบดี
พรหมทราบวาระจิตของพระองค์จึงอาราธนาใหโ๎ ปรดมนุษย์ โดยเปรียบเทียบมนษุ ย์เหมือนดอกบัว ๔ เหลาํ และในโลกนี้
ยงั มีเหลาํ สัตว์ผ๎ูมีธลุ ีในดวงตาเบาบาง สัตวเ์ หลาํ นนั้ จะเสื่อมเพราะไมํได๎ฟังธรรม เหลาํ สัตว์ผทู๎ สี่ ามารถร๎ทู ่ัวถึงธรรมได๎ ยงั มี
อยํู “ พระพุทธเจ๎าจึงทรงน๎อมพระทัยไปในการแสดงธรรม แลว๎ เสด็จไปโปรดปัญจวคั คีย์ ณ ปาุ อสิ ปิ ตนมฤคทายวัน ทรง
แสดงปฐมเทศนา ในวันขน้ึ ๑๕ ค่ํา เดือน ๘ ( เดือนอาสาฬหะ) เรยี กวาํ ธรรมจักกปั ปวตั ตนสตู ร ในขณะทีท่ รงแสดง

4

ธรรม ทาํ นปัญญาโกณฑณั ญะไดธ๎ รรมจกั ษุ คอื บรรลุพระโสดาบนั ไดท๎ ูลขออปุ สมบทในพระธรรมวินัย ของสมเดจ็ พระ
สมั มาสัมพุทธเจ๎า เรยี กการบวชคร้ังนีว้ าํ “ เอหิภกิ ขุอปุ สัมปทา ” พระอญั ญาโกณฑญั ญะจึงเปน็ พระภิกษุรูปแรกใน
พระพทุ ธศาสนา

ทรงปรินิพพาน
พระพทุ ธเจ๎าทรงบําเพญ็ พุทธกจิ อยํจู นพระชนมายุ ๘๐ พรรษา พระองคเ์ สด็จจาํ พรรษาสุดท๎ายณ เมืองเวสาลี

ในวาระนน้ั พระพุทธองค์ทรงพระชราภาพมากแลว๎ ทงั้ ยังประชวรหนกั ด๎วย พระองค์ได๎ทรงพระดําเนินจากเวสาลีสํูเมืองกุ
สนิ าราเพื่อเสด็จดบั ขันธปรินิพพาน ณ เมืองนัน้ พระพทุ ธองคไ์ ดห๎ นั กลบั ไปทอดพระเนตรเมืองเวสาลีซง่ึ เคยเป็นทป่ี ระทบั
นบั เป็นการทอดทัศนาเมืองเวสาลีเป็นครัง้ สดุ ทา๎ ย แล๎วเสด็จตํอไปยังเมอื งปาวา เสวยพระกระยาหารเป็นครง้ั สดุ ทา๎ ยท่ี
บ๎านนายจุนทะ บตุ รนายชํางทอง พระพุทธองค์ทรงพระประชวรหนักอยํางยงิ่ ทรงขํมอาพาธประคองพระองค์เสดจ็ ถึง
สาลวโนทยาน (ปาุ สาละ)ของเจา๎ มลั ละเมืองกุสนิ ารา กํอนเสด็จดับขันธปรินิพพานพระองค์ได๎อุปสมบทแกํพระสุภัททะ
ปริพาชก นบั เปน็ สาวกองคส์ ดุ ท๎ายทพ่ี ระพุทธองค์ทรงบวชให๎ ในทํามกลางคณะสงฆ์ทง้ั ทีเ่ ปน็ พระอรหันต์และปุถุชน

พระราชา ชาวเมอื งกุสนิ ารา และจากแคว๎นตาํ งๆรวมทง้ั เทวดาทว่ั หมน่ื โลกธาตุ พระพุทธองค์ได๎มพี ระดํารสั ครง้ั
สาํ คัญวาํ “ โย โว อานนท ธมม จ วินโย มยา เทสิโต ปญญตโต โส โว มมจจเยน สตถา ” อันแปลวํา “ ดูกํอนอานนท์
ธรรมและวินัยอนั ทเ่ี ราแสดงแล๎ว บัญญตั แิ ลว๎ แกํเธอทัง้ หลาย ธรรมวนิ ัยนน้ั จักเปน็ ศาสดาของเธอทง้ั หลาย เม่ือเรา
ลวํ งลบั ไปแล๎ว “ และพระพทุ ธองคไ์ ด๎แสดงปจั ฉิมโอวาทแกพํ ระภิกษสุ งฆ์วาํ “ดูกํอนภิกษุท้ังหลาย นีเ้ ป็นวาจาคร้งั
สดุ ท๎าย ที่เราจะกลาํ วแกํทํานทง้ั หลาย สังขารทั้งหลายทั้งปวงมีความส้ินไปและเสอื่ มไปเป็นธรรมดา . ทาํ นทงั้ หลายจงทํา
ความรอดพ๎นใหบ๎ ริบูรณ์ถงึ ทีส่ ุด ดว๎ ยความไมปํ ระมาทเถิด “

แมเ๎ วลาลํวงมาถึงศตวรรษที่ ๒๕ แลว๎ นับต้ังแตพํ ระองคต์ รสั รเู๎ ปน็ พระอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจา๎ และเสดจ็ ดับ
ขนั ธปรินพิ พานทน่ี อกเมืองกุสนิ าราในประเทสอินเดีย แตํคําส่งั สอนอนั ประเสรฐิ ของพระองคห์ าได๎ลวํ งลบั ไปดว๎ ยไมํ คําสั่ง
สอนเหลาํ นนั้ ยงั คงอยูํ เปน็ เคร่ืองนาํ บคุ คลให๎ขา๎ มพ๎นจากความมชี วี ติ ข้นึ ไปสูซํ ่ึงคณุ คํายงิ่ กวาํ ชวี ติ คือการพน๎ จากวฏั สงสาร

หลังจากพระพุทธองคเ์ สด็จดับขันธปรนิ พิ พานแลว๎ สาวกของพระองค์ทง้ั ท่ีเปน็ พระอรหันตแ์ ละมิใชํพระอรหนั ต์
ไดช๎ ํวยบําเพญ็ กรณยี กจิ เผยแผํพระพทุ ธวัจนะอันประเสรฐิ ไปทวั่ ประเทศอินเดีย และขยายออกไปท่ัวโลก เปน็ ทีย่ อมรบั วาํ
พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาแหํงความเป็นจรงิ มีเหตผุ ลเช่อื ถือได๎และ เปน็ ศาสนาแหงํ สันตภิ าพและเสรีภาพอยาํ งแท๎จริง
สรปุ พทุ ธกจิ ในรอบวนั ของพระพุทธองค์
๑. ปุพพณเห ปิณฑปาตญจ ตอนเชา๎ เสด็จออกบิณฑบาตเพื่อโปรดเวไนยสตั ว์
๒.สายณเห ธมมเทสน ตอนเย็นทรงแสดงธรรมโปรดมหาชนทมี่ าเขา๎ เฝาู
๓.ปโทเส ภิกขุโอวาท ตอนหัวค่าํ ประทานโอวาทแกภํ ิกษุท้ังเกาํ และใหมํ
๔.อฑฒรตเต เทวปญหาน ตอนเทย่ี งคืนทรงวสิ ัชชนาปัญหาให๎แกํเทวดาช้ันตาํ งๆ
๕.ปจจสเสว คเต กาเล ภพพาภพเพ วิโลกน ตอนใกลร๎ งุํ ตรวจดูสัตวโ์ ลกท่สี ามารถและไมํสามารถบรรลธุ รรมได๎ แล๎วเสด็จ
ไปโปรดถึงที่ แมว๎ าํ หนทางจะลําบากเพยี งใดกต็ าม

5

หลักธรรมสาคญั ทางพระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม คือ ไมํนับถือพระเจ๎า เกิดข้ึนเม่ือ ๔๕ ปีกํอนพุทธศักราช ผ๎ูเป็น
ศาสดา คือ พระพุทธเจ๎า มีพระนามเดิมวํา เจ๎าชายสิทธัตถะ เหตุผลที่ดลใจให๎เจ๎าชายสิทธัตถะหนีออกไปผนวช เพราะ
พระองค์ขณะเสด็จประพาสอุทยานทรงเห็นคนเกิด คนแกํ คนปุวยและคนตาย พระองค์ทรงคิดวําส่ิงเหลํานี้คือความไมํ
แนํนอนของชวี ติ พระองคจ์ ึงมคี วามปรารถนาทจี่ ะเสาะแสวงทางดับทกุ ข์ดังกลําว

๑. พระชนมายุ ๒๙ พรรษา ทรงออกผนวช
๒. พระชนมายุ ๓๕ พรรษา ทรงตรสั ร๎ธู รรมเปน็ พระสมั มาสมั พุทธเจ๎า
๓. พระชนมายุ ๘๐ พรรษา เสดจ็ ดับขนั ธปรนิ ิพพาน กํอนปรนิ ิพพานได๎ประทานปจั ฉิมโอวาทแกํสาวก
และทรงเตอื นใหส๎ าวกปฏิบัตหิ นา๎ ทขี่ องตนดว๎ ยความไมํประมาท (อบั ปมาทธรรม)

หลกั ธรรมสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา

๑. ขนั ธ์ ๕ หรือ เบญจขันธ์ คอื องคป์ ระกอบของชีวติ มนุษยท์ ปี่ ระกอบดว๎ ยรปู และนาม
๑.๑ รูป คือ สวํ นที่เป็นรํางกาย ประกอบด๎วยธาตุ ๔ ไดแ๎ กํ
– ธาตดุ ิน (สํวนของรํางกายท่ีเป็นของแข็ง เชนํ เน้อื กระดกู ผม)
– ธาตุน้าํ (สํวนทีเ่ ป็นของเหลวของรํางกาย) เชํน เลือด นา้ํ ลาย นํ้าเหลือง น้ําตา )
– ธาตลุ ม (สํวนที่เปน็ ลมของรํางกาย ไดแ๎ กํ ลมหายใจเขา๎ ออก ลมในกระเพาะอาหาร)
– ธาตไุ ฟ ( สํวนท่เี ปน็ อณุ หภูมขิ องราํ งกาย ได๎แกํ ความร๎อนในราํ งกายมนุษย์)
นาม คือ สํวนทีม่ องไมํเห็นหรือจติ ใจ ได๎แกํ
๑.๒ เวทนา คือ ความร๎สู ึกทเ่ี กิดจากประสาทสมั ผสั เชนํ สขุ เวทนา ทกุ ขเวทนาและอุเบกขาเวทนา ไมํยินดยี นิ รา๎ ย
๑.๓ สญั ญา คอื ความจาํ ได๎โดยอาศัยประสาทสัมผสั เม่อื สมั ผัสอกี คร้ังก็สามารถบอกได๎
๑.๔ สังขาร คือ สภาพที่ปรุงแตํงจิตใจให๎คิดดี คิดชั่ว หรือเป็นกลาง สิ่งท่ีเข๎ามาปรุงแตํงจิต ได๎แกํ เจตนา คํานิยม ความ
สนใจ ความโลภ และความหลง
๑.๕ วิญญาณ คือ ความรับรท๎ู ผ่ี ํานมาทางตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ (อายตนะ ๖)
๒. อรยิ สัจ ๔ แปลวํา ความจรงิ อันประเสริฐ เปน็ หลักคําสอนที่สําคัญท่ีสุดของพระพุทธศาสนา เพราะเป็นคําสอนที่จะ
ชวํ ยใหบ๎ คุ คลรอดพ๎นจากความทกุ ข์เพือ่ สํูนิพพาน ไดแ๎ กํ
๑. ทุกข์ หมายถึง สภาพทท่ี นได๎ยากทง้ั รํางกายและจิตใจ
๑.๑ สภาวทกุ ข์ หรือ ทุกขป์ ระจาํ ได๎แกํ เกดิ แกํ เจบ็ ตาย
๑.๒ ปกณิ กทกุ ข์ หรือทกุ ข์จร เปน็ ทุกขท์ ่ีเกดิ ข้ึนภายหลัง เกดิ ขนึ้ แล๎วก็ผาํ นไปและเกิดขึน้ เนอื งๆ
เชํน ความเศร๎าโศก ความไมสํ บายกายไมํสบายใจ ความคับแค๎นใจ
๒. สมุทัย หมายถึง เหตุทท่ี าํ ให๎เกดิ ทุกข์ ได๎แกํ ตณั หา( ความอยาก)
๒.๑ กามตณั หา คือ อยากในรปู เสียง กลน่ิ รส สัมผัส ที่ตนยงั ไมมํ ี
๒.๒ ภวตัณหา คือ ความอยากมี อยากเปน็ อยากใหส๎ ภาพทตี่ นปรารถนาอยํนู านๆ
๒.๓ วิภวตณั หา คอื ความอยากมี อยากเป็น อยากใหส๎ ภาพที่ตนปรารถนาอยํนู านๆ
๓. นิโรธ หมายถึง ความดบั ทกุ ข์ คือ ใหด๎ ับทเี่ หตุ ซงึ่ มีขน้ั ตอนตามลําดับในมรรค ๘
๔. มรรค มอี งค์ ๘ หนทางแหงํ การดับทกุ ข์
๔.๑ สัมมาทฐิ ิ ความเห็นชอบ คือ มคี วามเขา๎ ใจวาํ อะไรคอื ทุกข์ อะไรคอื สาเหตแุ หํงทุกข์ อะไร คือความดบั ทุกข์
๔.๒ สัมมาสงั กปั ปะ ความดํารชิ อบ คอื ความคิดทปี่ ลอดโปรงํ ความคดิ ไมพํ ยาบาท ความคดิ ไมํเบยี ดเบยี น
๔.๓ สมั มาวาจา วาจาชอบ คือ ไมพํ ดู เทจ็ ไมพํ ูดสํอเสียด ไมพํ ูดหยาบ ไมํพูดเพ๎อเจ๎อ

6

๔.๔ สัมมากมั มันตะ การงานชอบ คือ ไมํทําลายชวี ติ คนอื่น ไมขํ โมยของ ไมผํ ดิ ในกาม

๔.๕ สมั มาอาชีวะ เลย้ี งชพี ชอบ คือ การทาํ มาหากินด๎วยอาชีพสจุ ริต

๔.๖ สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ คือ เพียรระวังมิให๎ความชั่วท่ียังไมํเกิดขึ้น เพียรละความชั่วท่ีเกิดขึ้น เพียรรักษา

ความดที ี่เกดิ ขน้ึ แล๎ว

๔.๗ สมั มาสติ ความระลกึ ชอบ คอื พิจารณากาย พิจารณาเวทนา พิจารณาจิต พจิ ารณาธรรม

๔.๘ สมั มาสมาธิ การต้ังใจชอบ คอื การตั้งจติ ที่แนํวแนํอยูํในอารมณ์ใด อารมณ์หน่ึง ไมํฟูุงซําน เพ่ือมุํงม่ันกระทําความดี

จากอริยสัจ ๔ สังเกตไดว๎ ํา

๑. ทกุ ข์ คอื ตวั ปัญหา ๒. สมทุ ัย คอื สาเหตุของปัญหา

๓. นิโรธ คือ การแกป๎ ัญหา ๔. มรรค คือ วธิ กี ารแก๎ปัญหา

มรรคมีองค์แปด คอื ไตรสกิ ขา ไดแ๎ กํ
ศีล สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สมั มาวายามะ
สมาธิ สมั มาสติ สมั มาสมาธิ
ปญั ญา สมั มาทฐิ ิ สัมมาสังกปั ปะ

ความสําคัญของอริยสจั ๔
๑. เป็นคําสอนทค่ี ลมุ หลักธรรมทั้งหมดของพระพุทธศาสนา
๒. เป็นวิธกี ารแก๎ไขปญั หาตามหลกั วิธีการทางวิทยาศาสตรห์ รอื วธิ ีการแหงํ ปญั ญา
๓. คาํ สอนทีช่ ี้ให๎เห็นวาํ มนุษย์สามารถแก๎ไขปญั หาของตนเองได๎ ตามหลักความจรงิ แหํงธรรมชาติ

๓. ไตรลักษณ์ คือ ลักษณะทวั่ ไปของสิง่ ทง้ั ปวง
๑. อนิจจตา หรือ อนิจจัง ความไมคํ งท่ี ไมํเทยี่ ง ไมถํ าวร ไมํแนํนอน
๒. ทุกขตา หรอื ทกุ ขัง สภาพทอี่ ยํูในสภาวะเดมิ ไมไํ ด๎ ตอ๎ งแปรปรวนไป
๓. อนัตตา ความไมใํ ชํตวั ตนแทจ๎ รงิ ไมํอยูํในอํานาจบงั คบั บญั ชา ไมมํ ใี ครเป็นเจา๎ ของ
ในเรอ่ื งไตรลักษณ์ พระพทุ ธศาสนาถอื วาํ เปน็ คาํ สอนสงู สุด ซึ่งทกุ สงิ่ ในสากลจกั รวาลล๎วนเป็น
อนัตตาทัง้ สิ้น
๔. กฎแห่งกรรม หมายถงึ กระบวนการกระทําและการให๎ผลการกระทําของมนุษย์ ซึ่งมีหลักอยํูวํา “คนหวํานพืชเชํนใด
ยํอมไดผ๎ ลเชํนนน้ั ผูท๎ าํ ความดียอํ มได๎รับผลดี ผทู๎ ํากรรมชั่วยํอมได๎รับผลช่วั ”
กรรม คือ การกระทําทางกาย วาจา หรือใจ ที่ประกอบดว๎ ยเจตนา ดังพุทธวจนะตรสั วาํ “ ภกิ ษุ
ทงั้ หลาย เรากลําววําเจตนาเปน็ กรรม บุคคลจงใจแลว๎ ยอํ มกระทาํ ทางกาย ทางวาจาและทางใจ

