The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by monkikkik, 2022-03-06 08:38:55

รายงาน เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

รายงาน เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

1

2

3

4

รายงานความรูเ บอ้ื งตนเก่ยี วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ

จัดทาํ โดย
นางสาวกมลรัตน โชคเหมาะ เลขท่ี 2 หอง 7/5

เสนอ
ดร.กฤษฎาพนั ธ พงษบ รบิ ูรณ

รายงานนเ้ี ปนสวนหนึง่ ของวชิ านวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา
หลกั สตู รประกาศนียบตั รบัณฑิตวิชาชีพครู รุน 7 คณะศกึ ษาศาสตรแ ละศลิ ปศาสตร

วทิ ยาลัยบณั ฑิตเอเชยี จังหวัดขอนแกน

5

6

คาํ นาํ

รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา โดยมี
วัตถุประสงคเพื่อการศึกษาหาความรู ที่มีเนื้อหาเก่ียวกับการศึกษาความรูเบื้องตนเก่ียวกับเทคโนโลยี
สารสนเทศ เปนการสงเสริมใหใชเทคโนโลยีอยางถูกตอง และเหมาะสม เพ่ือนําไปปรับประยุกตใชใน
ชีวิตประจําวันใหเ กิดประโยชนส งู สุด

ผจู ัดทาํ คาดหวังเปนอยางยิ่งวาการจัดทํารายงานฉบับน้ีจะมีขอ มูลทเี่ ปนประโยชนตอผูท่สี นใจศึกษา
เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเปน อยา งดี

จัดทําโดย
นางสาวกมลรัตน โชคเหมาะ

สารบัญ 7

บทที่ 1 นวตั กรรมทางการศกึ ษา หนา
1.1 ประวตั ิ ความเปน มาของนวัตกรรมทางการศึกษา
1.2 นวัตกรรมทางการศึกษา ในประเดน็ ความหมาย แนวคดิ พนื้ ฐาน ประเภท 1
ลกั ษณะ การพัฒนา ระยะของนวัตกรรม 2
1.3 นวัตกรรมทางการศกึ ษาในยุคปจจุบัน
14
บทท่ี 2 ความรเู บ้อื งตน เก่ยี วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2.1 ความหมายของสารสนเทศ 26
2.2 วิวัฒนาการของสารสนเทศ 27
2.3 สาเหตุที่ทาํ ใหเกดิ สารสนเทศ 28
2.4 ความหมายของคําวา ขอมูล 29
2.5 ชนิดของขอมูล 30
2.6 กรรมวธิ ีการจัดการขอ มูล 31
2.7 หลักเกณฑการประเมินผลลัพธ หรอื ผลผลิต 33
2.8 คุณลกั ษณะของสารสนเทศท่ีดี 33
2.9 คุณภาพของสารสนเทศ 36
2.10 ความสาํ คัญของสารสนเทศ 38
2.11 บทบาทของสารสนเทศ 39
2.12 องคป ระกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 43
2.13 เทคโนโลยสี ื่อสารโทรคมนาคม 45
2.14 ความสําคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 48
2.15 ปจจยั ท่ีทําใหเ กิดความลมเหลวในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช 51
2.16 ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ 52
2.17 เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการใชชีวิตในสังคมปจจุบัน 53
2.18 ประโยชนของระบบสารสนเทศ 57
2.19 การสืบคน และรับสงขอ มูล แฟม ขอมูล และสารสนเทศเพอื่ ใชในการจัดการเรยี นรู 58
2.20 คอมพวิ เตอรแ ละอนิ เตอรเน็ต 65
2.21 ระบบการสบื คนผานเครอื ขายเพือ่ การเรียนรู 69

สารบญั 8

บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การเรียนรู หนา
3.1 คอมพวิ เตอรแ ละอิน-เทอรเ น็ตกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ
3.2 เทคโนโลยีและสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู 71
3.3 สอื่ เพือ่ การเรียนรู 78
3.4 หลักการออกแบบนวัตกรรมและส่อื เพือ่ การเรียนรู 83
3.5 การเรียนรู แหลง เรยี นรู เครอื ขา ยการเรยี นรู 86
3.6 การจัดการเรยี นรูบ นเครอื ขายอินเทอรเ น็ต 87
3.7 ระบบการสบื คน ผานเครอื ขายเพ่อื การเรยี นรู 93
3.8 การสืบคน และรับสงขอ มลู แฟมขอ มูล 99
3.9 สารสนเทศเพอ่ื ใชใ นการจดั การเรียนรู 102
3.10 การวเิ คราะหป ญหาที่เกิดจากการใชนวตั กรรม 103
106
แบบทดสอบ นวัตกรรมทางการศกึ ษา จาํ วน 5 ขอ
เฉลยแบบทดสอบ นวัตกรรมทางการศกึ ษา จําวน 5 ขอ 110
แบบทดสอบ ความรเู บ้อื งตนเก่ยี วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ จาํ นวน 10 ขอ 111
เฉลยแบบทดสอบ ความรูเบอ้ื งตน เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ จาํ นวน 10 ขอ 112
แบบทดสอบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การเรียนรู จาํ นวน 20 ขอ 114
เฉลยแบบทดสอบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรยี นรู จาํ นวน 20 ขอ 116
120
บรรณานกุ รม
124

1

1

บทท่ี 1

เรื่องนวัตกรรมทางการศึกษา

1.1 ประวตั ิ ความเปนมาของนวัตกรรมทางการศึกษา

“นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพทมาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลวา ทําสิ่งใหม
ขึ้นมา ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตรคือ การนําแนวความคิดใหมหรือการใชประโยชน
จากสิ่งที่มีอยูแลวมาใชในรูปแบบใหม เพื่อทําใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทําในสิ่งที่
แตกตางจากคนอื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราใหกลายมาเปน
โอกาส (Opportunity) และถายทอดไปสูแนวความคิดใหมที่ทําใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม”
แนวความคิดนี้ไดถูกพัฒนาขึ้นมาในชวงตนศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นไดจากแนวคิดของนักเศรษฐ
อ ุต ส า ห ก ร ร ม เ ช น ผ ล ง า น ข อ ง Joseph Schumpeter ใ น The Theory of Economic
Development,1934 โดยจะเนนไปที่การสรางสรรค การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี อันจะนําไปสูการไดมาซึ่ง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพื่อ
ประโยชนในเชิงพาณิชยเปนหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถในการเรียนรูและนําไปปฎิบัติให
เกิดผลไดจริงอีกดวย (พันธุอาจ ชัยรัตน , Xaap.com)

คําวา “นวัตกรรม” เปนคําที่คอนขางจะใหมในวงการศึกษาของไทย คํานี้ เปนศัพทบัญญัติ
ของคณะกรรมการพิจารณาศัพทวิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษวา
Innovation มาจากคํากริยาวา innovate แปลวา ทาํ ใหม เปลี่ยนแปลงใหเกิดสิ่งใหม ในภาษาไทยเดิม
ใชคําวา “นวกรรม” ตอมาพบวาคํานี้มีความหมายคลาดเคลื่อน จึงเปลี่ยนมาใชคําวา นวัตกรรม (อาน
วา นะ วัด ตะ กํา) หมายถึงการนําสิ่งใหมๆ เขามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทําอยูเดิม เพื่อให
ใชไดผลดียิ่งขึ้น ดังนั้นไมวาวงการหรือกิจการใด ๆ ก็ตาม เมื่อมีการนาํ เอาความเปล่ียนแปลงใหมๆ เขา
มาใชเพื่อปรับปรุงงานใหดีขึ้นกวาเดิมก็เรียกไดวาเปนนวัตกรรม ของวงการนั้น ๆ เชนในวงการศึกษา
นาํ เอามาใช ก็เรียกวา “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) สําหรับผูที่กระทํา หรือนํา
ความเปล่ียนแปลงใหม ๆ มาใชนี้ เรียกวาเปน “นวัตกร” (Innovator) (boonpan edt01.htm)

ทอมัส ฮิวช (Thomas Hughes) ไดใหความหมายของ “นวัตกรรม” วา เปนการนําวิธีการ
ใหม ๆ มาปฏิบัติหลังจากไดผานการทดลองหรือไดรับการพัฒนามาเปนขั้น ๆ แลว เร่ิมตั้งแตการคิดคน
(Invention) การพัฒนา (Development) ซึ่งอาจจะเปนไปในรูปของ โครงการทดลองปฏิบัติกอน
(Pilot Project) แลวจึงนําไปปฏิบัติจริง ซึ่งมีความแตกตางไปจากการปฏิบัติเดิมที่เคยปฏิบัติมา
(boonpan edt01.htm)

2

มอรตัน (Morton,J.A.) ใหความหมาย “นวัตกรรม” วาเปนการทําใหใหมขึ้นอีกครั้ง
(Renewal) ซ่ึงหมายถึง การปรับปรุงส่ิงเกาและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหนวยงาน หรือ
องคการน้ัน ๆ นวัตกรรม ไมใชการขจัดหรือลมลางสิ่งเกาใหหมดไป แตเปนการ ปรับปรุงเสริมแตงและ
พัฒนา (boonpan edt01.htm)

ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2521 : 14) ไดใหความหมาย “นวัตกรรม” ไววาหมายถึง วิธีการปฎิบัติ
ใหมๆ ที่แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะไดมาจากการคิดคนพบวิธีการใหมๆ ขึ้นมาหรือมีการปรับปรุงของ
เกาใหเหมาะสมและส่ิงทั้งหลายเหลานี้ไดรับการทดลอง พัฒนาจนเปนที่เชื่อถือไดแลววาไดผลดีในทาง
ปฎิบัติ ทําใหระบบกาวไปสูจุดหมายปลายทางไดอยางมีประสิทธิภาพข้ึน

จรูญ วงศสายัณห (2520 : 37) ไดกลาวถึงความหมายของ “นวัตกรรม” ไววา “แมใน
ภาษาอังกฤษเอง ความหมายก็ตางกันเปน 2 ระดับ โดยทั่วไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ
จะเปนผลสําเร็จหรือไม มากนอยเพียงใดก็ตามที่เปนไปเพื่อจะนําสิ่งใหม ๆ เขามาเปล่ียนแปลงวิธีการท่ี
ทําอยูเดิมแลว กับอีกระดับหนึ่งซึ่งวงการวิทยาศาสตรแหงพฤติกรรม ไดพยายามศึกษาถึงที่มา ลักษณะ
กรรมวิธี และผลกระทบที่มีอยูตอกลุมคนท่ีเกี่ยวของ คําวา นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ่งที่ไดนําความ
เปลี่ยนแปลงใหมเขามาใชไดผลสําเร็จและแผกวางออกไป จนกลายเปนการปฏิบัติอยางธรรมดาสามัญ
(บุญเกื้อ ควรหาเวช , 2543)

1.2 นวัตกรรมทางการศึกษา ในประเด็น ความหมาย แนวคิดพน้ื ฐาน ประเภท ลักษณะ การพัฒนา ระยะ
ของนวัตกรรม

2.1.1 ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา
สมบูรณ สงวนญาติ (2534) ใหความหมายไวว า นวัตกรรมทางการศกึ ษา หมายถึง วธิ ีการปฏบิ ัติ

ใหมๆ ในทางการศกึ ษา ซง่ึ แปลกไปจากเดิมอาจไดมาจากการคน พบวิธีใหมๆ หรือปรบั ปรงุ ของเกาใหเหมาะสม
โดยไดมีการทดลอง พัฒนา จนเปนท่ีนาเช่ือถือไดวา มีผลดีในทางปฏิบัติ และสามารถทําใหระบบการศึกษา
ดําเนนิ ไปสเู ปาหมายไดอยา งมีประสิทธิภาพ

กิดานนั ท มลิทอง (2540) ใหค วามหมายไวว า นวัตกรรมการศกึ ษา หมายถึง นวัตกรรมท่ีชว ยให
การศึกษาและการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดีย่ิงขึ้น ผูเรียนสามารถเกิดการเรียนรูไดอยางรวดเร็วมี
ประสิทธิผลสูงกวาเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนดวยนวัตกรรมเหลาน้ัน และประหยัดเวลาในการเรียนไดอีก
ดวย ในปจจุบันมีการใชนวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอยางซึ่งมีท้ังนวัตกรรมที่ใชกันแพรหลายแลวและ
ประเภทท่ีกําลังเผยแพร เชน การสอนใชคอมพิวเตอรชวย การใชแผนวีดิทัศนเชิงโตตอบ ส่ือหลายมิติ และ
อินเทอรเนต็ เหลานเี้ ปนตน

3

วรวิทย นิเทศศลิ ป (2551) ใหความหมายไววา นวตั กรรมการศึกษา หมายถงึ การนําเอาความคิด
หรอื วธิ ปี ฏบิ ตั ิทางการศึกษาใหมๆ มาใชกับการศึกษา

คณาจารยภาควิชาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการศึกษา (2539) ใหค วามหมายไววา นวัตกรรม
การศึกษา หมายถึง แนวความคิดหรือวิธีการหรือเครื่องมือ ซ่ึงเปนส่ิงแปลกใหมยังไมเคยนํามาใชในวงการ
การศึกษามากอน แตไดถูกนํามาทดลองใชเพ่ือดูผลวาไดผลดีเพียงใด ถาไดผลดีก็จะไดรับการยอมรับและ
เผยแพรใ หรูจ ักและนาํ มาใชก นั อยางกวา งขวางตอไป

สุคนธ สินธพานนท (2553) ใหความหมายไววา นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง สิ่งใหมๆ ท่ี
สรางข้ึนมาเพื่อชวยแกปญหาเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนหรือพัฒนาใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมี
ประสทิ ธภิ าพ ไดแ กแนวคิด รูปแบบ วธิ กี าร กระบวนการ สอ่ื ตา งๆ ท่ีเก่ยี วกบั การศกึ ษา

ทัศนา แขมมณี (2526 : 12) ใหความหมายไววา นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง กระบวนการ
แนวคิด หรอื วิธกี ารใหมๆ ทางการศกึ ษาซึ่งอยูใ นระหวางการ ทดลองทจี่ ะจัดขึ้นมาอยางมีระบบและกวา งขวาง
พอสมควร เพ่ือพิสูจนประสิทธิภาพ อันจะนําไปสูการยอมรับนําไปใชในระบบการศึกษาอยา งกวางขวางตอ ไป

ธํารงค บัวศรี (2527 : 44) ไดกลาววา นวัตกรรมการศึกษาถูกสรางข้ึนมา เพ่ือแกปญหาทาง
การศึกษา

ลดั ดา ศุขปรีดี (2523 : 19) ไดใหความหมายไววา หมายถึง ความคดิ วิธกี ารใหมๆ ทางการเรียน
การสอนซึ่งรวมไปถึงแนวคิดวธิ ีปฏิบัติทีเ่ กามาจากท่ีอน่ื และมีความเหมาะสมทจ่ี ะนํามาใชในการเรียนการสอน
ในปจจุบนั

สําลี ทองธิว (2526 : 3) ใหความหมายไววา นวัตกรรมการศึกษาเปนสิ่งที่ถูกสรางข้ึนมาเพื่อ
แกปญหาทางการศึกษา หรือเพ่ือปรับปรุงเปล่ียนแปลง สิ่งท่ีมีอยูเดิมใหได มาตรฐานคุณภาพเพิ่มข้ึน ผูสราง
นวัตกรรมจะคํานึงถึงวา นวัตกรรมท่ีสรางขึ้นมาจะตองดีกวาของเดิมคือ จะตองไดรับประโยชนมากกวาเดิม
หรือมีความสะดวกมากขึน้ ไมยากตอ การใช ตรงกบั ความตองการของผใู ช

บุญเกื้อ ควรหาเวช (2521 : 1) ใหความหมายไววา นวัตกรรมทางการ ศึกษาคือความคิดและ
การระทําใหม ๆ ในระบบการศึกษาท่ีไดรับการพิสูจนวาดีท่ีสุดใน สภาพปจจุบันเพ่ือสงเสริมใหการเรียนการ
สอนมีประสิทธภิ าพมากย่ิงขน้ึ

สถาบนั พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ กลา วไววา นวัตกรรม
ทางการศึกษา หมายถึง ความคิดและวิธีการปฏิบัติใหมๆ ที่สงเสริมใหกระบวนการทางการศึกษามี
ประสทิ ธิภาพ

ฐานความรูศูนยนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา (กลาวไววา นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง
นวัตกรรมที่จะชวยใหการศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผูเรียนสามารถเกิดการเรียนรู
อยางรวดเร็วมปี ระสิทธิผลสูงกวาเดิม เกิดแรงจงู ใจในการเรียนดวยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาใน

4

การเรียนไดอ ีกดวย ในปจจบุ ันมกี ารใชนวตั กรรมการศกึ ษามากมายหลายอยาง ซงึ่ มีท้ังนวัตกรรมท่ีใชก ันอยาง
แพรหลายแลว และประเภทท่ีกําลังเผยแพร เชน การเรียนการสอนที่ใชคอมพิวเตอรชวยสอน (Computer
Aids Instruction) การใชแผนวิดีทัศนเชิงโตตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และ
อินเทอรเ นต็ (Internet) เปนตน

สมจิตร ยิ้มสุด กลาวไววา “นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง
การนําเอาสิ่งใหมซ่ึงอาจจะอยูในรูปของความคิดหรือการกระทํา รวมทั้งสิ่งประดิษฐก็ตามเขามาใชในระบบ
การศึกษา เพื่อมุงหวังที่จะเปล่ียนแปลงสิ่งท่ีมีอยูเดิมใหระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทําให
ผเู รียนสามารถเกิดการเรียนรูไดอยางรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และชวยใหประหยัดเวลาในการเรียน
เชน การสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน การใชวีดิทัศนเชิงโตตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ
(Hypermedia) และอินเตอรเนต็ เหลา น้เี ปนตน

ครูบา นนอก Blog (http://www.kroobannok.com/blog/33349) กลาวไววา นวตั กรรมทาง
การศึกษา คอื การปรับประยกุ ต ความคดิ ใหม วิธีการใหม รูปแบบใหม เทคนิคใหม แนวทางใหม ท่สี รางสรรค
และพัฒนาทั้งจากการตอยอดภูมิปญญาเดิม หรือจากการคิดคนขึ้นมาใหมใหเกิดส่ิงที่เปนประโยชนตอ
การศกึ ษาในระบบการศกึ ษา นอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

สรุป “นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนําเอาสิ่งใหมซึ่ง
อาจจะอยูในรูปของความคิดหรือการกระทํา รวมทั้งสิ่งประดิษฐก็ตามเขามาใชในระบบการศึกษา เพื่อ
มุงหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยูเดิมใหระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทําใหผูเรียน
สามารถเกิดการเรียนรูไดอยางรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และชวยใหประหยัดเวลาในการเรียน
เชน การสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน การใชวีดิทัศนเชิงโตตอบ(Interactive Video) สื่อหลายมิติ
(Hypermedia) และอินเตอรเน็ต เหลานี้เปนตน

1.2.2 แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา
ปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลอยางมาก ตอวิธีการศึกษา ไดแกแนวความคิดพื้นฐานทาง

การศึกษาที่เปล่ียนแปลงไป อันมีผลทาํ ใหเกิดนวัตกรรมการศึกษาที่สาํ คัญๆ พอจะสรุปได4 ประการ คือ
1. ความแตกตางระหวางบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได

ใหความสําคัญในเรื่องความแตกตางระหวางบุคคลเอาไวอยางชัดเจนซึ่งจะเห็นไดจากแผนการศึกษา
ของชาติ ใหมุงจัดการศึกษาตามความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแตละคนเปนเกณฑ
ตัวอยางที่เห็นไดชัดเจนไดแก การจัดระบบหองเรียนโดยใชอายุเปนเกณฑบาง ใชความสามารถเปน
เกณฑบาง นวัตกรรมท่ีเกิดข้ึนเพื่อสนองแนวความคิดพ้ืนฐานนี้ เชน

