003269
รายงานผลการปฏิบัติงาน
เพื่อรบั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. OBEC AWARDS
ประจาปกี ารศกึ ษา 2564
ครผู สู้ อนยอดเยยี่ ม
ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนการสอนยอดเย่ียม
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กจิ กรรมแนะแนว
นางสาวนชุ มาศ สวัสดพ์ิ าณิชย์
ตาแหนง่ ครูชานาญการ
โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก
สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา มหาสารคาม
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ก
คำนำ
รายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS)ประจำปี 2564
ประเภทครูผู้สอนยอดเย่ียม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษายอดเยี่ยม ระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย กิจกรรมแนะแนว เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นสำหรับการประเมินการคัดเลือกเพื่อขอรับรางวัลทรงคุณค่า
สพฐ. (OBEC AWARDS) ของ นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณิชย์ ตำแหน่งครู โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รัชมัง
คลาภิเษก รายละเอียดประกอบด้วย ขอ้ มลู ท่ัวไปของผขู้ อรับการประเมิน คุณสมบัติเบื้องต้น องค์ประกอบ
เฉพาะด้าน และองคป์ ระกอบทีเ่ ป็นตวั ชว้ี ดั รว่ ม ซง่ึ ไดน้ ำเสนอรายละเอยี ดตามตัวชี้วัด
หวังว่าเอกสารเล่มน้ี จะอำนวยความสะดวกต่อการพิจารณาของคณะกรรมการประเมินในการ
คัดเลือกให้ได้รับรางวัลทรงคุณ ค่า สพ ฐ . (OBEC AWARDS) ประจำปี 2564 อย่างดีย่ิงคร้ังน้ี
จะเป็นการสรา้ งขวัญและกำลงั ใจให้ครูมพี ลงั ท่ีจะร่วมพัฒนาการศึกษาของชาติใหม้ คี ณุ ภาพยิ่งขึ้นตอ่ ไป
(นางสาวนุชมาศ สวสั ดพ์ิ าณชิ ย์)
ตำแหนง่ ครู
โรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รชั มงั คลาภเิ ษก สพม. มค
ข
คำรับรองเอกสาร
ข้าพเจ้า นางสาวนุชมาศ สวัสด์ิพาณิชย์ ตำแหน่ง ครูชำนาญการ สังกัด สำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษามัธยมศึกษา มหาสารคาม ขอรบั รองว่าสำเนาเอกสารประกอบการประเมิน ตามแบบรายงานสรปุ ผล
การปฏิบัติงานของตนเอง (Self Report) ตามองค์ประกอบและตัวชี้วัด ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือ
การศึกษายอดเย่ียม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว รหัส
003269 ประจำปีการศึกษา 2564 เสนอเพ่ือขอรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครั้งท่ี 11
ประจำปีการศึกษา 2564 เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ ผู้รายงานได้สำเนาเอกสารจาก
ต้นฉบับจริงทุกประการ และขอรับรองว่าข้าพเจ้าเปน็ ผู้มีคุณสมบัติตรงตามท่ีกำหนดทุกประการ และข้อความ
ทีข่ ้าพเจา้ เขียนไวใ้ นรายงานพรอ้ มทัง้ เอกสารหลักฐาน ถกู ต้องตามความเป็นจรงิ หากตรวจสอบภายหลงั พบว่า
ข้าพเจ้ามีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามที่กำหนด หรือย่ืนเอกสารหลักฐานอันเป็นเท็จ ให้ถือว่าข้าพเจ้าหมดสิทธิเข้า
รว่ มการประกวด และจะไม่เรยี กรอ้ งสทิ ธใิ ดๆ
จึงลงลายมือชอ่ื ไว้เปน็ หลักฐาน
ลงชื่อ
(นางสาวนุชมาศ สวัสดิพ์ าณิชย์)
ตำแหน่ง ครชู ำนาญการ
วนั ที่ 1 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2565
การตรวจสอบและรับรองของส่วนราชการต้นสังกดั
ได้ตรวจสอบแล้วรบั รองวา่ ขอ้ มูลถกู ต้อง และเปน็ ความจริง
ลงช่อื
(นางสาวสนุ ิษา บวั ดง)
ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รชั มงั คลาภเิ ษก
สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษามหาสารคาม
วันที่ 1 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2565
สารบัญ ค
เร่ือง หนา้
คำนำ ก
คำรับรอง ข
สารบญั ค
แบบประวัติครผู ้สู อนยอดเย่ียมท่เี สนอเพอ่ื รับการคดั เลอื ก 1
รางวลั ทเี่ สนอขอ 1
คุณสมบัติเบื้องตน้ 2
การประเมินเฉพาะด้าน 11
การประเมินตวั ชว้ี ัดเฉพาะ 11
11
ตวั ชวี้ ดั เฉพาะ : องคป์ ระกอบที่ 1 คุณภาพ 11
1. คณุ ลกั ษณะของนวตั กรรม 25
2. คณุ ภาพขององค์ประกอบในนวัตกรรม 29
3. การออกแบบนวัตกรรม 30
4. ประสิทธภิ าพของนวัตกรรม 32
32
ตวั ชีว้ ดั เฉพาะ : องค์ประกอบที่ 2 คุณประโยชน์ 33
1. ความสามารถในการแกป้ ัญหาหรอื พฒั นา 34
2. ประโยชน์ต่อบคุ คล 37
3. ประโยชน์ตอ่ หนว่ ยงาน 37
38
ตัวชว้ี ดั เฉพาะ : องค์ประกอบท่ี 3 ความคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรค์ 44
1. ความแปลกใหม่ของนวตั กรรม 44
2. จดุ เดน่ ของนวตั กรรม 44
45
การประเมนิ ตัวชวี้ ดั รว่ ม 45
องคป์ ระกอบที่ 1 ผลท่ีเกดิ กับผู้เรยี น 46
1. ผลทเ่ี กดิ กับ ผู้เรยี น 47
1.1 ดา้ น คณุ ลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ 48
1.2 ผลงาน / ชนิ้ งาน / ภาระงาน / ผลการปฏิบตั ิงาน 48
1.3 การเผยแพรผ่ ลงานนักเรยี น 48
1.4 การไดร้ บั รางวลั / ยกย่อง เชดิ ชู 48
องคป์ ระกอบที่ 2 ผลการพัฒนาตนเอง
1. เปน็ แบบอย่างและเปน็ ทีย่ อมรับจากบุคคลอื่น ๆ 49
1) พัฒนาตนเองในด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
2) ปฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ งทดี่ ตี ามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3) น้อมนำแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ในการจดั กจิ กรรม
การเรียนการสอนจนไดร้ ับการยอมรบั หรอื การยกย่องเชิดชูจากหนว่ ยงาน/
องค์กรภาครฐั ระดบั เขต/จังหวัด
ง
สารบัญ(ต่อ)
เร่ือง หน้า
4) น้อมนำแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั กิจกรรม 49
การเรียนการสอนจนได้รับการยอมรับหรอื การยกยอ่ งเชดิ ชูจาก 50
หนว่ ยงาน/องคก์ รระดับชาติ 50
53
2. พัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง 55
สว่ นที่ 1 การได้รับการพฒั นา 55
ส่วนท่ี 2 การพัฒนาตนเอง 55
56
องคป์ ระกอบที่ 3 การดำเนนิ งาน / ผลงานทเ่ี ป็นเลศิ 56
1. การนำองคค์ วามรจู้ ากการได้รับการพัฒนา หรือการพฒั นาตนเองไปใชป้ ระโยชน์ 57
1) นำไปพัฒนาผู้เรยี นแบบองคร์ วมได้ ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการและเจตคติ 57
2) นำไปบรู ณาการกับหน่วย/เรื่องอ่ืนๆ ได้ 58
3) นำไปใช้บรู ณาการกบั รายวิชาอนื่ ๆ ได้ 58
4) นำไปใชเ้ ปน็ ต้นแบบเผยแพรข่ ยายผลได้ 59
5) เชื่อมโยง/นำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน 65
2. การแกป้ ญั หา /การพัฒนาผเู้ รียน
1) การแกป้ ัญหา / พฒั นาผู้เรียนโดยใชก้ ระบวนการวจิ ัยในชั้นเรียน 74
2) การแก้ปัญหา / พัฒนาผ้เู รียนโดยใชน้ วตั กรรมทางการเรยี นการสอน
3) การแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรยี นโดยใชร้ ะบบดูแลช่วยเหลอื ผเู้ รียน
ภาคผนวก
แบบสรุปผลปฏบิ ัติงานด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอนยอดเยยี่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 1
แบบสรปุ ผลปฏบิ ตั งิ านด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอนยอดเยี่ยม (OBEC AWARDS)
1.ชื่อรางวลั ทเี่ สนอขอ ครูผสู้ อนยอดเยย่ี ม
ช่ือ นางสาวนุชมาศ สวสั ด์ิพาณิชย์
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการ
ประเภท () บุคคลยอดเย่ียม
สงั กดั ( ) สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
() สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา
ดา้ น () นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษายอดเยีย่ ม
ระดบั ( ) กอ่ นประถมศกึ ษา
( ) ประถมศึกษา () มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
( ) มธั ยมศึกษาตอนตน้
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
( ) ภาษาไทย ( ) คณติ ศาสตร์
( ) วทิ ยาศาสตร์ ( ) สังคมศึกษา
( ) ศลิ ปะ ( ) สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
( ) ภาษาต่างประเทศ ( ) การงานอาชพี และเทคโนโลยี
( ) บูรณาการ
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น
() กิจกรรมแนะแนว
( ) กจิ กรรมนักเรียน
( ) กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์
นางสาวนชุ มาศ สวัสดพ์ิ าณิชย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภเิ ษก
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ตั ิงานด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนยอดเย่ยี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 2
คณุ สมบตั ิเบ้อื งต้น
1. ดำรงตำแหนง่ ครู ครูผู้ช่วย พนักงานราชการ ครอู ัตราจ้าง
นางสาวนุชมาศ สวสั ดิ์พาณิชย์ ได้ดำรงตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ
โรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รชั มังคลาภิเษก สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน โดยมี
เอกสารอา้ งองิ ดงั น้ี
- สำเนาบัตรประจำตวั เจา้ หน้าทข่ี องรฐั ตำแหนง่ ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาเลขท่ี
629722-04256-722 ออกโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วันออก
บตั ร 18 มกราคม 2562 หมดอายุ 17 มกราคม 2568 (สำเนาบัตรประจำตัวข้าราชการ)
2. ปฏิบตั หิ น้าที่ในการจดั การเรียนการสอนมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 2 ปี นบั ถึงวนั ทย่ี ่ืนขอรับการประเมิน
นางสาวนชุ มาศ สวสั ด์ิพาณิชย์ ได้ดำรงตำแหนง่ ครู มาแลว้ เป็นเวลา 12 ปี โดยพจิ ารณาจาก
สำเนา ก.พ. 7 ซึ่งได้รบั การบรรจุและแตง่ ตั้งใหร้ ับราชการ ตง้ั แตว่ ันท่ี 10 มถิ นุ ายน 2553 ถงึ ปัจจบุ ัน รวมเวลา
ไดป้ ระมาณ 12 ปี 1 เดอื น (เอกสารสำเนา ก.พ. 7)
3. เป็นผู้ไมเ่ คยถูกลงโทษทางวนิ ัยภายใน 2 ปนี บั ถงึ วันทย่ี ่นื ขอรบั การประเมนิ
นางสาวนชุ มาศ สวสั ดพ์ิ าณชิ ย์ เป็นผู้ประพฤตดิ ี ปฏบิ ัติชอบ ไมเ่ คยถกู ลงโทษทางวินยั ตลอด
ระยะเวลา 10 ปี ของการปฏบิ ัติราชการ โดยเฉพาะ 2 ปีย้อนหลัง ซงึ่ มคี วามประพฤตดิ ี พิจารณาจากการไดร้ บั
รางวลั ครดู ีไมม่ ีอบายมขุ จากสำนักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา ประจำปี 2563 ไดร้ บั รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC
AWARDS) ระดบั ชาติ ปี 2563 รางวลั ครูศรีรชั มงั คลาภิเษก ปี 2563 รางวลั แห่งความภาคภูมิใจมหงิ สาสายสบื
2563-2564 ครูทป่ี รกึ ษาโครงงานคุณธรรมระดบั ดีเย่ียม ปี 2564 รางวลั รองชนะเลศิ BP online ปี 2564
รางวัล OBEC AWARDS รองชนะเลิศชนะเลิศระดับชาติ รางวลั ครดู ีไม่มีอบายมขุ จากสำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา
นางสาวนุชมาศ สวัสดพ์ิ าณชิ ย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รชั มังคลาภิเษก
สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ัตงิ านด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอนยอดเยย่ี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 3
4. มีความประพฤติในการครองตน ครองคน ครองงาน เป็นแบบอย่างที่ดีและยอมรับของบุคคลในวชิ าชีพ
และสังคม
4.1 การครองตน (มีคุณธรรม) จริยธรรมทพ่ี ึงประสงค์ พิจารณาคุณสมบัตดิ งั นี้
ข้าพเจา้ สำนกึ อยู่เสมอวา่ ตนเองเปน็ ครูตอ้ งเป็นตัวอยา่ งทด่ี ีให้กบั ลูกศิษย์โดยยึดถอื แนวปฏบิ ัตใิ น
จรรยาบรรณครู รักและเมตตาตอ่ ศิษย์ โดยใหค้ วามเอาใจใส่ ช่วยเหลือสง่ เสริม ให้กำลงั ใจในการศกึ ษาเล่า
เรยี นแก่ศษิ ยโ์ ดยเท่าเทียมกนั อบรม สั่งสอน ฝกึ ฝนสร้างเสรมิ ความรู้ ทักษะและสรา้ งนสิ ยั ท่ถี กู ตอ้ งดงี ามใหแ้ ก่
ศิษย์อยา่ งเตม็ ความสามารถด้วยความบริสุทธิใ์ จ สรา้ งขวญั และกำลังใจในโอกาสสำคัญตา่ ง ๆ ประพฤติ
ปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ีแก่ศษิ ยท์ งั้ ทางกาย วาจาและจิตใจ ไมก่ ระทำตนให้เป็นปฏิปกั ษต์ ่อความเจรญิ ทาง
กาย สตปิ ญั ญา จติ ใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์ ไม่แสวงหาประโยชน์อนั เปน็ อามิสสินจ้างจากศิษยใ์ นการ
ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีตามปกติ และไม่ใช้ใหศ้ ษิ ยก์ ระทำการใดๆอันเป็นการหาผลประโยชน์ให้แก่ตนโดยชอบ พัฒนา
ตนเองท้ังดา้ นวชิ าชพี ดา้ นบุคลกิ ภาพและวิสยั ทศั นใ์ หท้ ันตอ่ การพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สังคม และ
การเมอื งอยเู่ สมอ รกั และศรัทธาในวชิ าชีพครูและเปน็ สมาชิกทดี่ ีขององคก์ รวิชาชพี ครู ช่วยเหลือ เก้อื กลู ครู
และชมุ ชนในทางสรา้ งสรรค์ ประพฤติ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผ้นู ำในการอนุรกั ษ์และพัฒนาภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรม
ไทยได้นำมาเป็นแนวทางในการทำหน้าทค่ี รู โดยอบรมส่งั สอนลูกศิษย์ด้วยความรับผิดชอบต่อหนา้ ท่ี สอน
เน้ือหาความรู้ควบคู่ไปกบั คณุ ธรรม จริยธรรมและทักษะชีวติ ในด้านตา่ งๆ ข้าพเจา้ เป็นผมู้ ีวินยั ในตนเอง
ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนอย่ใู นกฎระเบียบของโรงเรยี นและระเบียบทางราชการ มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติ
หนา้ ท่ีท่ไี ด้รบั มอบหมายอย่างเต็มกำลังความสามารถ มีความรบั ผดิ ชอบและเอาใจใส่ต่อการปฏบิ ตั ิหน้าทส่ี อน
ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รายวิชาท่ีรบั ผิดชอบและแนะแนว ไม่ละทงิ้ การปฏิบัติหน้าท่ี ทำงานเต็ม
เวลาเพ่ือมุ่งเปา้ หมายหรอื คณุ ภาพของงานทีป่ ฏบิ ตั ิ งานทรี่ ับผดิ ชอบจึงประสบความสำเร็จทกุ ครัง้ นอกจากน้ี
ข้าพเจ้าไมเ่ คยถกู สอบทางวินัย ดำเนินชีวติ ดว้ ยความพอเพยี งและไมม่ ีปญั หาหน้ีสิน พร้อมกันนี้ข้าพเจา้ ไม่เคย
สร้างปญั หาหรอื อุปสรรคกบั เพื่อนรว่ มงานและผบู้ งั คบั บัญชา ขา้ พเจา้ ไดเ้ สยี สละเวลาและความสขุ สว่ นตัวเพือ่
ประโยชน์ในการทำงานสว่ นรวมอุทิศเวลาให้กบั ทางราชการและปฏิบตั ติ ามคำสง่ั ของผบู้ ังคับบัญชาอย่าง
เคร่งครัดโดยไม่เกีย่ งเวลาและไมย่ อ่ ท้อตอ่ อุปสรรค ข้าพเจ้าให้ความเคารพและ ยอมรบั นบั ถอื ผทู้ ่ีอาวุธโสกวา่
และทำตัวเป็นแบบอยา่ งที่ดแี ก่เพ่ือนร่วมงานและนกั เรียนจนเปน็ ทยี่ อมรบั ในโรงเรียน ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทกุ คน
เมอ่ื มีโอกาสและปฏิบตั ิตวั เป็นกลางทางการเมือง ไมฝ่ ักใฝห่ รอื เปน็ ฐานเสยี งของพรรคการเมืองใด ไปใช้สทิ ธิ์
เลอื กต้งั ตามระบบประชาธปิ ไตยและปฏบิ ตั ิหนา้ ทพ่ี ลเมอื งไทยที่ดี ขา้ พเจา้ ได้เขา้ รว่ มกจิ กรรมวันสำคัญทาง
ศาสนาและรกั ษาศีล 5 และนำคำสอนของพระบดิ าท่วี ่า “เม่ือมีโอกาสและมีงานให้ทำ ควรเตม็ ใจ ทำโดยไม่
จำเปน็ ต้องตง้ั ข้อแมห้ รือเงอื่ นไขอันใด ไวใ้ หเ้ ป็นเคร่อื งกดี ขวาง คนทีท่ ำงานไดจ้ รงิ ๆ นนั้ ไมว่ ่าจะจบั งานสง่ิ ใด
ยอ่ มทำได้เสมอ ถา้ ยงิ่ มี ความเอาใจใส่ มีความขยนั และซื่อสัตย์สุจริต กย็ ง่ิ จะช่วยให้ประสบผลสำเรจ็ ในงานท่ี
ทำสงู ขึ้น” ไว้เตอื นตนในการทำงานเสมอ จากการ การประเมนิ กล่มุ ตวั บง่ ชี้พ้ืนฐาน ตัวบง่ ชีท้ ่ี 6 ประสิทธผิ ล
ของการจัดการเรยี น การสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ จากการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554
– 2558) ของโรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รัชมงั คลาภเิ ษก อยู่ในระดับ ดี
นางสาวนชุ มาศ สวัสด์พิ าณิชย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รัชมงั คลาภเิ ษก
สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบัติงานด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอนยอดเยีย่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 4
รว่ มปลกู ปา่ เฉลมิ พระเกยี รติกบั นายอำเภอเชือก ถอดบทเรียนห้องเรียนธรรมชาติ
คณะกรรมการประชุมผปู้ กครอง คณะกรรมการดำเนินงานกีฬาภายในโรงเรียน
ครตู ิวในรายวชิ าวิทยาศาสตร์ให้ กศน.ปอพาน แบ่งปันโครงการมหงิ สาสายสืบให้โรงเรยี นปอพานหนองโน
4.2 การครองคน (ทำงานรว่ มกับผอู้ ื่นไดด้ ี เป็นท่ียอมรบั รกั ใคร่ของศษิ ย์ ผรู้ ่วมงานและ
ผบู้ งั คับบัญชา) พิจารณาจากกิจกรรม/การปฏิบตั ิดังตอ่ ไปนี้
นางสาวนชุ มาศ สวัสด์พิ าณชิ ย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รัชมงั คลาภเิ ษก
สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏบิ ัติงานด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนยอดเยย่ี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 5
ข้าพเจ้าไดป้ ฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรมพรหมวหิ าร 4 ประกอบดว้ ย เมตตา กรณุ า มทุ ิตา อเุ บกขา ขา้ พเจา้ มี
คุณลักษณะประจำตวั ทีแ่ สดงถึงการครองคน ดังนี้
1) มีบคุ ลกิ ภาพดี บคุ ลิกภาพเหมาะสมกับการเป็นครู แตง่ กายสะอาดถูกตอ้ งตามระเบียบของทาง
ราชการกำหนด การวางตนถูกต้องตามกาลเทศะ ทำให้ผู้คบหาสมาคมสบายใจไม่เห็นแกต่ วั เปน็ คนมีเหตุผล
มองโลกในแง่ดี ไม่ใชอ้ ารมณ์ในแกไ้ ขปญั หา อปุ นิสัยร่าเริง แจ่มใส ออ่ นนอ้ มถอ่ มตน ไม่เคยเอาเปรียบผ้อู ่ืน รบั
ฟงั ความคดิ เหน็ ของผ้อู ่ืนมาปรับปรงุ ตนเองและในการปฏิบัตงิ านให้ดียิง่ ขนึ้ สรา้ งความคุ้นเคยกบั ผอู้ ื่นได้งา่ ย
เพราะการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนหรืองานให้หน้าทจ่ี ะประสบผลสำเร็จหรือไม่นัน้ ขน้ึ อย่กู ับการตดิ ตอ่
ประสานงานกบั บคุ คลอน่ื อยูเ่ สมอ ตามปกติข้าพเจา้ มมี นษุ ยส์ มั พันธอ์ ยูแ่ ล้ว จึงสามารถเขา้ กบั คนอนื่ ไดง้ ่าย ทั้ง
ในวงราชการ เพ่อื นรว่ มงาน ผู้ปกครองเด็ก ผู้นำองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น และผมู้ าติดต่อราชการ จงึ ทำให้
งานส่วนตวั และงานราชการสำเร็จดว้ ยดี
2) มีมนษุ ยสมั พันธด์ ี สรา้ งความคนุ้ เคยกบั ผอู้ ่นื ไดง้ า่ ย เพราะการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้หรอื งานใน
หน้าที่จะสำเรจ็ หรอื ไมน่ นั้ ข้ึนอยกู่ บั การตดิ ตอ่ ประสานงานกับบคุ คลอนื่ เสมอ ตามปกตขิ ้าพเจา้ มีมนษุ ย์สมั พนั ธ์
จึงสามารถเข้ากบั คนอ่นื ไดง้ า่ ย ทงั้ ในวงราชการ เพอื่ นร่วมงาน ผ้ปู กครองเดก็ ผ้นู ำองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
และผมู้ าติดต่อราชการ จงึ ทำใหง้ านสว่ นตวั และงานราชการสำเรจ็ ดว้ ยดี การใชเ้ หตผุ ลในการตัดสินใจ เม่อื มี
ปัญหาข้าพเจ้าจะปรึกษาผบู้ ังคบั บัญชาและเพอ่ื นร่วมงาน เปน็ การตัดสินใจจากมติทปี่ ระชมุ เปน็ หลกั การ
ปฏิบตั งิ าน ในขณะเดยี วกันเพอ่ื นร่วมงานเมอ่ื มีปญั หาหรอื ผิดพลาดในการปฏบิ ตั งิ าน ขา้ พเจา้ จะไมต่ ำหนิ
ในทางตรงกันขา้ ม ข้าพเจ้าได้ให้กำลังใจและชว่ ยเหลือแก้ปัญหาดว้ ยเหตุผล ทำใหก้ ารปฏิบตั งิ านสำเร็จไปได้
ดว้ ยดี การยกย่องชมเชยผอู้ ื่น เม่ือบุคคลน้นั ประพฤตติ นได้ถกู ต้องและประสบผลสำเรจ็ รจู้ กั ยกย่องชมเชย
เพื่อนข้าราชการครูที่ส่งผลงานเขา้ ประกวดเป็นครูดเี ดน่ คุรุสภา เดก็ มคี วามประพฤติดี เรียนดี เด็กทแ่ี ต่งกาย
สะอาดเรียบร้อย จากการปฏบิ ตั งิ านของขา้ พเจา้ ในบางครัง้ มปี ัญหาเฉพาะหน้าตอ้ งทำการแกไ้ ข โดยอาศัย
ความเชอื่ มน่ั ในตนเอง ข้าพเจา้ ไม่ยอมใหป้ ัญหานนั้ ผา่ นไปและทำความเสยี หายให้กบั สว่ นรวมโดยเด็ดขาด
ดังนัน้ ข้าพเจ้าจึงไดร้ ับความไวว้ างใจจากผ้บู ังคบั บัญชา เพอ่ื นครูและบคุ คลในชมุ ชนให้มีสว่ นร่วมในการ
ปฏบิ ตั งิ านต่าง ๆ มากมาย การทำงานรว่ มกบั ผูอ้ นื่ ขา้ พเจ้าใช้หลกั กัลยาณมิตร และมีมนุษยสมั พนั ธ์ท่ีดี
สามารถทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่นื ได้ทกุ กลุ่ม ทุกเพศ และทุกวยั จึงไดร้ ับการยอมรับจากผ้บู รหิ ารโรงเรยี น ผู้ร่วมงาน
เด็ก ผู้ปกครองและประชาชนทัว่ ไป อีกทั้งมคี วามเอ้ือเฟ้อื เผ่ือแผ่ มีบุคลกิ ภาพทดี่ ี มีความสามารถประสานงาน
มีเหตผุ ลสามารถแกป้ ญั หาตา่ งๆได้ มเี ทคนคิ การพูด ชกั ชวน เสนอแนะ ใหก้ ำลงั ใจ ทำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื โดย
สามารถวางตวั ในการเป็นผู้นำ ผู้ตาม และเป็นผู้ให้ ผูร้ บั ทดี่ ี มหี ลักในการทำงาน มคี วามบรสิ ุทธย์ิ ุติธรรมและ
ทำงานอย่างโปรง่ ใส ปราศจากอคติ ยดึ ประโยชนข์ องเดก็ และส่วนรวมเป็นท่ีตัง้ จึงประสบความสำเร็จในการ
ทำงานเปน็ ทมี ได้รับการยอมรบั จากทุกฝ่ายท่เี ก่ียวขอ้ ง สามารถเป็นแบบอยา่ ง ทด่ี ไี ดแ้ ละมีผลในการครองคน
ดงั นี้
4.2.1 ร่วมกิจกรรมกบั ผ้รู ่วมงานในโรงเรียน
1) กิจกรรมส่งเสรมิ คุณธรรมและจรยิ ธรรม ด้วยการสวดมนต์ไหว้พระ การทำบุญไหว้
พระ รับศีล ฟงั เทศน์ทวี่ ัด การนงั่ สมาธิ มกี ารประกวดเดก็ ท่ีมมี ารยาทงาม การบันทกึ ความดี
2) กิจกรรมสง่ เสริมระเบยี บวนิ ยั ไดแ้ ก่ การเดนิ แถวเข้าช้ันเรยี น
3) กจิ กรรมการปฐมนิเทศ
4) กิจกรรมวนั ไหวค้ รู
5) กจิ กรรมวนั ภาษาไทยและวันสุนทรภู่
นางสาวนุชมาศ สวัสดพิ์ าณิชย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมงั คลาภเิ ษก
สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ตั งิ านด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอนยอดเยยี่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 6
6) กิจกรรมรณรงคแ์ ละต่อต้านยาเสพติด
7) กจิ กรรมการแข่งขนั กีฬาสีในโรงเรยี น กีฬาศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยฯ
8) กิจกรรมวันสำคัญ เช่น วันเข้าพรรษา วันอาสาฬหบูชา วันลอยกระทง บุญกฐิน
9) กจิ กรรมวนั เดก็ แหง่ ชาติ
10) กจิ กรรมทัศนศึกษาของนกั เรยี น
11) กจิ กรรมวันวิทยาศาสตร์แหง่ ชาติ
12) กจิ กรรมปจั ฉมิ นเิ ทศ (วันแห่งความภาคภูมิใจในความสำเร็จ)
13) กิจกรรมการจดั ค่ายอจั ฉรยิ ภาพทางด้านวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
14) กิจกรรมเข้าค่ายลูกเสือ-เนตรนารี
นอกจากการร่วมกจิ กรรมในโรงเรียนแล้ว ขา้ พเจา้ ยงั มโี อกาสได้รว่ มกจิ กรรมนอกโรงเรยี น อาทิ เช่น
การอบรม ศึกษาดูงาน การนำเสนอผลงาน การให้คำปรึกษาในการทำผลงานทางวิชาการของเพอ่ื นครู เชน่
เปน็ ครูพเ่ี ลย้ี งทปี่ รึกษาของนักศึกษาฝกึ สอนสาขาวทิ ยาศาสตร์จากมหาวทิ ยาลัยราชภฎั มหาสารคามเป็นต้น
4.2.2 จดั / รว่ มกจิ กรรมตามระบบดูแลชว่ ยเหลือเด็ก
1) การแก้ไขข้อบกพร่องของเด็ก ข้าพเจ้าจะศึกษาสาเหตุของปัญหาและจัดการ
แก้ปัญหาท่ีต้นเหตุ เพราะเด็กมีความแตกต่างระหว่างบุคคล บางคนมาจากครอบครัวยากจนขาดแคลน
ข้าพเจ้าแก้ปัญหา โดยร่วมเป็นคณะกรรมการพิจารณาจัดสรรทุนการศึกษาของโรงเรียนให้ หรือขอความ
ร่วมมอื จากชมุ ชนในการสนบั สนนุ ในการจัดหาทุนการศกึ ษาให้กับนกั เรยี นทเี่ รยี นดแี ตย่ ากจน
2) กิจกรรมออกเยีย่ มบ้านนกั เรยี น
3) จดั ทำเอกสารระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
4.2.3 ร่วมกิจกรรมกบั ชมุ ชน
1) การติดตอ่ ประสานงานกับผปู้ กครอง
1.1) การประชุมพบผู้ปกครองในวันปฐมนิเทศของนักเรียน ช้ีแจงระเบียบ วินัย
ของโรงเรียน หลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล หลักเกณฑ์การเลื่อนช้ันเรียน และการจบ
การศึกษา ทำให้ผู้ปกครองพึงพอใจและเข้าใจ ออกเยย่ี มนักเรียนและผู้ปกครองที่บ้านนักเรียนในทป่ี รึกษาเพ่ือ
ทราบ ความเปน็ อยู่ทางบา้ นเดก็ เป็นรายบุคคล สร้างสมั พันธก์ ันดรี ะหวา่ งผ้สู อนกับผู้ปกครองเดก็