๕. พรหมวิหาร ๔ ธรรมสําหรับผู๎เป็นใหญํ ผู๎ปกครอง พํอแมํ จําเป็นต๎องมีไว๎เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวสําหรับดําเนินชีวิต
ได๎แกํ
๑. เมตตา ความรักใครํ ปรารถนาจะให๎เปน็ สุข
๒. กรณุ า ความสงสาร ต๎องการท่จี ะชํวยบคุ คลอืน่ สตั ว์อนื่ ให๎หลดุ พน๎ จากความทุกข์
๓. มุทติ า ความชนื่ ชมยินดเี ม่อื เหน็ บคุ คลอ่ืนเขาไดด๎ ี
๔. อเุ บกขา ความวางเฉยไมดํ ีใจไมเํ สียใจ เม่ือบคุ คลอืน่ ประสบความวิบตั ิ
๖. อปั ปมาท ธรรมที่กลําวถงึ ความไมํประมาท คือ การดําเนินชีวิตที่มีสติเป็นเครื่องกํากับความประพฤติปฏิบัติและการ

กระทําทุกอยําง ระมัดระวังไมํถลําตัวไปในทางเสื่อมเสีย พระพุทธเจ๎าทรงมีพระดํารัสเกี่ยวกับความไมํประมาทวํา “

ความไมปํ ระมาท ยอํ มเป็นประโยชน์ย่งิ ใหญํ”

7

๗. สงั คหวตั ถุ ๔ หลักธรรมทเี่ ปน็ เครือ่ งยึดเหนยี่ วน้ําใจคน
๑. ทาน การให๎
๒. ปิยวาจา การกลําวถอ๎ ยคาํ ไพเราะอํอนหวาน
๓. อตั ถจริยา การบาํ เพ็ญประโยชน์
๔. สมานตั ตตา การประพฤติตนสม่าํ เสมอทงั้ ตอํ หนา๎ และลบั หลัง
๘. ฆราวาสธรรม ๔ หลกั ธรรมสาํ หรับผ๎คู รองเรือน ไดแ๎ กํ
๑. สจั จะ การมคี วามซ่อื ตรงตํอกนั
๒. ทมะ การร๎จู ักขมํ จติ ของตน ไมหํ นุ หันพลันแลํน
๓. ขันติ ความอดทนและใหอ๎ ภยั
๔. จาคะ การเ สียสละแบํงปนั ของตนแกํคนท่ีควรแบงํ ปัน

๙. บญุ กริ ิยาวัตถุ ๑๐ หลกั ธรรมแหงํ การทําบุญ ทางแหงํ การทําความดี ๑๐ ประการ
๑. ทานมัย บญุ สําเร็จด๎วยการบรจิ าคทาน
๒. ศีลมัย บุญสาํ เร็จด๎วยการรกั ษาศลี
๓. ภาวนามัย บุญสาํ เรจ็ ด๎วยการเจรญิ ภาวนา
๔. อปจายนมยั บุญสาํ เร็จด๎วยการประพฤตอิ ํอนน๎อมถํอมตนตํอผ๎ใู หญํ
๕. เวยยาวจั จมัย บุญสําเร็จดว๎ ยการชวํ ยเหลอื ขวนขวายในกจิ การงานตาํ งๆ
๖. ปัตตทิ านมยั บุญสําเรจ็ ด๎วยการใหส๎ วํ นบุญ
๗. ปตั ตานุโมทนามยั บญุ สาํ เร็จดว๎ ยการอนโุ มทนาสํวนบุญ
๘. ธัมมัสสวนมัย บุญสําเรจ็ ดว๎ ยการฟงั ธรรม
๙. ธมั มเทสนามัย บญุ สาํ เรจ็ ด๎วยการแสดงธรรม
๑๐. ทฏิ ฐชุ กุ ัมม์ บญุ สาํ เรจ็ ด๎วยการทําความคดิ ความเห็นของตนใหต๎ รง

๑๐. สปั ปุริสธรรม ๗ หลกั ธรรมของคนดี หรือคณุ สมบัตขิ องคนดี
๑. ธัมมญั ญุตา ความเป็นผ๎รู จ๎ู ักเหตุ
๒. อัตถญั ญตุ า ความเปน็ ผูร๎ ๎ูจกั ผล
๓. อตั ตญั ญุตา ความเปน็ ผรู๎ ู๎จักตน
๔. มตั ตญั ญตุ า ความเปน็ ผร๎ู ๎จู กั ประมาณ
๕. กาลัญญตุ า ความเป็นผร๎ู จู๎ ักกาลเวลา
๖. ปริสัญญตุ า ความเปน็ ผูร๎ จู๎ กั ชุมชน
๗. ปคุ คลปโรปรัญญุตา ความเปน็ ผูร๎ จ๎ู กั เลือกคบคนดี

เป้าหมายของชีวติ
พระพุทธศาสนาวางเปาู หมายชีวิตไว๎ ๓ ระดบั

๑. เปูาหมายระดับพ้ืนฐาน (ทฏิ ฐธมั มิกตั ถะ) หมายถงึ เปูาหมายประโยชนใ์ นระดบั ชวี ติ ประจําวนั ที่
มนุษย์ในสังคมตอ๎ งการ คือ
– ขยนั หมัน่ เพยี ร (อฏุ ฐานสัมปทา)
– เก็บออมทรัพย์ (อารกั ขสัมปทา)
– คบคนดเี ป็นเพ่อื น (กัลยาณมิตตตา)

8

– ใช๎ทรพั ยเ์ ปน็ (สมชีวิตา)
๒. เปูาหมายระดบั กลาง (สัมปรายิกัตถะ) เนน๎ ทคี่ วามเจรญิ งอกงามแหํงจติ ใจ เป็นคุณคาํ ทีแ่ ท๎จริงของ

ชวี ติ คือ
– มศี รทั ธา เช่อื ในพระรตั นตรัย เชือ่ ในกรรม และผลของกรรม
– มศี ลี ความประพฤตทิ างกาย วาจา เรียบรอ๎ ย
– จาคะ ความเสยี สละ
– ปัญญา ร๎อู ะไรดอี ะไรชั่ว

๓. เปูาหมายระดบั สูงสดุ (ปรมตั ถะ) หมายถึง ประโยชน์ที่เปน็ แกนํ แท๎ของชีวติ เป็นจดุ หมายสุดท๎ายที่
ชวี ิตจะพึงบรรลุ คือ การบรรลนุ ิพพาน

วนั สาคัญทางพระพทุ ธศาสนา

วนั สาคญั ทางพุทธศาสนา คอื วนั ที่มีเหตกุ ารณ์สาคัญท่ีเก่ียวข้องกับพระพทุ ธเจา้

วนั สาคัญทางพระพทุ ธ ศาสนา มี ๔ วนั คือ
๑. วันมาฆบูชา
๒. วนั วิสาขบชู า
๓. วันอฏั ฐมบี ูชา
๔. วนั อาสาฬหบูชา

วันมาฆบูชา
ตรงกบั วนั ขนึ้ ๑๕ เดอื น ๓ (มาฆมาส) มเี หตุการณ์สาํ คัญ ๔ อยาํ ง เกดิ ขึ้น
๑. เป็นวันเพญ็ เดือนมาฆะ
๒. พระสงฆ์จาํ นวน ๑,๒๕๐ รปู มาประชมุ พร๎อมกนั โดยมิได๎นดั หมาย
๓. พระสงฆ์ลว๎ นเปน็ พระอรหันต์
๔. พระสงฆล์ ว๎ นบวชกับพระพทุ ธเจา๎ ท่เี รยี กวํา เอหิภกิ ขุอุปสัมปทา เรียกอกี อยํางวํา วันจาตุรงคสันนบิ าตบางครง้ั เรา
เรียกวาํ วันพระธรรม

9

วันวสิ าขบูชา
ตรงกับวนั ขนึ้ ๑๕ คา่ํ เดอื น ๖
มเี หตกุ ารณส์ าํ คัญ ๓ อยาํ งเกิดขึ้น คือ
๑. เปน็ วันประสตู ิของพระพุทธเจ๎า
๒. เปน็ วันตรัสรข๎ู องพระพทุ ธเจ๎า
๓. เปน็ วันปรินพิ พานของพระพุทธเจ๎า

องค์กรสหประชาชาตริ บั รองใหเ๎ ป็นวนั นเี้ ป็นวนั สําคัญสากลของโลก

10

วนั อัฏฐมบี ชู า
ตรงกบั วันแรม ๘ คา่ เดือน ๖
มเี หตกุ ารณ์สาํ คญั เกิดขึ้นในวันน้ี คอื หลงั จากวันปรนิ ิพพานของพระองค์ ๗ วัน กเ็ ป็นวันถวายพระเพลิงพระบรมสรรี ะ
ของพระพุทธเจา๎ ที่มกฏุ พันธเจดยี ์ เมอื งกสุ นิ ารา แควน๎ มลั ละ

วันเขา้ พรรษา
ตรงกบั วนั แรม ๑ ค่าํ เดือน ๘
มีเหตกุ ารณส์ าํ คญั เกิดข้ึนในวันนี้ คอื พระพุทธเจา๎ ทรงอนุญาตให๎พระสงฆจ์ าํ พรรษาอยทํู ่ีวัดใดวดั หนง่ึ ไมํใหไ๎ ปคา๎ งพกั ท่ีอ่ืน
๓ เดอื นเนือ่ งจากมีพระหมหํู นึ่ง ชื่อ ภัททวคั คีย์จารกิ ไปเหยียบนาข๎าว สัตว์เลก็ สัตว์นอ๎ ยตายในฤดฝู น

วันออกพรรษา
ตรงกบั วนั ขน้ึ ๑๕ คา่ํ เดอื น ๑๑ เรียกอกี อยาํ งวาํ วันมหาปวารณา
มีเหตุการณส์ าํ คัญเกดิ ขึ้นในวันนี้ คือ
- พระพุทธเจ๎าทรงอนุญาตให๎พระสงฆ์ไปจาํ วัดค๎างแรมทีอ่ นื่ ได๎
- เปน็ วนั ทพี่ ระพุทธเจา๎ ทรงลงจากสวรรค์ช้ันดาวดึงสห์ ลังจากทรงจาํ พรรษาท่ีน่ันเพ่ือแสดงธรรมแกํพุทธมารดาตลอด ๓
เดือน
วนั ธรรมสวนะ
ตรงกับวัน ขึ้น ๘ คาํ่ ขึ้น ๑๕ คํา่ แรม ๘ คาํ่ แรม ๑๕ คาํ่ หรอื ๑๔ คาํ่
วนั ธรรมสวนะ คอื วันกาํ หนดประชุมฟังธรรมและรักษาศีล ๕-๘ เรยี กอีกอยํางวํา วันพระ

11

การปฏิบตั ติ นในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
• ทาํ บญุ ตกั บาตรแลว๎ กรวดน้าํ แผํสํวนบุญให๎แกํผู๎ลวํ งลบั
• ฟังธรรมเทศนาท่วี ัด หรือทางวทิ ยโุ ทรทศั น์
• รกั ษาศีล ๕ หรือศีล ๘ เวน๎ จากการทําบาป ทําแตคํ วามดี ทาํ ใจใหบ๎ รสิ ทุ ธิ์
• แผํเมตตาใหแ๎ กํสัตว์
• นาํ ดอกไม๎ ธูปเทยี น ไปเวยี นเทยี นท่ีวดั เปน็ พุทธบชู า

12

การปฏิบัติต่อพระภิกษุสงฆ์

การประเคนของแดพ่ ระภกิ ษุสงฆ์

พระวนิ ยั บญั ญัติห้ามพระภิกษสุ งฆร์ ับหรอื หยิบสิ่งของมาขบฉันเองโดยไม่มีผู้ประเคนใหถ้ ูกต้องเสียก่อน

การประเคน หมายถึง การมอบใหด้ ้วยความเคารพ ใช๎ปฎบิ ัตติ ํอพระภกิ ษุสงฆ์เทํานน้ั มีวินยั บัญญัตหิ า๎ ม
พระภกิ ษสุ งฆ์รบั หรอื หยิบสง่ิ ของมาขบฉนั เอง โดยไมมํ ีผู๎ประเคนให๎ถูกต๎องเสียกํอน เพอ่ื ตัดปญั หาเรื่องการถวายแลว๎ หรือ
ยงั ไมํได๎ถวาย จึงใหพ๎ ระภกิ ษสุ งฆร์ บั ของประเคนเทําน้ัน ยกเวน๎ น้ําเปลาํ ที่ไมํผสมสี เชํน นํา้ ฝน นํา้ ประปา เปน็ ต๎น เพ่ือ
เปน็ การแสดงออกอยํางชดั เจนวํา สิง่ ของนน้ั ๆ เป็นของจัดถวายพระภกิ ษุสงฆ์แนนํ อน โดยมผี ป๎ู ระเคนเป็นพยานร๎ูเหน็
ด๎วยผู๎หนงึ่ การประเคนของจึงเปน็ การสนบั สนนุ ใหพ๎ ระภกิ ษสุ งฆป์ ฎบิ ตั ิตามพระวินยั ได๎ถูกต๎อง

การประเคนทถี่ ูกตอ้ งตามหลักพระวนิ ยั มีลักษณะท่ีกาหนดไว้ 5 ประการ ดังนี้

1. ส่ิงของทจ่ี ะประเคนต๎องไมใํ หญํจนเกินไปหรือหนักเกนิ ไป ขนาดคนพอมีกาํ ลังปานกลางยกขน้ึ ได๎ ถ๎าหนักหรือใหญํ
เกนิ ไปไมํต๎องประเคน
2. ผูป๎ ระเคนต๎องอยูใํ นหัตถบาส คือเอามือประสานกันแลว๎ ย่นื ไปข๎างหน๎า หาํ งจากพระภิกษุสงฆ์ผู๎รบั ประมาณ 1 ศอก
3. ผ๎ูประเคนน๎อมส่ิงน้นั สงํ ให๎พระภกิ ษุสงฆ์ด๎วยกรยิ าอํอนน๎อม แสดงความเคารพ
4. การน๎อมส่ิงของเข๎ามาให๎นั้นจะสงํ ให๎ด๎วยมือก็ไดห๎ รือใช๎ขิงเน่ืองดว๎ ยกายกไ็ ด๎ เชํน ใช๎ทพั พี หรอื ช๎อนตักอาหารใสํบาตร
ทท่ี ํานถือ หรอื สะพายอยกูํ ็ได๎
5. ในกรณีผูป๎ ระเคนเปน็ ชาย พระภกิ ษสุ งฆ์ผรู๎ ับจะรับด๎วยมือ ในกรณีผู๎ประเคนเป็นผูห๎ ญิง จะรบั ดว๎ ยของเนื่องดว๎ ยกาย
เชนํ ผา๎ ทอดรับ ใชบ๎ าตรรับ ใชจ๎ านรบั

การประเคนทถ่ี ูกต้องตามหลักพระวนิ ยั มลี กั ษณะทก่ี าหนดไว้ 5 ประการ

เม่ือการประเคนไดล๎ กั ษณะครบท้ัง 5 ประการน้ี จงึ เป็นอนั ประเคนถูกตอ๎ ง ถา๎ ไมไํ ดล๎ ักษณะน้เี ชนํ ของน้นั ใหญํและ
หนกั จนยกไมํข้ึน ผู๎ประเคนอยูนํ อกหัตถบาส หรอื ผป๎ู ระเคนเสอื กของสํงให๎ เปน็ ต๎น แม๎จะสํงให๎พระภกิ ษสุ งฆ์แลว๎ ก็
ตาม ก็ได๎ช่ือวาํ ยงั ไมไํ ด๎ประเคนนน่ั เอง