• การเรียนแบบไมแบงช้ัน (Non-Graded School)
• แบบเรียนสําเร็จรูป (Programmed Text Book)

5

• เครื่องสอน (Teaching Machine)
• การสอนเปนคณะ (TeamTeaching)
• การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
• เครื่องคอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction)
2. ความพรอม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันวา เด็กจะเริ่มเรียนไดก็ตองมีความพรอม
ซึ่งเปนพัฒนาการตามธรรมชาติ แตในปจจุบันการวิจัยทางดานจิตวิทยาการเรียนรู ชี้ใหเห็นวาความ
พรอมในการเรียนเปนสิ่งท่ีสรางขึ้นได ถาหากสามารถจัดบทเรียน ใหพอเหมาะกับระดับความสามารถ
ของเด็กแตละคน วิชาที่เคยเชื่อกันวายาก และไมเหมาะสมสําหรับเด็กเล็กก็สามารถนํามาใหศึกษาได
นวัตกรรมที่ตอบสนองแนวความคิดพื้นฐานนี้ไดแก ศูนยการเรียน การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวัตกรรม
ท่ีสนองแนวความคิดพ้ืนฐานดานน้ี เชน
• ศูนยการเรียน (Learning Center)
• การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
• การปรับปรุงการสอนสามช้ัน (Instructional Development in 3 Phases)
3. การใชเวลาเพื่อการศึกษา แตเดิมมาการจัดเวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอนมักจะจัด
โดยอาศัยความสะดวกเปนเกณฑ เชน ถือหนวยเวลาเปนชั่วโมง เทากันทุกวิชา ทุกวันนอกจากนั้นก็ยัง
จัดเวลาเรียนเอาไวแนนอนเปนภาคเรียน เปนป ในปจจุบันไดมีความคิดในการจัดเปนหนวยเวลาสอนให
สัมพันธกับลักษณะของแตละวิชาซึ่งจะใชเวลาไมเทากัน บางวิชาอาจใชชวงสั้นๆ แตสอนบอยคร้ัง การ
เรียนก็ไมจาํ กัดอยูแตเฉพาะในโรงเรียนเทานั้น นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพ้ืนฐานดานน้ี เชน
• การจัดตารางสอนแบบยืดหยุน (Flexible Scheduling)
• มหาวิทยาลัยเปด (Open University)
• แบบเรียนสําเร็จรูป (Programmed Text Book)
• การเรียนทางไปรษณีย
4. ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทํา
ใหมีสิ่งตางๆ ท่ีคนจะตองเรียนรูเพิ่มขึ้นมาก แตการจัดระบบการศึกษาในปจจุบันยังไมมีประสิทธิภาพ
เพียงพอจึงจําเปนตองแสวงหาวิธีการใหมที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ทั้งในดานปจจัยเกี่ยวกับตัวผูเรียน
และปจจัยภายนอก นวัตกรรมในดานนี้ท่ีเกิดขึ้น เชน
• มหาวิทยาลัยเปด
• การเรียนทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน
• การเรียนทางไปรษณีย แบบเรียนสําเร็จรูป
• ชุดการเรียน

6

1.2.3 ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา
ประเภทของการใชนวตั กรรมการศกึ ษาในประเทศไทย
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดมี

บทบัญญัติที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไวหลายมาตรา มาตราที่สําคัญ คือ
มาตรา 67 รฐั ตองสงเสริมใหมกี ารวิจยั และพัฒนาการผลิตและการพฒั นาเทคโนโลยีเพ่อื การศึกษา รวมท้ังการ
ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับ
กระบวนการเรียนรูของคนไทยและในมาตรา 22 "การจัดการศกึ ษาตองยดึ หลกั วาผูเรียนทุกคนมคี วามสามารถ
เรียนรูและพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตนเองไดและถือวา
ผูเรียนมีความสําคัญท่สี ุด กระบวนการจัดการศกึ ษาตองสง เสรมิ ใหผูเ รียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็ม
ตามศักยภาพ" การดําเนินการปฏิรูปการศึกษาใหสําเร็จไดตามท่ีระบุไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ
พ.ศ. 2542 ดังกลาว จําเปนตองทําการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาใหมๆ ท่ีจะเขามาชวยแกไข
ปญ หาทางการศึกษาท้ังในรูปแบบของการศึกษาวจิ ัย การทดลองและการประเมินผลนวัตกรรมหรอื เทคโนโลยี
ท่ีนํามาใชวามีความเหมาะสมมากนอยเพียงใด นวัตกรรมที่นํามาใชทั้งท่ีผานมาแลวและท่ีจะมีในอนาคตมี
หลายประเภทขึ้นอยูกบั การประยุกตใชน วัตกรรมในดานตางๆ ในทน่ี ี้จะขอกลาวคือ นวตั กรรม 5 ประเภท คอื

1. นวตั กรรมทางดานหลกั สตู ร
2. นวัตกรรมการเรียนการสอน
3. นวัตกรรมส่อื การสอน
4. นวตั กรรมการประเมนิ ผล
5. นวตั กรรมการบรหิ ารจดั การ
1. นวัตกรรมทางดา นหลกั สูตร
นวัตกรรมทางดานหลักสูตร เปนการใชวิธีการใหมๆ ในการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับ
สภาพแวดลอมในทองถ่ินและตอบสนองความตองการสอนบุคคลใหมากขึ้น เน่ืองจากหลักสูตรจะตองมีการ
เปลี่ยนแปลงอยูเสมอเพื่อใหสอดคลองกับความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
และของโลก นอกจากน้ีการพัฒนาหลักสตู รยงั มคี วามจาํ เปนทจี่ ะตองอยบู นฐานของแนวคิดทฤษฎีและปรัชญา
ทางการจัดการสัมมนาอีกดวย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกลาวตองอาศัยแนวคิดและ
วิธีการใหมๆ ท่ีเปนนวัตกรรมการศึกษาเขามาชวยเหลือจัดการใหเปนไปในทิศทางที่ตองการ นวัตกรรม
ทางดานหลักสตู รในประเทศไทย ไดแ ก การพฒั นาหลักสตู รดงั ตอไปนี้

7

1.1 หลักสูตรบูรณาการ เปนการบูรณาการสวนประกอบของหลักสูตรเขาดวยกันทางดาน
วทิ ยาการในสาขาตางๆ การศึกษาทางดานจรยิ ธรรมและสังคม โดยมุงใหผูเรยี นเปนคนดีสามารถใชประโยชน
จากองคความรใู นสาขาตางๆ ใหสอดคลอ งกบั สภาพสงั คมอยา งมจี ริยธรรม

1.2 หลักสูตรรายบุคคล เปนแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ เพ่ือ
ตอบสนองแนวความคิดในการจัดการศกึ ษารายบุคคล ซง่ึ จะตองออกแบบระบบเพ่อื รองรับความกาวหนาของ
เทคโนโลยีดานตา งๆ

1.3 หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ เปนหลักสูตรที่มุงเนน กระบวนการในการจัด
กิจกรรมและประสบการณใหกับผูเรียนเพื่อนําไปสูความสําเร็จ เชน กิจกรรมท่ีสงเสริมใหผูเรยี นมีสวนรวมใน
บทเรยี น ประสบการณก ารเรยี นรจู ากการสบื คนดวยตนเอง เปน ตน

1.4 หลักสูตรทองถิ่น เปนการพัฒนาหลักสูตรที่ตองการกระจายการบริหารจัดการออกสู
ทอ งถ่ิน เพ่ือใหส อดคลองกบั ศิลปวัฒนธรรมส่งิ แวดลอมและความเปนอยขู องประชาชนท่ีมอี ยใู นแตล ะทองถิ่น
แทนทีห่ ลักสูตรในแบบเดมิ ทใ่ี ชวิธีการรวมศนู ยก ารพฒั นาอยใู นสวนกลาง

2. นวัตกรรมการเรียนการสอน
เปนการใชวธิ ีระบบในการปรับปรงุ และคิดคน พัฒนาวธิ ีสอนแบบใหมๆ ท่ีสามารถตอบสนองการ

เรียนรายบุคคล การสอนแบบผูเรียนเปนศูนยกลาง การเรียนแบบมีสวนรวม การเรียนรูแบบแกปญหา การ
พัฒนาวิธีสอนจําเปนตองอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหมๆ เขามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน
ตัวอยา งนวตั กรรมที่ใชใ นการเรียนการสอน ไดแก การสอนแบบศนู ยก ารเรยี น การใชกระบวนการกลุม สัมพนั ธ
การสอนแบบเรียนรรู ว มกัน และการเรยี นผานเครอื ขายคอมพวิ เตอรแ ละอนิ เทอรเ นต็ การวิจัยในช้นั เรียน ฯลฯ

3. นวัตกรรมสือ่ การสอน
เน่ืองจากมีความกาวหนาของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเครือขายและเทคโนโลยี

โทรคมนาคม ทําใหนักการศึกษาพยายามนําศักยภาพของเทคโนโลยีเหลาน้ีมาใชในการผลิตส่ือการเรียนการ
สอนใหมๆ จํานวนมากมาย ท้ังการเรียนดวยตนเองการเรียนเปน กลุมและการเรยี นแบบมวลชน ตลอดจนสื่อท่ี
ใชเ พือ่ สนับสนนุ การฝก อบรม ผานเครอื ขายคอมพวิ เตอรตวั อยาง นวัตกรรมสื่อการสอน ไดแ ก

- คอมพิวเตอรชว ยสอน (CAI)
- มัลติมเี ดยี (Multimedia)

8

- การประชุมทางไกล (Teleconference)
- ชุดการสอน (Instructional Module)
- วดี ที ัศนแบบมปี ฏสิ ัมพันธ (Interactive Video)

4. นวตั กรรมทางดานการประเมินผล
เปนนวัตกรรมที่ใชเ ปนเครอื่ งมือเพ่ือการวัดผลและประเมินผลไดอยางมีประสิทธิภาพและทําได

อยางรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจยั สถาบัน ดวยการประยุกตใชโปรแกรมคอมพิวเตอรมา
สนบั สนุนการวัดผล ประเมนิ ผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย ตวั อยา ง นวัตกรรมทางดานการประเมินผล ไดแ ก

- การพัฒนาคลังขอ สอบ
- การลงทะเบียนผานทางเครอื ขายคอมพิวเตอร และอินเตอรเนต็
- การใชบตั รสมารทการด เพื่อการใชบ รกิ ารของสถาบันศกึ ษา
- การใชค อมพิวเตอรใ นการตัดเกรด
- ฯลฯ

5. นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ
เปนการใชนวัตกรรมที่เกี่ยวของกับการใชสารสนเทศมาชวยในการบริหารจัดการ เพื่อการ

ตัดสินใจของผูบริหารการศึกษาใหมีความรวดเร็วทันเหตุการณ ทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลก
นวัตกรรมการศึกษาท่ีนํามาใชทางดานการบริหารจะเกี่ยวของกับระบบการจัดการฐานขอมูลในหนวยงาน

9

สถานศึกษา เชน ฐานขอมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานขอมูล คณะอาจารยและบุคลากร ในสถานศึกษา ดาน
การเงนิ บญั ชี พสั ดุ และครภุ ณั ฑ ฐานขอมลู เหลา น้ตี อ งการออกระบบท่สี มบูรณม ีความปลอดภัยของขอ มลู สูง
นอกจากน้ียังมีความเก่ยี วขอ งกับสารสนเทศภายนอกหนว ยงาน เชน ระเบียบปฏิบตั ิ กฎหมาย พระราชบัญญัติ
ทเี่ กี่ยวกับการจัดการศึกษา ซึ่งจะตองมีการอบรม เกบ็ รักษาและออกแบบระบบการสบื คนท่ีดีพอซึ่งผูบริหาร
สามารถสืบคนขอมูลมาใชงานไดทันทีตลอดเวลาการใชน วัตกรรมแตละดานอาจมกี ารผสมผสานที่ซอนทับกัน
ในบางเรอื่ ง ซึ่งจําเปนตองมกี ารพัฒนารวมกันไปพรอมๆ กันหลายดาน การพฒั นาฐานขอ มูลอาจตองทําเปน
กลุมเพ่ือใหส ามารถนาํ มาใชร ว มกันไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

1.2.4 ลกั ษณะของนวตั กรรมทางการศกึ ษา
สคุ นธ สินธพานนท (2553 : 8) กลาววา นวัตกรรมทางการศึกษา ควรมีคุณลักษณะซง่ึ พอสรุป

ไดดงั ตอไปน้ี
1. เปนส่ิงใหมเ กี่ยวกบั การศึกษาทั้งหมด เชน วธิ กี ารสอนใหมๆ สื่อการสอนใหมๆ ซึง่ ไมเ คยมี

ใครทาํ มากอน
2. เปนส่ิงใหมเพียงบางสวน เชน มีการผลิตชุดการสอนรูปแบบใหม แตยังคงมีรูปแบบเดิม

เปนหลกั อยู ตวั อยางเชน มีบัตรเน้ือหา บตั รความรู บัตรทดสอบ แตมีการเพิม่ บัตรฝกทักษะความคิด บัตรงาน
สาํ หรบั ผูเรียนเปนตน

3. เปน ส่ิงใหมทยี่ งั อยใู นกระบวนการทดลองวามปี ระสทิ ธิภาพในการนําไปใชมากนอ ยเพยี งไร
เชน การนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการเขาไปในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทุกรายวิชา

4. เปนส่ิงใหมที่ไดรับการยอมรับและนําไปใชบางแลวแตยังไมแพรหลาย เชน
แหลงการเรยี นรทู อ งถ่นิ มวี นอทุ ยานอยูใ นทองถิ่นน้นั แตเ นอื่ งจากมอี ุปสรรคเก่ียวกับการเดินทางจงึ ยังไมเปนท่ี
นยิ มของสถานศึกษาตางๆ

5. เปนสิ่งท่ีเคยปฏิบัติมาแลวคร้ังหน่ึงแตไมคอยไดผลเนื่องจากขาดปจจัยสนับสนุนตอมาได
นาํ มาปรับปรุงใหมทดลองใชแ ละเผยแพรจัดวาเปน นวตั กรรมได

10

ในกรณีท่ีสิ่งนั้นไดนํามาใชจนกลายเปนส่ิงปกติของระบบงานนั้นก็ไมจัดวาเปนนวัตกรรม เชน การ
จัดทําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของโรงเรียนเมฆวิทยา เปนนวัตกรรมของโรงเรียนท่ีผูบริหารสนใจและ
สนับสนุนใหท ุกกลุมสาระการเรยี นรู ผลติ บทเรียนคอมพวิ เตอรชวยสอนทุกระดับช้ัน จนกลายเปนส่ือการสอน
ชนดิ หน่ึงของโรงเรียน จึงไมเ รยี กคอมพิวเตอรชวยสอนวาเปน นวตั กรรมอกี ตอ ไป

นคร ละลอกนํ้า (สัมภาษณ) กลาววา คุณลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา คือ นวัตกรรมทผ่ี าน
วิธีระบบวิเคราะหออกมาแลว ทดลองและพัฒนาแลวนํามาใชในวงกวางแตยังไมเปนปกติวิสัยมีผลยืนยันวา
ใชไ ดจ ริงแกปญ หาไดจ รงิ สามารถยนื ยันดว ยขอ มลู มหาศาล

ราตรี (2552) ไดกลา ววานวัตกรรมทางการศึกษามลี ักษณะ ดงั นี้
1. เปนสงิ่ ประดษิ ฐห รือวธิ ีการใหม
- คิดหรือทาํ ขึน้ ใหม
- เกาจากทีอ่ น่ื พ่งึ นาํ เขา
- คัดแปลงปรบั ปรุงของเดิม
- เดมิ ไมเหมาะแตป จจุบันใชไ ดดี
- สถานการณเ อ้อื อาํ นวยทาํ ใหเ กิดสง่ิ ใหม
2. เปน สง่ิ ไดรบั การตรวจสอบหรอื ทดลองและพฒั นา
3. นาํ มาใชห รือปฏิบตั ิไดด ี
4. มกี ารแพรก ระจายออกสูชุมชน

จิราพร (2552) ไดก ลาววา นวัตกรรมทางการศกึ ษามลี ักษณะ ดงั น้ี
1. เปนสิง่ ใหมท ไ่ี มเ คยมีผูใ ดเคยทาํ มากอนเลย
2. ส่ิงใหมทเี่ คยทํามาแลว ในอดตี แตไดม ีการร้ือฟนขนึ้ มาใหม
3. สิง่ ใหมทีม่ ีการพัฒนามาจากของเกา ทมี่ อี ยเู ดิม
4. เปนสิ่งที่อยูในระหวา งการทดลอง

ดงั น้ัน นวัตกรรมทางการศึกษา จงึ เปนการนําแนวคิดวิธีการมาใชในการจัดการศกึ ษาเพื่อสงเสริม
กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหมีประสทิ ธภิ าพย่ิงข้ึน มีลักษณะสําคัญ คอื

1. เปน แนวความคดิ ที่ไมยงั ไมมีการนํามาปฏิบตั ิในวงการศึกษาและอาจเปนสิ่งใหมบางสวนหรือ
เปนส่ิงใหมทัง้ หมดซง่ึ ใชไดไมไดผลในอดีตซงึ่ ไดรับการปรับปรุงแกไ ขใหดขี น้ึ เชน การนําคอมพิวเตอรม าใชใน
การจัดการเรยี นรู

2. เปนแนวความคดิ หรือแนวทางปฏิบตั ิในลกั ษณะใหมซ่งึ ดดั แปลงจากแนวความคดิ หรอื แนวทาง
ปฏิบัติเดิมท่ีปฏิบัติไมประสบความสําเร็จใหมีความสอดคลองกับสภาพแวดลอมในปจจุบันและกอใหเกิด

11

ความสําเร็จได และมีการจัดระบบข้ันตอนการดําเนินงาน (System Approach) โดยการพิจารณา
ขอ มูล กระบวนการ และผลลัพธ ใหเหมาะสมกอนทําการเปลีย่ นแปลงน้นั ๆ

3. เปนแนวความคดิ หรอื แนวทางปฏิบัตซิ ง่ึ มีมาแตเดิมและไดรบั การปรับปรงุ ใหม ลี ักษณะทันสมัย
และไดร บั การพสิ จู นป ระสทิ ธภิ าพดว ยวิธีทางวทิ ยาศาสตรหรืออยูระหวา งการวิจยั

4. เปนแนวความคิดหรอื แนวทางปฏิบัตทิ ่ีสอดคลอ งกับการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอม ซ่ึง
เออ้ื อํานวยใหเ กิดความสําเรจ็ ยง่ิ ขึ้น เชน การศึกษาคนควาดวยตนเอง

5. เปนแนวความคิดหรือแนวทางปฏิบัติท่คี นพบใหมอยางแทจริงซงึ่ ยังไมไดท ําการเผยแพรหรือ
ไดรบั การยอมรบั เปน สวนหนึง่ ของระบบงานในปจจุบัน

1.2.5 การพฒั นานวตั กรรมทางการศกึ ษา
การสราง พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู คือ การกระทําใหม การ

สรางใหม หรือการพัฒนาดัดแปลงจางส่ิงใดๆ แลวทําใหการศึกษาหรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมี
ประสิทธิภาพดีข้ึนกวาเดิม ทําใหผ ูเรียนเกิดการเรียนเปล่ยี นแปลงในการเรียนรู เกิดการเรียนรูอ ยางรวดเร็ว มี
แรงจูงใจในการเรียน ทําใหเ กดิ ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดกับผูเรยี น โดยมกี ระบวนการการสรางและ
พัฒนานวัตกรรม 5 ขน้ั ตอน ไดแ ก

