Problem Solving of Working-Age Individuals Guidelines for Reducing Violent Behaviors in After the Pandemic of COVID-19 v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 144 อ า ร ม ณ( (Emotion regulation process model) สามารถปรับเปลี่ยนอารมณ(ดKานลบเปYนอารมณ(ดKานบวก จึงส+งผลต+อการลดพฤติกรรมความรุนแรงในการ แกKปUญหาของบุคคลวัยทำงานในสถานการณ(การแพร+ ระบาดของโรคโควิด-19ไดKใน 4 ขั้นตอนดังนี้1) การ ประเมินสถานะทางอารมณ((Identification) ทำใหKรับรูK อารมณ(ที่เกิดขึ้นจากสถานการณ(ที่ตKองเผชิญ เช+น รูKสึก โกรธที่ตKองตกงานในสถานการณ(โรคโควิด-19 ซึ่งอารมณ( ดKานบวกควรเปYนความรูKสึกทKาทายที่จะผ+านสถานการณ( นี้ไปใหKไดK ดังนั้นเมื่อรับรูKว+าโกรธก็ควรปรับเปลี่ยนใหKเปYน ความรูKสึกทKาทาย จึงเขKาสู+ขั้น 2) การเลือกกลยุทธ(ในการ กำกับอารมณ( (Selection) เปYนการตัดสินใจเลือก ก ตัวอยOางกรณีศึกษาที่ใช`การกำกับอารมณ)เพื่อ ลดพฤติกรรมความรุนแรง จากการศึกษาเรื่อง ผลของโปรแกรมการกำกับ อารมณ(ต+อพฤติกรรมรุนแรงของผูKปçวยจิตเภทที่ติดสุราใน ชุมชน10 แสดงใหKเห็นถึงการนำรูปแบบการกำกับอารมณ( มาใชKเพื่อปรับลดพฤติกรรมความรุนแรงของบุคคลที่มี อารมณ(ดKานลบใน 4 ขั้นตอน เริ่มตั้งแต+ 1) การระบุ สถานะอารมณ((Identification) เนKนการทำความรูKจัก และทบทวนอารมณ(ของตนเอง จากนั้นตั้งเป[าหมายที่จะ เปลี่ยนแปลงอารมณ(ดKานลบใหKเปYนอารมณ(ดKานบวก ก็จะ กลยุทธ(ที่จะปรับเปลี่ยนอารมณ(โกรธใหKเปYนความรูKสึก ทKาทาย 3) การนำกลยุทธ(ไปปฏิบัติ(Implementation) เปYนการลงมือปรับเปลี่ยนอารมณ(โกรธใหKเปYนความรูKสึก ทKาทายเท+านั้น โดยการพยายามควบคุมความโกรธใหK ลดลงจนเหลือเพียงความรูKสึกทKาทาย และขั้น 4) การ ตรวจสอบ (Monitoring) เปYนการถามตัวเองอีกครั้งว+า “ฉันรูKสึกทKาทายเพราะตัดสินใจที่จะไม+แสดงความโกรธ” เมื่อลดอารมณ(ดKานลบที่เกิดขึ้นไดKจึงส+งผลใหKบุคคลวัย ทำงานสามารถลดพฤติกรรมความรุนแรงในการแกKไข ปUญหาจากสถานการณ(การแพร+ระบาดของของโรคโควิด19 ไดK ดังภาพที่ 1 เขKาสู+ขั้น 2) การเลือกกลยุทธ(ในการกำกับอารมณ( (Selection) ในขั้นนี้บุคคลจะไดKรับการสนับสนุนใหKหา วิธีลดอารมณ(ดKานลบดKวยการตระหนักรูKดKานอารมณ( ความคิด พฤติกรรมของตนเองที่ตKองการปรับปรุงใหKเปYน ดKานบวก จึงตัดสินใจเลือกวิธีการที่ดีที่สุดเพื่อลดละ อารมณ(ดKานลบที่ส+งผลต+อการเกิดพฤติกรรมความรุนแรง ในขั้นที่ 3) การนำไปปฏิบัติ(Implementation) จะเนKน การลงมือปฏิบัติ โดยก+อนปฏิบัติจะใหKสุขภาพจิตศึกษา เพื่อเสริมสรKางความยืดหยุ+นทางจิตใจใหKแข็งแกร+งเพื่อใหK ลงมือปฏิบัติไดKอย+างมีประสิทธิภาพและ 4) ตรวจสอบ ภาพที่ 1 รูปแบบการกำกับอารมณ(ของแมคเรและเจมส(,อูสเบิร(กและคณะ18-19
vแนวทางการลดพฤติกรรมความรุนแรงในการแก้ปัญหา ของบุคคลวัยทํางานจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 145 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ (Monitoring) เนKนการประเมินตนเองโดยตั้งคำถามกับ ตนเองว+า “ฉันจัดการกับอารมณ(ดKานลบไดKฉันรูKสึกดี” ดังนั้นผลการวิจัยดังกล+าวสะทKอนใหKเห็นว+าพยาบาล ชุมชนสามารถออกแบบกิจกรรมตามขั้นตอนของการ กำกับอารมณ(เพื่อฝíกใหKบุคคลที่มีอารมณ(ดKานลบสามารถ ปรับเปลี่ยนเปYนอารมณ(ดKานบวกที่ส+งผลใหKมีพฤติกรรม ความรุนแรงลดลงไดK ดังนั้นการกำกับอารมณ(จึงควร นำมาใชKเปYนส+วนหนึ่งในการสรKางอารมณ(บวก (Positive emotion) ซึ่งเปYนองค(ประกอบหนึ่งของความยืดหยุ+น ทางจิตใจ การประยุกต)ใช`ความยึดหยุOนทางจิตใจและการกำกับ อารมณ)เพื่อลดพฤติกรรมความรุนแรงในการแก`ไข ปoญหา พยาบาลชุมชนสามารถประยุกต(ใชKความยืดหยุ+นทาง จิตใจเพื่อป[องกันการเกิดพฤติกรรมความรุนแรงในการ แกKปUญหาในระดับปฐมภูมิ และในระดับทุติยภูมิเปYนการ นำความยึดหยุ+นทางจิตใจและการกำกับอารมณ(มาใชK เพื่อป[องกันการเกิดปUญหาสุขภาพจิตและลดอันตราย จากการเกิดพฤติกรรมความรุนแรงในการแกKไขปUญหา ของบุคคลวัยทำงานจากสถานการณ(การแพร+ระบาดของ โรคโควิด-19 ดังนี้ การปXองกันระดับปฐมภูมิ การปXองกันระดับทุติยภูมิ 1. ประเมินระดับความยืดหยุ&นทางจิตใจของบุคคลวัยทำงาน อย&างน:อยเดือนละ 1 ครั้งโดยเฉพาะบุคคลวัยทำงานที่เปMน กลุ&มเสี่ยง เช&น ตกงาน ว&างงาน มีป/ญหาทางเศรษฐกิจใน ครอบครัว 2. แนะนำบุคคลวัยทำงานกลุ&มเสี่ยงและบุคคลวัยทำงานใน ชุมชนให:ทำแบบประเมินความยืดหยุ&นทางจิตใจด:วยตนเอง โดยใช:เว็บไซด8ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข 3. ให:ความรู:สุขภาพจิตศึกษา เรื่อง “พลังสงบสยบความ รุนแรง :พลังอึด ฮึด; สี่ปรับสามเติม”บุคคลวัยทำงานในชุมชน อย&างน:อยปêละ 2 ครั้งและบุคคลวัยทำงานกลุ&มเสี่ยงอย&างน:อย ทุก 3 เดือน 4. จัดอบรมการเสริมสร:างพลังอำนาจในการสร:างความยึด หยุ&นทางจิตใจให:กับบุคคลวัยทำงานในชุมชนอย&างน:อยปêละ 1 ครั้ง “ตามแนวทางของการตระหนักรู:ในตนเอง (Selfawareness): ฉันเปMน (I am)” “ความมั่นใจในตนเอง (Selfconfidence): ฉันมี (I have)” “ความเปMนผู:นำในตนเอง (Self-leadership): ฉันทำได:(I can)” “อารมณ8เชิงบวก (Positive emotion): ฉันทำได:(I can)” “สงบอารมณ8: พลัง อึด” “สยบป/ญหา: พลังฮึด” และ “สยบความรุนแรง: พลังสู:” 5. ปองกันการเกิดพฤติกรรมความรุนแรงในการแก:ป/ญหาของ บุคคลวัยทำงานโดยการติดตามค:นหาบุคคลต:นแบบในชุมชน ที่มีความยืดหยุ&นทางจิตใจดีเยี่ยมและมีการแก:ไขป/ญหาอย&าง สร:างสรรค8 เพื่อให:เปMนวิทยากรสร:างแรงจูงใจให:กับบุคคล วัยทำงานในชุมชน 1. ให:คำปรึกษาบุคคลวัยทำงานกลุ&มเสี่ยงเพื่อสร:างแรงจูงใจใน การแก:ไขป/ญหาอย&างสร:างสรรค8ปราศจากการใช:ความรุนแรง ตามหลัก “พลังสงบสยบความรุนแรง: พลังอึด ฮึด; สี่ปรับสาม เติม” 2. ภายหลังให:คำปรึกษาบุคคลวัยทำงานกลุ&มเสี่ยงที่มีแนวโน:ม การเกิดพฤติกรรมความรุนแรงแล:วไม&สามารถลดพฤติกรรม ดังกล&าวได: ให:ส&งต&อพบผู:เชี่ยวชาญ เช&น นักจิตวิทยาคลินิก หรือ จิตแพทย8ทำให:ได:รับการวินิจฉัยรักษาเพื่อลดอันตราย จากการใช:พฤติกรรมความรุนแรงและแนวโน:มการเกิดป/ญหา สุขภาพจิตต&อไป 3. นำโปรแกรมการสร:างความยึดหยุ&นทางจิตใจและขั้นตอน การกำกับอารมณ8ต&อพฤติกรรมความรุนแรงมาใช:ในการปรับ ลดพฤติกรรมความรุนแรงของบุคคลวัยทำงานกลุ&มเสี่ยงต&อ การเกิดพฤติกรรมความรุนแรงเพื่อลดการเกิดป/ญหา สุขภาพจิตที่จะเกิดขึ้นต&อไป 4. ให:ความรู:บุคลากรในระดับปฐมภูมิ เช&น พยาบาลที่ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส&งเสริมสุขภาพตำบล อาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู&บ:าน และผู:นำในชุมชนเพื่อสังเกต พฤติกรรมความรุนแรงของบุคคลวัยทำงานกลุ&มเสี่ยง หากมี แนวโน:มการเกิดพฤติกรรมความรุนแรงทั้งด:านร&างกายหรือ ด:านจิตใจให:รีบส&งต&อเพื่อรับการบำบัดรักษาโดยเร็ว
Problem Solving of Working-Age Individuals Guidelines for Reducing Violent Behaviors in After the Pandemic of COVID-19 v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 146 บทสรุป แนวทางการปฏิบัติเพื่อลดพฤติกรรมความ รุนแรงในการแกKปUญหาของบุคคลวัยทำงานจาก สถานการณ(การระบาดของโรคโควิด-19 ที่เหมาะสำหรับ พยาบาลชุมชนผูKทำหนKาที่ดูแลบุคคลวัยทำงานที่เสี่ยงต+อ การเกิดพฤติกรรมความรุนแรงในการแกKไขปUญหาภายใตK สถานการณ(การแพร+ระบาดของโรคโควิด-19 และบุคคล วัยทำงานในชุมชนโดยเนKนมิติดKานการส+งเสริมและ ป[องกัน โดยนำไปประยุกต(ใชKในการป[องกันระดับปฐม ภูมิดKวยการคัดกรองบุคคลวัยทำงานจากการประเมิน ความยืดหยุ+นทางจิตใจ การใหKความรูKสุขภาพจิตศึกษา การจัดอบรมการเสริมสรKางพลังอำนาจในการสรKางความ ยืดหยุ+นทางจิตใจ และการคKนหาบุคคลวัยทำงานตKนแบบ ที่มีความยืดหยุ+นทางจิตใจที่ดีใหKเปYนตKนแบบหรือ วิทยากรในการอบรมดังกล+าว และใชKในการป[องกัน ระดับทุติยภูมิดKวยการ ใหKคำปรึกษา การเขKาร+วม โปรแกรมสรKางความยึดหยุ+นทางจิตใจร+วมกับการฝíกการ กำกับอารมณ(เพื่อลดพฤติกรรมความรุนแรง และการใหK ความรูKแก+ชุมชนทุกระดับและบุคลากรสาธารณสุขเพื่อส+ง ต+อพบผูKเชี่ยวชาญใหKรับการรักษาโดยเร็ว ทั้งนี้เพื่อพัฒนา ใหKบุคคลวัยทำงานที่ไดKรับผลกระทบจากสถานการณ(การ แพร+ระบาดของโรคโควิด-19 รวมถึงบุคคลวัยทำงานใน ชุมชนใหKมีสุขภาพจิตที่สมบูรณ( ลดความเสี่ยงต+อการเกิด ปUญหาทางจิตและป[องกันไม+ใหKเกิดพฤติกรรมความ รุนแรงในการแกKปUญหาอย+างต+อเนื่องและยั่งยืนต+อไป การปXองกันระดับปฐมภูมิ การปXองกันระดับทุติยภูมิ 5. ปองกันการเกิดพฤติกรรมความรุนแรงในการแก:ป/ญหาของ บุคคลวัยทำงานโดยการติดตามค:นหาบุคคลต:นแบบในชุมชน ที่มีความยืดหยุ&นทางจิตใจดีเยี่ยมและมีการแก:ไขป/ญหาอย&าง สร:างสรรค8 เพื่อให:เปMนวิทยากรสร:างแรงจูงใจให:กับบุคคล วัยทำงานในชุมชน แนวโน:มการเกิดพฤติกรรมความรุนแรงทั้งด:านร&างกายหรือ ด:านจิตใจให:รีบส&งต&อเพื่อรับการบำบัดรักษาโดยเร็ว
vแนวทางการลดพฤติกรรมความรุนแรงในการแก้ปัญหา ของบุคคลวัยทํางานจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 147 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ เอกสารอ6างอิง 1. มูลนิธิภิวัฒน(สาธารณสุขไทย.เผยผลสำรวจโควิด-19 ทำคนไทยตกงานกว+า5.8 ลKานคน น้ำท+วมซ้ำ หวั่นคน ตกงานพุ+ง. [ออนไลน(]. 2564 [เขKาถึงเมื่อ 2565/6/22]. เขKาถึงไดKจาก: https://www.hfocus.org/content/ 2021/10/23264. 2. ศิริกร โพธิจักร. รักษาใจเด็ก ผูKใหญ+วัยสูงอายุและอาชีพเสี่ยงปçวยยุคโควิดครองเมือง.[ออนไลน(]. 2564 [เขKาถึงเมื่อ 2565/6/22]. เขKาถึงไดKจาก: https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=2416. 3. สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห+งชาติ.ปUญหาความรุนแรงครอบครัว-ภัยเงียบในวิกฤตโรคโควิด 19 วารสารมุมมองสิทธิ์.[ออนไลน(]. 2563 [เขKาถึงเมื่อ 2565/6/22]. เขKาถึงไดKจาก: https://www.nhrc.or.th › getattachment › ปÉที่-1. 4. Pedrosa AL, Bitencourt L, Fróes ACF, Cazumbá MLB, Campos RGB, de Brito SBCS, & Silva ACS. Emotional, Behavioral, and Psychological Impact of the COVID-19 Pandemic [online]. 2020 [cited 2023/6/21]. Available from: doi: 10.3389/fpsyg.2020.566212. 5. Kawohl W, & Nordt C. COVID-19, unemployment, and suicide. Lancet Psychiatry. Available from: doi:10.1016/S2215-0366(20)30141-3. 2020: 389–90. 6. สำนักข+าวบีบีซีไทย. ฆ+าตัวตาย : ตัวเลขคนไทยปลิดชีพตัวเองไต+ระดับขึ้นระหว+างการระบาดของโควิด-19 [ออนไลน(]. 2564 [เขKาถึงเมื่อ 2565/7/20]. เขKาถึงไดKจาก: https://www. bbc.com/thai/Thailand-57721370 7. Lankarani BK, Hemyari C, Honarvar B, Khaksar E, Shaygani F, Haghighi RRM, & Shaygan RM. Domestic violence and associated factors during COVID-19 epidemic: an online population-based study in Iran [online]. 2022 [cited 2023/6/21]. Available from: doi.org/10.1186/s.12889-022-12536-y. 8. กองทุนสนับสนุนการสรKางเสริมสุขภาพ. ทิศทางและเป[าหมาย ระยะ 10 ปÉ(พ.ศ.2565-2574). [ออนไลน(].2564 [เขKาถึงเมื่อ 2566/6/22]. เขKาถึงไดKจาก: https://www.thaihealth.or.th. 9. Braun-Lewensohn, O., Abu-Kaf, S., & Kalagy, T. What factors explain anger and mental health during the COVID-19 pandemic? The case of Israeli society. World J Psychiatric. 2021;11(10):864-75. 10. อดิศร รักสกุล, อังคณา จิรโรจน(และ เอกอุมา อิ้มคำ. ผลของโปรแกรมการกำกับอารมณ(ต+อพฤติกรรมรุนแรงของ ผูKปçวยจิตเภทที่ติดสุราในชุมชน [ออนไลน(]. 2564 [เขKาถึงเมื่อ 2566/6/28]. เขKาถึงไดKจาก: http://www.he01. tci-thaijo.org>article>download.