1. ถา๎ เป็นชาย ให๎คุกเขาํ หน๎าพระภิกษุสงฆ์ หาํ งจากทาํ นประมาณ 1 ศอก ยกของที่จะประเคนสํงให๎ทํานไปเลย
2. ถ๎าเปน็ หญิง ให๎วางของทจ่ี ะประเคน ลงบนผ๎ารับประเคนท่ที ํานทอดออกมารบั แลว๎ ปลอํ ยมอื เพื่อพระภิกษสุ งฆ์จะได๎
หยิบของน้นั
3. เมื่อประเคนเสร็จแล๎ว ใหก๎ ราบ 3 คร้งั หรอื ไหว๎ 1 ครง้ั กไ็ ด๎ ถ๎าของทจี่ ะประเคนมีมากให๎ประเคนของใหห๎ มด
เสียกอํ น แล๎วจงึ กราบหรือไหว๎ ไมํนยิ มกราบหรือไหว๎ทุกคร้ังที่ประเคน
4. ถ๎าพระภิกษสุ งฆร์ ับประเคนนั่งเกา๎ อ้หี รืออยบํู นอาสนะสูง ผปู๎ ระเคนไมํอาจน่ังประเคนไดใ๎ ห๎ถอดรองเท๎าเสยี กอํ นแลว๎
ยนื ประเคนตามวธิ ที ่กี ลาํ วแล๎ว

13

5. ของทปี่ ระเคนแล๎ว ห๎ามคฤหัสถแ์ ตะต๎องอีก เป็นเรอ่ื งพระภิกษุทํานจะหยิบสํงกันเอง หากไปแตะต๎องเขา๎ โดยเจตนา
หรอื ไมํกต็ าม ของนัน้ ถอื วาํ ขาดประเคน จะตอ๎ งประเคนใหมํ
6. สิ่งของที่ไมใํ ชํของเคีย้ วของฉัน เชํน กระโถน จาน ชอ๎ น แก๎วเปลาํ กระดาษ เป็นตน๎ ไมนํ ยิ มประเคน

การถวายภตั ตาหารแดค่ ณะสงฆ์อยา่ งถกู วธิ ี

ส่งิ ของที่ไม่สมควรประเคนถวายแด่พระภิกษสุ งฆ์ คือ เงิน และวัตถุที่ใชแ้ ทนเงิน เชนํ ธนบัตร ไมํสมควร
ประเคนพระภกิ ษสุ งฆโ์ ดยตรง แตนํ ิยมใช๎ใบปวารณาดังตัวอยํางแทนตัวเงนิ สวํ นตวั เงนิ นิยมมอบไว๎กบั ไวยาวจั กรของ
พระภิกษสุ งฆ์รูปน้ัน

ใบปวารณานี้ นยิ มใสํซองรํวมถวายไปกับเคร่อื งไทยธรรม สวํ นเงนิ คาํ จตปุ ัจจยั นนั้ มอบไปกับศิษยห์ รือไวยาวัจกรของ
พระภกิ ษสุ งฆน์ ้ันๆ

สิง่ ของทต่ี ้องหา้ มและสิ่งของทป่ี ระเคนไดส้ าหรบั พระภกิ ษุสงฆ์

1. อาหารท่ีไม่สมควรแก่สมณบริโภค ได้แก่ เนอื้ 10 ชนดิ และอาหารที่ปรงุ ดว้ ยเนอ้ื 10 ชนิด ดงั น้ี

1. เนอ้ื มนุษย์รวมถึงเลือดมนุษยด์ ว๎ ย
2. เน้อื ชา๎ ง
3. เนื้อม๎า
4. เนื้อสนุ ัข
5. เนื้องู
6. เน้ือราชสีห์
7. เนอ้ื เสอื โครํง
8. เนอ้ื เสือเหลือง
9. เนอ้ื หมี
10. เน้อื เสือดาว

สวํ นเน้ือสัตวน์ อกเหนือจากนถี้ า๎ เปน็ เนื้อทีย่ ังดิบอยํู ยงั ไมํสุกด๎วยความรอ๎ นจากไฟ ทรงห๎ามฉนั ถ๎าสุกแล๎วอนุญาต
ใหฉ๎ ันได๎ และเน้ือสตั ว์ทฆ่ี ําเจาะจงทําถวายพระภกิ ษุสงฆส์ ามเณร ถา๎ พระภิกษสุ งฆ์ไมํไดเ๎ ห็นการฆาํ นน้ั ไมํได๎ยนิ มากํอน
วําฆาํ เจาะจง ไมไํ ดส๎ งสัยวาํ เขาฆําเพ่ือเปน็ ของเฉพาะเจาะจงแกตํ นกข็ บฉนั ได๎ไมํมโี ทษ

2. สงิ่ ของทีป่ ระเคนพระภิกษุสงฆ์ได้ในเวลาก่อนเท่ยี ง เคร่อื งไทยธรรมประเภทอาหารคาวหวานทกุ ชนิด ได๎แกํ
1. อาหารสด เชํน อาหารคาว หวาน รวมทงั้ ผลไม๎ทกุ ชนดิ
2. อาหารแห๎ง เชํน ปลาเค็ม เนื้อเคม็ ข๎าวสาร ฯลฯ
3. อาหารเครอ่ื งกระป๋องทุกประเภท เชํน นม โอวลั ติน ปลากระปอ๋ ง

14

สง่ิ ของดังกลําวนยิ มถวายพระภิกษุสงฆ์ไดใ๎ นชวํ งเวลากํอนเทีย่ งเทํานนั้ ถ๎าจะนําไปถวายหลงั เที่ยงวนั ไปแล๎ว นยิ ม
เพียงแตํแจ๎งใหพ๎ ระภิกษุสงฆ์ทราบ แลว๎ มอบสงิ่ ของดังกลาํ วใหล๎ กู ศิษยข์ องทํานเก็บรักษาไวถ๎ วายทาํ นในวันตํอไป
3. สง่ิ ที่ประเคนไดต้ ลอดเวลา เครื่องดื่มทุกชนิด ประเภทเครอ่ื งยาบาํ บดั ปุวยไข๎ หรอื ประเภทเภสชั ทพ่ี ระพุทธองค์ทรง
บญั ญตั ไิ ว๎ คือ เนยใส เนยขน๎ นา้ํ มัน นํา้ ผง้ึ นาํ้ อ๎อย
4. วตั ถุอนามาส สิ่งของท่ีพระพุทธองค์ทรงหา๎ มพระภิกษุสงฆจ์ บั ต๎องเรียกวํา วัตถุอนามาส ห๎ามนํามาประเคนถวาย
พระภิกษุสงฆ์ เพราะผิดวินยั บัญญัติ ไดแ๎ กํ

1. ผู้หญิง ท้งั ทเี่ ปน็ เด็กทารกแรกเกิดและผู๎ใหญํ รวมทง้ั เคร่ืองแตํงกาย รปู ภาพ รูปปั้นทุกชนิดของผ๎หู ญิง
2. รตั นะ 10 ประการ คือ ทอง เงนิ แกว๎ มุกดา แก๎วมณี แก๎วประพาฬ ทับทิม บุษราคมั สงั ขเ์ ลยี่ มทอง ศิลา เชํน
หยก และโมรา ฯลฯ
3. เคร่อื งศตั ราวธุ ทุกชนิด อันเป็นเครื่องทําลายชวี ิต
4. เครื่องดกั สัตว์ทกุ ชนิด
5. เครือ่ งดนตรีทุกชนดิ
6. ข้าวเปลือก และผลไม้อันเกิดอยกู่ บั ที่
การกรวดนา้ และการรับพรพระ
การกรวดนา้ํ ในงานบุญ เป็นการอุทศิ แผสํ วํ นกศุ ลท่ตี นบาํ เพญ็ แลว๎ นน้ั สํงไปให๎บรุ พชนตลอดจนสรรสัตว์ และต้งั จติ
อธิษฐานเพ่ือความดีตอํ ไป หรืออธษิ ฐานในสิง่ ประสงค์ทด่ี งี ามใหส๎ าํ เร็จตามความปรารถนา

การกรวดนา้ เพอื่ อทุ ิศส่วนบุญส่วนกุศลแกผ่ ทู้ ี่ล่วงลับไปแลว้

การกรวดนา้ํ คือ การรนิ นํ้าหลั่งลงให๎เป็นสาย อันเป็นเคร่ืองหมายแหํงสายน้ําใจอันบริสุทธิ์ ตัง้ ใจอุทิศสวํ นบุญสวํ น
กุศลท่ีตนได๎ทาํ มาในวนั นัน้ ให๎แกํผล๎ู ํวงลับไปแล๎ว ถา๎ ผ๎ูลํวงลับเป็นผอ๎ู าวุโสมากกวาํ เชนํ เป็นบิดามารดา ปุู ยํา ตา ยาย
เป็นพ่ี เป็นครูอาจารย์ เปน็ ต๎น ก็ช่ือวําได๎แสดงความกตัญญูกตเวทติ าตํอทาํ นเหลาํ นนั้

การรบั พรพระ คอื อาการทเ่ี จา๎ ภาพนอบนอ๎ มทัง้ กายและใจ รบั ความปรารถนาดี ท่ีพระภกิ ษุสงฆต์ งั้ กัลยาณจติ สวด
ประสทิ ธ์ิประสาทให๎เจ๎าภาพรอดพน๎ จากอันตรายภัยพิบตั ิท้ังหลาย และเจริญดว๎ ยอายุ วรรณะ สขุ ะ พละ เป็นตน๎

กอํ นจะทราบถงึ วธิ ีปฎบิ ัตใิ นการกรวดนาํ้ เราลองมาศึกษาถงึ ประวตั ิความเป็นมาของการกรวดนาํ้ กํอน การ
กรวดนํ้ามมี าตงั้ แตํอดีตกาลครัง้ สมยั พระผู๎มีพระภาคเจ๎ายังทรงพระชนมชีพอยํู ดังเรื่องราวท่ีปรากฎในพระไตรปิฏก ใน
อรรถกถามงคลสูตร วาํ

ในอดตี กาล เมื่อครั้งพระสมั มาสัมพุทธเจ๎าพระนามวาํ ปสุ ส ทรงอุบัติข้ึน พระราชบตุ ร 3 พระองค์ของ
พระเจ๎าชยั เสนแหํงกาสกิ นคร มศี รัทธาที่จะถวายภัตตาหารแดํพระปสุ สพุทธเจา๎ และพระภกิ ษุสงฆ์สาวกตดิ ตํอกนั หลาย
วนั จงึ ประทานทรพั ยเ์ ปน็ คําใชจ๎ าํ ยเปน็ อนั มาก และขอความรวํ มมอื จากพระประยรู ญาติและขา๎ ทาสบริวาณรบั ใช๎ ทงั้
เพ่ือนบ๎านใกลเ๎ รือนเคียงให๎ชํวยเหลอื ในกิจนน้ั ๆ ด๎วยบคุ คลเหลํานนั้ บางพวกก็เต็มใจชํวยเหลอื จัดทาํ กิจตาํ งๆดว๎ ย
ความต็มใจ ดว๎ ยหวงั บุญกศุ ล แตบํ างพวกถกู ความโลภเข๎าครอบงํา เหน็ เงินทองทเ่ี ขาให๎นํามาทําอาหารและซือ้ ของเข๎า
ก็เกิดความโลภอยากได๎ จึงยกั ยอกเอาไวใ๎ ช๎สวํ นตวั เสยี บา๎ ง ทาํ แตํของเลวๆ ถวายพระแตไํ ปแจ๎งวาํ ซ้ือแตํของดๆี
บา๎ ง นําอาหารที่ทําไว๎สาํ หรับพระไปกินเองเสยี บา๎ ง นาํ ไปให๎ลูกหลานตวั เองกินบา๎ ง ทําใหก๎ ารเล้ยี งพระคราวนั้นผาํ นไป
ด๎วยความไมเํ รยี บร๎อยเทําทีค่ วร แตํราชบุตรทั้งสามก็ไมวํ าํ กลําวอยํางไร ตงั้ ใจเป็นบญุ เป็นกุศลแล๎ว ใครจะยักยอก
อยํางไรก็รกั ษาใจศรัทธาไว๎ได๎ ไมใํ ห๎ขํุนมัว บุคคลทัง้ หมดนีเ้ มือ่ ส้ินชีวิตไปแลว๎ พวกราชบุตรและผ๎ูทเ่ี ตม็ ใจชํวยเหลอื ใน
งานนัน้ ได๎ไปสุคตภิ มู ิ เมอ่ื จุติจากสุคติภมู ินนั้ แล๎วกลับมาเกิดเปน็ มนษุ ย์อีกในสมยั พระสมั มาสัมพุทธเจา๎ พระองค์ปัจจบุ ัน
น้ี ราชบุตรองคโ์ ตไดม๎ าเป็นพระเจา๎ พิมพิสารพระราชาแหํงเมืองราชคฤห์เมืองหลวงแคว๎นมคธ ทเ่ี หลอื ก็เกดิ เปน็ พระ

15

ประยรู ญาติ และบรวิ าณประชาชนในเมอื งราชคฤหน์ ้นั สํวนพวกท่ยี ักยอกเงินทาํ บุญ และกินของกอํ นถวายพระ ครั้น
สิ้นชีพแลว๎ ได๎ไปเกิดเป็นเปรตรปู ตํางๆ มรี ปู ราํ งผํายผอม หิวโหยอดอยาก เฝูารอยคอยสํวนบญุ ท่ีญาตๆิ ของตนอทุ ิศไป
ใหจ๎ ากโลกนี้ แตํรอคอยมาหลายพุทธันดร กไ็ มํมวี ี่แววจะได๎รับ

ตํอมาเม่ือพระเจา๎ พมิ พิสารทรงอุบตั ิขนึ้ ในโลกแลว๎ ความหวงั ของเปรตเหลํานนั้ ก็เรืองรองขึน้ มา
บ๎าง แตพํ ระเจ๎าพิมพสิ ารครนั้ ทรงบําเพ็ญบญุ ในพระพุทธศาสนาเปน็ อนั มาก เชํน ทรงถวายอทุ ยานสวนไผํใหเ๎ ปน็ พระ
อารามที่ประทับของพระพุทธอค์พรอ๎ มพระภกิ ษุสงฆส์ าวกท้ังหลายเปน็ แหํงแรกชื่อวํา วัดเวฬุวนั และไดถ๎ วายปจั จัย 4
เสมอมา พระองค์ก็ไมเํ คยได๎อุทศิ สวํ นบญุ น้นั ๆ ให๎กับผ๎ูใดเลย พวกเปรตทเ่ี ปน็ ญาติของพระองคเ์ หลํานั้นผ๎รู อคอยสวํ นบุญ
อยจูํ งึ ผดิ หวงั ทกุ ครง้ั มาคนื หน่ึงจึงได๎แสดงตวั สงํ เสยี งรอ๎ งครวญครางและให๎พระเจ๎าพิมพิสารเห็นรปู รํางของตน พระ
เจา๎ พิมพิสารทรงสะด๎ุงตกพระทัยเป็นอันมาก

พอรํุงเช๎าจึงรีบไปทูลถามพระสัมมาสมั พุทธเจ๎า พระพุทธองคท์ รงเลาํ เร่ืองอดตี ชาติให๎ทรงทราบพระ
เจา๎ พิมพิสารทูลถามวํา ถา๎ พระองคถ์ วายทานแล๎วอทุ ิศในตอนน้ี พวกญาตเิ หลาํ นั้นจะได๎รับสํวนบญุ หรือไมํ เมื่อพระ
พุทธองคต์ รัสวําไดร๎ บั พระเจา๎ พมิ พิสารจงึ ทรงเตรียมการถวายภัตตาหารแดํพระภกิ ษุสงฆ์มีพระสัมมาสัมพุทธเจ๎าเปน็
ประมุข ครนั้ พระภิกษุสงฆฉ์ ันเสร็จแล๎ว พระเจ๎าพิมพสิ ารจงึ ทรงหล่ังทักษโิ ณทกอุทิศสวํ นกุศลวาํ “อิทัง เม ญาตินัง โห
ตุ” ขอสวํ นบุญน้ีจงสําเรจ็ แกํญาติท้ังหลายของขา๎ พเจา๎ ด๎วยเถิด” ทนั ใดนน้ั เปรตผ๎ูเป็นญาตทิ ้ังหลายเหลาํ น้นั ตาํ งก็อิ่ม
หนาสาํ ราญด๎วยอาหารทิพย์ วนั ตอํ มาพระเจา๎ พมิ พสิ ารได๎ถวายไตรจีวร เสนาสนะและเภสชั เปน็ ต๎น แดพํ ระภกิ ษุสงฆ์
อีก แลว๎ ทรงกรวดนาํ้ อทุ ิศไปให๎เปรตเหลาํ น้นั ทกุ คร้ัง เปรตเหลาํ นน้ั ก็ได๎รบั สวํ นบุญเหลํานั้นทกุ คร้งั และไปเกิดตาม
กรรมของตน ไมมํ ารบกวนพระเจา๎ พิมพิสารอีกเลย