1.2) การเชิญผู้ปกครองและบคุ คลในชมุ ชนเปน็ วทิ ยากรภายนอกใหค้ วามร้แู ก่เดก็
2) รว่ มกับคณะครชู ว่ ยเหลอื งานศพ สวดอภธิ รรมและเผาศพ
3) เชิญผู้ปกครองพฒั นาและร่วมงานกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรยี น
4) ผูป้ กครองร่วมมือแกไ้ ขความประพฤติของเดก็ ติดตามเด็กทขี่ าดเรยี นโดยไม่ทราบ
สาเหตุ โดยตามไปสอบถามท่บี า้ น โทรศัพท์พดู คยุ ถึงปัญหา และร่วมกันหาทางแกไ้ ขตอ่ ไป
นางสาวนุชมาศ สวสั ดพิ์ าณชิ ย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รชั มงั คลาภิเษก
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบตั ิงานดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนยอดเยยี่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 7
รว่ มบญุ กฐินกบั หมู่บา้ นโนนแร่ ปี 2563 ร่วมงานศพยายของนกั เรยี น
4.3 การครองงาน (รบั ผดิ ชอบ มุ่งม่ัน ต้ังใจทำงานตามภารกิจ/ทไ่ี ด้รับมอบหมายอยา่ งสร้างสรรค์
จนเกดิ ความสำเรจ็ )
ขา้ พเจ้ามคี วามอุตสาหะ ขยนั อดทน มุง่ ม่นั และรบั ผิดชอบต่อผลสมั ฤทธิ์ของงาน โดยยดึ หลกั การตาม
คำสอนของพอ่ กลา่ วคือ ทำงานใด ๆ ไม่วา่ ใหญ่หรอื เล็ก ควรอย่างย่งิ ทจ่ี ะต้ังเป้าหมาย ขอบเขตและ หลกั การ
ไวใ้ หแ้ นน่ อน เพราะจะชว่ ยใหส้ ามารถ ปฏิบตั มิ ุ่งเขา้ ส่ผู ลสำเร็จได้โดยตรง และ ถูกต้องพอเหมาะพอดี เป็นการ
ปอ้ งกนั และขจดั ความล่าช้า ความสนิ้ เปลือง ความเสยี เปล่า ทกุ อยา่ งได้อยา่ งสิ้นเชิง ข้าพเจ้ามคี วามมานะ
อตุ สาหะ มคี วามเพยี รตอ่ งานทุกงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากผู้บังคบั บัญชา
วทิ ยากรโครงการเยาวชนปกป้องผืนป่า รบั รางวัลโครงการมหิงสาสายสบื
นางสาวนชุ มาศ สวสั ด์พิ าณชิ ย์ โรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก
สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบตั ิงานดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนยอดเย่ยี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 8
วิทยากรการถอดบทเรียน เยย่ี มบา้ นนักเรียน
❖ รางวลั ทรงคุณคา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดบั ชาติ รองชนะเลิศระดบั เหรียญทอง ครผู ู้สอนยอด
เยย่ี ม ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรมแนะแนว ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการ
สอน ปี 2562
❖ กรรมการตัดสินโครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภททดลอง ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ในงานงาน
มหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของนกั เรียนปกี ารศึกษา 2562
❖ ไดร้ ับรางวลั ครดู ีศรรี ชั มังคลาภิเษก ปี 2562
❖ ได้รับรางวลั ครดู ีไม่มอี บายมุข ปีที่ 7 ปี 2563
5. มผี ลงานทเ่ี กิดจากการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
5.1 ผลการประเมนิ กลมุ่ ตวั บง่ ชพี้ ืน้ ฐาน ตวั บง่ ชที้ ี่ 6 ประสิทธผิ ลของการจัดการเรยี น การสอนที่เน้น
ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ จากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558) ผลการประเมินกลุ่มตัว
บง่ ช้ีพ้ืนฐาน ตวั บ่งชท้ี ี่ 6 ประสิทธผิ ลของการจดั การเรียน การสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั จากการประเมนิ
คณุ ภาพภายนอกรอบสาม อยู่ในระดับ ดี
5.2 มงี านวจิ ัยในช้นั เรียนที่สำเร็จเผยแพรแ่ ลว้
❖ การทดลองใช้หนงั สือบทเรยี นการต์ ูนเรื่อง ระบบรา่ งกาย ในการพัฒนาการเรยี นร้รู ายวิชา
วทิ ยาศาสตรข์ องนกั เรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2
❖ การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นโดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบ Active Learning ผา่ นรปู แบบ
KACHINO Model
❖ ผลงานการปฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) เรือ่ ง KACHINO Guidance Model “รู้ตน รู้คน รโู้ ลก
รู้พฒั นา” การแนะแนวเตรียมนกั เรยี นสู่อาชีพและการมงี านทำ
❖ การพัฒนารปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรรู้ ายวชิ าวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน (Project-
based Learning: PBL)
นางสาวนชุ มาศ สวสั ดพิ์ าณิชย์ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รชั มังคลาภิเษก
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบตั งิ านดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยย่ี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 9
6. ได้รบั รางวลั ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ
6.1 ได้รับรางวัลยกยอ่ งเชิดชูเกียรตจิ ากหน่วยงานภาครฐั /เอกชน เป็นท่ยี อมรับในวงวชิ าชพี
(ภายใน 2 ปี นับถึงวันที่ยน่ื ขอรบั การประเมิน)
❖ รางวลั ทรงคุณคา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับชาติ รองชนะเลศิ ระดับเหรียญทอง ครผู ูส้ อนยอด
เยี่ยม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรมแนะแนว ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรยี นการ
สอน ปี 2563
❖ ได้รบั รางวลั แหง่ ความภาคภูมใิ จมหิงสาสายสืบ 10 ปีซอ้ น ( พ.ศ. 2554- 2564 )
❖ นำเสนอโครงงานคณุ ธรรมเฉลิมพระเกียรติ “เยาวชนไทย ทำดีถวายในหลวง” ปีการศกึ ษา 2565
❖ รางวัลครูดีไมม่ ีอบายมุข เนือ่ งในวนั ครแู ห่งชาตปิ ระจำปีการศกึ ษา 2563
นางสาวนุชมาศ สวสั ด์พิ าณิชย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รชั มงั คลาภเิ ษก
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบตั งิ านดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอนยอดเยย่ี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 10
6.2 ไดร้ ับเชิญใหเ้ ป็นวิทยากรบรรยายหวั ขอ้ ตรงกับภารกจิ /งานทไี่ ด้รับมอบหมายอยา่ งนอ้ ย 2 ครง้ั /ปี
การศกึ ษา ระดบั สถานศึกษา/เขต
❖ วทิ ยากรอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารถอดยทเรยี น ณ สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษามหาสารคาม
❖ วทิ ยากรอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารดำเนินโครงการมหงิ สาสายสืบ ณ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รชั มงั คลา
ภิเษก จงั หวัดมหาสารคาม ภาคเรียนละ 2 ครง้ั รวมปลี ะ 4 ครงั้
6.3 ไดร้ ับเชิญให้เป็นวทิ ยากร/คดั เลือกใหแ้ สดงผลงานตนเองในระดบั ภาค/ชาต/ิ นานาชาติ
❖ ได้รบั รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดบั ชาติ รองชนะเลิศระดบั เหรยี ญทอง ครผู สู้ อน
ยอดเยี่ยม ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กิจกรรมแนะแนว ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื การเรยี น
การสอน ปี 2564
❖ รางวัลทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดบั ภาค รองชนะเลิศอนั ดบั ๒ ระดบั เหรียญทอง
ครูผูส้ อนยอดเย่ยี ม ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กจิ กรรมแนะแนว ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื
การเรียนการสอน ปี 2563
❖ ไดร้ ับรางวลั ระดับเหรียญทอง การประกวด Best Practice (ภาคอสี านตอนบน) กลุ่มโรงเรียนเฉลมิ
พระเกียรติรชั มังคลาภเิ ษก ระหวา่ งวนั ที่ 12-14 กมุ ภาพนั ธ์ 2563
6.4 มีงานเขยี นแสดงผลงาน/ความคิดเชิงสร้างสรรค์ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การจดั การเรยี นการสอน/การพฒั นา
ผ้เู รียนตามหลกั สตู รฯ/ระบบประกนั คุณภาพภายในเผยแพรผ่ ่านสือ่ สาธารณะไม่น้อยกวา่ 1 ครง้ั ตอ่ ภาค
เรยี น
❖ เพจมหงิ สาสายสบื -ครูเบล ใน facebook
❖ เพจตามรอยผีเสอื้ ใน facebook
❖ กลุม่ Kru BelLutiE-Chemistry ใน facebook
❖ จดั นทิ รรศการเปิดบา้ นวชิ าการ
เปิดบ้านวิชาการ ถอดบทเรียนหอ้ งเรยี นธรรมชาติ 2565
นางสาวนชุ มาศ สวัสดพิ์ าณิชย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก
สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ัติงานดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอนยอดเยยี่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 11
คุณสมบตั เิ ฉพาะ
ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอนยอดเย่ียม
การประเมนิ ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรยี นการสอนยอดเยยี่ ม มี 3
องค์ประกอบ ดงั น้ี
ตัวช้ีวัดเฉพาะดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอนยอดเยีย่ ม จำนวน
3 องคป์ ระกอบ ดงั น้ี
❖ องค์ประกอบท่ี 1 คณุ ภาพ
❖ องค์ประกอบที่ 2 คณุ ประโยชน์
❖ องค์ประกอบท่ี 3 ความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์
มีตวั ช้วี ดั รว่ ม จำนวน 3 องคป์ ระกอบ ดังนี้
❖ องคป์ ระกอบท่ี 1 ผลทเี่ กดิ กบั ผเู้ รียน
❖ องคป์ ระกอบท่ี 2 ผลการพัฒนาตนเอง
❖ องคป์ ระกอบท่ี 3 การดำเนินงาน/ผลงานทเ่ี ป็นเลิศ
องค์ประกอบที่ 1 คณุ ภาพ
ตวั ชว้ี ดั ที่ 1 คณุ ลักษณะของนวัตกรรม
นวัตกรรมที่นำมาเข้ารับการประเมินในคร้ังน้ีมีชื่อว่า “KACHINO Model” เป็นการจัดการ
เขียนการสอนเชิงรุก (Active Learning) ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนบันได 5 ข้ัน ตาม
แนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากล ซ่ึงเริ่มต้นจากการต้ังคำถาม ซ่ึงในกระบวนการนี้
นักเรยี นฝกึ การคดิ วเิ คราะห์ในการตัง้ คำถามโดยใช้ 5W1H มาเปน็ พืน้ ฐานในการกำหนดปัญหาหรอื ความสนใจ
ขั้นพ้ืนฐาน หลังจากที่กำหนดปัญหาหรือต้ังคำถามที่สนใจในการค้นคว้าหาคำตอบของความรู้แล้วน้ัน เข้าสู่
กระบวนการระดมแนวคิดร่วมกันผ่านกระบวนการทำงานเป็นกลุ่มเพื่อวางแผนเพื่อสืบค้นผ่านแหล่งเรียนรู้
หรือแหล่งสารสนเทศต่างๆ ตามความถนัดของแต่ละบุคคลและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มและในช้ัน
เรียนโดยครูคอยติดตามและอำนวยความสะดวกและแนะแนวทางให้นักเรียนเกิดแนวคิดเพิ่มเติมด้วยตัวของ
นักเรียนเองในการค้นคว้าหาความรู้ และสรุปองค์ความรู้ที่ได้ด้วยตนเองตามแนวทางที่ตนเองสนใจ จากนั้น
นำมาเสนอด้วยรูปแบบและวิธีการต่างๆด้วยเทคโนโลยี เช่น PowerPoint แผ่นพับสรุปความรู้ mind
mapping ตัดต่อVDO ซ่ึงต้องเน้นให้ใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมและสามารถสื่อสารขยายความได้อย่างมั่นใจ
ไม่ใช่อ่านเอกสารหน้าช้ันเรียนและไม่เน้นการทำรายงานทำรูปเล่มซึ่งเน้นเชิงปริมาณแต่ขาดคุณภาพทาง
วิชาการ มีการอา้ งอิงแหล่งที่มาได้ถูกตอ้ ง โดยหลงั จากทนี่ กั เรยี นแต่ละกล่มุ ไดน้ ำเสนอเสรจ็ ส้นิ ในชั้นเรียนแล้วผู้
ครูจะทำหน้าที่คอย Coaching & Mentoring ซึ่งในการ Coaching & Mentoring ครูผู้สอนจะทำในทุก
ขน้ั ตอนของกระบวนการบันได 5 ข้ัน เพื่อฝึกการคิดให้กับนักเรียน ซึ่งในขั้นน้ีครูจะสะท้อนผลการเรียนรู้ทันที
หลังจากที่นำเสนอใหเ้ หน็ จุดเด่นจุดด้อย และเปล่ียนเรยี นรู้ซ่งึ กันและกันเพ่ือนำไปปรบั ปรุงและพัฒนางานของ
ตนเองต่อไปให้ดีขึ้น ซึ่งจะเห็นลำดับพัฒนาการการเรียนรู้ของนักเรียนในการคิดแก้ปัญหาและพัฒนางานของ
นางสาวนุชมาศ สวัสด์พิ าณิชย์ โรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รชั มังคลาภเิ ษก
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ตั งิ านดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอนยอดเยยี่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 12
ตนเองอย่างเห็นได้ชัดเม่ือได้ดำเนินการนำเสนองานใหม่ เมื่อครูผู้สอนเห็นว่านักเรียนมีความพร้อมและช้ินงาน