Problem Solving of Working-Age Individuals Guidelines for Reducing Violent Behaviors in After the Pandemic of COVID-19 v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 148 11. Wilkins, N., Tsao, B., Hertz, M., Davis, R., Klevens, J. Connecting the Dots: An Overview of the Links Among Multiple Forms of Violence. Atlanta, GA: National Center for Injury Prevention and Control, Centers for Disease Control and Prevention; 2014. 12. รัฐวิชญ(อริยพัชญ(พล และพภัสสรณ(วรภัทร(ถิระกุล. การแกKปUญหาความรุนแรงในครอบครัวของไทย [ออนไลน(]. 2563 [เขKาถึงเมื่อ 2565/7/20]. เขKาถึงไดKจาก: https://www.so04 tci-thaijo>article>download 13. ชุติมา มงคลบุตร. สถานการณ(ความรุนแรงในสถานที่ทํางาน และการจัดการความรุนแรงของบุคลากรในมหาวิทยาลัย ในกํากับของรัฐแห+งหนึ่ง (วิทยานิพนธ(ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต).กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร(; 2559. 14. Jolly, C. Unit-4 Violence [online] 2017. [cited 2023/6/21]. Available from: http://www.egyankosh.ac.in. 15. ชลาศัย กันมินทร(. ความรุนแรงในครอบครัว: ปUญหาและแนวทางป[องกัน.[ออนไลน(]. 2562 [เขKาถึงเมื่อ 2565/6/22]. เขKาถึงไดKจาก: https://www. Rsucon.rsu.ac.th>files>nation2019 16. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. เปลี่ยนรKายกลายเปYนดีRQ พลังสุขภาพจิต. พิมพ(ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: บริษัท บียอนด(พับลิสชิ่ง จำกัด; 2563. 17. สนธยา มณีรัตน(, แสงอรุณ อิสรมาลัย และ อุมาพร บุณยโสพันธ(. โครงสรKางแนวคิดการฟ°¢นตัวของผูKสูงอายุไทย. วารสารสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร(. 2554;6(1):24-40. 18. McRae K. & Gross JJ. Introduction Emotion Regulation [online]. 2020 [cited 2023/6/25]; Available from: http://www. selfinjury.bctr.cornell.edu › resources 19. Uusberg A, Taxer JL, Yih J, Uusberg H, & Gross JJ. Reappraising reappraisal [online]. 2019 [cited 2023/6/25]. Available from: http://www. researchgate.net/publication/335292587 _Reappraising_Reappraisal.
vบทบาทของพ่อแม่ต่อพฤติกรรมการละเว้นเพศสัมพันธ์ในหญิงวัยรุ่น 149 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ บทบาทของพ่อแม่ต่อพฤติกรรมการละเว้นเพศสัมพันธ์ในหญิงวัยรุ่น Parental Roles on Sexual Abstinence Behavior in Female Adolescent ละอองดาว วรรณฤทธิ์ พย.ด.* La-Ongdao Wannarit, Ph.D.* Corresponding author: E-mail: [email protected] Received: 1 Nov 2023, Revised: 9 Dec 2023, Accepted: 16 Dec 2023 *อาจารยKวิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ กรมแพทยKทหารอากาศ *Instructor, Royal Thai Air Force Nursing College, Directorate of Air Medical Services บทคัดย'อ พ"อแม"มีบทบาทสำคัญในการส"งเสริมให7หญิงวัยรุ"นละเว7นจากการมีเพศสัมพันธ@ ซึ่งเปFนพฤติกรรมส"งเสริม สุขภาพในช"วงที่ยังศึกษาเล"าเรียน โดยพ"อแม"มีวิธีการเลี้ยงดูที่หลากหลายในการส"งเสริมการชะลอการมีเพศสัมพันธ@และ ปกปQองลูกสาวจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ บทความนี้มีวัตถุประสงค@เพื่อนำเสนอมุมมองเกี่ยวกับอิทธิพลของพ"อ แม"ในการส"งเสริมการละเว7นเพศสัมพันธ@ในหญิงวัยรุ"น พยาบาลอาจใช7ข7อมูลเหล"านี้เปFนแนวทางในการพัฒนาและศึกษา โปรแกรมการละเว7นเพศสัมพันธ@ในหญิงวัยรุ"น เพื่อสุขภาวะทางเพศของหญิงวัยรุ"นต"อไป คำสำคัญ บทบาทของพ"อแม" พฤติกรรมการละเว7นเพศสัมพันธ@ หญิงวัยรุ"น Abstract Parents play vital roles in encouraging female adolescents to abstain from sexual intercourse, which counts as a health-promoting behavior during school enrollment. Parents have various ways of raising their children to promote the delay of sexual intercourse to prevent them from risky sexual behavior. The purpose of this article is to present the perspectives on parental influence in promoting sexual abstinence behavior among female adolescents. Nurses may use this information as a guideline to develop and conduct research on sexual abstinence programs for female adolescents for their sexual well-being. Keywords: Parental Roles, Sexual Abstinence Behavior, Female Adolescent
Parental Roles on Sexual Abstinence Behavior in Female Adolescent v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 150 Introduction Sexual abstinence behavior is a healthpromoting behavior to improve reproductive health, maintain well-being, and prevent health problems in women1 . Sexual abstinence behavior is divided into primary abstinence and secondary abstinence. Primary abstinence is defined as having no previous oral or penetrative sexual intercourse, and secondary abstinence is defined as a period of no oral or penetrative sex after sexual initiation has already occurred2 . Both types help maintain the reproductive health and well-being of female adolescents, including physical, mental, sexual violence, unintended pregnancy, and Sexually Transmitted Infections (STIs)3 . In Thailand, sexual abstinence behavior has been promoted as a health-promoting behavior for Thai female adolescents according to Thai culture4 . Parents have an influence on sexual abstinence among Thai girls. In Thai women, the virgin would be saved for the right time, such as marriage or after graduation5 . However, Thai girls engage in sexual intercourse at an early age with a remarkable increase to 40%, 4,6 which resulted in an unacceptably high pregnancy rate. According to the World Health Organization's reports, in 2019, adolescents aged 15–19 years in low-and middle-income countries had an estimated 21 million pregnancies each year, of which approximately 50% were unintended and which resulted in an estimated 12 million births. Globally, in 2022, females aged 10–14 years had the estimation of birth rate at 1.5 per 1000, with higher rates in sub-Saharan Africa (4.6), Latin America, and the Caribbean (2.4)7,8 . Consequences of early sexual initiation may include the risk of unintended pregnancy, STIs, psychological impact, and educational and career goals. Young individuals may be less likely to use condoms or other protective measures, putting themselves at higher risk of unintended pregnancies, which may have social, emotional, and economic implications for individuals and their families. They can be at risk of contracting sexually transmitted infections. Female adolescent individuals may not be prepared for the complexity of sexual relationships, which can lead to feelings of guilt or regret. Some adolescent couples may take control, jealousy, and violence9,10. Early sexual initiation may distract female adolescents from their academic and career goals as they may have to deal with the consequences of unplanned pregnancies or STIs. In addition, societal norms and cultural values can stigmatize early sexual initiation, leading to judgment or social implications for the individuals involved. Promoting sexual abstinence behavior is the primary method of preventing female
vบทบาทของพ่อแม่ต่อพฤติกรรมการละเว้นเพศสัมพันธ์ในหญิงวัยรุ่น 151 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ adolescents' health problems. Nurses should conduct research and apply knowledge to make the policy help reduce health problems, such as small-gestational age pregnancy, eclampsia, preterm delivery,or systemic infections. Nurses' role in promoting sexual abstinence behavior will also help minimize neonatal infection, including physical, mental, and psychological problems8,11. Health promotion theories have been used to explain sexual abstinence, 4 which emphasizes interpersonal influences through family norms, social support, and role models regarding engaging in specific health behavior4 . Parents use many methods in cultivating daughters to perceive sexual abstinence behavior as the desired behavioral endpoint or outcome of health decision-making and preparation for action5 . In the Health Promotion Model (HPM), parental influence on sexual abstinence is defined as parents' act in raising their daughters to contribute to sexual abstinence12-14. Parents include biological parents, foster parents, guardians, or senior family members whom female adolescents trust and love. They are people who wish for female adolescents' life success. Parents help adolescents maintain sexual abstinence through support and monitoring. Previous research positioned parents to support, control, and monitor adolescents' behavior. Higher parental monitoring has been linked to a higher likelihood of delayed sexual activity5,15,16. This article expounds on parental influence in promoting sexual abstinence, which will aid nurses and midwives in clinics, schools, and communities in utilizing information as a guide to encourage parents to be involved in promoting sexual abstinence in female adolescents. Parental roles in promoting sexual abstinence behavior Parental roles in promoting sexual abstinence behavior include parental attitudes and beliefs, parental support, parent's discussion about sexual abstinence, parental control activity related to sex, and parental monitoring, as the following: 1. Parental attitude and beliefs Parental attitudes about sexual abstinence behavior vary widely depending on cultural, religious, and personal beliefs. In some cultures, parents may strongly support the idea of sexual abstinence until marriage, while others may adopt a more permissive or comprehensive approach to sexual education. In terms of sexual abstinence behavior, parents or relatives hold traditional or conservative views that promote sexual abstinence until marriage as the ideal or only morally acceptable option. Literature supports that parental beliefs and religion affect attitudes about sexual abstinence behavior.
Parental Roles on Sexual Abstinence Behavior in Female Adolescent v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 152 Parents believe that adolescents should wait until a certain age to have sexual intercourse17,18. Some parents emphasize the importance of saving one's virgin for religious or cultural reasons and discourage sexual activity before marriage. In addition, parents' attitudes reveal that sexual abstinence behavior is a means to maintain a family's reputation by preventing health problems. Additionally, parents try to convey their expectations of disapproval of premature sex to female adolescents19. Hence, female adolescents learnthat parents would be upset when engaged in an early sexual activity. 2. Parental support has been defined as parental behaviors such as teaching, encouraging, and providing physical affection, which indicates the child is accepted and loved20. This support can take various forms, namely: emotion, information, and modelling of sexual abstinence behavior. These supports are essential for physical, emotional, and social development. 2.1 Emotional Support is the first step in the expression of love, understanding, and empathy. This is to ensure adolescent daughters that their parents love them unconditionally; working hard and sacrificing happiness, such as time, financial support, or education opportunities in raising their children13. Parental love is one of the factors that drives female adolescents to set goals for life security by means of sexual abstinence behavior. In some countries, the evidence has shown that parents are aware of sexual health education and support and participate in sexual health education in school5,17. Also, parents should be able to recognize when female adolescents are upset and encourage them to express their difficulties. As a consequence, female adolescents perceive parental love, listen to their judgments, understand their daily efforts, and be by their side to confront any obstacles. For these reasons, parental love makes them accept and understand what their parents do5 . In addition, promoting sexual abstinence behavior, parents and daughters must have close and optimistic relationships to form trust5 . The parent-daughter relationship is the state in which parents and daughters are connected. Building a parent-daughter relationship requires time that parents spend with their daughters. Previous studies showed that by having more time with parents and families, female adolescents would likely have opportunities to gain more information and exchange ideas about sexual abstinence behavior13,21. Moreover, the intimacy between parents and their female adolescents is important. Developing a parent-adolescent relationship requires parents to understand their daughter and listen to their daughter's needs; as such, it
vบทบาทของพ่อแม่ต่อพฤติกรรมการละเว้นเพศสัมพันธ์ในหญิงวัยรุ่น 153 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ will result in good outcomes. First, it will lead female adolescents to feel close to, trust, and value their parents. Female adolescents are likely to adopt traditional norms and values in sexual abstinence behavior. Because families with religious values play a central role in shaping thoughts and decisions about abstaining from sex and teaching refusal skills22. Second, female adolescents perceived parental expectation of sexual abstinence behavior and saved their virginity, respectively.13 In contrast, female adolescents with poor relationships with their parents are reported to be at risk for premature sexual intercourse. Last, parental supervision is an essential factor influencing adolescent sexual behaviors. Adolescents who achieve parental supervision will delay and even avoid sexual relations during the development of adolescent stage5,13. 2.2 Information support includes educating and discussion about sexual abstinence behavior, comprising parental involvement in sexual abstinence education in school. Moreover, discussion about sexual abstinence behavior is related to parents' time spent with their daughter(s). Educating about sexual abstinence behavior is frequently found in a literature. This method refers to parents providing female adolescents knowledge related to sexual abstinence behavior, which is composed of meaning, benefits, and how to maintain sexual abstinence behavior. The sense of sexual abstinence among parents is to have sex at the right time. Parents address the right time of having sex as after school graduation, marriage, or in adulthood23. Thai parents teach their daughters that sexual abstinence behavior means achieving life goals. For the benefits of sexual abstinence behavior, parents provided that sexual abstinence can bring long-term success as academic achievement, having a job, having a proper couple24, and earning a reputation as a good woman. Also, most parents realize sexual abstinence behavior can protect female adolescents from unwanted pregnancy and STIs16,24. Moreover, Thai parents also teach proper manners and interaction with the opposite sex. Acceptable behaviors include appropriate dressing up, such as wearing nonrevealing clothes, which may drive male sexual desire, and avoiding premature sex during student life. Whenever daughters have boyfriends, they must obey adult supervision. Thai parents also believe that a man who sincerely loves a woman would not force her to have sex during student life. Many parents instruct life skills to female adolescents of saying "no" regarding having sex and refraining from risky situations leading to sexual desires such as drinking alcohol, being touched by a male, going
