The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือมัคนายกน้อย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สพป.ขอนแก่น เขต 4, 2022-05-12 01:26:54

คู่มือมัคนายกน้อย

คู่มือมัคนายกน้อย

97

การแสดงพระธรรมเทศนา อันเป็นการเทศนาเพ่ือปรารภคุณูปการของผู๎วายชนม์ท่ีมีตํอ บุคคลหรือประเทศชาติแล๎วแตํ
กรณดี ว๎ ยก็ได๎

การเตรียมการ
๑) จดั เตรียมอุปกรณ์เคร่อื งใช๎ในงานอมงคล
๒) โต๏ะหมบํู ชู า พระพุทธรปู พร๎อมเครือ่ งนมสั การ จาํ นวน ๑ ชดุ
๓) โต๏ะหมํูบูชา สําหรับประดิษฐานอัฐิ หรือส่ิงอันเป็นเครื่องหมายแทนผู๎วายชนม์ พร๎อมเครื่องบูชา และเคร่ือง
ทองน๎อย จาํ นวน ๑ ชุด
๔) เครือ่ งรับรองพระสงฆ์ ตามจาํ นวนพระสงฆท์ ีไ่ ดน๎ มิ นต์
๕) นมิ นตพ์ ระสงฆ์เพอ่ื เจริญพระพุทธมนต์
๖) จตปุ ัจจยั ไทยธรรมถวายพระสงฆ์
๗) ไตรจวี รสาํ หรบั ถวายพระสงฆแ์ สดงพระธรรมเทศนา
และเจรญิ พระพุทธมนต์
๘) ภษู าโยง (กรณผี ู๎วายชนมเ์ ป็นชนั้ หมอํ มเจา๎ ข้นึ ไป จะตอ๎ งมีผ๎ารองโยง ซ่ึงเปน็ ผ๎าขาว รองภษู าโยงด๎วย)
๙) ธรรมาสนเ์ ทศน์ เทียนสอํ งธรรม เครอ่ื งทองนอ๎ ยอกี จํานวน ๒ ชดุ (กรณที ม่ี กี าร แสดงพระธรรมเทศนา)
๑๐) ภตั ตาหารสําหรับถวายพระสงฆ์
แนวทางการปฏิบัติงาน
๑) เมื่อประธานพธิ ีหรือเจ๎าภาพ และผู๎รํวมพิธพี ร๎อมกนั ณ สถานทปี่ ระกอบพธิ ี
๒) ประธานหรอื เจ๎าภาพ จุดธูปเทยี นบูชาพระรัตนตรัย (กราบ ๓ คร้ัง)
๓) ประธานหรือเจา๎ ภาพ จุดเครอื่ งทองน๎อย (กรณีเป็นอัฐิของพระสงฆ์ กราบ ๓ คร้ัง เป็นอัฐิของฆราวาส กราบ
๑ ครัง้ ไมแํ บมอื )
๔) ถวายพัดรองหรือตาลปตั รที่ระลึก
๕) เจ๎าหน๎าที่อาราธนาศีล (กรณีมีการแสดงพระธรรมเทศนาให๎อาราธนาศีลเม่ือ พระสงฆ์จะแสดงพระธรรม
เทศนา และไมวํ ํากําหนดการจะให๎มีการแสดงพระธรรมเทศนากํอน หรือหลังเจริญพระพุทธมนต์ ก็ให๎มีการอาราธนาศีล
ไวใ๎ นชํวงแสดงพระธรรมเทศนา เมอ่ื รบั ศลี แลว๎ เจ๎าหนา๎ ทีจ่ งึ จะอาราธนาธรรม)
๖) เจา๎ หนา๎ ทีอ่ าราธนาพระปริตร
๗) พระสงฆ์เจรญิ พระพทุ ธมนต์
๘) ประธานหรือเจา๎ ภาพถวายภตั ตาหารแดํพระสงฆ์ เมอื่ พระสงฆฉ์ นั ภตั ตาหารแลว๎
๙) เจ๎าหน๎าทีน่ ําเครอื่ งไทยธรรมตัง้ ไว๎ ณ เบอ้ื งหนา๎ พระสงฆท์ กุ รปู
๑๐) เจา๎ หนา๎ ทลี่ าดภษู าโยง
๑๑) ประธานหรอื เจา๎ ภาพทอดผ๎าไตรบงั สุกุล
๑๒) พระสงฆ์พิจารณาผ๎าบงั สุกุล
๑๓) พระสงฆอ์ นโุ มทนา
๑๔) ประธานหรอื เจา๎ ภาพกรวดนา้ํ -รบั พร
๑๕) เสร็จพธิ ี

98

การประดับพวงมาลาหนา๎ ศพ
ท่นี ั่งสําหรบั ประธาน

99

100

การจัดทานพธิ ี

การถวายทาน เป็นการทําบญุ หรอื ทาํ ความดีประการหน่ึง ตามหลักการทําบุญของ พระพุทธศาสนา ๓ ประการ
คอื ทานมยั บญุ สาํ เรจ็ ด๎วยการให๎ทาน ศลี มยั บุญสาํ เร็จ ด๎วยการรักษาศลี ภาวนามัย บุญสําเร็จด๎วยการเจริญภาวนา

การถวายทาน มี ๒ ประเภท คือ การให๎หรือการถวายเครื่องอุปโภคบริโภคให๎แกํบุคคลใด บุคคลหน่ึงโดย
เฉพาะเจาะจง เรียกวํา ปาฏิบุคลิกทาน ประการหน่ึง และการให๎หรือการถวาย โดยให๎หรือถวาย โดยผ๎ูให๎หรือผู๎ถวาย มี
ความตัง้ ใจถวายหรือให๎เป็นสาธารณะไมํเจาะจงผ๎ูใด ไมํวําผ๎ูรับจะเป็นพระภิกษุหรือสามเณร ซึ่งเป็นการถวายอุทิศให๎แกํ
สงฆ์จริง ๆ เรยี กวาํ สงั ฆทาน อีกประการหน่งึ

หลักการเกี่ยวกับการถวายทานแด่พระสงฆ์
๑) หลกั สาํ คญั ของการถวายทานแดํพระภกิ ษสุ ามเณร ตอ๎ งตงั้ ใจถวายจรงิ ๆ
๒) จัดเตรียมทานวัตถุท่ีจะถวายให๎เสร็จเรียบร๎อย ตามศรัทธาและทันถวาย ถ๎าเป็น ภัตตาหาร จีวร และ
คิลานเภสัช ซ่ึงเป็นวัตถุยกประเคนได๎ ต๎องประเคน เว๎นแตํถ๎าไมํอยํูในกาล ที่จะประเคน ก็เพียงแตํนําไปตั้งไว๎ ณ เบ้ือง
หน๎าพระสงฆ์ ดังนัน้ ถ๎าเป็นการถวายทานทถ่ี ูกต๎อง ตอ๎ งจัดถวายทานให๎ถูกต๎องตามกาลนั้น ๆ ถ๎าเป็นเคร่ืองเสนาสนะ ซ่ึง
เป็นสงิ่ กอํ สรา๎ งกับที่ และเปน็ ของใหญํใช๎ตดิ ที่ ก็ต๎องเตรยี มการตามทส่ี มควรและถูกตอ๎ งตามประเพณีปฏิบตั ิ
๓) แจ๎งความประสงค์ท่ีจะถวายทานให๎พระภิกษุสงฆ์ทราบ และนัดหมายวัน เวลา และ สถานท่ี พร๎อมทั้งแจ๎ง
ความประสงค์ในการท่ีจะนมิ นต์พระสงฆร์ บั การถวายทานจาํ นวนเทําใด
๔) ถา๎ มคี วามประสงคจ์ ะถวายทานรํวมกับพิธกี ารอื่น ๆ ก็ตอ๎ งเปน็ เร่ืองของงานพิธี แตํละอยํางไป เม่ือถึงเวลาจะ
ถวายทานกด็ าํ เนินการในสวํ นของพิธถี วายทาน
๕) สิง่ ท่ีสมควรถวายเป็นทานตามพระวินัย

(๑) เครอื่ งนํุงหมํ ได๎แกํ ไตรจีวร สบง องั สะ หรอื ผา๎ เชด็ ตวั
(๒) บณิ ฑบาต ได๎แกํ ภตั ตาหาร นา้ํ ด่ืม น้าํ ปานะ
(๓) เสนาสนะ ไดแ๎ กํ กฏุ ิ ศาลาบําเพญ็ กศุ ล
(๔) คิลานเภสัช หรอื ยารกั ษาโรค
๖) สิ่งของทคี่ วรถวายเปน็ ทานตามท่ปี รากฏในพระสตู ร
(๑) อนั นัง ให๎อาหาร
(๒) ปานั่ง ให๎นํา้ รอ๎ น-นํ้าเย็น นํ้าอฏั ฐบาน
(๓) วตั ถงั ให๎ผา๎ นุํงหมํ
(๔) ยานัง ใหย๎ านพาหนะ
(๕) มาลงั ใหด๎ อกไมท๎ ีม่ ีกลิน่ หอม
(๖) คนั ธงั ให๎ของหอมตาํ ง ๆ
(๗) วิเลปะนัง ใหเ๎ คร่ืองทาตําง ๆ
(๘) เสยยงั ใหท๎ น่ี อนหมอนมงุํ
(๙) วะสะถัง ให๎ทีอ่ ยูํอาศัย
(๑๐) ทีเ่ ปยยัง ใหป๎ ระทีป หรอื ให๎แสงสวาํ ง

101

การถวายสังฆทาน

การถวายสังฆทาน คือ การถวายทานที่อุทิศแกํสงฆ์ ซ่ึงต๎องเป็นการตั้งใจถวาย แกํสงฆ์จริง ๆ ไมํเห็นแกํหน๎า
พระภิกษรุ ปู ใดรปู หนง่ึ ไมวํ าํ จะเปน็ ภกิ ษุหรือสามเณร เป็นพระสงฆ์เถระ หรอื พระสงฆ์อันดับ ถา๎ เจาะจงจะถวายพระภิกษุ
รูปใดแล๎ว ก็จะเป็นเหตุให๎มีจิตใจไขว๎เขวเกิดความ ยินดียินร๎ายไปตามบุคคลที่รับสังฆทานนั้น จะเป็นภิกษุหรือสามเณร
จะเป็นรูปเดียวหรือหลายรูป ก็ถือวําเป็นการถวายสังฆทานท้ังส้ิน และถือวําเป็นผลสําเร็จในการถวายสังฆทานแล๎ว
เนอื่ งจาก ผร๎ู บั สงั ฆทานทถ่ี วายถือเปน็ การรบั ในนามสงฆ์ ซึ่งสงฆ์จัดมาหรือเป็นผู๎มาถึงเฉพาะหน๎าในขณะ ตั้งใจถวายสงฆ์
แล๎ว ซงึ่ การถวายทานทีอ่ ทุ ิศใหเ๎ ป็นของสงฆ์จริง ๆ นี้ ในครง้ั พุทธกาลมแี บบแผน ในการถวายสังฆทาน ๗ ประการ คือ

๑) ถวายแกหํ มูํภิกษุและภกิ ษณุ ี มพี ระพุทธเจา๎ เป็นประมุข
๒) ถวายแกหํ มภํู กิ ษุ มพี ระพุทธเจ๎าเป็นประมุข
๓) ถวายแกหํ มูํภิกษณุ ี มีพระพุทธเจ๎าเปน็ ประมุข
๔) ถวายแกํหมูํภกิ ษุและภิกษณุ ี ไมํมพี ระพุทธเจา๎ เปน็ ประมขุ
๕) ถวายแกํหมูํภิกษุ ไมํมพี ระพุทธเจา๎ เป็นประมขุ
๖) ถวายแกํหมูภํ กิ ษุณี ไมํมีพระพทุ ธเจา๎ เป็นประมุข
๗) ร๎องขอตอํ สงฆ์ให๎สํงใคร ๆ ไปรับแลว๎ ถวายแกํผ๎นู ้นั

การเตรียมการ
๑) จัดเตรียมทานวัตถุท่ีต๎องการถวายให๎เสร็จเรียบร๎อย ตามศรัทธาและทันเวลาถวาย เชํน อาหารคาว อาหาร
หวาน นํ้าด่ืม เคร่ืองกระป๋อง อาหารแห๎ง ของใช๎ตําง ๆ ท่ีพระสงฆ์ใช๎ได๎ ไมํผิดพระวินัย (ถ๎าอยูํในกาล คือ เช๎า ถึงกํอน
เวลาเท่ียงวัน ให๎ประเคนได๎ แตํถ๎าอยูํนอกกาลไมํต๎อง ประเคน เพียงแตํตั้งไว๎ ณ เบื้องหน๎าพระภิกษุ และให๎ประเคนได๎
เฉพาะวตั ถทุ ่ปี ระเคนนอกกาลได๎ เทาํ น้ัน)
๒) จดั เตรียมดอกไม๎ธูปเทยี นจดุ บชู าพระรัตนตรยั
๓) แจ๎งความประสงค์ทีจ่ ะถวายทานนัน้ ๆ ใหพ๎ ระสงฆ์ทราบ
๔) เตรยี มนมิ นตพ์ ระสงฆท์ จี่ ะรบั สงั ฆทาน
๕) จดั เตรยี มสถานท่ี หรอื นดั หมายสถานทท่ี จี่ ะถวายสงั ฆทานให๎พระสงฆ์ทราบ
แนวทางปฏิบัติ
๑) พระสงฆ์มาถึงยังสถานที่จะทาํ พธิ ีถวายสงั ฆทาน (ทบ่ี ๎านหรือท่วี ัด) ตามทกี่ าํ หนด และนิมนตพ์ ระสงฆ์ไว๎
๒) นิมนต์พระสงฆน์ ัง่ ยังอาสนสงฆท์ จ่ี ดั เตรียมไว๎ตามจํานวนที่จะถวายสังฆทาน
๓) นาํ เครือ่ งสังฆทานมาตั้งเรียงไว๎ ณ เบือ้ งหนา๎ พระสงฆ์
๔) จดุ ธูปเทียนบชู าพระรัตนตรัย กราบ ๓ ครงั้
๕) อาราธนาศีล ดังนี้
“มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ. ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง
วิสุง รักขะนัตถายะ ตีสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานี้ ยาจามะ ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะ
ระเณนะ สะหะ ปญั จะ สีลานิ ยาจามะ,
๖) พระสงฆ์ใหศ๎ ีล
๗) กลําวนโม ๓ จบ ดังนี้
“นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัส
สะ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ” จบ
๘) กลําวคาํ ถวายสงั ฆทาน (ในกรณีถวายสังฆทานเพือ่ ความสุขความเจรญิ ของตนเอง) ดังนี้

102

“อิมานิ มะยัง ภันเต, ภัตตานิ สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน กันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ,
ภตั ตานิ, สะปะรวิ ารานิ, ปะฏิคคณั หาตู, อมั หากัง, ทฆี ะรัตต้ัง, หติ ายะ, สุขายะ.