ข้ันตอนที่ 1 การศึกษาเอกสารแนวคิดหลักการ เปนข้ันตอนของการสํารวจวาในทางวิชาการมี
พัฒนาเร่ืองน้ีไววาอยางไร มีใครท่ีเคยประสบปญหาการพัฒนาการเรียนรูหรือการบริหารสถานศึกษา
เชนเดียวกันน้ีมากอน และคนท่ีหาปญหาเชนเดียวกันน้มี ีแนวทางในการแกไขปญหานี้ในหองเรียนของตนเอง
อยางไร เพ่อื ใหไดแ นวคิดและแนวทางทีจ่ ะนาํ มาแกป ญ หาของตนเองตอ ไป

1.1 การแลกเปลี่ยนเรยี นรแู ละการแสวงหาแนวคิดและหลักการ
1.2 การศึกษาเอกสารงานวิจัยและประสบการของผูเกยี่ วของ
ข้ันตอนที่ 2 การเลือกและการวางแผนสรางนวัตกรรม โดยพิจารณาเลือกจากลักษณะของ
นวตั กรรมการเรียนรูทด่ี ี ดงั นี้
2.1 เปนนวตั กรรมการเรยี นรูท ่ีตรงกบั ความตองการและความจาํ เปน
2.2 มีความหนาเช่ือถือและเปนไปไดสูงท่ีจะสามารถแกปญหา และพัฒนาการเรียนรูของ
ผูเรียน
2.3 เปน นวัตกรรมทมี่ แี นวคิดหรือหลกั การทางวิชาการรองรับจนนา เชอื่ ถือ
2.4 สามารถนําไปใชใ นหอ งเรยี นไดจริง ใชไ ดง า ย สะดวกตอ การใชแ ละการพฒั นานวตั กรรม
2.5 มผี ลการพสิ ูจนเชิงประจักษวาไดใชในสถานการณจริงแลว สามารถแกปญหาหรือพัฒนา
คณุ ภาพการจัดการเรยี นรไู ดอ ยา งนาเพิ่งพอใจ

12

ขน้ั ตอนที่ 3 สรา งและพัฒนานวัตกรรมจากแผนการสรา งนวัตกรรม ครูตอ งศึกษาถึงรายละเอยี ด
ของนวัตกรรมท่ีจะสรางและดําเนินการตามขั้นตอน เชน การสรางนวัตกรรมท่ีเปนชุดการเรียนรู ครูอาจ
ดาํ เนนิ การสรา งตามขนั้ ตอนตอ ไปนี้ เชน

– วเิ คราะหจ ุดประสงคก ารเรียนรู
– กําหนดและออกแบบชดุ การเรียนรดู ว ยตนเอง
– ออกแบบสือ่ เสริม
– ลงมอื ทาํ
– ตรวจสอบคุณภาพครงั้ แรกโดยผูเช่ียวชาญ
– ทดลองใชระยะส้ันเพอ่ื ปรับปรุงเน้อื หาสาระ
–นาํ ไปใชเ พอ่ื แกปญหาหรอื การพัฒนาการเรยี นรู
ข้ันตอนท่ี 4 การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่พิสูจนวานวัตกรรมท่ี
สรางขั้นน้ันเม่ือนําไปใชจะไดผลตามที่ตองการหรือไม สามารถแกปญหาในช้ันเรียนหรือพัฒนาผูเรียนไดจริง
หรอื ไมก ารประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรมมีหลายวธิ ี เชน
4.1 การตรวจสอบโดยผเู ช่ียวชาญ
4.2 การบรรยายคุณภาพ
4.3 การคาํ นวณคารอยละของผูเรยี น
4.4 การหาประสทิ ฺธิภาพของนวตั กรรม
4.5 การประเมนิ สอื่ มลั ติมเี ดยี
ขน้ั ตอนที่ 5 ปรบั ปรุงนวตั กรรม หลังจากที่หาประสิทธภิ าพของนวัตกรรมท่ีสรา งขัน้ ไมวา จะโดย
วธิ ีการใดก็ตามควรนําความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะเลาน้ันมาปรับปรุงนวัตกรรมใหมีคุณภาพเหมาะสมท่ีจะ
นาํ ไปใชใ นหอ งเรยี นไดมากขึ้น โดยเฉพาะคา หาประสิทธภิ าพโดยการใหผ ูเช่ยี วชาญชวยตรวจและการบรรยาย
คุณภาพกอนการทดลองใชและหลังการทดลองใชกับผูเรียนกลุมเล็กจะทําใหไดขอมูลที่ชัดเจนและเปน
รายละเอยี ดทจี่ ะปรับปรงุ นวัตกรรมไดง ายข้นึ
กระบวนการพัฒนานวัตกรรมเปนกระบวนการที่ตองใชยุทธศาสตรการมีสวนรวมของบุคลากร
หลายๆ ฝา ยในโรงเรียน ท้ังผูบรหิ าร ครูและนักเรียนรวมถงึ ชุมชน โดยใชกระบวนการวิจยั ในการพัฒนาอยาง
เปนระบบ ดังนี้ (สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน. 2550 : 12-15)
1. ศึกษาสภาพปญหาและความตองการ สํารวจ วเิ คราะหส ภาพปญหา จุดเดน จุดดอ ยและความ
ตอ งการ ในการพฒั นาการบริหารจดั การ การจัดการเรียนการสอนและคุณธรรมจริยธรรมของนกั เรยี น
2. ออกแบบนวัตกรรม นวัตกรรมการศึกษาท่ีมักไดรับความสนใจและยอมรับนําไปใชอยาง
กวา งขวาง โดยทว่ั ไปมีลกั ษณะดงั นี้

13

2.1 คดิ จินตนาการ สรา งฝน ในสิง่ ที่คาดหวังทจี่ ะนาํ มาใชในการพัฒนาหรือแกไขปรับปรุงตาม
สภาพ ปญ หาและความตองการ

2.2 จัดลําดับความคิดสรุปวาจะทําอะไรทํา อยางไร ท่ีสามารถนํามาใชในการพัฒนาหรือ
แกไข ปรับปรุงไดตรงตามสภาพปญ หาและความตองการ

2.3 แสวงหา และรวบรวมความรูเพื่อสนับสนุนในสิ่งที่คิด และกําหนดขั้นตอนการพัฒนา
นวัตกรรม

3. สรางหรือพัฒนานวัตกรรม
3.1 จัดเตรยี มทรพั ยากร วสั ดุ อปุ กรณ เครื่องมอื ทจ่ี ําเปนและจดั หางบประมาณในการพฒั นา

นวัตกรรม
3.2 ดาํ เนนิ การสราง / พัฒนานวัตกรรม ตามขน้ั ตอนที่กําหนด
3.3 ตรวจสอบนวัตกรรมทีส่ รางหรือพัฒนาในแตละข้นั ตอน
3.4 สังเคราะหผลการตรวจสอบและปรบั ปรุงนวตั กรรมทีส่ รา ง / พฒั นา
3.5 กาํ หนดเกณฑก ารประเมนิ คณุ คา ความเปนนวตั กรรม

4. ทดลองใช
4.1 สรา งเครื่องมือเกบ็ รวบรวมขอ มูลผลการทดลองใช
4.2 นํานวัตกรรมไปทดลองใช(Try Out)
4.3 ประเมนิ ผลการทดลองใชแ ละปรับปรุงนวตั กรรม

5. สรุป รายงาน และเผยแพร
5.1 สรปุ รายงานผลการสรา ง / พฒั นานวัตกรรม
5.2 เผยแพรน วตั กรรม

ทิศนา แขมมณี (2548 : 423) ไดใหหลักการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาไวพอสรุปไดดังน้ี
1. การระบุปญหา (Problem) ความคิดในการพัฒนานวัตกรรมน้ัน สวนใหญจะเริ่มจากการ

มองเห็นปญ หา และตองการแกไ ขปญ หานนั้ ใหประสบความสําเรจ็ อยางมคี ณุ ภาพ
2. การกําหนดจุดมุงหมาย (Objective) เม่ือกําหนดปญหาแลวก็กําหนดจุดมุงหมายเพื่อจัดทํา

หรอื พัฒนานวัตกรรมใหมคี ุณสมบัติ หรอื ลกั ษณะตรงตามจุดมงุ หมายทกี่ ําหนดไว
3. การศึกษาขอจํากัดตางๆ (Constraints) ผูพัฒนานวัตกรรมทางดานการเรียนการสอนตอง

ศึกษาขอมูลของปญหาและขอจํากัดที่จะใชนวัตกรรมน้ัน เพื่อประโยชนในการนําไปใชไดจริง
4. ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ คิ ด ค น น วั ต ก ร ร ม (Innovation) ผู จั ด ทํ า ห รื อ พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม

จะตองมีความรู ประสบการณ ความริเริ่มสรางสรรค ซ่ึงอาจนําของเกามาปรับปรุง ดัดแปลง เพื่อใชในการ
แกปญ หาและทาํ ใหม ปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ หรอื อาจคิดคนขึ้นมาใหมทั้งหมด นวัตกรรมทางการศกึ ษามรี ูปแบบ

14

แตกตางกัน ขึ้นอยูกับลักษณะปญหาหรือวัตถุประสงคของนวัตกรรมน้ัน เชนอาจมีลักษณะเปนแนวคิด
หลักการ แนวทาง ระบบ รูปแบบ วิธีการ กระบวนการ เทคนิค หรือส่ิงประดิษฐ และเทคโนโลยี เปนตน

5. ก า ร ท ด ล อ ง ใ ช (Experimentation) เ มื่ อ คิ ด ค น ห รื อ ป ร ะ ดิ ษ ฐ น วั ต ก ร ร ม ท า ง
การศึกษาแลว ตองทดลองนวัตกรรม ซึ่งเปน สิง่ จําเปน เพอ่ื เปนการประเมินผลและปรบั ปรุงแกไขผลการทดลอง
จะทําใหไดขอมูลนํามาใชในการปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมตอไป ถาหากมีการทดลองใชนวัตกรรมหลาย
ครั้งก็ยอมมีความมนั่ ใจในประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรมนน้ั

6 ก า ร เ ผ ย แ พ ร (Dissemination) เ ม่ื อ ม่ั น ใ จ น วั ต ก ร ร ม ที่ ส ร า ง ข้ึ น มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
แลว กส็ ามารถนาํ ไปเผยแพรใหเปนที่รจู ัก

1.2.6 ระยะของนวัตกรรม
นวัตกรรม แบงออกเปน 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 มีการประดิษฐคิดคน (Innovation) หรือเปนการปรุงแตงของเกาให

เหมาะสมกับกาลสมัย
ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหลงทดลองจัดทําอยูใน

ลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติกอน (Pilot Project)
ระยะท่ี 3 การนําเอาไปปฏิบัติในสถานการณทั่วไป ซ่ึงจัดวาเปนนวัตกรรมขั้นสมบูรณ

1.3 นวตั กรรมทางการศกึ ษาในยคุ ปจ จุบัน
1.3.1 นวตั กรรมทางการศกึ ษาตา งๆ ทกี่ ลา วถึงกันมากในปจ จุบัน

E-learning
ความหมายของ e-Learning การเรียนทางอิเล็กทรอนิกส หรือ e-Learning รูปแบบการ

เรียนการสอน ซ่ึงใชการถายทอดเนื้อหา(delivery methods) ผานทางอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ไมวาจะเปน
คอมพิวเตอร เครือขายอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน หรือ สัญญาณ
ดาวเทียม และใชรูปแบบการนําเสนอเนื้อหาสารสนเทศในรูปแบบตาง ๆ ซ่ึงอาจอยูในรูปแบบการเรียนท่ีเรา
คุนเคยกันมาพอสมควร เชน คอมพิวเตอรชวยสอน(Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ
(Web-Based Instruction) การเรียนออนไลน (On-line Learning) การเรียนทางไกลผานดาวเทยี ม หรอื อาจ
อยูในลักษณะท่ียังไมคอยเปนท่ีแพรหลายนัก เชน การเรียนจากวดิ ีทัศนตามอธั ยาศัย (Video On-Demand)
เปนตน

15

อยางไรก็ดี ในปจจุบัน เม่ือกลาวถึง e-Learning คนสวนใหญจะหมายเฉพาะถึง การเรียนเน้ือหา
หรือสารสนเทศซ่ึงออกแบบมาสําหรับการสอนหรือการอบรม ซ่ึงใชเทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology)
ในการถา ยทอดเน้ือหา และเทคโนโลยีระบบการบรหิ ารจดั การการเรยี นรู (Learning Management System)
ในการบริหารจัดการการเรียนรูของผูเรียนและงานสอนดานตางๆ โดยผูเรียนที่เรียนจาก e-Learning น้ี
สามารถศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลน นอกจากน้ี เน้ือหาสารสนเทศของ e-Learning จะถูกนําเสนอโดย
อาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโตตอบ (Interactive
Technology)จากความหมายที่คนสวนใหญนิยาม e-Learning นั้น จําเปนตองทําความเขาใจใหชัดเจนวา
e-Learningไมใชเพียงแคการสอนในลักษณะเดิม ๆ และนําเอกสารการสอนมาแปลงใหอยูในรูปดิจิตัล และ
นาํ ไปวางไวบนเว็บ หรือระบบบริหารจัดการการเรียนรูเทานั้น แตครอบคลุมถึง กระบวนการในการเรียนการ
สอน หรือการอบรมท่ีใชเคร่ืองมือทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหเกิดความยืดหยุนทางการเรียนรู
(flexible learning) สนับสนุนการเรียนรูในลักษณะท่ีผูเรียนเปนศูนยกลาง (learner-centered) และการ
เรียนในลักษณะตลอดชีวิต (life-long learning) ซึ่งอาศัยการเปล่ียนแปลงดานกระบวนทัศน (paradigm
shift) ของท้ังกระบวนการในการเรียนการสอนดวย นอกจากน้ี e-Learning ไมจําเปนตองเปนการเรียน
ทางไกลเสมอ คณาจารยสามารถนําไปใชในลกั ษณะการผสมผสาน (blended) กับการสอนในช้นั เรียนได

1.3.2 ลกั ษณะสาํ คัญของ e-Learning (Feature of e-Learning)
ลกั ษณะสาํ คญั ของ e-Learning ทีด่ ี ควรจะประกอบไปดว ยลกั ษณะสําคญั 4 ประการ ดงั น้ี
1. ทุกเวลาทุกสถานท่ี (Anywhere, Anytime) หมายถึง e-Learning ควรตองชวยขยายโอกาส

ในการเขาถึงเนื้อหาการเรียนรูของผูเรียนไดจริง ในที่น้ีหมายรวมถึง การที่ผูเรียนสามารถเรียกดูเน้ือหาตาม
ความสะดวกของผเู รียน เชน ผเู รยี นมีการเขาถึงเครื่องคอมพิวเตอรท เี่ ชอื่ มตอ กบั เครอื ขายไดอ ยางยดื หยนุ

16

2. มัลตมิ ีเดีย (Multimedia) หมายถึง e-Learning ควรตองมีการนาํ เสนอเนื้อหาโดยใชป ระโยชน
จากสื่อประสมเพ่ือชวยในการประมวลผลสารสนเทศของผูเรยี นเพื่อใหเกิดความคงทนในการจดจําและ/หรือ
การเรยี นรไู ดดีขึน้

3. การเชื่อมโยง (Non-linear) หมายถงึ e-Learning ควรตองมีการนําเสนอเนื้อหาในลักษณะท่ี
ไมเปน เชิงเสนตรง กลาวคือ ผเู รียนสามารถเขา ถงึ เนื้อหาตามความตองการ โดย e-Learning จะตองจดั หาการ
เชื่อมโยงที่ยืดหยุนแกผูเรียน นอกจากนี้ยงั หมายถึงการออกแบบใหผูเรียนสามารถเรียนไดตามจังหวะ(pace)
การเรียนของตนเองดว ย เชน ผูเ รยี นทเี่ รยี นชา สามารถเลือกเน้อื หาที่ตอ งการเรียนซํ้าไดบอ ยครั้งผูเรยี นท่ีเรียน
ดีสามารถเลือกท่จี ะขา มไปเรียนในเน้อื หาทีต่ อ งการไดโดยสะดวก

4. การโตต อบ (Interaction) หมายถึง e-Learning ควรตอ งมีการเปดโอกาสใหผ ูเรียนโตต อบ(มี
ปฏสิ ัมพันธ) กับเนอื้ หา หรือกบั ผอู ่นื ได กลา วคือ

4.1 e-Learning ควรตองมีการออกแบบกิจกรรมซึ่งผูเรียนสามารถโตตอบกับเนื้อหา
(InteractiveActivities) รวมท้ังมีการจัดเตรียมแบบฝกหัดและแบบทดสอบใหผูเรียนสามารถตรวจสอบความ
เขาใจดว ยตนเองได

4.2 e-Learning ควรตอ งมกี ารจดั หาเคร่ืองมือในการใหช องทางแกผูเรยี นในการติดตอส่ือสาร
(Collaboration Tools) เพ่ือการปรกึ ษา อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นกับผูสอน วิทยากรผูเช่ียวชาญ
หรือเพื่อน ๆ รวมชั้นเรียนโดยในสวนของการโตตอบนี้ จะตองคํานึงถึงการใหผลปอนกลับท่ีทันตอเหตุการณ
(ImmediateResponse) ซึ่งอาจหมายถึง การทผ่ี ูสอนตอ งเขามาตอบคําถามหรือใหคําปรึกษาแกผูเรียนอยาง
สม่ําเสมอและทันเหตุการณ รวมถึง การท่ี e-Learning ควรตองมีการออกแบบใหมีการทดสอบ การวัดผล
และการประเมินผล ซึ่งสามารถใหผ ลปอ นกลับโดยทันทีแกผ ูเรียน ไมว าจะอยูในลกั ษณะของแบบทดสอบกอน
เรยี น (pre-test) หรือ แบบทดสอบหลังเรยี น (posttest) กต็ าม

1.3.3 องคป ระกอบของ e-Learning (Component of e-Learning)
มอี งคป ระกอบทส่ี ําคัญ 4 สวนคอื
1. เน้ือหา (Content) เนอ้ื หาเปนองคประกอบสําคญั ที่สดุ สําหรับ e-Learning คุณภาพของการ

เรยี นการสอนของ e-Learning และการท่ีผูเรียนจะบรรลวุ ัตถุประสงคการเรยี นในลกั ษณะนี้หรอื ไมอยางไร สิ่ง
สําคญั ท่สี ุดก็คอื เนอื้ หาการเรยี นซึ่งผูสอนไดจัดหาใหแ กผ ูเรียน ซึ่งผูเรียนมีหนาทใี่ นการใชเวลาสว นใหญศึกษา
เน้ือหาดว ยตนเอง เพอื่ ทําการปรบั เปล่ียน (convert) เน้อื หาสารสนเทศที่ผสู อนเตรยี มไวใ หเ กิดเปนความรู โดย
ผานการคิดคน วิเคราะหอยางมีหลักการและเหตุผลดวยตัวของผูเรียน ดังน้ันเนื้อหาของการเรียนแบบนี้ท่ี
พัฒนาเสร็จเรียบรอยแลว จึงมีอยูนอยมากทาใหไมเพียงพอกับความตองการในการฝกอบรม เพ่ิมพูนความรู
พฒั นาศกั ยภาพทงั้ ของบคุ คลโดยสว นตัวและของหนวยงานตางๆ

2. ระบบบริหารจัดการการเรียนรู (Learning Management System) เนื่องจากการเรียนแบบ
ออนไลนหรือ e-learning นั้นเปนการเรียนทส่ี นบั สนนุ ใหผเู รยี นไดศึกษา เรยี นรไู ดด ว ยตวั เอง ระบบบรหิ ารการ
เรียนที่ทําหนาทเี่ ปนศูนยกลาง กําหนดลําดับของเนื้อหาในบทเรียน นําสงบทเรียนผานเครือขา ยคอมพิวเตอร