ท่ไี ด้ศึกษามาความสมบูรณ์เหมาะสมแล้วจะเปิดโอกาสให้นักเรียนได้นำความรู้ของตนเองไปเสนอตอ่ สาธารณะ
หรือในเวทีต่างๆต่อไป เช่น กิจกรรมหน้าเสาธง ช่วงพักกลางวัน เสียงตามสาย การเผยแพร่ในเว็บไซต์ หรือลง
social media งานสปั ดาหว์ ทิ ยาศาสตร์ การจัดค่ายอัจฉริยภาพทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เป็นต้น
รูปแบบและวิธกี ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
KACHINO Guidance Model
K = Knowledge มคี วามรทู้ างวชิ าการ
A = Awareness มีความตระหนักรู้ นำความร้ไู ปใชอ้ ย่างมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
C = Can สามารถเรียนรู้ได้ สามารถทำได้ สามารถคดิ เชอ่ื มโยงได้
H = Head พัฒนาสมอง
= Heart พัฒนาจติ ใจ
= Hand พฒั นาทกั ษะการปฏิบตั ิ
= Health พฒั นาสขุ ภาพ
= Happy มคี วามสุข
I = Inquiry Method การเรียนรูแ้ บบสบื เสาะ
N = Nonstop ไมห่ ยดุ น่งิ ในการเรียนรู้
O = Open mind เปดิ ใจทจ่ี ะเรียนรู้
----------------------------------------------------------------------------------
Five Step to development
Q = Learning to Question = ตงั้ ประเด็นคำถาม
S = Learning to Search = สืบคน้ ความรู้
C = Learning to Construct = สรุปองค์ความรู้
C = Learning to Communicate = สื่อสารนำเสนอ
S = Learning to Serve = บรกิ ารสงั คม
---------------------------------------------------------------------------------
L = Literacy = ทกั ษะการรูห้ นังสือ อ่านออก เขยี นได้
N = Numeracy = ทักษะพื้นฐานด้านการคดิ คำนวณ
R = Reasoning = ทกั ษะการใชเ้ หตผุ ล
----------------------------------------------------------------------------------
นางสาวนชุ มาศ สวัสดพิ์ าณิชย์ โรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รชั มงั คลาภิเษก
สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ตั งิ านด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนยอดเย่ียม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 13
ภาพ แสดงรูปแบบและวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน KACHINO Guidance Model
นางสาวนุชมาศ สวัสด์ิพาณชิ ย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ตั งิ านดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยยี่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 14
กระบวนการเรยี นรใู้ นวชิ าแนะแนว
ตั้งประเด็น สืบค้นความรู้ สรุปองค์-ความรู้ ส่ือสารนำเสนอ บริการสงั คม
คำถาม
ตงั้ คำถาม สืบค้น ทดลอง นำข้อสรุปมา เผยแพรค่ วามรู้ นำความรู้ไปใช้
อธิบายปญั หา ประโยชน์ต่อสังคม
ขัน้ ตอนการจัดกจิ กรรม
1) ต้งั ประเด็นคำถาม (Learning to Question) Q
2) สืบคน้ ความรู้ (Learning to Search) S
3) สรปุ องค์ความรู้ (Learning to Construct) C
4) สื่อสารนำเสนอ (Learning to Communicate) C
5) บริการสงั คม (Learning to Serve) S
เรยี นรกู้ ารต้งั คำถาม Q : Learning to Question
ใชเ้ ทคนิค 5 W 1 H
Who = ใคร คอื ส่ิงทเ่ี ราตอ้ งรวู้ า่ ใครรับผดิ ชอบ ใครเกีย่ วข้อง ใครได้รับผลกระทบ
What = ทำอะไร คอื ส่ิงท่เี ราต้องรวู้ า่ เราจะทำอะไร แตล่ ะคนทำอะไรบา้ ง
Where = ท่ไี หน คอื สง่ิ ที่เราต้องรู้วา่ สถานท่ีทีเ่ ราจะทำว่าจะทำทีไ่ หน
When = เม่อื ไหร่ คอื สง่ิ ทเี่ ราตอ้ งรู้วา่ ระยะเวลาที่จะทำจนถึง
Why = ทำไม คอื ส่งิ ท่เี ราตอ้ งรวู้ ่า ส่ิงที่เราจะทำนน้ั ทำด้วยเหตุผลใด เหตใุ ดจึงไดท้ ำส่งิ น้นั
How = อยา่ งไร คอื ส่งิ ท่ีเราต้องรู้ว่า เราจะสามารถทำทุกอย่างใหบ้ รรลผุ ลได้
เรียนรู้การแสวงหาสารสนเทศ S : Learning to Search
เรียนรูเ้ พอ่ื สร้างองคค์ วามรู้ (C: Learning to Construct)
แหล่งกำเนิดขององคค์ วามรู้
- ความรทู้ ีไ่ ดร้ ับการถ่ายทอดจากบคุ คลอืน่
- ความรู้เกิดจากประสบการณ์การทำงาน
- ความรู้ที่ไดจ้ ากการวจิ ยั ทดลอง
นางสาวนุชมาศ สวัสด์พิ าณิชย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมงั คลาภเิ ษก
สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบัตงิ านด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอนยอดเยยี่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 15
- ความรูจ้ ากการประดษิ ฐค์ ดิ คน้ ส่งิ ใหม่ ๆ
- ความรู้ท่มี ีปรากฏอยู่ในแหลง่ ความรู้ภายนอกโรงเรยี นและนักเรยี นไดน้ ำมาใช้
เรยี นรเู้ พื่อการสื่อสาร (C : Learning to Communicate)
1. การนำเสนอขอ้ มลู โดยรายงานวจิ ยั /บทความ ( Text Presentation)
2. การนำเสนอโดยตาราง ( Tabular Presentation )
3.การนำเสนอดว้ ยกราฟหรือแผนภมู ิ ( Graphical Presentation )
4. การนำเสนอดว้ ยวาจา
5. การนำเสนอคลังความรู้ KM ในเว็บไซต์
เรยี นรู้เพือ่ ตอบแทนสงั คม (S : Learning to Serve)
- ทำเปน็ นิทรรศการ/โครงงาน
- ทำเปน็ แผ่นพบั ประชาสมั พันธ์
- นำเสนอผา่ นสื่อ Online /Social media
ภาพ แสดงขัน้ ตอนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนบันได 5 ข้นั
• รูค้ วามถนดั • ทกั ษะการคิด
• รูค้ วามชอบ • ทกั ษะการตดั สินใจ
• รูจ้ ดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย • ทกั ษะการแสวงหา
รูต้ น รูพ้ ฒั นา
• รูผ้ นู้ า รูค้ น รูโ้ ลก
• รูผ้ ตู้ าม
• รูห้ นา้ ท่ี • รูอ้ าชีพ
• รูต้ ลาดแรงงาน
• รูก้ ารเปลยี่ นแปลง
นางสาวนุชมาศ สวสั ดพ์ิ าณชิ ย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก
สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบัตงิ านดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอนยอดเยี่ยม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 16
หนว่ ยการจัดกิจกรรม ฉนั พฒั นาได้
วตั ถปุ ระสงค์ที่ 1 การร้จู กั เข้าใจ รักและเหน็ คุณคา่ ในตนเองและผู้อื่น ภาคเรียนที่ 1
1.1 นกั เรียนรจู้ ักเข้าใจ เห็นคุณคา่ ในตนเองและพัฒนาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ
ระดบั ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4
1. วตั ถปุ ระสงคช์ นั้ ปี
นักเรียนตระหนกั ยอมรบั คณุ ลักษณะของตนเองสามารถพฒั นาและปรับปรุงตนเองได้อย่างเหมาะสม
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 บอกคุณลกั ษณะส่วนดีและขอ้ บกพร่องของตน
2.2 บอกวธิ ีการพฒั นาและปรบั ปรงุ สว่ นบกพร่องของตนเองได้
3. สาระสำคญั
บุคคลต่างมลี ักษณะส่วนตนที่หลากหลายการรจู้ ักและยอมรับคณุ ลักษณะของตนทงั้ ข้อดแี ละข้อบกพร่อง จะ
ช่วยใหน้ ักเรยี นสามารถพฒั นาขอ้ ดแี ละปรบั ปรงุ ข้อบกพร่อง
4. สาระการเรียนรู้
4.1 คณุ ลกั ษณะสว่ นดแี ละข้อบกพร่องของตนเอง
4.2 วิธีการพัฒนาและปรบั ปรงุ ตนเอง
5. ช้นิ งาน/ภาระงาน
ใบงานเรื่อง บันได 5 ขัน้ ของชวี ิต
6. วธิ กี ารประเมินผล
6.1 สังเกตการปฏิบัติกจิ กรรม
6.2 การตรวจใบงานในแตล่ ะแผน
7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
7.1 นักเรยี นสำรวจและบอกถึงขอ้ ดแี ละข้อบกพรอ่ งของตนเอง
7.2 วิเคราะหค์ วามดีทีท่ ำว่ามปี ระโยชน์กับใครอย่างไร
7.3 วิเคราะห์ความสามารถและความตอ้ งการของตนเอง
8. เวลา 3 ชว่ั โมง
นางสาวนชุ มาศ สวสั ดิพ์ าณิชย์ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รัชมงั คลาภเิ ษก
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ัติงานด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอนยอดเยย่ี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 17
แผนการจัดการเรียนรกู้ จิ กรรมแนะแนว
เรอื่ ง ฉันพัฒนาได้
หน่วยการจัดกจิ กรรม ฉนั พัฒนาได้ ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา 3 ชั่วโมง
1. สาระสำคญั
บุคคลตา่ งมลี กั ษณะสว่ นตนที่หลากหลาย การรู้จกั และยอมรับคณุ ลกั ษณะของตนทงั้ ข้อดีและขอ้ บกพรอ่ ง จะ
ชว่ ยให้นกั เรียนสามารถพฒั นาข้อดแี ละปรบั ปรงุ ข้อบกพรอ่ งของตนเองได้
2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
2.1 บอกคุณลกั ษณะขอ้ ดแี ละขอ้ บกพรอ่ งของตน
2.2 บอกวธิ กี ารพฒั นาและปรับปรุงขอ้ บกพร่องของตนเองได้
3. สาระการเรยี นรู้
3.1 คุณลกั ษณะขอ้ ดีและขอ้ บกพร่องของตนเอง
3.2 วิธกี ารพฒั นาและปรบั ปรงุ ตนเอง
4. วธิ ีการจดั กจิ กรรม
ช่วั โมงท่ี 1
4.1 ใหน้ ักเรยี นแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 7 - 9 คน แต่ละกล่มุ น่งั เป็นวงกลม ครูแจกกระดาษคนละแผ่นนกั เรยี นเขยี นชอ่ื
มุมบนขวา และพับกระดาษเปน็ 2 ส่วน ดา้ นซา้ ยเขยี นข้อดี ด้านขวาเขียนข้อบกพร่อง จากนัน้ ให้สำรวจและ
เขยี นขอ้ ดีและขอ้ บกพรอ่ งของตนเองบนกระดาษ ภายใน 2 นาที แลว้ ติดกระดาษไวด้ า้ นหลงั ของตน จากนั้น
ให้นกั เรียนน่งั หันไปทางซ้ายมือ แล้วเขียนข้อดีและข้อบกพรอ่ งบนกระดาษของเพ่ือนที่น่งั อยขู่ า้ งหนา้ ตนเอง
คนละ 1 ขอ้
4.2 ให้นักเรยี น พิจารณาข้อดี ข้อบกพรอ่ ง ส่มุ สอบถามความรู้สึกนกั เรียนกลุ่มละ 1 คน ถึงขอ้ ดีและ
ขอ้ บกพร่อง
4.3 ดำเนนิ กิจกรรมเทยี น โดยครจู ดุ เทียนไข ใหน้ ักเรยี นดูประมาณ 1 นาที แล้วดบั เทียนไขและหกั เทยี นไข
ต่อดว้ ยการจุดเทยี นท่หี กั ข้ึนมาใหม่อีกครง้ั ใหน้ ักเรยี นพจิ ารณาประมาณ 1 นาที
4.4 ครูตงั้ คำถามวา่ “นกั เรยี นได้ขอ้ คิดอะไรบ้าง จากกิจกรรมทใ่ี หด้ ู“ ใหน้ ักเรยี นเขยี นลงในสมุด ประมาณ 5
บรรทัด จากนั้นใหอ้ ่านให้เพอ่ื นฟัง และครูเลือกตวั อย่างที่สรุปได้ความหมายครบถ้วน อา่ นใหน้ ักเรยี นทงั้ ห้อง
ฟัง แลว้ ครสู รุปดงั น้ี “คณุ ค่าของเทียนไข คือ การใหแ้ สงสวา่ ง ไมว่ ่าเทยี นไขนั้นจะเปลีย่ นแปลงรปู ลักษณ์
อยา่ งไรแตเ่ มื่อถูกจุดข้ึนก็ใหแ้ สงสวา่ ง ใหค้ ณุ คา่ เหมือนกัน เปรียบเหมือนคนเรา ไม่วา่ จะมีรปู รา่ งหนา้ ตา
การศกึ ษา หรอื ฐานะความเปน็ อยู่แตกต่างกันอยา่ งไร ส่งิ ทส่ี ำคญั คอื การไดใ้ หป้ ระโยชน์ตอ่ สังคมคนทกุ คนมีท้ัง
ขอ้ ดีและขอ้ บกพรอ่ งในตนเองและกส็ ามารถปรับปรุงข้อด้อยและพัฒนาขอ้ ดีเหลา่ น้นั เพ่ือการดำเนนิ ชวี ิตทด่ี ี
ต่อไปในสงั คม”
4.5 ครแู จกใบงานเรือ่ ง น่แี หละ่ ตวั ฉัน ใหน้ กั เรียนทำ และใหอ้ อกมารายงานหนา้ ชัน้ เรียน
4.6 ครูสรุปจากสงิ่ ท่นี ักเรียนออกมารายงานหนา้ ช้นั กลา่ วไดว้ า่ ทกุ คนมีความตั้งใจท่ีดอี ยใู่ นหัวใจซง่ึ สงิ่ น้คี อื
พน้ื ฐานทส่ี ำคญั ในการใชช้ วี ิตในสังคมอยา่ งมคี วามสุขและประสบความสำเร็จในชีวติ คนเราทกุ คนมีท้งั ข้อดี
และขอ้ บกพร่องในตนเอง เราตอ้ งเข้าใจในตัวตนท้งั 2 ดา้ น และพัฒนาขอ้ ดี และปรบั ปรงุ ข้อบกพร่องเพอ่ื ใหม้ ี
ชวี ิตทด่ี ีบนวิถีทางที่ถูกตอ้ ง
นางสาวนชุ มาศ สวสั ดิ์พาณิชย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภเิ ษก
สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ัตงิ านด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนยอดเย่ยี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 18
ชั่วโมงท่ี 2
4.7 ทบทวนกจิ กรรมท่ีผา่ นมา แม้นกั เรียนจะมคี วามแตกตา่ งกันอยา่ งไรแต่คุณคา่ สิง่ ที่สำคัญ
คอื การทำตวั ให้มีประโยชนเ์ หมอื นเทียน แม้จะเป็นเทยี นทีส่ มบรู ณห์ รอื เทยี นทีห่ ักกย็ งั ให้แสงสวา่ งได้เสมอ
4.8 ครูดำเนนิ กจิ กรรมแม้นความดเี พยี งเล็กน้อย...ก็ต้องทำโดยใหน้ กั เรียนนัง่ ตัวตรง สงบนง่ิ แล้ว
หลับตา ครูเปิดเพลง เดนิ ตามพ่อ ให้นักเรียนฟังจนจบเนอ้ื เพลง
4.9 นักเรียนรว่ มกนั อภปิ ราย/แสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั เนื้อเพลง ซึ่งเป็นการตัง้ ปณิธานจะทำความดีแมเ้ พียง