คําแปล “ข๎าแตพํ ระสงฆผ์ ูเ๎ จรญิ , ขา๎ พเจา๎ ทั้งหลาย, ขอน๎อมถวาย, ภัตตาหาร กับท้ัง บริวารเหลําน้ี แดํพระสงฆ์,
ขอพระสงฆ์โปรดรับภัตตาหาร, กับท้ังบริวารท้ังหลายเหลํานี้, ของ ข๎าพเจ๎าทั้งหลาย, เพ่ือประโยชน์และความสุข, แกํ
ข๎าพเจา๎ ทงั้ หลาย ตลอดกาลนานเทอญฯ”

๙) คํากลาํ วถวายสังฆทาน (ในกรณีเพ่ืออทุ ศิ ให๎ผต๎ู าย) ดงั นี้
“อมิ านิ มะยัง ภันเต, มะตะกะภัตตานิ, สะปะรวิ ารานิ, ภกิ ขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ,
อิมานิ มะตะกะภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ปฏิคคัณหาตุ, อัมหากัญเจวะ, มาตาปิตุ, อาท่ีนัญจะ, ญาตะกานัง, กาละกะ
ตานัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ” คําแปล “ข๎าแตํ พระสงฆ์ผู๎เจริญ, ข๎าพเจ๎าทั้งหลาย, ขอน๎อมถวายภัตตาหารเพ่ือผู๎
ลํวงลับไปแล๎ว, พร๎อมกับของ บริวารท้ังหลายเหลําน้ี, แกํพระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, โปรดรับภัตตาหารเพ่ือผู๎
ลํวงลับไปแล๎ว, พร๎อมกับทั้งของบริวารทั้งหลายเหลําน้ี ของข๎าพเจ๎าท้ังหลาย, เพ่ือประโยชน์ เพื่อความสุข, แกํข๎าพเจ๎า
ท้งั หลายดว๎ ย, แกํญาตทิ ้ังหลายผู๎ลวํ งลบั ไปแล๎วด๎วย, มีบิดามารดา เปน็ ตน๎ , ตลอดกาลนานเทอญ.”
๑๐) พระสงฆ์รบั “สาธุ”
๑๑) ประเคนวัตถุทจี่ ะถวายสงั ฆทาน (ถ๎านอกกาลคอื หลังเท่ียงวนั ให๎ประเคนเฉพาะผ๎าไตร หรือเครื่องสังฆทานที่
ไมํใชอํ าหาร)
๑๒) พระสงฆอ์ นุโมทนา
๑๓) ผถ๎ู วายสงั ฆทาน กรวดน้าํ -รบั พร
๑๔) เสรจ็ พธิ ถี วายสังฆทาน

103

ฮีตสิบสอง คองสบิ ส่ี

ฮีตสบิ สอง คองสบิ สี่ เปน็ ขนบธรรมเนียมประเพณขี องชาวอสี านบ๎านเฮาท่ปี ฏิบัติสบื ตอํ กันมาจนถงึ ปัจจบุ นั ซง่ึ
เปน็ วัฒนธรรมแสดงถึงความเป็นชาติเกําแกํและเจรญิ รงํุ เรืองมานาน เป็นเอกลักษณ์ของชาตแิ ละท๎องถ่ิน และมีสํวนชํวย
ให๎ชาติดาํ รงความเป็นชาติของตนอยตํู ลอดไป

ฮีตสบิ สอง
ฮีตสบิ สอง หมายถึงประเพณี ๑๒ เดอื นทเี่ กีย่ วเน่ืองกับหลักทางพุทธศาสนา ความเชอื่ และการดํารงชีวติ ทาง
เกษตรกรรมซ่ึงชาวอสี าน ยึดถือปฏบิ ตั กิ ัน มาแตํโบราณ มีแนวปฏิบตั แิ ตกตาํ งกันไปในแตํละเดอื นเพื่อใหเ๎ กิดสริ ิมงคลใน
การดําเนนิ ชีวิต เรียกอยํางท๎องถิ่น วํางานบญุ ชาวอีสานให๎ความสาํ คัญกบั ประเพณีฮีตสิบสองเป็นอยํางมากและยึดถือ
ปฏิบัตมิ าอยํางสมา่ํ เสมอนับเปน็ เอกลกั ษณ์ของ ชาวอสี าน อยาํ งแทจ๎ ริง คําวํา “ฮีตสบิ สอง”มาจากคําวาํ “ฮีต” อัน
หมายถงึ จารีต การปฏบิ ัติทีส่ ืบตํอกนั มาจนกลายเปน็ ประเพณี “สบิ สอง” คือประเพณีที่ปฏบิ ัตติ ามเดอื นทางจนั ทรคติทั้ง
สบิ สองเดอื น
เดือนอ๎าย – บญุ เข๎ากรรม
เดือนย่ี – บญุ คูณลาน
เดือนสาม – บุญขา๎ วจี่
เดือนสี่ – บุญพระเวส หรือ บญุ ผะเหวด
เดอื นห๎า – บุญฮดสรง หรือ บุญสงกรานต์
เดอื นหก – บญุ บั้งไฟ
เดอื นเจ็ด – บญุ ซาํ ฮะ
เดอื นแปด – บญุ เข๎าพรรษา
เดือนเกา๎ – บญุ ขา๎ วประดบั ดิน
เดือนสบิ – บุญข๎าวสาก
เดือนสิบเอด็ – บุญออกพรรษา
เดือนสบิ สอง – บญุ กฐิน
คองสิบสี่ เปน็ คาํ และข๎อปฏิบัติคกํู ับฮตี สิบสอง คอง แปลวาํ แนวทาง หรอื ครรลอง ซ่ึงหมายถงึ ธรรมเนยี ม
ประเพณี หรอื แนวทาง และ สิบสี่ หมายถงึ ข๎อวัตรหรือแนวทางปฏิบัตสิ บิ สีข่ ๎อ ดงั นน้ั คองสบิ สีจ่ งึ หมายถงึ ข๎อวัตรหรอื
แนวทางทีป่ ระชาชนทกุ ระดบั นบั ตงั้ แตํพระมหากษัตริย์ ผู๎มีหนา๎ ท่ปี กครองบ๎านเมือง พระสงฆ์ และคนธรรมดาสามัญพงึ
ปฏบิ ตั ิสิบสี่ขอ๎ อาจสรปุ ไดห๎ ลายมุมมองดังนี้
๑. เป็นหลกั ปฏบิ ตั ิกลําวถึงครอบครัวในสงั คม ตลอดจนผ๎ปู กครองบ๎านเมือง
๒. เปน็ หลกั ปฏิบัติของพระมหากษัตริย์ในการปกครองบ๎านเมือง และหลักปฏิบตั ขิ องประชาชนตํอ
พระมหากษัตริย์
๓. เป็นหลักปฏบิ ตั ทิ พี่ ระราชายดึ ถือปฏบิ ัติ เน๎นให๎ประชาชนปฏบิ ัตติ ามจารีตประเพณี และคนในครอบครวั ท่ี
ปฏบิ ัตติ ํอกนั
๔. เป็นหลกั ปฏิบตั ใิ นการปกครองบ๎านเมืองให๎อยํูเป็นสุขตามจารตี ประเพณี

คองสบิ ส่โี ดยนัย ที่ ๑
เพอื่ ดํารงรักษาไว๎ซึ่งประเพณีและทาํ นองคลองธรรมอันดงี ามกลําวถงึ ผ๎ูเกยี่ วข๎องในครอบครวั สังคมตลอดจน ผ๎มู ี
หนา๎ ท่ปี กครองบ๎านเมอื งพึงปฏบิ ัติ เม่ือพูดถงึ คองมกั จะมีคาํ วําฮีตควบคูํกันอยเํู สมอ แบํงออกเปน็ ๑๔ ข๎อ คอื
๑. ฮีตเจ๎าคองขุน สาํ หรับกษัตรยิ ์หรือผูค๎ รองเมอื งปกครองอํามาตย์ ขนุ นางข๎าราชบริพาร

104

๒. ฮีตเจา๎ คองเพยี สาํ หรบั เจ๎านายช้นั ผใู๎ หญํในการปกครองขา๎ ทาสบรวิ าร
๓. ฮีตไพรคํ องนาย สําหรับประชาชนในการปฏบิ ตั ติ นตามกบิลบ๎านเมอื งและหน๎าท่ีพึงปฏิบัติตํอนาย
๔. สวํ นรวมฮีตบ๎านคองเมือง วตั รอันพึงปฏิบัตติ ามธรรมเนียมท่วั ไปของพลเมืองตํอบา๎ นเมืองและสํวนรํวม
๕. ฮตี ผัวคองเมีย หลักปฏบิ ตั ิตอํ กันของสามีภรรยา
๖. ฮตี พอํ คองแมํ หลักปฏบิ ตั ิของผ๎คู รองเรือนตํอลกู หลาน
๗. ฮีตลกู คองหลาน หลกั ปฏบิ ัตขิ องลูกหลานตอํ บุพการี
๘. ฮีตใภ๎คองเขย หลกั ปฏิบตั ิของสะใภต๎ อํ ญาตผิ ูใ๎ หญแํ ละพํอแมํสามี
๙. ฮีตปูาคองลงุ หลกั ปฏบิ ัติของลงุ ปูา น๎า อา ตํอลูกหลาน
๑๐. ฮีตคองปยุู ํา ตาคองยาย หลกั ปฏบิ ตั ขิ องปุยู ํา ตายาย ใหเ๎ ป็นรมํ โพธ์ริ มํ ไทรตํอลกู หลาน
๑๑. ฮตี เฒําคองแกํ หลักปฏบิ ัตขิ องผเู๎ ฒาํ ในวัยชราใหเ๎ ป็นทเ่ี คารพเล่ือมในเหมาะสม
๑๒. ฮตี คองเดือน การปฏบิ ตั ิตามจารตี ประเพณีตาํ ง ๆ ในฮีตสิบสอง
๑๓. ฮตี ไฮคํ องนา การปฏบิ ัติตามประเพณเี ก่ยี วกบั การทําไรํทํานา
๑๔. ฮตี วัดคองสงฆ์ หลักปฏิบัติของภิกษุสามเณรให๎ถูกตอ๎ งตามพระธรรมวนิ ยั ทั้งการชวํ ยทาํ นบุ ํารุงวดั วาอาราม
คองสบิ สีโ่ ดยนัย ที่ ๒
กลําวถึงหลักการสําหรับพระมหากษัตรยิ ์ในการปกครองทง้ั อาํ มาตย์ราชมนตรีและประชาชนเพอ่ื ความสงบสุข
รมํ เยน็ โดยทัว่ กัน
๑. แตํงตัง้ ผซ๎ู อื่ สัตย์สจุ รติ รูจ๎ กั ราชการ บ๎านเมอื ง ไมํขมํ เหงไพรํฟาู ข๎าแผํนดนิ
๒. หมนั่ ประชมุ เสนามนตรี ใหข๎ ๎าศกึ เกรงกลัว บา๎ นเมืองเจรญิ รํุงเรือง ประชาชนเป็นสุข
๓. ต้งั มัน่ ในทศพิธราชธรรม
๔. ถงึ ปีใหมนํ มิ นต์ภิกษุมาเจริญพุทธมนต์ สวดมงคลสตู รและสรงน้ําพระภิกษุ
๕. ถึงวันปีใหมใํ หเ๎ สนาอํามาตย์นาํ เครือ่ งบรรณาการ น้ําอบ นํา้ หอม มรุ ธาภเิ ษก พระเจา๎ แผนํ ดนิ
๖. ถึงเดือนหกนมิ นต์ พระภกิ ษสุ งฆม์ าเจรญิ พระพุทธมนตถ์ ือํน๎าพิพฒั น์สัตยาติอพระเจ๎าแผํนดิน
๗. ถงึ เดือนเจด็ เลย้ี งท๎าวมเหสกั ข์ หลักเมือง บูชาทา๎ วจตุโลกบาลเทวดาทัง้ ส่ี
๘. ถงึ เดอื นแปด นมิ นต์พระภกิ ษสุ งฆ์ทาํ พิธีชําระ และเบกิ บ๎านเมอื ง สวดมงคลสตู ร ๗ คนื โปรยกรวดทรายรอบ
เมอื ง ตอกหลกั บ๎านเมืองให๎แนนํ
๙. ถึงเดอื นเก๎า ประกาศให๎ประชาชนทาํ บญุ ข๎าวประดบั ดิน อุทิศสํวนกุศลแกํญาติพน่ี ๎องผ๎ูลวํ งลบั
๑๐. วันเพญ็ เดอื นสิบ ประกาศใหป๎ ระชาชนทําบุญข๎าวสาก จัดสลากภัตตถ์ วายแดพํ ระภิกษุสงฆ์ แกญํ าติพ่นี ๎องผ๎ู
ลํวงลบั
๑๑. วนั เพ็ญเดือนสบิ เอด็ ทําบุญออกพรรษา ให๎สงฆป์ วารณามนสั การและมรุ ธาภิเษก พระธาตุหลวง พระธาตุภู
จอมศรี และประกาศใหป๎ ระชาชนไหลเรือไฟเพื่อบชู าพญานาค
๑๒. เดอื นสบิ สองให๎ไพรํฟูาแผนํ ดนิ รวมกนั ท่ีพระลานหลวงแหเํ จ๎าชวี ิตไปแขงํ เรือถึงวนั เพ็ญพรอ๎ มด๎วยเสนา
อํามาตย์ นิมนต์ และภิกษุ ๕ รูป นมสั การพระธาตหุ ลวงพร๎อมเครื่องสักการะ
๑๓. ถงึ เดือนสิบสอง ทาํ บุญกฐนิ ถวายผ๎ากฐินตามวัดตําง ๆ
๑๔. ใหม๎ สี มบตั อิ ันประเสริฐ คูนเมอื งทัง้ ๑๔ อยาํ งอนั ไดแ๎ กํ อาํ มาตย์ ข๎าราชบริพาร ประชาชน พลเมอื ง
ตลอดจนเทวดา อารักษเ์ พื่อคํ้าจนุ บ๎านเมือง
คองสบิ ส่โี ดยนัย ที่ ๓
เปน็ จารตี ประเพณีของประชานและธรรมที่พระเจา๎ แผนํ ดินพึงยึดถือ
๑. เดอื นหกขนทรายเข๎าวดั กํอพระเจดีย์ทรายทุกปี
๒. เดอื นหกหนา๎ ใหมํ เกณฑ์คนสาบานตนทาํ ความซอ่ื สตั ยต์ ํอกันทุกคน

105

๓. ถงึ ฤดทู ํานา คราด หวาํ น ปัก ดาํ ใหเ๎ ลี้ยงตาแฮก ตามกาลประเพณี
๔. ส้ินเดอื นเกา๎ ทาํ บุญขา๎ วประดบั ดนิ เพญ็ เดือนสบิ ทําบุญข๎าวสาก อทุ ิศสวํ นกุศลให๎ญาติพ่ีน๎องผ๎ลู วํ งลบั
๕. เดอื นสิบสองให๎พิจารณาทําบญุ กฐนิ ทกุ ปี
๖. พากันทาํ บญุ ผะเหวด ฟังเทศน์ผะเหวดทุกปี
๗. พากนั เลยี้ งพํอ แมํทแี่ กํเฒํา เล้ยี งตอบแทนคณุ ทีเ่ ลี้ยงเราเป็นวตั รปฏิบัตไิ มํขาด
๘. ปฏบิ ัตเิ รอื นชานบ๎านชํอง เล้ยี งดูสง่ั สอน บตุ รธดิ า ตลอดจนมอบ มรดกและหาคูคํ รองเมือ่ ถึงเวลาอนั ควร
๙. เป็นเขยาํ ดถู ูกลูกเมีย เสยี ดสีพํอตาแมยํ าย
๑๐. ร๎ูจักทําบุญใหท๎ าน รักษาศลี ไมํพูดผิดหลอกลวง
๑๑. เปน็ พํอบา๎ นให๎มีพรหมวิหาร สี่ คอื เมตตา กรุณา มทุ ิตา อุเบกขา
๑๒. พระมหากษัตรยิ ต์ ๎องรักษาทศพธิ ราชธรรม
๑๓. พํอตา แมํยาย ไดล๎ กู เขยมาสมสูงให๎สาํ รวมวาจา อยาํ ดําโกรธา เชอ้ื พงศ์พันธอุ์ นั ไมดํ ี
๑๔. ถ๎าเอามดั ข๎าวมารวมกองในลานทําเปน็ ลอมแลว๎ ให๎พากันปลงข๎าวหมกไขํ ทาํ ตาเหลว แล๎วจงึ พากนั เคาะ
ฟาดตี
คองสิบส่ีโดยนัย ที่ ๔
๑. ให๎พระภกิ ษุสงฆ์ศึกษาพระธรรมคําสอนของพระพทุ ธเจ๎าและรกั ษาศลี ๒๒๗ ข๎อ เปน็ ประจําทกุ วัน
๒. ให๎รักษาความสะอาดกฏุ ิ วหิ าร โดยปัดกวาดเช็ดถูกทุกวัน
๓. ใหป๎ ฏิบัตกิ จิ นิมนต์ของชาวบา๎ นเกี่ยวกบั การทาํ บญุ
๔. ถงึ เดอื นแปด ต้ังแตํแรมหนงึ่ คํ่าเป็นต๎นไปตอ๎ งจําพรรษา ณ วดั ใดวดั หน่งึ ไปจนถงึ วนั แรมหน่ึงคาํ เดือนสบิ เอ็ด
๕. เมือ่ ออกพรรษาแล๎วพอถึงฤดหู นาว (เดอื นอา๎ ย)ภิกษผุ ม๎ู ีศีลหยอํ นยานใหห๎ มวดสังฆาทิเสสต๎องอยํปู ริวาสกรรม
๖. ตอ๎ งออกเท่ยี วบิณฑบาต ทุกเชา๎ อยําไดข๎ าด
๗. ตอ๎ งสวดมนต์และภาวนาทุกคืนอยําได๎ละเวน๎
๘. ถงึ วันพระข้ึนสบิ หา๎ คํ่าหรอื แรมสบิ สี่คา่ํ (สาํ หรับเดือนค)่ี ตอ๎ งเข๎าประชมุ ทําอโุ บสถสังฆกรรม
๙. ถงึ ปีใหมํ (เดอื นห๎า วนั สงกรานต์) นาํ ทายก ทายกิ า เอาน้าํ สรงพระพทุ ธรปู และมหาธาตเจดีย์
๑๐. ถึงศักราชใหมํ พระเจา๎ แผํนดินไหวพ๎ ระ ใหส๎ รงนา้ํ ในพระราชวัง
๑๑. เมื่อมีชาวบ๎านเกดิ ศรัทธานิมนต์ไปกระทําการใด ๆ ทีไ่ มผํ ิดหวงั พระวนิ ยั ก็ใหร๎ ับนมิ นต
๑๒. เปน็ สมณะใหร๎ ํวมแรงรํวมใจกันสรา๎ งวดั วาอาราม พระมหาธาตุเจดยี ์
๑๓. ให๎รบั สิ่งของท่ีทายก ทายิกานํามาถวายทาน เชนํ สังฆทานหรือสลากภัตต์
๑๔. เมือ่ พระเจ๎าแผนํ ดนิ หรือเสนาข๎าราชการมีศรทั ธา นมิ นตไ์ ปประชุมกนั ในพระอุโบสถแหงํ ใด ๆ ในวนั เพญ็
เดอื นสบิ เอด็ ตอ๎ งไปอยาํ ขัดขืน