17

ไปยังผเู รียน ประเมินผลความสําเร็จของบทเรยี น ควบคุม และสนับสนุนการใหบ รกิ ารทั้งหมดแกผ ูเรยี น จึงถือ
วา เปน องคป ระกอบของ e-learning ทสี่ าํ คัญมาก เราเรยี กระบบนี้วา "ระบบบริหารการเรียน"

3. โหมดการติดตอส่ือสาร (Modes of Communication) องคประกอบสําคัญของ Online-
Learning ท่ีขาดไมไดอีกประการหน่ึง ก็คือ การจัดใหผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับผูสอน วิทยากร
ผเู ช่ียวชาญอน่ื ๆรวมทง้ั ผูเรียนดวยกัน ในลักษณะทหี่ ลากหลาย และสะดวกตอผูใช กลา วคือ มีเครอ่ื งมือทจ่ี ดั หา
ใหไวผูเรียนใชไดมากกวา 1 รูปแบบรวมทงั้ เครื่องมือนั้นจะตองมสี ะดวกใช (user-friendly) ดวย ซ่ึงเคร่ืองมือ
ที่ e-Learning ควรจัดหาใหผ เู รียน ไดแก การประชุมทางคอมพวิ เตอร,ไปรษณยี อ เิ ล็กทรอนกิ ส (e-mail)

3.1 การประชุมทางคอมพิวเตอร ในที่น้ีหมายถึง การประชมุ ทางคอมพิวเตอรทั้งในลักษณะ

ของการติดตอส่ือสารแบบตางเวลา(Asynchronous) เชน การแลกเปล่ียนขอความผานทางกระดานขาว

อิเลก็ ทรอนกิ ส หรอื ท่ีรูจักกันในช่ือของเว็บบอรด (Web Board) เปนตน หรือในลกั ษณะของการติดตอสือ่ สาร

แบบเวลาเดียวกัน(Synchronous) เชน การสนทนาออนไลน หรือที่คุนเคยกันดีในช่ือของ แช็ท (Chat) และ

ICQ หรือ ในบางระบบ อาจจัดใหมีการถายทอดสัญญาณภาพและเสียงสด (Live Broadcast /

Videoconference) ผา นทางเวบ็ เปนตน ในการนําไปใชด าํ เนนิ กิจกรรมการเรยี นการสอน ผสู อนสามารถเปด

สมั มนาในหัวขอที่เก่ียวของกบั เน้ือหาในคอรส ซ่ึงอาจอยูในรปู ของการบรรยาย การสัมภาษณผเู ชย่ี วชาญ การ

เปด อภิปรายออนไลน เปน ตน
3.2 ไปรษณียอิเลก็ ทรอนิกส (e-mail) ไปรษณียอ ิเลก็ ทรอนกิ ส เปน องคป ระกอบสําคัญเพ่อื ให

ผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับผูสอนหรือผูเรียนอ่ืน ๆ ในลักษณะรายบุคคล การสงงานและผลปอนกลับให
ผูเรียน ผูสอนสามารถใหคําแนะนําปรึกษาแกผูเรียนเปนรายบุคคล ท้ังนี้เพ่ือกระตุนใหผูเรียนเกิดความ
กระตือรือรนในการเขารวมกิจกรรมการเรียนอยางตอเน่ือง ท้ังน้ีผูสอนสามารถใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกสใน
การใหค วามคดิ เหน็ และผลปอ นกลบั ท่ีทนั ตอเหตุการณ

4. แบบฝกหดั /แบบทดสอบ โดยทั่วไปแลวการเรียนไมวาจะเปนการเรียนในระดับใด หรือเรียน
วิธีใด ก็ยอมตองมีการสอบ/การวัดผลการเรียนเปนสวนหนึ่งอยูเสมอ การสอบ/วัดผลการเรียนจึงเปน
สว นประกอบสําคัญทจ่ี ะทาํ ใหการเรียนแบบ e-Learning เปน การเรียนทสี่ มบรู ณ บางวิชาจําเปนตองวัดระดับ
ความรกู อนสมัครเขา เรยี น เพื่อใหผูเ รยี นไดเลือกเรียนในบทเรยี น หลกั สตู รท่ีเหมาะสมกับตนมากท่ีสดุ ซ่ึงจะทํา
ใหการเรียนที่จะเกิดข้นึ เปนการเรียนที่มปี ระสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเขาสูบทเรียนในแตละหลกั สูตรก็จะมกี ารสอบ
ยอ ยทา ยบท และการสอบใหญก อนทีจ่ ะจบหลกั สตู ร

4.1 การจัดใหมีแบบฝกหัดสําหรับผเู รียน เน้ือหาท่ีนําเสนอจําเปน ตอ งมีการจัดหาแบบฝกหัด

สําหรับผูเรียนเพื่อตรวจสอบความเขาใจไวด วยเสมอ ทั้งนี้เพราะ e-Learning เปนระบบการเรียนการสอนซ่ึง

เนนการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียนเปนสําคัญ ดังน้ันผูเรียนจึงจําเปนอยางยิ่งทจี่ ะตองมีแบบฝกหัดเพ่ือการ

ตรวจสอบวาตนเขาใจและรอบรใู นเร่อื งที่ศึกษาดว ยตนเองมาแลว เปนอยา งดีหรือไม อยางไร การทําแบบฝกหัด

จะทําใหผ เู รยี นทราบไดวา ตนนน้ั พรอมสําหรบั การทดสอบ การประเมินผลแลว หรือไม

18

4.2 การจัดใหมีแบบทดสอบผูเรียน แบบทดสอบสามารถอยูในรูปของแบบทดสอบกอนเรียน
ระหวางเรียน หรือหลังเรียนก็ไดสําหรับ e-Learning แลว ระบบบริหารจัดการการเรียนรทู ําใหผูส อนสามารถ
สนับสนุนการออกขอสอบของผูสอนไดห ลากหลายลกั ษณะ กลาวคือ ผูสอนสามารถออกแบบการประเมินผล
ในลักษณะของ อัตนัย ปรนัย ถูกผดิ การจับคู ฯลฯ นอกจากน้ียังทาํ ใหผูสอนมีความสะดวกสบายในการสอบ
เพราะผูสอนสามารถที่จะจัดทําขอสอบในลักษณะคลังขอสอบไวเพ่ือเลือกในการนํากลับมาใช หรือปรับปรุง
แกไขใหมไดอยางงายดาย นอกจากนี้ในการคํานวณและตัดเกรด ระบบ e-Learning ยังสามารถชวยใหการ
ประเมินผลผูเรียนเปนไปไดอยางสะดวก เนอ่ื งจากระบบบริหารจัดการการเรียนรู จะชวยทําใหการคิดคะแนน
ผูเรียน การตัดเกรดผูเรียนเปนเร่อื งงายข้นึ เพราะระบบจะอนุญาตใหผ ูสอนเลือกไดวาตองการท่ีจะประเมินผล
ผเู รียนในลักษณะใด เชน อิงกลุม อิงเกณฑ หรือใชสถิตใิ นการคิดคํานวณในลกั ษณะใด เชน การใชค าเฉล่ีย คา
T-Score เปน ตน นอกจากน้ียังสามารถทจี่ ะแสดงผลในรปู ของกราฟไดอกี ดวย

1.3.4 ขอ ไดเ ปรยี บ และขอจํากดั ของ e-Learning (advantage of e-Learning)
ประโยชนท ่ีไดร ับจากการนาํ e-Learning ไปใชใ นการเรียนการสอนมี ดงั นี้
1. e-Learning ชวยใหการจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน เพราะการถายทอด

เน้ือหาผานทางมัลติมีเดียสามารถทาํ ใหผูเรยี นเกิดการเรียนรูไดดีกวาการเรยี นจากสอื่ ขอความเพียงอยางเดียว
หรือจากการสอนภายในหองเรียนของผูสอนซึ่งเนนการบรรยายในลักษณะ Chalk and Talk แตเพียงอยาง
เดียวโดยไมใชสื่อใด ๆ ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับ e-Learning ท่ีไดรับการออกแบบและผลิตมาอยางมีระบบ e-
Learning สามารถชวยทําใหผ ูเรยี นเกิดการเรยี นรูไดอยางมีประสิทธภิ าพมากกวา ในเวลาที่เรว็ กวา นอกจากน้ี
ยังเปนการสนับสนุนใหเกิดการเรียนรูที่ผูเรียนเปนศูนยกลางไดเปนอยางดี เพราะผูสอนจะสามารถใช e-
Learning ในการจัดการเรียนการสอนที่ลดการบรรยาย (lecture)ได และสามารถใช e-Learning ในการ
จัดการเรียนการสอนที่เนนใหผูเรียนไดเปนผูรับผิดชอบในการจัดการเรียนรูดวยตนเอง (autonomous
learning) ไดดยี ิ่งขึ้น

2. e-Learning ชวยทําใหผูสอนสามารถตรวจสอบความกาวหนาพฤติกรรมการเรยี นของผูเรียน
ไดอยางละเอียดและตลอดเวลา เน่ืองจาก e-Learning มีการจดั หาเครอ่ื งมือที่สามารถทาํ ใหผูสอนติดตามการ
เรยี นของผูเ รยี นได

3. e-Learning ชวยทําใหผูเรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได เน่ืองจากการนําเอา
เทคโนโลยี Hypermedia มาประยุกตใช ซึ่งมีลักษณะการเช่ือมโยงขอมูลไมวาจะเปนในรูปของขอความ
ภาพนิ่ง เสียงกราฟก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ท่ีเกี่ยวเน่ืองกันเขาไวดวยกันในลักษณะที่ไมเปนเชิงเสน (Non-
Linear) ทําให Hypermedia สามารถนําเสนอเน้ือหาในรูปแบบใยแมงมุมได ดังนั้นผูเรียนจึงสามารถเขาถึง
ขอมูลใดกอ นหรือหลงั ก็ได โดยไมตอ งเรยี งตามลําดบั และเกดิ ความสะดวกในการเขา ถึงของผูเ รยี นอกี ดวย

4. e-Learning ชวยทําใหผูเรี ยนสาม ารถเรี ยนรู ได ตาม จัง หวะ ของตน (Self-paced
Learning) เนื่องจากการนําเสนอเนอื้ หาในรูปแบบของ Hypermedia เปด โอกาสใหผ ูเรยี นสามารถควบคมุ การ
เรียนรูของตนในดานของลําดับการเรียนได (Sequence) ตามพื้นฐานความรู ความถนัด และความสนใจของ

19

ตน นอกจากน้ีผูเรยี นยงั สามารถ ทดสอบทักษะตนเองกอนเรียนไดทาํ ใหสามารถช้ีชดั จุดออนของตน และเลอื ก
เนอื้ หาใหเขา กบั รปู แบบการเรยี นของตวั เอง เชน การเลอื กเรียนเน้ือหาเฉพาะบางสวนท่ตี องการทบทวนได โดย
ไมตอ งเรียนในสว นท่ีเขา ใจแลว ซ่ึงถือวา ผเู รยี นไดร ับอิสระในการควบคุมการเรยี นของตนเอง จงึ ทําใหผูเรียนได
เรียนรตู ามจังหวะของตนเอง

5. e-Learning ชวยทําใหเกิดปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับครูผูสอน และกับเพื่อน ๆ
ได เนื่องจาก e-Learning มีเคร่ืองมอื ตา ง ๆ มากมาย เชน Chat Room, Web Board, E-mail เปน ตน ที่เอ้ือ
ตอการโตตอบ (Interaction) ที่หลากหลาย และไมจํากัดวาจะตองอยูในสถาบันการศึกษาเดียวกัน (Global
Choice) นอกจากนน้ั e-Learning ที่ออกแบบมาเปนอยา งดีจะเอือ้ ใหเกดิ ปฏสิ ัมพันธระหวา งผเู รยี นกบั เน้ือหา
ไดอยางมปี ระสิทธิภาพ เชน การออกแบบเน้อื หาในลกั ษณะเกม หรอื การจาํ ลอง เปน ตน

1.3.5 ขอจาํ กัด
1. ผูส อนทนี่ ํา e-Learning ไปใชในลักษณะของสื่อเสริม โดยไมมกี ารปรับเปลีย่ นวธิ ีการสอนเลย

กลาวคือ ผูสอนยังคงใชแตวิธีการบรรยายในทุกเนื้อหา และสั่งใหผูเรียนไปทบทวนจาก e-Learning หาก e-
Learning ไมไ ดออกแบบใหจงู ใจผเู รียนแลว ผูเรยี นคงใชอยูพักเดยี วก็เลิกไปเพราะไมมแี รงจูงใจใด ๆ ในการใช
e-Learning กจ็ ะกลายเปนการลงทนุ ที่ไมคมุ คา แตอยา งใด

2. ผูสอนจะตองเปลี่ยนบทบาทจากการเปนผูให (impart) เน้ือหาแกผูเรียน มาเปน (facilitator)
ผชู วยเหลือและใหคําแนะนําตาง ๆ แกผูเรียน พรอมไปกับการเปดโอกาสใหผเู รียนเกิดการเรียนรูดวยตนเอง
จาก e-Learning ทง้ั น้ี หมายรวมถึง การท่ีผูสอนควรมคี วามพรอมทางดานทกั ษะคอมพิวเตอรและรับผิดชอบ
ตอ การสอนมคี วามใสใจกบั ผเู รยี นโดยไมทง้ิ ผูเ รียน

3. การลงทุนในดานของ e-Learning ตองครอบคลุมถึงการจัดการใหผูสอนและผูเรียนสามารถ
เขา ถึงเนื้อหาและการติดตอสือ่ สารออนไลนไดสะดวก สําหรบั e-Learning แลว ผูส อนหรือผเู รียนท่ีใชรปู แบบ
การเรียนในลักษณะน้ีจะตองมีส่ิงอํานวยความสะดวก (facilities) ตาง ๆ ในการเรียนที่พรอมเพรียงและมี
ประสิทธิภาพ เชน ผูสอนและผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับผูอ่ืนได และสามารถเรียกดูเน้ือหาโดยเฉพาะ
อยางย่ิงในลักษณะมัลติมีเดีย ไดอยางครบถวน ดวยความเร็วพอสมควร เพราะหากปราศจากขอไดเปรียบใน
การติดตอส่อื สารและการเขาถงึ เน้อื หาไดส ะดวก รวมท้ังขอ ไดเ ปรียบสือ่ อ่ืน ๆ ในลักษณะในการนาํ เสนอเน้ือหา
เชน มัลตมิ ีเดีย แลวนนั้ ผเู รียนและผสู อนก็อาจไมเหน็ ความจําเปนใด ๆ ท่ตี อ งใช e-Learning

1.3.6 ระดับของสอื่ สําหรับ e-Learning (Level of media for e-Learning)
สาํ หรบั e-Learning แลว การถา ยทอดเนือ้ หาสามารถแบง ไดเ ปน 3 ลกั ษณะดว ยกัน กลา วคือ

1. ระดับเนนขอความออนไลน (Text Online) หมายถึง เนื้อหาของ e-Learning ในระดับนี้จะ
อยูในรูปของขอความเปนหลัก e-Learning ในลักษณะนี้จะเหมือนกับการสอนบนเว็บ (WBI) ซึ่งเนนเนื้อหาท่ี
เปนขอความ ตัวอักษรเปนหลัก ซ่ึงมีขอดี ก็คือการประหยัดเวลาและคาใชจายในการผลิตเน้ือหาและการ
บริหารจัดการการเรียนรู

20

2. ระดับรายวิชาออนไลนเชิงโตตอบและประหยัด (Low Cost Interactive Online Course)
หมายถึง เนื้อหาของ e-Learning ในระดับน้ีจะอยูในรูปของตัวอักษร ภาพ เสียง และวิดีทัศน ท่ีผลิตข้ึนมา
อยา งงาย ๆ ประกอบการเรยี นการสอน e-Learning ในระดับหนึ่งและสองน้ี ควรจะตองมกี ารพัฒนา LMS ท่ีดี
เพอ่ื ชว ยผูใชในการสรา งและปรับเนือ้ หาใหท นั สมัยไดอ ยางสะดวกดวยตนเอง

3. ระดับรายวิชาออนไลนคุณภาพสูง (High Quality Online Course) หมายถึง เน้ือหาของ e-
Learning ในระดับนี้จะอยูในรูปของมัลติมีเดียที่มีลักษณะมืออาชีพ กลาวคือ การผลิตตองใชทีมงานในการ
ผลิตทีป่ ระกอบดวย ผเู ช่ียวชาญเนื้อหา (content experts) ผูเชีย่ วชาญการออกแบบการสอน (instructional
designers) และ ผเู ชยี่ วชาญการผลติ มลั ติมเี ดยี (multimedia experts)

1.3.7 ระดบั ของการนาํ e-Learning ไปใชใ นการเรียนการสอน
การนํา e-Learning ไปใชในการเรียนการสอน สามารถทาํ ได 3 ระดบั ดงั นี้

1. ใช e-Learning เปนส่ือเสริม (Supplementary) หมายถึงการนํา e-Learning ไปใชใน
ลักษณะสื่อเสริม กลาวคือ นอกจากเนื้อหาท่ีปรากฏในลักษณะ e-Learning แลว ผูเรียนยังสามารถศึกษา
เน้ือหาเดียวกันน้ีในลักษณะอื่น ๆ เชน จากเอกสาร(ชีท) ประกอบการสอน จากวิดีทัศน (Videotape) ฯลฯ
การใช e-Learning ในลักษณะน้ีเทากับวาผูสอนเพียงตองการใช e-Learning เปนอีกหนึ่งทางเลือกสําหรับ
ผเู รียนในการเขา ถึงเน้อื หาเพอ่ื ใหป ระสบการณพเิ ศษเพ่ิมเตมิ แกผูเ รียนเทา น้ัน

2. ใช e-Learning เปนสื่อเติม (Complementary) หมายถึงการนํา e-Learning ไปใชใน
ลักษณะเพม่ิ เตมิ จากวิธีการสอนในลกั ษณะอน่ื ๆ เชน นอกจากการบรรยายในหอ งเรียนแลว ผสู อนยงั ออกแบบ
เนอ้ื หาใหผ ูเรียนเขาไปศึกษาเนือ้ หาเพิม่ เตมิ จาก e-Learning โดยเนอ้ื หาที่ผูเรียนเรียนจาก e-Learning ผูสอน
ไมจําเปน ตองสอนซ้ําอีก แตส ามารถใชเวลาในชั้นเรียนในการอธิบายในเน้ือหาที่เขาใจไดยาก คอนขางซับซอ น
หรือเปน คําถามท่ีมีความเขา ใจผดิ บอย ๆ นอกจากน้ี ยงั สามารถใชเ วลาในการทํากจิ กรรมที่เนน ใหผ ูเรยี นไดเกิด
การคิดวิเคราะหแทนได ในความคิดของผเู ขียนแลวในมหาวทิ ยาลัยเชียงใหมของเรา เมื่อไดม ีการลงทุนในการ
นํา e-Learning ไปใชกับการเรียนการสอนแลวอยางนอยควรต้ังวัตถุประสงคในลักษณะของส่ือเติม
(Complementary) มากกวา แคเพยี งเปนส่ือเสริม(Supplementary) เพ่ือใหเกิดความคุมทุน นอกจากน้ีอาจ
ยงั ไมเหมาะสมท่ีจะใชในลักษณะแทนที่ผูสอน (Replacement) ตัวอยางการใชในลักษณะส่ือเตมิ เชน ผูสอน
มอบหมายใหผเู รยี นศกึ ษาเน้ือหาดวยตนเองจาก e-Learning ในวัตถุประสงคใดวตั ถปุ ระสงคห น่งึ กอ นหรอื หลัง
การเขา ชั้นเรียน รวมท้ัง ใหก ําหนดกิจกรรมที่ทดสอบความเขาใจของผเู รยี นในเนื้อหาดังกลา วใน session การ
เรียนตามปรกติ เปนตน ท้ังน้ีเพ่ือใหเหมาะสมกับลักษณะของผูเรียนของเรา ซ่ึงยังตองการคําแนะนําจาก
ครูผสู อน รวมท้ังการทผี่ ูเรียนสวนใหญย ังขาดการปลูกฝง ใหมคี วามใฝรูโ ดยธรรมชาติ