ฉะน้นั การกรวดนํ้าจงึ เปน็ ส่ิงสาํ คัญทีส่ ืบทอดกนั มาอยํางยาวนานกวาํ สองพันปี และยงั เป็นสงิ่ ท่คี วรกระทาํ ทุก
ครงั้ หลังบําเพ็ญบญุ ในพระพทุ ธศาสนา เพอ่ื อทุ ศิ สํวนบญุ ให๎กบั ผู๎ทล่ี วํ งลบั ไปแลว๎ ไมวํ าํ จะเปน็ บรรพบุรษุ บุพการี ญาติ
สนิทมิตรสหาย หรอื ลูกหลานกต็ าม ทาํ นควรศกึ ษาขน้ั ตอนวิธกี ารปฎบิ ัตใิ นการกรวดนาํ้ และปฎบิ ัตใิ ห๎เป็นนิสัยตดิ ตวั
ของเราไป

การกรวดนา้ เป็นส่งิ สาคัญที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานกว่าสองพันปี

วธิ ปี ฎบิ ัติในการกรวดนา้

1. นา้ ท่ใี ช้กรวดนา้ นยิ มใชน๎ ้ําที่สะอาดบรสิ ุทธ์ิ ไมํมสี ่งิ อ่นื เจอื ปน เชนํ น้าํ ประปา นาํ้ ฝน น้ําบอํ เปน็ ต๎น
2. ภาชนะท่ีใชก้ รวดน้า ต๎องเตรยี มลวํ งหน๎าไวใ๎ หพ๎ ร๎อม ใสนํ า้ํ ให๎เตม็ และมีที่รอง หากไมํมภี าชนะสําหรบั กรวดนํา้
เฉพาะ จะใช๎ขนั หรือแก๎วนํ้าแทนกไ็ ด๎ ในกรณีน้ีควรหาจานหรอื ถาดไวร๎ องกันนํ้าหก
3. เม่อื ถวายไทยธรรมแดพ่ ระภกิ ษสุ งฆ์เสรจ็ แลว้ เจ๎าภาพหรือประธานในพธิ ีนิยมนั่งกับพื้น หํางจากพระภิกษสุ งฆ์
พอสมควร ประคองภาชนะท่ีใสํนํา้ สําหรบั กรวดนํ้าดว๎ ยมอื ทั้งสองเตรยี มกรวดน้ํา
4. เม่อื พระภิกษุสงฆผ์ ้เู ป็นหัวหนา้ เริ่มอนโุ มทนาวา่ “ ยะถา วารวิ ะหา...” พึงรินนาํ้ ใหไ๎ หลลงเปน็ สายโดยไมํให๎
สายน้าํ ขาดตอนเป็นหยดๆ พร๎อมทั้งต้ังใจสํารวมจติ อุทศิ สํวนบุญกศุ ลไปให๎แกผํ ๎ลู ํวงลับเปน็ แลว๎ โดยนึกในใจวํา

อิทงั เม ญาตินัง โหตุ สขติ า โหนตุ ญาตะโย
ขอส่วนบุญน้จี งสาเร็จแก่ญาติทงั้ หลายของขา้ พเจา้

ขอญาติทง้ั หลายของข้าพเจ้าจงมีความสุขเถดิ

16

5. คากรวดนา้ นใี้ ช้แบบอน่ื ก็ได้ หรือนึกเปน็ ภาษาไทยให๎มีความหมายวาํ อุทิศสวํ นบุญไปให๎แกผํ ู๎น้นั ผ๎นู ี้ โดยระบชุ ่ือลง
ไปก็ได๎
6. ถา้ ภาชนะท่ีกรวดน้ามีปากกวา้ ง เชนํ ขัน หรอื แกว๎ นาํ้ นิยมใชน๎ วิ้ ช้มี อื ขวารองรับสายนํ้าใหไ๎ หลไปตามนวิ้ ชน้ี นั้ เพอ่ื
ปอู งกันมใิ หน๎ าํ้ ไหลลงเปรอะเปอื้ นพื้นหรืออาสนะ ถา๎ ภาชนะปากแคบ เชํน คนโท หรอื ที่กรวดนา้ํ โดยเฉพาะ ก็ไมตํ ๎อง
รอง เพยี งใชม๎ อื ท้งั สองประคองภาชนะนา้ํ นน้ั รินลง
7. เม่ือตัง้ ใจอุทศิ เปน็ การส่วนรวมแลว้ จะอุทิศสํวนบญุ เฉพาะเจาะจงผใ๎ู ดผหู๎ นึง่ ตํอกไ็ ด๎ โดยระบชุ อื่ บุคคลนั้นลงไปให๎
ชดั เจน
8. เมอื่ พระสงฆร์ ูปที่ 2 รบั ว่า “สพั พตี ิโย...” แลว๎ พระภกิ ษุสงฆ์ท้งั หมดจะอนโุ มทนา ผ๎กู รวดน้าํ จะหยุดกรวดนํา้ เทนํา้
ลงหมด แลว๎ ประนมมือ ตัง้ ใจรบั พรซ่งึ พระภกิ ษุสงฆ์กาํ ลงั ใหต๎ อํ ไป
9. ขณะท่ีพระภกิ ษุสงฆ์กาลังสวดอนุโมทนาอยนู่ ั้น เจ๎าภาพหรือประธานในพธิ ี ไมํควรลุกไปทําภารกิจอยาํ งอน่ื กลางคัน
10. ขณะทีพ่ ระภกิ ษสุ งฆก์ าลังสวดอนโุ มทนาจบ จงึ กราบหรอื ไหว๎พระภกิ ษสุ งฆ์อีกคร้ัง แลว๎ นําน้ําที่กรวดนน้ั ไปเทที่
พ้ืนดิน รดต๎นไม๎ หรือเทท่พี ืน้ หญ๎าภายนอกตัวอาคาร บ๎านเรือน เพ่ือฝากไว๎กับแมํพระธรณีตามคตโิ บราณ
11. การกรวดน้าพงึ กระทาเมื่อได้บาเพ็ญบญุ กุศลหรือความดอี ย่างใดอยา่ งหน่ึง เชํนทาํ บุญใสบํ าตร ถวายสง่ิ ของแดํ
พระภิกษสุ งฆ์ หรอื ให๎ทานแกํคนยากจน หรอื สละปจั จยั กอํ สร๎างสาธาณะประโยชน์
12. การกล่าวคากรวดน้าทีเ่ ปน็ ภาษาบาลี พึงศึกษาความหมายใหเ๎ ขา๎ ใจกํอนยอํ มเปน็ สิ่งทีด่ ี ไมํใชวํ ํากันมาอยํางไรก็วํา
กันไปอยํางนัน้ โดยไมํรูค๎ วามหมายท่ีแทจ๎ รงิ จงึ ต๎องถามผู๎ร๎ูหรอื ศกึ ษาวธิ กี ารกํอน ทง้ั นเ้ี ปน็ ผลดแี กํตัว ผกู๎ ระทาํ เอง คือ
นอกจากจะไดช๎ อื่ วําทําถูกทาํ เปน็ แล๎ว ยังจะเกิดประโยชน์ท่ตี ๎องการดว๎ ย
13. ข้อควรจาเวลากรวดน้า คือ ตอ๎ งตง้ั ใจทําจริงๆ ไมํใชํทําเลํนๆ หรือทาํ เป็นเลนํ หากวําภาชนะใสํนา้ํ สําหรบั กรวดไมํ
มี หรอื มีไมพํ อ ก็พงึ นง่ั กรวดในใจน่ิงๆ โดยนํา้ ใจ กรวดอุทิศเลย ไมคํ วรไปนัง่ รวมกลํุมกัน แลว๎ จบั แขนจับขาจับชาย
ผา๎ จบั ขอ๎ ศอกกันแลว๎ กรวดนา้ํ มองดูชุลมนุ ไปหมดไมํงามตา ทั้งไมํเกดิ ประโยชน์ เพราะจติ ใจของผู๎กรวดไมํสงบเป็น
สมาธิ ซาํ้ บางครงั้ ก็หัวเราะกันคิกคักไปกม็ ี ต๎องกรวดเปน็ และตั้งใจกรวดจริงๆ จึงจะมีผลจรงิ
หากหลั่งบนพื้นดิน ควรเลอื กทส่ี ะอาดหมดจดถ๎าอยูํในอาคารสถานท่คี วรมีภาชนะรองรบั อนั เหมาะสม ไมํใช๎กระโถนหรอื
ภาชนะสกปรกรองรบั ควรหลั่งนาํ้ ทก่ี รวดใหห๎ มด เมอื่ เสร็จพธิ แี ล๎ว จงึ นํานาํ้ ทก่ี รวดนน้ั ไปเทลงในดนิ ท่ีสะอาด การ
กรวดนํ้าเปน็ หนา๎ ทขี่ องเจ๎าของงานโดยตรงถือเปน็ เจา๎ ของบุญกุศล

ปูชา จะ ปูชะนียานงั เอตมั มังคะละมตุ ตะมงั
“การบชู า พระพุทธ พรธรรม พระสงฆ์ และ บุคคลผซู้ ่ึงควรบชู า ข้อน้ีเป็นมงคลอนั สูงสดุ ”



คานมสั การพระรัตนตรัย

( ผูน้ า ) โย โส ... ( รบั พร้อมกนั )...ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธมั โม,
สปุ ะฏปิ นั โน ยสั สะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
ตมั มะยงั ภะคะวันตงั สะธมั มงั สะสังฆงั ,
อิเมหิ สกั กาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเิ ตหิ อะภปิ ูชะยามะ
สาธุ โน ภนั เต ภะคะวา สุจิระปะรนิ พิ พโุ ตปิ
ปัจฉิมา ชะนะตานุกมั ปะมานะสา

17

อเิ ม สักกาเร ทคุ คะตะปัณณาการะภูเต ปะฏคิ คณั หาตุ
อัมหากงั ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ

( ผ๎นู าํ ) อมิ นิ า สกั กาเรนะ ตัง พุทธัง อะภปิ ูชะยามิ
อมิ ินา สักกาเรนะ ตัง ธมั ธัง อะภิปูชะยามิ
อมิ ินา สกั กาเรนะ ตัง สงั ธัง อะภปิ ชู ะยามิ

คาบูชาพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมา สัมพุธโธ ภะคะวา
พระผูม๎ ีพระภาคเจา๎ เปน็ พระอรหนั ต์ ดบั เพลงิ กเิ ลสเพลิงทุกข์สนิ้ เชิง
ตรสั รูช๎ อบไดโ๎ ดยพระองคเ์ อง

พุทธงั ภะคะวนั ตัง อะภิวาเทมิ
ข๎าพเจา๎ อภวิ าทพระผม๎ู ีพระภาคเจา๎ ผ๎รู ู๎ ผู๎ตืน่ ผู๎เบกิ บาน (กราบ)

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรม เปน็ ธรรมที่พระผ๎ูมีพระภาคเจ๎า ตรัสไวด๎ แี ลว๎

ธัมมัง นะมัสสามิ
ข๎าพเจ๎านมัสการพระธรรม (กราบ)

สุปะฎิปันโณ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
พระสงฆส์ าวกของพระผม๎ู ีพระภาคเจ๎า ปฏิบตั ดิ ีแลว๎

สงั ฆัง นะมามิ
ขา๎ พเจ๎านอบน๎อมพระสงฆ์ (กราบ)

คาอาราธนาศีล

มะยัง ภนั เต วสิ ุง วสิ ุง รกั ขะนัตถายะ ตสิ ะระเณนะ สะหะ ปญั จะ สีลานิ ยาจามะ
ทตุ ิยัมปิ มะยงั ภันเต วสิ ุง วิสงุ รกั ขะนัตถายะ ตสิ ะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ตะตยิ มั ปิ มะยัง ภันเต วสิ ุง วสิ งุ รกั ขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ

สมาทานศีลเบญจศลี

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะรหะโต สมั มาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพุทธัสสะ

พทุ ธัง สะระณงั คัจฉามิ
ข๎าพเจ๎า ขอถึงพระพุทธเจา๎ วําเปน็ ทพี่ ึ่งทีร่ ะลึก

ธัมมัง สะระณัง คจั ฉามิ
ข๎าพเจา๎ ขอถึงพระธรรม วาํ เป็นทีพ่ ง่ึ ท่รี ะลึก

สังฆงั สะระณัง คจั ฉามิ
ขา๎ พเจ๎า ขอถึงพระสงฆ์ วาํ เป็นทีพ่ ่ึงท่ีระลกึ

ทตุ ยิ ัมปิ พุทธัง สะระณัง คจั ฉามิ
ข๎าพเจ๎า ขอถึงพระพุทธเจา๎ วําเป็นทีพ่ ่งึ ทร่ี ะลึก แม๎คร้ังที่ ๒

ทตุ ิยัมปิ ธมั มัง สะระณงั คัจฉามิ

18

ขา๎ พเจา๎ ขอถึงพระธรรม วําเป็นทพี่ ง่ึ ท่ีระลึก แมค๎ รงั้ ท่ี ๒
ทุตยิ มั ปิ สงั ฆัง สะระณัง คัจฉามิ

ข๎าพเจา๎ ขอถึงพระสงฆ์ วาํ เป็นท่พี ง่ึ ท่รี ะลกึ แม๎ครง้ั ที่ ๒
ตะตยิ มั ปิ พุทธัง สะระณัง คจั ฉามิ

ข๎าพเจา๎ ขอถึงพระพุทธเจา๎ วําเปน็ ทีพ่ ึ่งท่รี ะลึก แมค๎ ร้ังที่ ๓
ตะตยิ มั ปิ ธัมมัง สะระณงั คัจฉามิ

ขา๎ พเจ๎า ขอถึงพระธรรม วําเปน็ ทพี่ ึ่งทีร่ ะลกึ แมค๎ รัง้ ที่ ๓
ตะตยิ มั ปิ สงั ฆัง สะระณัง คจั ฉามิ

ขา๎ พเจา๎ ขอถึงพระสงฆ์ วาํ เป็นทพ่ี ึง่ ที่ระลกึ แมค๎ ร้งั ที่ ๓
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

ข๎าพเจา๎ ขอสมาทานสกิ ขาบท เว๎นจากการฆําสัตว์
อะทินนาทานา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทิยามิ

ข๎าพเจา๎ ขอสมาทานสกิ ขาบท เว๎นจากการขโมย

กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามิ
ข๎าพเจา๎ ขอสมาทานสิกขาบท เวน๎ จากการประพฤตผิ ดิ ทางช๎สู าว

มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ข๎าพเจา๎ ขอสมาทานสิกขาบท เวน๎ จากการพดู เทจ็

สรุ าเมระยะมชั ชะปะมาทฏั ฐานา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทยิ ามิ
ขา๎ พเจ๎าขอสมาทานสกิ ขาบท เวน๎ จากการดมื่ สรุ าเมรยั และส่ิงอ่นื ท่ที ําให๎เกดิ
ความมนึ เมาอันเป็นทีต่ ัง้ ของความประมาท

คาอาราธนาพระปรติ ร

วิปตั ตปิ ะฏพิ าหายะ สพั พะสมั ปัตติสทิ ธยิ า สัพพะ ทุกขะ วนิ าสายะ ปรติ ตัง พรูถะ มังคะลงั ฯ
วปิ ัตติปะฏิพาหายะ สพั พะสัมปตั ติสทิ ธยิ า สัพพะ ภะยะ วินาสายะ ปริตตงั พรูถะ มังคะลัง ฯ
วปิ ัตตปิ ะฏพิ าหายะ สัพพะสมั ปัตตสิ ทิ ธยิ า สพั พะ โรคะ วสิ าสายะ ปริตตัง พรูถะ มังคะลงั ฯ

คาอาราธนาธรรม

พรหั มา จะ โลกาธิปะติ สะหัมปะติ
กตั อัญชะลี อันธวิ ะรัง อะยาจะถะ
สนั ธตี ะ สตั ตาป ปะรกั ชกั ขะ ชาติกา
เทเสตุ ธัมมัง อะนุกัมปิมงั ปะชัง ฯ

คานมัสการพระพทุ ธเจ้า

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพุทธสั สะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพุทธสั สะ

19

คาถวายขา้ วใส่บาตร
( ยกขันขา๎ วขึ้นจบ ตั้ง นะโม สามจบ )

อะหงั ภันฺเต โภชะนานัง สาลนี ัง ปะริสุทธฺ ัง พทุ ฺธสาวะกะสังฆฺ งั ปิณฺฑะปาตัง โส โหตุ ฯ
คาแปล ขา๎ แตํพระภิกษสุ งฆ์ผเ๎ู จรญิ ขา๎ วสาลอี นั บรสิ ุทธ์ินั้น

จงสาํ เร็จแกพํ ระภกิ ษสุ งฆ์ สาวกของพระพุทธเจ๎า น้นั เถิด ฯ

คาถวายของใส่บาตร

อทิ งั ทานัง สีละวนั ตานัง ภิกขูนงั นิยยาเทมิ สุทนิ นงั วะตะเม ทานงั อาสะวกั ขะยาวะหัง
นพิ พานะปจั จะโย โหตุ เม

คาแปล ข๎าแตพํ ระภิกษสุ งฆ์ผ๎เู จริญ ขา๎ พเจ๎าขอน๎อมถวาย ทานอันนีแ้ ดํพระภิกษสุ งฆ์ผม๎ู ีศลี ท้ังหลาย
ทานทีข่ ๎าพเจา๎ ถวายดีแล๎วน้ี จงเปน็ ปัจจยั ให๎ถึงพระนิพพาน ในอนาคตกาล ด๎วยเทอญฯ

คาถวายขา้ วพระพุทธ

อมิ ัง , สูปะพยัญชะนะสัมปนั นงั , สาลนี งั โภชะนัง , อทุ ะกังวะรัง , พทุ ธัสสะ ,ปเู ชมะ
คาแปล ข๎าพเจา๎ ขอบชู า โภชนะอาหาร แหํงข๎าวสาลี พร๎อมดว๎ ยแกงกับ และน้ําอนั ประเสรฐิ นี้

แดพํ ระพทุ ธเจา๎

คาลาข้าวพระพุทธ

เสสงั , มงั คะลัง , ยาจามฯิ
คาแปล ข๎าพเจา๎ ขอคืนเศษอันเปน็ มงคลนี้ ข๎าพเจ๎าขอภัตตท์ ่ีเหลือทเ่ี ปน็ มงคลด๎วยเถิด.