106

บทสวดบาลีแปลภาษาไทย

๑. คาบชู าพระรัตนตรยั
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
พระผู๎มีพระภาคเจา๎ นัน้ พระองค์ใด, เป็นพระอรหันต์, ดับเพลงิ กเิ ลสเพลงิ ทุกข์ส้ินเชงิ , ตรัสร๎ูชอบไดโ๎ ดยพระองคเ์ อง
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรม เป็นธรรมอันพระผม๎ู พี ระภาคเจา๎ พระองค์ใด, ตรัสไว๎ดแี ลว๎
สปุ ะฏิปนั โน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู๎มีพระภาคเจา๎ พระองคใ์ ด, ปฏบิ ัติดแี ล๎ว
ตมั มะยัง ภะคะวนั ตัง สะธัมมงั สะสังฆงั อเิ มหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเิ ตหิ อะภิปูชะยามะ
ข๎าพเจา๎ ท้งั หลาย, ขอบูชาอยํางยิ่งซ่งึ พระผ๎มู ีพระภาคเจ๎าพระองคน์ ัน้ พร๎อมท้ังพระธรรมและพระสงฆด์ ๎วยเคร่ืองสักการะ
ท้ังหลายเหลําน้ี, อันยกข้ึนตามสมควรแล๎วอยาํ งไร
สาธุ โน ภนั เต ภะคะวา สจุ ริ ะปะรนิ ิพพุโตปิ
ขา๎ แตํพระองคผ์ ๎ูเจริญ, พระผ๎ูมีพระภาคเจา๎ แม๎ปรินิพพานนานแล๎ว, ทรงสร๎างคุณอันสาํ เร็จประโยชนไ์ ว๎แกํขา๎ พเจา๎
ทงั้ หลาย.
ปจั ฉมิ าชะนะตานกุ ัมปะมานะสา
ทรงมพี ระหฤทัยอนุเคราะห์แกํพวกข๎าพเจา๎ อนั เป็นชนรุนํ หลัง
อเิ ม สักกาเร ทคุ คะตะปัณณาการะภเู ต ปะฏคิ คณั หาตุ
ขอพระผ๎ูมีพระภาคเจ๎าจงรบั เครื่องสกั การะ อนั เปน็ บรรณาการของคนยากทั้งหลายเหลําน้ี
อัมหากัง ทีฆะรตั ตงั หติ ายะ สขุ ายะ
เพอ่ื ประโยชน์และความสุขแกํขา๎ พเจา๎ ทงั้ หลาย ตลอดกาลนาน เทอญฯ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พระผู๎มีพระภาคเจา๎ , เป็นพระอรหันต์, ดับเพลงิ กเิ ลสเพลงิ ทุกข์สิน้ เชิง, ตรสั รู๎ชอบไดโ๎ ดยพระองคเ์ อง
พทุ ธงั ภะคะวันตงั อะภิวาเทมิ
ข๎าพเจ๎าอภิวาทพระผ๎ูมีพระภาคเจ๎า, ผู๎รู๎ ผตู๎ น่ื ผ๎ูเบิกบาน (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม
พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู๎มีพระภาคเจา๎ , ตรัสไว๎ดแี ลว๎
ธัมมัง นะมัสสามิ
ขา๎ พเจา๎ นมัสการพระธรรม (กราบ)
สปุ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ,
พระสงฆ์สาวกของพระผู๎มีพระภาคเจ๎า, ปฏิบตั ิดแี ลว๎
สังฆงั นะมามิ.
ข๎าพเจ๎านอบน๎อมพระสงฆ์ (กราบ)

๒. ปุพพภาคนมการ

(หันทะ มะยงั พุทธสั สะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส)
เชญิ เถิด เราทง้ั หลาย ทําความนอบน๎อมอนั เป็นสวํ นเบอื้ งต๎น แดํพระผู๎มีพระภาคเจา๎ เถิด
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบน๎อมแดํพระผม๎ู ีพระภาคเจา๎ พระองคน์ ัน้
อะระหะโต, ซง่ึ เปน็ ผไ๎ู กลจากกิเลส. สมั มาสมั พทุ ธสั สะ. ตรัสรชู๎ อบได๎โดยพระองคเ์ อง. (กลําว ๓ คร้ัง)

107

๓. พทุ ธาภิถุติ
(หนั ทะ มะยัง พุทธาภิถตุ งิ กะโรมะ เส)
เชิญเถิด เราทงั้ หลาย ทาํ ความชมเชยเฉพาะพระพทุ ธเจ๎าเถิด
โย โส ตะถาคะโต พระตถาคตเจา๎ นั้น พระองค์ใด
อะระหงั เป็นผ๎ไู กลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทโธ เป็นผตู๎ รสั รูช๎ อบได๎โดยพระองค์เอง
วิชชาจะระณะสัมปนั โน เป็นผูถ๎ งึ พร๎อมด๎วยวิชชาและจรณะ
สุคะโต เป็นผ๎ูไปแล๎วดว๎ ยดี
โลกะวทิ เป็นผู๎รโ๎ู ลกอยาํ งแจํมแจ๎ง
อะนุตตะโร ปุริสะทมั มะสาระถิ เปน็ ผส๎ู ามารถฝกึ บรุ ษุ ทส่ี มควรฝกึ ได๎อยํางไมํมใี ครยิ่งกวาํ
สัตถา เทวะมะนสุ สานงั เปน็ ครูผ๎ูสอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
พุทโธ เปน็ ผูร๎ ๎ู ผ๎ตู ืน่ ผู๎เบิกบานด๎วยธรรม
ภะคะวา เปน็ ผม๎ู ีความจําเรญิ จําแนกธรรมส่ังสอนสตั ว์
โย อิมัง โลกงั สะเทวะกัง สะมาระกงั สะพ๎รัห๎มะกัง, สสั สะมะณะพร๎ าห๎มะณิง ปะชงั สะเทวะมะนุสสัง สะยัง
อะภิญญา สัจฉิกัตว๎ า ปะเวเทสิ
พระผมู๎ ีพระภาคเจ๎าพระองค์ใด, ไดท๎ รงทําความดับทุกข์ให๎แจ๎ง ด๎วยพระปญั ญาอันยิ่งเองแล๎ว, ทรงสอนโลกน้ีพรอ๎ มท้ัง
เทวดา มาร พรหม และหมสูํ ัตว์ พรอ๎ มทง้ั สมณพราหมณ,์ พรอ๎ มทัง้ เทวดาและมนุษย์ใหร๎ ต๎ู าม
โย ธมั มัง เทเสสิ พระผู๎มีพระภาคเจ๎าพระองค์ใด ทรงแสดงธรรมแลว๎
อาทิกลั ๎ยาณัง ไพเราะในเบือ้ งตน๎
มัชเฌกลั ๎ยาณัง ไพเราะในทํามกลาง
ปะริโยสานะกลั ๎ยาณงั ไพเราะในทส่ี ุด
สาตถงั สะพ๎ยัญชะนัง เกวะละปะริปณุ ณงั ปะริสุทธัง พร๎ ัห๎มะจะรยิ ัง ปะกาเสสิ
ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือแบบแหงํ การปฏิบตั ิอนั ประเสริฐ บริสทุ ธ์ิ บรบิ ูรณ์ ส้ินเชิง, พร๎อมทงั้ อรรถะ (คําอธิบาย)
พร๎อมทัง้ พยัญชนะ (หวั ข๎อ)
ตะมะหงั ภะคะวนั ตัง อะภปิ ูชะยามิ ข๎าพเจ๎าบชู าอยํางยิ่ง เฉพาะพระผม๎ู ีพระภาคเจ๎าพระองค์นั้น
ตะมะหงั ภะคะวนั ตัง สิระสา นะมามิ ข๎าพเจา๎ นอบน๎อมพระผ๎ูมีพระภาคเจ๎า พระองคน์ ั้นดว๎ ยเศียรเกล๎า
(กราบระลึกพระพุทธคุณ)

๔. ธมั มาภถิ ตุ ิ

(หันทะ มะยงั ธัมมาภิถตุ งิ กะโรมะ เส)
เชิญเถิด เราท้งั หลาย ทาํ ความชมเชยเฉพาะพระธรรมเถดิ
โย โส สว๎ ากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรมน้ันใด, เป็นสิง่ ท่พี ระผ๎ูมีพระภาคเจ๎าได๎ตรัสไว๎ดแี ล๎ว
สนั ทฏิ ฐิโก เปน็ สง่ิ ท่ผี ๎ูศกึ ษาและปฏบิ ัตพิ ึงเห็นได๎ดว๎ ยตนเอง
อะกาลิโก เป็นสิ่งทีป่ ฏิบัตไิ ด๎ และให๎ผลได๎ไมํจาํ กดั กาล
เอหปิ ัสสิโก เปน็ ส่งิ ทค่ี วรกลาํ วกะผ๎อู นื่ วํา ทาํ นจงมาดเู ถิด
โอปะนะยิโก เปน็ ส่งิ ทคี่ วรนอ๎ มเขา๎ มาใสตํ ัว
ปัจจัตตัง เวทติ ัพโพ วิญญหู ิ เป็นสง่ิ ทีผ่ ู๎รก๎ู ็รู๎ได๎เฉพาะตน

108

ตะมะหงั ธัมมัง อะภปิ ชู ะยามิ ข๎าพเจา๎ บูชาอยาํ งยิ่ง เฉพาะพระธรรมนน้ั
ตะมะหงั ธัมมัง สริ ะสา นะมามิ ขา๎ พเจ๎านอบน๎อมพระธรรมนั้น ดว๎ ยเศยี รเกลา๎
(กราบระลึกพระธรรมคุณ)

๕. สังฆาภิถตุ ิ

(หันทะ มะยงั สังฆาภถิ ุตงิ กะโรมะ เส)
เชญิ เถดิ เราทัง้ หลาย ทาํ ความชมเชยเฉพาะพระสงฆเ์ ถิด
โย โส สปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สงฆ์สาวกของพระผู๎มีพระภาคเจ๎านนั้ หมใํู ด ปฏบิ ตั ดิ ีแล๎ว
อชุ ปุ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สงฆส์ าวกของพระผม๎ู ีพระภาคเจา๎ หมใํู ด ปฏบิ ัตติ รงแล๎ว
ญายะปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
สงฆ์สาวกของพระผม๎ู ีพระภาคเจ๎าหมใํู ด, ปฏบิ ตั ิเพ่ือรูธ๎ รรมเปน็ เคร่ืองออกจากทุกข์แล๎ว
สามจี ิปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
สงฆ์สาวกของพระผม๎ู ีพระภาคเจา๎ หมํูใด, ปฏบิ ตั ิสมควรแลว๎
ยะทิทัง ได๎แกบํ ุคคลเหลํานคี้ ือ
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา คูแํ หํงบุรุษ ๔ ค,ูํ นบั เรยี งตัวบุรษุ ได๎ ๘ บรุ ษุ
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ นนั่ แหละสงฆ์สาวกของพระผูม๎ ีพระภาคเจา๎
อาหุเนยโย เปน็ สงฆ์ควรแกสํ ักการะที่เขานาํ มาบชู า
ปาหเุ นยโย เป็นสงฆค์ วรแกสํ กั การะท่ีเขาจัดไวต๎ ๎อนรบั
ทกั ขเิ ณยโย เปน็ ผู๎ควรรับทักษิณาทาน
อัญชะลิกะระณีโย เป็นผูท๎ ่บี ุคคลทัว่ ไปควรทําอญั ชลี
อะนุตตะรงั ปญุ ญักเขตตัง โลกัสสะ เป็นเนือ้ นาบญุ ของโลก, ไมํมีนาบุญอน่ื ย่ิงกวํา
ตะมะหัง สังฆัง อะภิปชู ะยามิ ขา๎ พเจ๎าบชู าอยํางย่งิ เฉพาะพระสงฆ์หมูนํ ้ัน
ตะมะหงั สังฆัง สิระสา นะมามิ ข๎าพเจ๎านอบน๎อมพระสงฆ์หมูนํ ั้น ดว๎ ยเศยี รเกลา๎
(กราบระลึกพระสงั ฆคณุ )

๖. รตนตั ตยัปปณามคาถา

(หนั ทะ มะยงั ระตะนตั ตะยปั ปะณามะคาถาโย เจวะ สงั เวคะวัตถปุ ะริกติ ตะนะปาฐญั จะ ภะณามะ เส)
เชญิ เถิด เราทัง้ หลาย กลาํ วคํานอบน๎อมพระรตั นตรัยและบาลีทกี่ ําหนดวัตถุเครื่องแสดงความสงั เวชเถดิ
พทุ โธ สุสุทโธ กะรณุ ามะหัณณะโว
พระพุทธเจา๎ ผบ๎ู ริสทุ ธิ์ มีพระกรุณาดจุ ห๎วงมหรรณพ
โยจจนั ตะสทุ ธัพพะระญาณะโลจะโน
พระองค์ใด มีตาคอื ญาณอันประเสริฐหมดจดถึงท่ีสุด
โลกสั สะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก
เป็นผูฆ๎ าํ เสียซง่ึ บาปและอุปกเิ ลสของโลก
วนั ทามิ พุทธงั อะหะมาทะเรนะ ตงั
ขา๎ พเจ๎าไหว๎พระพุทธเจ๎าพระองคน์ น้ั โดยใจเคารพเอือ้ เฟ้ือ

109

ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถโุ น
พระธรรมของพระศาสดา สวํางรํุงเรอื งเปรยี บดวงประทปี
โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก
จาํ แนกประเภท คอื มรรค ผล นพิ พาน, สํวนใด
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน
ซ่งึ เป็นตัวโลกตุ ตระ, และสํวนใดทช่ี แ้ี นวแหํงโลกตุ ตระนนั้
วนั ทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
ข๎าพเจ๎าไหวพ๎ ระธรรมน้ัน โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ
สงั โฆ สุเขตตาภย๎ ะติเขตตะสัญญิโต
พระสงฆ์เป็นนาบญุ อันย่ิงใหญํกวํานาบุญอันดีท้งั หลาย
โย ทิฏฐะสันโต สคุ ะตานุโพธะโก
เป็นผู๎เหน็ พระนิพพาน, ตรัสร๎ตู ามพระสุคต, หมใํู ด
โลลปั ปะหโี น อะริโย สุเมธะโส
เป็นผ๎ูละกเิ ลสเคร่ืองโลเลเปน็ พระอรยิ เจ๎า มปี ัญญาดี
วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
ขา๎ พเจ๎าไหว๎พระสงฆ์หมํูนัน้ โดยใจเคารพเอ้ือเฟ้ือ
อจิ เจวะเมกนั ตะภิปูชะเนยยะกงั , วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสงั ขะตัง,
ปญุ ญงั มะยา ยัง มะมะ สัพพุปทั ทะวา,มา โหนตุ เว ตสั สะ ปะภาวะสทิ ธิยา
บุญใดทขี่ ๎าพเจ๎าผ๎ูไหวอ๎ ยซูํ ่งึ วัตถสุ าม, คือพระรัตนตรยั อันควรบชู ายิง่ โดยสํวนเดยี ว,
ไดก๎ ระทาํ แล๎วเป็นอยาํ งยิ่งเชนํ นี้, ขออุปทั วะ(ความชัว่ ) ทงั้ หลาย,
จงอยํามีแกํขา๎ พเจา๎ เลย, ดว๎ ยอํานาจความสําเรจ็ อนั เกิดจากบุญนั้น