3. ใ ช e-Learning เ ป น ส่ื อ ห ลั ก ( Comprehensive Replacement) ห ม า ย ถึ ง ก า ร นํ า
e-Learning ไปใชในลกั ษณะแทนที่การบรรยายในหองเรียน ผูเรียนจะตอ งศึกษาเน้ือหาทั้งหมดออนไลน และ
โตตอบกับเพื่อนและผูเรยี นอ่นื ๆ ในชั้นเรยี นผานทางเคร่ืองมือตดิ ตอสื่อสารตาง ๆ ที่ e- Learning จัดเตรียม
ไว ในปจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับการนํา e-Learning ไปใชในตางประเทศจะอยูในลักษณะlearning through

21

technology ซ่ึงหมายถึง การเรียนรูโดยมุงเนนการเรียนในลักษณะมีสวนรวมของผูเกี่ยวของไมวาจะเปน
ผูสอน ผูเรียน และผูเช่ียวชาญอื่น ๆ (Collaborative Learning) โดยอาศัยเทคโนโลยีในการนําเสนอเน้ือหา
และกิจกรรมตาง ๆ ซ่ึงตองการการโตตอบผานเคร่ืองมือสื่อสารตลอด โดยไมเนนทางดานของการเรียนรู
รายบุคคลผานส่ือ (courseware) มากนัก ในขณะที่ในประเทศไทยการใช e-Learning ในลักษณะส่ือหลัก
เชนเดียวกับตางประเทศน้ัน จะอยูในวงจํากัด แตการใชสวนใหญจะยังคงเปนในลักษณะของ learning with
technology ซ่ึงหมายถึง การใช e-Learning เปนเสมือนเครื่องมือทางเลือกเพ่ือใหผูเรียนเกิดความ
กระตือรอื รน สนุกสนาน พรอ มไปกบั การเรยี นรูในช้ันเรียน

1.3.8 m-Learning
m-Learningหรือ Mobile-Learning หลักการก็คือทําใหผูเรียนสามารถที่จะนําเอาบทเรียนมา

วางไวบนมือถือและเรียกดไู ดตลอดเวลาทุกที่ พรอมทง้ั สามารถที่จะรับสงขอมูลไดเมื่อจําเปนและมีสัญญาณ
จากเครอื ขา ยโทรคมนาคม นอกจากนัน้ จะตอ งสามารถทํางานไดท ั้งสองทาง เปล่ยี นแปลงบทเรียนสงการบาน
หรือวิเคราะหคะแนนจาก แบบฝก หัดไดเชน กัน การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การเรียนการ
สอนที่อาศัยส่ือหลายๆชนิดผสมผสานกนั ต้ังแตดานเทคโนโลยี กิจกรรมการเรียนการ สอน และเหตุการณที่
เหมาะสมเพื่อสรา งรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสําหรบั กลุมเปา หมาย Global learning บทเรียนใน
รูปแบบของการผสมผสานระหวางวิดีโอ เสียง ภาพเคล่ือนไหว ทําให นาสนใจและงายตอการทําความเขาใจ
เปน สอ่ื การเรยี นรทู ี่สอดคลอ งกับความตอ งการและวถิ ีชีวติ ระบบ Online Learning เปนการเรยี นรดู วยตนเอง
ผานเทคโนโลยี Internet ซึ่งจะนําเสนอ บทเรียน ในรูปแบบของการผสมผสานระหวางวิดีโอ เสียง
ภาพเคล่ือนไหว และตัวอกั ษร ทาํ ให บทเรยี น มีความนาสนใจ และงา ย ตอการทาํ ความเขาใจ เน่ืองจากผูเรียน
Online Learning สามารถเรียนรูทุกเร่ืองราวไดทุกท่ีทุกเวลา จึงทําให Online Learning เปนสื่อการเรียนรู
ออนไลน สมบูรณแบบที่สอดคลองกับ ความตองการและวิถีชีวิต Mentored learning บทบาทของผูสอนใน
E-Learning จะเปลี่ยนไปเปนผูใหคําแนะนํา (Guide) เปนผูฝก (Coach) เปนผูอํานวยความสะดวก
(Facilitator) และเปนพี่เล้ียง (Mentor) ตอกระบวนการเรียนรูของผูเรียน ในขณะท่ีบทบาทของผูเรียนจะ
เปลย่ี นแปลง

22

1.3.9 ความหมายของ M – Learning
การใหคําจํากัดความของ Mobile Learning สามารถแยกพิจารณาไดเปน 2 สวน จากราก ศัพทท่ี
นาํ มาประกอบกนั คือ

1. Mobile (Devices) หมายถอื อุปกรณค อมพิวเตอร หรือ โทรศัพทมอื ถอื และเครื่องเลน หรือ
แสดงภาพที่พกพาติดตัวไปได

2. Learning หมายถึงการเรียนรู เปนการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอนั เน่อื งมาจากบุคคลปะทะ กับ
สิ่งแวดลอมจึงเกิดประสบการณ การเรียนรูเกิดข้ึนไดเมื่อมกี ารแสวงหาความรู การพัฒนาความรู ความสามารถ
ของบุคคลใหมีประสิทธิภาพดีข้ึน รวมไปถึงกระบวนการสรางความเขาใจ และ ถายทอดประสบการณที่เปน
ประโยชนต อ บคุ คล

เมื่อพิจารณาจากความหมายของคําท้ังสองแลวจะพบวา Learning นั่นคือแกนของM - learning
เพราะเปนการใชเทคโนโลยีเครือขายไรสายเพื่อใหเกิดการเรียนรู ซึ่งก็คลายกับ E – Learning ที่เปนการใช
เครือขา ยอินเทอรเนต็ เพอื่ ใหเ กิดการเรียนรู นอกจากน้มี ีผใู ชคาํ นิยามของ M - Learning ดงั ตอ ไปน้ี

ริ ว (Ryu, 2007) หั ว ห น า ศู น ย โ ม บ า ย ค อ ม พิ ว ติ้ ง ( Centre for Mobile Computing) ที่
มหาวิทยาลัยแมสซ่ี เมืองโอคแลนด ประเทศนวิ ซแี ลนด ระบวุ า M- learning คือกจิ กรรมการเรยี นรู ที่เกิดขึ้น
เมอื่ ผูเรยี นอยรู ะหวา งการเดนิ ทาง ณ ที่ใดกต็ าม และเม่อื ใดกต็ าม

เก็ดส (Geddes, 2006) ก็ใหความหมายวา M- learning คือการไดมาซ่ึงความรูและทักษะผานทาง
เทคโนโลยีของเครื่องประเภทพกพา ณ ทีใ่ ดก็ตาม และเม่ือใดกต็ าม ซง่ึ สงผลเกดิ การ เปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรม

วัตสัน และไวท(Watson & White, 2006) ผูเขียนรายงานเรื่อง M- learning ในการศึกษา
(mLearning in Education) เนนวา M- learning หมายถึงการรวมกันของ 2 P คือ เปน การเรียนจาก เครื่อง
สวนตัว (Personal) และเปนการเรียนจากเครื่องท่ีพกพาได (Portable) การที่เรียนแบบสวนตัว นั้นผูเรียน
สามารถเลือกเรียนในหัวขอ ที่ตองการ และการทีเ่ รียนจากเครอ่ื งท่พี กพาไดนน้ั กอใหเกิด โอกาสของการเรียนรู
ได ซึ่งเครื่องแบบ Personal Digital Assistant (PDA) และโทรศัพทมือถือนั้น เปนเคร่ืองที่ใชสําหรับ M-
learning มากท่ีสุด

ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนซงึ่ สามารถจัดเปนประเภทของอุปกรณคอมพิวเตอรแบบพกพา
ได 3 กลมุ ใหญ หรือจะเรียกวา 3Ps

1. PDAs (Personal Digital Assistant) คือคอมพิวเตอรแบบพกพาขนาดเล็กหรือขนาด ประมาณ
ฝามือ ที่รูจักกันทั่วไปไดแก Pocket PC กับ Palm เคร่ืองมือส่ือสารในกลุมนี้ยังรวมถึง PDA Phone ซ่ึงเปน
เครอื่ ง PDA ท่ีมโี ทรศพั ทใ นตัว สามารถใชงานการควบคมุ ดว ย Stylus เหมอื นกบั PDA ทกุ ประการ นอกจากนี้
ยังหมายรวมถงึ เคร่ืองคอมพวิ เตอรข นาดเล็กอืน่ ๆ เชน lap top, Note book และ Tablet PC อีกดว ย

2. Smart Phones คือโทรศัพทมือถือ ท่ีบรรจุเอาหนาที่ของ PDA เขาไปดวยเพียงแตไมมี Stylus
แตสามารถลงโปรแกรมเพิ่มเติมเหมือนกบั PDA และ PDA phone ได ขอดีของอุปกรณกลุม น้ีคอื มขี นาดเล็ก
พกพาสะดวกประหยัดไฟ และราคาไมแพงมากนัก คําวาโทรศัพทมือถือ ตรงกับ ภาษาอังกฤษ วา hand

23

phone ซง่ึ ใชค ํานแ้ี พรห ลายใน Asia Pacific สว นในอเมริกา นิยมเรยี กวา Cell Phone ซ่ึงยอมาจาก Cellular
telephone สว นประเทศอ่ืนๆ นยิ มเรียกวา Mobile Phone

3. IPod, เครอ่ื งเลน MP3 จากคายอ่นื ๆ และเคร่ืองที่มลี ักษณะการทํางานทค่ี ลา ยกนั คอื เครือ่ งเสียง
แบบพกพก iPod คอื ชื่อรุนของสินคา หมวดหน่ึงของบรษิ ัท Apple Computer, Inc ผูผลติ เครือ่ งคอมพิวเตอร
แมคอินทอช iPod และเครื่องเลน MP3 นับเปนเคร่ืองเสียงแบบพกพาที่สามารถ รับขอมูลจากคอมพิวเตอร
ดวยการตอสาย USB หรือ รับดวยสัญญาณ Blue tooth สําหรับรุนใหมๆ มีฮารดดิสกจุไดถึง 60 GB. และมี
ชอง Video out และมเี กมสใ หเลือกเลนไดอ กี ดว ย

1.3.10 เครอื่ งเลน MP3
สําหรับพัฒนาการของ m-Learning เปนพัฒนาการนวัตกรรมการเรียนการสอนมาจากนวัตกรรม
การเรยี นการสอนทางไกล หรือ d-Learning (Distance Learning) และการจัดการเรียนการ
สอนแบบ e-Learning (Electronic Learning) ดังภาพประกอบตอไปน้ี
M - Learning น้ันเกดิ ขึ้นไดโดยไรข อ จํากดั ดานเวลา และสถานท่ี เพียงแคผเู รียนมีความ พรอ มและเครอื่ งมือ
อีกทง้ั เครอื ขา ยมีเนอื้ หาทต่ี องการ จงึ จะเกดิ การเรยี นรขู ึน้ และจะไดผ ลการ เรียนรทู ่ีปรารถนา หากขาดเนอื้ หา
ในการเรียนรู วธิ กี ารน้นั จะกลายเปนเพยี งการสือ่ สาร กับเครือขา ย ไรส ายน่ันเอง

1.3.11 กระบวนการเรียนรแู บบ M – Learning
กระบวนการเรยี นรูแบบ M – Learning มีดว ยกันทง้ั หมด 5 ขนั้ ตอน ดงั น้ี
ขั้นที่ 1 ผเู รยี นมคี วามพรอม และเครอื่ งมือ
ขน้ั ที่ 2 เชื่อมตอ เขา สูเครือขาย และพบเนื้อหาการเรยี นทต่ี อ งการ
ขน้ั ที่ 3 หากพบเนือ้ หาจะไปยังขั้นที่ 4 แตถ าไมพบจะกลบั เขาสูขน้ั ที่ 2
ข้ันท่ี 4 ดาํ เนินการเรยี นรู ซึง่ ไมจ าํ เปนทีจ่ ะตองอยูในเครอื ขา ย
ข้นั ที่ 5 ไดผ ลการเรยี นรตู ามวัตถุประสงค

1.3.12 ประโยชนและขอจํากดั ของ M – Learning
เก็ดส (Geddes, 2006) ไดทําการศึกษาประโยชนของ M - Learning และสรุปวาประโยชนที่
ชัดเจนอยา งยิ่งนนั้ สามารถจดั ไดเ ปน 4 หมวด คอื

1. การเขาถึงขอมูล (Access) ไดทกุ ที่ ทกุ เวลา
2. สรางสภาพแวดลอมเพื่อการเรียนรู (Context) เพราะ M - Learning ชวยใหการเรียนรูจาก
สถานท่ีใดก็ตามที่มคี วามตองการเรยี นรู ยกตัวอยางเชน การส่อื สารกบั แหลง ขอ มลู และผสู อนใน การเรยี นจาก
สง่ิ ตา งๆ เชน ในพพิ ธิ ภณั ฑท ี่ผเู รยี นแตละคนมเี ครอื่ งมอื สื่อสารติดตอกบั วิทยากรหรือ ผูสอนไดต ลอดเวลา
3. การรวมมือ (Collaboration) ระหวางผูเรียนกับผูสอน และเพื่อนรวมชั้นเรียนไดทุกที่ ทุก
เวลา

24

4. ทําใหผูเรียนสนใจมากข้ึน (Appeal) โดยเฉพาะในกลุมวัยรุน เชน นักศึกษาที่ไมคอย สนใจ
เรียนในหอ งเรียน แตอ ยากจะเรยี นดว ยตนเองมากขึน้ ดวย M – Learning

1.3.13 ขอ ดีของ M - Learning
1. มีความเปน สว นตวั และอิสระทจี่ ะเลอื กเรียนรู และรบั รู
2. ไมม ีขอ จาํ กัดดานเวลา สถานที่ เพม่ิ ความเปน ไปไดใ นการเรยี นรู
3. มแี รงจูงใจตอ การเรียนรูมากขน้ึ
4. สง เสริมใหเกดิ การเรยี นรไู ดจริง
5. ดวยเทคโนโลยีของ M - Learning ทําใหเปลยี่ นสภาพการเรยี นจากที่ยดึ ผสู อนเปน ศูนยกลาง

ไปสกู ารมปี ฏิสมั พันธโ ดยตรงกบั ผเู รยี น จงึ เปนการสงเสริมใหม ีการสื่อสารกับเพื่อนและ ผสู อนมากขึน้
6. สามารถรับขอมลู ที่ไมมีการระบุชือ่ ได ซงึ่ ทําใหผ ูเ รยี นทีไ่ มมัน่ ใจกลาแสดงออกมากขึ้น
7. เครื่องประเภทพกพาตางๆ สงเสริมใหผูเรียนมีความกระตือรือรนทางการเรียนและมี ความ

รับผดิ ชอบตอการเรยี นดว ยตนเอง

1.3.14 ขอดอ ยของ M - Learning
1. ขนาดของความจุ Memory และขนาดหนาจอท่ีจํากัดอาจจะเปนอุปสรรคสําหรับการอาน

ขอมูล แปนกดตัวอักษรไมสะดวกรวดเร็วเทากับคียบอรดคอมพิวเตอรแบบต้ังโตะ อีกทั้งเครื่องยัง ขาด
มาตรฐาน ที่ตองคํานึงถึงเม่ือออกแบบส่ือ เชน ขนาดหนาจอ แบบของหนาจอ ท่ีบางรุนเปน แนวตั้ง บางรุน
เปน แนวนอน

2. การเชื่อมตอกบั เครือขาย ยงั มรี าคาทีค่ อนขา งแพง และคณุ ภาพอาจจะยงั ไมนา พอใจนกั
3. ซอฟตแ วรที่มอี ยใู นทองตลาดทวั่ ไป ไมสามารถใชไดกับเครือ่ งโทรศัพทแบบพกพาได
4. ราคาเครอื่ งใหมรุนท่ีดี ยังแพงอยู อกี ทัง้ อาจจะถกู ขโมยไดง า ย
5. ความแข็งแรงของเคร่อื งยงั เทยี บไมไดก บั คอมพวิ เตอรต งั้ โตะ
6. อพั เกรดยาก และเคร่ืองบางรนุ กม็ ศี กั ยภาพจํากดั
7. การพัฒนาดานเทคโนโลยีอยางตอเน่ือง สงผลใหขาดมาตรฐานของการผลิตสื่อเพ่ือ M –
Learning

1.3.15 บทบาทของ M-Learning
M-Learning นั้นมีแนวโนมท่ีจะเปนชองทางใหมที่จะกระจายความรู สูชุมชนไดอยางมี

ประสิทธิภาพ และจะเปนทางเลือกใหม ที่สงเสริมใหการเรียนรูตลอดชีวิตบรรลุวัตถุประสงคไดดี อีกดวย
เหตุผลหนึ่งที่สนับสนุนประเด็นนี้ก็คือ มีผูใชโทรศัพทมือถือท่ัวโลกกวา 3.3 พันลานคน ใน ป ค.ศ. 2007
เพมิ่ ข้ึนอยางรวดเรว็ เมอื่ เทยี บกบั จํานวนผูใชใ นป 2006 ซึ่งมอี ยูประมาณ 2 พนั ลานคน จาํ นวนผูลงทะเบียนใช
โทรศัพทมือถือมากกวาผูใชอินเทอรเน็ตทั่วโลกเกือบ 3 เทา เพราะในป ค.ศ. 2008 น้ัน จํานวนของผูใช

25

อินเทอรเน็ตอยูท่ี 1.3 พันลานคน ซึ่งเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยจากป ค.ศ. 2007 ท่ีมีอยูประมาณ 1.1 พันลานคน
เทานั้น จากการเปนเจาของเคร่ืองโทรศัพทมือถือท่ีมากกวาผูใช อินเทอรเน็ตเปนหลายเทาน้ีเองท่ีทําให M-
Learning เปนสิ่งที่นาสนใจของนักการศึกษา เพราะอยาง นอย M-Learning ก็เปนไปไดเพราะคนเราน้ันมี
เคร่ืองมือ หรือเคร่ืองคอมพิวเตอรอยูแลว เทคโนโลยีของการรับสงขอมูลผานระบบไรสายก็มีการพัฒนามาก
ข้นึ อยูแลว ดังน้ันการเรียนรแู บบ M-Learning จงึ มีโอกาสเปนไปไดสูง และเปน การขยายโอกาสทางการศกึ ษา
อกี แขนงหนึง่