Parental Roles on Sexual Abstinence Behavior in Female Adolescent v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 154 out with male, or being alone with male in private place16. In educating their daughters, parents used case examples, television programs, and social media. Parents use case examples as a method in education, such as girls in the community who are unintended pregnant from having premature sexual intercourse during school life. Consequently, they encountered financial problems, broke up with a couple, and had many difficulties in their lives and their babies. In regard to television or social media, parents use the content of wearing revealed clothes may drive sexual desire and lead to sex5,18.Parents educate their daughter whenever possible, such as while watching television, having meal, driving, riding, or spending time together16,24. 2.3 Modelling of sexual abstinence behavior: In Thai culture, parents are the primary sourceof informationand modelling for their children. Female adolescents have initially learned since their childhood and gradually extend their learning as they grow up. 3. Parent's discussion about sexual abstinence behavior refers to parent-child communication about sexual abstinence with female adolescents to exchange ideas till they reach decision-making on sexual abstinence behavior. The discussion between parents and female adolescents should be done in a private place. The research provides practical discussions about sexual abstinence behavior composed of early discussion, in-depth discussion, consistency, and high frequency23. Discussion should be in the milieu of positive and mutual participation. The content may start with what is right and wrong about sexual behaviors, the negative consequences of premarital sex, and followed by the right things to delay sex to the right time. During the discussion, parents should provide the chance for female adolescents to exchange attitudes about sexual abstinence behavior. Most parents assume that female adolescents should not have sex and should wait until their marriage21. Hopefully, female adolescents thereafter make their decision on sexual abstinence behavior. Encouragement to sexual abstinence behavior refers to parents showing confidence and rewarding female adolescents and the belief that they will be capable of maintaining sexual abstinence behavior.23 Parents consistently encourage female adolescents to sexual abstinence behavior from childhood through adulthood16. 4. Parental control activity related to sex refers to parents' order, limit, or rule on female adolescents' behavior to avoid the risks of premature sexual intercourse. Thai parents agree that female adolescents may have a relationship with the opposite sex in the
vบทบาทของพ่อแม่ต่อพฤติกรรมการละเว้นเพศสัมพันธ์ในหญิงวัยรุ่น 155 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ condition that they must follow the rules of spending time together and neatly dressing. Some parents set that a violation of the rules causes a penalty. In some countries, parents set the rules that female adolescents must ask for permission to go out; otherwise, they will be punished. 23 African American parents' punishments for unintended pregnancy of female adolescents by asking them to stay on their own25. 5. Parental monitoring refers to tracking children's locations and activities, in that monitoring pertains to parents' knowledge of a child's status, tracking, and surveillance20. Generally, in other countries such as the USA and Asia, parental monitoring is also performed. Parents usually can identify the time of female adolescents' involvement in activity. They need to inform their parents regarding their daily activities during free time and after school (in and out of school)26. For time monitoring, female adolescents must ask permission to go out, especially in the evening. Then, they must return home at a designated time, and any change must be informed immediately by phone call or other form of information technology. In addition, parents keep waiting until they return home. Moreover, parents keep track of sites, friends, and money spent. Parents normally know most of their female adolescents' friends as well as their friends' parents27. In the era of advanced information technology, parents with experience in social media were more likely to monitor their children's use of social media. Because the rampant use of unfiltered social media platforms among adolescents made them easily engage in premature sexual intercourse28. Parental monitoring is mainly surveyed of social network influence regarding sexual risk behaviors29. Parents should screen the contents by tracking what they watch on their phones. Furthermore, parents are responsible for monitoring the interaction of female adolescents with both known and unknown friends on various channels30. Conclusion Parents have various methods for raising their daughters to adopt sexual abstinence behavior during school life. Most parents expect their daughters to keep sexually abstinent. Then, parental roles are to supportand promote sexual abstinence behavior through emotion, information, and being role models. Love and connectedness are fundamentally building an excellent parent-daughter relationship. Several studies have shown that female adolescents who perceive parental love, understanding, and connectedness with parents can maintain sexual
Parental Roles on Sexual Abstinence Behavior in Female Adolescent v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 156 abstinence behavior during school life. In some cultures, parents control activity-related premature sex and monitor their daughters' daily activity lifeto help them successfully avoid the risks of having early sex and maintain sexual abstinence behavior. Empirically, there is no one-size-fits-all approach to promoting sexual abstinence behavior in adolescents. The most effective approach will depend on individual family values, beliefs, and cultural backgrounds. What's crucial is that parents create a safe and open environment for their children to learn about sex and relationships, emphasizing mutual respect, consent, and personal responsibility whether they advocate for sexual abstinence behavior or a more comprehensive approach to sexual education. Nursing implication Nurses can promote sexual abstinence behavior through parental involvement. Firstly, nurses may provide knowledge about adolescent physical, emotional, social, and sexual development to parents. Next, nurses can also train parents in practical communication skills to engage in open and non-judgmental discussions with their teenagers about sex and relationships. Then, nurses can assist parents in setting age-appropriate expectations for their teenagers regarding sexual activity. Helping parents develop clear rules, boundaries, and consequences can guide their daughter's decisions. Thus, nurses may recommend valuable resources, such as books, websites, and community organizations, that offer further information and support for promoting responsible sexual behaviors among teenagers by using evidence-based information on the advantages of delaying sexual debut. Nurses can provide emotional support to parents by recognizing the challenges and uncertainties they may encounter when discussing sex and relationships with their teenagers. Providing a non-judgmental, empathetic ear can encourage parents to be more open and involved in their daughters' lives. Besides, nurses should be aware of parental control over accessing social media and networks with sexual content among adolescents. In addition, nurses should collaborate with multi-disciplinaries in both practice and research in the future. In summary, nurses can significantly empower parents to engage in proactive, informed, and supportive strategies for delaying teenage sexual debut and contribute to healthier outcomes for adolescents and their families by providing education, resources, and guidance. Nurses can work collaboratively with other healthcare professionals, such as paediatricians and counsellors, to ensure
vบทบาทของพ่อแม่ต่อพฤติกรรมการละเว้นเพศสัมพันธ์ในหญิงวัยรุ่น 157 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ comprehensive support for parents and teenagers in addressing issues related to sexual abstinence behavior. Acknowledgment My gratitude goes to Associate Professor Dr.Waraporn Chaiyawat and Associate Professor Dr.Jintana Yunibhand who inspired and supported my idea in writing this article. This article was funded by The Marshal of the Royal Thai Air Force Chaloemkiat Watthanangkun Foundation.
Parental Roles on Sexual Abstinence Behavior in Female Adolescent v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 158 References 1. Wannarit LO. Sexual abstinence as a reproductive health-promoting behavior for women: A perspective. Belitung Nurs J. 2022;8(4):372-7. 2. Eggers SM, Mathews C, Aaro LE, McClinton-Appollis T, Bos AER, de Vries H. Predicting primary and secondary abstinence among adolescent boys and girls in the Western Cape, South Africa. AIDS Behav. 2017;21:1417-28. 3. Centers for Disease Control and Prevention. Adolescent and school health [internet]. 2017 [cited March, 22, 2019]. Available from: https://www.cdc.gov/healthyyouth/ sexualbehaviors/index.htm 4. Wannarit L-O. A causal model of sexual abstinence in Thai female adolescents. Bangkok: Faculty of Nursing, Chulalongkorn University; 2019. 5. Wannarit L-O, Chaiyawat W, Yunibhand J. Development of a child-rearing promotion of sexual abstinence scale (CPSAS) in Thai female adolescents at two Thai universities. J Health Res. 2022;36(5):954-63. 6. Ministry of Public Health. Reproductive health situation in Adolescent in 2017 [internet]. 2017 [cited March, 22, 2019]. Available from: http://rh.anamai.moph.go.th/download. 7. UNICEF. Thailand's national survey shows drop in adolescent birth rate, but worrying trend in child nutrition and secondary school drop-out [internet]. 2020 [cited October, 18, 2023]. Available from: https://www.unicef.org/thailand/press-releases/thailands-national-survey-shows-drop-adolescentbirth-rate-worrying-trend-child. 8. World Health Organization. Adolescent pregnancy. World Health Organization [internet]. 2023 [cited October, 18, 2023]. Available from: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/adolescentpregnancy 9. Van Ouytsel J, Walrave M, Ponnet K, Willems A-S, Van Dam M. Adolescents' Perceptions of Digital Media's Potential to Elicit Jealousy, Conflict and Monitoring Behaviors Within Romantic Relationships [Internet]. Cyberpsychology. 2019;13(3):106-26. 10. Perles F, San Martín J, Canto JM. Gender and Conflict Resolution Strategies in Spanish Teen Couples: Their Relationship With Jealousy and Emotional Dependency. J Interpers Violence. 2016;34(7):1461-86. 11. Franjić S. Adolescent pregnancy is a serious social problem. J Gynecol Res Obstet. 2018;4(1):006-8.
vบทบาทของพ่อแม่ต่อพฤติกรรมการละเว้นเพศสัมพันธ์ในหญิงวัยรุ่น 159 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 12. Mokwena K, Morabe M. Sexual abstinence: What is the understanding and views of secondary school learners in a semi-rural area of North West Province, South Africa? SAHARA J. 2016;13(1):81- 7. 13. Sanghirun K, Fongkaew W, Viseskul N, Lirtmunlikaporn S. Perspectives of parents regarding sexual and reproductive health in early adolescents: A qualitative descriptive study [Internet]. PRIJNR. 2021;25(1):60-74. 14. Pender NJ, Murdaugh CL, Parsons MA. Health promotion in nursing practice. 7th ed. Boston: Pearson; 2015. 15. Rogers AA. Parent–Adolescent Sexual Communication and Adolescents' Sexual Behaviors: A Conceptual Model and Systematic Review. Adolescent Res Rev. 2017;2(4):293-313. 16. Chareonsuk J, Phuphaibul R, Sinsuksai N, Viwatwongkasem C, Villarruel AM. Development of the causal model of young Thai female adolescents' sexual abstinence intention [Internet]. PRIJNR. 2013;17(4):329. 17. Supametaporn P, Stern PN, Rodcumdee B, Chaiyawat W. Waiting for the right time: How and why young Thai women manage to avoid heterosexual intercourse. Health Care Women Int. 2010;31(8):737-54. 18. Muhwezi WW, Katahoire AR, Banura C, et al. Perceptions and experiences of adolescents, parents and school administrators regarding adolescent-parent communication on sexual and reproductive health issues in urban and rural Uganda. Reprod Health. 2015;12(1):110. 19. Wickliffe AL. When" just don't do it" does not work anymore-factors linked to the promotion of successful primary and secondary abstinence in a sample of married Christian adults. Azusa Pacific University; 2015. 20. Mills R, Mann MJ, Smith ML, Kristjansson AL. Parental support and monitoring as associated with adolescent alcohol and tobacco use by gender and age. BMC Public Health. 2021;21(1):2-10. 21. Rogers AA, Thao H, Stormshak EA, Dishion TJ. Quality of Parent-Adolescent Conversations About Sex and Adolescent Sexual Behavior: An Observational Study. J Adolesc Health. 2015;57:174-8. 22. Piriyasart J, Songwathana P, Kools S. Perceptions of sexual abstinence among Muslim adolescent girls in southern Thailand. Int J Adolesc Med Health. 2018;32(3):1-8. 23. Holman AJ. How Adolescents Perceive their Parents' Communication about Sex: Toward Reducing Adolescent Sexual Risk. Nebraska: University of Nebraska - Lincoln; 2014.
Parental Roles on Sexual Abstinence Behavior in Female Adolescent v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 160 24. Macintyre AKJ, Montero Vega AR, Sagbakken M. From disease to desire, pleasure to the pill: A qualitative study of adolescent learning about sexual health and sexuality in Chile. BMC Public Health. 2015;15(1):1-14. 25. Kajula LJ, Darling N, Kaaya SF, De Vries H. Parenting practices and styles associated with adolescent sexual health in Dar es Salaam, Tanzania. AIDS Care. 2016;28(11):1467-72. 26. Kantor LM. Parental influence on adolescent sexual behavior: A current look at the role of communication and monitoring and supervision. Columbia University; 2015. 27. Alawiya A. Parenting styles, parental monitoring and adolescents' risky sexual behavior. Makerere University; 2018. 28. Fongkaew W, Fongkaew K. My space, my body, my sexual subjectivity: social media, sexual practice and parental control among teenage girls in urban Chiang Mai. Cult Health Sex. 2016;18(5):597-607. 29. Landry M, Turner M, Vyas A, Wood S. Social Media and Sexual Behavior Among Adolescents: Is there a link? JMIR Public Health Surveill. 2017;3(2):28. 30. Wallace LN. Associations between parental monitoring and parents' social media use and social media perceptions. Soc Scienc Humanit Open. 2022;6(1):1-8.
vบทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้แก่ผู้สูงอายุเพ่ ือปอ้งกันโรคกระดูกพรุน 161 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้แก่ผู้สูงอายุเพ่ ือปองกันโรคกระดูกพรุน ้ Nurses’ Roles in Promoting Health Literacy in Elderly People to Prevent Osteoporosis อัญชลี เกษสาคร พย.ม.* Anchalee Ketsakorn M.N.* เกตุกาล ทิพยGทิมพGวงศG สด.* Ketkarn Thiptimwong Dr.PH.* นภัทร เตี๋ยอนุกูล พย.ม.* Napat Teianukool M.N.S.* Corresponding author: E-mail: [email protected] Received: 14 Nov 2023, Revised: 20 Dec 2023, Accepted: 25 Dec 2023 *อาจารยLพยาบาล คณะพยาบาลศาสตรL มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพขร E-mail: [email protected], E-mail:[email protected]., E-mail: [email protected] *Nursing Instructor, Faculty of Nursing, Kamphaeng Phet Rajabhat University. บทคัดย'อ โรคกระดูกพรุนเกิดขึ้นในผู2ที่มีความหนาแน;นของกระดูกและแคลเซียมในร;างกายลดลง พบใด2บ;อยในผู2สูงอายุ นำมาซึ่งกระดูกเปราะบาง แตกและหักง;าย ส;งผลต;อคุณภาพชีวิต จึงนับว;าเปLนปMญหาสาธารณสุขที่เพิ่มขึ้น อย;างไรก็ ตามโรคกระดูกพรุนสามารถปSองกันด2วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความรอบรู2ด2านสุขภาพเปLนปMจจัยสำคัญของบุคคล ซึ่งมีผลต;อพฤติกรรมสุขภาพและผลลัพธUทางสุขภาพ และเปLนทักษะที่มีความจำเปLนในการดูแลสุขภาพ ผู2ที่มีความรอบ รู2ด2านสุขภาพจะสามารถเข2าถึง ทำความเข2าใจ ใช2ทักษะการสื่อสาร การจัดการตนเอง และการรู2เท;าทันสื่อ ซึ่งมีผลต;อ พฤติกรรมสุขภาพ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู2สูงอายุอย;างใกล2ชิด สามารถให2ข2อมูลสุภาพแก;ผู2ที่มารับบริการ โดยเฉพาะผู2สูงอายุ จึงควรเสริมสร2างความรอบรู2ทางสุขภาพให2ผู2รับบริการกลุ;มดังกล;าว บทความวิชาการนี้มี วัตถุประสงคUเพื่อนำเสนอบทบาทของพยาบาลกับการสร2างความรอบรู2ทางสุขภาพในผู2สูงอายุ โดยให2มีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพเพื่อปSองกันโรคกระดูกพรุน อันจะส;งผลต;อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู2สูงอายุ คำสำคัญ บทบาทพยาบาล การสร2างความรอบรู2ทางสุขภาพ โรคกระดูกพรุน
Nurses’ Roles in Promoting Health Literacy in Elderly People to Prevent Osteoporosis v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 162 Abstract Osteoporosis commonly occurs in people who have decreased bone density and calcium leading to fragile and breakable bones that affect their quality of life. Thus, it is an increasing public health problem. However, it can be prevented by changing health behaviors. Health literacy is a significant factor affecting health behaviors, and health outcomes. It is also an essential skill in healthcare. People with health literacy will be able to access, understand, and use skills in communication, self-management, and media literacy which affect health behaviors. Nurses play significant roles in giving closed care to elderly people and providing health information to them. Therefore, nurses have important actions in promoting health literacy. This academic article aims to present the nurses’ roles in promoting health literacy by changing health behaviors to prevent osteoporosis which promotes a good quality of life among elderly people. Keyword : nurse’ role, health literacy, Osteoporosis
vบทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้แก่ผู้สูงอายุเพ่ ือปอ้งกันโรคกระดูกพรุน 163 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ บทนำ องคUการอนามัยโลกรายงานว;า ประชากร 200 ล2านคนเปLนโรคกระดูกพรุน 1 ใน 10 ของผู2หญิง ที่มีอายุ 60 ป~มีโอกาสเปLนโรคกระดูกพรุน1 และ ผู2หญิงอายุ 90 ป~ 3 คนจะเปLนโรคกระดูกพรุน 1 คน เพศหญิงมีความ เสี่ยงต;อการเกิดกระดูกสะโพกแตกหรือหักสูงกว;าความ เสี่ยงต;อการเกิดมะเร็งเต2านม มะเร็งรังไข;และมะเร็ง มดลูกรวมกัน ส;วนในเพศชายมีความเสี่ยงสูงกว;าความ เสี่ยงต;อการเกิดมะเร็งต;อมลูกหมาก2 รายงาน สถานการณUของโรคกระดูกพรุนในภาพรวมจะเพิ่ม จำนวนจาก 1.66 ล2านคนในป~ ค.ศ. 1990 เปLน 2.6 ล2าน คนในป~ ค.ศ. 2025 และจะเพิ่มเปLน 4.5 ล2านคนในป~ ค.ศ. 2050 อีกทั้งยังพบว;าประมาณครึ่งหนึ่งของผู2ที่เปLน กระดูกพรุนเคยมีประวัติกระดูกแตกหักในส;วนใดส;วน หนึ่งของร;างกาย3 จากอุบัติการณUความชุกที่เพิ่มขึ้นของ โรคกระดูกพรุน ส;งผลให2แนวโน2มของกระดูกหักเพิ่มมาก ขึ้นด2วยเช;นกัน ซึ่งกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนเกิดได2 แม2ได2รับแรงกระแทกที่ไม;รุนแรง เช;น การหกล2ม ลื่นไถล ชนปะทะสิ่งของเพียงเล็กน2อย3 เปLนต2น โดยในช;วงแรก จะไม;มีอาการแสดง ทำให2วินิจฉัยยาก แต;จะเริ่มมีอาการ เมื่อ มีภาวะแทรกซ2อนเกิดขึ้น เช;น กระดูกสันหลังหักยุบ จะแสดง อาการหลังโก;ง โดยความชุกของโรคกระดูก พรุนในผู2สูงอายุป~ 2563 ในสเปนมีรายงานว;าอยู;ที่ 39.3%4 ทวีปเอเชียซึ่งมีประชากรผู2สูงอายุเพิ่มขึ้น อุบัติการณUผู2ปÖวยโรคกระดูกพรุนจะพบมากขึ้นตาม และ ในป~ พ.ศ. 2593 คาดการณUว;าจะมีปริมาณผู2ปÖวยโรค กระดูกพรุนมากถึงครึ่งหนึ่งของผู2ปÖวยโรคกระดูกพรุนทั่ว โลก โดยประเทศจีนจะมีผู2ปÖวยโรคกระดูกพรุนมากถึง 533.3 ล2านคน และ ในประเทศแถบเอเชียใต2และเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต2ยังคงพบว;ามีปMญหาเรื่องผู2สูงอายุที่เปLน โรคกระดูกพรุนเพิ่มขึ้นและยังมีผู2ปÖวยที่ยังไม;ได2วินิจฉัย และรักษาโรคกระดูกพรุนเปLนจำนวนมากเนื่องจากบาง ประเทศมีข2อจำกัดในการใช2เครื่อง DEXA (Dual Energy X-ray Absorptiometry) เพื่อตรวจความหนาแน;นของ กระดูก (Bone Mineral Density; BMD) ทำให2การ วินิจฉัยไม;ครอบคลุม ประเทศไทยพบความชุกของโรคกระดูกพรุนใน เพศหญิงวัย 40-80 ป~ มากกว;า 1.5 ล2านคน โดยที่ ประเทศไทยมีประชากรสูงอายุประมาณ 8 - 9 ล2านคน5 ผู2สูงอายุเปLนโรคกระดูกพรุนโดยไม;รู2ตัว จนกระทั่งล2ม แล2วมี “กระดูกหัก” จึงรู2ว;าเปLน “โรคกระดูกพรุน” ซึ่ง นับเปLน “ภัยเงียบ” โดยพบว;าบริเวณที่กระดูกพรุนมาก ที่สุดคือ ที่กระดูกสันหลังร2อยละ 19.8 และบริเวณ กระดูกข2อสะโพก ร2อยละ 13.62 ทั้งนี้จากความเสื่อมที่ เปลี่ยนแปลงทางชีวภาพ (Degenerative change) และ การเปลี่ยนแปลงของฮอรUโมนเอสโตรเจนที่ลดลงในเพศ หญิงเปLนผลให2มวลกระดูกลดลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น6 ปMญหาโรคกระดูกพรุนกลายเปLนปMญหาสุขภาพ ที่สำคัญ เปLนผลจากการมีมวลกระดูกต่ำ (Low bone mass) ร;วมกับการเสื่อมของโครงสร2างระดับจุลภาคของ กระดูก (Microarchitecture deterioration) ส;งผลให2 กระดูกมีความเปราะบางและหักง;าย ร;วมกับคุณภาพ ของกระดูก (Bone quality) ประกอบด2วย โครงสร2าง ภายในของกระดูก การหมุนเวียนของกระดูก การสะสม การสลายของกระดูก การสะสมแร;ธาตุของกระดูก ขบวนการปรับแต;งกระดูก มีทั้งการสลายและการสร2าง กระดูก โดยขั้นตอนสุดท2ายของการสร2างกระดูก คือการ สะสมแร;ธาตุของกระดูก เมื่อกระบวนการเหล;านี้เสื่อมลง จึงเพิ่มความเสี่ยงต;อการเกิดกระดูกหัก7 อีกทั้งโรคนี้ใน ระยะแรกไม;มีอาการผิดปกติใด ๆ ในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน ไม;มีอาการเตือนจนกว;าจะมีกระดูกหัก
Nurses’ Roles in Promoting Health Literacy in Elderly People to Prevent Osteoporosis v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 164 คนส;วนใหญ;มักจะไม;ตระหนัก นอกจากนั้นแล2ววิถีการ ดำเนินชีวิตในปMจจุบันยังมีหลายพฤติกรรมที่ส;งผลด2าน ลบ ต;อการมีกระดูกที่แข็งแรง เช;น ดื่มกาแฟ ดื่มสุรา และการได2รับแสงแดดน2อยลง จากสถานการณUดังกล;าวก;อให2เกิดผลกระทบ รุนแรงต;อคุณภาพชีวิตของผู2สูงอายุ ต2องการเข2ารับการ รักษาในโรงพยาบาล เกิดความพิการและทุพพลภาพ และเพิ่มอัตราตาย4 สัมพันธUกับอาการปวดที่ทำให2 ร;างกายอ;อนแอเรื้อรังทำกิจกรรมประจำวันลดลง โดย หนึ่งในสามของผู2ปÖวยเหล;านี้ต2องเข2ารับการรักษาใน โรงพยาบาลและกลายเปLนผู2ปÖวยติดเตียงในเวลาต;อมา มี โอกาสเกิดโรคแทรกซ2อนต;าง ๆ เช;น โรคเรื้อรังของระบบ หายใจ แผลกดทับ การติดเชื้อทางเดินปMสสาวะ และอาจ ทำให2เสียชีวิตได2ในที่สุด หรือแม2แต;เมื่อได2รับการผ;าตัด รักษาแล2วยังอาจหลงเหลือข2อจำกัดที่ทำให2ไม;สามารถ ทำงานได2ตามปกติ ในมุมมองทางด2านต2นทุนเศรษฐกิจ ค;าใช2จ;ายต;อป~ของโรคกระดูกพรุนในระบบการดูแล สุขภาพของสหรัฐอเมริกาอยู;ที่อย;างน2อย 5–10 พันล2าน ดอลลารU นับเปLนความสูญเสียที่มหาศาล ซึ่งสามารถ ปSองกันได2ด2วยหลักการเสริมสร2างความรอบรู2เกี่ยวกับ ของโรคกระดูกพรุน สาเหตุและปMจจัยของการเกิดโรค กระดูกพรุนในผู2สูงอายุ6 สาเหตุและปdจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุน จากการทบทวนสาเหตุและปMจจัยเสี่ยงในการ เกิดโรคกระดูกพรุนในผู2สูงอายุ ได2แก; เพศ อายุ กรรมพันธุU โรค ยา แอลกอฮอลU บุหรี่ ขาดสารอาหาร ขาดการออกกำลังกาย และการรับประทานอาหาร ตาม รายละเอียด ดังนี้ 1. เพศ ผู2หญิงเปLนโรคกระดูกพรุนมากกว;าและ เร็วกว;าผู2ชาย เนื่องจากขาดฮอรUโมนเพศ โดยเฉพาะเมื่อ หมดประจำเดือน หรือผ;าตัดรังไข;ออกทั้ง 2 ข2าง ฮอรUโมน เอสโตรเจนลดลง เพราะฮอรUโมนเอสโตรเจน ทำหน2าที่ใน การควบคุมการสร2างของ Osteoblast ซึ่งเปLนเปLนเซลลU ในการสร2างกระดูก ทำหน2าที่สร2างกระดูกขึ้นมาใหม;จาก แคลเซียมและโปรตีนตามกระบวนการการเจริญเติบโต ของร;างกายและช;วยทดแทนกระดูกส;วนที่สึกหรอ และ ภายในกระดูกยังมีเซลลUสลายกระดูก (Osteoclast) ทำ หน2าที่สลายเนื้อกระดูกเก;า แต;เมื่อเข2าสู;วัยหมด ประจำเดือน (Menopause) จะเริ่มมีการลดลงของ ฮอรUโมนเอสโตรเจน ทำให2กระบวนการควบคุมของเซลลU ทั้งสองนี้ลดลงไป ส;งผลให2มีการสร2าง Osteoblast ลดลง แต;มีการสร2าง Osteoclast เพิ่มมากขึ้น ผลที่เกิดขึ้นคือ มีการสลายกระดูก (Bone reabsorption) มากขึ้น ทำ ให2เกิดโรคกระดูกบาง (Osteopenia) หรือกระดูกพรุน (Osteoporosis) ตามมาได27 และในผู2หญิงมีโอกาสเกิด กระดูกพรุนได2ถึง ร2อยละ 40–50 อีกเหตุผลคือผู2หญิงมี เนื้อกระดูกน2อยกว;าผู2ชายประมาณ 10–30% และเมื่อ หมดประจำเดือนจะมีการสลายของกระดูกมากถึงร2อย ละ 3.5 ต;อป~ ซึ่งส;วนใหญ;มักจะหมดประจำเดือนเมื่ออายุ 50 ป~ขึ้นไปเปLนช;วงเวลา7 ที่ร;างกายผลิตฮอรUโมนเอสโตร เจนน2อยลง ทำให2เนื้อกระดูกเปราะบาง เซลลUสร2าง กระดูกมีจำนวนลดลงไม;เพียงพอต;อความต2องการของ ร;างกาย ทำให2กระดูกบางและพรุนได2 เพื่อให2มองเห็น ความชัดเจน มีการจัดลำดับอายุกับความเสื่อมของ กระดูก ดังนี้ ผู2หญิงอายุเกิน 60 ป~ โอกาสเกิดกระดูกพรุน 10 คน ใน 100 คน ผู2หญิงอายุเกิน 70 ป~ โอกาสเกิดกระดูกพรุน 20 คน ใน 100 คน ผู2หญิงอายุเกิน 80 ป~ โอกาสเกิดกระดูกพรุน 40 คน ใน 100 คน
vบทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้แก่ผู้สูงอายุเพ่ ือปอ้งกันโรคกระดูกพรุน 165 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 2. อายุ มวลกระดูก มีความหนาแน;นที่สุดเมื่อ อายุประมาณ 30 ป~ หลังจากนั้นจะค;อย ๆ ลดลง ตามลำดับเมื่ออายุที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย;างยิ่ง หลังจากอายุ 50 ป~ขึ้นไป กระดูกจะบางลงทุก 1-3 % ทุกป~จะมีอัตราการสลายตัวของกระดูกมากกว;าการสร2าง กระดูกขึ้นมาใหม; ทำให2เกิดความไม;สมดุลระหว;างการ สร2างและการสลายของกระดูก โดยการเปลี่ยนแปลงนี้จะ ทำให2เกิดการลดลงของมวลกระดูกอย;างค;อยเปLนค;อยไป ในที่สุดจะทำให2เกิดโรคกระดูกพรุน 3. กรรมพันธุGในครอบครัวที่พ;อหรือแม;มีโรค กระดูกพรุนแล2วมีกระดูกหัก ลูกหรือญาติใกล2ชิดทาง สายเลือดมีประวัติปÖวยเปLนโรคกระดูกพรุน ก็มีความ เสี่ยงที่จะมีโอกาสเปLนโรคกระดูกพรุน 4. โรค ที่เกิดจากการทำงานของต;อมไร2ท;อ ผิดปกติ เช;น โรคไทรอยดU โรคเบาหวาน มีโอกาสเปLนโรค กระดูกพรุน เพราะร;างกายมีฮอรUโมนไทรอยดUมากไปจน ส;งผลต;อความสามารถในการดูดซึมแคลเซียมลดลง เกิด ภาวะแคลเซียมในเลือดสูงทำให2กระดูกอ;อนแอ กลายเปLนโรคกระดูกพรุน 5. ยา การได2รับยาบางชนิดเปLนเวลานานทำให2 มวลกระดูกบางลง เพราะยาบางชนิด ทำให2การดูดซึม แคลเซียมเข2าสู;ร;างกายลดลง เช;น กลุ;มยาสเตียรอยดUใน ผู2ปÖวยโรคข2ออักเสบรูมาตอยดU ผู2ปÖวยโรค SLE (โรค ภูมิแพ2ต;อตนเอง) ยาทดแทนธัยรอยดU ยาปSองกันการชัก เปLนต2น เพราะหน2าที่ของแคลเซียมคือใช2ในการสร2าง กระดูกและฟMน เพิ่มความหนาแน;นให2มวลกระดูก ทำให2 กระดูกมีความแข็งแรง 8 6. แอลกอฮอลGการดื่มเหล2า เบียรU หรือแม2แต; ไวนUในปริมาณมากกว;า 3 แก2ว/วัน ทำให2มีโอกาสเปLนโรค กระดูกพรุนเร็วขึ้นโดยพบว;าเหล2า เบียรU สุราทุกชนิดทำ ให2กระดูกสะโพกพรุน ยิ่งดื่มมากยิ่งกระดูกเปราะ ใน ผู2หญิงที่ดื่มเบียรUวันละ 2 ขวดมีอัตราเสี่ยงต;อการเกิด กระดูกหัก 2 เท;าของคนที่ไม;ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลU มีผลเปLนอันตรายอย;างยิ่งต;อกระดูก พิษของแอลกอฮอลU ทำลายเซลลUกระดูกโดยตรงเพราะแอลกอฮอลUจะทำให2 โครงสร2างจุลภาคของกระดูกลดลง การยับยั้งการ ซ;อมแซมกระดูกลดลง 7. บุหรี่สารพิษนิโคตินเปLนตัวทำลายเซลลUสร2าง มวลกระดูกทำให2กระดูกบางลง หากสูบบุหรี่มากกว;า 20 มวน/วัน ความเสี่ยงต;อกระดูกสะโพกหักสูงขึ้น 1.5 เท;า ของคนไม;สูบบุหรี่ เพราะสารพิษในควันบุหรี่ลดการ ทำงานของเซลลUสร2างกระดูก 8. ขาดสารอาหาร การขาดสารอาหารที่จำเปLน ต;อการสร2างมวลกระดูก โดยเฉพาะแคลเซียม และ วิตามินดี เพราะวิตามินดีจะช;วยทำให2ร;างกายสามารถ ดูดซึมแคลเซียมได2ดีขึ้น ซึ่งเปLนแร;ธาตุที่มีความสำคัญต;อ การสร2างกระดูกเมื่อร;างกายขาดแคลเซียม ส;งผลกระตุ2น ให2ฮอรUโมนพาราไทรอยดU (Parathyroid hormone) สูงขึ้น เพื่อกระตุ2นให2เกิดกระบวนการการสลายกระดูก (Bone resorption) เพื่อให2มีประมาณแคลเซียมใน กระแสเลือดเพิ่มขึ้น 9. ขาดการออกกำลังกาย การขาดการออก กำลังกาย ขยับร;างกายน2อยหรือไม;ขยับร;างกาย เซลลU สลายกระดูกจะเพิ่มจำนวนและทำงานมากขึ้น ทำให2 เสี่ยงต;อการเกิดกระดูกหัก คนที่ไม;ออกกำลังกายมี โอกาสเปLนโรคกระดูกพรุนมากกว;า โดยพบว;า ผู2หญิงที่ นั่งมากกว;า 9 ชั่วโมง/วัน เสี่ยงกระดูกสะโพกหักมากกว;า ผู2หญิงที่นั่งน2อยกว;า 6 ชั่วโมงต;อวันถึง 50% 10. การรับประทานอาหาร ถ2าได2รับเกลือ มากกว;า 1 ช2อนชา/วัน ชา กาแฟมากกว;า 3 แก2ว/วัน8 น้ำอัดลมมากกว;า 4 กระปõอง/สัปดาหU มีความเสี่ยง กระดูกพรุนสูง เนื่องจากอาหารและเครื่องดื่มดังกล;าวจะ
Nurses’ Roles in Promoting Health Literacy in Elderly People to Prevent Osteoporosis v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 166 ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม ส;วนอาหารเค็มจัดและ คาเฟอีนยังทำให2ร;างกายขับแคลเซียมมากขึ้นอีกด2วย น้ำอัดลม ทั้งแบบปกติและแบบไร2น้ำตาล ล2วนส;งผลให2 กระดูกบางได2เท;ากัน เพราะน้ำอัดลมมีผลไปดึงแคลเซียม ออกจากกระดูก อาหารเค็มหรืออาหารที่มีเกลือโซเดียม สูง เช;นผงชูรส ส;งผลให2ร;างกายขับแคลเซียมออกทาง ปMสสาวะมากขึ้น การปvองกันโรคกระดูกพรุน การทบทวนการปSองกันการเกิดโรคกระดูกพรุน ในผู2สูงอายุพบว;า การปSองกันมี 2 วิธี ได2แก; การปSองกัน ทางตรง และการปSองกันทางอ2อมด2วยการปSองกันการหก ล2ม ตามรายละเอียด ดังนี้ 1. การปSองกันทางตรง คือ การปSองกันปMจจัย เสี่ยงที่ทำให2มวลกระดูกลดลงเริ่มจากอาหารด2วยการ ลด เลิกชา กาแฟมากกว;า 3 แก2ว/วัน6 น้ำอัดลม เครื่องดื่ม แอลกอฮอลU การดื่มเหล2า เบียรU หรือแม2แต;ไวนU รวมทั้ง การส;งเสริมให2ออกกำลังกายเคลื่อนไหวที่เหมาะสมกับ บริบทของร;างกายและวัย 2. การปSองกันทางอ2อมด2วยการปSองกันการหก ล2ม เริ่มจากการค2นหาสาเหตุและการประเมินความเสี่ยง การหกล2ม มุ;งเน2นการจัดการปMจจัยเสี่ยงภายในและ ปMจจัยเสี่ยงแวดล2อม ทั้งภายในบ2านและนอกบ2าน รวมไป ถึงการแต;งกายที่เหมาะสม โดยให2ความรู2ที่เน2นถึงปMจจัย เสี่ยงเหล;านี้เพื่อให2ผู2สูงอายุมีความเข2าใจ ตระหนักรู2ถึง ความสำคัญในการปSองกันการหกล2ม เพื่อให2เกิดผลลัพธU ที่ดีจำเปLนต2องบูรณาการหลายวิธีการร;วมกัน ทั้งการคัด กรองความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่งยังไม;พบ ภาครัฐหรือองคUกรใด ๆ ที่เปLนผู2ดูแลหลัก มีเพียงการ ดำเนินงานในบางหน;วยงานเท;านั้น เพื่อให2เกิดผลลัพธUที่ ยั่งยืนเห็นควรเสริมสร2างความรอบรู2เรื่องกระดูกพรุนทั้ง สถานการณU ความรุนแรงและสาเหตุให2กับผู2สูงอายุเพื่อ ร;วมวางแผนปSองกัน ในด2านของความรู2เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนของ ผู2สูงอายุ มีการศึกษาในประเทศโปแลนดUระดับความรู2 เกี่ยวกับปMจจัยเสี่ยงของโรคกระดูกพรุนอยู;ในระดับต่ำ9 ประเทศไทยพบว;าผู2สูงอายุมีระดับความรู2เกี่ยวกับโรค กระดูกพรุนในเขตเมืองอยู;ในระดับปานกลาง แต;ใน ชนบทพบว;าผู2สูงอายุมีความรู2เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนต่ำ ซึ่งอาจส;งผลให2กลุ;มเสี่ยงเหล;านี้มีพฤติกรรมในการดูแล ตนเองไม;เหมาะสม การสร2างเสริมให2มีความรอบรู2ใน ผู2สูงอายุเกี่ยวกับ โรคกระดูกพรุน บทบาทพยาบาลที่จะ ช;วยให2ผู2สูงอายุได2มีความรู2 เพื่อเปLนข2อมูลที่ถูกต2องและ นำมาดูแลตนเอง แนะนำผู2อื่น สร2างเครือข;ายกระตุ2นให2 เกิดความรอบรู2ส;งผลให2มีพฤติกรรมในการปSองกัน กระดูกพรุน เพื่อที่จะมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีตาม ศักยภาพ ความรอบรูwทางสุขภาพของผูwสูงอายุ ความรอบรู2ด2านสุขภาพ (Health literacy; HL) องคUการอนามัยโลก ( World Health Organization) ให2นิยามไว2ว;า ความรอบรู2ด2านสุขภาพ เปLนทักษะต;าง ๆ ในการรับรู2 และทักษะเชิงสังคม ที่ กำหนดแรงจูงใจ และความสามารถของปMจเจกบุคคลใน การเข2าถึง เข2าใจ และใช2ข2อมูลในวิธีการต;าง ๆ เพื่อทำให2 ตนเองมีสุขภาพดีอยู;เสมอ Nutbeam10 เพิ่มเติมว;า เปLน ทักษะทางปMญญาและทางสังคมที่ก;อให2เกิด แรงจูงใจ และความสามารถของแต;ละบุคคลให2เข2าถึง เข2าใจและ ใช2ข2อมูลข;าวสารในวิถีทางเพื่อการส;งเสริมแนวคิดความ รอบรู2ด2านสุขภาพ เปLนเสมือนกุญแจสู;ผลลัพธUที่ดีด2าน สุขภาพ กระบวนการช;วยให2ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ มีความสำคัญเพราะการพัฒนาความ
vบทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้แก่ผู้สูงอายุเพ่ ือปอ้งกันโรคกระดูกพรุน 167 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ รอบรู2ด2าน พฤติกรรมสุขภาพของประชาชน เปLนดัชนีที่ สามารถสะท2อน และใช2อธิบายความเปลี่ยนแปลงของ ผลลัพธUทางสุขภาพ รวมทั้งคงไว2ซึ่งสุขภาพที่ดีของตนเอง อย;างต;อเนื่อง นำไปสู;การส;งเสริมสุขภาพ และปSองกัน โรค ให2คงไว2ซึ่งการมีสุขภาพที่ดีตลอดไป ปMจจุบันการสาธารณสุขทั่วโลกรวมของประเทศ ไทยให2ความสำคัญกับความรอบรู2ด2านสุขภาพของ ประชาชนมากขึ้น ดังจะเห็นได2จากเปSาหมายที่ 2 การ พัฒนาคนสำหรับโลกยุคใหม;ในแผนพัฒนาสุขภาพ แห;งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565-2569) ที่กำหนดไว2ว;า เปLนสังคมแห;งการเรียนรู2 มีภาคีเครือข;ายมีความรอบรู2 ด2านสุขภาพมากขึ้น ส;งผลให2การเกิดโรคความเจ็บปÖวย และการเสียชีวิตในโรคที่ปSองกันได2ลดลง เนื่องจากการ มี ผลลัพธUที่ดีทางสุขภาพ เกิดจากการพัฒนาความรอบรู2 ด2านสุขภาพ โดยที่บุคคลมีความรอบรู2ด2านสุขภาพที่ เพียงพอจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส;งผลถึงสถานะ สุขภาพโดยรวมดีขึ้น ทำให2ต2นทุนค;าใช2จ;ายด2านสุขภาพ ค;ารักษาพยาบาลลดลง ระยะเวลาในการนอน โรงพยาบาลสั้นลง และความถี่ในการใช2บริการสุขภาพ ลดลง11 ตอบโจทยU ลดปÖวย ลดรอคอย ลดแออัด ในปMจจุบันผู2สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น ซึ่งเปLน ประชากรกลุ;มใหญ;ในสังคมไทย และเปLนกลุ;มเปราะบาง ส;วนมากจะมีปMญหาสุขภาพการเจ็บปÖวยด2วยโรคเรื้อรัง และโรคด2านกระดูกและข2อ รวมทั้งเรื่องการรับข2อมูล ข;าวสารสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ2อม การสื่อสาร โอกาสในการเข2าถึงสวัสดิการทางสังคม และบริการ สุขภาพลดน2อยลง ทั้งนี้เปLนผลมาจากการเปลี่ยนแปลง ตามกาลเวลา ความเปลี่ยนแปลงทั้งด2านสุขภาพกาย สุขภาพจิต สมรรถนะการทำงานของสมอง มีการถดถอย ของร;างกาย เช;น การมองเห็น การได2ยิน รวมทั้งมีภาวะ ซึมเศร2าสับสนซึ่งจะส;งผลต;อพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของผู2สูงอายุที่ลดลง ปMจจุบันพบข2อสรุปที่ชัดเจนว;า ผู2สูงอายุเปLนวัยที่มีความรอบรู2ทางสุขภาพในระดับต่ำ หรือไม;เพียงพอ ส;วนใหญ;มีความรอบรู2ทางสุขภาพอยู;ใน ขั้นพื้นฐานเท;านั้นคือทักษะด2านการฟMง พูด อ;าน เขียนที่ จำเปLนต;อการสร2างความเข2าใจ โดยการมีอายุที่เพิ่มมาก ขึ้น ก็ยิ่งพบว;ามีความรอบรู2ทางสุขภาพลดลง ซึ่งผู2สูงอายุ 85 ป~ขึ้นไปเปLนวัยที่มีความรอบรู2ทางสุขภาพ ในระดับต่ำ ที่สุด12 บทบาทของพยาบาลในการสรwางความรอบรูwทาง สุขภาพของผูwสูงอายุที่เปyนโรคกระดูกพรุน พยาบาลเปLนบุคลากรที่มีบทบาทสำคัญในการ ส;งเสริมการดูแลสุขภาพประชาชนให2มีภาวะสุขภาพดี มี หน2าที่ดูแลในทุกกลุ;มวัยทุกระดับของระบบสุขภาพทั้ง ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ จากการศึกษาของ จิรณัฐ ชัยชนะ และกัญญดา ประจุศิปะ13 พบว;าพยาบาล วิชาชีพประกอบด2วย 4 บทบาท ได2แก; บทบาทด2านผู2 ปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด2านผู2สร2างเสริมสุขภาพ บทบาทด2านผู2จัดการ และประสานงานสุขภาพชุมชน พบว;า ด2านผู2สร2างเสริมสุขภาพมีความเกี่ยวข2องกับการ สนับสนุนให2ประชาชนมีความรู2เท;าทันในการดูแลสุขภาพ ตนเองและมีความรอบรู2ทางสุขภาพ ซึ่งพยาบาลสามารถ สร2างหรือพัฒนาความรอบรู2ทางสุขภาพของผู2สูงอายุ เพื่อให2ดูแลสุขภาพตนเองหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพให2เหมาะสม ผู2เขียนได2ประยุกตUองคUประกอบตาม แนวคิดความรอบรู2ด2านสุขภาพของ Nutbeam10 เพื่อ ส;งเสริม ความรอบรู2โรคกระดูกพรุนในผู2สูงอายุ ตาม บทบาทพยาบาลดังนี้14 1. ด2านการเข2าถึงข2อมูลสุขภาพ และบริการ (Access skill) เปSาหมายเพื่อให2ผู2สูงอายุ สามารถเลือก ข2อมูล ความรู2คำแนะนำที่ถูกต2องเกี่ยวกับโรคกระดูก