๗. สังเวคปริกิตตนปาฐะ
อธิ ะ ตะถาคะโต โลเก อุปปนั โน
พระตถาคตเจ๎าเกิดข้ึนแล๎วในโลกน้ี
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
เป็นผู๎ไกลจากกิเลส ตรสั ร๎ูชอบไดโ๎ ดยพระองค์เอง
ธัมโม จะ เทสโิ ต นิยยานิโก
และพระธรรมทท่ี รงแสดงเปน็ ธรรมเครอ่ื งออกจากทกุ ข์
อุปะสะมิโก ปะรนิ ิพพานิโก
เปน็ เครอ่ื งสงบกเิ ลส, เป็นไปเพอ่ื ปรนิ ิพพาน
สมั โพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต
เป็นไปเพื่อความรู๎พร๎อม, เป็นธรรมท่พี ระสุคตประกาศ
มะยันตัง ธมั มงั สุต๎วา เอวัง ชานามะ
พวกเราเม่ือได๎ฟังธรรมนนั้ แลว๎ , จึงไดร๎ อู๎ ยํางนี้วาํ
ชาตปิ ิ ทกุ ขา แม๎ความเกดิ กเ็ ป็นทุกข์
ชะราปิ ทุกขา แมค๎ วามแกํก็เปน็ ทุกข์
มะระณัมปิ ทุกขงั แม๎ความตายกเ็ ปน็ ทุกข์

110

โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทกุ ขา แม๎ความโศก ความรํ่าไรราํ พัน ความไมํสบายกาย
ความไมสํ บายใจ ความคบั แค๎นใจ ก็เปน็ ทกุ ข์
อปั ปเิ ยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ความประสบกับส่งิ ไมํเป็นที่รักทพี่ อใจ ก็เปน็ ทุกข์
ปเิ ยหิ วปิ ปะโยโค ทกุ โข ความพลัดพรากจากสงิ่ เปน็ ทรี่ กั ท่ีพอใจ ก็เป็นทุกข์
ยัมปจิ ฉัง นะ ละภะติ ตมั ปิ ทุกขงั มคี วามปรารถนาสิง่ ใดไมํได๎ส่งิ นนั้ นนั่ กเ็ ปน็ ทุกข์
สงั ขิตเตนะ ปัญจปุ าทานกั ขันธา ทุกขา วําโดยยอํ อปุ าทานขันธท์ ง้ั ๕ เป็นตวั ทกุ ข์
เสยยะถีทัง ได๎แกํสงิ่ เหลาํ น้คี ือ
รปู ปู าทานักขนั โธ ขนั ธ์ อันเป็นที่ตง้ั แหํงความยดึ มน่ั คือรูป
เวทะนปู าทานักขนั โธ ขนั ธ์ อันเป็นที่ตงั้ แหงํ ความยึดม่นั คือเวทนา
สัญญปู าทานักขนั โธ ขนั ธ์ อันเป็นที่ต้งั แหงํ ความยึดม่ัน คือสัญญา
สงั ขารปู าทานกั ขันโธ ขนั ธ์ อันเป็นทต่ี ้งั แหงํ ความยึดมัน่ คือสังขาร
วิญญาณปู าทานักขันโธ ขนั ธ์ อนั เปน็ ที่ต้ังแหงํ ความยดึ ม่ัน คือวญิ ญาณ
เยสงั ปะริญญายะ เพ่อื ให๎สาวกกาํ หนดรอบร๎ูอปุ าทานขันธ์เหลาํ นเ้ี อง
ธะระมาโน โส ภะคะวา จงึ พระผ๎ูมพี ระภาคเจ๎านั้น เมื่อยังทรงพระชนมอ์ ยูํ
เอวงั พะหุลัง สาวะเก วเิ นติ ยํอมทรงแนะนาํ สาวกทงั้ หลาย, เชํนนเ้ี ปน็ สวํ นมาก
เอวัง ภาคา จะ ปะนสั สะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวตั ตะติ
อน่งึ คําสั่งสอนของพระผมู๎ ีพระภาคเจ๎านน้ั ยํอมเปน็ ไปในสาวกทัง้ หลาย, สํวนมากมีสวํ นคือการจาํ แนกอยาํ งนี้วาํ
รูปงั อะนิจจงั รปู ไมเํ ท่ียง
เวทะนา อะนิจจา เวทนาไมเํ ท่ียง
สัญญา อะนจิ จา สญั ญาไมํเที่ยง
สังขารา อะนิจจา สงั ขารไมํเทย่ี ง
วญิ ญาณัง อะนจิ จงั วญิ ญาณไมํเที่ยง
รปู ัง อะนัตตา รปู ไมใํ ชํตวั ตน
เวทะนา อะนตั ตา เวทนาไมํใชํตวั ตน
สัญญา อะนตั ตา สัญญาไมํใชตํ ัวตน
สังขารา อะนัตตา สังขารไมํใชตํ ัวตน
วญิ ญาณัง อะนตั ตา วญิ ญาณไมํใชตํ ัวตน
สพั เพ สงั ขารา อะนจิ จา สงั ขารทงั้ หลายทั้งปวง ไมํเทีย่ ง
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ธรรมทง้ั หลายทัง้ ปวง ไมใํ ชตํ ัวตน, ดังนี้
เต (ตา) คาํ ในวงเลบ็ สําหรับผูห๎ ญงิ วาํ มะยัง โอติณณามหะ พวกเราทั้งหลายเปน็ ผ๎ูถูกครอบงาํ แล๎ว
ชาตยิ า โดยความเกิด
ชะรามะระเณนะ โดยความแกํและความตาย
โสเกหิ ปะรเิ ทเวหิ ทกุ เขหิ โทมะนสั เสหิ อุปายาเสหิ โดยความโศก ความร่ําไรราํ พนั ความไมสํ บายกาย
ความไมํสบายใจ ความคบั แค๎นใจท้ังหลาย
ทุกโขติณณา เปน็ ผูถ๎ ูกความทุกขห์ ยงั่ เอาแล๎ว
ทกุ ขะปะเรตา เปน็ ผู๎มีความทุกขเ์ ป็นเบ้ืองหนา๎ แลว๎
อัปเปวะนามิมสั สะ เกวะลัสสะ ทกุ ขักขนั ธสั สะ อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ
ทําไฉนการทําทสี่ ุดแหํงกองทุกข์ทัง้ ส้ินนี้, จะพึงปรากฏชดั แกเํ ราได๎

111

สวดบาลีแปลภาษาองั กฤษ

๑. คาบชู าพระรัตนตรยั DEDICATION OF OFFERINGS

โย โส ภะคะวา อะระหงั สัมมาสมั พุทโธ
To the Blessed One, the Lord who fully attained perfect enlightenment
(ทเู ดอะเบลเสทวนั เดอะหลอดฮูฟูลลีแ่ อ็ทเทน เพอเฟคเอ็นไลท์เทนเม๎น)
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธมั โม
To the Teaching which be expounded so well,
(ทเู ดอะทชิ ชิ่งวิชบเี อ็กซพ์ าวเด๎อโซเวล)
สปุ ะฏปิ ันโน ยสั สะ ภะคะวาโต สาวะกะสงั โฆ
And to the Blessed One’s disciples, who have practised well
(แอนด์ทูเดอะเบลสวันดไิ ซเ๎ พลินฮูเฮฟแพรคทสิ เวล)
ตัมมะยัง ภะคะวันตงั สะธัมมัง สะสังฆัง
To these- the Buddha, the Dbamma and the Sangha
(ทูดีส เดอะบุดด๎า เดอะธรรมะ แอน เดอะสงั ฆา)
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเิ ตหิ อะภิปชู ะยามะ
We render with offerings our rightful bomage.
(วีเรนเดอวิทออฟเฟอรงิ่ อาวเวอร์ไรทฟลู โบเมจ)
สาธุ โน ภัตเต ภะคะวา สุจิระปะรนิ พพโุ ตปิ
It is well for us that the Blessed One having attained liberation,
(อทิ อสี เวลฟออัส แดทเดอะเบลเสทวนั เฮฟวิ่งแอดเทนลเิ บอเรชัน่ )
ปจั ฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา
Still had compassion for later generations.
(สทลิ แบดคอมแพสช่นั ฟอเลทเทอรเจเนอเรชนั่ )
อเิ ม สักกาเร ทคุ คะตะปณั ณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ
May these simple offerings be accepted
(เม ดิส ซิมเพอออฟเฟอร่ิง บี แอคเซป็ )
อัมหากงั ทฆี ะรัตตงั หิตายะ สขุ ายะ
For our long-lasting benefit and for the happiness it gives us.
(ฟอ อาวเวอ ลอง ลาสทิง บเี นฟทิ แอน ฟอ เดอะ แฮปปเี้ นส อิท กฟิ ส อสั )
อะระหงั สมั มาสมั พทุ โธ ภะคะวา
The Lord, the Perfectly Enlightened and Blessed One-
(เดอะ หลอด เดอะ เพอเฟคล่ี เอน็ ไลท์เทน แอน เบลเสท วัน)
พทุ ธงั ภะคะวันตัง อะภวิ าเทมิ
I render homage to the Buddha the Blessed One.
(ไอเรนเดอ โบเมจ ทูเดอะ บดุ ด๎า เดอะ เบลเสท วัน)
(กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม
The Teaching so completely explained by him-

112

(เดอะ ทชิ ชิ่ง โซ คอมพลีตลี่ เอ็กซ์เพลน บาย ฮิม)
ธัมมัง นะมสั สามิ
I bow to the Dhamma.
(ไอบาว ทู เดอะ ธรรมะ)
(กราบ) สุปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
The Blessed One’s disciples who have practiced well-
(เดอะเบลส วัน,ส ดสิ ไซ๎เพลิ ฮูแฮฟ แพรกทิชท เวล)
สังฆงั นะมามิ
I bow to the Sangha. (กราบ)
(ไอบาว ทเู ดอะสงั ฆา)

๒. ปพุ พภาคนมการ PRELIMINARY HOMAGE กลาํ วนํา
(หันทะ มะยงั พุทธสั สะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะนะมะการัง กะโร มะ เส)
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธสั สะ (กลําว ๓ คร้งั )
Homage to the Blessed Nolble and Perfectly Enlightened One. (กลาํ ว ๓ ครง้ั )
(โฮมเมจ ทีเดอะเบลเสท โนเบิล แอน เพอเฟ็คลี่ เอ็นไลเ๎ ทนวัน)(กลําว ๓ ครัง้ )

๓. พุทธาภิถตุ ิ (Homage to the Buddha) กลาํ วนํา
(หันทะ มะยัง พุทธาภิถุตงิ กะโรมะ เส)
โย โส ตะถาคะโต อะระหงั สัมมาสัมพทุ โธ
The Tathagata is the Pure One, the Perfectly Enlightened One;
(เดอะตะถาคะโต อีส เดอะ เพยี ว วัน เดอะ เพอ เฟค ล่ี เอ็น ไล๎ เทน วัน)
วชิ ชาจะระณะสมั ปนั โน
He is impeccable in conduct and understanding
(ฮีอีส อมิ เพ็คคาเบิล อนิ คอนดกั แอน อนั เด๎อ สะแตนด้งิ )
สคุ ะโต
The Accomplished One
(เดอะ แอม คอม พลีช วนั )
โลกะวิทู
The Knower of the Worlds;
(เดอะ โนเวอร์ ออฟ เดอะ เวรด์ิ ส)
อะนุตตะโร ปรุ สิ ะธัมมะสาระถิ
He trains perfectly those who wish to be trained
(ฮี เทน เพอ เฟค ล่ี โดส ฮู วชิ ทู บี เทรนด)
สตั ถา เทวะมะนุสสานงั
He is Teacher of gods and humans
(ฮี อีส ทิส เชอร์ ออฟ ก๏อด แอน ฮวิ แมน)
พทุ โธ ภะคะวา
He is Awake and Holy

113

(ฮี อีส อะเวค แอน โฮลี่)
โย อมิ ัง โลกงั สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัหมะกงั ,
In this world with its gods, demons and kind spirits
(อินดสิ เวิร์ด วทิ อิทส ก๏อด ดีมัน แอนด์ ไคนส์ สปรี ดิ )
สสั สะมะณะพราหมะณงิ ปะชัง สะเทวะมะนุสสงั สะยงั อะภิญญา สจั ฉกิ ตั วา ปะเวเทสิ
Its seekers and sages, celestial and buman beings, be has by deep insight revealed the Truth.
(อิท ซีคเคอ แอด เซจ ซีเลสเทรีย่ ว แอน ฮวิ แมน บีอิ้ง บี แฮสบาย ดีพ อนิ ไซด์ รวี ีล เดอะ ทรูท)
โย ธัมมงั เทเสสิ อาทิกัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะ กลั ป์ยาณงั
He has pointed out the Dhamma beautiful in the beginning, beautiful in the middle, beautiful in the
end.
(ฮี แฮส พอยท์ เอาท์ เดอะ ธรรมะ บิวทฟิ ู, อนิ เดอะ บีกนิ นงิ่ บิวทิฟู อินเดอะมิดเดิล บิวทิฟู อินดเิ อน็ )
สาตถงั สะพยัญชะนงั เกวะละปะริปุณณงั ปะริสทุ ธงั พรัหมะจะริยัง ปะกาเสสิ
He has explained the Spiritual Life of complete purity in its essence and conventions.
(ฮี แฮส เอก็ เพลน เดอะ สปริ ิตทอู อล ไลฟ์ อ๏อฟ คอมพลีท เพยี วรติ ี้ อนิ อิทส เอสเซน็ ท์ แอน คอนเวนช่ัน)
ตะมะหัง ภะคะวนั ตัง อะภปิ ูชะยามิ, ตะมะหัง ภะคะวนั ตัง สริ ะสา นะมามิฯ
I chant my praise to the Blessed One, I bow my bead to the Blessed One. (กราบ)
(ไอ ซ๎าน มาย พลีส ทู เดอะ เบลเสท วัน ไอ บาว มาย บดี ทู เดอะ เบลเสท วนั )
๔. HOMAGE TO THE DHAMMA ธัมมาภถิ ุติ กลาํ วนาํ
(หันทะ มะยงั ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส)
โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
The Dhamma is well-expounded by the Blessed One,
(เดอะ ธรรมะ อสี เวล เอก็ ซ์พาวเด็ด บลาย เดอะ บรีดส วัน)
สนั ทิฏฐโิ ก
Apparent here and now
(แอพเพยี เร๎นท์ เฮีย แอน นาว)
อะกาลโิ ก
Timeless
(ไทมเ์ ลส)
เอหิปสั สโิ ก
Encouraging investigation,
(เอน็ เคอเรจ็ จิง่ อินเวสทิเกชนั่ )
โอปะนะยิโก
Leading onwards
(ลดี ดง้ิ ออนเวรด์ิ ส)
ปจั จตั ตงั เวทิตัพโพ วญิ ญูหิ
To be experienced individually by the wise.
(ทู บี เอก็ พรีเรียนส์ อินดวิ คิ วลล่ี บาย เดอะ ไวส)์
ตะมะหัง ธัมมัง อะภปิ ชู ะยามิ, ตะมะหัง ธัมมงั สิระสา นะมามิฯ
I chant my praise to this Teaching, I bow my head to this Truth. (กราบพระธรรมคณุ )

114

(ไอ ซ๎าน มาย พลีส ทู ดสี ทิชชิง่ ไอ บาว มาย เฮด ที ดสี ทรูท)