คาถวายสังฆทาน ( ประเภทสามัญ , ภัตตาหาร )

อิมานิ มะยัง ภนั เต ภตั ตานิ , สะปะรวิ ารานิ ภกิ ขสุ งั ฆัสสะ , โอโณชะยามะ , สาธุ โน ภนั เต , ภกิ ขุสงั โฆ ,
อิมานิ , ภัตตานิ , สะปะรวิ ารานิ , ปะฏิคคัณหาตุ , อัมหากัง , ทีฆะรตั ตงั , หติ ายะ ,สุขายะ .

คาแปล ขา๎ แตํพระภิกษุสงฆผ์ ๎ูเจริญ ขา๎ พเจ๎าทั้งหลาย ขอน๎อมถวาย ภัตตาหาร กบั ท้งั บริวารทั้งหลายเหลํานี้ แกํ
พระภิกษสุ งฆ์ ขอพระภิกษสุ งฆโ์ ปรดรบั ภตั ตาหาร กับทั้งบริวารทง้ั หลายเหลํานี้ ของข๎าพเจา๎ ท้งั หลาย เพอื่ ประโยชน์และ
ความสุข แกํข๎าพเจ๎าทั้งหลาย สน้ิ กาลนานเทอญ ฯ

คาถวายสังฆทาน ( ประเภทมตกภตั อุทศิ ผตู้ าย )

อิมานิ มะยัง ภันเต มะตะกะภตั ตานิ , สะปะรวิ ารานิ , ภิกขสุ งั ฆัสสะ , โอโณชะยามะ , สาธุ โน ภันเต ,
ภิกขุสงั โฆ , อิมานิ , มะตะกะภัตตานิ , สะปะรวิ ารานิ , ปะฏิคนั หาตุ , อมั หากัญเจวะ , มาตาปิตุ
อาทนี ญั จะ ญาตะกานัง , กาละกะตานัง , มีฆะรัตตัง , หติ ายะ , สขุ ายะ

คาแปล ข๎าแตํพระภิกษุสงฆ์ผ๎เู จริญ ขา๎ พเจ๎าทั้งหลาย ขอน๎อมถวาย มตกภตั ตาหาร กบั ทั้งบริวารเหลําน้ี แดํ
พระภกิ ษุสงฆ์ ขอพระภิกษสุ งฆจ์ งรบั มตกภัตตาหาร กับท้งั บรวิ ารเหลาํ นี้ของข๎าพเจ๎าท้งั หลาย เพอื่ ประโยชน์และ
ความสุขแกํข๎าพเจา๎ ท้ังหลายด๎วย แกญํ าติของขา๎ พเจ๎าทั้งหลาย มมี ารดาบดิ าเปน็ ตน๎ ผทู๎ ํากาละลํวงลบั ไปแล๎วด๎วย ส้ิน
กาลนาน เทอญฯ

20

คาถวายผ้าป่า

อิมานิ มะยัง ภันเต ,ปงั สุกูละจวี ะรานิ ,สะปะริวารานิ ,ภกิ ขุสงั ฆัสสะ ,โอโณชะยามะ ,สาธุ โน
ภันเต ,ภิกขสุ ังโฆ ,อมิ านิ ,ปังสุกลู ะจวี ะรานิ ,สะปะริวารานิ ,ปะฏคิ คัณหาตุ ,อมั หากงั ,ทฆี ารัตตงั หติ ายะ ,สขุ ายะ

คาแปล ขา๎ แตพํ ระภิกษุสงฆ์ผูเ๎ จริญ ข๎าพเจา๎ ทัง้ หลาย ขอน๎อมถวาย ผ๎าบงั สกุ ลุ จีวร กับทั้งบริวาร
ท้งั หลายเหลํานี้ แกํพระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆจ์ งรบั ผ๎าบงั สุกุล จีวร กบั ท้งั บริวารทงั้ หลายเหลําน้ี
ของขา๎ พเจา๎ ทัง้ หลาย เพ่ือประโยชนแ์ ละความสขุ แกํขา๎ พเจ๎าทง้ั หลาย สิน้ กาลนาน เทอญ ฯ

คาถวายผ้ากฐิน

อิมัง ภันเต สะปะรวิ ารัง , กะฐนิ ะจวี ะระทสุ สงั , โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภนั เต , สังโฆ , อมิ งั ภนั เต
สะปะริวารงั , กฐินะจีวะระทุสสงั , ปะฏิคคัณหาตุ , ปะฏิคคะเหตุวา จะ , อมิ ินา ทุสเสนะ , กะฐินัง , อัตถะระตุ , อัมหา
กัง , ฑีฆะรัตตัง , หิตายะ , สุขายะ

คาแปล ข๎าแตํพระภิกษสุ งฆ์ผ๎ูเจรญิ ขา๎ พเจา๎ ท้ังหลาย ขอน๎อมถวาย ผ๎ากฐินจีวร กับทง้ั บริวารทัง้ หลายเหลาํ น้ี แดํ
พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษสุ งฆ์จงรบั ผา๎ กฐนิ จีวร กับท้งั บริวารนขี้ องข๎าพเจ๎าทง้ั หลาย และเม่อื รับแลว๎ ขอจงกรานใชก๎ ฐนิ
ด๎วยผา๎ นี้ เพือ่ ประโยชน์และความสุขแกํข๎าพเจา๎ ทงั้ หลายสิน้ กาลนานเทอญ ฯ

คาถวายทาน (จบทาน, ถวายปัจจยั )

อทิ ัง เม ทานงั , อาสะวักขะยาวะหัง โหตุ
แปลว่า ขอทานนี้ จงเปน็ ปัจจัย ให๎ขา๎ พเจา๎ ไดส๎ น้ิ อาสวะกเิ ลส

อทิ งั เม ทานงั , นพิ พานัสสะ , ปัจจะโยโหตุ
แปลวา่ ขอให๎ทานน้ี จงเปน็ ปัจจัยใหข๎ ๎าพเจ๎าได๎ถึงพระนพิ พาน ในปัจจบุ นั ชาติน้ี ขอให๎ได๎มนษุ ยสมบัติ ขอให๎ไดส๎ วรรค
สมบัติ ขอให๎ได๎นิพพานสมบัติ จะนึกประสงค์ส่ิงใด ขอจงสมความปรารถนาทุกประการ อันวาํ โรคภัย ไข๎เจ็บ ความ
ยากจนขน๎ แคน๎ และคําวํา “ไมํมี” ขออยําให๎ข๎าพเจา๎ ประสบพบเลยฯ

คาถวาย เงนิ ทาบุญ ( ปัจจัย )

สุทนิ นฺ งั , วะตะ เม ทานงั , อาสะวกั ขะยาวะหงั , นพิ ฺพานะปัจฺจะโย โหตฯุ
คาแปล ขอให๎ทานของข๎าพเจ๎าท้ังหลาย อนั ให๎ดีแลว๎ หนอ จงนาํ มาซ่ึงความสน้ิ ไปแหํงอาสวกิเลส จงเปน็ ปัจจยั แกพํ ระ
นิพพานฯ

คาถวาย ธูป เทยี น ดอกไม้

อิมานิ มะยัง ภนั เต , ทปี ะ ธปู ะ ปปุ ผะ วะรานิ , ระตะนัตตะยสั เสวะ , อะภปิ เู ชมะ , อัมหากงั , ระตะนตั ตะยัส
สะ ปูชา , ทฆี ะรัตตัง , หิตะสุขาวะหา , โหตุ , อาสะวักขะยัปปัตตยิ า .
คาแปล ขา๎ แตพํ ระคุณเจา๎ ผู๎เจรญิ ทง้ั หลาย ข๎าพเจ๎าท้งั หลาย ขอบชู าธปู เทยี นและดอกไม๎อันประเสริฐเหลําน้ี เทียน
จํานําพรรษา เปน็ ต๎น แกพํ ระรัตนตรัย กิริยาท่ีบชู าแกํพระรัตนตรยั นี้ จงเป็นผลนาํ มาซง่ึ ประโยชนส์ ุข แกขํ ๎าพเจา๎
ท้ังหลายสนิ้ กาลนาน จงเป็นไปเพ่อื ใหถ๎ ึงซ่ึงพระนิพพาน เป็นทซ่ี ึง่ ส้นิ ไปแหํงอาสวกเิ ลสเทอญ

คาถวายผ้าอาบนา้ ฝน

อิมานิ มะยงั ภันเต , วัสสกิ ะสาฏิกานิ , สะปะริวารานิ , ภิกขุสงั ฆัสสะ , โอโณชะยามะ , สาธุ โน ภันเต , ภิกขุ
สงั โฆ , อมิ านิ วสั สิกะสาฏกิ านิ , สะปะรวิ ารานิ ปะฏคิ คัณหาตุ , อมั หากงั ทีฆะรัตตัง , หิตายะ สขุ ายะ ฯ

21

คาแปล ขา๎ แตพํ ระภิกษุสงฆ์ผ๎ูเจริญ ข๎าพเจ๎าทั้งหลาย ขอน๎อมถวาย ผา๎ อาบนํา้ ฝน กับทั้งบริวารทั้งหลายเหลาํ น้ี แดํ
พระภกิ ษสุ งฆ์ ขอพระภกิ ษุสงฆจ์ งรับ ผา๎ อาบนํ้าฝน กับท้ังบรวิ ารทงั้ หลายเหลาํ น้ี ของข๎าพเจ๎าท้ังหลายเพื่อประโยชนแ์ ละ
ความสุข แกํขา๎ พเจ๎าท้งั หลาย ส้ินกาลนาน เทอญ

คาถวายปจั จัย ( งานศพ )

สทุ นิ นงั วะตะเมทานงั อาสะวัก ขะยาวะหงั นพิ พานะ ปัจจะโย โหตุ อะนาคะเต กาเล ทานังเม ปะริสทุ ธงั ปัจ
จะยะทานงั โหตุ
คาแปล ขา๎ แตพํ ระภิกษสุ งฆ์ผ๎เู จริญ ข๎าพเจา๎ ท้ังหลาย ขอน๎อมถวาย จัตตปุ ัจจัย แดพํ ระภกิ ษุสงฆ์ ขอพระภกิ ษสุ งฆ์จงรบั
จัตตปุ จั จัย ของขา๎ พเจ๎าทั้งหลาย เพอื่ ประโยชน์และความสุข แกขํ า๎ พเจ๎าทง้ั หลาย สน้ิ กาลนาน

อิทงั เม ญาตินงั โหตุ สขุ ติ าโหตุ ญาตะโย

ขอผลทานท่ีข๎าพเจ๎าทงั้ หลาย ได๎กระทาํ แล๎ว ทงั้ อดตี และปัจจุบัน จงเป็นพลวปัจจัย อุทศิ ไปถึง.........
ดวงวญิ ญาณ ของ...........................................ผ๎ูลํวงลับไปแลว๎ ขอใหด๎ วงวิญญาณ ของ...........................................จงไดร๎ บั
สํวนบญุ กศุ ลนัน้ วิญญาณ สถิต ณ ท่ีแหํงใด ถ๎าเปน็ ทุกข์ ก็ขอให๎พ๎นจากทุกข์ หากเป็นสขุ แลว๎ ... กข็ อใหเ๎ ปน็ สขุ ยิ่ง ยง่ิ ข้ึน
ไป เทอญ.......

การกรวดน้าและรับพรพระ

ในการกรวดน้ํา ใหป๎ ฏบิ ตั ดิ ังนี้
๑. จดั เตรยี มภาชนะใสนํ า้ํ และภาชนะรองรบั นํ้า
๒. เมอื่ พระเตรียมอนโุ มทนาวํา ยถา.....ใหย๎ กภาชนะทใี่ สรํ นิ ลงในภาชนะท่รี องรับ อยาํ ให๎นาํ้ ขาดสายพร๎อมทัง้

กลําวคํากรวดนาํ้ ดังน้.ี .....

คากรวดนา้

อิทงั เม ญาตินงั โหตุ (วํา ๓ จบ)
หากจะเติมพุทธภาษิตตํอวาํ “สขุ ิตา โหนตุ ญาตะโย”
คาแปล ขอบญุ นีจ้ งสําเร็จแกํญาตทิ ้ังหลายของข๎าพเจา๎ เถิด “ขอญาติท้ังหลายจงเป็นสุขๆ เถิด”
(เมื่อพระขึน้ สพั พี..... ใหร๎ นิ นาํ้ ให๎หมดและประนมมอื ตั้งใจรับพร)*การกรวดน้าใช้ไดใ้ นทกุ พธิ ี

บทกรวดนา้

(นาํ ) ( หันทะ มะยงั อทุ ทิสสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส )

( รับพรอ๎ มกนั ) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อปุ ชั ฌายา คุณุตตะรา

อาจะรยิ ปู ะการา จะ มาตา ปิตา จะ ญาตะกา

ปิยา มะมัง สรุ ิโย จันทมิ า ราชา คุณะวนั ตา นะราปิ จะ

พรัหมมะ มาราจะ อนิ ทา จะ ทโุ ลกะปาลา จะ เทวะตา

ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มชั ฌตั ตา เวรกิ าปิ จะ

สัพเพ สตั ตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม

สขุ งั จะ ตวิ ธิ ัง เทนตุ ขิปปงั ปาเปถะ โว มะตงั

22

อิมนิ า ปญุ ญะกัมเมนะ อิมนิ า อุททเิ สนะ จะ
ขปิ ปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุ ปาทานะเฉทะนงั
เย สันตาเน หนิ า ธมั มา ยาวะ นพิ พานะโต มะมงั
นสั สันตุ สพั พะทา เยวะ ยตั ถะ ชาโต ภะเว ภะเว
อชุ จุ ติ ตงั สะตปิ ัญญา สลั เลโข วริ ยิ ัมหินา
มารา ละภนั ตุ โนกาสงั กาตญุ จะ วิริเยสุ เม
พุทธาทปิ ะ วะโร นาโถ ธมั โม นาโถ วะรตุ ตะโม
นาโถ ปัจเจกะพทุ โธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง
เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภนั ตุมา
ปญั จะมาเร ชเิ ร นาโถ ปตั จะสัมโพธิ มตุ ตะมงั
จะตสุ ัจจงั ปะกาเสสิ มหาเวรงั
สพั พะพุทเธ นะมามิหัง
อิทัง เม ญาตนิ ัง โหตุ
สุขิตา โหนตุ ญาตะโย

คาอธษิ ฐาน..แผก่ ุศล

ขอกุศล ผลกรรม ทท่ี าํ นี้ จงเป็นท่ี ประจกั ษ์แจง๎ ทุกแหํงหน

จงสาํ เร็จ แกญํ าติมิตร สนิทชน ท่เี วยี นวน ตายเกิด กาํ เนดิ มา

สรรพสัตว์ ทกุ ถ๎วนหน๎า เทพารกั ษ์ จงประจกั ษ์ ในกศุ ล ผลนี้หนา

พ๎นจากทุกข์ ประสพสุข ทุกเวลา สมดงั ข๎าฯ อทุ ิศให๎ ด๎วยใจเทอญ

ข๎าพเจา๎ ขอตง้ั จิต อุทิศผล บุญกุศล แผํไป ให๎ไพศาล

ถงึ บิดา มารดา ครอู าจารย์ ทั้งลกู หลาน ญาติมิตร สนิทกัน

กับทง้ั คน เคยรกั เคยชงั แตํครั้งไหน ขอจงได๎ สํวนกศุ ล ผลของฉัน

ทัง้ เจา๎ กรรม นายเวร และเทวัญ ขอให๎ทาํ น ได๎กศุ ล ผลนี้ เทอญ....