เลก็ นอ้ ยหากเทียบกับพระราชกรณียกจิ อันย่งิ ใหญข่ องพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว
4.10 ครูใหน้ ักเรียนทบทวนตนเองว่าไดท้ ำความดอี ะไรบ้างสง่ ผลดตี อ่ ตนเองและคนรอบขา้ งและสังคมอยา่ งไร
บ้าง แจกใบงานให้นกั เรยี นเร่ือง “แม้ทำความดเี พียงน้อยนิด กต็ ้องทำ” โดยยกตวั อย่างตามตารางขา้ งล่าง
ความดีท่ีฉนั ทำ ประโยชน์ท่ีได้รับ
ตวั เอง พ่อแม่ ประเทศชาต/ิ สังคม
กรอกนำ้ ใสต่ เู้ ย็น
ช่วยรดน้ำต้นไม้
4.11 ครูและนกั เรียนอภิปรายสรปุ ผลของการทำความดีแม้เพียงเล็กน้อย (แนวทางการสรุป คือ การทำความ
ดแี มเ้ พียงเล็กนอ้ ยก็ส่งผลกระทบต่อเน่ืองไปยังสังคมส่วนรวม แม้เราเป็นเพียงคนเล็กๆ แต่ก็สามารถมีส่วนร่วม
ในการทำให้สังคมและประเทศชาติพัฒนาและมีความม่ันคง ประเทศชาติม่ันคง เจริญรุ่งเรืองก็ส่งผลย้อนกลับ
มายังคนในชาติซ่ึงก็รวมถึงตัวเราด้วย ดั่งสุภาษิตที่กล่าวว่า “อย่าเห็นเป็นความดีเล็กน้อยแล้วไม่ทำ อย่าเห็น
เปน็ ความชั่วเลก็ น้อยแล้วทำ”)
ช่ัวโมงท่ี 3
4.12 ครดู ำเนนิ กิจกรรมฉันพฒั นาได้ โดยครูอา่ นบทกวี “ห่ิงห้อย”
“เปน็ ดาวนั้นก็สวยดอี ยูห่ รอก แต่เป็นหินดนิ หมอกแต้มสีสรร
หง่ิ หอ้ ยสิคือแสงแห่งชีวนั ทก่ี รองกล่ันสสี รรจากวญิ ญาณ
หากเธอเลือกเป็นหิ่งหอ้ ย แทนดาวลอยสงู ศักด์อิ รรคฐาน
เธอมสี ทิ ธิมคี วามหวังอหังการ มสี ิทธิผ่านทีม่ ดื ซึง่ ขาดดาว”
4.13 ทบทวนกิจกรรมในชัว่ โมงทผ่ี า่ นมา วา่ แมก้ จิ กรรมท่เี ราคดิ วา่ เป็นสง่ิ เลก็ ๆนอ้ ยๆ ในชีวติ ประจำวันกล็ ว้ น
มคี ณุ คา่ และมคี วามสำคญั สง่ ผลยิง่ ใหญอ่ ยา่ งทีเ่ ราคาดไมถ่ ึง ดังน้นั ทกุ คนควรต้ังใจทำหนา้ ทขี่ องตนเองให้ดี
ทส่ี ดุ อันจะทำให้สงั คมโดยรวมมคี วามสขุ ต่อเน่ืองกนั ไป
4.14 ให้นกั เรยี นทำใบงาน บนั ได 5 ขัน้ ของชวี ติ วิเคราะหค์ วามสามารถของตนเองในแต่ละชว่ งอายุ พรอ้ มท้งั
ทบทวนความรสู้ กึ ทเ่ี กดิ ขน้ึ และการเปล่ยี นแปลงพัฒนาตนเองในแตล่ ะช่วงวัยของชวี ิต
4.15 ให้นักเรียนวิเคราะหค์ วามตอ้ งการของตนเองในปัจจุบนั วา่ มสี ่งิ ใดทอ่ี ยากทำมากท่ีสดุ และวางแผน
ปฏบิ ตั ติ นเพอื่ พัฒนาความสามารถของตนเองไปสูเ่ ป้าหมายทตี่ ้องการ
4.16 นักเรียนชว่ ยกันสรปุ สิ่งที่ไดเ้ รยี นร้จู ากการทำกจิ กรรม/นำเสนอใบความรู้ เรื่อง การพัฒนา
ตนเองโดยใชห้ ลกั 4 Self
4.17 ครูเพมิ่ เตมิ ขอ้ คิดท่ีนกั เรียนช่วยกันสรุป เพ่มิ เตมิ ให้ครบถ้วน รอบด้านสมบรู ณม์ ากยิ่งขน้ึ
“สง่ิ ที่เราไมเ่ คยรู้ ไมใ่ ชว่ ่าเราจะร้ไู ม่ได้
และสง่ิ ท่เี ราไม่เคยทำใชว่ า่ เราจะทำไมไ่ ด้
เพราะชวี ติ ตอ้ งกา้ วไปข้างหนา้ และพัฒนาไปส่สู ่งิ ทด่ี ีกวา่ เสมอ”
นางสาวนชุ มาศ สวัสด์ิพาณิชย์ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รชั มังคลาภิเษก
สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบตั ิงานด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอนยอดเยยี่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 19
5. สอื่ /อปุ กรณ์
5.1 บทกวี/เพลงที่แสดงถงึ การเหน็ คุณคา่ ในตนเอง เช่น เพลงเดนิ ตามพ่อ
5.2 ปากกาเขยี น White Board
5.3 เทียนไข
5.4 ไม้ขีด
5.5 ใบงานเรื่อง นแี่ หละตัวฉนั
5.6 ใบงานเรอ่ื ง แมน้ ความดีเพียงเล็กนอ้ ยกต็ อ้ งทำ
5.7 ใบงานเร่อื ง บนั ได 5 ขน้ั ของชวี ติ
5.8 เอกสาร เร่ืองเทคนคิ การพัฒนาตน (เอกสารอ่านเพม่ิ เติมสำหรับคร)ู
6. การประเมินผล
6.1 วธิ กี ารประเมิน
6.1.1 สงั เกตการปฏิบัติกิจกรรม
6.1.2 ตรวจใบงาน
6.2 เกณฑก์ ารประเมนิ
6.2.1 สังเกตการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ข้อความบ่งช้ี
เกณฑ์
ผา่ น มคี วามต้ังใจรว่ มกจิ กรรมให้ความรว่ มมอื กับกลุ่มในการอภปิ รายแสดงความ
คดิ เห็นและส่งงานตามทกี่ ำหนด
ไมผ่ า่ น ไม่ใหค้ วามรว่ มมือกบั กลมุ่ หรือขาดส่ิงใดสง่ิ หนึ่ง
6.2.2 ตรวจใบงาน ข้อความบง่ ช้ี
เกณฑ์
ผ่าน บอกขั้นตอนการพฒั นาตนเองไปสู่เปา้ หมายที่วางไวไ้ ด้
ไมผ่ า่ น ไมส่ ามารถบอกข้ันตอนการพฒั นาตนเองไปส่เู ป้าหมายที่วางไวไ้ ด้
นางสาวนชุ มาศ สวัสดิ์พาณิชย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏบิ ัตงิ านดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอนยอดเยี่ยม(OBEC AWARDS)
ใบงานกิจกรรมแนะแนว ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 20
หน่วยการจัดกจิ กรรมแนะแนวฉนั พฒั นาได้ ระดับช้ัน มธั ยมศึกษาปที ่ี 4
ชือ่ -สกุลนักเรียน...............................................................................................ช้นั ม.4/..........เลขที่...........
ใบงานเร่ือง น่แี หละตวั ฉัน
คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นสำรวจตนเองว่ามี ข้อดี และข้อบกพรอ่ ง อย่างไรบ้าง พร้อมกับวิเคราะห์ว่าคุณสมบตั ิ
เหลา่ น้นั มสี ่วนสง่ เสรมิ หรอื สรา้ งปญั หาแก่นักเรียนอยา่ งไร (เวลา 30 นาที) โดยเขยี นลงใน
ตาราง
ขอ้ ดขี องฉัน ส่งเสริมชีวติ ฉนั ขอ้ บกพรอ่ งของฉนั เป็นอุปสรรคในชวี ติ ฉัน
ดงั นี้ ดังนี้
ข้อสรปุ ท่ีไดจ้ ากกจิ กรรม
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................... .............
...................................................................................................................... ..............................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.......................................................................................................................................... ..........................................
......................................................................................... ...........................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
นางสาวนชุ มาศ สวัสดิพ์ าณชิ ย์ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รชั มังคลาภเิ ษก
สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบตั ิงานดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยย่ี ม(OBEC AWARDS)
ใบงานกิจกรรมแนะแนว ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 21
หนว่ ยการจดั กจิ กรรมแนะแนวฉันพัฒนาได้ ระดบั ช้ัน มธั ยมศึกษาปที ี่ 4
ชอื่ -สกลุ ...........................................................................................................ชน้ั ม.4/..........เลขที่...........
ใบงานเร่ือง แมน้ ความดีเพียงเลก็ นอ้ ยก็ต้องทำ
คำช้แี จง ให้นักเรียนเขียนการกระทำในชวี ติ ประจำวันของนกั เรียน 10 กิจกรรม ลงในตาราง จากนน้ั
วิเคราะหถ์ ึงประโยชน์ที่เกดิ ข้นึ ตอ่ ตนเอง และผอู้ ื่น และสรปุ สิ่งทีไ่ ดร้ ับจากกิจกรรมนี้
ความดีท่ฉี ันทำ ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั
ตัวเอง พอ่ แม่ ประเทศชาติ/สงั คม
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
สรปุ จากกจิ กรรมขา้ งตน้ นักเรียนได้ขอ้ คดิ อยา่ งไรบ้าง
............................................................................................................................. ......................................
...................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................................
............................................................................................................................. ......................................
...................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................................
............................................................................................................................. ......................................
....................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. ......................................
..................................................................................................................... ..............................................
............................................................................................................. ......................................................
............................................................................................................................. ......................................
...................................................................................................................................................................
นางสาวนุชมาศ สวสั ดพิ์ าณชิ ย์ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภเิ ษก
สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบัตงิ านดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอนยอดเย่ยี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 22
ใบงานกิจกรรมแนะแนว หน่วยการจดั กิจกรรมแนะแนวฉนั พัฒนาได้ ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4
ชื่อ-สกลุ ...........................................................................................................ชนั้ ม.4/..........เลขที่...........
ใบงานเรอ่ื ง บันได 5 ข้ันของชีวติ
คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนทบทวนพัฒนาการของตนเองในแตล่ ะช่วงอายุ ดงั ตารางและสรปุ สงิ่ ทไี่ ดร้ ับจากกจิ กรรมนี้
ระดับมธั ยมต้น ระดบั ชัน้ มัธยมปลาย
สงิ่ ทภ่ี าคภูมใิ จ ส่งิ ที่ภาคภูมิใจ............................................
ทำได้อย่างไร..............................................
ทำไดแ้ ล้วร้สู ึกอยา่ งไร..................................
สิ่งที่ภาคภมู ใิ จ..................................
ทำได้อยา่ งไร....................................
ทำได้แล้วร้สู กึ กับตัวเองอย่างไร.....................
.......................................................................
ระดับประถม ...................................................................
สิง่ ท่ภี าคภมู ิใจ ทำไดอ้ ยา่ งไร..............................................
ทำได้แลว้ ร้สู ึกกบั ตัวเองอย่างไร.................
ระดบั อนบุ าล ......................................................................
สงิ่ ทีภ่ าคภมู ิใจ ทำได้อยา่ งไร.................................................
ทำได้แล้วรู้สึกกับตัวเองอยา่ งไร....................
ก่อนเข้าอนุบาล .............................................................
ส่ิงทภ่ี าคภูมิใจ ทำไดอ้ ยา่ งไร........................................
ทำได้แล้วรสู้ ึกกบั ตัวเองยา่ งไร..............
นางสาวนชุ มาศ สวสั ดพ์ิ าณิชย์ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก
สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบัติงานด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 23
คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนวิเคราะหค์ วามตอ้ งการของตนเองวา่ ปัจจบุ ันนักเรยี นอยากทำส่งิ ใดมากทีส่ ดุ
และวางแผนวา่ ตอ้ งปฏบิ ตั ิตนอยา่ งไรบา้ งเพอ่ื พัฒนาความสามารถของตนเองไปสเู่ ปา้ หมายท่ีตอ้ งการ
สง่ิ ท่ีฉันอยากทำมากทสี่ ดุ ในชั้น ม.4..................................