๕. HOMAGE TO THE SANGHA สงั ฆาภิถุติ กลาํ วนํา
(หนั ทะ มะยัง สังฆงั ภถิ ุตงิ กะโรมะ เส)
โย โส สปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
They are the Blessed One’s disciples who have practiced well,
(เด อาร์ เดอะ เบลเสท วนั ดิสซเิ พิลส ฮู แฮฟ แพรก ทสิ เวล)
อชุ ุปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
Who have practised directly,
(ฮู แฮฟ แพรกทิส ไดเรก็ ทลี)่
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
Who have practiced insightfully,
(ฮู แฮฟ แพรกทิส อนิ ไซดฟ์ ูลลี่)
สามีจิปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
Those who practice with integrity.
(โดส๎ ฮู แฮฟ แพรกทสิ วชิ อนิ เทอกริท)ี่
ยะททิ ัง จัตตาริ ปรุ สิ ะยคุ านิ อฏั ฐะ ปุรสิ ะปคุ คะลา
That is the four pairs, the eight kinds of noble beings,
(แดท อสี เดอะ โฟร์ แพรส เดอะ เอท ไคท์ ออฟ โนเบล บีอ้งิ ส)
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
These are the Blessed One’s disciples.
(ดีส อาร์ เดอะ เบลล์ วันส์ ดสิ ซเิ พิลล์)
อาหุเนยโย
Such ones are worthy of gifts
(ซสั วนั อาร์ เวรทิ์ ตี้ ออฟ กิฟส)์
ปาหเุ นยโย
Worthy of hospitality
(เวรทิ์ ต้ี ออฟ ฮอสพิทอลลิต้ี)
ทกั ขเิ ณยโย
Worthy of offerings
(เวริ์ทตี้ ออฟ ออฟ เฟอ ร่งิ )
อญั ชะลีกะระณโี ย
Worthy of respect;
(เวร์ทิ ตี้ ออฟ เรส เป็ค)
อะนตุ ตะรงั ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ
They give occasion incomparable goodness to arise in the world.
(เดย ก๊ิฟ ออคเคชนั่ ฟอร์ อนิ คอมพา เรเบิล กูดเนส ทู อะไรส์ อิน เดอะ เวริ์ด)

115

ตะมะหัง สงั ฆงั อะภปิ ูชะยามิ ตะมะหงั สงั ฆงั สิระสา นะมามฯิ
I chant my praise to this Sangha, I bow my head to this Sangha
(ไอ ช๎านท์ มาย พรีส ทู ดิส สังฆะ ไอ บาว มาย เฮด ทู ดสี สงั ฆะ)

๖. FIVE SUBJECTS FOR FREQUENT RECOLLECTION อภณิ หปจั จเจกขณปาฐะ กลาํ วนาํ
(หนั ทะ มะยงั อภิณหะปจั จะเวกขะณะปาฐงั ภะณา มะ เส)
ชะราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต(ตา)
I am of the nature to age, I have not gone beyond ageing.
(ไอ แอม ออฟ เดอะ เนเชอ ทู เอจ ไอ แฮฟ นอท กอน บียอน อะจอี ง้ิ )
พยาธิธัมโมมหิ พยาธงิ อะนะตโี ต
I am of the nature to sicken, I have not gone beyond sickness.
(ไอ แอม ออฟ เดอะ เนอเจอร์ ทู ซิคเคน ไอ แฮฟ นอท กอน บยี อน ซคิ เนส)
มะระณะธมั โมมหิ มะระณงั อะนะตีโต
I am of the nature to die, I have not gone beyond dying.
(ไอ แอม ออฟ เดอะ เนเจอ ทู ไดน์ ไอแฮฟ นอท กอน บยี อน ไดอ้งิ )
สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว
All that is mine, beloved and pleasing, will become otherwise, will become separated from me
(ออ แดท อีส ไมน์ บเี ลิฟ แอน พลสี ซ่งิ ววิ บี คัม ออเตอร์ไวส ววิ บีคมั เซพพาเรเทต ฟรอม ม)ี
กัมมัสสะโกมหิ กมั มะทายาโท กมั มะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏสิ ะระโณ (ณา) ยงั กัมมงั กะริสสามิ กัลป์ยาณงั วา ปา
ปะกงั วา ตสั สะ ทายาโท ภะวสิ สามิ
I am the owner of my kamma, beir to my kamma born of my kamma, related to my kamma, abide
supported by my kamma. Whatever kamma I shall do, for good or for ill, of that I will be the heir
(ไอ แอม เดอะ โอมเนอ ออฟ มาย กัมมา แฮ ทู มาย กัมมา บอร์น ออฟ มาย กัมมา รีเลเทด ทู มาย กัมมา แอบไบด์ ซัพ
พอร์ต บาย มาย กัมมา วอทเอบเวอร์ กัมมา ไอ แซว ดู ฟอร์ กูด ออ ฟอร์ อลิ ออฟ แดท ไอ วิว เดอะ แฮร์)
เอวัง อมั เหหิ อะภณิ หัง ปัจจะเวกขิตัพพัง
Thus we should frequently recollect.
(ธสั วี ชดู ฟรเี ควนทล่ี รคี อลเลค็ )

๗. REFLECTIONS ON UNIVERSAL WELL-BEING คาแผํเมตตา กลาํ วนาํ
(หนั ทะ มะยัง เมตตาผะระณัง กะโรมะ เส)
อะหัง สุขิโต โหมิ นทิ ทุกโข โหมิ อะเวโร โหมิ อพั ยาปชั โฌ โหมิ อะนโี ฆ โหมิ สุขอี ตั ตานัง ปะริหะรามิ สพั เพ สัตตา สุขติ า
โหนตุ สพั เพ สตั ตา อะเวรา โหนตุ สพั เพ สตั ตา อัพยาปชั ฌา โหนตุ สพั เพ สตั ตา อะนีฆา โหนตุ สพั เพ สตั ตา สุขี อัตตา
นงั ปะรหิ ะรันตุ สพั เพ สตั ตา สพั พะทุกขา ปะมญุ จันตุ สัพเพ สตั ตา ลทั ธะสมั ปตั ตโิ ต มา วิคัจฉันตุ สัพเพ สตั ตา กมั มัส
สะกา กัมมะทายาทา กมั มะโยนิ กัมมะพนั ธุ กมั มะปะฏสิ ะระณา ยงั กัมมัง กะรสั สันติ กัลป์ยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ
ทายาทา ภาวิสสันติ
(กลําวนํา May I abide in will-being), in freedom from affliction, in freedom from hostility, In freedom
from ill-will, in freedom from anxiety, and may I maintain well-being in myself. May everyone abide
in well-being, in freedom from hostility, in freedom from ill-will , in freedom from anxiety, and may
they maintain well-being in themselves. May all beings be released from all suffering and may they

116

not be parted from the good fortune they have attained. When they act upon intention, all beings
are the owners of their action and inherit its results. Their future is born from such action,
companion to such action, and its results will be their Home. All actions with intention, be they
skilful or harmful of such acts they will be the heirs.
-เมไอ อไบด์ อิน เวล บอี ิ้ง) อิน ฟรีดอม ฟรอม โฮสทลิ ลทิ ่ี อินฟรดี อม ฟรอม อิลวลิ อนิ ฟรีดอม ฟรอม แอนไซท่ี แอน เม
เด เมนเทน เวล บอี ้ิง อนิ เด็มเซลฟส เม ออล บีอ้งิ บี ลีลสี ฟรอม ออล ซัฟเฟอริ่ง แอน เม เด นอท บี พาร์ท ฟอรม์
เดอะ กดู ฟอจนู เด แฮฟ แอทเทน
-เวน เด แอค อัพพอน อินเท็นช่นั ออล บอี ง้ิ ส อาร์ เดอะ โอนเนอร์ ออฟ แดร์ แอคช่ัน แอน อนิ เฮริ ท์ อิท รีซอลท์ส
แด ฟวิ เจอร์ อีส บอรน์ ฟรอม ซชั แอคช่นั คอมเพลนช่ัน ทู สชั แอคช่ัน แอน อิทส รซี อลท์ส ววิ บี แด โฮม ออล
แอคชน่ั วิท อินเทนชน่ั บี เด สกนิ ฟลู ออ ฮามฟลู ออฟ ซัช แอคส เด ววิ บี เดอะ แฮร์

117

ภาคผนวก

118

การจดั โต๊ะหมู่บูชา
การจัดโตะ๊ หมู่บชู า หมู่ ๓ ๔ ๕ ๗ และ ๙ การจัดโต๊ะหมบู่ ูชาพระในบ้านควรจดั แบบไหน

ซ่ึงการจดั โต๏ะหมํูบชู ากจ็ ะมีแยกออกเป็น โตะ๏ หมบูํ ชู าหมํู ๓ ๔ ๕ ๗ และ ๙ ยกตัวอยํางงําย ๆ จะเปน็ การจดั โตะ๏ หมํบู ูชา
พระในบ๎าน ในหอ๎ งพระ สวํ นมากวธิ จี ดั โต๏ะหมบํู ูชาจะประกอบไปด๎วยโต๏ะ ๔ ขาที่มีขนาดลดหลั่นกันไป เพ่ือวางสง่ิ ที่จะ
เคารพบชู า จะต๎องมกี ระถางธูปอยํางน๎อย ๑ กระถาง แจกันอยาํ งน๎อย ๑ แจกัน เชิงเทียนอยํางน๎อย ๑ คูํ และพาน
ดอกไม๎อยาํ งน๎อย ๑ พาน และที่บอกไปวาํ การจดั โต๏ะหมูบํ ูชาน้นั จะแยกออกเป็นหลายรูปแบบ แตํจะประดิษฐาน
พระพุทธรปู ที่โตะ๏ ตวั บนสดุ เหมอื นกันทกุ แบบ ดงั ตํอนี้

การจดั โต๊ะหมบู่ ูชา ๔

เปน็ การจดั โต๏ะหมํบู ูชาพระในบา๎ นท่ีมีขนาดพื้นทน่ี อ๎ ย เชํนท่ีบ๎าน ทท่ี าํ งาน ประกอบดว๎ ย
- กระถางธปู ๑ กระถาง
- แจกัน ๒ ใบ
- เชิงเทยี น ๑ คํู
- พานพํมุ ดอกไม๎ ๒ พาน

119

การจัดโต๊ะหมู่บชู า ๕

วธิ ีจดั โตะ๏ หมูบํ ชู า ๕ ก็เหมาะกับคนที่ไมํต๎องการพิธมี ากนัก เชนํ พธิ ีทําบญุ บา๎ น ทาํ บญุ ที่ทํางาน เปน็ ตน๎
- กระถางธูป ๑ กระถาง
- แจกัน ๒ ใบ
- เชิงเทยี น ๔ คํู
- พานพมํุ ดอกไม๎ ๕ พาน

การจัดโต๊ะหมูบ่ ูชา ๗

วิธีจัดโตะ๏ หมํบู ชู า ๗ เหมาะกับงานที่เปน็ ทางการขน้ึ มาอกี หนอํ ย จะเป็นงานทเี่ กย่ี วข๎องกับพธิ ีทางศาสนา จะ
จัดเป็นพระประธานในศาสนพิธสี งฆ์

- กระถางธปู ๑ กระถาง
- แจกนั ๒ ใบ
- เชิงเทียน ๕ คูํ
- พานพํุมดอกไม๎ ๕ พาน

120

การจดั โตะ๊ หมู่บชู า ๙

สวํ นมากจะใชส๎ าํ หรบั เปน็ พระประธานในพิธใี หญํ ๆ ที่สําคัญทเี่ กีย่ วข๎องกับศาสนา เชํน พระอโุ บสถ วิหาร ศาลา
การเปรียญ

- กระถางธูป ๑ กระถาง
- แจกัน ๓ ใบ
- เชิงเทียน ๖ คูํ
- พานพํุมดอกไม๎ ๗ พาน

ขอ้ กาหนดทคี่ วรรู้ในการจดั โตะ๊ หมู่บชู า
ไดท๎ ราบรปู แบบและวธิ ีจดั โต๏ะหมูบํ ชู ากนั ไปแลว๎ มาดูขอ๎ กาํ หนด ขอยกเวน๎ ท่ีควรร๎ูในการจดั โตะ๏ หมูํบูชากันบ๎าง

วํามีอะไรบา๎ ง
๑. ทิศทางในการต้ังโต๏ะหมํู นิยมหันไปทางทิศเหนอื และทศิ ตะวนั ออก หากไมํมโี ตะ๏ หมบู ูชา สามารถใช๎

โตะ๏ ตัง่ หรอื ชั้นวางพระท่ีมีลักษณะสดั สวํ นทเี่ หมาะสมมาแทนได๎
๒. เคร่ืองสักการะบชู าต๎องมีครบองคป์ ระกอบ จะขาดส่งิ ใดสิง่ หนง่ึ ไปไมํได๎
๓. การจดั โต๏ะหมํูบูชาพระในบ๎านควรอยูํช้ันบนสุดของบ๎าน
๔. ต๎องมีพระพุทธรูปเปน็ พระประธาน เปน็ ตัวแทนของพระพุทธเจา๎
๕. ต๎องตั้งพระพุทธรูปไวต๎ าํ แหนํงสูงสดุ ของโต๏ะหมบํู ูชา

121

การกราบ

การกราบบคุ คลทั่วไป ซ่ึงผ๎ูกราบมีความเคารพอยํางสูง ปฏบิ ัตดิ งั น้ี
๑. นั่งพบั เพยี บเก็บปลายเทา๎
๒. เบย่ี งตัวหมอบลง ใหเ๎ ขาํ ข๎างหนงึ่ อยูรํ ะหวาํ งแขนท้งั สองขา๎ ง
๓. วางแขนทง้ั สองขา๎ งราบลงกบั พื้นตลอดครึง่ แขนคือจากศอกถึงมือ
๔. ประนมมอื วางตั้งลงกบั พื้น แลว๎ ก๎มศรี ษะลงให๎หน๎าผากแตะสันมือ
๕. ทาํ คร้งั เดียวไมแํ บมอื แล๎วทรงตัวน่ัง

การกราบพระภกิ ษุ พระพุทธรูป หรอื พระรตั นตรัย
การกราบพระไมวํ ําจะเปน็ พระพุทธรูปหรือพระภิกษุมแี บบเดยี ว คือ การกราบแบบเบญจางคประดิษฐเ์ วน๎ แตํ

กรณที ่ีสถานที่ไมํอาํ นวย เชนํ ทพ่ี ืน้ ท่ีกลางลาน หรอื ในยานพาหนะ ใหใ๎ ช๎การไหวแ๎ ทน เปน็ ต๎น

122

การกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ์ ประกอบด๎วย เขําทั้งสอง มอื ทัง้ สอง และศรี ษะหน่ึงรวมเปน็ ห๎าโดยมลี าํ ดบั
ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิดังน้ี

๑. ท่าเตรยี ม
๑.๑ ชาย น่งั พรหม เขาํ ยนั พ้นื หํางกันพอสมควร ปลายเท๎าตั้งชิดกนั นั่งทบั สน๎ เทา๎
๑.๒ หญิง นัง่ ทําเทพธิดา เขํายนั พ้ืนในลักษณะชิดกัน ปลายเทา๎ ราบไปกบั พนื้ หงายฝาุ

เท๎า นง่ั ทบั ส๎นเทา๎
จังหวะที่ ๑
ประนมมือหวาํ งอก
จังหวะที่ ๒
ยกมอื ประนมขึ้นพร๎อมกบั กม๎ ศรี ษะลงเลก็ น๎อย นิว้ หัวแมมํ อื จดกลางหน๎าผาก(ปลายนว้ิ ชจ้ี ะสงู

กวาํ ศรี ษะ)
จงั หวะท่ี ๓
๑. ก๎มกราบโดยทดศอกใหแ๎ ขนทง้ั สองข๎างลงพนื้ พร๎อมกนั
๒. ควํา่ มือท้ังสองแบนราบกบั พ้นื ใหน๎ ิว้ ท้งั ๕ ชิดกัน มือท้งั สองวางหํางหนั

เล็กน๎อยพอไห๎หน๎าผากจดพ้นื ในระหวาํ งมือทั้งสองขางได๎
๓. สาํ หรับผู๎ชายต๎องให๎ศอกตอํ เขํา สําหรบั ผ๎หู ญิงศอกท้งั สองแนบเขํา
๔. ลกุ น่งั ในทําคุกเขํา ทําตามจังหวะทงั้ ๓ ครั้ง แล๎วทรงตวั ขนึ้ ยกมือประนมจด