M-Learning กําลังกาวเขามาเปนการเรียนรูคูกับสังคมอยางแทจริง เนื่องจากความเปนอิสระ
ของเครือขายไรสาย ที่สามารถเขาถึงไดทุกที่ ทุกเวลา อีกทั้งจํานวนเคร่ืองคอมพิวเตอรแบบพกพาท่ี ใชเปน
เครอ่ื งมือน้นั มจี าํ นวนเพิ่มข้ึนเร่ือยๆ จึงเปนการเรียนรูอ กี ทางเลือกหนงึ่ ของการนําเทคโนโลยี มาใชเ ปนชองทาง
ในการใหผคู นไดเขา ถึงความรู ทุกทีท่ ุกเวลาอยางแทจริง เพราะหากเทยี บกับการ ใชเครือ่ งพีซี กย็ งั ไมถือวาเปน
ทกุ ทท่ี ุกเวลาอยา งแทจ รงิ เพราะยงั ตองใชเคร่ืองคอมพิวเตอรท่บี าน หรอื ท่ีทํางานเชอ่ื มตอ อนิ เทอรเ นต็ เพ่ือเขา
สูระบบเครือขา ย แตในปจจุบัน เทคโนโลยกี ็ไดย อโลก ของเครอื ขายใหอยใู นมือของผูบริโภคแลว และสามารถ
เขาสูแหลงการเรียนรูไดเมื่อตองการอยาง แทจริงทุกเวลาและสถานที่ และหากเทียบราคาเคร่ืองคอมพิวเตอร
PC และ อปุ กรณส ําหรับเช่ือมตอ ไรสายท่ีกลาวไปขางตน ราคากไ็ มไ ดแ ตกตา งกันมากนกั นับวาเปน เทคโนโลยี
ท่พี ัฒนาขึน้ มาไดดี ทีเดียว และในอนาคตขางหนา คาดวา การเรียนรแู บบ M-Learning จะแพรหลายมากขนึ้ ยิ่ง
กวา ใน ปจจุบนั

26

26

บทท่ี 2
เรือ่ ง ความรูเ บ้ืองตนเกี่ยวกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ

2.1 ความหมายของสารสนเทศ
information Technology หรือ IT คือ การประยุกตความรูทางวิทยาศาสตรมาใชในระบบ

สารสนเทศ ตั้งแตกระบวนการจัดเก็บประมวลผล และการเผยแพรสารสนเทศ เพ่ือชวยใหไดสารสนเทศท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพและรวดเร็วทนั ตอ เหตุการณ

ปจจุบนั คําวา “ เทคโนโลยีสาระสนเทศ ” หรือเรียกส้ันๆวา “ ไอที ” ( IT ) นั้น มักนํามาใช
งานอยางกวางขวาง เกือบทุกวงการลวนเห็นความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกันแทบท้ังส้ิน หรืออาจ
เรียกวา โลกแหงยุคไอทีนั้นเอง ในความเปนจริง คําวาเทคโนโลยีสาระสนเทศนั้น ประกอบดวยคํา
วา “เทคโนโลยี” และคาํ วา “สารสนเทศ” มารวมกันโดยแตล ะคํามคี วามหมายดงั น้ี

เทคโนโลยี ( Technology ) คือการประยุกตความรูดานวิทยาศาสตรมาใชใหเกิดประโยชน ท่ี
เก่ียวของการผลิต การสรางวิธีการดําเนินงาน และรวมถึงอุปกรณตางๆ ท่ีไมไดมีในตามธรรมชาติโลกแหง
เทคโนโลยียุคน้ี ทําใหมนุษยไดรับสิ่งอํานวยความสะดวกจากเทคโนโลยีมาประยุกตใชกับการดําเนิน
ชีวิตประจาํ วันมากมายนับไมถวน

สารสนเทศ ( Information ) คือผลลัพธที่เกิดจากการประมวลผลขอมูลดิบ (Rau data ) ดวย
การรวบรวมขอมูลจากแหลงตางๆ และนํามาผานกระบวนการประเมินผล ไมวาจะเปนการจัดกลุม
ขอ มูล การเรยี งลําดับขอมูล การคํานวณและสรุปผล จากนน้ั กน็ ํามาเสนอในรปู แบบของรายงานทเี่ หมาะสม
ต อ ก า ร ใ ช ง า น ท่ี ก อ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น ก า ร ดํ า เ นิ น ชี วิ ต ข อ ง ม นุ ษ ย ไ ม ว า จ ะ เ ป น ด า น ข อ ง
ชวี ติ ประจําวัน ขา วสาร ความรูดานวชิ าการ ธุรกจิ

เม่ือนําคําวา เทคโนโลยี และ สารสนเทศ รวมเขา ไวดวยกันแลว จึงสรุปความหมายโดยรวมได
วา เทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information technology ) คือการประยุกตความรูทางดานวิทยาสาสตรมา
จัดการสารสนเทศที่ตองการ โดยอาศัยเคร่ืองมือทางเทคโนโลยีใหมๆ เชน เทคโนโลยีดาน
คอมพิวเตอร เทคโนโลยีดานเครือขายโทรคมนาคมและการส่ือสาร ตลอดจนอาศัยความรูในกระบวนการ
ดําเนินงานสารสนเทศในขั้นตอนตางๆ ตั้งแตการแสวงหา การวิเคราะห การจัดเก็บ รวมถึงการจัดการ
เผยแพรและแลกเปลี่ยนสารสนเทศดว ย เพือ่ เพ่ิมประสิทธิภาพความถกู ตองแมนยํา และความรวดเร็วทันตอ
การนาํ มาใชป ระโยชนไ ดน ่ันเอง

27

2.2 วิวฒั นาการของสารสนเทศ
อดีตมนุษยยังไมมีภาษาที่ใชสําหรับการสื่อสาร เมื่อเกิดมีเหตุการณ (Event) อะไร เกิด ข้ึน ก็ไม

สามารถถายทอด หรือเผยแพรแกบคุ คลอื่น หรือสังคมอื่นได อยางถูกตองตรงกัน ระหวางผูสงสารกับผูรบั สาร
จงึ มีการคดิ ใชส ัญลกั ษณ (Symbol) หรือเครื่องหมาย ทาํ หนาที่สื่อ ความหมายแทนเหตกุ ารณด ังกลาว จึงมกี าร
ใชกฎ และสูตร (Rule & Formulation) มาใชเพื่ออธิบายเหตุการณดังกลาววาเกิดมาจากสาเหตุใด หรือเกิด
มาจากสารใดผสมกับสารใด เปนตน จากนั้นเมื่อ มนษุ ยมีภาษา สําหรับการสื่อสารแลว ก็เกิดมีขอมูล (Data)
เก่ียวกับเหตุการณดังกลาว เกิดข้ึนมามากมาย ทั้งจากภายในสังคมเดียวกัน หรือจากสังคมอ่ืนๆ เพื่อใหได
คําตอบท่ีถูกตอง ทําใหตองมีการวิเคราะห หรือประมวลผล ขอมูลใหมีสถานภาพเปนสารสนเทศ
(Information) ท่จี ะเปน ประโยชนตอผใู ช หรือผูบริโภค เมือ่ ผูบรโิ ภคมีการสะสม เพ่ิมพนู สารสนเทศมากๆเขา
และมีการเรียนรู (Learning) จนเกิดความเขาใจ (Understanding) ก็จะเปนการพัฒนา สารสนเทศท่ีมีอยูใน
ตนเองเปนองคความรู (Knowledge) เนื่องจากมนุษยเปนผูที่มสี ติ (สัมปชญั ญะ) (Intellect) รูจักใช เหตุและ
ผล (Reasonable) กับความรทู ี่ตนเองมอี ยูก็จะมีการพัฒนาความรูเปน ปญญา (Wisdom) ในท่ีสุด ดังแสดงได
ตาม ภาพขางลา งนี้

เทคโนโลยีสารสนเทศกําลังเขามามีบทบาทตอชีวิตประจําวันอยางมาก และยังมีผลตอการดําเนิน
ชีวิตในแตละวัน เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ิงเกิดขึ้นไดไมนาน เม่ือราว พ.ศ.2500 เทคโนโลยีสารสนเทศยังไม
แพรห ลาย จะมเี พยี งการใชโ ทรศัพทเพื่อการติดตอ ส่อื สารและเริ่มมกี ารนําคอมพิวเตอรเขามาชวยประมวลผล
ขอ มูล ในอนาคตเทคโนโลยีแบบสื่อประสมจะชวยเสรมิ และสนบั สนนุ งานดานสารสนเทศใหกาวหนา ตอไป การ
พฒั นาทางดานเทคโนโลยสี ารสนเทศเปนไปอยา งรวดเรว็ ทั้งดานฮารด แวรแ ละซอฟตแวร

28

การดําเนินชีวิตในปจจุบันเก่ียวของกับเทคโนโลยีเปนอยางมาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางดาน
คอมพิวเตอรท่ีม่ีบทบาทเพิ่มข้ึน พ.ศ.2528 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดใหมีการเรยี นคอมพิวเตอรจากเดิม
เปนวิชาเลือก แตในปจจุบันกําหนดใหนักเรียนทุกคนตองเรียน เพ่ือใหเยาวชนทุกคนมีความรูความเขาใจใน
เรอ่ื งของเทคโนโลยีสารสนเทศ และนาํ ไปประยุกตใชอยางมีประสทิ ธภิ าพ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม

เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีใชในการจัดการสารสนเทศมากที่สุด คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร ซ่ึงมี
ววิ ฒั นาการการใชเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร ดงั นี้

ยคุ ท่ี 1 การประมวลผลขอมลู (Data Processing Era)
- ใชคอมพิวเตอรเพ่อื การคาํ นวณและการประมวลผลขอ มลู ของงานประจํา

ยคุ ท่ี 2 ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การ(Management Information System)
- มีการใชคอมพิวเตอรในการชวยในการตดั สนิ ใจดําเนินการในดานตางๆ

ยคุ ที่ 3 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ(Information Resource Management)
- การใชคอมพิวเตอรสวนใหญจะเนนถึงการใชสารสนเทศที่จะชวยในการตัดสินใจนํา

หนวยงานไปสูความสําเร็จ
ยคุ ที่ 4 เทคโนโลยสี ารสนเทศหรอื ยุคไอท(ี Information Technology Era)
- ความเจริญของเทคโนโลยีมีสูงมาก มีการขยายขอบเขตการประมวลผลขอมูลไปสูการสราง

และการผลิตสารสนเทศ และเนนความคิดของการใหบริการสารสนเทศแกผูใชอยางมีประสิทธิภาพเปน
วัตถุประสงคสําคญั

2.3 สาเหตุที่ทาํ ใหเ กดิ สารสนเทศ
สง่ิ ทผ่ี ลกั ดนั หรือปจ จัยที่ทาํ ใหเกดิ เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบดว ย
3.1 เมอื่ มีวทิ ยาการความรู หรือสง่ิ ประดษิ ฐ หรอื ผลติ ภณั ฑใหมๆ พรอ มกนั นั้น กจ็ ะเกิด

สารสนเทศมาพรอ มๆ กนั ดวย จากน้นั กจ็ ะมีการเผยแพร หรือกระจายสารสนเทศ เกย่ี วกบั วิทยาการความรู
หรอื สงิ่ ประดษิ ฐ ผลิตภัณฑ ชนดิ น้ันๆไปยงั แหลงตางๆ ท่เี กย่ี วของ

3.2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เปน เคร่อื งมอื สาํ คัญในการผลิตสารสนเทศ เนอ่ื งจากมี ความสะดวก
ในการปอน ขอมูล การปรับปรุงแกไ ข การทาํ ซ้ํา การเพม่ิ เติม ฯลฯ ทําใหม ีความ สะดวกและงา ยตอการผลติ
สารสนเทศ

3.3 เทคโนโลยีสื่อสารยุคใหมมีความเร็วในการสื่อสารสูงข้ึน สามารถเผยแพรสารสนเทศ จาก
แหลงหนึ่ง ไปยงั สถานท่ีตางๆ ทวั่ โลกในเวลาเดียวกันกบั เหตกุ ารณท เ่ี กดิ ขนึ้ จริง อีกทง้ั สามารถสงผานขอ มลู ได
อยางหลากหลาย รปู แบบ พรอมๆ กันในเวลาเดยี วกัน

29

3.4 เทคโนโลยกี ารพมิ พทีม่ คี วามสามารถในการผลิตสารสนเทศสงู ขึ้น สามารถผลิตสารสนเทศได
ครั้งละจํานวน มากๆ ในเวลาส้ันๆ มีสีสันเหมือนจริง ทําใหมีปริมาณสารสนเทศใหมๆ เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา

3.5 ผูใชมีความจําเปนตองใชสารสนเทศเพื่อการศึกษา เพื่อการคนควาวิจัย เพ่ือการ พัฒนา
คุณภาพชีวิต เพ่ือการ ตัดสินใจ เพ่ือการแกไขปญหา เพ่ือการปฏิบัติงาน หรือปรับปรุง ประสิทธิภาพการ
ปฏบิ ตั งิ าน, การบรหิ ารงาน ฯลฯ

3.6 ผูใชมีความตองการใชสารสนเทศ เพื่อตอบสนองความสนใจ ตองการทราบแหลงท่ีอยูของ
สารสนเทศ ตองการเขาถึงสารสนเทศ ตองการสารสนเทศท่ีมาจากตางประเทศ ตองการสารสนเทศอยาง
หลากหลาย หรอื ตองการ สารสนเทศอยางรวดเรว็ เปน ตน

2.4 ความหมายของคาํ วา ขอมลู
จากการศกึ ษาพบวามีผใู หค ํานิยามของคําวาขอ มูลไว หลากหลาย เชน
ขอมูล คือ ขอเท็จจริง ภาพ (Images) หรือเสียง (Sounds) ที่อาจจะ(หรือไม) แกไขปญหา

(Pertinent) หรอื เปน ประโยชนตอ การปฏิบัตงิ าน (Alter 1996 : 28)
ขอ มลู คอื ตัวแทนของขอเท็จจริง ตวั เลข ขอ ความ ภาพ รูปภาพ หรือเสียง (Nickerson 1998 : 10-

11)
ขอ มลู คือ ขอเทจ็ จริงที่แทนเหตุการณที่เกิดขึ้นภายในองคการ หรือส่ิงแวดลอ มทางกายภาพกอ นท่ี

จะมีการจัด ระบบใหเ ปน รปู แบบที่คนสามารถเขา ใจ และนาํ ไปใชได (Laudon and Laudon 1999 :8)
ขอมูล คือ ขอเท็จจริง หรือการอภิปรายปรากฏการณอยางใดอยางหน่ึง (Haag, Cummings and

Dawkins 2000 : 31)
ขอมูล คือ ส่ิงประกอบไปดวยขอเท็จจริง และสัญลักษณ (Figures) ท่ีมีความสัมพันธ (ไมมี

ความหมาย หรอื มี ความหมายนอ ย) กบั ผใู ช (McLeod, Jr. and Schell 2001 : 12)
ขอมูล คือ คําอธิบายพ้ืนฐานเก่ียวกับสิ่งของ เหตุการณ กิจกรรม หรือธุรกรรม ซ่ึงไดรับการบันทึก

จําแนก และ เก็บรักษาไว โดยที่ยังไมไดเก็บใหเปนระบบ เพ่ือท่ีจะใหความหมายอยางใดอยางหน่ึงท่ีแนชัด
(Turban, McLean and Wetherbe 2001 : 17)

ขอ มูล ประกอบไปดวยขอ เท็จจรงิ (Raw Facts) เชน ชอื่ ลูกคา ตัวเลขเกีย่ วกบั จํานวนช่ัวโมงท่ีทาํ งาน
ในแตละ สปั ดาห ตัวเลขเกย่ี วกบั สินคา คงคลงั หรือรายการสั่งของ (Stair and Reynolds 2001 : 4)

ขอ มูล คือ ขอเท็จจริง ท่ีใชแ ทนเหตุการณที่เกิดข้ึน และไดรบั การรวบรวม หรือปอนเขา ระบบ (เลาว
ดอน และ เลาวด อน 2545 : 6)

30

ขอมูล คือ ขอเท็จจริง หรือส่ิงที่กอ หรือยอมรับวาเปนขอเท็จจริง (ขอเท็จจริง หมายถึง ขอความ
หรือเหตุการณที่ เปนมา หรือที่เปนอยูจริง (ราชบัณฑิตยสถาน 2539 : 134) สําหรับใชเปนหลักอนุมานหา
ความจรงิ หรอื การคํานวณ (หนาเดยี วกัน)

ขอมูล คือ ขอความจริงเก่ียวกับเร่ืองใดเรื่องหน่ึง โดยอาจเปนตัวเลข หรือขอความที่ทําใหผูอาน
ทราบความเปน ไป หรอื เหตุการณทเี่ กดิ ขึน้ (สชุ าดา กรี ะนนั ท 2542 : 4)

ขอ มลู คือ ขอเท็จจรงิ ทม่ี ีอยใู นชีวิตประจําวันเก่ียวกับบุคคล ส่ิงของ หรอื เหตุการณตา งๆ ที่อาจเปน
ตวั เลข ตัวอักษร ขอ ความ ภาพ หรือเสียงกไ็ ด (จติ ติมา เทียมบญุ ประเสริฐ 2544 : 3)

ขอมูล คือ ขอมูลดิบ (Raw Data) ทยี่ ังไมมีความหมายในการนาํ ไปใชง าน และถูกรวบรวมจากแหลง
ตา งๆ ทัง้ ภาย ใน และภายนอกองคการ (ณัฏฐพนั ธ เขจรนนั ทน และไพบูลย เกยี รตโิ กมล 2545 : 40)

ขอมูล คือ ขอเท็จจริง เกี่ยวกับเหตุการณ หรือขอมูลดิบท่ียังไมผานการประมวลผล ยังไมมี
ความหมายในการ นําไปใชงาน ขอมลู อาจเปนตัวเลข ตัวอักษร สญั ลกั ษณ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลือ่ นไหว
(ทิพวรรณ หลอ สุวรรณรตั น 2545 : 9)

ขอมูล คือ ตวั อักษร ตัวเลข หรอื สญั ลักษณใ ดๆ (นภิ าภรณ คําเจรญิ 2545 : 14)
สรุป ขอมูล (Data) คือ สิ่งตาง ๆ หรือขอเท็จจริง ท่ีไดรับจากประสาทสัมผัส หรือส่ือตาง ๆท่ียังไม
ผานการวิเคราะห หรือการประมวลผล โดยขอมูล อาจเปนตัวเลข สัญลักษณ ตัวอักษร เสียง ภาพ
ภาพเคล่อื นไหว เปน ตน

2.5 ชนิดของขอมูล
ชนดิ ของขอ มลู แบงเปน ดังน้ี
1. แบงตามแหลงทีม่ า
1.1 ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือขอมูลท่ีเก็บรวบรวมมาจากแหลงขอมูลขั้นตนหรือไดมา

จากแหลงขอมลู โดยตรง เชน ขอมูลนักเรียนที่ไดมาจากการตอบแบบสอบถาม การสํารวจ การสัมภาษณ การ
วดั การสังเกต การทดลอง เปนตน ซึง่ ขอ มูลทไ่ี ดจะมคี วามถกู ตอง ทันสมยั และเปน ปจ จุบัน

1.2 ขอ มูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือขอมลู ท่ไี ดจ ากแหลงที่รวบรวมขอ มลู ไวแลว โดยผหู นึ่ง
ผูใ ด หรอื หนวยงานไดทําการเก็บรวบรวมหรือเรียบเรียงไว ซ่ึงขอมูลสามารถนํามาใชอางอิงไดเลย เชน ขอ มูล
สาํ มะโนประชากร จากสาํ นักงานสถติ ิแหงชาติ ขอ มูลปรมิ าณน้ําฝน จากกรมชลประทาน เปนตน

2. แบงตามลักษณะของขอมลู
2.1 ขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) คือขอมูลท่ีวัดออกมาเปนตัวเลข เชน ผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนวิชาตาง ๆ ท่ีวัดออกมาเปนคะแนน คุณลักษณะดานจิตพิสัย เชน ความสนใจ คุณลักษณะทาง
กาย เชน สวนสูง ความเรว็ ในการว่ิง เปนตน

31

2.2 ขอมูลเชิงคุณลักษณะหรือเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือขอมูลที่ไมไดวัดออกมาเปน
ตัวเลขแตจะแสดงถึงคุณลักษณะของส่ิงนั้น เชน เพศ ศาสนา สถานภาพสมรส อาชีพ ขอความที่เปนความ
คิดเห็น ผลการสังเกตทีเ่ ขียนในรปู บรรยาย