คาลา พระรัตนตรยั

อะระหัง สมั มาสัมพทุ โธ ภะคะวา

พุทธงั ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

ธมั มงั นะมสั สามิ (กราบ)

สปุ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

สงั ฆัง นะมามิ (กราบ) เสร็จพิธี

23

สัพเพ สัตตา คาแผเ่ มตตา

อะเวรา โหนตุ สตั วท์ ้ังหลายทเี่ ปน็ เพื่อนทุกข์ เกดิ แกํเจบ็ ตาย
อพั ย๎ าปัชฌา โหนตุ ดว๎ ยกนั ท้งั หมดทง้ั ส้ิน
อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อยําไดม๎ ีเวรแกกํ ันและกนั เลย
สขุ ี อตั ตานงั ปะริหะรันตุ จงเป็นสขุ เปน็ สุขเถิด อยาํ ได๎เบยี ดเบียนซ่งึ กันและกันเลย
จงเป็นสขุ เป็นสขุ เถิด อยาํ ไดม๎ ีความทุกขก์ ายทกุ ขใ์ จเลย
จงมคี วามสุขกายสขุ ใจ รกั ษาตนใหพ๎ น๎ จากโรคภยั
ดว๎ ยกันทง้ั หมดทัง้ สิ้นเถดิ

แผ่ให้แกต่ ัวเอง

อะหงั สุขิโต โหมิ ขอให๎ขา๎ พเจา๎ จงมคี วามสุข
อะหงั นิททุกโข โหมิ ขอให๎ข๎าพเจา๎ ปราศจากความทุกข์
อะหงั อะเวโร โหมิ ขอให๎ข๎าพเจ๎าจงปราศจากเวร
อะหงั อพั ยาปัชโฌ โหมิ ขอให๎ข๎าพเจ๎าจงปราศจากภยั จากความเบยี ดเบียนพยาบาท
อะหัง อะนีโฆ โหมิ จงปราศจากความทุกขก์ ายทุกข์ใจ
สขุ ี อัตตานงั ปะริหะรามิ จงรกั ษาตนใหเ๎ ปน็ สุขอยเํู ถดิ

บทกลอน...คาแผเ่ มตตา

ข๎าพเจา๎ ขอตัง้ จติ อุทิศผล บญุ กศุ ล แผํไป ให๎ไพศาล

ถงึ บิดา มารดา ครอู าจารย์ ทัง้ ลูกหลาน ญาตมิ ิตร สนทิ กัน

กบั ทั้งคน เคยรกั เคยชงั แตํคร้ังไหน ขอจงได๎ สํวนกศุ ล ผลของฉัน

ท้ังเจ๎ากรรม นายเวร และเทวัญ ขอให๎ทาํ น ได๎กุศล ผลน้ี เทอญ



24

เทคนิคและวิธีการฝึก
สวดมนตห์ ม่สู รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทานองสรภัญญะ



๑. แบบฝึกหัดการสวดมนตห์ มู่
บทสวดนมัสการพระรตั นตรยั ( ทานองสวดนา )

อะ.ระ.หัง. สมั .มา. สมั .พธุ .โธ. ภะ.คะ.วา.
พทุ .ธัง. ภะ.คะ.วัน.ตงั . อะ.ภิ.วา.เท.มิ.., (กราบ)

ส.วาก.ขา.โต. ภะ.คะ.วะ.ตา. ธัม.โม..,
ธมั .มัง. นะ.มัส.สา.มิ.., (กราบ)

สุ.ปะ.ฎ.ิ ปัน.โณ. ภะ.คะ.วะ.โต. สา.วะ.กะ.สัง.โฆ..,
สงั .ฆัง. นะ.มา.มิ.., (กราบ)

บทสวดพระพทุ ธคณุ (ทานองสังโยค)

อิ.ติ.ป.ิ โส. (รับพร้อมกนั ) ภะ.คะ.วา.. อะ.ระ.หงั . สมั .มา.สัม.พุท./โธ..วชิ ./ชา..
จะ.ระ.ณะ.สมั .ปัน.โน.. ส.ุ คะ.โต.. โล.กะ.ว.ิ ทู.. อะ.นตุ ./ตะ.โร.. ป.ุ ร.ิ สะ.ทัม.มะสา.ระ.ถิ.
สตั ./ถา.. เท..วะ.มะ.นุส./ สา..นัง. พทุ ./โธ. ภะ.คะ.วา.ต.ิ ฯ

บทสวดพระธรรมคณุ (ทานองสรภัญญะ)

(นาํ ) ธรรมะคือคุณากร (รับ) สวํ นชอบสาธร

ดจุ ดวงประทีปชชั วาล

แหงํ องค์พระศาสดาจารย์ สอํ งสตั ว์สนั ดาน

สวํางกระจาํ งใจมล

ธรรมใดนบั โดยมรรคผล เป็นแปดพงึ ยล

และเกา๎ กบั ท้ังนฤพาน

สมญาโลกอุดรพสิ ดาร อนั ลึกโอฬาร

พิสทุ ธิพ์ ิเศษสุกใส

อกี ธรรมต๎นทางครรไล นามขนานขานไข

ปฏิบตั ปิ รยิ ัตเิ ปน็ สอง

คือทางดําเนินดุจคลอง อนั ลวํ งลุปอง

ยังโลกอุดรโดยตรง

ขา๎ ขอโอนอํอนอุตมงค์ นบธรรมจาํ นง

ดว๎ ยจติ และกายวาจา (กราบ)

25

บทสวดพระสังฆคณุ (ทานองสงั โยค)

(นา) สุปฏปิ นั โน (รบั พร้อมกนั ) ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อชุ ุปะฏิปันโนภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ญายะปะฏปิ นั โน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามจี ิปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ยะทิทงั จตั ตาริ ปุรสิ ะยคุ านิ อฏั ฐะ ปุริสะปุ
คคะลา เอสะภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อาหเุ นยโย ปาหุเนยโย ทกั ขเิ นยโย อัญชลี กะระณีโย อะนุตตะรงั ปุญญัก
เขตตัง โลกสั สาติ

บทสวดพระสังฆคุณ (ทานองสรภัญะ)

(นํา) สงฆใ์ ดสาวกศาสดา (รับ) รบั ปฏิบัติมา

แตํองคส์ มเด็จภคั วนั ต์

เห็นแจง๎ จตสุ ัจเสรจ็ บรร- ลทุ างทีอ่ นั

ระงบั และดบั ทกุ ข์ภัย

โดยเสด็จพระผ๎ูตรสั ไตร ปัญญาผอํ งใส

สะอาดและปราศมัวหมอง

เหนิ หํางทางข๎าศกึ ปอง บ มิลําพอง

ดว๎ ยกายและวาจาใจ

เปน็ เนอ้ื นาบุญอนั ไพ- ศาลแดํโลกัย

และเกิดพบิ ลู ย์พนู ผล

สมญาเอารสทศพล มีคณุ อนนต์

อเนกจะนับเหลือตรา

ขา๎ ขอนบหมูพํ ระศรา- พกทรงคณุ า

นคุ ุณประดจุ ราํ พนั

ดว๎ ยเดชบุญขา๎ อภิวันท์ พระไตรรัตน์อนั

อุดมดิเรกนริ ตั ศิ ยั

ขอจงขจดั โภยภัย อันตรายใดใด

จงดบั และกลับเส่ือมสญู (กราบ)

บทสวดชัยสทิ ธิคาถา

(นาํ พาหุง (รบั พร๎อมกัน) สะหัสสะมะภินมิ มติ ะสาวุธนั ตงั
ครเี มขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารงั
ทานาทธิ มั มะวธิ ินา ชิตะวามนุ ินโท
ตนั เตชะสาภะวะตเุ ต ชะยะสิทธนิ ิจจงั

บทสวดพระสังฆคณุ (ทานองสรภญั ญะ)

(นาํ ) ปางเม่ือพระองค์ปะระมะพุท- (รบั )ธะวสิ ทุ ธะศาสดา

ตรสั รู๎อะนตุ ตะระสะมา- ธิ ณ โพธบิ ลั ลงั ค์

ขุนมารสะหัสสะพาหุพา- หวุ ชิ าวิชิตขลงั

ขคี่ ีรเิ มขละประทงั คะชะเห้ยี มกระเหิมหาญ

26

แสร๎งเสกสะราวธุ ะประดษิ ฐ์ กะละคดิ จะรอนราญ
รุมพลพะหลพะยุหะปาน พระสมทุ ทะนองมา

หวังเพ่อื ผจญวะระมนุ นิ - ทะสุชนิ ะราชา
พระปราบพะหลพะยหุ ะมา ระมะเลอื งมลายสูญ

ด๎วยเดชะองค์พระทศพล สวุ มิ ละไพบูลย์
ทานาทธิ ัมมะวธิ กิ ูล ชนะนอ๎ มมะโนตาม

ด๎วยเดชะสจั จะวัจนา และนะมามิองคส์ าม
ขอจงนิกรพละสยาม ชะยะสิทธิทุกวาร

ถงึ แม๎จะมีอะรวิ เิ ศษ พละเดชะเทยี มมาร
ขอไทยผจญพิชติ ะผลาญ อะรแิ ม๎นมุนนิ ทร

(กราบ ๓ คร้ัง)

27

การปฏบิ ัติศาสนพธิ ีเบื้องตน้

ความรู้เกย่ี วกบั ศาสนพิธี

สังคมไทยถือวาํ ศาสนามีความสาํ คญั ตอํ วถิ ีการดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนในสงั คม จนกลายเปน็ วฒั นธรรมประเพณีทม่ี ี
ผลตํอความร๎ูสึกนึกคิด ความเช่ือ ความศรัทธาของประชาชน ดงั น้ัน ศาสนาจึงเป็นเครื่องยดึ เหน่ยี วทางจิตใจในการ
ประพฤตปิ ฏิบตั ิ เพื่อใหป๎ ระชาชนพลเมอื งได๎ใช๎ หลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ มาเป็นเครอ่ื งมอื ในการประพฤตปิ ฏิบัติ
ตน ให๎เกิดประโยชน์ ในการพัฒนาจิตใจของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ให๎มีความม่ันคง และอยูํ
รวํ มกันอยํางมีความสุข เกิดความสมานฉันท์ แตํการที่ประชาชนพลเมืองจะเข๎าถงึ หลกั ธรรมอนั เปน็ แกนํ แท๎ของศาสนา
นน้ั เป็นส่งิ ที่กระทาํ ได๎ยาก เน่ืองจากผลของการกระทํา มลี ักษณะเปน็ นามธรรมเชํนเดียวกบั เรอ่ื งการศึกษาท่จี ะทําใหผ๎ ๎ูท่ี
รับการศกึ ษาได๎เกดิ ปัญญาจริง ๆ ยอํ มเหน็ ผลชา๎ ไมํเหมือนการสรา๎ งวตั ถุตาํ ง ๆ ทสี่ ามารถเห็นผลได๎รวดเร็วทนั ใจ ดงั นั้น
ศาสนา ทุกศาสนาจงึ จําเปน็ ต๎องมีพธิ กี รรมทางศาสนาเป็นเครอ่ื งมือในการให๎ศาสนกิ ชนของตนใชเ๎ ปน็ แนวทางในการ
ปฏิบตั ิกิจกรรมทางศาสนาทม่ี ีลักษณะเปน็ รูปธรรมรํวมกัน ปราชญ์ทั้งหลายจงึ ได๎ให๎ ความสําคัญของศาสนพธิ ีไว๎วาํ “เปน็
ดังเปลือกของตน๎ ไม๎ ซ่งึ ทําหน๎าทหี่ อํ หุ๎มแกํนของต๎นไม๎ คือ เน้อื แท๎อันเปน็ สาระสสาํ คัญของศาสนาไว๎” ซง่ึ เมือ่ กลําวให๎
ถกู ต๎อง ก็สามารถกลําวได๎วํา ศาสนพิธี และศาสนธรรมของศาสนาทง้ั สองสํวนนี้ ยํอมมีความสําคัญเสมอกัน ต๎องอาศัยซ่ึง
กันและกนั เพราะหากไมํมีศาสนธรรมอันเปน็ แกนํ แทข๎ องศาสนา ศาสนพธิ ีกค็ งจะอยูไํ ด๎ไมนํ าน หรอื หากมี เฉพาะศาสน
ธรรมอนั เปน็ แกํนแท๎ของศาสนา แตํไมํมศี าสนพิธี แกนํ แท๎ของศาสนาก็ยํอมอยํูได๎ ไมํนานเชนํ กัน เพราะศาสนกิ ชนขาด
แนวทางในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทางศาสนารวํ มกนั ไมํมีส่งิ ใดส่งิ หนงึ่ เปน็ ศูนยก์ ลางอันเป็นเคร่อื งยดึ เหนยี่ วจิตใจในการท่ี
จะปฏิบตั ิกจิ กรรมรวํ มกนั

ศาสนพิธหี รือพธิ กี รรมของพระพุทธศาสนาเปน็ ส่ิงท่ชี ํวยหลํอเลยี้ งศาสนธรรม อนั เป็นแกํนแทข๎ อง
พระพุทธศาสนาไว๎ ดงั นัน้ การกระทาํ ศาสนพิธหี รือพธิ กี รรมตาํ ง ๆ ในทาง พระพทุ ธศาสนา ควรทจ่ี ะต๎องมีการแนะนํา
และให๎ผร๎ู ํวมพิธไี ดศ๎ ึกษาทาํ ความเข๎าใจเก่ียวกบั พธิ ีตําง ๆ ใหถ๎ ํองแท๎ตามหลักการทางพิธีกรรมของพระพทุ ธศาสนา เพ่ือ
ผป๎ู ฏบิ ัติจะได๎นาํ ไปปฏบิ ัติ ได๎อยํางถูกต๎องตามจุดมงุํ หมายในศาสนพิธีนน้ั ๆ เน่ืองจากศาสนพธิ ีจัดเป็นวัฒนธรรมและ
จารีตประเพณีของชาตทิ ่ีมกี ารสบื สานกันมาเป็นระยะเวลาอนั ยาวนาน ซงึ่ การปฏบิ ัติศาสนพิธี จะต๎องทาํ ให๎มีความเปน็
ระเบยี บเรยี บรอ๎ ย สวยงาม เปน็ ไปในแนวทางเดยี วกัน เพ่ือกํอใหเ๎ กิดความ เลื่อมใสศรทั ธาในการดาํ เนินกจิ กรรมด๎านพิธี
ของศาสนา ซง่ึ ถือเปน็ สิง่ สาํ คัญของพุทธศาสนิกชน เพราะการดําเนินกจิ กรรมของพธิ ีกรรมตําง ๆ ถือเปน็ ก๎าวแรกทมี่ ี
ความเป็นรูปธรรมของการ กา๎ วเข๎าสํูหลักการของพระพทุ ธศาสนาท่ีเปน็ การเสรมิ สรา๎ งคุณคาํ ทางดา๎ นจิตใจ รวมทั้งการ
ธํารงรกั ษา เอกลักษณข์ องชาตแิ ละพระพุทธศาสนา ผ๎ทู าํ หนา๎ ทเ่ี ป็นผูน๎ ําในการปฏิบัติงานศาสนพิธีจึงควรมีความรู๎
ความสามารถและความเข๎าใจอยาํ งถูกต๎อง เนือ่ งจากศาสนพิธีเป็นการสรา๎ งระเบียบแบบแผน แบบอยาํ งทพ่ี งึ ปฏิบตั ิใน
ศาสนานัน้ ๆ ตามหลักการความเช่อื ในศาสนาท่ตี นนบั ถือ เมอื่ นาํ มาใช๎ใน ทางพระพทุ ธศาสนายอํ มหมายถงึ ระเบียบ
แบบแผน และแบบอยํางท่พี ึงปฏบิ ตั ใิ นพระพทุ ธศาสนา ซง่ึ บางทาํ นเรียกวํา “พุทธศาสนพิธี”

ประโยชนข์ องศาสนพิธี การปฏิบตั ิศาสนพิธที ีถ่ ูกต๎องเรยี บร๎อย งดงาม ยํอมเพ่มิ พูน ความศรทั ธาปสาทะแกผํ ท๎ู ี่
ไดพ๎ บเห็น เป็นเคร่อื งแสดงเกียรตยิ ศของเจ๎าภาพและผเู๎ ข๎ารวํ มพธิ ี ท้ังยังเปน็ การรักษาวัฒนธรรมประเพณที ด่ี งี ามของ
ชาติไว๎

28

ประเภทของศาสนพธิ ที างพระพุทธศาสนา

๑) กศุ ลพิธี คือ พิธกี รรมท่ีเนื่องดว๎ ยการอบรมเพื่อความดีงามทางพระพทุ ธศาสนา เฉพาะตวั บุคคล เชํน การ
แสดงตนเป็นพุทธมามกะ การเวียนเทยี นในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา การรกั ษาศีลตาํ ง ๆ

๒) บุญพิธี คือ การทําบญุ อันเป็นประเพณใี นครอบครัว ในสังคม เกี่ยวเนื่องกบั วิถชี วี ติ ของสงั คม เชํน พิธีทําบุญ
งานมงคล พธิ ที ําบุญงานอวมงคล

๓) ทานพิธี คือ พธิ ีถวายทานตาํ ง ๆ เชํน ปาฏิบคุ ลิกทาน การถวายสังฆทาน การถวาย กฐนิ ผ๎าปาุ ผ๎าอาบน้าํ ฝน
และอนื่ ๆ