ข้นั ตอนที่ต้องพฒั นาตนเอง เพือ่ ไปสเู่ ปา้ หมายทตี่ ัง้ ใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณชิ ย์ โรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รชั มงั คลาภเิ ษก
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏบิ ตั ิงานดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอนยอดเย่ยี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 24
วางแผน ออกแบบ และลงมอื
ผลงานนักเรยี น
นางสาวนุชมาศ สวสั ดพ์ิ าณิชย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภเิ ษก
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบัติงานดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอนยอดเย่ยี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 25
องค์ประกอบท่ี 1 คณุ ภาพ
ตวั ชีว้ ัดท่ี 2 คณุ ภาพขององคป์ ระกอบในนวตั กรรม
การจัดกจิ กรรม KACHINO Guidance Model ได้จดั กจิ กรรม 3 รปู แบบ
ลดเวลาเรียน แนะแนว วิทยาศาสตร์
เพิม่ เวลารู้ ส่งเสริมการมีงานทำ เคมี
3 คาบ/สปั ดาห์ 1 คาบ/สปั ดาห์ PBL
นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณชิ ย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รชั มังคลาภเิ ษก
สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบตั งิ านดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอนยอดเย่ียม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 26
ครใู ชค้ ำถามกระตุ้นการเรยี นรู้ ซึง่ เริ่มตน้ จากการต้งั คำถาม ซึ่งในกระบวนการนน้ี กั เรยี นฝกึ การคดิ
วิเคราะห์ในการตั้งคำถามโดยใช้ 5W1H มาเป็นพื้นฐานในการกำหนดปัญหาหรือความสนใจข้ันพนื้ ฐาน
หลังจากที่กำหนดปัญหาหรือต้งั คำถามทส่ี นใจในการค้นคว้าหาคำตอบของความรแู้ ลว้ นน้ั เขา้ สู่กระบวนการ
ระดมแนวคดิ รว่ มกนั ผา่ นกระบวนการทำงานเปน็ กลมุ่ เพ่ือวางแผนเพอื่ สบื คน้ ผ่านแหลง่ เรยี นรู้ หรอื แหล่ง
สารสนเทศตา่ งๆ ตามความถนดั ของแต่ละบุคคลและนำมาแลกเปลีย่ นเรียนรู้ภายในกลุม่ และในชนั้ เรยี นโดยครู
คอยตดิ ตามและอำนวยความสะดวกและแนะแนวทางใหน้ ักเรียนเกดิ แนวคดิ เพ่ิมเตมิ ด้วยตัวของนักเรียนเองใน
การค้นคว้าหาความรู้ และสรปุ องค์ความรู้ทไี่ ดด้ ้วยตนเองตามแนวทางทตี่ นเองสนใจ
ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นคดิ หาคำตอบด้วยตนเอง ซ่ึงในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ครจู ะเป็นผสู้ ังเกต
และคอยกระตุ้นดว้ ยคำถามให้นกั เรียนไดค้ ิดกจิ กรรมท่ีอยากเรียนรแู้ ละหาคำตอบในส่ิงทีส่ งสัยดว้ ยตนเอง
สื่อท่ีใช้ในการจัดการเรยี นการสอน KACHINO Model
1. โปรแกรม Windows Movie Maker
นางสาวนุชมาศ สวสั ด์ิพาณิชย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รัชมังคลาภิเษก
สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบตั ิงานด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอนยอดเย่ยี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 27
Windows Movie Maker เปน็ โปรแกรมตดั ตอ่ วดี ีโอสำหรบั Windows
ตัว Windows Movie Maker เองนัน้ เปน็ ซอฟต์แวร์ฟรขี อง Windows อยู่แล้ว ขอ้ ดขี องโปรแกรมตวั
น้ีก็คอื ใช้งานไดง้ า่ ย ถา้ คณุ ใช้ Windows อยู่แลว้ คุณนา่ จะคนุ้ เคยกบั ดีไซน์ของระบบอย่างดี หรือไม่กใ็ ช้เวลา
ไม่นานในการทำความเขา้ ใจ
2. ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เร่ืองระบบร่างกาย
ไดพ้ ฒั นาชดุ กจิ กรรมเรยี นร้ขู ึ้นเพือ่ ให้นักเรียนสามารถเรียนรไู้ ด้งา่ ยขึ้น นา่ เรียนมากยง่ิ ขน้ึ มีกจิ กรรม
ใหท้ ำหลากหลาย ผ้เู รียนสามารถเรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง
3. การศึกษาเพมิ่ เติมทางส่อื ออนไลน์ ( www.youtube.com )
นางสาวนุชมาศ สวสั ดพิ์ าณิชย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รชั มังคลาภิเษก
สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบัติงานดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนยอดเย่ียม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 28
4. สื่อมัลติมีเดียด้านพลังงาน ( Media TeachingKit )
เปน็ สอื่ การเรยี นการสอนด้านพลงั ซ่งึ เปน็ ปัจจยั สำคญั ในการพฒั นาความรดู้ า้ นพลังงานใหแ้ กน่ ักเรยี น
จากนโยบายทางดา้ นการศกึ ษาในปจั จุบนั การใหน้ กั เรยี นและครูได้เขา้ ถึงส่ือการเรียนการสอนมลั ติมเี ดยี ตา่ งๆ
จะช่วยให้ครูและนกั เรียนสามารถพัฒนาการเรียนการสอนไดด้ ียง่ิ ขึ้น
KACHINO Guidance Model ผา่ นเพจ มหงิ สาสายสบื -ครูเบล
การมสี ว่ นรว่ มของผู้เรยี นใหค้ ดิ และทำตลอดจนพัฒนาความคิดและทักษะ
- เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นได้คิด และพดู ในส่งิ ที่เกย่ี วข้องกับการเรยี นและไดฝ้ ึกปฏบิ ตั ิจริง
- มงุ่ ฝกึ ฝนทักษะสำคญั ใหก้ บั ผู้เรยี น เช่นการร่วมมอื รว่ มใจในการทำงาน การทำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื
- ปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งครกู ับนกั เรยี น
นางสาวนุชมาศ สวัสด์ิพาณิชย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รัชมังคลาภิเษก
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบัตงิ านด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอนยอดเยยี่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 29
องค์ประกอบที่ 1 คุณภาพ
ตวั ชี้วัดท่ี 3 การออกแบบนวัตกรรม
การเรียนรผู้ ่านกิจกรรม (Activity-based Learning) ในการยดึ หลักการให้ผู้เรียนสรา้ งองค์ความรู้
ดว้ ยตนเอง “Child Centered” การเรยี นโดยการปฏบิ ัตจิ รงิ Learning by Doing และปฏบิ ัติเพ่อื ให้เกดิ การ
เรียนรู้และแก้ปัญหาได้ Doing by Learning เน้น“สอนแตน่ ้อย ใหเ้ รยี นมากๆ Teach less…Learn
More” โดยครไู ดจ้ ัดการเรยี นแบบ Learning by Doing ใช้ “กจิ กรรม Activity” เปน็ หลกั ในการเรียนการ
สอน โดยการ “ปฏิบัตจิ รงิ Doing” ในเนื้อหาทกุ ขน้ั ตอนของการเรียนรู้ เป็นการเรียนรดู้ ้วยตนเอง ทกุ คนใน
กลุม่ เปน็ ผูป้ ฏิบัติ คณุ ครูเปน็ พเี่ ลยี้ งและเทรนเนอร์
กระบวนการเรยี นรู้แบบ Active Learning ไดแ้ ก่ การพดู คุยแสดงความคดิ เหน็ และการลงมือ
ปฏบิ ัติ และการประยุกตใ์ ช้ ซงึ่ กระบวนการเรยี นรแู้ บบ Active Learning นนั้ จะเน้นให้ผู้เรียน เรียนร้แู ละ
สร้างองคค์ วามร้ไู ดด้ ว้ ยตวั เอง จากการประสานงานรว่ มกนั ระหวา่ งผ้เู รยี น โดยมีผูส้ อนคอยชีแ้ นะและให้
คำแนะนำ ซงึ่ วิธกี ารเหลา่ น้ี นบั เป็นขนั้ ที่สูงกวา่ การเรียนรู้ทเ่ี กดิ จากการฟงั การทอ่ งจำ การเหน็ การรบั ชม
หรอื ที่เรียกวา่ Passive Learning ทำให้สามารถสง่ เสรมิ การเรยี นรูข้ องผู้เรยี นได้ถึง 90%
การออกแบบนวัตกรรม KACHINO Guidance Model โดยใช้กระบวนการวงจรคุณภาพ P-D-C-
A มี 5 ขน้ั ตอน ในการดำเนนิ งานเพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมายมรี ายละเอียดการพฒั นา ดังน้ี
ขั้นตอนท่ี 1 สำรวจและวเิ คราะหส์ ภาพปจั จบุ ัน ปญั หา ความต้องการเกยี่ วกับการจดั กระบวนการ
เรียนการสอนของนักเรยี นในโรงเรียน
ขั้นตอนท่ี 2 ขั้นวางแผน (Plan) เปน็ การออกแบบนวตั กรรมกระบวนการเรยี นการสอนทส่ี อดคลอ้ งกับ
บริบทของโรงเรยี น
ข้ันตอนท่ี 3 ขน้ั ปฏบิ ัติตามแผน (Do) เป็นสรา้ งความเข้าใจกบั ทุกฝา่ ย เพอ่ื พัฒนานวตั กรรมไปใชใ้ น
การดำเนินการ มกี ารกำหนดแนวทาง วธิ ีการดำเนินการ เพอ่ื ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ เน้นการพฒั นาศักยภาพ
ของผเู้ รียน
ขน้ั ตอนที่ 4 ขั้นตรวจสอบ (Check) เป็นการประเมินผลและตรวจสอบการใช้นวตั กรรม
ขั้นตอนท่ี 5 ข้ันปรับปรงุ แกไ้ ข (Action) เป็นการสะท้อนผลการดำเนินงานตามสภาพจรงิ
(Reflection) ผู้เรียนจะต้องมคี ุณภาพ
นางสาวนุชมาศ สวสั ดพ์ิ าณิชย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รชั มงั คลาภิเษก
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบตั ิงานด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอนยอดเยี่ยม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 30
องคป์ ระกอบท่ี 1 คุณภาพ
ตัวชว้ี ัดท่ี 4 ประสิทธภิ าพของนวตั กรรม
1. ผลการศกึ ษาพฤติกรรมทางการเรยี น ด้วยการเรียนรู้แบบมีสว่ นร่วม (Active Learning)
พฤติกรรมทางการเรียน หลงั การเรียนรู้แบบมีสว่ นรว่ ม (Active Learning) ดขี ้ึนท้ังในด้านการทำงาน
เปน็ กลุม่ ของผู้เรียน การแสดงความคิดเห็น และการแสดงออกเพ่ือสะทอ้ นความคิดเห็นร่วมกัน จากการสังเกต
และประเมินของผู้สอน ดงั ตารางที่ 1
ตารางท่ี 1 ผลการศกึ ษาพฤติกรรมทางการเรียน ดว้ ยการเรียนรู้แบบมสี ่วนรว่ ม (Active Learning
หวั ขอ้ กิจกรรม กจิ กรรม สื่อ การวดั และการประเมนิ ผล
1. จำลองการ 1. บรรยาย 1. Power point สังเกตการทำงานเป็นกลุ่มของผูเ้ รยี น/
ทำงานของปอด 2. อภปิ ราย 2. ใบความรู้ การแสดงความคดิ เห็น/การมสี ว่ นรว่ ม
3. ค้นควา้ และ 3. เอกสาร ในการวเิ คราะหก์ ารสรา้ งชิ้นงาน
2. บิงโกระบบ นำเสนอผลงาน ประกอบการสอน พบว่า ผูเ้ รยี นมกี ารทำงานเป็นกลุ่ม
ร่างกาย 4. ฝกึ ปฏิบัติ 4. แบบฝึกปฏบิ ัติ แสดงความคดิ เหน็ รว่ มกนั มีแสดงออก
สรา้ งชน้ิ งาน 5. กจิ กรรม มากข้นึ รวมถึงมีวางแผนร่วมกนั ในการ
3. รถพลังลูกโปง่ แกป้ ัญหา นำเสนอสะทอ้ นคดิ แก้ปญั หาและสรา้ ง
4. ดนิ น้ำมันลอยนำ้ แผนผังความคิดเชอ่ื มโยงประเดน็
5. มหิงสาสายสบื บรู ณาการเขา้ ด้วยกนั ได้รว่ มถึงมกี าร
นำเสนอได้
2. ผลเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ด้วยการเรยี นรู้แบบมสี ว่ นรว่ ม (Active Learning)
คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) หลังเรียนสูงกว่า
กอ่ นเรยี น ร้อยละ 44.4 ดงั ตารางที่ 2
ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ดว้ ยการเรียนรแู้ บบมีส่วนรว่ ม (Active Learning)
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน n คะแนนเตม็ ̅ S.D. อัตราผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
(ร้อยละ)
กอ่ นเรียน 15 20 6.06 0.88 44.4
หลังเรียน 15 20 16.40 2.92
นางสาวนุชมาศ สวัสด์ิพาณิชย์ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รชั มงั คลาภิเษก
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบัตงิ านดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอนยอดเย่ยี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 31
3. ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั เรียนดว้ ยการเรียนรแู้ บบมสี ว่ นรว่ ม (Active Learning)
ความพงึ พอใจของนกั เรยี นดว้ ยการเรยี นรู้แบบมีสว่ นรว่ ม (Active Learning) โดยรวมอยรู่ ะดบั มาก (
̅= 4.297, S.D.= 0.6501) เม่ือพจิ ารณารายข้อ พบว่า นักเรียน มคี วามพงึ พอใจมากทส่ี ุด คือ การเรียนการ
สอนแบบการเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ ม (Active Learning) ช่วยฝกึ ใหน้ ักเรยี นเกิดความคดิ สรา้ งสรรค์ อยใู่ นระดบั
มาก ( ̅ =4.47, S.D.= 0.805 ) รองลงมาคือ การเรยี นการสอนแบบการเรียนรู้แบบมสี ว่ นร่วม (Active
Learning) มคี วามนา่ สนใจ และรสู้ ึกสนกุ กับการเรียน อยใู่ นระดับมาก ( ̅ =4.40,S.D.= 0.879) และนอ้ ยทส่ี ุด
คือ การเรียนการสอนแบบการเรียนร้แู บบมีสว่ นรว่ ม (Active Learning) ทำให้นักเรียนมที ศั นคตทิ ดี่ ตี ่อการ
เรียน อย่ใู นระดบั มาก ( ̅=4.20, S.D.=0.748) และการเรียนการสอนแบบการเรยี นรู้แบบมสี ว่ นร่วม (Active