3. แบง ตามสภาพของขอมูลทเ่ี ก่ียวของกับกลุมตวั อยา ง
3.1 ขอมูลสวนบุคคล (Personal Data) คือขอมูลทีเ่ ก่ียวกับขอเท็จจริงสว นตัวของกลุมตัวอยาง

เชน ชอ่ื สกุล อายุ เพศ อาชีพ ศาสนา เปนตน
3.2 ขอมูลส่ิงแวดลอม (Environmental Data) คือขอมูลที่เปนขอเท็จจริงเกี่ยวกับส่ิงแวดลอม

ของกลมุ ตัวอยาง เชน ลักษณะทองถิ่นที่กลุมตัวอยางอาศยั อยู เปนตน
3.3 ขอมูลพฤติกรรม (Behavioral Data) คือขอมูลท่ีเปนคุณลักษณะท่ีมีอยูในตัวของกลุม

ตวั อยาง เชน คณุ ลักษณะดา นความสามารถของสมอง ไดแก ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการหรือการเรยี น เชน ความรู
ความเขา ใจ ความถนดั และการกระทาํ สิ่งตาง ๆ

4. แบงตามการนาํ ไปใชกับคอมพิวเตอรไ ด
4.1ขอมูลตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ขอมูลที่สามารถนําไปคํานวณได เชน จํานวน

เงินเดอื น ราคาสินคา ซึ่งอาจอยใู นรูปของจํานวนเต็ม ทศนิยม เศษสว น เปน ตน
4.2 ขอมูลตัวอักษร (Text Data) หมายถึง ขอมูลที่ไมสามารถนําไปคํานวณได แตอาจนําไป

เรยี งลาํ ดับได เชน ชื่อ ท่ีอยู เบอรโ ทรศัพท เลขประจาํ ตัวประชาชน หมายเลขโทรศพั ท เปนตน
4.3 ขอมูลเสียง (Audio Data) หมายถึง ขอมูลที่เกิดจากการไดยิน เชน เสียงคนพูด เสียงสัตว

รอง เสียงจากปรากฏการณธรรมชาติ หรือเสียงจากอุปกรณตาง ๆ ทีส่ ามารถแสดงผลขอ มูลในรูปแบบเสียงได
เชน แผน ซีดี โทรทศั น วทิ ยุ เปน ตน

4.4 ขอมูลภาพ (Images Data) หมายถึง ขอมูลที่เปนภาพในลักษณะตาง ๆ ท่ีเรามองเห็น ซ่ึง
อาจเปนภาพน่งิ เชน ภาพวาด ภาพถาย เปนตน หรือภาพเคลื่อนไหว เชน ภาพจากโทรทัศน ภาพจากวดี ิทัศน
ภาพจากคอมพิวเตอร เปน ตน

4.5 ขอมลู ภาพเคล่ือนไหว (Video Data) หมายถงึ ขอมูลทเ่ี ปนภาพเคลอ่ื นไหว หรือขอมูลทีม่ ีท้ัง
ภาพ เสยี ง ขอความปนกนั เชน ภาพเคลื่อนไหวท่ถี ายดวยกลองวิดีโอ หรือภาพทที่ ําจากโปรแกรมตา ง ๆ เปน
ตน

2.6 กรรมวธิ กี ารจัดการขอ มูล
การจัดการขอ มลู ใหม คี ุณคาเปน สารสนเทศ กระทาํ ไดโ ดยการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของขอมลู ซึ่งมี

วิธกี าร หรือ กรรมวิธีดังตอไปนี้ (Kroenke and Hatch1994 : 18-20)

32

1. การรวบรวมขอ มูล (Capturing/gathering/collecting Data) ทต่ี อ งการจากแหลง ตา งๆ โดยการ
ใชเคร่ืองมือชวยคน ที่เปนบัตรรายการ หรือ OPAC แลวนําตัวเลมมาพิจารณาวา มรี ายการใดที่สามารถนํามาใช
ประโยชนไ ด

2. การตรวจสอบขอมูล (Verifying/checking Data) โดยตรวจสอบเนื้อหาของขอมูลที่หามาได ใน
ประเดน็ ของ ความถูกตองและความแมนยําของเน้ือหา ความสอดคลองของตาราง, ภาพประกอบ หรือแผนที่
กับเนือ้ หา

3. การจดั แยกประเภท/จัดหมวดหมูขอ มูล (Classifying Data) เมื่อผา นการตรวจสอบความถูกตอง
สอดคลอ งกนั ของเนื้อหาแลว นาํ ขอมูลตางๆ เหลา นั้นมาแยกออกเปนกอง หรือกลมุ ๆ ตามเรื่องราวทปี่ รากฏ
ในเนื้อหา

4. จากน้ันก็นําแตละกอง หรือกลุม มาทําการเรียงลําดับ/เรียบเรียงขอมูล (Arranging/sorting
Data) ใหเ ปนไป ตามความเหมาะสมของเนอ้ื หาวาจะเริม่ จากหวั ขอ ใด จากนน้ั ควรเปน หัวขออะไร

5. หากมขี อ มูลเก่ยี วกับตวั เลขจะตองนําตวั เลขน้นั มาทําการวิเคราะหหาคา ทางสถิติที่เกี่ยวของ หรือ
ทาํ การ คํานวณขอมูล (Calculating Data) ใหไ ดผ ลลพั ธอ อกเสียกอน

6. หลงั จากนัน้ จึงทําการสรุป (Summarizing/conclusion Data) เน้อื หาในแตล ะหัวขอ
7. เสร็จแลวทําการจัดเก็บ หรือบันทึกขอมูล (Storing Data) ลงในส่ือประเภทตางๆ เชน ทําเปน
รายงาน หนงั สือ บทความตีพมิ พในวารสาร หนังสอื พมิ พ หรือลงในฐานขอ มลู คอมพวิ เตอร (แผนดสิ ก ซดี -ี รอม
ฯลฯ)
8. จดั ทําระบบการคนคืน เพ่ือความสะดวกในการจัดเก็บและคนคนื สารสนเทศ (Retrieving Data)
จะได จดั เกบ็ และคนคืนสารสนเทศอยา งถกู ตอง แมน ยาํ รวดเร็ว และตรงกบั ความตอ งการ
9. ในการประมวลผลเพื่อใหไดมาซึ่งสารสนเทศ จักตองมีการสําเนาขอมูล (Reproducing Data)
เพ่ือปองกนั ความเสยี หายท่อี าจเกิดขึ้นกบั ขอมลู ทัง้ จากสาเหตทุ างกายภาพ และระบบการจัดเกบ็ ขอ มลู
1 0 . จ า ก นั้ น จึ ง ทํ า ก า ร ก า ร เ ผ ย แ พ ร ห รื อ สื่ อ ส า ร ห รื อ ก ร ะ จ า ย ข อ มู ล
(Communicating/disseminating Data) เพื่อใหผ ลลพั ธท ่ีไดถ ึงยงั ผูรบั หรือผทู ี่เกีย่ วขอ ง
การจัดการขอมูลใหมีสถานภาพเปนสารสนเทศ (Transformation Processing) ในความเปนจริง
แลวไมจําเปนที่ จะตอ งทาํ ครบ ท้งั 10 วิธีการ การทจี่ ะทํากีข่ ั้นตอนนั้นข้ึนอยกู ับ ขอ มูลท่นี ําเขามาในระบบการ
ประมวลผล หากขอมูลผาน ขั้นตอน ที่ 1 หรือ 2 มาแลว พอมาถึงเรา เราก็ทําข้ันตอนท่ี 3 ตอไปไดทันที แต
อยางไรก็ตามการใหไดมาซ่ึงผลลัพธท่ีมี คุณคา จักตองทําตามลําดับดังกลาวขางตน ไมควรทําขามขั้นตอน
ยกเวนขั้นตอนท่ี 5 และข้ันตอนท่ี 6 กรณีท่ีเปนขอมูล เกย่ี วกับตัวเลขก็ทําข้ันตอนที่ 5 หากขอมูลไมใชตัวเลข
อาจจะขามข้ันตอนท่ี 5 ไปทําขั้นตอนท่ี 6 ไดเลย เปนตน ผลลัพธ หรือผลผลิตท่ีไดจากการประมวลผล หรือ
กรรมวธิ ีจัดการขอมลู ปรากฏแกสังคมในรูปของส่อื ประเภทตา งๆ เชน เปน หนังสอื วารสาร หนังสือพิมพ ซดี ี-

33

รอม สไลด แผนใส แผนที่ เทปคลาสเซท ฯลฯ แตอยางไรก็ตามไมไดห มายความวา ผลผลิต หรอื ผลลัพธนั้นจะ
มีสถานภาพเปน สารสนเทศเสมอไป

2.7 หลกั เกณฑก ารประเมนิ ผลลัพธ หรือผลผลติ
ขอ มูลของบางคนอาจเปนสารสนเทศสาํ หรับอีกคนหนึง่ (Nickerson 1998 : 11) การท่ีจะบงบอกวา

ผลผลิต หรือ ผลลัพธม ีคุณคา หรือสถานภาพเปน สารสนเทศ หรือไมนนั้ เราใชหลกั เกณฑตอ ไปน้ีประกอบการ
พจิ ารณา

1. ความถกู ตอ ง (Accuracy) ของผลผลิต หรือผลลัพธ
2. ตรงกับความตองการ (Relevance/pertinent)
3. ทนั กบั ความตองการ (Timeliness)
การพิจารณาความถูกตองดูท่ีเนื้อหา (Content) ของผลผลิต โดยพิจารณาจากข้ันตอนของการ
ประมวลผล (Process; verifying, calculating) ขอมูล สําหรับการตรงกับความตองการ หรือทันกับความ
ตองการ มีผูใชผลผลิตเปน เกณฑในการพิจารณา หากผูใชเห็นวาผลผลิตตรงกับความตองการ หรือผลผลิต
สามารถตอบปญ หา หรือแกไ ขปญหา ของผูใชได และสามารถเรยี กมาใชไดในเวลาทเี่ ขาตองการ (ทันตอความ
ต อ ง ก า ร ใ ช ) เ ร า จึ ง จ ะ ส รุ ป ไ ด ว า ผ ล ผ ลิ ต ห รื อ ผ ล ลั พ ธ นั้ น มี ส ถ า น ภ า พ เ ป น ส า ร ส น เ ท ศ
คุณภาพ หรอื คุณคาของสารสนเทศ ขึน้ อยกู ับขอมูล (Data) ที่นําเขา มา (Input) หากขอมูลท่ีนําเขา
มาประมวลผล เปนขอมูลที่ดี ผลลัพธท่ีไดก็จะมีคุณภาพดี หรือมีคุณคา ผูใช หรือผูบริโภคสามารถนํามาใช
ประโยชนได แตห ากขอมูลท่ี นาํ เขามาประมวลผลไมดี ผลผลิต หรอื ผลลัพธกจ็ ะมีคุณภาพไมด ี หรือไมม ีคุณคา
สมด่ังกับวลที ่ีวา GIGO (Garbage In Garbage Out) หมายความวา ถานําขยะเขา มา ผลผลิต (ส่ิงทีไ่ ดอ อกไป)
ก็คอื ขยะน่ันเอง

2.8 คณุ ลักษณะของสารสนเทศท่ีดี
สารสนเทศท่ีดีควรมีคุณลักษณะดังตอไปนี้ (Alter 1996 : 170-175, Stair and Reynolds 2001 :

6-7, จิตติมา เทียมบญุ ประเสริฐ 2544 : 12-15, ณฏั ฐพันธ เขจรนันทน และไพบูลย เกียรติโกมล 2545 : 41-
42 และทพิ วรรณ หลอ สุวรรณรตั น 2545 : 12-15)

1. สารสนเทศทด่ี ตี องมีความความถูกตอ ง (Accurate) และไมม คี วามผิดพลาด
2. ผูที่มีสิทธิใชสารสนเทศสามารถเขาถึง (Accessible) สารสนเทศไดงาย ในรูปแบบ และเวลาที่
เหมาะสม ตามความตอ งการของผูใ ช
3. สารสนเทศตองมีความชัดเจน (Clarity) ไมค ลุมเครอื
4. สารสนเทศทีด่ ตี องมคี วามสมบูรณ (Complete) บรรจุไปดว ยขอ เทจ็ จริงท่มี ีสาํ คญั ครบถวน

34

5. สารสนเทศตองมคี วามกะทัดรดั (Conciseness) หรอื รดั กุม เหมาะสมกบั ผใู ช
6. กระบวนการผลิตสารสนเทศตองมีความประหยัด (Economical) ผูท ่ีมีหนา ท่ีตัดสินใจมักจะตอง
สรางดลุ ยภาพ ระหวางคุณคาของสารสนเทศกบั ราคาทีใ่ ชใ นการผลิต
7. ตองมคี วามยดึ หยนุ (Flexible) สามารถในไปใชใ นหลาย ๆ เปาหมาย หรือวัตถุประสงค
8. สารสนเทศทีด่ ีตอ งมีรูปแบบการนาํ เสนอ (Presentation) ที่เหมาะสมกบั ผใู ช หรือผทู ี่เก่ยี วของ
9. สารสนเทศที่ดตี อ งตรงกับความตองการ (Relevant/Precision) ของผทู ีท่ ําการตัดสนิ ใจ
10. สารสนเทศท่ดี ตี อ งมคี วามนา เชอื่ ถือ (Reliable) เชน เปน สารสนเทศทไี่ ดม าจากกรรมวธิ รี วบรวม
ทน่ี า เช่อื ถือ หรอื แหลง (Source) ท่ีนาเชือ่ ถือ เปนตน
11. สารสนเทศที่ดีควรมคี วามปลอดภัย (Secure) ในการเขา ถงึ ของผูไ มมีสิทธิใชสารสนเทศ
12. สารสนเทศที่ดีควรงาย (Simple) ไมสลับซับซอน มีรายละเอียดท่ีเหมาะสม (ไมมากเกินความ
จําเปน )
13. สารสนเทศที่ดตี องมีความแตกตาง หรอื ประหลาด (Surprise) จากขอมูลชนิดอ่ืน ๆ
14. สารสนเทศที่ดีตองทันเวลา (Just in Time : JIT) หรือทันตอความตองการ (Timely) ของผูใช
หรอื สามารถสง ถึงผรู บั ไดใ นเวลาทผี่ ใู ชตอ งการ
15. สารสนเทศที่ดตี องเปนปจจุบนั (Up to Date) หรือมคี วามทันสมัย ใหมอยูเสมอ มิเชนน้ันจะไม
ทันตอ การ เปลี่ยนแปลงทีด่ าํ เนนิ ไปอยา งรวดเร็ว
16. สารสนเทศที่ดีตองสามารถพิสูจนได (Verifiable) หรือตรวจสอบจากหลาย ๆ แหลง ไดวามี
ความถูกตอ ง
นอกจากนน้ั สารสนเทศมีคุณสมบัติทแ่ี ตกตา งไปจากสินคาประเภทอ่ืน ๆ 4 ประการคือ ใชไ มห มด ไม
สามารถ ถา ยโอนได แบงแยกไมได และสะสมเพ่ิมพูนได (ประภาวดี สืบสนธ 2543 : 12-13) หรืออาจสรุปได
วา สารสนเทศที่ดตี องมีคุณลักษณะครบทั้ง 4 ดาน คือ ดานเวลา (ทันเวลา และทันสมยั ) ดานเนื้อหา (ถูกตอง
สมบูรณ ยึดหยุน นาเชื่อถือ ตรงกับ ความตองการ และตรวจสอบได) ดานรูปแบบ (ชัดเจน กะทัดรัด งาย
รปู แบบการนําเสนอ ประหยัด แปลก) และดา น กระบวนการ (เขาถงึ ได และปลอดภยั )
ในการจัดการเพื่อใหองคการบรรลุถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพท่ีองคการตั้งไวน้ัน ดังที่กลาว
มาแลววาขอมูลและสารสนเทศเปนปจ จยั หน่ึงท่ีมคี วามสําคัญอยา งมากตอทุกองคการ ทั้งนี้สารสนเทศท่ีดคี วร
มลี ักษณะ ดงั ตอไปนี้

1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององคก ารที่ดจี ะตอ งมีความเท่ียงตรงและเช่ือถอื ได
โดยไมใหม ีความคลาดเคล่อื นหรอื มคี วามคลาดเคล่ือนนอยทส่ี ดุ ดังน้ันประสทิ ธิผลของการตัดสินใจจงึ ขึ้นอยูก ับ
ความถูกตองหรือความเท่ียงตรง ยอมสงผลกระทบทําใหการตัดสินใจมีความผิดพลาดตามไปดวย

2. ทันตอความตองการใช (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศขององคการจะตองมีความ

35

เทย่ี งตรงหรือความถูกตองแลว ยงั จะตอ งมีคณุ สมบัตขิ องการทีส่ ามารถนาํ สารสนเทศมาใชไ ดทนั ทีเม่ือตอ งการ
ใชขอมูล หรือเพื่อการตดั สินใจ ทงั้ น้ีเนือ่ งจากเหตุการณตาง ๆ ทางการบริหารทั้งภายในและภายนอกองคการ
มกี ารเคล่ือนไหวเปลย่ี นแปลงอยา งรวดเร็ว โดยเฉพาะสารสนเทศดา นการขาย การผลติ ตลอดจนดานการเงิน
ถาผูบริหารไดรับมาลาชา ก็จะสงผลกระทบตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการตัดสินใจ หรือการ
ดาํ เนินงานของผบู รหิ ารทจ่ี ะลดลงตามไปดวย

3. ความสมบูรณ (Completeness) สารสนเทศขององคก ารท่ดี ี จะตองมคี วามสมบูรณท ี่จะชวย
ทําใหการตัดสินใจเปนไปดวยความถูกตอง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไมไดหมายถึงการท่ีจะชวยเพ่ิม
ประสิทธิผลของการดําเนินงาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเปนสารสนเทศที่ไมมีความสําคัญ เชนเดียวกับ
การมสี ารสนเทศท่ีมีปริมาณนอยเกินไป ก็อาจทําใหไมไดสารสนเทศท่ีสําคัญครบเพียงพอทุกดานที่จะนําไปใช
ไดอยางมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ แตท้ังนี้มิไดหมายความวาจะตองรอใหมีสารสนเทศครบถวน 100
เปอรเซ็นตกอนจึงจะทําการตัดสินใจได เชน จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใชสินคา ปริมาณสินคาคงเหลือ
ราคาตอ หนวย แหลงผูผลิตคาใชจา ยในการสั่งซอ้ื คา ใชจา ยในการเกบ็ รกั ษา ระยะเวลารอคอยของสินคา แตล ะ
ชนิด ดังนั้นจะตัดสินใจเก่ียวกบั การบรหิ ารสินคาคงเหลือใหม ีประสิทธิภาพ ก็จําเปน ที่จะตอ งไดรับสารสนเทศ
ในทุกเรอ่ื ง การขาดไปเพยี งบางเรอ่ื งจะสง ผลกระทบตอ การตัดสินใจอยา งมากเปนตน จากตัวอยา งจะเห็นไดวา
ไมไดหมายความวามีสารสนเทศมากเฉพาะในบางดาน ขณะท่ีสารสนเทศในบางดานไมมีหรือมีไมเพียงพอตอ
การตดั สนิ ใจ แตจ ะตอ งไดรับสารสนเทศท่ีสาํ คญั ครบในทุกดา นท่ที าํ การตดั สินใจ