หน๎าผากอีกคร้งั หนง่ึ เรียกวาํ จบ แลว๎ ลดตวั นงั่ ในทาํ ปกติ

123

กิจกรรมการแข่งขนั

ระเบยี บการและหลักเกณฑก์ ารแขง่ ขัน
กิจกรรมการประกวดแขง่ ขนั สุดยอดพุทธบตุ ร
๑. วัตถุประสงค์
๑.๑. เพือ่ เป็นการแสดงความรู๎ ความสามารถในด๎านวชิ าการทางพระพุทธศาสนาของนักเรยี นในโรงเรียนสังกัด สพป.
ขอนแกนํ เขต ๔
๑.๒. เพอื่ สํงเสรมิ ให๎นักเรยี นในโรงเรยี นสังกดั สพป. ขอนแกํน เขต ๔ ได๎นําความรูท๎ ี่ไดเ๎ รียนมาไปประยุกต์ใช๎ใน
ชีวิตประจาํ วัน
๒. คณุ สมบตั ิของผูเ๎ ขา๎ ประกวด
๒.๑. โรงเรียน สามารถสํงนกั เรยี นเข๎าประกดได๎ โดยได๎รับความเหบ็ ชอบเปน็ ลายลักษณ์
อกั ษร จากผู๎อํานวยการโรงเรียบ ผูบ๎ ริหารสถานศึกษา
๒.๒ นกั เรยี นผู๎เข๎าประกวดจะต๎องเปน็ ผท๎ู ่ีกําลังศึกษาในระดับท่ีกาํ หนดของสถานท่ีศึกษาน้นั ๆ
๒.๓ ตอ๎ งเป็นผูท๎ กี่ าํ ลงั เรียนหรือศึกษาอยใํู นระดบั ที่จัดประกวด ระดับใดระดับหน่ึง
๒.๔. โรงเรียน สามารถสงํ นักเรียนเข๎ารํวมแขํงขนั สดุ ยอดพุทธบตุ รไดไ๎ มํเกินระดับทีม ๆ ละ ๒ คน
๓. ประเภทของผู๎เข๎าประกวดแบงํ เปน็ ๓ ระดบั การศกึ ษา
๓.๑. ระดบั ประถมศึกษา สงํ เข๎าแขํงขันได๎ทีมๆละ ๒ คน (ไมํจาํ กัดเพศ)
๓.๒. ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต๎น สํงเข๎าแขงํ ขันได๎ทมี ๆละ ๒ คน (ไมจํ ํากัดเพศ)
๓.๓. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สํงเข๎าแขํงขนั ได๎ทมี ๆละ ๒ คน (ไมํจาํ กดั เพศ)
*ในกรณีทส่ี ถานศึกษาเปิดการเรียนการสอนหลายระดับ สามารถสํงนักเรยี นเข๎ารํวมแขํงขนั ได๎ทุกระดบั
๔. ข๎อสอบแขํงขนั และเวลาทําการแขํงขนั แขํงขัน
ข๎อแขงํ ขนั แบบปรนยั ตวั เลือก ๔ คาํ ตอบ ให๎เลือกคาํ ตอบทีถ่ ูกทส่ี ดุ เพยี งคาํ ตอบเดยี ว จําแนกเปน็
๔.๑ ระดบั ประถมศกึ ษา (ป.๑-ป.๖) จํานวน ๓๐ ข๎อ, ๒๐ ขอ๎ , ๑๕ ขอ๎
๔.๒ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต๎น (ม.๑-ม.๓) จาํ นวน ๔๐ ข๎อ, ๓๐ ขอ๎ , ๒๐ ขอ๎
๔.๓ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.๔-ม.๖ ) จาํ นวน ๕๐ ขอ๎ . ๔๐ ขอ๎ , ๓๐ ข๎อ
เนอ้ื หา แตลํ ะระดับจะออกขอ๎ แขงํ ขนั โดยมเี นื้อหาครอบคลุม ดังนี้
ระดับประถมศึกษา
- สาระการเรียนรูด๎ ๎านพระพทุ ธศาสนาในหลักสูตร จาํ นวน ๒๐ ขอ๎
- ความรทู๎ ัว่ ไป ทางดา๎ นพระพุทธศาสนา จํานวน ๑๐ ข๎อ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต๎น
- สาระการเรียนรพ๎ู น้ื ฐานพระพทุ ธศาสนา (ม.๑- .๓) จาํ นวน ๓๐ ขอ๎
- ความรู๎ทัว่ ไป ทางดา๎ นพระพุทธศาสนา จํานวน ๑๐ ขอ๎
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
- สาระการเรียนรู๎พน้ื ฐานพระพุทธศาสนา (ม.๔- ม.๖) จํานวน ๔๐ ขอ๎
- ความรท๎ู ่วั ไป ทางด๎านพระพุทธศาสนา จาํ นวน ๑๐ ข๎อ
หมายเหตุ ผ๎ูเข๎าแขํงขนั ต๎องแตํงกายดว๎ ยชุดนกั เรยี น นกั ศึกษา ของสถาบันนนั้ ๆ ผเ๎ู ข๎าแขํงขันต๎องนาํ อุปกรณ์การแขํงขัน
ปากกา มาเอง
๔. หลักเกณฑ์การตัดสนิ และรางวลั
๔.๑. ทมี ทีไ่ ด๎คะแนนสงู สดุ (ซนะเลศิ ) จะไดร๎ ับเกยี รติบัตร พรอ๎ มโลํประกาศเกยี รติคณุ

124

๔.๒. ทีมทไ่ี ดค๎ ะแนนเป็นลําดับท่ี ๒ (รองชนะเลิศ อนั ดบั ที่ ๑) จะได๎รบั เกยี รติบัตร พร๎อมโลํประกาศเกียรติคุณ
๔.๓. ทมี ที่ไดค๎ ะ นเป็นลําดับที่ ๓ (รองชนะเลิศ อนั ดับท่ี ๒) จะไดร๎ บั เกยี รติบตั ร พรอ๎ มโลํประกาศเกียรตคิ ุณ
๔.๔. ทีมท่ไี ด๎คะแนนเปน็ ลาํ ดับที่ ๔, ๕ และ ๖ (รางวัลชมเชย) จะไดร๎ บั เกยี รตบิ ัตร
หมายเหตุ หากมผี ๎ูไดค๎ ะแนนในอนั ดับที่ ๑ - ๔ เทาํ กัน ใหค๎ ะแนนแขํงขันครั้งกํอนวําใครมากกวําเป็นผ๎ชู นะ
๕. การตอบปัญหาบนเวที
๑. ระดับการแขํงขนั ระดบั ประถม มยั มตน๎ และ มธั ยมปลาย สงํ เขา๎ แขํงขนั ได๎ระดบั สถาบันละ ๑ ทมี ๆละ ๒ คน
๒. ขอ๎ สอบแขํงขัน และเวลาทําการสอบแขงํ ขัน แบบอตั นยั จํานวน ๑๐ ขอ๎ โดยมีกติกา ดังน้ี
๒.๑ กรรมการจะแจกกระดาษเปลาํ เพ่ือใหผ๎ เู๎ ขา๎ แขงํ ขนั ใชเ๎ ขยี นคาํ ตอบโรงเรยี นละ ๑๐ แผนํ
๒.๒ ทําการแขงํ ขนั ตอบคาํ ถามครั้งละ ๑ ข๎อ ไปตามลาํ ดับจนครบ ๑๐ ขอ๎ โดยให๎เวลาเขียนตอบ
ข๎อละ ๓๐ วนิ าที (ผเ๎ู ข๎าแขงํ ขันแตลํ ะโรงเรยี นเลือกซองคําถามทลี ะขอ๎ หมนุ เวียนไปตามลําดับ)
๒.๓ กรรมการจะอํานคาํ ถาม และเริม่ จับเวลาเม่ืออํานทวนคําถามคร้ังท่สี องส้นิ สุดลง
๒.๔ กรรมการจะกดกริ่งสญั ญาณเมื่อหมดเวลา และเกบ็ กระดาษคาํ ตอบ
๒.๕ กรรมการอํานคาํ เฉลยหลงั จากทเ่ี กบ็ กระดาษคาํ ตอบครบถ๎วน และขานคะแนน
๓. ให๎คะแนนข๎อละ ๒ คะแนน ในกรณที ่ีคําตอบไมสํ มบรู ณ์หรอื ไมํครบประเดน็ ให๎ประธาน คณะกรรมการตัดสินเปน็ ผู๎
วินจิ ฉัยช้ีขาด และหลงั จากท่ีทําการแขงํ ขนั ตอบปัญหาครบทั้ง ๑๐ ข๎อ แล๎ว
มที ีมท่ีไดค๎ ะแนนเทาํ กนั ในลําดับท่ี ๑ ลาํ ดับท่ี - หรือ ลาํ ดับที่ ๓ ใหท๎ มี ที่ไดค๎ ะแนนลาํ ดบั ดงั กลาํ วทําการแขงํ ขันตอบ
คาํ ถามตํอไปโดยใชข๎ อ๎ สอบแขํงขนั พเิ ศษคร้ังละข๎อ เพือ่ ตดั สินเพอ่ื หาทมี ท่ีไดค๎ ะแนนมากกวําตามลําดบั
เนื้อหา ใชเ๎ นอ้ื หาเกย่ี วกับพทุ ธประวตั ิ นกั ธรรมชั้นตรีหรือธรรมศกึ ษาตรี และความรทู๎ ว่ั ไปทางพระพุทธศาสนา

กตกิ าในการแขงํ ขนั
๑. แตํงชุดให๎เรียบรอ๎ ยดว๎ ยชุดนกั เรียน หรือชดุ ประจาํ สถานศกึ ษาของตน
๒. ให๎ไปถึงสถานท่ีจัดประกวดและรายงานตวั กอํ น เวลาท่ีกําหนด ๑ ชัว่ โมงเพ่อื เตรยี มความพร๎อม
๓. การแขํงขันแบํงออกเป็น รอบ
๓.๑ รอบแรกเปน็ ข๎อแขงํ ขันแบบปรนยั คัดเลอื ก
ระดับประถมศึกษา (ป.๑-ป.๔) ๓๐ ขอ๎
ระดบั มธั ยมตอนต๎น (ม.๑-ม.๓) ๔๐ ขอ๎
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-ม.๖) ๕๐ ข๎อ
๓.๒ รอบสองเป็นข๎อแขํงขนั แบบปรนยั คัดเลือก
ระดบั ประถมศึกษา (ป.๓-ป.๔) ๒๐ ข๎อ
ระดับมธั ยมตอนต๎น (ม.๑-ม.๓) ๓๐ ขอ๎
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-ม.๖) ๔๐ ขอ๎
๓.๓ รอบชิงชนะเลศิ คัด
ระดบั ประถมศึกษา (ป.๓-ป.๔) ๑๕ ขอ๎
ระดบั มัธยมตอนตน๎ (ม.๑-ม.๓) ๒๐ ขอ๎
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-ม.๖ ) ๓๐ ข๎อ
๔. การแขํงขันตอบปัญหาธรรม ไมํอนญุ าตใหน๎ ําเอกสารทกุ ชนดิ เขา๎ ห๎องแขํงขันและไมํทําการใด ๆ อนั จะ
เป็นการรบกวนผ๎เู ข๎าแขงํ ขนั ทํานอนื่
๕. ผลการตัดสนิ ของคณะกรรมการถือเป็นอนั ยตุ ิ
เกณฑ์การคดั เลือกกรรมการ

125

คณุ สมบัติของผูเ๎ ปน็ กรรมการตดั สินการแขํงขับสุดยอดพุทธบตุ ร
๑. เป็นผม๎ู คี วามยุติธรรม ไมํมีความลาํ เอียงดว๎ ยอคติ ๔
๒. เปน็ ผู๎มีความรค๎ู วามเข๎าใจในระเบียบ กติกา และกฎเกณฑ์การตดั สนิ ตาํ ง ๆ
๓. เปน็ ผู๎ทรงคณุ วุฒิทมี่ ีความร๎ูดา๎ นวิชาการ
๔. เปน็ ผม๎ู คี วามประพฤตเิ หมาะสม มคี ุณธรรมเป็นทีเ่ คารพนบั ถือ
๕. ไมํมนี ักเรียนของตนเข๎าประกวดในขณะท่ที าํ หนา๎ ทีเ่ ป็นกรรมการตัดสิน
ระเบยี บวิธกี ารจดั สถานที่การประกวด
การจัดเตรยี มสถานท่ีแขํงขันสุดยอดพุทธบตุ ร
๑. ควรเตรียมหอ๎ งทั่วไป ห๎องประชมุ สถานท่ีอันโลงํ แจง๎ หรือสถานท่ีอนั เหมาะสมควรแกํการ
ประกวด เชํน ห๎องเรยี น หรอื หอ๎ งประชุม เป็นต๎น แลว๎ แตํผรู๎ ับผิดชอบเหน็ สมควร
๒. ควรเตรียมโตะ๏ และเก๎าอี้ให๎พอกับจาํ นวนผ๎ูเขา๎ ประกวด
๓. ควรเชค็ แล๎วเตรียมปญั หาปรนยั และอัตนยั ใหพ๎ อกับจํานวนผ๎ูเข๎าประกวด
๔. ควรเช็คแล๎วเตรียมกระดาษตอบปัญหาปรนัยและอตั นัย ใหพ๎ อกับจํานวนผ๎ูเข๎าประกวด

ระเบียบการและหลักเกณฑ์
การประกวดกล่าวคาอาราธนาและถวายทานในพทุ ธศาสนพธิ ี

❍ คุณสมบตั ิของผู้สมัครเข้าประกวด

คณุ สมบตั ิของโรงเรยี นและนักเรียนท่ีเขา้ ประกวดกล่าวคาอาราธนาฯ

๑. โรงเรียนสามารถสงํ นกั เรยี นเขา๎ ประกวดได๎ โดยได๎รบั ความเห็นชอบรับรองเป็นลาย ลักษณอ์ ักษรจากผู๎บรหิ ารโรงเรียน
๒. โรงเรยี นสามารถสงํ นกั เรยี นเข๎ารํวมประกวดกลาํ วคาํ อาราธนาและถวายทานในพทุ ธศาสนพธิ ี ไดไ๎ มํเกิน ๑ ทมี ๆ
ละ ๖ – ๑๐ คน
๓. นักเรยี นผู๎เขา๎ ประกวดจะตอ๎ งแตํงกายใหเ๎ รยี บร๎อยตามระเบียบของโรงเรียนนนั้ ๆ
❍ ประเภทของผ้เู ข้าประกวด

ระดับประถมหรือระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ สํงเปน็ ทมี ๆ ละ ๖ – ๑๐ คน (ชาย/หญงิ ลว๎ น/คละกันก็ได๎)

❍ บทสวดที่ใชใ้ นการประกวด
บทสวดที่ใช๎ในการจดั ประกวดกลาํ วคําอาราธนาและถวายทานในพทุ ธศาสนพิธี

ระดับการศึกษาท่ปี ระกวด บททใ่ี ช้ในการประกวด

ระดบั ประถมศึกษาหรอื มธั ยมศกึ ษา บทบชู าพระรัตนตรยั /คำอาราธนาศีล ๕/คำอาราธนาพระปริตร/ำอาราธนา
ตอนต๎น ธรรม /คำถวายสังฆทาน (พร๎อมแปลภาษาไทยภาษาองั กฤษ/)

126

❍ วธิ ีการจดั ประกวดและกตกิ า
๑. การประกวดใหส๎ วดทกุ บท ท่ีคณะกรรมการจัดการประกวดกาํ หนด

๒. การประกวดกลําวคาํ อาราธนาและถวายทานในพุทธศาสนพิธี (ไมํอนุญาตให๎ดูเอกสาร)
๓.เดนิ เขําตรงไปหน๎าโตะ๏ หมูํบูชาด๎วยความพร๎อมเพรียงกันแล๎วกราบพระรัตนตรัยแบบเบญจางคประดิษฐย์ ืนขึน้ แสดง
ความเคารพธงชาติและพระบรมฉายาลักษณต์ ามลําดับเมอื่ พรอ๎ มแลว๎ จงึ นั่งลงสวดมนต์ทงั้ นี้การยืนแสดงความเคารพ
ธงชาติและพระบรมฉายาลกั ษณ์ ใหเ๎ ปน็ ตามดุลพนิ ิจของคณะกรรมการดาํ เนินงาน
๔. หลังการประกวดเสร็จแลว๎ ให๎ตัวแทนบรรยายหรือพรรณนาคุณอานิสงสข์ องบทสวดมนต์ ๑-๒ นาที
๕. ผลการตัดสนิ ของคณะกรรมการถือวําเป็นการยตุ ิ

เกณฑ์การตัดสนิ

๑. ความถกู ต๎องของอักขระ ๒๐ คะแนน
๒. ความถกู ตอ๎ งของจงั หวะและวรรคทสี่ วด ๒๐ คะแนน

๓. น้าํ เสียงในการสวดมีความไพเราะ ๑๕ คะแนน

๔. มารยาทและทําทาง ความพร๎อมเพรียงถูกต๎องตามหลักศาสนพิธี ๑๕ คะแนน

๕. ลาํ ดบั ข้ันตอนมีความถกู ตอ๎ ง ๑๐ คะแนน

๖. ความพร๎อมเพรียงโดยรวม ๑๐ คะแนน

๗. การบรรยายสรปุ อานิสงส์ ๑๐ คะแนน

รวม ๑๐๐ คะแนน

127

บทนมัสการพระรัตนตรัย

อะระหัง สมั มาสัมพุทโธ ภะคะวา./ พุทธัง ภะคะวนั ตงั อภิวาเทมิ. (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม./ ธัมมงั นะมัสสามิ. (กราบ)
สปุ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ./ สังฆัง นะมามิ.(กราบ) แลว้ วันทาวางตกั
หนั ไปกราบพระสงฆ์ ๓ คร้งั แลว๎ กลาํ ววํา

คาอาราธนาศลี ๕

มะยัง ภันเต / วสิ งุ วิสุง รักขะณัตถายะ / ตสิ ะระเณนะ สะหะ/ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ. ทุติยัมปิ มะ

ยัง ภนั เต /วิสุง วิสุง รกั ขะณัตถายะ / ตสิ ะระเณนะ สะหะ/ ปญั จะ สลี านิ ยาจามะ. ตะติยัมปิมะยังภัน

เต/วสิ ุงวสิ ุงรกั ขะณตั ถายะ/ติสะระเณนะสะหะ/ปญั จะสลี านิยาจามะ. วันทา ๑ คร้งั แลว๎ กลาํ ววํา

ปาณาติปาตา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทิยามิ.