๔) ปกณิ กพิธี คือ พธิ ีเบ็ดเตล็ด เก่ียวกบั มารยาทและวิธีปฏิบตั ศิ าสนพิธี เชํน วิธตี ง้ั โตะ๏ หมํูบชู า จัดอาสนะสงฆ์
วธิ วี งด๎ายสายสญิ จน์ วธิ จี ดุ ธูปเทียน วิธแี สดงความเคารพ วธิ ีประเคนของ พระสงฆ์ วิธีทอดผา๎ บังสุกุล วธิ ที ําหนงั สือ
อาราธนาและใบปวารณา วธิ อี าราธนาศลี อาราธนา พระปริตร อาราธนาธรรม วธิ กี รวดน้าํ ฯลฯ

ประเภทของงานศาสนพธิ ี

งานพระราชพิธี
เป็นงานทพ่ี ระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกลา๎ ฯ ใหจ๎ ัดขนึ้ เปน็ ประจาํ ปี เชนํ พระราชพธิ ฉี ตั รมงคล พระราช
พธิ ีเฉลมิ พระชนมพรรษา หรอื งานทีท่ รงพระกรณุ าโปรดเกลา๎ ฯ ใหจ๎ ัดข้นึ เป็นกรณพี ิเศษ เชํน พระราชพิธอี ภเิ ษกสมรส
พระราชพธิ สี มโภชเดือนและขึ้นพระอํู
งานพระราชกุศล
เปน็ งานทพ่ี ระมหากษตั รยิ ์ทรงบาํ เพญ็ พระราชกุศล งานพระราชกศุ ลบางงานตํอเนอื่ ง กับงานพระราชพธิ ี เชํน
พระราชกุศลมาฆบูชา พระราชกศุ ลทกั ษณิ านปุ ระทานพระบรมอัฐสิ มเดจ็ พระบรมราชบุพการี พระราชกุศลทรงบาตร
งานรัฐพิธี
เปน็ งานพธิ ีทร่ี ัฐบาลหรอื ทางราชการจัดขึ้นเป็นประจาํ ปี โดยกราบทลู เชิญพระบาท สมเด็จพระเจา๎ อยูํหวั เสด็จ
พระราชดาํ เนนิ ทรงเปน็ ประธานประกอบพิธี เชนํ รฐั พิธีท่ีระลกึ วนั จักรี รฐั พิธฉี ลองวนั พระราชทานรัฐธรรมนญู ซึ่ง
ปัจจุบนั ทรงรับเข๎าเป็นงานพระราชพิธี

งานราษฎรพ์ ิธี
เป็นงานทําบุญตามประเพณนี ิยมทีร่ าษฎรจัดข้นึ เพ่ือความเป็นสิรมิ งคลแกตํ นเอง และชุมชน หรอื เป็นการทําบญุ
เพ่ืออทุ ิศผลให๎แกผํ ทู๎ ่ีลวํ งลบั ไปแลว๎ ในโอกาสตําง ๆ ซงึ่ เปน็ การจัด ตามความศรัทธาและความเช่อื ท่ีถือปฏบิ ตั สิ บื ทอดกัน
มาตามท๎องถ่ินหรอื ชุมชนนัน้ ๆ

องค์ประกอบของพิธี

๑) พธิ ีกรรม คือ การกระทําที่เปน็ วธิ กี ารเพื่อใหไ๎ ดร๎ บั ผลสําเร็จและนําไปสผูํ ลที่ต๎องการ อันเปน็ เครื่องน๎อมนํา
ศรทั ธาท่จี ะพาเขา๎ สูเํ ปูาหมายตามวตั ถุประสงค์ของผท๎ู ีจ่ ัดกิจกรรมนน้ั ๆ และสามารถน๎อม
นําให๎ผ๎ศู รทั ธาเขา๎ ถึงธรรมท่ีสูงข้ึน

๒) พิธกี าร คอื ข้ันตอนของพิธที ีก่ าํ หนดไว๎ตามลําดบั ต้ังแตเํ ร่ิมต๎นพธิ ีจนจบพธิ ี เพื่อให๎การจดั กิจกรรมในพิธนี ้ัน
ๆ เป็นไปดว๎ ยความถูกต๎อง เรียบร๎อย และสวยงาม อันนํามาซึ่ง ความศรัทธาและความเชื่อในการจัดกิจกรรมรํวมกนั ท้ัง
ในสํวนผ๎ูทีเ่ ข๎ารํวมพิธแี ละผู๎ท่ีพบเหน็

๓) พธิ ีกร คอื ผูด๎ าํ เนนิ รายการประกอบพธิ ีกรรมนนั้ ๆ ใหเ๎ ป็นไปตามขั้นตอนทไี่ ด๎ กําหนดไว๎ โดยทําหน๎าท่ี
รบั ผิดชอบในด๎านพธิ ีการ ประสาน ควบคมุ และกํากับพิธกี ารตาํ ง ๆ ให๎เปน็ ไปดว๎ ยความเรียบร๎อยตามกําหนดการ ใน

29

กรณีท่ีเป็นพิธีกรทางศาสนา จะเรยี กวํา “ศาสนพธิ ีกร” ซึ่งหมายถึงผท๎ู ําหนา๎ ที่ควบคุมและปฏิบัตศิ าสนพิธี ให๎ถกู ต๎องตาม
พิธีกรรมทางศาสนา ตลอดจนประสานงานเพือ่ ให๎การดาํ เนินกจิ กรรมในพธิ ีน้ัน ๆ เป็นไปด๎วยความเรียบรอ๎ ย

คณุ สมบตั ขิ องศาสนพิธกี ร
๑) ความร๎ู ความสามารถ ในการปฏบิ ัติศาสนพิธี
๒) มไี หวพริบ ปฏภิ าณ ตัดสนิ ใจ และแก๎ไขขอ๎ ขัดข๎องได๎รวดเรว็ และเรียบรอ๎ ย
๓) มคี วามแมํนยาํ ละเอียด รอบคอบ
๔) แตํงกายและปฏบิ ตั ิตนให๎เหมาะสมตามกาลเทศะ มมี ารยาทเรียบรอ๎ ย
๕) สามารถประสานงาน ควบคุม กํากบั พิธกี ารได๎ดี

ลาดบั ของศาสนพธิ ี

การเตรยี มการ
เม่อื มีการปรึกษาหารือและมีข๎อตกลงกนั เปน็ ท่ีเรยี บร๎อยแลว๎ ในการจัดพธิ ีเน่ืองใน โอกาสตําง ๆ นั้น ผ๎ูท่ไี ดร๎ บั
มอบหมายให๎ทาํ หนา๎ ทใ่ี นการเป็นผดู๎ าํ เนนิ กิจกรรมจะต๎องมีการเตรียมการ ดังนี้
๑) การเตรียมสถานที่
๒) การเตรียมอปุ กรณ์
๓) การเตรยี มบุคลากร
๔) การเตรียมกําหนดการ
การเตรยี มสถานท่ี
กิจกรรมแรกท่ีผ๎ดู ําเนนิ กจิ กรรมควรคํานงึ ถึง คือ การเตรยี มสถานท่ี ควรคํานึงถึง ความเหมาะสมของสถานที่
งานทีจ่ ะจัดเป็นงานพธิ ใี ด งานมงคล หรอื งานอวมงคล สถานท่ีนัน้ มคี วามเหมาะสมกบั การจดั พิธหี รือไมเํ พียงใด ซ่ึงจะได๎
มกี ารวางแผนในการจดั กิจกรรมให๎เหมาะสม กบั สถานท่ี โดยมีหลกั การพจิ ารณา ดงั นี้
๑) ความเหมาะสมของสถานทใ่ี นการจดั พธิ ี
๒) มีความกว๎างขวาง เพียงพอกบั การรองรับผรู๎ วํ มพธิ ี
๓) สะอาด สะดวก ปลอดภัย
๔) ไมํมีเสียงรบกวน

30

31

32

การเตรยี มอุปกรณ์
การเตรยี มอุปกรณ์ เป็นสง่ิ จําเปน็ ของพธิ ตี าํ ง ๆ ซึง่ ผท๎ู ําหนา๎ ทีศ่ าสนพธิ กี รควรมคี วามร๎ู ความเขา๎ ใจเกยี่ วกับพธิ ี
การหรอื พธิ ีกรรมตาํ ง ๆ เชํน วตั ถุประสงค์ของการจัดศาสนพธิ ี เปน็ งานมงคล งานอวมงคล หรอื การจัดงานมงคลและ
งานอวมงคลพร๎อมกัน ซ่ึงแตลํ ะงานจะตอ๎ งใช๎ อปุ กรณใ์ นการประกอบพิธที ่ีแตกตํางกนั เชํน งานมงคลสมรส งานวางศลิ า
ฤกษ์ เปน็ ต๎น
อุปกรณห์ ลักทใี่ ช้ในงานศาสนพธิ ี
๑) โตะ๏ หมูบํ ชู า พระพุทธรปู แทนํ กราบ
๒) แจกันดอกไม๎ หรอื พานพํุม
๓) กระถางธปู เชงิ เทียน
๔) ธูป เทยี น บชู าพระ
๕) เทยี นชนวน
๖) ทก่ี รวดน้ํา
๗) สาํ ลี กรรไกร เช้อื ชนวน (นํ้ามนั เบนซนิ ผสมกับเทียนขผ้ี ึ้งแท)๎
๘) ใบปวารณา และจตุปัจจัยไทยธรรม
๙) เคร่ืองขยายเสียงพร๎อมอปุ กรณ์
๑๐) เครอ่ื งรบั รองพระสงฆ์ เชํน นํา้ ร๎อน น้ําเย็น อาสน์สงฆ์หรือพรมนั่ง เสื่อ หมอนพิง กระดาษเชด็ มือ กระโถน
เปน็ ตน๎

33

34

35

36

พธิ ีงานอวมงคล
พธิ สี วดพระอภิธรรม
๑) ภษู าโยง (ถ๎าศพมฐี านันดรศกั ด์ติ ้งั แตชํ ัน้ หมํอมเจา๎ ขึน้ ไป ต๎องเตรียมผา๎ ขาว กวา๎ งประมาณ ๑๐ หรอื ๑๒ น้วิ
ยาวเสมอกับแถวพระสงฆ์ จาํ นวน ๑ ผืน เรยี กวํา “ผ๎ารองโยง”) แถบทอง หรอื สายโยง สาํ หรบั โยงมาจากหีบหรอื โกศศพ
๒) เครื่องทองน๎อย ๑-๒ ท่ี (ตั้งหน๎าหบี ศพ)
๓) ต๎พู ระอภธิ รรม พรอ๎ มโตะ๏ ตั้งตพ๎ู ระอภิธรรม
๔) ผ๎าไตร หรอื ผา๎ สําหรบั ทอดบังสกุ ุล
๕) เครอ่ื งกระบะบูชาพระอภิธรรม (ในกรณีไมมํ ีเครอ่ื งกระบะบชู า ให๎ใชเ๎ ชงิ เทียน ๑ คํู แจกนั ดอกไม๎ ๑ คํู และ
กระถางธูป ๑ กระถาง ตง้ั หน๎าตพ๎ู ระอภิธรรมแทนเพอื่ จุดบูชาพระธรรม)

พธิ พี ระราชทานเพลิงศพ หรือฌาปนกจิ ศพ (อุปกรณ์เพ่ิมจากการสวดพระอภธิ รรม)
๑) ธรรมาสนเ์ ทศน์ คมั ภรี เ์ ทศน์ พดั รอง ตะลมํุ พาน
๒) เคร่ืองทองน๎อย จํานวน ๑ ท่ี (เพ่ิมอีก ๑ ที่สาํ หรบั ประธานจุดบูชาพระธรรม)
๓) เทยี นสอํ งธรรม
๔) ผา๎ ไตร หรอื ผ๎าสาํ หรับทอดบงั สกุ ุล
๕) เครอ่ื งไทยธรรมบชู ากัณฑ์เทศน์

พิธที าบุญครบรอบวันตาย
๑) อฐั ิ รปู ผ๎ูตาย/ปูายชือ่ ของบรรพบรุ ษุ
๒) โตะ๏ หมอํู ีก ๑ ชุด ใชเ๎ ปน็ ทบ่ี ชู าอัฐิ
๓) เครื่องทองน๎อย
๔) ภูษาโยง แถบทอง
๕) ผา๎ ไตรหรอื ผา๎ สําหรับทอดบงั สกุ ุล

37

38

การเตรยี มบคุ ลากร
การเตรียมบคุ ลากร เป็นการแสดงถงึ ความพร๎อมของผ๎ูจัดงานพธิ ีตาํ ง ๆ เพื่อ ความสะดวกในการประสานงาน
อนั เป็นการแบงํ หน๎าท่รี ับผิดชอบในแตลํ ะสํวนของผูป๎ ฏิบตั ิงาน และสามารถตรวจสอบได๎วํานิมนต์พระสงฆห์ รือยัง นมิ นต์
จํานวนเทําใด ใครเปน็ ประธาน ใครรบั ภารกิจสํวนใด ใครเปน็ พิธกี ร ใครทําหน๎าท่ีศาสนพธิ กี ร เปน็ ต๎น
พระสงฆ์ การนิมนต์พระสงฆ์ ควรเขยี นเปน็ หนงั สือ หรือภาษาทางราชการ เรียกวํา “การวางฎีกานิมนต์
พระสงฆ”์ เพื่อถวายพระสงฆ์ไว๎เป็นหลกั ฐาน ซึ่งประกอบด๎วยขอ๎ ความสําคัญ เป็นการนมัสการใหพ๎ ระสงฆท์ ราบวาํ
นิมนต์งานพธิ ีใด วนั เวลา และสถานท่ีในการประกอบพิธี อยทูํ ่ไี หนควรแจ๎งให๎ชัดเจน สาํ หรับจํานวนพระสงฆ์ในแตํละพิธี
ไมไํ ด๎กําหนดจํานวนมากไว๎เทําใด แตมํ ีกาํ หนดจํานวนข๎างน๎อยไว๎ คือ ไมํํตํากวํา ๕ รปู ๗ รปู ๙ รูป และ ๑๐ รปู เพอ่ื จะ
ได๎ครบองค์ คณะสงฆ์ สํวนงานพระราชพิธี หรอื พธิ ขี องทางราชการนยิ มนิมนต์พระสงฆ์ ๑๐ รปู ทั้งงานมงคล และงาน
อวมงคล แตํถ๎าหากเป็นพธิ ีบําเพญ็ กุศลสวดพระอภธิ รรมศพประจําคืนนั้น นิมนต์พระสงฆ์ สวดพระอภิธรรม จาํ นวน ๔
รปู
ประธานพธิ ี คือ บุคคลท่ีเจา๎ ภาพเชิญมาเป็นเกียรติแกงํ านพิธเี พ่ือทาํ หนา๎ ทเ่ี ป็น ประธานในพธิ ีซงึ่ มที ้ังแบบเปน็
ทางการ คือ มีการเชญิ โดยแจ๎งให๎ผูท๎ ี่เปน็ ประธานทราบลวํ งหน๎า อยาํ งเปน็ ทางการ และแบบไมเํ ป็นทางการ คอื การเชญิ
ผู๎ทีม่ ารํวมงานทาํ หนา๎ ทเี่ ป็นประธาน โดยไมมํ ีการแจ๎งให๎ทราบลํวงหน๎า ซึ่งถ๎าไมํเป็นทางการก็ไมํส๎ูกระไรนกั แตํหากเป็น
ทางการควรมี การจดั เตรยี มสถานทใ่ี ห๎เหมาะสมกบั ฐานะของผู๎ท่ีเชญิ มาเป็นประธานในพิธี เชนํ การจดั ทีน่ ัง่ การตอ๎ นรับ
การจัดเตรยี มเครือ่ งรับรอง เป็นตน๎ อันเป็นการแสดงออกถึงการใหเ๎ กยี รติแกผํ ู๎ทร่ี ับเชิญ มาทําหนา๎ ที่เปน็ ประธานในพิธี
นัน้ ๆ ดว๎ ย และควรแจง๎ กาํ หนดการของพธิ ใี หผ๎ ู๎ทาํ หนา๎ ทีเ่ ป็นประธาน ไดท๎ ราบ

39

ศาสนพิธีกร คือ ผทู๎ าํ หนา๎ ทีเ่ ปน็ ผ๎ูดาํ เนนิ การพธิ ีทางศาสนา ซง่ึ มคี วามรอบรใู๎ นดา๎ น พธิ ีการตาํ ง ๆ ทําหน๎าที่
ควบคมุ ปฏิบัตกิ าร จดั การ และประสานงานระหวาํ งผร๎ู ํวมปฏบิ ัติงานพิธี ตลอดจนถึงการให๎คาํ แนะนาํ ให๎คําปรึกษาใน
การดาํ เนนิ กิจกรรมพิธีทางพระพุทธศาสนาได๎อยําง ชัดเจนและถูกตอ๎ งตามโบราณประเพณีท่ไี ด๎มีการสืบทอดกนั มา