4. การสอดคลองกับความตองการของผูใช (Relevance) สารสนเทศขององคการที่ดีจะตองมี
คุณลักษณะที่สําคัญอีกประการหน่ึงก็คือ จะตองตอบสนองตอความตองการของผูใชที่จะนําไปใชในการ
ตดั สินใจได ดังน้ันในการที่องคการจะออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศในองคการนน้ั การสอบถามความ
ตองการของสารสนเทศที่ผูใชตองการเปนปจจัยที่มีความสําคัญอยางมาก เชน สนเทศในการบริหารการผลิต
การตลาด และการบริหารทรพั ยากรมนุษย เปนตน

5. ตรวจสอบได (Verifiability) สารสนเทศท่ีดีควรมีคุณลักษณะที่สามารถจะตรวจสอบได
โดยเฉพาะแหลงท่ีมา การจัดรูปแบบการวิเคราะหขอมูลที่ใช ทั้งนี้เพ่ือใหการตัดสินใจไดเกิดความรอบครอบ
การทผี่ ูบรหิ ารมองเหน็ สารสนเทศบางเรอ่ื งแลว พบวาทาํ ไมจึงมคี า ท่ีต่าํ เกนิ ไป หรอื สงู เกนิ ไป อาจตองตรวจสอบ
ความถูกตองของสารสนเทศทไ่ี ดมา ทั้งนีก้ ็เพ่ือมิใหการตดิ สนิ ใจเกิดความผดิ พลาด

36

คณุ ลักษณะดังกลาวขางตน มคี วามสําคัญอยา งยิ่งท่ผี บู รหิ ารงานบุคคลจะตองพยายามจัดระบบใหมี
ความพรอมครบถวนและพรอมท่ีจะใชงานได ปญหาสําคัญที่องคการสวนมากมักจะตองเผชิญ คือ การไม
สามารถสนองขอมูลท่ีเกี่ยวกับบคุ คลใหทันกับความจําเปนใชในการที่จะตองดําเนินการหรือตัดสินปญหาบาง
ประการ ดังเชน ถา หากมีเหตุเฉพาะหนาที่ตองการบุคคลท่ีมคี ุณสมบัติอยางหน่ึงในการบรรจเุ ขาตําแหนงหนึ่ง
อยางรวดเร็วในเวลาอันสั้น ซ่ึงหากผูจัดเตรียมขอมูลจะตองใชเวลาประมวลขน้ึ มานานเปนเดอื นก็ยอมถือไดวา
ขอมูลที่สนองใหนั้นชากวาเหตุการณ หรือในอีกทางหน่ึง บางคร้ังแมจะเสนอขอมูลไดอยางรวดเร็ว แตเปน
ขอมูลที่เปน รายละเอียดมากเกินไปท่ไี มอาจพิจารณาแยกแยะคณุ สมบัตทิ ีส่ ําคัญ หรอื ขอมูลท่ีสําคัญทเ่ี กี่ยวของ
กบั บุคคลอยางเดน ชดั กย็ อมทาํ ใหการใชข อ มูลนน้ั เปน ไปดวยความยากลาํ บาก

นอกจากลักษณะท่ีดขี องสารสนเทศดังกลาวขางตนแลว ยงั มีคุณสมบัตทิ ีแ่ อบแฝงของสารสนเทศอีก
บางลักษณะที่สัมพันธกับระบบสารสนเทศ และวิธีการดําเนินงานของระบบสารสนเทศ ซึ่งจะมีความสําคัญ
แตกตา งกนั ไปตามลักษณะงานเฉพาะอยาง ซงึ่ ไดแก

1. ความละเอียดแมนยาํ คือ สารสนเทศจะตองมีความละเอียดแมนยําในการวัดขอมูล ใหความ
เชอื่ ถือไดส ูง มีรายละเอียดของขอมูล และแหลง ท่ีมาของขอ มลู ทถี่ กู ตอ ง

2. คุณสมบัติเชิงปริมาณ คือความสามารถท่ีจะแสดงออกมาในรูปของตัวเลขได และสามารถ
เปรยี บเทยี บในเชงิ ปริมาณได

3. ความยอมรับได คือ ระดับความยอมรับไดของกลุมผูใชสารสนเทศอยางเดียวกัน สารสนเทศ
ควรมีลักษณะเดียวกันในกลุมผูใชงาน หรอื ใกลเคียงกันโดยสามารถใชรวมกันได เชน การใชเครื่องมือเพื่อวัด
คณุ ภาพการผลิตสินคา เครื่องมือดงั กลาวจะตองเปน ท่ียอมรับไดวาสามารถวัดคาของคุณภาพไดอยางถกู ตอ ง

4. การใชไดงาย คือ ความสามารถนําไปใชงานไดงาย สะดวกและรวดเร็ว ท้ังในสว นของผูบริหาร
และผปู ฏิบัตงิ าน

5. ความไมลําเอียง ซ่งึ หมายถึง ไมเปนสารสนเทศท่ีมีจุดประสงคที่จะปกปดขอเท็จจรงิ บางอยา ง
ซึ่งทาํ ใหผ ใู ชเ ขาใจผดิ ไปจากความเปนจรงิ หรือแสดงขอ มูลทผี่ ดิ จากความเปน จริง

6. ชดั เจน ซ่ึงหมายถึง สารสนเทศจะตองมีความคลุมเครอื นอ ยท่ีสุด สามารถทําความเขาใจ
ไดง า ย

2.9 คณุ ภาพของสารสนเทศ
คณุ ภาพของสารสนเทศ จะมีคณุ ภาพสูงมาก หรอื นอย พิจารณาที่ 3 ประเด็น ดงั น้ี (Bentley 1998

: 58-59)

37

1. ตรงกับความตองการ (Relevant) หรือไม โดยดูวาสารสนเทศน้ันผูใชสามารถนําไปใชเพ่ิม
ประสิทธิภาพ ได มากกวาไมใชสารสนเทศ หรือไม คุณภาพของสารสนเทศ อาจจะดูที่มันมีผลกระทบตอ
กิจกรรมของผูใช หรือไม อยางไร

2. นาเชื่อถือ (Reliable) เพียงใด ความนาเช่ือถือมีหัวขอที่จะใชพิจารณา เชน ความทันเวลา
(Timely) กับผูใช เม่ือ ผูใชจําเปนตองใชมีสารสนเทศนั้น หรือไม สารสนเทศที่นํามาใชตองมีความถูกตอง
(Accurate) สามารถพิสูจน (Verifiable) ไดวาเปนความจริง ดวยการวิเคราะหขอมูลที่เก่ียวของ เปนตน

3. สารสนเทศนั้นเขมแข็ง (Robust) เพยี งใด พจิ ารณาจากการท่ีสารสนเทศสามารถเคล่ือนตวั เองไป
พรอ มกับครอบคลุม (Scope) ทัง้ ดา นกวางและดานแคบ (ดา นลกึ ) หรอื มีจุดเนนทั้งภายในและภายนอก

4. มีความสามารถ/ศักยภาพ (Performance) ที่แสดงใหเห็นไดจ ากการวัดคา ได การบงบอกถึงการ
พัฒนา หรือสามารถเพ่มิ พนู ทรพั ยากร

กาลเวลาท่ีเปล่ียนไป (Rigorous of Time) หรือพิจารณาจากความออนแอของมนุษย (Human
Frailty) เพราะมนุษย อาจทาํ ความผิดพลาดในการปอนขอมลู หรอื การประมวลผลขอ มลู เพราะฉะนั้นจะตอ ง
มีการควบคุม หรือตรวจสอบ ไมใหมีความผดิ พลาดเกิดข้ึน หรอื พิจารณาจากความผิดพลาด หรือลมเหลวของ
ระบบ (System Failure) ท่ีจะสงผล เสียหายตอสารสนเทศได ดังน้ันจึงตองมีการปองกันความผิดพลาด (ท่ี
เนื้อหา และไมทันเวลา) ท่ีอาจเกิดขึ้นได หรือ พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลง การจัดการ (ขอมูล)
(Organizational Changes) ท่ีอาจจะสงผลกระทบ (สรา งความเสียหาย) ตอสารสนเทศ เชน โครงสราง แฟม
ขอมูล วิธีการเขาถึงขอมูล การรายงาน จักตองมีการปองกัน หากมีการ เปล่ียนแปลงในเรื่องดังกลาว

นอกจากนั้นซวาสส (Zwass 1998 : 42) กลาวถึง คุณภาพของสารสนเทศจะมีมากนอยเพียงใด
ขึ้นอยูกับ การ ทันเวลา ความสมบูรณ ความกะทัดรัด ตรงกับความตองการ ความถูกตอง ความเท่ียงตรง
(Precision) และรูปแบบท่ีเหมาะสม ในเรื่องเดียวกัน โอไบรอัน (O’Brien 2001 : 16-17) กลาววาคุณภาพ
ของสารสนเทศ พิจารณาใน 3 มิติ ดังนี้

1. มิตดิ า นเวลา (Time Dimension)
1.1สารสนเทศควรจะมีการเตรียมไวใหท นั เวลา (Timeliness) กบั ความตอ งการของผใู ช
1.2สารสนเทศควรจะตองมีความทันสมัย หรอื เปนปจจุบนั (Currency)
1.3 สารสนเทศควรจะตองมีความถี่ (Frequency) หรอื บอ ย เทาที่ผใู ชตองการ
1.4 สารสนเทศควรมีเรือ่ งเกี่ยวกบั ชวงเวลา (Time Period) ตั้งแตอดตี ปจจบุ ัน และอนาคต

2. มติ ิดา นเน้ือหา (Content Dimension)
2.1 ความถกู ตอง ปราศจากขอผดิ พลาด
2.2 ตรงกับความตอ งการใชสารสนเทศ
2.3 สมบูรณ สง่ิ ที่จําเปนจะตองมใี นสารสนเทศ

38

2.4 กะทดั รัด เฉพาะที่จาํ เปนเทานนั้
3. มติ ิดา นรูปแบบ (Form Dimension)

3.1 ชดั เจน งา ยตอการทาํ ความเขา ใจ
3.2 มีท้ังแบบรายละเอียด (Detail) และแบบสรปุ ยอ (Summary)
3.3 มีการเรยี บเรยี ง ตามลาํ ดับ (Order)
3.4การนาํ เสนอ (Presentation) ที่หลากหลาย เชน พรรณนา/บรรยาย ตัวเลข กราฟก อื่น ๆ
3.5 รปู แบบของสื่อ (Media) ประเภทตาง ๆ เชน กระดาษ วีดิทัศน ฯลฯ
สวนสแตรและเรยโ นลด (Stair and Reynolds 2001 : 7) กลา วถงึ คุณคาของสารสนเทศขน้ึ อยูกับ
การท่ีสารสนเทศนั้น สามารถชวยใหผูที่มีหนาที่ตัดสินใจทําใหเปาหมายขององคการสัมฤทธิ์ผลไดมากนอย
เพยี งใด หากสารสนเทศ สามารถทาํ ใหบ รรลุเปา หมายขององคก ารได สารสนเทศนนั้ ก็จะมีคณุ คาสูงตามไปดว ย

2.10 ความสาํ คัญของสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีพัฒนาการท่ีเจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว มีการปรับปรุงเคร่ืองมือเคร่อื งใชท่ี

เปนประโยชนกบั งานสารสนเทศอยูตลอดเวลา ทําใหวงการวิชาชพี หันมาปรบั ปรงุ กลไกในวิชาชีพของตนใหท ัน
กับสังคมสารสนเทศ

เพื่อใหทันตอกระแสโลก จึงทําใหเกดิ การบริการรูปแบบใหมๆ ขึ้นมากมาย ไมวา จะเปน การซ้ือขาย
ผา นอินเตอรเน็ต การใหบริการสงขา วสาร SMSหรือการโหลดเพลงผานเครอื ขา ยโทรศพั ทมือถือ

นอกจากน้ีหนวยงานตางๆ ยังไดสรางระบบงานสารสนเทศในหนวยงานของตนเองขึ้นเปนจํานวน
มาก เชน การทําเว็บไซดของหนวยงานเพื่อใชประโยชนจากสารสนเทศเหลาน้ันเพ่ือใหเกิดประโยชนอยาง
กวางขวางและคุมคา โดยสารสนเทศเขามามีบทบาทในการจัดทํากิจกรรมตางๆ เพ่ือใชในการสื่อสาร การ
ประชาสมั พันธ การปฏบิ ตั งิ าน การแกป ญหา หรือการตัดสนิ ใจ เพื่อการวางแผนและการจดั การ

ดังนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีบทบาทและความสําคัญมากในปจจุบัน และมีแนวโนมท่ีจะมี
บทบาทมากยิ่งข้ึนในอนาคต เพราะเทคโนโลยีเปนเคร่ืองมือในการดําเนินงานสารสนเทศใหเปนไปอยางมี
ประสิทธิภาพ นับตั้งแตการผลิต การจัดเก็บ การประมวลผล การเรียกใช การส่ือสารสารสนเทศ การ
แลกเปลยี่ นและใชทรัพยากรสารสนเทศรว มกนั ใหเ กดิ ประโยชนอ ยางเต็มที่

39

ความสาํ คัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ (สุนทร แกว ลาย. 2531:166) พอสรุปไดดังนี้
1.ชว ยในการจดั ระบบขา วสารจํานวนมหาสารในแตละวนั
2.ชวยเพ่ิมประสิทธภิ าพการผลิตสารสนเทศ
3.การจัดเรยี งลาํ ดบั สารสนเทศ ฯลฯ
4.ชวยในการจัดเกบ็ สารสนเทศไวใ นรูปทีเ่ รยี กใชไ ดทุกคร้ังอยางสะดวก
5.ชว ยในการจัดระบบอัตโนมตั ิ เพือ่ การจัดเกบ็ การประมวลผล และการเรียกใชสารสนเทศ
6.ชว ยในการเขาถงึ สารสนเทศไดอยางรวดเรว็ มปี ระสิทธภิ าพมากขึน้
7.ชวยในการส่ือสารระหวางกนั ไดอยางสะดวก รวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทาง

โดยใชระบบโทรศพั ท และอน่ื ๆ
สารสนเทศแทจริงแลวยอมมีความสําคญั ตอทุกสิง่ ที่เกี่ยวของ เชน ดานการเมือง การปกครอง ดาน

การศึกษา ดาน เศรษฐกจิ ดานสังคม ฯลฯ ในลกั ษณะดงั ตอ ไปน้ี
1. ทําใหผูบริโภคสารสนเทศเกิดความรู (Knowledge) และความเขาใจ (Understanding) ใน

เรือ่ งดังกลาว ขางตน
2. เม่ือเรารูและเขาใจในเรื่องที่เก่ียวของแลว สารสนเทศจะชวยใหเราสามารถตัดสินใจ

(Decision Making) ใน เรอื่ งตา งๆ ไดอ ยางเหมาะสม
3. นอกจากน้ันสารสนเทศ ยังสามารถทําใหเราสามารถแกไขปญหา (Solving Problem) ท่ี

เกดิ ขนึ้ ไดอ ยาง ถกู ตอง แมนยํา และรวดเร็ว ทนั เวลากบั สถานการณต างๆ ที่เกิดข้ึน

2.11 บทบาทของสารสนเทศ
ปจจุบันความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีไดพัฒนาอยางรวดเร็ว เทคโนโลยีข้ัน

พ้ืนฐานที่จําเปนสําหรับการดําเนินชีวิต คือเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร กําลังมีบทบาทอยาง
กวางขวางในดานตาง ๆ โดยเฉพาะทางดานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การบริการ สังคม ส่ิงแวดลอมไปจนถึง
ดานการศึกษา และในขณะทีส่ งั คมโลกกาํ ลังกา วเขา สูมติ ิใหม เทคโนโลยีสารสนเทศนบั เปน หน่ึงในเทคโนโลยีท่ี
นาํ สมัยมีผลตอการดํารงชีวิตของประชาชนเพราะเทคโนโลยสี ารสนเทศ คือ กุญแจสําคัญที่ไขไปสูการพัฒนา
ทรพั ยากรมนุษยใหมีคุณภาพตามความตองการของประเทศ และเนอ่ื งจากเทคโนโลยีสารสนเทศนาํ มาซึ่งความ
เปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต การทํางาน การเรียน และเลน ถือไดวาเปนการเปล่ียนแปลงคร้ังยิ่งใหญ ซึ่งสงผลตอ
คณุ สมบัติในการเปนเทคโนโลยีท่ีสามารถสอดแทรก และเสริมสรา งสมรรถนะในกิจกรรมและการดําเนินการ
ตาง ๆ ดวยเหตุน้ีสังคมไทยในปจจุบนั จึงกลายเปนสงั คมสารสนเทศ (Infomation society) ไมว า บุคคลจะอยู
ในอาชีพใด วัยใดก็ตาม จําเปนตองไดรับขอมูลขาวสารจากแหลงตาง ๆ เพื่อนําไปใชในการพัฒนาตนเอง
พัฒนาอาชพี รวมท้ังพัฒนาสังคมและประเทศชาติ

40

จะเห็นไดวาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Infomation Technology - IT) มีความสําคัญตอการพัฒนา
สังคมและประเทศชาติเพอ่ื อาํ นวยความสะดวกทงั้ ในชวี ิตประจําวัน และการทาํ งานเปน อยางมากประกอบกับ
โลกไดว วิ ัฒนาการเขา สยู ุคโลกาภิวัตนท ่ีขอ มูลขา วสารมีการเคล่ือนไหวอยางเสรที ว่ั โลก ซ่ึงสํานักงานเลขานุการ
คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติไดใหคําจํากัดความของ คําวา เทคโนโลยีสารสนเทศวา หมายถึง
เทคโนโลยีหลายกลุมรวมกนั เพ่ือกอ ใหเ กิดการติดตอเช่ือมโยง จัดหาวิเคราะหประมวล ผลการจดั เกบ็ และการ
จัดการ การเผยแพร (ครอบคลุมท้ังขาวสารและขอมูลดิบจนถึงความรูทางวิชาการ) ในรูปแบบของสื่อตาง ๆ
ทั้งเสียง ภาพ และตัวอักษรดวยวิธีทางอิเล็คทรอนิกส นอกจากนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศยังประกอบดวย
เทคโนโลยีหลายประเภท เชน เทคโนคอมพิวเตอร ฮารดแวร ซอฟตแวร และฐานขอมูล เทคโนโลยี
โทรคมนาคมระบบมีสายและไรสายซ่ึงรวมไปถึงระบบส่ือมวลชน (วิทยุโทรทัศน) เทคโนโลยีสํานักงาน เปนตน

บ ท บ า ท ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ที่ เ ก่ี ย ว ข อ ง กั บ ก า ร พั ฒ น า ด า น ต า ง ๆ ไ ด แ ก
1. ดา นเศรษฐกิจ

ถาพิจารณาจากประเทศตาง ๆ ท่ีพัฒนาแลวจะพบวาประเทศเหลานี้มีความกาวหนาทางดาน
เทคโนโลยีสารสนเทศเปนอยางมาก โดยเฉพาะในสว นของการขยายตัวของผลผลิต การสงออกและรายไดจาก
การผลิตอุปกรณดานสารสนเทศสําหรับประเทศไทยก็เชนเดียวกัน ไดมีการเปล่ียนแปลงจากภาคเกษตรมาสู
ภาคอุตสาหกรรมและในป พ.ศ. 2537 จากขอมูลของศูนยสถิติการพาณิชย พบวาปริมาณการสงออกของ
ประเทศสําหรับคอมพิวเตอรและอุปกรณประกอบเปนอันดับสอง มีมูลคาเทากับ 88,500 ลานบาท สวน
แผงวงจรไฟฟาเปนอันดับส่ีมีมูลคาการสงออกเทากับ 32,186 ลานบาท แสดงวาอุปกรณดานเทคโนโลยี
สารสนเทศกลายเปนสินคาออกท่ีมีความสําคัญและมูลคา สูงมากเปนลําดับตน ๆ ของสินคาออกของประเทศ
แลว ในปจจุบนั
2. ดานการศกึ ษา


Click to View FlipBook Version