Learning) ชว่ ยใหน้ ักเรียนสามารถนำความรทู้ ไี่ ด้ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ จรงิ อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.20,
S.D.=0.748) ตามลำดบั ดงั ตารางท่ี 3
ตารางท่ี 3 ความพงึ พอใจของนักเรยี น ดว้ ยการเรียนร้แู บบมีสว่ นรว่ ม (Active Learning)
รายการประเมนิ ̅ S.D. ระดบั
1. การเรียนการสอนแบบการเรยี นรแู้ บบมสี ่วนรว่ ม (Active Learning) 4.07 0.442 มาก
สอดคลอ้ งกับเนอื้ หาและวัตถปุ ระสงค์
2. การเรยี นการสอนแบบการเรียนร้แู บบมีสว่ นร่วม (Active Learning) 4.40 0.879 มาก
มคี วามน่าสนใจ และร้สู กึ สนกุ กับการเรียน
3. การเรียนการสอนแบบการเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ ม (Active Learning) 4.40 0.489 มาก
ชว่ ยให้นกั เรยี นเข้าใจเนือ้ หาในบทเรียนไดม้ ากยิง่ ข้ึน
4. การเรยี นการสอนแบบการเรียนรแู้ บบมสี ว่ นรว่ ม (Active Learning) 4.07 0.679 มาก
สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนมีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้สามารถทำงานรว่ มผอู้ ื่นได้
5. การเรียนการสอนแบบการเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ ม (Active Learning) 4.33 0.471 มาก
สง่ เสรมิ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ และแก้ปญั หาไดด้ ว้ ยตนเอง
6. การเรียนการสอนแบบการเรียนรูแ้ บบมีส่วนร่วม (Active Learning) 4.47 0.805 มาก
ชว่ ยฝกึ ใหน้ กั เรียนเกิดความคดิ สรา้ งสรรค์
7. การเรยี นการสอนแบบการเรียนรแู้ บบมสี ่วนรว่ ม (Active Learning) 4.33 0.596 มาก
สรา้ งบรรยากาศทด่ี ใี นการศึกษา
8. การเรยี นการสอนแบบการเรยี นรูแ้ บบมีสว่ นรว่ ม (Active Learning) 4.20 0.748 มาก
ชว่ ยให้นกั เรียนสามารถนำความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ
9. นกั เรียนมคี วามกล้าแสดงออกมากขึ้นโดยการเรยี นการสอนแบบการ 4.40 0.489 มาก
เรยี นรแู้ บบมีส่วนรว่ ม (Active Learning)
10. การเรยี นการสอนแบบการเรยี นร้แู บบมสี ว่ นรว่ ม (Active 4.20 0.748 มาก
Learning) ทำให้นกั เรยี นมีทัศนคตทิ ี่ดตี อ่ การเรียน
11. นกั เรียนอยากใหม้ กี ารเรียนการสอนแบบการเรยี นร้แู บบมีส่วนร่วม 4.30 0.800 มาก
(Active Learning) ในรายวิชาอนื่ ๆ อีก
โดยรวม 4.297 0.6501 มาก
นางสาวนุชมาศ สวัสด์พิ าณชิ ย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รชั มังคลาภิเษก
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ัติงานดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอนยอดเยย่ี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 32
องค์ประกอบที่ 2 คุณประโยชน์
ตวั ช้ีวัดที่ 1 ความสามารถในการแกป้ ัญหาหรอื พฒั นา
KACHINO Guidance Model ทจ่ี ดั ทำในครงั้ น้มี ีวตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื พฒั นารปู แบบการสอนแบบมีสว่ นรว่ ม (Active Learning) และพฒั นาทกั ษะดา้ นการเรยี นรแู้ ละ
นวัตกรรมสำหรบั นักเรียน
2. เพื่อศึกษาประสทิ ธภิ าพของรูปแบบการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วม (Active Learning)
3. เพ่อื เปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี นกอ่ นและหลงั ทดลองสอนแบบมสี ่วนรว่ ม (Active
Learning)
4. เพ่ือประเมินความพึงพอใจของนักเรยี นทีม่ ตี ่อการเรยี นการสอนแบบมีสว่ นร่วม (Active Learning)
การนำการจดั การเรียนการสอนในรูปแบบ Active Learning โดยนำนวตั กรรม KACHINO
Guidance Model มาใช้ในการจัดการเรยี นการสอน เป็นการฝกึ ปฏบิ ัตใิ นสภาพจรงิ มีการเชื่อมโยงกับ
สถานการณต์ ่างๆ จะทำใหผ้ ลการเรียนรเู้ กิดขึ้นถึง 90% ซง่ึ นักเรียนสามารถนำมาประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
ไดเ้ ช่นการทำโครงงานลปิ สตกิ จากวัตถดุ ิบจากธรรมชาติ โครงงานการทำถา่ นอดั แท่งจากกากชากาแฟ
โครงการโยเกริ ต์ เปน็ ตน้
การนำการจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบ Active Learning โดยนำนวตั กรรม KACHINO
Guidance Model ไดน้ ำไปแข่งโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนต้น ในงาน
มหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของนกั เรยี น ครัง้ ที่ 69 ไดร้ างวลั เหรยี ญทอง
นางสาวนุชมาศ สวสั ดพ์ิ าณชิ ย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก
สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ตั ิงานด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอนยอดเยี่ยม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 33
การนำการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Active Learning โดยนำนวตั กรรม KACHINO
Guidance Model ส่งผลงานเขา้ ร่วมโครงการมหิงสาสายสบื ของกรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมได้ผา่ นการ
ประเมินและได้โล่แหง่ ความภาคภมู ิใจ
องค์ประกอบที่ 2 คณุ ประโยชน์
ตวั ชวี้ ัดท่ี 2 ประโยชนต์ อ่ บคุ คล
การนำการจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบ Active Learning โดยนำนวตั กรรม KACHINO
Guidance Model มาใช้ในการจดั การเรียนการสอน ทำใหน้ กั เรยี นสามารถนำไปประกอบอาชีพ สามารถ
วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า ได้และนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ เช่น การทำถ่านอดั แท่ง การสบู่
จากใยไหม การประดษิ ฐเ์ ตาเอนกประสงค์โดยใชพ้ ลงั งานแสงอาทติ ย์ ครมี พอกหน้าจากมะขาม เป็นตน้
นางสาวนุชมาศ สวสั ด์พิ าณชิ ย์ โรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รัชมงั คลาภิเษก
สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบัติงานด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเย่ยี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 34
ผลการปฏิบัติงาน นกั เรยี นสามารถวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า ได้
❖ นกั เรียนใหค้ วามสนใจในการจดั กิจกรรม และมพี ฒั นาการทง้ั 4H ไดแ้ ก่ ดา้ นพุทธิศกึ ษา (Head)
ด้านจริยศึกษา (Heart) ด้านหตั ถศึกษา (Hand) และดา้ นพลศกึ ษา (Health)
❖ นกั เรียนเปดิ ใจทจ่ี ะเรียนรู้มากยิง่ ขน้ึ สงั เกตไดจ้ ากพฤติกรรม
องค์ประกอบที่ 2 คณุ ประโยชน์
ตวั ชี้วัดท่ี 3 ประโยชนต์ ่อหนว่ ยงาน
การนำการจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบ Active Learning โดยนำนวตั กรรม KACHINO
Guidance Model มาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน ทำใหน้ กั เรยี นเกดิ ความคดิ สร้างสรรคท์ ี่ดี เช่น นักเรียน
ประดิษฐเ์ ตา BK จรวดขวดน้ำเปน็ ตน้ สามารถนำไปเผยแพร่ แบ่งปนั ความรทู้ ี่ได้สู่สงั คมชุมชนและประเทศชาติ
นางสาวนชุ มาศ สวัสดิพ์ าณิชย์ โรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รัชมังคลาภเิ ษก
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ตั งิ านดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอนยอดเยยี่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 35
การนำการจดั การเรยี นการสอนในรูปแบบ Active Learning โดยนำนวตั กรรม KACHINO
Guidance Model มาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน เปน็ กิจกรรมท่ที ำใหน้ กั เรยี นเชอื่ มโยงกับ
สภาพแวดลอ้ มใกล้ตวั เชน่ การอนรุ ักษพ์ นั ธุเ์ ห็ดในทอ้ งถิน่ การตระหนกั ถึงประโยชน์ของปลวกตอ่ สายใย
อาหาร การสรา้ งคณุ ค่าของหม่อน ตามรอยผเี สอื้ เป็นตน้
การนำการจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบ Active Learning โดยนำนวตั กรรม KACHINO
Guidance Model มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน เปน็ กิจกรรมท่ีทำใหน้ กั เรยี นสามารถแกป้ ัญหาให้ชุมชน
สังคม หรอื ประเทศชาติ ได้
1.1) เคร่อื งกรองน้ำทำมือ การแก้ปญั หาของชุมชนในการนำนำ้ มาใชป้ ระโยชนโ์ ดยใช้
เครื่องมือท่ีหาง่ายและประหยดั ไม่ตอ้ งซื้อหาวัสดเุ ครอื่ งมอื ราคาแพง
1.2) เตาอบพลงั งานแสงอาทิตย์ การแก้ปัญหาของชมุ ชนในการลดการใชพ้ ลงั งานจาก
เชอ้ื เพลิงเปลี่ยนเป็นการใชพ้ ลงั งานสะอาดจากธรรมชาติให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ
นางสาวนุชมาศ สวสั ดิ์พาณิชย์ โรงเรยี นปอพานพทิ ยาคม รชั มังคลาภิเษก
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏิบัติงานด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอนยอดเยีย่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 36
1.3) รถพลังงานลม การแกป้ ัญหาของชมุ ชนในการสรา้ งความตระหนักของการลดการใช้
รถยนต์จากพลงั งานเชอื้ เพลิงที่ส่งผลเสียตอ่ สภาพแวดล้อมดว้ ยการใชพ้ ลงั งานสะอาด จากธรรมชาติให้เกดิ
ประโยชนส์ ูงสดุ
1.4) ชาเขยี วใบหม่อน สามารถเพิม่ มูลคา่ พชื ทมี่ อี ยใู่ นทอ้ งถ่นิ
1.5) ถ่านจากกากชากาแฟ การแกป้ ญั หาขยะในชมุ ชน สามารถนำมาใช้ให้เกดิ ประโยชน์
เป็นเชอื้ เพลงิ ทางเลือกอีกชนดิ
1.6) ลกู บอลชีวภาพ ใชบ้ ำบดั น้ำเสียในชุมชน
วางแผนการดำเนนิ การเพื่อประโยชน์ต่อชุมชน
ชาเขียวใบหม่อน ในกิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้
นางสาวนุชมาศ สวสั ดพิ์ าณชิ ย์ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภเิ ษก
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบตั งิ านด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอนยอดเยีย่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 37
องคป์ ระกอบท่ี 3 ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์
ตัวชีว้ ดั ท่ี 1 ความแปลกใหม่ของนวัตกรรม
นวตั กรรม KACHINO Guidance Model สามารถนำมาใช้ไดห้ ลากหลาย อาทิเช่น กจิ กรรมลดเวลา
เรยี นเพิม่ เวลารู้ โครงการมหิงสาสายสบื เพอ่ื แนะแนวนักเรียน สามารถนำไปประยุกต์ใชไ้ ด้ ต่อยอดนำไปสรา้ ง
อาชพี ได้เป็นการแกป้ ญั หาใหม่ และสามารถนำมาใชพ้ ัฒนา แกป้ ัญหาในชีวติ ประจำวนั ได้ เช่น เตาสรุ ิยะ เป็น
เตาใช้ประกอบอาหาร สามารถใช้เพอ่ื นำพลังงานแสงอาทิตยซ์ ึง่ เป็นพลงั งานที่บรสิ ทุ ธ์ิ เตาบีเค การทำลูกบอล
ชวี ภาพ สามารถนำความรทู้ ่ีไดไ้ ปประกอบอาชพี ได้
เตาสุรยิ ะ สิง่ ประดษิ ฐ์ เตาบเี ค
ลูกบอลชีวภาพ นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ เตาบเี ค
นางสาวนุชมาศ สวัสดพิ์ าณชิ ย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รัชมังคลาภเิ ษก
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบัตงิ านดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอนยอดเยย่ี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 38
องคป์ ระกอบที่ 3 ความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์
ตัวช้วี ัดที่ 2 จุดเดน่ ของนวตั กรรม
KACHINO Guidance Model สามารถนำมาใช้ผ่านรูปแบบกิจกรรม 3 กจิ กรรม ดังน้ี
1. กิจกรรมมหงิ สาสายสืบ
ความเปน็ มาของโครงการมหงิ สาสายสบื
โครงการมหงิ สาสายสบื พัฒนามาจากโครงการรางวลั จอหน์ มัวร์ อวอรด์ (The John Muir Award)
ซึ่งเป็นโครงการทก่ี ่อตั้งขนึ้ ในประเทศสกอ็ ตแลนด์และประสบผลสำเร็จในการดำเนนิ โครงการเปน็ อย่างมาก
โดยมแี นวคิดสำคญั คอื การเปิดโอกาสให้เดก็ ๆ ไดส้ ำรวจ เรยี นร้แู ละใกลช้ ดิ กับธรรมชาติ ซงึ่ จะช่วยพฒั นาให้เกดิ
จิตสำนกึ รกั และหวงแหนในธรรมชาติ
โครงการมหงิ สาสายสบื คืออะไร ?
โครงการมหิงสาสายสืบ เป็นโครงการทกี่ รมสง่ เสรมิ คุณภาพส่งิ แวดลอ้ มได้เริ่มดำเนนิ การต้งั แตป่ ี พ.ศ.