ผู้รว่ มงาน คือ ผทู๎ ่เี จา๎ ภาพเชิญมารํวมเปน็ เกยี รติแกํพิธี ดําเนนิ กจิ กรรมในพิธีรํวมกนั เชํน รํวมฟงั พระสงฆ์แสดง
พระธรรมเทศนา เจริญพระพุทธมนต์ เจ๎าภาพควรประมาณจํานวน ผู๎ท่รี ับเชิญมารวํ มกิจกรรมให๎เหมาะสมกบั สถานท่ี
ควรกําหนดผูท๎ ีค่ อยต๎อนรับผ๎ูมารํวมงาน กําหนด สถานท่ีนั่งสาํ หรับผ๎ูเปน็ ประธาน ของท่ีระลกึ เปน็ ตน๎ ถ๎าบุคคลทเี่ ชญิ
เป็นผ๎ใู หญํ เจา๎ ภาพ ควรกาํ หนดใหช๎ ัดเจนวํา ใครนัง่ ตรงไหน อยาํ งไร เน่ืองจากเม่อื ผู๎รับเชิญนง่ั เรยี บร๎อยแล๎ว ถา๎ มี การ
เคล่อื นย๎ายทีน่ ่ังในภายหลงั ผรู๎ ับเชญิ จะเสยี ความร๎สู กึ ที่ดีในการเขา๎ รวํ มกิจกรรม

การเตรยี มกาหนดการ
กาํ หนดการ คือ เอกสารท่ีจัดทาํ ขึน้ เพ่ือบอกลักษณะของงาน เปน็ ต๎นวํา งานอะไร ใครเป็นประธาน สถานที่ วนั
เวลาในการจดั งาน ลําดบั ขน้ั ตอนของงาน การแตํงกาย เพ่ือใหผ๎ ๎ูท่ี รํวมในพธิ ี ๆ มีความเข๎าใจตรงกนั และทราบขั้นตอน
ของพธิ ี

กาหนดการมี ๔ ประเภท คือ
๑. หมายกาํ หนดการ
๒. หมายรับสัง่
๓. พระราชกจิ
๔. กาํ หนดการ

การเตรยี มการและการปฏิบัติงานศาสนพิธี

เมื่อถึงกําหนดวันพิธีผ๎ูท่ีมีหน๎าที่รับผิดชอบในการเป็นผ๎ูดําเนินการ ควรมีการจัดเตรียม และแบํงงานให๎ผู๎รํวม
ปฏิบัติงานในพิธีตําง ๆ ให๎ชัดเจน ใครทําอะไร ที่ไหน อยํางไร ควรมีการตรวจ สอบความพร๎อมของอุปกรณ์เคร่ืองใช๎ให๎
พร๎อมตลอดเวลา เชํน เคร่ืองสักการบูชาพระรัตนตรัย พระพุทธรูป เทียนชนวน ส่ิงตําง ๆ เหลํานี้ ผู๎ทําหน๎าที่เป็นศาสน
พิธีกร และพิธกี รผู๎ชํวยจะต๎อง ชํวยกนั ดแู ลการจดั เตรียมและการปฏบิ ัตใิ ห๎เปน็ ไปด๎วยความเรียบร๎อย

การเตรียมการก่อนการปฏบิ ตั งิ านศาสนพิธี

การปูลาดสถานท่ี
การจัดปลู าดพ้ืนที่ด๎วยเคร่ืองปูลาด เชํน พรมหรือเส่ือ สําหรับจัดเป็นอาสนสงฆ์และ ที่สําหรับแขกท่ีมารํวมงาน
การปลาดสถานท่ีควรคํานึงถึงความเหมาะสมและความสวยงามด๎วย ถ๎าเครื่องปูลาดมีมาก สามารถปให๎เต็มพื้นท่ีที่
ประกอบพิธีได๎ ควรเลือกคัดดูสี สัณฐาน ลวดลาย และขนาดให๎เหมาะสมการปูให๎ปลําดับลดหลั่นกันไป คือ การปูลาด
ตรงบริเวณรอยตํอระหวําง พรหมหรือเสื่อ ต๎องให๎ด๎านสูงทับด๎านํตํา อยําให๎ด๎านํตําทับด๎านสูง ให๎กําหนดทางด๎าน
พระพทุ ธรูป และพระสงฆ์ประดิษฐานอยูํเป็นด๎านสูง เพราะตามคตินิยมโดยท่ัวไป เป็นการแสดงถึงความเคารพกัน ของ
สังคมไทย ผ๎ูใหญํนั่งสูงกวําผ๎ูน๎อย ผู๎น๎อยไมํน่ังสูงกวําผู๎ใหญํ พระภิกษุนั่งตามลําดับอาวุโส คือ พรรษาหรือสมณศักด์ิ
แลว๎ แตกํ รณขี องงานพิธีนั้น ๆ
การตง้ั โต๊ะหม่บู ชู าในงานศาสนพธิ ี

40

การตั้งโต๏ะหมูํบูชา ตั้งเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป พร๎อมท้ังเคร่ืองบูชาตาม คตินิยมของชาวพุทธ ซ่ึง
ปรากฏในพุทธประวัติวํา เมื่อพุทธบริษัทมีความประสงค์จะบําเพ็ญกุศล อยํางหน่ึงอยํางใด มักจะนิมนต์พระสงฆ์โดยมี
พระพุทธเจ๎าเสด็จมาเป็นประธานสงฆ์ในการบําเพ็ญ กุศลน้ัน ๆ ดังนั้น เพ่ือให๎มีความสมบูรณ์ในพระรัตนตรัย คือ พระ
พุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ในการจัดงานที่เก่ียวกับศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชนจึงนิยมอัญเชิญ
พระพุทธรูป มาประดิษฐานเป็นนิมิตรแทนพระองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ๎าในพิธีน้ัน ๆ ซึ่งตํอมาถือวํา โต๏ะหมูํบูชา
เป็นท่ีประดิษฐานของส่ิงท่ีเคารพบูชาของสังคมไทย และเป็นองค์ประกอบของเครื่อง มนัสการบูชา ปัจจุบันจึงได๎มีการ
จัดตั้งโต๏ะหมูํบูชาเพื่อวัตถุประสงค์อื่น แตํท้ังนี้ก็เป็นไปด๎วยความเคารพ สักการบูชาในส่ิงท่ีนํามาประดิษฐานบนโต๏ะหมํู
บูชาทั้งส้ิน ผู๎ท่ีทําหน๎าที่ศาสนพิธีกรจึงควรมีความรู๎ และความเข๎าใจในการจัดโต๏ะหมํูบูชา เชํน พิธีใดควรจัดอยํางไร ใช๎
โต๏ะหมูํชุดใด เชํน หมูํ ๕ หมํู ๗ หรือ หมูํ ๙ เครื่องประกอบบนโต๏ะหมํูมีอะไรบ๎าง ซ่ึงส่ิงตําง ๆ เหลําน้ี ต๎องดูความ
เหมาะสมของ สถานทแ่ี ละพธิ ีท่จี ะจดั กิจกรรม

โต๊ะหมู่บูชา นิยมตั้งไว๎ด๎านขวามือของพระสงฆ์ แตํถ๎าสถานที่ไมํอํานวยก็อนุโลมให๎ตั้งไว๎ ทางด๎านซ๎ายมือของ
พระสงฆ์ได๎ ควรพิจารณาใหเ๎ หมาะสมกบั สถานที่ ไมํควรวางไว๎ในตําแหนํงท่ี ต๎องใช๎เป็นทางเดินผํานไปมา ซึ่งการบําเพ็ญ
กศุ ลทางพระพทุ ธศาสนามีการจดั ตง้ั โตะ๏ หมบูํ ูชา เชนํ งานกุศลพิธี และงานบญุ พธิ ี

งานกศุ ลพิธี คอื พธิ กี รรมตําง ๆ อนั เกีย่ วด๎วยการอบรมเพอื่ ใหเ๎ กิด
ความดงี ามทาง พระพทุ ธศาสนาเฉพาะตัวบคุ คล รวมทั้งการปฏิบตั ศิ าสนพธิ ขี องพระสงฆ์

งานบุญพิธี คือ พิธีกรรมท่ีพุทธศาสนิกชนปรารภทําความดีเน่ืองด๎วยประเพณี ในครอบครัว หรือประเพณีท่ี
เกี่ยวกับวิถชี ีวิตของคนทวั่ ไป ทัง้ ทเี่ ปน็ งานมงคล หรอื งานอวมงคล ซงึ่ มกี ารตั้งโต๏ะหมํูบูชาแบบประยุกต์ไมํเต็มรปู แบบ

การจัดโตะ๊ หมบู่ ชู า ให๎ประดิษฐานพระพทุ ธรปู ไวท๎ ี่โต๏ะหมูํตัวสูงสุด และไมํควรต้ังเครื่อง บูชาใด ๆ ไว๎บนโต๏ะหมํู
ตัวเดียวกับที่ประดิษฐานพระพุทธรูป สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธมุมสารเถร) ได๎กลําวไว๎วํา “เน่ืองจากพระพุทธ พระ
ธรรม และพระสงฆ์ เป็นสิ่งท่ีควรกระทําความยําเกรง ให๎เกิดแกํผู๎ท่ีเป็นพุทธศาสนิกชนให๎หนัก เพราะมีคํามาก เพราะ
เห็นได๎ยาก เป็นสงิ่ ทสี่ ะสมได๎ เฉพาะคนดี ถ๎าพุทธศาสนิกชนทํามักงํายกับพระรัตนตรัยก็จะไมํเป็นพระรัตนตรัย” สําหรับ
ในงานพิธีท่ัวไปนิยมใช๎ พระพุทธรูปปางสมาธิ เป็นพระบูชาไมํนิยมปางประทับยืนหรือปางไสยาสน์ แตํถ๎า เป็นงานพิธี
ทาํ บญุ วันเกดิ หรอื ทําบญุ อายุ นยิ มใชพ๎ ระพทุ ธรูปปางประจําวนั เกิดของเจ๎าของงาน

การจัดเครอ่ื งบูชา ตามทน่ี ิยมใช๎กนั มีหลากหลายแตกตาํ งกันตามความเหมาะสม เชํน โต๏ะหมํูซัด โต๏ะเดี๋ยว เป็น
ต๎น การจัดเคร่ืองสักการบูชามากน๎อยให๎จัดตามความเหมาะสมกับสถานที่ และฐานะของเจ๎าภาพ พิธีใหญํหรือพิธีเล็ก
แตสํ ิ่งทถ่ี ือเปน็ เครื่องสกั การบชู าหลกั มีอยํู ๓ ประการ คือ

๑. ธูป ใช๎ ๓ ดอก ปักเรียงกันเป็นหน๎ากระดานในลักษณะต้ังตรงไว๎ในกระถางธูป เนื่องจากเป็นความเชื่อของ
บรรพบุรุษมาแตํโบราณวํา ควันเป็นสิ่งท่ีเบาลอยสํูอากาศเบ้ืองบนแล๎ว จางหายไป ควันที่จางหายไปนี้ อาจจะเป็นส่ือ
นาํ ไปสูสํ งิ่ ทีต่ นเคารพนบั ถอื บชู าไดไ๎ มวํ ําจะอยํู ณ ทใี่ ด

๒. เทียน ใช๎ ๒ เลมํ ตง้ั ไว๎ที่โต๏ะหมูํบชู าตวั เดยี วกับกระถางธูป ด๎านซ๎ายและด๎านขวา ของกระถางธูป อยํางละ ๑
เลํม ซงึ่ หมายถงึ การใหค๎ วามสวํางในทางธรรมแกมํ นุษย์ หรอื เปน็ สญั ลกั ษณ์ของสิ่งทเ่ี คารพนับถือ

๓. ดอกไม๎ นิยมจัดเป็นแจกันหรือพานพํุม ไมํน๎อยกวํา ๒ แจกัน หรือ ๒ พาน ซึ่งเป็นส่ิงที่ กํอให๎เกิดความหอม
และมสี ีสนั สวยงาม อันหมายถึง ทุกคนไมมํ ีใครรงั เกยี จคนทีม่ ีคุณธรรมความดี ยอํ มมี
แตํคนสรรเสรญิ ยกยอํ งนับถือ

41

42

43

การตั้งโต๊ะหมู่ในพิธีถวายพระพร เป็นการตั้งโต๏ะหมูํบูชาในพิธีถวายพระพร เนื่องใน โอกาสวันสําคัญของ
สถาบันพระมหากษัตริย์ หรือเม่ือมีการจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสถาบัน พระมหากษัตริย์เนื่องในโอกาสตําง ๆ เชํน
วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา วันคลา๎ ยวนั ประสตู ิ พระบรมวงศานวุ งศ์

44

การตั้งโต๊ะหมูในพิธีถวายพระพร การต้ังโต๊ะหมู่ในพิธีรับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ หรือการรับ
สิ่งของ พระราชทาน การมอบเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์แกํข๎าราชการในสังกัดที่ได๎รับพระราชทาน เป็นการ มอบส่ิงอันมี
เกียรติ ซึ่งเป็นเคร่ืองตอบแทนคุณงามความดีของข๎าราชการที่มีความชอบในหน๎าที่ ราชการแผํนดิน ดังน้ัน ควรจัดการ
มอบเปน็ พธิ กี ารให๎สมแกํเกยี รติยศ มีการจดั ตั้งโต๏ะหมูใํ นพธิ ี มอบเครอ่ื งอิสรยิ าภรณ์ ดังนี้

45

การตง้ั โตะ๊ หมู่ในการรับเสด็จฯ หรือตามเส้นทางเสด็จฯ ถือเป็นการจดั โต๏ะหมํูรบั เสดจ็ ฯ อนั เปน็ การแสดงออก
ถงึ ความจงรักภักดีของพสกนิกร ผูซ๎ ่ึงอยูภํ ายใต๎พระบรมโพธิสมภารได๎ แสดงออกในโอกาสทีส่ ถาบันพระมหากษตั รยิ ์ได๎
เสด็จพระราชดําเนินมายงั ท๎องถิ่นของตน ซึ่งนับเปน็ สริ มิ งคลแกตํ นเองและชุมชนทตี่ นอยํูอาศัย การจัดโตะ๏ หมูํรับเสดจ็ ฯ
มีวธิ ีการจัดตง้ั ดงั น้ี

การตง้ั โต๊ะหมใู่ นพธิ ีถวายสกั การะเนือ่ งในวันสาคญั ของสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ในโอกาสตาํ ง ๆ เป็นการจัด
กิจกรรมที่ขา๎ ราชการ พํอค๎า และประชาชน มคี วามรําลกึ ถึง พระราชกรณยี กิจและพระมหากรณุ าธิคุณที่
พระมหากษัตรยิ ์แตํละพระองค์ไดท๎ รงปฏบิ ัตอิ ันเปน็ คุณประโยชนแ์ กํประเทศชาติและประชาชน ซึง่ ประชาชนชาวไทยได๎
จดั ข้ึนในสํวนภูมภิ าค อนั เป็นการ ราํ ลกึ ถงึ พระองคอ์ ีกโสดหนึ่ง เชํน วนั จักรี วนั ปิยมหาราช ซงึ่ มีการจดั โตะ๏ หมํูเพ่ือถวาย
สกั การะ

46

การต้ังโต๊ะหมู่บูชาในพิธปี ระชุมหรือสัมมนา ในพธิ ีประชุม สัมมนา อบรม หรอื การประสาทปริญญาบัตรท่ีไมํ
มีศาสนพธิ ีในพธิ ีการ ดังนนั้ เพ่ือแสดงออกถึงความจงรักภักดีที่มตี ํอ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ อนั ถือเป็น
ประเพณแี ละวฒั นธรรมอนั ดงี ามของสงั คมไทย และเพ่ือความเป็นสิรมิ งคลในการประกอบพิธีท่ไี มํใชเํ กยี่ วกับนานาชาติ
และการประชุมปกติ ของคณะกรรมการ นิยมตั้งธงชาติ โต๏ะหมูํ และพระบรมฉายาลักษณห์ รือพระบรมสาทิสลักษณ์
ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ๎าอยํหู ัว เพือ่ ใหค๎ รบ ๓ สถาบัน คือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ ซ่งึ เปน็ การแสดงความ
เคารพตํอสถาบนั ทง้ั ๓ ของสังคมไทย อันเป็นส่ิงท่ดี ีงามและมกี ารปฏบิ ตั ิ สบื สานตํอเนอ่ื งกันมาจนเป็นประเพณี
วัฒนธรรมอันดีงามของสงั คมไทย ที่ไดร๎ วํ มกันอนุรักษ์ ดว๎ ยความภาคภูมิใจในภูมิปญั ญาแนวคิดทม่ี ีตํอสถาบันของบรรพ
บุรษุ ซ่งึ มหี ลักการในการตง้ั โต๏ะหมูบํ ชู าในพิธปี ระชุมหรือสมั มนา ดงั นี้


Click to View FlipBook Version