อะทนิ นาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

มุสาวาทา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทิยามิ.

สรุ าเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

วันทาพร๎อมกับสาธุ ๑ ครั้ง จากนั้นวนั ทาอีก ๑ คร้งั แล๎วกลําว

คาอาราธนาพระปรติ ร

วปิ ัตตปิ ะฏิพาหายะ สพั พะสัมปตั ตสิ ิทธิยา
สพั พะ ทุกขะ วินาสายะ ปะรติ ตงั พรูถะ มังคะลงั .
วปิ ัตตปิ ะฏพิ าหายะ สัพพะสัมปตั ติสิทธิยา
สพั พะ ภะยะ วินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง.
วิปตั ติปะฏิพาหายะ สพั พะสัมปัตติสิทธิยา
สพั พะ โรคะ วนิ าสายะ ปะรติ ตัง พรูถะ มงั คะลงั .

วนั ทาวางตัก และกราบอีก ๓ ครง้ั แล๎วกลาํ ววํา

คาอาราธนาธรรม

พรัหมา จะ โลกาธิปะตี สะหัมปะติ กตั อัญชะลี อนั ธิวะรงั อะยาจะถะ
สนั ตธี ะ สัตตาปปะระชกั ขะชาติกา เทเสตุ ธมั มัง อะนกุ ัมปมิ ัง ปะชังฯ.

(กลา่ วจบแล้วยกมือข้นึ วนั ทา ๑ คร้งั )

คาถวายสงั ฆทาน (พรอ้ มแปลภาษาไทย)
อิมานิ มะยัง ภันเต /ภตั ตานิ / สะปะริวารานิ / ภกิ ขสุ งั ฆัสสะ / อโณชะยามะ / สาธุ โน ภนั เต /ภิกขสุ ังโฆ
/ อมิ านิ / ภัตตานิ / สะปะรวิ ารานิ / ปะฏิคคัณหาตุ / อมั หากงั /ฑฆี ะรตั ตัง / หิตายะ /สุขายะ./
ขา๎ แตํพระสงฆ์ผเ๎ู จริญ/ข๎าพเจ๎าท้ังหลาย/ขอนอ๎ มถวายภัตตาหาร/กับท้ังของอันเป็นบริวารเหลาํ น้ี/แดํพระภกิ ษุสงฆ์/

128

ขอพระภกิ ษุสงฆจ์ งรบั ภัตตาหาร/กับทั้งของอนั เปน็ บริวารเหลํานี้/ของข๎าพเจ๎าทั้งหลาย/เพ่อื ประโยชน์และความสุข/
แกขํ ๎าพเจ๎าทั้งหลาย/ สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ

วันทาพนมมือ ตัวแทนวางตกั แล๎วคลานไปประเคนของพระสงฆ์ แล๎ววันทาวางตกั ถอยหลัง แล๎วกราบ ๓ ครงั้ หนั ไป
กราบพระพุทธรปู ๓ ครงั้ ถอยหลงั กลับ.

คาถวายสังฆทานอุทศิ (พร้อมแปลภาษาไทย)

อิมานิ มะยงั ภนั เต/ มะตะกะภตั ตาน/ิ สะปะรวิ าราน/ิ ภกิ ขสุ ังฆัสสะ/ โอโณชะยามะ/ สาธุ โน ภันเต/ ภิกขุ สงั โฆ/อิ
มานิ/มะตะกะภตั ตานิ/สะปะริวารานิ/ปะฏิคณั หาตุ/อมั หากัญเจวะ/มาตาปิตุ/อาทีนัญจะ/ญาตะกานัง/ กาละกะ
ตานงั /ฑีฆะรัตตงั /หติ ายะ/สุขายะ ฯ

คาแปล : ขา๎ แตํพระสงฆ์ผเู๎ จริญ/ ข๎าพเจ๎าทัง้ หลาย/ ขอนอ๎ มถวาย/ มตกภตั ตาหาร/ กับทง้ั บริวารเหลาํ นี้/ แดํ
พระภิกษุสงฆ์/ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ/มตกภัตตาหาร/ กับท้ังบริวารเหลําน้ี/ของข๎าพเจ๎าท้ังหลาย/ เพํือ
ประโยชน์/และความสุข/แกํข๎าพเจ๎าท้ังหลายด๎วย/แกํญาติของข๎าพเจ๎าท้ังหลาย/มีมารดาบิดาเป็นต๎น/ผู๎ทํากาละ
ลํวงลบั ไปแล๎วดว๎ ย/ สน้ิ กาลนานเทอญฯ

วันทาพนมมือ ตัวแทนคลานไปประเคนของพระสงฆ์แล๎ววนั ทาวางตกั ถอยหลงั แลว๎ กราบ ๓ คร้ัง หนั ไปกราบ
พระพทุ ธรปู ๓ คร้ัง ถอยหลงั กลับ.

บทกรวดน้า (พรอ้ มแปลภาษาไทย)

อิทัง โน, ญาตนี งั โหตุ, สุขติ า โหนตุ, ญาตะโย บญุ กุศลแผํไปให๎ไพศาล

ขอเดชะตง้ั จติ อุทิศผล ทัง้ ลูกหลานญาติมติ รสนทิ กัน

ถึงบดิ า มารดา ครูอาจารย์ มสี วํ นได๎ในกุศลผลของฉัน
ขอทุกทาํ นรับกศุ ลผลบุญเทอญ ฯ
คนเคยรํวมเคยรักสมัครใครํ
ทัง้ เจา๎ กรรมนายเวรและเทวญั

(กล่าวจบแล้วยกมือข้นึ วันทา ๑ ครั้ง)

กราบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ คร้งั แลว้ เดนิ เข่าออกไป
คำอธิบายขยายความรายละเอียดในใบให้คะแนน(สำหรับกรรมการผตู้ ัดสนิ )

๑. อักขระ ตอ๎ งออกเสยี งอักขระใหถ๎ กู ต๎องชัดเจน ถา๎ ออกเสียงอกั ขระผิดเพ้ียนมาก จนอักขระวิบัติ (ถา๎ ผิดตรงตาม
ตวั อยาํ งท่ยี กมาใหด๎ ู หักคาํ ละ ๑ คะแนน นอกเหนอื จากนน้ั หกั คําละคร่งึ คะแนน)

ออกเสียงถกู ออกเสียงผิด ออกเสียงถกู ออกเสียงผิด

มะ-ยงั ภนั -เต มา-ยงั ภนั -เต วิ-นา สายะ วี-นา-สา-ยะ, วี-นา-ซา-ยะ

วิ-สุง วิ-สงุ วี-สุง วี-สงุ ปะ-ริต-ตงั ปา-ริต-ตัง, ปะ-ลิต-ตัง

รัก-ขะ-ณตั -ถา-ยะ รา-คา-ณัต-ถา-ยะ พรู-ถะ พรู-ทะ, พู-ถะ

ติ-สะ-ระ-เณ-นะ-สะ-หะ ติ-ชา-ระ-เณ-นะ-ซา-หะ มงั -คะ-ลัง มงั -ขะ-ลัง, มงั -คา-ลงั

129

ปัญ-จะ ปาน-จะ พรัหม-มา-จะ-โลกา พรหม-มา-จา-โลกา
ธ-ิ ปะ-ต,ี -ธิ-ปา-ติ
วิ-ปัต-ติ-ปะ-ฏ-ิ พา-หา-ยะ วิ-ปะ-ต-ิ ปะ-ฏ-ิ พา-ห๎า-ยะ ธิ-ปะ-ติ สตั -ตา-ปะ-ระ-ชกั -ขะ

ทกุ -ขะ, ภะ-ยะ ทกุ -คะ, ภา-ยะ, ผะ-ยะ สตั -ตาป-ปะ-ระ-ชกั -ขะ อุ-โบ-สะ-ถงั
ปะ-ฏิ-คัณ-หา-ตุ
สะ-มนั -นา-คะ-ตงั สะ-มา-นา-คะ-ตงั อุ-โป-สะ-ถัง อา-ยา-จา-ถะ
สา-วัก-กะ-สงั โฆ
ญา-ตี-นงั โห-ตุ ญา-ติ-นงั โห-ตุ ปะ-ฏิค-คณั -หา-ตุ

ปัง-สุ-กู-ละ-จ-ี วะ-รา-นิ บัง-สะ-กู-ละ-จ-ี วะ-รา-นิ อา-ยา-จะ-ถะ

สะ-หวาก-ขา-โต สะ-วา-ขา-โต สา-วะ-กะ-สงั โฆ

๓. ลำดับข้ันตอนถูกต้อง

๓.๑ เมือ่ เดินเขําเขา๎ มาท่โี ต๏ะหมํบู ูชา กราบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครั้ง

๓.๒ เมือ่ กลําวคําบูชาพระรัตนตรยั จบ แลว๎ ยกมือข้ึนวนั ทา ๑ ครงั้ ถ๎าไมํวันทาหกั ๑ คะแนน

๓.๓ เม่อื กลําวคาํ นมัสการพระรตั นตรยั จบแตํละบทต๎องกราบ ถ๎าไมํกราบหรือกราบไมํครบหัก ๑ คะแนน

๓.๔ หมุนตัวเล็กน๎อยลักษณะกึ่งขวาหัน หันหน๎าไปกราบพระสงฆ์ ๓ ครัง้ แบบเบญจางคประดิษฐ์ (ถา๎ ไมํกราบ
พระสงฆห์ กั ๑ คะแนน)

๓.๕ ต๎องกราบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ คร้ัง กํอนกลาํ วคําอาราธนาศีล ๕, และอาราธนา ธรรม (ถา๎ ไมกํ ราบหัก ๑
คะแนน) และเมอื่ กลําวคาํ อาราธนาศลี ๕, ให๎ยกมือข้ึน “วนั ทา” ๑ ครัง้ (ถ๎าไมํวนั ทาหกั ๑ คะแนน) แตํถ๎ากลาํ วคํา
อาราธนาธรรมจบ ให๎กราบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครงั้ (ถ๎าไมํ กราบหัก ๑ คะแนน) ยกเว๎นระดับประถมศึกษาที่จับ
ฉลากได๎อาราธนาศีลอุโบสถ เม่ือกลําวจบให๎กราบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ คร้ัง (ถ๎าไมํกราบ ๓ ครัง้ หกั ๑ คะแนน)

๓.๖ เม่ือกลาํ วคําสมาทานศลี จบแลว๎ ต๎องนัง่ สงบน่ิงสักครูแํ ล๎วยกมือขึ้นกลาํ วคําวาํ “สาธุ” พร๎อมกัน ๑ ครั้ง (สมมติ
วาํ พระสงฆ์บอกอานสิ งสข์ องการรักษาศีล) ถ๎าไมํสงบนิ่งและไมํกลําวคาํ วํา “สาธุ” หัก ๑ คะแนน
๓.๗ ตอ๎ งยกมือขน้ึ “วนั ทา” ๑ คร้งั กํอนอาราธนาพระปริตรและกลําวจบอีก ๑ ครงั้ (ถ๎าไมยํ กมอื ขึ้น วันทาให๎ครบ
ทง้ั ๒ ครัง้ หกั ๑ คะแนน) ข๎อสงั เกต นักเรยี นบางคน วันทาตอนกลําวคําอาราธนาพระปริตรจบแลว๎ ไมํนํามือลงมา
ไว๎ในทําเตรยี มแตจํ ะนาํ ไปรวมกับการกราบเบญจางคประดิษฐ์เพื่ออาราธนาบทในบทตํอไปถ๎ากระทาํ เชนํ น้ี ถือวาํ ขาด
ไป ๑ ขัน้ ตอน(หกั ๑ คะแนน)
๓.๘ ตอ๎ งกราบเบญจางคประดษิ ฐ์ ๓ ครั้ง กอํ นอาราธนาธรรม (ถา๎ ไมํกราบหัก๑ คะแนน) เมอื่ กลําวคาํ อาราธนา
ธรรมจบแล๎ว ให๎กราบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครงั้ (ถา๎ ไมํกราบหกั ๑ คะแนน)

๓.๙การถวายทานใดๆกอํ นกลําวคาํ ถวายต๎องยกส่ิงของไปวางไว๎ข๎างหน๎าพระกํอนเชํนสาํ รับกบั ขา๎ วเครอ่ื ง
สังฆทาน เครอ่ื งผ๎าปุา ฯลฯ (ถ๎าไมยํ กไปหัก ๑ คะแนน) เสร็จแล๎วยกกลับทีเ่ ดมิ (ถ๎าไมยํ กกลับที่เดิมหกั ๑
คะแนน

130

๓.๑๐ กอํ นกลําวคําถวายทานใดๆ จะต๎องกราบเบญจางคประดษิ ฐ์ ๓ คร้งั (ถา๎ ไมํกราบหัก ๑ คะแนน) และกลาํ วคํา
นมัสการ คอื ตง้ั นะโม ๓ จบ พร๎อมกันกํอนเสมอ (ถ๎าไมํตง้ั นะโมหกั ๑ คะแนน) สวํ นคําถวายสังฆทาน ต๎องมีผ๎ูกลาํ ว
นาํ ท่เี หลอื กลาํ วตาม (ถา๎ ไมํกลําวนาํ หัก ๑ คะแนน)

๓.๑๑ เม่ือกลาํ วคําถวายทานจบตอ๎ งยกมือข้ึน “วนั ทา” ๑ คร้งั (ถ๎าไมํวันทาหกั ๑ คะแนน) แลว๎ ให๎ ตัวแทนเดนิ เขํา
เขา๎ ไปให๎ได๎ระยะหัตถบาส (๑ ศอก) จึงยกส่งิ ของขน้ึ ประเคน (ถวาย) พระสงฆ์ (ชายถวายกบั มือ พระสงฆไ์ ด๎ หญิงให๎
ถวายโดยวางบนผ๎าท่พี ระสงฆ์ทอดรบั ) เชนํ ถวายสงั ฆทาน ฯลฯ และการประเคนของพระ ตอ๎ ง ค๎อมตวั และควรใช๎
๒ มอื (ยกเวน๎ ผ๎าปาุ ไมํต๎องประเคน) หา๎ มใช๎จับตอํ ศอกหรือตํอมือ (ถ๎าตอํ ศอกหรือตํอมือหัก ๑ คะแนน)สํวนนักเรียน
ที่เหลือให๎นง่ั ประนมมอื รอ จนกวําตัวแทนกลบั ทเ่ี ดิมกอํ น จึงลดมือลง (ถา๎ ไมปํ ระนมมือหัก ๑ คะแนน) แล๎วจงึ กราบ
เบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครงั้ พร๎อมกนั (ถา๎ ไมํกราบหกั ๑ คะแนน)

๓.๑๒ การกราบเบญจางคประดิษฐ์ อาราธนาศีล สมาทานศีล อาราธนาพระปรติ ร อาราธนาธรรมกลําว คําถวาย
สงั ฆทานทุกชนดิ กลําวคาํ บูชาข๎าวพระพทุ ธและลาข๎าวพระพุทธ จะตอ๎ งอยใูํ นทาํ นั่งคุกเขาํ ตลอดเวลา (ถา๎ ไมํ
นง่ั คกุ เขาํ หัก ๑ คะแนน) สวํ นการกรวดน้ํา ใหน๎ ง่ั พับเพยี บ