2548 โดยมงุ่ เนน้ ให้เยาวชนพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ ทักษะ การทำงานรว่ มกันเปน็ ทมี และส่งเสริมให้เยาวชน
ได้มโี อกาสคน้ หาและพัฒนาศักยภาพขอตน โดยการรวมกลุ่มทำกิจกรรมทที่ ้าทายความสามารถในการสำรวจ
ดูแลรกั ษาพื้นทธ่ี รรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มในทอ้ งถ่นิ ของตนผา่ นกจิ กรรมการ “ค้นหา” พื้นทธี่ รรมชาตทิ ีก่ ลมุ่ มี
ความสนใจแลว้ จงึ ลงมอื “สำรวจ” พนื้ ทีน่ น้ั อย่างต่อเน่อื งและสม่ำเสมอ ตลอดจนดำเนนิ การ “อนรุ ักษ์” พืน้ ท่ี
ดงั กล่าวด้วยวธิ กี ารต่างๆ ทกี่ ลมุ่ สามารถทำได้ จากน้ันจงึ นำประสบการณค์ วามสำเรจ็ ท่กี ลมุ่ ไดร้ บั ไป
“แบง่ ปนั ” หรือเผยแพร่ ใหบ้ ุคคลอน่ื ไดร้ บั รู้ รับทราบและเหน็ ถงึ ประโยชน์ความสำคัญของพืน้ ท่ีนน้ั ตอ่ ไป
แนวคิดของโครงการคือ การเปดิ โอกาสให้เด็กที่สนใจในทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ไดใ้ กลช้ ิดกับ
ธรรมชาติ ผ่านกจิ กรรม 4 ระดบั ความทา้ ทาย จะชว่ ยส่งเสรมิ ให้เกดิ การเรยี นรทู้ งั้ ในดา้ น (มติ )ิ วิทยาศาสตร์
และสงั คม อกี ทง้ั ยังเปน็ กิจกรรมการเรียนรู้ทเ่ี ดก็ และเยาวชนทำแล้วรู้สึกมคี วามสุข สนุกสนาน และไม่ใช่ “การ
แขง่ ขัน” เพ่อื ชิงรางวัล แตเ่ ปน็ โครงการทีส่ ่งเสรมิ ให้เยาวชนไดแ้ ขง่ ขันกับตวั เอง ทา้ ทายศกั ยภาพในตัวเองใน
การอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติในท้องถนิ่
แนวทางการดำเนินกิจกรรม 4 ระดับความทา้ ทาย
ขัน้ ค้นหา
➢ พนื้ ที่ตอบโจทยก์ ับวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายของการดำเนนิ โครงการ
➢ กำหนดขอบเขตพื้นที่ใหช้ ัดเจน
➢ ที่มา/ประวัตขิ องพ้นื ท่/ี ความสำคัญ/ระยะทาง/การเดินทาง/ความปลอดภยั
➢ การขออนญุ าตเข้าใชพ้ นื้ ท่ี
ขน้ั สำรวจ
➢ ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่
- ดิน น้ำ อากาศ/ภมู ิประเทศ
➢ ลักษณะทางชวี ภาพ
นางสาวนชุ มาศ สวัสดพ์ิ าณิชย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภเิ ษก
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบตั งิ านดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยย่ี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 39
- ส่ิงมีชีวิตทพี่ บจรงิ ในพ้ืนทที่ ัง้ พืชและสตั ว์ รวมถงึ ส่งิ มีชีวิตในน้ำและบนบก
➢ ข้อมลู เจาะลึกของสิ่งท่ีสนใจ
- รปู รา่ ง/ลกั ษณะ/วงจรชีวติ
- ปัจจัยการดำรงชวี ติ /การเจริญเติบโต
- ความสำคัญ(ตอ่ พื้นที่/ต่อระบบนเิ วศ)/ประโยชน/์ สรรพคุณ
➢ การเชอื่ มโยงข้อมูลเปน็ “ระบบนเิ วศ”
ขั้นอนุรกั ษ์
➢ ใช้ขอ้ มูลจากขัน้ สำรวจและบรบิ ทพืน้ ทีเ่ ป็นตัววางแนวทางของการใชก้ จิ กรรม
➢ กิจกรรมเป็นรูปธรรม/จบั ต้องได้/มผี ลการดำเนนิ งาน/เกิดประโยชน์ยง่ั ยนื
➢ ขยายผลสกู่ ลุ่มเปา้ หมาย
ขั้นแบง่ ปนั
➢ วิเคราะหก์ ลุ่มเป้าหมาย (ทำกบั ใคร/จำนวนกีค่ น) แล้วจึงคดิ กจิ กรรม
➢ กิจกรรมทเ่ี ป็นประโยชน์/นา่ สนใจ (เกดิ ประโยชนก์ ับกลุม่ เปา้ หมาย)
➢ เผยแพร่สง่ิ ท่ีได้จาก 4 ระดับความทา้ ทาย
นางสาวนชุ มาศ สวัสดิพ์ าณชิ ย์ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก
สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏบิ ตั งิ านด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเย่ยี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 40
2. การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
ครไู ดจ้ ดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ เน้นการลงมอื ทำ ครเู ป็นผ้กู ระต้นุ เพอ่ื นำ
ความสนใจท่ีเกดิ จากตวั นักเรียนมาใชใ้ นการทำกจิ กรรมค้นคว้าหาความรดู้ ้วยตวั นักเรยี นเอง นำไปสู่การเพิม่
ความรทู้ ไี่ ด้จากการลงมือปฏบิ ัติ การฟังและการสงั เกต โดยนักเรยี นมีการเรียนรูผ้ ่านกระบวนการทำงานเปน็
กลุ่ม ท่ีจะนำมาสู่การสรปุ ความรใู้ หม่ มกี ารเขียนกระบวนการจัดทำโครงงาน
ข้ันตอนการจัดการเรยี นรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน
การจดั การเรียนรแู้ บบใช้โครงงานเป็นฐานโดยมที ง้ั หมด 6 ข้ันตอน ดังน้ี
1. ข้ันใหค้ วามรู้พืน้ ฐาน ครใู หค้ วามรพู้ ืน้ ฐานเกย่ี วกับการทำโครงงานกอ่ นการเรยี นรู้ เน่ืองจากการทำ
โครงงานมรี ปู แบบและขั้นตอนท่ีชดั เจนและรดั กมุ ดังน้ันนกั เรยี นจึงมคี วามจำเปน็ อย่างยง่ิ ที่จะตอ้ งมีความรู้
เกย่ี วกับโครงงานไว้เปน็ พ้ืนฐาน เพื่อใชใ้ นการปฏบิ ัติขณะทำงานโครงงานจรงิ ในข้นั แสวงหาความรู้
2. ข้ันกระตนุ้ ความสนใจ ครเู ตรียมกจิ กรรมทจ่ี ะกระตุน้ ความสนใจของนักเรียน โดยต้องคดิ หรือ
เตรยี มกจิ กรรมทดี่ ึงดดู ใหน้ ักเรียนสนใจ ใครร่ ู้ ถึงความสนกุ สนานในการทำโครงงานหรอื กิจกรรมรว่ มกนั โดย
กจิ กรรมนั้นอาจเป็นกจิ กรรมทคี่ รกู ำหนดขนึ้ หรอื อาจเปน็ กจิ กรรมที่นกั เรยี นมคี วามสนใจตอ้ งการจะทำอย่แู ล้ว
ทง้ั นี้ในการกระตนุ้ ของครจู ะตอ้ งเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนเสนอจากกิจกรรมทไ่ี ดเ้ รยี นรผู้ ่านการจดั การเรยี นรู้ของ
ครทู ่ีเกีย่ วข้องกับชุมชนทนี่ ักเรยี นอาศยั อย่หู รอื เปน็ เรอื่ งใกล้ตวั ทส่ี ามารถเรียนรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง
3. ขน้ั จัดกลมุ่ รว่ มมอื ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มกันแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการกลุ่มในการวางแผน
ดำเนินกจิ กรรม โดยนักเรียนเป็นผูร้ ว่ มกันวางแผนกิจกรรมการเรียนของตนเอง โดยระดมความคดิ และหารือ
แบง่ หน้าที่เพ่อื เป็นแนวทางปฏิบัตริ ่วมกนั หลังจากทไ่ี ด้ทราบหัวข้อส่งิ ทต่ี นเองตอ้ งเรียนรใู้ นภาคเรียนนั้นๆ
เรียบร้อยแลว้
4. ขน้ั แสวงหาความรู้ ในขน้ั แสวงหาความรมู้ ีแนวทางปฏบิ ตั ิสำหรับนักเรียนในการทำกจิ กรรม ดงั นี้
นักเรยี นลงมอื ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมโครงงาน ตามหวั ขอ้ ท่กี ลมุ่ สนใจ นักเรียนปฏิบตั ิหนา้ ท่ขี องตนตามข้อตกลงของ
กลุ่ม พร้อมทงั้ รว่ มมอื กนั ปฏบิ ัติกิจกรรม โดยขอคำปรกึ ษาจากครเู ป็นระยะเมอ่ื มีขอ้ สงสัยหรือปัญหาเกดิ ข้ึน
นักเรยี นรว่ มกนั เขียนรปู เลม่ สรุปรายงานจากโครงงานทีต่ นปฏบิ ัติ
5. ข้นั สรุปสง่ิ ทเี่ รยี นรู้ ครูใหน้ กั เรยี นสรปุ ส่ิงที่เรยี นรู้จากการทำกจิ กรรม โดยครใู ช้คำถาม ถาม
นักเรยี นนำไปสกู่ ารสรปุ สงิ่ ทเ่ี รยี นรู้
6. ขนั้ นำเสนอผลงาน ครูให้นักเรยี นนำเสนอผลการเรยี นรู้ โดยครอู อกแบบกจิ กรรมหรือจดั เวลาให้
นักเรยี นไดเ้ สนอสง่ิ ท่ตี นเองได้เรยี นรู้ เพ่ือให้เพอื่ นรว่ มชัน้ และนักเรยี นอน่ื ๆในโรงเรียนไดช้ มผลงานและเรยี นรู้
กจิ กรรมทีน่ กั เรียนปฏบิ ัติในการทำโครงงาน
นางสาวนุชมาศ สวัสด์ิพาณชิ ย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รชั มงั คลาภเิ ษก
สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏบิ ตั งิ านด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอนยอดเยย่ี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 41
ภาพ ข้ันตอนการจัดการเรียนรแู้ บบใช้โครงงานเปน็ ฐาน
การจัดการเรยี นรู้แบบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
โครงงานสบู่จากใยไหม โครงงานอาชีพ ผลติ ภัณฑจ์ ากขา้ ว
โครงงานอาชีพ โครงงานลิปสตกิ จากวตั ถดุ บิ จากธรรมชาติ
นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณชิ ย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบตั งิ านด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอนยอดเย่ยี ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 42
โครงงานโยเกิรต์ นำเสนอโครงงาน
3. กิจกรรมแนะแนว
ไดด้ ำเนินการชว่ ยเหลอื นกั เรียนโดยการใหค้ ำปรกึ ษาเบื้องต้น มกี ารจดั กจิ กรรมเพ่ือปอ้ งกนั และแก้ไข
ปญั หา เชน่ กจิ กรรมคู่บัดดี้ กจิ กรรมสายรหสั กจิ กรรมซ่อมเสริม กจิ กรรมสอื่ สารกบั ผปู้ กครอง กิจกรรมใน
หอ้ งเรียน จากการดำเนนิ การดงั ทก่ี ลา่ วมาสง่ ผลใหน้ กั เรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
อยู่อย่างพอเพียง และปฏิบัติตนอยใู่ นสังคมแหง่ การเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีความสุข นอกจากนี้นักเรียนยังมี
ผลงาน มีทักษะชวี ติ ทกั ษะอาชพี และกา้ วทนั ต่อการเปล่ียนแปลงของโลก
การนำนวัตกรรม KACHINO Guidance Model เปน็ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยกระบวนการ
Active learning เนน้ ผเู้ รียนได้คิดไดล้ งมือทำ เพอ่ื ใหน้ กั เรียนเป็นคนมคี วามสขุ เขา้ ใจตนเองและผู้อนื่ เปน็
มนษุ ยท์ ่มี ีความสมบรู ณ์ เปน็ คนดี มคี วามรู้ ความสามารถ มุ่งสตู่ ลาดแรงงาน
ผลท่ีเกดิ จากการนำนวตั กรรมไปใช้
1. นักเรียนรู้จักตนเอง รักและเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง รจู้ ักผู้อื่น ยอมรบั ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
สามารถอยู่รว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ
2. นักเรยี นมีสขุ ภาพร่างกายแขง็ แรง มีสขุ ภาพจติ ทด่ี ี รา่ เริง แจ่มใจ รทู้ นั ความเปลยี่ นแปลงของ
สังคม
3. นักเรียนเปน็ คนดมี ีจิตใจอ่อนโยน รู้จกั แบ่งปนั และชว่ ยเหลือผู้อน่ื มจี ติ สาธารณะ
4. นักเรียนเป็นคนเก่ง กลา้ แสดงออก
5. นักเรียนมกี ระบวนคดิ เป็นระบบ คิดเปน็ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
นางสาวนชุ มาศ สวัสด์ิพาณิชย์ โรงเรียนปอพานพทิ ยาคม รชั มงั คลาภิเษก
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรปุ ผลปฏบิ ัติงานด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นการสอนยอดเยี่ยม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 43
นักเรยี นมีจิตสาธารณะ
นักเรยี นเปน็ คนเก่ง กลา้ แสดงออก
นกั เรยี นมกี ระบวนคิดเปน็ ระบบ คดิ เป็น แก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ได้
นำเสนอผลงานอยเู่ สมอ
นางสาวนุชมาศ สวัสด์ิพาณชิ ย์ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก
สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏบิ ัตงิ านดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรียนการสอนยอดเยีย่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 44
ตวั ช้วี ดั รว่ ม
องคป์ ระกอบที่ 1 ผลที่เกดิ กบั ผเู้ รียน
ตวั ช้วี ัดท่ี 1 ผลที่เกดิ กับผ้เู รียน
การจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบ Active Learning โดยการนำนวัตกรรม KACHINO
Guidance Model เปน็ กระบวนการเรียนการสอนอยา่ งหนึง่ แปลตามตวั ก็คอื เปน็ การเรยี นรผู้ ่านการปฏบิ ตั ิ
หรอื การลงมือทำซงึ่ “ความรู้” ทเ่ี กดิ ขึ้นก็เป็นความรู้ทไ่ี ด้จากประสบการณ์ กระบวนการในการจดั กิจกรรม
การเรียนรทู้ ี่ผู้เรียนตอ้ งได้มีโอกาสลงมือกระทำมากกวา่ การฟงั เพียงอยา่ งเดียว มจี ดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รียนได้การ
เรียนรโู้ ดยการอ่าน, การเขียน, การโตต้ อบ, และการวเิ คราะห์ปัญหา อีกทง้ั ใหผ้ เู้ รยี นได้ใชก้ ระบวนการคิดขัน้
สงู ได้แก่ การวเิ คราะห,์ การสงั เคราะห์, และการประเมินค่า กล่าวคอื ผเู้ รยี นมกี ารวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ
การประเมินค่าจากสิ่งท่ไี ดร้ บั จากกจิ กรรมการเรยี นรู้ ทำให้การเรยี นรูเ้ ป็นไปอย่างมีความหมายและนำไปใชใ้ น
สถานการณ์อ่ืนๆได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
เนอ่ื งจากผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวทิ ยาศาสตร์จากผลการทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติขัน้ พน้ื ฐาน
(O – NET) ดงั รปู เพอ่ื ให้มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นท่สี งู ขึ้นในอนาคต นวัตกรรม KACHINO Guidance
Model นี้ไดจ้ ดั ทำถูกต้องตามหลักวิชา มีเนอ้ื หาสอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและมคี วามสมบูรณใ์ นเนอ้ื หาทุก
ประการ ดงั ตาราง
ภาพแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O – NET) โรงเรียนปอพานพิทยาคมฯ
นางสาวนุชมาศ สวัสดิ์พาณชิ ย์ โรงเรยี นปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภเิ ษก
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา มหาสารคาม
แบบสรุปผลปฏิบตั ิงานดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอนยอดเยีย่ ม(OBEC AWARDS)
ผลงาน KACHINO Guidance MODEL 45
1.1 ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
❖ ในการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ทั้ง 8 ขอ้ นน้ั นกั เรยี นโรงเรียนปอพานพิทยาคม รชั มงั
คลาภิเษกมผี ลการประเมนิ ครบทกุ ขอ้ และทกุ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
❖ นกั เรียนประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นตามคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ท่ีเปน็ จดุ เนน้ ของสถานศกึ ษา ไดค้ รบ
ทุกข้อ คิดเปน็ ร้อยละ 100
❖ นักเรียนไดร้ ับทนุ การศกึ ษาพระราชทานของสมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
1.2 ผลงาน/ชนิ้ งาน/ภาระงาน/ผลการปฏบิ ตั ิงาน
❖ นกั เรยี นให้ความสนใจในการจดั กจิ กรรม และมีพฒั นาการท้ัง 4H ได้แก่ ดา้ นพทุ ธิศกึ ษา (Head)
ดา้ นจริยศกึ ษา (Heart) ด้านหตั ถศึกษา (Hand) และดา้ นพลศกึ ษา (Health)
❖ นักเรียนทุกคนมชี ิ้นงาน ครบถ้วนตามทคี่ รกู ำหนด มคี ุณภาพตามเกณฑท์ กี่ ำหนด และไดร้ ับ
รองรบั จากผบู้ ริหารโรงเรยี น
นางสาวนุชมาศ สวสั ดพิ์ าณิชย์ โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมงั คลาภิเษก
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา มหาสารคาม