๓.๑๓ กอํ นกลับต๎องหมุนตวั หันหน๎ากลับหาพระพุทธรูปแล๎วกราบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ คร้ัง แลว๎ เดิน เขําออกไปเป็น
เสร็จพธิ ี) ถา๎ ไมกํ ราบลาพระพุทธรูปหกั ๑ คะแนน)

๔. น้าเสยี ง, ทานอง, ความไพเราะ

๔.๑ น้ําเสียง เปน็ ธรรมชาตทิ ีเ่ ปลงํ ออกมาดว๎ ยความมนั่ ใจ ชัดเจนเต็มเสียง (แตไํ มํเปน็ แบบตะโกน)

๕. กรยิ ามารยาทตลอดการแข่งขนั
จะตอ๎ งปฏิบตั ิไดส๎ มบรู ณถ์ กู ต๎องตามแบบวฒั นธรรมไทยและกริ ิยามารยาทสภุ าพเรียบรอ๎ ยตลอดการ แขํงขันเพ่ือเป็น
การแสดงความเคารพตํอองค์พระพุทธรปู และพระสงฆ์ เมื่อดูแล๎วพธิ กี รรมนนั้ มีความศักดส์ิ ทิ ธิ์ นาํ เล่ือมใส มิใชํทํา
เลํนๆหรือนง่ั หัวเราะไปดว๎ ย ใหน๎ ัง่ ตามปกติไมํต๎องเกร็งตัว เพยี งแตํน่งั ตัวตรงนงิ่ ไมลํ ุกล้ีลุกลน
สายตาทอดลงเบ้ืองหนา๎ แตํพองาม (ประมาณ ๑ เมตร สายตาไมทํ อดสํายไปมา) มอื ที่พนมกต็ ๎องน่งิ คือ ต๎องสาํ รวม
ทกุ อริ ยิ าบถ (ถา๎ กราบเบญจางคประดิษฐผ์ ดิ หกั ๑ คะแนน และถ๎าไมํสํารวมหักตํางหากอีก ๑ คะแนน)
๖. ความพรอ้ มเพยี ง
ความพร๎อมเพยี งทั้งการออกเสียงและการปฏิบัติตอ๎ งพร๎อมกันทุกข้ันตอน เชนํ การเดินเขาํ การกราบ เบญจางคประ
ดษิ ฐ์ ฯลฯ (เวลาหักคะแนนแยกกนั คือหกั เฉพาะตอนกราบสํวนหน่งึ และตอนออกเสียงอีกสวํ นหนึ่ง)

❍ เกณฑ์การคดั เลือกกรรมการ
คุณสมบัติของผ๎เู ป็นกรรมการตดั สินการประกวดกลําวคาํ อาราธนาและถวายทานในพุทธศาสนพิธี ๑. เป็นผ๎ู
มีความยุตธิ รรม ไมํมคี วามลาํ เอียงดว๎ ยอคติ ๔
๒. เป็นผู๎มีความร๎คู วามเข๎าใจในระเบียบ กติกา และกฎเกณฑก์ ารตัดสินตาํ งๆ
๓. เปน็ ผ๎ทู รงคณุ วฒุ ทิ ี่มีความร๎ูดา๎ นศาสนพิธีเป็นอยํางดี
๔. เป็นผูม๎ คี วามประพฤตเิ หมาะสม มีคุณธรรมเปน็ ท่ีนาํ เคารพนบั ถือ
๕. ตอ๎ งไมํมนี ักเรยี นของตนเข๎าประกวดหรอื ฝึกสอนในขณะที่ทาํ หน๎าทเี่ ปน็ กรรมการตัดสิน

131

❍ ระเบียบวิธกี ารจดั สถานทีก่ ารประกวด
๑. หอ๎ ง หรอื สถานท่ีอันเหมาะสมควรแกํการประกวด เชํน โบสถ์ ศาลาการเปรียญ หรือห๎องประชมุ เป็น ต๎น แลว๎ แตํ
ผ๎ูรับผิดชอบเห็นสมควร
๒. ตอ๎ งตงั้ โต๏ะหมํบู ูชาอาจจะเป็นหมูํ ๕ หมูํ ๗ หรอื หมํู ๙ ก็ได๎ พรอ๎ มพระพุทธรปู ธูป เทยี น และดอกไม๎ เพ่ือรกั ษาไว๎
ซึ่งเอกลกั ษณข์ องสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
๓. ควรเตรยี มพรมหรือเสอ่ื ปูหนา๎ โต๏ะหมบํู ชู า
๔. ควรเตรียมธงชาติและพระบรมฉายาลักษณ์จํานวนเทํากับจุดหรือสถานที่ประกวดให๎เหมือนๆ กัน ทั้งน้ี การต้งั ธง
ชาติและพระบรมฉายาลกั ษณ์ ใหข๎ น้ึ อยูํกับคณะกรรมการดําเนนิ งาน
๕. ควรเตรียมโตะ๏ สาํ หรับวางอุปกรณข์ องคณะกรรมการซงึ่ อาจเป็นโต๏ะยาวก็ได๎ และเกา๎ อี้ ให๎พอดีกับ
คณะกรรมการตัดสนิ อาจจะเป็น ๓ ทาํ น ๕ ทาํ น หรือมากกวาํ นนั้ ข้ึน อยกํู ับผูร๎ บั ผิดชอบวําจะเชญิ คณะกรรมการ
ตดั สินกิจกรรมน้ีกที่ ําน
๖. ตดิ ตัง้ ปูายชื่อคณะกรรมการตดั สนิ ตามจํานวนผต๎ู ัดสนิ
๗. หากบางสถานทีต่ อ๎ งการให๎เสียงดังออกไปนอกสถานท่ีประกวดก็ควรเตรียมไมค์และเคร่ืองขยายเสียง
๘. ควรเตรียมเครอื่ งสังฆทานหรือเครอื่ งไทยธรรม สาํ หรับทีมทง้ั ๒ ระดับไว๎ เนํืองจากใช๎เป็นสํวนหนํึง ของการ
ประกวดกลําวคําอาราธนาและคําถวายทานในพุทธศาสนพธิ ี
๙. ควรเตรียมท่กี รวดนํา้ วางไว๎ สําหรบั ทีมทเ่ี ข๎าประกวดระดับมธั ยมศึกษา (อาจจัดให๎มีท่กี รวดนํา้ หรอื ไมํ มีก็ได๎ ) ทงั้ นี้
ขึ้นอยกูํ ับดุลพนิ จิ ของผร๎ู ับผิดชอบ
๑๐.ควรปูอาสนะด๎านซ๎ายมือพระพทุ ธรูปและเตรียมผา๎ รับประเคนไว๎ดว๎ ยเพือ่ จําลองหรือสรา๎ ง สถานการณ์คล๎ายกบั
การถวายสงั ฆทานเสมอื นจริง

รางวัลในการประกวด สํานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกํน เขต ๔ ได๎กาํ หนดรางวัลในการแขงํ ขนั
การจัดประกวดกลําวคําอาราธนาและถวายทานในพุทธศาสนาพธิ ี ไวด๎ งั นี้

๑. รางวลั ชนะเลศิ รับทุนการศึกษา ๓,๐๐๐ บาท พรอ๎ มเกียรตบิ ตั ร
๒. รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ ๑ รบั ทุนการศึกษา ๑,๐๐๐ บาท พร๎อมเกยี รตบิ ตั ร
๓. รางวลั รองชนะเลิศอันดบั ๒ รับทุนการศึกษา ๑,๐๐๐ บาท พรอ๎ มเกียรติบตั ร
๔. รางวัลรองชนะเลิศอันดบั ท่ี ๓ รับทนุ การศึกษา ๑,๐๐ บาท พร๎อมเกียรตบิ ัตร
๕. รางวลั ชมเชย รบั ทนุ การศึกษา ๕๐๐ บาท พร๎อมเกียรติบตั ร

132

บรรณานกุ รม

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (๒๕๕๖). คู่มือการปฏบิ ตั ิศาสนพิธีเบ้อื งต้น. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุม
สหกรณก์ ารเษตรแหํงประเทศไทย.

พระมหาปรีชา ปภสฺสโร

https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/๓๓๒๒ ค๎นเมอ่ื ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๔

กณั หญ์ าวีพ์ คงศรนี าํ น

https://kroopu.wordpress.com/๒๐๑๒/๐๗/๐๘/ คน๎ เมอ่ื ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๖๔
สํานักงานพระพุทธศาสนาจงั หวัดลาํ ปาง
https://lpg.onab.go.th/th/content/category/detail/id/๗๒/iid/๔๖๐ ค๎นเมอ่ื ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๖๔

คมูํ ือ “มคั นายกนอ๎ ย” สํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกํน เขต ๔

133

คาส่ังสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต ๔

ท่ี ๔๐๒ /๒๕๖๔

เรอื่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการจัดทาคมู่ ือ “ มคั นายกน้อย”

--------------------------------------------

การจัดการศึกษามีความสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน กระทรวงศึกษาธิการโดยรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนท้ังในด้านการจัดการเรียนการสอน และจัด
กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน เพ่ือสร้างองค์ความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และ
ประสบการณ์ มีทักษะการดารงชีวิตท่ีเกิดจากการฝึกหัด สามารถใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาตนเองและ
ประกอบอาชีพ อีกด้านหนึ่งคือการบ่มเพาะปลูกฝัง ปลูกจิตสานึกให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ
ตอ่ ตนเอง สังคม และประเทศชาติ เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถดารงตนอยรู่ ่วมกับผู้อน่ื ไดอ้ ยา่ งมีความสุข

เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนและยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนคุณธรรม ศีลธรรม ในสถานศึกษา
กลุ่มส่งเสริมจัดการศึกษา สานักงานลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษาขอนแก่น เขต ๔ จะได้ดาเนินการจัดทาคู่มือมัคนายก
นอ้ ย โดยรวบรวมบทสวด ศาสนพิธี คาถวายทาน และข้นั ตอนการปฏิบตั ิตนเปน็ พุทธศาสนิกชนที่ดี

เพื่อให้การดาเนินจัดทาคู่มือมัคนายกน้อย เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุตามวัตถุประสงค์จึงแต่งตั้ง
คณะกรรมการดาเนินการ ดังตอ่ ไปน้ี

๑. คณะกรรมการทป่ี รกึ ษา ประกอบด้วย

๑.๑ นายชาญกฤต นา้ ใจดี ผอ.สพป.ขอนแกน่ เขต ๔

๑.๒ นายบัญชา เสนาคูณ รอง ผอ.สพป.ขอนแก่น เขต ๔

๑.๓ นายวโิ รจน์ คอ้ ไผ่ รอง ผอ.สพป.ขอนแกน่ เขต ๔

๑.๔ นายชชั วาล อาราษฎร์ รอง ผอ.สพป ขอนแก่น เขต ๔

๑.๕ นางสาวศุภิสรา พรหมเทศ นกั ทรัพยากรบุคคล ชานาญการพิเศษ

ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ผอ.กล่มุ สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษา สพป.ขอนแกน่ เขต ๔

๒. คณะทางาน ประกอบดว้ ย รอง ผอ.สพป.ขอนแก่น เขต ๔ ประธานคณะทางาน
๒.๑ นายวิโรจน์ ค้อไผ่ อดตี ผอ.รร.บ้านหนองโก รองประธานคณะทางาน
๒.๒ นายสุริยา อนิ ทรจ์ ันทร์ อดีต ผอ.รร.บ้านพระบาทท่าเรอื
๒.๓ นายสุริยา ชัยวงศ์ทิตย์ ผอ.รร.บ้านผกั หนาม คณะทางาน
๒.๔ นายโยธนิ นาอดุ ม ผอ.รร.บา้ นพระบาททา่ เรอื คณะทางาน
๒.๕ นายดารงศักด์ิ สรุ โิ ย ผอ.รร.น้าพองประชานกุ ลู คณะทางาน
๒.๖ นายชชั ชัย โชมขนุ ทด คณะทางาน

คํมู ือ “มคั นายกน๎อย” สํานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกํน เขต ๔

134

๒.๗ นายอัศนยั วารีศรี ผอ.รร.บา้ นขนุ ดา่ น คณะทางาน

๒.๘ นายชุมพล ทองตระกูล ผอ.รร.อนุบาลเขาสวนกวาง คณะทางาน

๒.๙ นายโชคชยั เรืองแหล่ ผอ.รร.ชมุ ชนดูนสาด คณะทางาน

๒.๑๐ นางลัชรี เดชโยธิน ผอ.รร.บา้ นคาครง่ึ คณะทางาน

๒.๑๑ นายสฤษฎ์ เฝ้าทรพั ย์ ผอ.รร.บา้ นโคกใหญ่ คณะทางาน

๒.๑๒ นางนภารตั น์ บญุ หนัก ผอ.รร.บ้านคาแก่นคูณ คณะทางาน

๒.๑๓ นางสาวบุษบง ไทยวังชัย ผอ.รร.บา้ นสองคอนศิรคิ รุ ุราษฎร์ คณะทางาน

๒.๑๔ นางวราพร ชัยอาสา ผอ.รร.บา้ นโนนศลิ าราศรี คณะทางาน

๒.๑๕ นายสมเกยี รติ สารสม ผอ.รร.หนองขามพทิ ยาคม คณะทางาน

๒.๑๖ นายปราริชญ์ นามคณุ ผอ.รร.บา้ นหว้ ยเตย คณะทางาน

๒.๑๗ นายไพโรจน์ ปฏเิ ตนงั ผอ.รร. บา้ นโนนสว่างหนองตะนา คณะทางาน

๒.๑๘ นายอภณิ ัฐ นาเลาห์ รองผอ.รร.อนบุ าลเขาสวนกวาง คณะทางาน

๒.๑๙ นางวรพร ดษิ ฐเกสร รองผอ.รร.บา้ นพระบาทท่าเรือ คณะทางาน

๒.๒๐ นางสาวศุภวรรณ ศรีสขุ ครู รร.อนุบาลเขาสวนกวาง คณะทางาน

๒.๒๑ นายสุรนิ ทร์ สรรพส์ มบัติ ครู รร.บ้านโนนศิลาราศรี คณะทางาน

๒.๒๒ นายภทั รานันท์ ชัยอาสา ครู รร.บ้านโนนศิลาราศรี คณะทางาน

๒.๒๓ วา่ ที่รอ้ ยตรปี ฏิญญา คลังกลาง ครู รร.หนองขามพทิ ยาคม คณะทางาน

๒.๒๔ นางสาวกรกนก กา้ นสวุ รรณ ครู รร.บา้ นพระบาททา่ เรือ คณะทางาน

๒.๒๕ นายสมบัติ ละเลศิ ครู รร.บา้ นขุนดา่ น คณะทางาน

๒.๒๖ นายเอนกพงษ์ ปงกอ๋ งแก้ว ครู รร.บ้านขนุ ดา่ น คณะทางาน

๒.๒๗ นายบญุ มี วทิ ยาสทิ ธ์ิ ครู รร.บา้ นขนุ ด่าน คณะทางาน

๒.๒๘ นายสันติ จ้าแพงจนั ทร์ ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการพิเศษ คณะทางาน

๒.๒๙ นางสาวกรรยา จติ ฟงุ้ ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการพเิ ศษ คณะทางาน

๒.๓๐ นางศริ ิ นาหนองตมู ครู รร.บ้านผักหนาม คณะทางานและเลขานกุ าร

๒.๓๑ นายมาก มุมไธสง ธุรการโรงเรียน(ช่วยราชการ)คณะทางานและผชู้ ่วยเลขานุการ

ให้คณะกรรมการท่ีได้รับแต่งต้ังจัดทาคู่มือมัคนายกน้อย ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความรับผิดชอบ วิริยะอุตสาหะ
เอาใจใส่ เพือ่ ให้การดาเนินงานบรรลุวตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี าหนด เกดิ ผลดตี อ่ ทางราชการต่อไป

ส่งั ณ วนั ท่ี ๑๕ เดือน ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายชาญกฤต นา้ํ ใจด)ี
ผูอ๎ ํานวยการสาํ นกั เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกํน เขต ๔

คูมํ ือ “มัคนายกน๎อย” สํานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาขอนแกนํ เขต ๔


Click to View FlipBook Version