Nurses’ Roles in Promoting Health Literacy in Elderly People to Prevent Osteoporosis v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 168 พรุน โดยพยาบาลมีหน2าที่ดังนี้ 1) ประเมินความพร2อม ต;อการเรียนรู2ของผู2สูงอายุด2วยการศึกษาประวัติส;วนตัว ได2แก; ระดับการศึกษา การอ;านออก เขียนได2 ภาษาหลัก ที่ใช2สื่อสาร และปMญหา/อุปสรรคในการเรียนรู2เช;น หู หนวก/หูตึง ตามองไม;เห็น พูดไม;ชัด เปLนต2น 2) คัดกรอง ผู2สูงอายุที่มารับบริการเบื้องต2นว;ามีความรอบรู2ทาง สุขภาพอยู;ใน ระดับใด และสามารถที่จะวางแผน เพื่อ เลือกใช2ข2อมูลทางสุขภาพให2เหมาะสม 2. ด2านความรู2ความเข2าใจ (Cognitive skill) 15 เปSาหมายเพื่อรับรู2และจำอธิบายสาระสำคัญด2านสุขภาพ ได2 และแนวการปฏิบัติด2านสุขภาพ ที่ถูกต2องได2 โดย พยาบาลมีบทบาทดังนี้1) เปLนผู2ให2ความรู2ด2านสุขภาพ เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน และการดูแลสุขภาพด2วยใช2 ภาษาที่เข2าใจง;าย หรืออาจใช2ภาษาท2องถิ่น สื่อด2วยภาพ และเสียงที่ชัดเจนเข2าใจง;าย 2) นำเสนอข2อมูลสุขภาพ ผ;านช;องทางที่หลากหลาย ให2เหมาะสมกับแต;ละบริบท เช;น หอกระจายข;าวเกี่ยวกับยาสเตียรอยดU ยาชุด ตั้ง กลุ;มไลนU (Line application) ในผู2สูงอายุที่ใช2สื่อสังคม ออนไลนUเปLนประจำ โดยมีพยาบาลเปLนผู2แนะนำ 3) ประเมินความเข2าใจหลังได2รับข2อมูล และติดตามเยี่ยม หรือสอบถามทางโทรศัพทU หรือการไปเยี่ยมบ2าน การ สร2างเสริมความรอบรู2ทางสุขภาพด2านการรับประทาน อาหารที่เสริมสร2างความแข็งแรงกระดูก การเขียนสื่อ เกี่ยวกับอาหารที่ควรรับประทานหรือควรหลีกเลี่ยง เพื่อ เพิ่มความรอบรู2ทางสุขภาพของผู2สูงอายุ 3. ด2านทักษะการสื่อสาร (Communication skill) เปSาหมายเพื่อให2ผู2สูงอายุสามารถสื่อสารข2อมูล โดยการพูด อ;าน เขียน ให2บุคคลอื่นเข2าใจ และสามารถ บอกต;อและโน2มน2าว ให2บุคคลอื่นยอมรับข2อมูลด2าน สุขภาพของตนได2 โดยพยาบาลมีบทบาทดังนี้1) จัดเวที การพบปะ ประชุมกลุ;มย;อยแลกเปลี่ยนความรู2ด2าน สุขภาพในกลุ;มผู2สูงอายุ เพื่อเป°ดโอกาสให2ผู2สูงอายุที่ สามารถเข2าถึงและเข2าใจข2อมูลด2านสุขภาพ ได2สื่อสาร แลกเปลี่ยนให2บุคคลอื่นได2ทราบ 2) สนับสนุนให2 อาสาสมัครสาธารณสุขหรือผู2ดูแลผู2สูงอายุ นักบริบาล (Care giver) ซึ่งเปLนผู2ที่ใกล2ชิดกับผู2สูงอายุในชุมชน เปLน ผู2กระตุ2นให2มีการเข2าร;วมกิจกรรมการดูแลเสริมสร2าง ความแข็งแรง การเคลื่อนไหว แลกเปลี่ยนข2อมูลสุขภาพ ในชุมชนที่มีความแตกต;างกันในแต;ละบริบท 4. ด2านทักษะการจัดการตนเอง (Selfmanagement skill) 15และการสร2างเสริมพลังอำนาจ (Patient self-management and empowerment) เปSาหมายเพื่อให2ผู2สูงอายุกำหนดเปSาหมายในทำงานหรือ การวางแผนด2านสุขภาพได2 และสามารถปฏิบัติตามแผน ที่วางไว2ให2ถูกต2องได2ด2วยตนเอง พยาบาลมีบทบาทดังนี้ 1) เปLนผู2ให2คำปรึกษา (Counselor) พยาบาลทำหน2าที่ คอยเปLนผู2ให2คำแนะนำการปSองกันกระดูกพรุน เช;น ปSองกันการเกิดอุบัติเหตุการหกล2ม การหลีกเลี่ยงปMจจัย เปLนต2น เพื่อให2คงไว2ซึ่งการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ เหมาะสม 2) สร2างความเชื่อมั่น และให2กำลังใจ เสริม พลัง กับผู2สูงอายุว;า สามารถปฏิบัติตามแผนที่กำหนดไว2 ได2 โดยเทียบกับเปSาหมายที่วางไว2เปLนระยะๆ 3) ประเมิน ความเข2าใจของการใช2ยา (กรณีมียาประจำ) วิธีการ รับประทานยา ความต;อเนื่องสม่ำเสมอในการใช2ยา ทุก ครั้งที่มารับบริการตามนัด 5. ด2านการรู2เท;าทันสื่อ (Media literacy skill) หรือส;งเสริมระบบสนับสนุนและสิ่งแวดล2อมที่เอื้อต;อ สุขภาพของผู2สูงอายุ (Supportive systems and caring environments) 16 เปSาหมายเพื่อให2ผู2สูงอายุ สามารถตรวจสอบความถูกต2อง ความน;าเชื่อถือของ ข2อมูล ประกอบด2วยแนะนําหรือส;งต;อให2ผู2สูงอายุเข2าใช2 แหล;งบริการสุขภาพในชุมชน อบรมให2ความรู2เรื่องความ
vบทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้แก่ผู้สูงอายุเพ่ ือปอ้งกันโรคกระดูกพรุน 169 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ รอบรู2ทางสุขภาพแก;บุคลากรทางสุขภาพที่เกี่ยวข2อง กับ การสื่อสารกับผู2ปÖวยสูงอายุ พยาบาลมีบทบาทดังนี้1) เปLนผู2พิทักษUสิทธิ (Advocator) โดยเปLนผู2ประสาน ข2อมูลเกี่ยวกับสิทธิต;าง ๆ และข2อมูลสุขภาพของตนเอง ความรู2ที่ถูกต2อง เพื่อปSองกันพฤติกรรมสุขภาพที่ไม; เหมาะสม 2) ส;งเสริมให2ผู2สูงอายุได2คิดวิเคราะหU เปรียบเทียบ ถึงวิธีการเลือกรับสื่อที่ให2ข2อมูลด2านสุขภาพ ที่เหมาะกับตนเอง โดยประเมินถึงความถูกต2องน;าเชื่อถือ ของสื่อ เช;น การจัดจำหน;ายยาในร2านขายของชำแต;ละ หมู;บ2าน เปLนต2น 6. ทักษะการตัดสินใจ (Decision skill) มี เปSาหมายเพื่อให2ผู2สูงอายุสามารถตัดสินใจเลือกวิธีการ ปฏิบัติเพื่อปSองกันการเกิดกรูกพรุนโดยใช2เหตุผล ด2วย การวิเคราะหU ข2อดี ข2อเสีย และสามารถตัดสินใจ ปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติได2ด2วยตนเองได2ตลอดเวลา พยาบาลมีบทบาทเปLนผู2นำโดยกระตุ2นให2ผู2สูงอายุ สามารถตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติที่ให2ตนมีสุขภาพที่ดี โดยอาศัยข2อมูลที่ได2รับ ความเข2าใจ และสามารถสื่อสาร ออกมาให2ผู2อื่นรับรู2ได2 เช;น ผู2สูงอายุสามารถระมัดระวัง การรับประทานยา รับประทานอาหารที่มีแคลเซี่ยม การ ออกกำลังกายด2วยการลงน้ำหนัก (Weight barring exercise) เช;น การเดิน เปLนต2น รวมทั้งหลีกเลี่ยงบุหรี่ แอลกอฮอลU หรือเครื่องดื่มที่ส;งผลให2กระดูกพรุน การบรรลุเปSาหมายตามแนวทางทั้ง 6 ประการ พยาบาลวิชาชีพควรใช2กลยุทธUดังนี้ 1. การประเมินความพร2อมของผู2สูงอายุแต;ละ ราย ด2วยการประเมินทักษะพื้นฐานด2านการฟMง พูด อ;าน เขียนของผู2สูงอายุแต;ละรายความพร2อมของทีมงานใน การดูแล ตลอดจนความพร2อมของญาติหรือผู2ดูแล เกี่ยวกับโรคกรูกพรุน เปLนต2น 2. จัดอบรม เผยแพร;ความรู2เพื่อกระตุ2นให2 ผู2สูงอายุได2ตระหนักถึงความสำคัญในการระวังและ ปกปSองสุขภาพของตนเองโดยปรับให2เหมาะสมในแต;ละ ระดับ ตามบริบทของผู2สูงอายุต;ละราย 3) การแลกเปลี่ยนเรียนรู2 โดยพยาบาลประสาน ให2มีเวทีการนำเสนอหรือบอกเล;าตัวอย;าง หรือกรณีที่ ปSองกันโรคกระดูกพรุนได2 เช;น ผู2สูงอายุที่มีสุขภาพ แข็งแรง การถอดบทเรียนทั้งในระดับชุมชน และ ระดับประเทศ 4) การทำกิจกรรมกลุ;มในผู2สุงอายุที่มีสุขภาพ กายใจแข็งแรง ให2กำลังใจเสริมสร2างสุขภาพ แบบเพื่อน ช;วยเพื่อน โดยบทบาทของพยาบาลคือกระตุ;นให2มีที่กลุ;ม ประสานงานกระบวนการกลุ;ม เช;น กิจกรรมโต§ะกลมที่มี จำนวนมากกว;า 2 คนขึ้นไป เป°ดโอกาสให2ทุกคนบอกเล;า ประสบการณUความรู2หรือสิ่งที่ปฏิบัติ ปSองกันโรคกระดูก พรุนให2เพื่อนคนที่อยู;ถัดไปโดยเวียนไปทางด2านใดด2าน หนึ่งสมาชิกทุกคน เปLนต2น พยาบาลวิชาชีพสามารถแสดงบทบาทโดยการ ส;งเสริมความรอบรู2 เพื่อลดปMจจัยเสี่ยงและการปSองกัน ภาวะกระดูกพรุนในผู2สูงอายุ โดยแบ;งเปLน 2 กรณีดังนี้ 1. กรณีปSองกันกระดูกพรุน 1.1 ปลูกฝMงให2เกิดความรู2ในโรคกระดูกพรุน กับบุคลากรที่เกี่ยวข2อง โดยเฉพาะพยาบาลนำสู;การ ปฏิบัติด2วยการสร2างความตระหนักในการสร2างการรอบรู2 ในผู2สูงอายุ โดยนำทฤษฎีการรับรู2สมรรถนะแห;งตน ใช2 หลักการที่ว;าบุคคล จะตัดสินใจกระทำ พฤติกรรมหรือไม; นั้น ส;วนหนึ่งมาจากการรับรู2สมรรถนะแห;งตนว;าจะ กระทำพฤติกรรมนั้นๆ ได2สำเร็จตามความคาดหวังใน ผลลัพธU ผ;านกระบวนการเรียนรู2จากแหล;ง ข2อมูล 4 แหล;ง คือ 1) การเรียนรู2ประสบการณUที่ประสบผลสำเร็จ ด2วยตนเอง 2) การได2เห็นตัวแบบหรือประสบการณUจาก
Nurses’ Roles in Promoting Health Literacy in Elderly People to Prevent Osteoporosis v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 170 ผู2อื่น 3) การใช2คำพูดชักจูง 4) การส;งเสริมสภาวะด2าน ร;างกายและอารมณU ดังนั้นควรจัดกิจกรรมเช;นคัดสรร17 ผู2สูงอายุตัวอย;างที่ปSองกันโรคกระดูกพรุน มาเปLน ต2นแบบ เปLนต2น 1.2 สร2างทีมนิเทศการปฏิบัติหน2าที่ใน สถานพยาบาล ในบริบทต;าง นำแนวทางที่ชัดเจน ใน 6 ประเด็นหลัก ร;วมกับการขับเคลื่อนโดยกลุ;มการพยาบาล ช;วยเพิ่มประโยชนUให2กับผู2ปÖวย โดยเฉพาะผู2สูงอายุโรค กระดูกพรุน 1.3 ควรมีองคUกร ระดับกระทรวงขับเคลื่อน โดยมีกรรมการระดับเขตสุขภาพ จังหวัดและอำเภอ ทำงานเปLนเครือข;าย เกี่ยวกับนโยบาย สร2างมาตรฐาน บทบาทพยาบาลในการสร2างการรับรู2ในผู2สูงอายุเพื่อ ปSองกันโรคกระดูกพรุน โดยอาจเปLนกรรมการเครือข;าย พัฒนาคุณภาพ (Quality Assurance: QA) ในแต;ละเขต สุขภาพ ซึ่งจะเปLนอีกช;องทางหนึ่งที่ช;วยให2เกิดความ ยั่งยืนในการลดการเกิดโรคกระดูกพรุนในผู2สูงอายุ 2. กรณีปÖวยเปLนโรคกระดูกพรุนเข2ารับการ รักษา บทบาทพยาบาลปSองกันภาวะแทรกซ2อนโดยปรับ ตามแผนการรักษาเช;น ผู2ปÖวยหลังผ;าตัดต2องดูแล ได2แก; ปSองกันการติดเชื้อของแผล การเคลื่อนหลุดของข2อ สะโพกเทียม การเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำ การติดเชื้อในระบบทางเดินปMสสาวะ การฟ©™นฟูร;างกายให2 แข็งแรงเข2าสู;สภาพปกติให2เร็วที่สุด สอนเรื่องการใช2ยา (ยาเม็ดฮอรUโมนทดแทน ยาในกลุ;มบิสฟอสโฟเนต) หรือ รับการรักษาจากผลกระทบจากกระดูกพรุน เช;น กระดูกหักรวมทั้งปSองกันการเกิดกระดูกหักซ้ำเปLนต2น การสร2างความรอบรู2ในผู2สูงอายุเพื่อปSองกันโรค กระดูกพรุนโดยนำแนวคิดของ Nutbeam10 มาเชื่อมโยง กับบทบาทของพยาบาลในแต;ละระดับ ดังนี้ ระดับ 1 ความรอบรู2ด2านสุขภาพขั้นพื้นฐาน ด2วยการประเมินทักษะพื้นฐานด2านการฟMง พูด อ;าน เขียนของผู2สูงอายุแต;ละราย เช;น การอ;านใบยินยอม การอ;านฉลากยา การทำความเข2าใจต;อการให2ข2อมูลของ บุคลากรทีมสุขภาพ ทั้งข2อความเขียนและวาจา การ ปฏิบัติตนตามคำแนะนำของแพทยU บทบาทพยาบาล สำหรับระยะนี้ ในการสร2างความรอบรู2กลุ;มผู2สูงอายุโรค กระดูกพรุน โดยการเปLนผู2ประเมินและจัดกิจกรรมเพื่อ จัดบริการใด2ตรงกับสภาพผู2ปÖวยโดยในรายที่มีปMนหาเรื่อง การสื่อสาร ประสานกับผู2ดูแล หรือญาติ ในการจัดยา กระตุ2นการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามสภาพผู2สูงอายุ เช;นการเคลื่อนไหวสร2างความแข็งแรงของกล2ามเนื้อ รับประทานอาหาร พวกนมพร;องมันเนย ผักใบเขียว และรับแสงแดดในตอนเช2าเวลา 08.30-10.30 น. ประมาณ 20 นาทีจะได2วิตามินดีช;วยในการดูดซึม แคลเซี่ยม จะเปLนการปSองกันโรคกระดูกพรุน18 ระดับ 2 ความรอบรู2ด2านสุขภาพขั้นนี้ มี ความสามารถในการเลือกใช2 แยกแยะ และ ประยุกตUใช2 ข2อมูลข;าวสารใหม;ๆ เพื่อปรับปรุงภาวะ สุขภาพของ ตนเอง ตลอดจนการถ;ายทอดความรู2ทางสุขภาพที่ตนเอง มีอยู;ให2ผู2อื่นเข2าใจ บทบาทพยาบาลนอกจากประเมิน แล2วยังมอบหมายกิจกรรม เช;น เปLนผู2ช;วยทำกลุ;มสอน สุขศึกษาให2คำแนะนำผู2สูงอายุ จัดกิจกรรมบุคลต2นแบบ ในการดูแลตนเองปSองกันภาวะโรคกระดูกพรุน เช;น เรื่อง อาหารอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดีให2เพียงพอ โดย อาหารที่มีแคลเซียมสูง ได2แก; นม ผลิตภัณฑUของนม ใน วัยสูงอายุควรแนะนำให2ดื่มนมพร;องไขมัน อาหารที่มี แคลเซียมสูงอื่นๆ ได2แก; ผักใบเขียว ปลาเล็กปลาน2อยกุ2ง แห2ง กุ2งฝอย กะป°เต2าหู2นมถั่วเหลือง งาดำ การออก กำลังกายโดยวิธี Weight bearing exercise19 โดยใช2 เท2าและขา หรือมือและแขนในการรับน้ำหนักของตัวเอง
vบทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้แก่ผู้สูงอายุเพ่ ือปอ้งกันโรคกระดูกพรุน 171 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ เช;น การเต2นแอโรบิก หรือการเดิน ซึ่งการออกกำลังกาย วิธีนี้ไม;เพียงช;วยให2กระดูกแข็งแรง แต;ยังส;งผลดีต;อระบบ หลอดเลือดและหัวใจอีกด2วยและกระตุ2นให2มีการออก กำลังกายในกลุ;มเพื่อนหรือครอบครัว ลดพฤติกรรมเสี่ยง หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ ดื่มเหล2า หรือดื่มกาแฟ (ไม;ควร เกิน 2 ถ2วยหรือ 200 มิลลิกรัมต;อวัน) เปLนต2น ระดับ 3 ความรอบรู2ด2านสุขภาพขั้นวิจารณญาณ ทักษะทางปMญญา และสังคม การวิเคราะหUเปรียบเทียบ ควบคุมจัดการ สถานการณUในการดำรงชีวิตประจำวันได2 บทบาทพยาบาลสร2างเสริมความรอบรู2โดยการเปLนผู2 กระตุ2นให2กลุ;มผู2สูงอายุจัดทำโครงการปSองกันโรคกระดูก พรุนสำหรับผู2สูงอายุในชุมชน เน2นการมีส;วนร;วม นำ ข2อมูลมาร;วมคิดวิเคราะหU เปรียบเทียบ ประเมิน และ การนำข2อมูลข;าวสารด2านสุขภาพไปใช2ในการดูแล สุขภาพและ จัดการสุขภาพให2เหมาะสมกับบริบทของ ชุมชน โดยพยาบาลเปLนที่เลี้ยง ที่ปรึกษาคอยให2 คำแนะนำ เช;น ผลักดันให2เกิดชุมชนผู2สูงอายุต2นแบบ ปSองกันโรคกระดูกพรุนมีการประเมินตนเองถึงอาการที่ บ;งขี้ของการเกิดภาวะกระดูกพรุน เช;น ความสูงลดลง หรือสังเกตเห็นว;ากางเกงหรือกระโปรงที่ใส;ยาวขึ้น ซึ่งเปLนสัญญาณว;ามีการหักของกระดูกสันหลังเกิดขึ้น ทำให2อาการหลังค;อมเริ่มปรากฎควรรีบรักษา รวมถึง กระตุ2นผู2สูงอายุที่มีปMจจัยเสี่ยงให2เข2ารับการตรวจวัด ความหนาแน;นมวลกระดูก (Bone Mineral Density: BMD) ทุก 1-2 ป~20 เปLนต2น ขwอดีและประโยชนGของการสรwางความรอบรูwทาง สุขภาพปvองกันโรคกระดูกพรุนในผูwสูงอายุ 1. แนวทางทั้ง 6 ประการช;วยให2พยาบาลมี กรอบการปฏิบัติงาน นำไปขับเคลื่อนในการสร2างการ รับรู2ในแต;ละระดับ ในการดูแลเพื่อปSองกันกระดูกพรุน สำหรับผู2สูงอายุ 2. พยาบาลมีเปSาหมายในการปฏิบัติ โดยการ สร2างความรอบรู2 การเปLนผู2ประสานงาน จัดการระบบ สุขภาพอย;างมีศาสตรUและศิลป¨ในการดำเนินงาน 3. พยาบาลสามารถนำแนวทางการปSองกัน กระดูกพรุนนี้มาสร2างทีมประกันคุณภาพ ทีมนิเทศ เพื่อให2แนวทางลงสู;การปฏิบัติอย;างยั่งยืน 4. พยาบาลสามารถทบทวนความรู2เรื่องโรค กระดูกพรุน พัฒนาตนเองจากทฤษฎีลงสู;การปฏิบัติใน ประเด็นการสร2างเสริมการรับรู2ในผู2สูงอายุและ สร2างสรรคUสื่อต;าง ๆ เพื่อนำมาปรับใช2ให2เหมาะสมกับ บริบท ขwอจำกัดของการสรwางความรอบรูwทางสุขภาพปvองกัน โรคกระดูกพรุนในผูwสูงอายุ 1. ความหลากหลายการปฏิบัติงานทำให2ขาด ความตระหนักในการสร2างเสริมความรอบรู2ปSองกันโรค กระดูกพรุนในผู2สูงอายุ ทำให2ไม;เห็นผลเชิงประจักษU 2. การประสานงานในภาพรวม ในด2านความ ต;อเนื่องและการเกิดผลงานเชิงประจักษU ทั้งนี้อาจเนื่อง ด2วยการปฏิบัติหน2าที่ในสถานพยาบาลที่แตกต;างกันทั้ง พื้นที่ ขนาด สถานบริการสายบังคับบัญชา 3. ไม;มีการนิเทศติดตามในประเด็นเรื่องกระดูก พรุน เพราะที่ผ;านมาจะแทรกในงานสุขศึกษาทั่ว ๆ ไป หากมีนำประเด็นโรคกระดูกพรุนเปLนหนึ่งในตัวชี้วัด น;าจะทำให2มีทิศทางการสร2างความรอบรู2ที่ชัดเจนมากขึ้น สรุป โรคกระดูกพรุนในปMจจุบันที่ยังเปLนภัยเงียบ แต; มีความรุนแรง ที่ส;งผลต;อผู2ปÖวยโดยเฉพาะผู2สูงอายุซึ่ง
Nurses’ Roles in Promoting Health Literacy in Elderly People to Prevent Osteoporosis v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 172 เปLนประชากรกลุ;มใหญ; ทั้งยังมีข2อจำกัดในการรับรู2ด2วย ความเสื่อมถอยของร;างกาย ส;งผลให2พฤติกรรมการดูแล สุขภาพที่ไม;ถูกต2อง ดังนั้นการสร2างความรอบรู2ด2าน สุขภาพ จึงเปLนทางเลือกที่ควรส;งเสริม โดยบุคลากรด2าน สาธารณสุขโดยเฉพาะพยาบาลที่มีบทบาทโดยตรง ที่ ช;วยให2ผู2สูงอายุสามารถจัดการตนเอง โดยนำแนว ทางการของการสร2างความรอบรู2ทั้งการเข2าถึงข2อมูล ให2 มีความรู2ความเข2าใจ มีทักษะในการสื่อสาร มีทักษะการ ตัดสินใจ การกระตุ2นให2ผู2สูงอายุมีความตระหนักรู2และมี พฤติกรรมในการปSองกันโรคกระดูกพรุนจึงเปLนบทบาทที่ สำคัญและท2าทายสำหรับพยาบาลในการลดข2อจำกัด และทำให2ผู2สูงอายุเกิดความรอบรู2ด2านสุขภาพที่เพียงพอ สามารถ ดูแลตนเองให2มีสุขภาพดีได2 ในสภาพสังคม ผู2สูงอายุ ต;อไป ขwอเสนอแนะในการนำขwอมูลไปใชw การขับเคลื่อนเพื่อให2เกิดความรอบรู2ทางสุขภาพ ในผู2สูงอายุ มีข2อเสนอแนะในการนำไปใช2 และ ข2อเสนอแนะเชิงนโยบาย ดังนี้ 1. ขwอเสนอแนะในการนำไปใชw 1.1พยาบาลควร ส;งเสริมให2ผู2สูงอายุ ทำ กิจกรรมที่จะทำให2กระดูกแข็งแรงเช;นรณรงคUหลีกเลี่ยง การรับประทานอาหารที่ทำให2แคลเซี่ยมในการะดูกลดลง เช;น เครื่องดื่ม ยาสเตียรอยดU ยาชุด ยาต2มสมุนไพรที่ ไม;ได2ผ;านการรับรอง 1.2 หน;วยงานด2านสาธารณสุขในพื้นที่ต;าง ๆ อาทิ โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส;งเสริมสุขภาพ ตำบล รวมทั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตต;าง ๆ ทั้งระดับอำเภอ ระดับตำบล สามารถนำรูปแบบการ สร2างความรอบรู2ด2านสุขภาพผู2สูงอายุด2านการปSองกันโรค กระดูกพรุนนี้ ไปประยุกตUใช2ในการรณรงคUปSองกันการ เกิดอุบัติเหตุจากการลื่นล2มในผู2สูงอายุ โดยการรวมรวม ข2อมูลความเสี่ยง นำมาแก2ไขในจุดเสี่ยงเพื่อความ ปลอดภัยในผู2สูงอายุ 1.3 พยาบาลควรสร2างระบบการเข2าถึงข2อมูล เรื่องความปลอดภัยของยาและสารเคมี ที่ส;งผลให2มวล กระดูกลดลง รวมทั้งช;องทางการรักษากรณีที่ต2องได2รับ การตรวจโดยแพทยUผู2เชี่ยวชาญเพื่อเปLนทางเลือกในการ ส;งเสริมสุขภาพ โดยคำนึงถึงระดับการรับรู2ของผู2สูงอายุ แต;ละราย 2. ขwอเสนอแนะเชิงนโยบาย 2.1 ผู2บริหารระดับกระทรวงควรแต;งตั้งผู2 ประสานงานกลาง เช;น งานพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) งานพัฒนายุทธศาสตรUระดับกระทรวง เขตสุขภาพ นำข2อมูลไปส;งเสริม สนับสนุน และขยายผล การใช2รูปแบบการสร2างความรอบรู2ด2านสุขภาพผู2สูงอายุ แบบมีส;วนร;วม โดยสร2างกลุ;มผู2ดูแลผู2สูงอายุนักปฏิบัติ (Community of practice) ในเครือข;าย เพื่อเปLน แบบอย;างการปSองกันการเกิดการเกิดกระดูกพรุนใน ผู2สูงอายุ 2.2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ควรส;งเสริม สนับสนุน การขยายผลการใช2รูปแบบการสร2างความรอบ รู2ด2านสุขภาพผู2สูงอายุด2านการปSองกันอุบัติเหตุลื่นล2ม และประเมินภาวะเสี่ยงรวมทั้งการจัดเวทีเผยแพร;ความรู2 ด2านวิชาการด2านปSองกันโรคกระดูกพรุนในผู2สูงอายุ 2.3 ควรมีทีมส;วนกลาง เช;น งานพัฒนา ยุทธศาสตรUระดับกระทรวง เขตสุขภาพกำหนดเปLน ตัวชี้วัดที่ดูแลเรื่องการสร2างเสริมความรอบรู2ปSองกันโรค กระดูกพรุนในผู2สูงอายุ มาร;วมรับรู2ข2อมูล วางแผน นิเทศ ติดตาม จัดเวทีในการถอดบทเรียนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู2 2.4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดควรประสาน โรงพยาบาลทั่วไปพัฒนาให2มีระบบการคัดกรองผู2ปÖวย
vบทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้แก่ผู้สูงอายุเพ่ ือปอ้งกันโรคกระดูกพรุน 173 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ศึกษาวิจัยการทดสอบความแม;นยำของการใช2 “โนโมแก รม” เพื่อทำนายความเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุน โดยใช2ฐานข2อมูลของคนไทย 2.5 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห;งชาติ (สปสช) ควรส;งเสริมให2ผู2สูงอายุที่มีปMจจัยเสี่ยงให2เข2ารับ การตรวจประเมินมวลกระดูก ทุก 1-2 ป~ เพื่อดูแลคนที่ ยังไม;ได2เปLนโรคกระดูกพรุนจะได2เริ่มปSองกัน ส;วนคนเปLน แล2วจะได2รักษาด2วยความรวดเร็ว โดยไม;มีข2อจำกัดด2าน ราคาและเวลา ผลที่ได2คือสุขภาพที่ดีของคนไทยส;วนรวม
Nurses’ Roles in Promoting Health Literacy in Elderly People to Prevent Osteoporosis v ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี2 ประจําเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 174 เอกสารอ6างอิง 1. Kanis JA. Assessment of osteoporosis at the primary health-care level. Technical Report. World Health Organization Collaborating Centre for Metabolic Bone Diseases, University of Sheffield, UK: The University of Sheffield; 2007. 2. Gullberg B, Johnell O, Kanis JA. World-wide projections for hip fracture. Osteoporos int. 1997;7(5):407-13 3. ยุวดี พิบูลลีตระกูล สุภาพ อารีเอื้อ และ กมลรัตนU กิตติพิมพานนทU. ความสัมพันธUระหว;างความรู2เกี่ยวกับโรค กระดูกพรุน ความเสี่ยงในการหกล2มและพฤติกรรมปSองกันการหกล2มในสตรีสูงอายุกลุ;มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน. วารสารสาธารณสุขไทย. 2563;50(3):391-406. 4. ธนินนิตยU ลีรพันธU. 2557. โรคกระดูกพรุน. 2018 [เข2าถึงเมื่อ 2566/10/10]. เข2าถึงได2จาก http://www.taninnit.com/mor-keng-knowledge/mor-keng_genkm/91-thai-cate/km/osteoporosiskm/91-cancellous-bone.html. 5. ทวีชัย จันทรUเพ็ญ. ภาวะกระดูกสันหลังหักยุบหรือทรุดจากโรคกระดูกพรุน. [ออนไลนU]. 2566 [เข2าถึงเมื่อ 2566/11/10]. เข2าถึงได2จาก https://www.nakornthon.com/article/detail 6. มณฑิรา ธรรมสาลี. คู;มือการพยาบาลการส;งเสริมสุขภาพผู2สูงอายที่มีความเสี่ยงโรคกระดูกพรุน. แนวปฏิบัติ หน;วยยบริการสุขภาพปฐมภูมิฝÖายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตรUศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิด. 2557 [เข2าถึงเมื่อ 2566/12/12]. เข2าถึงได2จาก https://www2.si.mahidol.ac.th/division/nursing/sins/attachments/article/212/sins_nursing_manu al_2557_24.pdf 7. วิชญเวทยU รักษUกุลชน. โรคกระดูกพรุน อย;ารอให2สาย เริ่มต2นปSองกันได2ตั้งแต;ในวัยเด็ก. 2566 [เข2าถึงเมื่อ 2566/12/12]. เข2าถึงได2จาก https://www.nakornthon.com/article/getpagepdf/46. 8. สุนทร บวรรัตนเวช. โรคกระดูกพรุน ภัยเงียบที่มองไม;เห็น. [ออนไลนU]. 2566 [เข2าถึงเมื่อ 2566/10/10]. เข2าถึง ได2จาก https://www.bangkokinternationalhospital.com/th/doctors/dr-suthorn-bavonratanavech-2 9. ณัฐกานตU เสงี่ยมพร และณัฐพัชรU จันทรสกา. Osteoporosis in Menopause สูติศาสตรUล2านนา. [ออนไลนU]. 2566 [เข2าถึงเมื่อ 2566/10/10]. เข2าถึงได2จาก https:// 1.med.cmu.ac.th/obgyn/lecturestopics/topicreview/2315/. 10. Nutbeam D. The evolving concept of health literacy. Soc Sci Med. 2008;67(12):2072-8. 11. นิรันตา ไชยพาน. คู;มือกระบวนการสร2างความรอบรู2ด2านสุขภาพ ในการปSองกันควบคุมโรคและภัย สุขภาพ. [เข2าถึงเมื่อ 2566/11/11]. เข2าถึงได2จาก https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1188920211018040126.pdf
vบทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพ ให้แก่ผู้สูงอายุเพ่ ือปอ้งกันโรคกระดูกพรุน 175 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 12. วรรณศิริ นิลเนตร. วาสนา เรืองจุติโพธิ์พาน. ความรอบรู2ด2านสุขภาพกับวิชาชีพพยาบาล. วารสารคุณภาพชีวิตกับ กฎหมาย. 2019;15(2):1-18. 13. จิรณัฐ ชัยชนะ และกัญญดา ประจุศิลปะ. การศึกษาบทบาทพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลส;งเสริมสุขภาพตำบล. วารสารพยาบาลทหารบก. 2560;19(9):15-21. 14. วัชราพร เชยสุวรรณ. ความรอบรู2ด2านสุขภาพ : แนวคิดและการประยุกตUสู;การปฏิบัติการพยาบาล. วารสารแพทยU นาวี. 2560;3(3):183-97. 15. ณัฏฐUกานตU ปภากิจพงศUภัค. (2565). บทบาทพยาบาลในการส;งเสริมความรอบรู2ด2านสุขภาพของผู2สูงอายุใน สถานการณUการแพร;ระบาดของโรคโควิด-19. ศรีนครินทรUเวชสาร 2565;37(6):695-704. 16. แสงเดือน กิ่งแก2ว, นุสรา ประเสริฐศรี, และ ไวยพร พรมวงคU. บทบาทพยาบาลชุมชนในการสร2างเสริมความรอบรู2 ทางสุขภาพในผู2สูงอายุที่เปLนโรคเรื้อรัง. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา. 2562;27(1):3-12 17. นริสา วงศUพนารักษUและ อภิญญา วงศUพิริยโยธา. ผลของโปรแกรมส;งเสริมการรับรู2สมรรถนะแห;งตนสำหรับนิสิต พยาบาลต;อความรู2เกี่ยวกับบุหรี่และการรับรู2สมรรถนะแห;งตนในการส;งเสริมการเลิกบุหรี่. พยาบาลสาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม;. 2565;49(2):141–52. 18. ศุภศิลป¨ สุนทราภา. ตากแดดวันละนิด พิชิต “กระดูกพรุน” [ออนไลนU]. 2566 [เข2าถึงเมื่อ 2566/10/10]. เข2าถึงได2จาก https://www.thaihealth.or.th/?p=285041. 19. บุษบง หนูหล2า พัชรพงศU พันธUอุไร และ ศุภขจี แสงเรืองอ;อน. การเปรียบเทียบความหนาแน;นของมวลกระดูกของ นักเรียนแพทยUทหารและนักศึกษาแพทยUชั้นป~ที่ 2 วิทยาลัยแพทยศาสตรUพระมงกุฎเกล2าป~การศึกษา 2554 ก;อน และหลังจากได2รับการฝ¹ก โดยใช2เครื่องอัลตร2าซาวดUวัดความหนาแน;นของมวลกระดูก. เวชสารแพทยUทหารบก. 2559;69(1):31-6. 20. นิธิตา ป°ยอมรพันธุUเพ็ญนภา ชลปฐมพิกุลเลิศ วรางคณา ราชชํารอง และชาลี ศรีประจันทรU. กระดูก มวล กล2ามเนื้อ และระดับอาการสมองเสื่อมของผู2สูงอายุในพื้นที่หมู;บ2านคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารวิจัย เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่. 2561;9(6):422-29.
ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 176 ประชาสัมพันธ,การส.งบทความเพื่อตีพิมพ,ใน วารสารสมาคมพยาบาลแห.งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ วารสารสมาคมพยาบาลแห-งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ได=รับการรับรองให=อยู-ใน ฐานข=อมูลเพื่อการสืบค=นงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และการอ=างอิงของบทความที่ตีพิมพJใน วารสารวิชาการไทย หรือ Thai-Journal Citation Index (TCI) กลุ-มที่ 2 ลักษณะของบทความที่ ตีพิมพJมีดังนี้ 1. เปeนบทความวิจัยหรือบทความวิชาการ 2. เปeนบทความด=านการปฏิบัติทางการพยาบาล การศึกษาพยาบาล และด=านสุขภาพที่ เกี่ยวข=อง 3. ต=องเปeนบทความที่ไม-เคยตีพิมพJในวารสารอื่นมาก-อนทั้งในและต-างประเทศ รวมทั้งภาษา อื่น ๆ 4. บทความเปeนฉบับภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ 5. บทความวิจัยต=องผ-านการพิจารณา และได=รับการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษยJโดย แนบสำเนาใบรับรองจริยธรรมการวิจัย ฯ มาพร=อมกับบทความต=นฉบับที่จะส-งขอตีพิมพJ ความรับผิดชอบของผูIเขียน 1. เนื้อหาและข=อคิดเห็นใด ๆ ที่ตีพิมพJในวารสารสมาคมพยาบาลฯ ถือเปeนความรับผิดชอบ ของผู=เขียนเท-านั้น ผู=เขียนบทความต=องศึกษารายละเอียดหลักเกณฑJการจัดทำต=นฉบับตามที่วารสาร กำหนด และเนื้อหาส-วนภาษาอังกฤษต=องได=รับการตรวจสอบจากเจ=าของภาษามาแล=ว 2. ส-งบทความต=นฉบับที่มีความยาวไม.เกิน 18 หนIา โดยส-งทาง Online ระบบ Thaijo https://www.tci-thaijo.org/index.php/jnorthnurse และทางอีเมล E-mail address : [email protected] 3. ชำระค-าตอบแทนผู=ทรงคุณวุฒิอ-านบทความ เรื่องละ 3,500 บาท โดยโอนเงินเข=าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย,สาขาคณะแพทยศาสตรJ มหาวิทยาลัยเชียงใหม- บัญชีออมทรัพยJชื่อ สมาคม พยาบาลแห-งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ บัญชีเลขที่566-2-06297-7 ขั้นตอนการการพิจารณาบทความ 1. เมื่อกองบรรณาธิการวารสารได=รับบทความวิจัยหรือบทความวิชาการแล=ว จะพิจารณา เบื้องต=นตามหลักเกณฑJการจัดทำต=นฉบับที่วารสารกำหนดและคุณภาพของบทความ แล=วแจ=งผลการ พิจารณาเบื้องต=นให=ผู=เขียนรับทราบ 2. บทความที่ผ-านการพิจารณาเบื้องต=น จะถูกส-งต-อให=ผู=ทรงคุณวุฒิภายนอกตามความ เชี่ยวชาญของสาขาวิชา จำนวน 3 ท-าน เพื่อพิจารณากลั่นกรอง (Blinded peer review)
177 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 3. บทความที่ไม-ผ-านการพิจารณาเบื้องต=นตามหลักเกณฑJการจัดทำต=นฉบับที่วารสารกำหนด และบทความที่ไม-ผ-านการพิจารณาด=านคุณภาพ กองบรรณาธิการจะแจ=งผลการพิจารณาเบื้องต=นให= ผู=เขียนรับทราบเพื่อพิจารณาปรับปรุง 4. บทความที่ได=รับการพิจารณาจากผู=ทรงคุณวุฒิแล=ว กองบรรณาธิการจะแจ=งผลการ พิจารณาและข=อเสนอแนะของผู=ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ท-านให=แก-ผู=เขียน 5. ผู=เขียนบทความพิจารณาปรับแก=ตามข=อเสนอแนะของผู=ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ท-าน พร=อมแนบ เอกสารชี้แจงการปรับแก=บทความ ส-งกลับมายังกองบรรณาธิการ ภายใน 2 สัปดาหJ 6. เมื่อกองบรรณาธิการพิจารณาว-าบทความได=รับการปรับแก=ตามข=อเสนอแนะอย-าง ครบถ=วนแล=ว จะแจ=งผลการพิจารณาให=ผู=เขียน เพื่อยืนยันรับการตีพิมพJบทความอย-างเปeนลายลักษณJ อักษร 7. เมื่อบทความได=รับการตีพิมพJแล=ว ผู=เขียนสามารถดาวนJโหลดบทความได=จาก website ของวารสาร https://www.tci-thaijo.org/index.php/jnorthnurse ซึ่งจะเปeนรูปแบบของ EJournal
ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 178 หลักเกณฑ,และรูปแบบการจัดทำตIนฉบับบทความเพื่อขอรับ การตีพิมพ,ในวารสารสมาคมพยาบาลแห.งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ขIอกำหนดในการเตรียมตIนฉบับ § ขนาดกระดาษ A 4 ความยาวทั้งหมดไม-เกิน 18 หน=ารวมเอกสารอ=างอิง § กรอบของขIอความ ในแต-ละหน=าให=มีขอบเขตดังนี้ จากขอบบนของกระดาษ 1.25 นิ้ว ขอบล-าง 1.0 นิ้ว ขอบซ=าย 1.25 นิ้ว ขอบขวา 1.0 นิ้ว § ระยะห.างระหว.างบรรทัด หนึ่งช-วงบรรทัดของเครื่องคอมพิวเตอรJ § ตัวอักษร ใช= (TH SarabunPSK) และพิมพJตามที่กำหนดดังนี้ • ชื่อเรื่อง (Title) - ภาษาไทย ขนาด 24 point ตัวหนา จัดกึ่งกลาง - ภาษาอังกฤษ ขนาด 24 point ตัวหนา จัดกึ่งกลาง • ชื่อผูIเขียน (ทุกคน) - ชื่อผู=เขียน ภาษาไทย – อังกฤษ ชื่อย-อวุฒิการศึกษา ขนาด 18 point ตัวหนา จัดกึ่งกลาง - ตำแหน-ง/สถานที่ปฏิบัติงาน ผู=เขียน ภาษาไทย-อังกฤษ ขนาด 16 point ตัวหนา จัดกึ่งกลาง • บทคัดย.อ - ชื่อ “บทคัดย-อ” และ “Abstract” ขนาด 16 point ตัวหนา จัดกึ่งกลาง - ข=อความบทคัดย-อภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ขนาด 16 point ตัวธรรมดา กำหนดชิดขอบ ความยาวไม-เกิน 1/2 หน=า ภาษาไทย และ 1/2 หน=าภาษาอังกฤษ • คำสำคัญ (Keywords) พิมพJต-อท=ายบทคัดย-อ (Abstract) ทั้งภาษาไทย และ อังกฤษ เลือกคำสำคัญที่เกี่ยวข=องกับบทความ ประมาณ 3-4 คำ ขนาด 16 point • รายละเอียดบทความ - หัวข=อใหญ- ขนาด 17 point ตัวหนา กำหนดชิดซ=าย - หัวข=อรอง ขนาด 16 point ตัวหนา กำหนดชิดซ=าย - ตัวอักษร ขนาด 16 point ตัวธรรมดา กำหนดชิดขอบ - ย-อหน=า 0.5 นิ้ว • เนื้อหาของบทความวิจัย กำหนด ดังนี้ - ความเปeนมาและความสำคัญของปéญหา - คำถามการวิจัย (ถ=ามี)
179 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ - วัตถุประสงคJการวิจัย - สมมุติฐานการวิจัย (ถ=ามี) - กรอบแนวคิดในการวิจัย (อธิบายแนวคิด ทฤษฎีและ/หรือสรุปเปeนแผนภูมิ ประกอบ) - วิธีดำเนินการวิจัย (รายละเอียดของประชากร กลุ-มตัวอย-าง การกำหนดขนาด กลุ-มตัวอย-าง เกณฑJการคัดเข=าและออกของกลุ-มตัวอย-าง เครื่องมือที่ใช=ในการวิจัย โดยระบุ รายละเอียดของเครื่องมือ การหาคุณภาพของเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข=อมูล และสถิติที่ใช=ในการ วิจัย) - ผลการวิจัย - สรุปและอภิปรายผล - ข=อเสนอแนะ การนำผลวิจัยไปใช=ประโยชนJ และการวิจัยครั้งต-อไป - เอกสารอ=างอิง (ไม-เกิน 15 รายการ) • เนื้อหาของบทความวิชาการ กำหนด ดังนี้ - บทคัดย-อ - บทนำ - เนื้อหา นำเสนอเนื้อหาอย-างมีหลักการ ทฤษฎี หรือมีหลักฐานอ=างอิงอย-างถูกต=อง ตาม หลักวิชาการ มีความเปeนเหตุเปeนผลที่น-าเชื่อถือ และมีการอ=างอิงข=อมูลที่เชื่อถือได= - บทสรุป § คำศัพท, ให=ใช=ศัพทJบัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน § ภาพและตาราง กรณีมีภาพ หรือตารางประกอบ ชื่อภาพให=ระบุคำว-า ภาพที่ ไว=ใต= ภาพประกอบและจัดข=อความบรรยายภาพให=อยู-กึ่งกลางหน=ากระดาษ ชื่อตารางให=ระบุคำว-า ตาราง ที่ หัวตารางให=จัดชิดซ=ายของหน=ากระดาษ และใต=ภาพประกอบหรือตารางให=บอกแหล-งที่มาโดย พิมพJใต=ชื่อภาพใช=ตัวอักษรขนาด 14 point ตัวปกติ เส=นของตารางให=มีเพียง 3 เส=น คือ เส=นหัวข=อ ตาราง และเส=นปêดท=ายตาราง § กิตติกรรมประกาศ ให=ประกาศเฉพาะการได=รับทุนสนับสนุนการวิจัย การส.งตIนฉบับบทความวิจัย/ วิชาการเพื่อขอรับการตีพิมพ, ผู=เขียนส-งบทความต=นฉบับ ทาง E-mail : [email protected] ส-งถึงหน-วยงานวารสาร สมาคมพยาบาลแห-งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ และทาง Online ระบบ Thaijo https://www.tci-thaijo.org/index.php/jnorthnurse
ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 180 การเขียนเอกสารอIางอิง 1. เอกสารอ=างอิงทุกฉบับต=องมีการอ=างอิงที่กล-าวถึงในบทความ 2. ใช=ระบบตัวเลขในการอ=างอิง โดยพิมพJตัวยก 3. เรียงลำดับการอ=างอิงตามเอกสารอ=างอิงท=ายบทความ โดยเรียงลำดับหมายเลขอ=างอิงเริ่ม จากหมายเลข 1,2,3 ไปตามลำดับที่อ=างก-อน-หลัง โดยใช=เลขอารบิค และทุกครั้งที่มีการอ=างซ้ำจะต=อง ใช=หมายเลขเดิมในการอ=างอิง 4. การอ=างอิงเอกสารมากกว-า 1 ฉบับต-อเนื่องกันจะใช=เครื่องหมายยติภังคJ(hyphen หรือ -) เชื่อมระหว-างฉบับแรกถึงฉบับสุดท=าย เช-น 1-3 แต-ถ=าอ=างถึงเอกสารที่มีลำดับไม-ต-อเนื่องกัน จะใช= เครื่องหมายจุลภาค (comma หรือ,) โดยไม-มีการเว=นช-วงตัวอักษร เช-น 4,6,10 5. รูปแบบการพิมพJเอกสารอ=างอิงท=ายบทความให=พิมพJตามลำดับการอ=างอิงตามหมายเลขที่ได= อ=างถึงในเนื้อหาของบทความ และไม-แยกประเภทของเอกสารที่ใช=อ=างอิง 6. รายละเอียดการเขียนเอกสารอ=างอิงท=ายบทความ ให=ใช=ตามระบบแวนคูเวอรJ (Vancouver) ดังนี้ การอIางอิงบทความจากวารสาร (Articles in Journals) กรณีเปeนวารสารภาษาไทย ให=ใช=ชื่อตามที่ปรากฏ กรณีเปeนวารสารภาษาอังกฤษ ให=ใช=ชื่อย-อ ของวารสารที่ปรากฏใน Index Medicus ตัวอย-าง บุญมี ภูด-านงัว. บทบาทพยาบาลในการส-งเสริมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภJต-อการนับและ บันทึกลูกดิ้น. วารสารพยาบาลศาสตรJและสุขภาพ 2557;12(1):135-46. Krejci RV, Morgan DW. Determining sample size for research activities. Educ Psychol Meas 1970;30(3):607-10. การอIางอิงเอกสารที่เป}นหนังสือหรือตำรา ประกอบด=วย 2 แบบ 1. การอ=างอิงหนังสือทั้งเล-ม มีรูปแบบการอ=างอิง ดังนี้ ชื่อผู=แต-ง (Author). ชื่อบทความ (Title of the article). ชื่อวารสาร (Title of the Journal) ป†ที่ พิมพJ(Year);เล-มที่ของวารสาร (Volume & Number/Issue):หน=าแรก-หน=าสุดท=าย (Page). ชื่อผู=แต-ง (Author). ชื่อหนังสือ (Title of the book). ครั้งที่พิมพJ (Edition). เมืองที่พิมพJ (Place of Publication): สำนักพิมพJ (Publisher); ป† (Year).
181 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ตัวอย-าง กองสุขศึกษา กระทรวงสาธารณสุข. พฤติกรรมการบริโภค หวาน มัน เค็ม. นนทบุรี: กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข; 2556. 2. การอ=างอิงบทใดบทหนึ่งของหนังสือ ที่มีผู=แต-งรายบทและมีบรรณาธิการหนังสือ (Chapter in a book) มีรูปแบบการอ=างอิง ดังนี้ การอIางอิงเอกสารที่เป}นหนังสือประกอบการประชุม/รายงานการประชุม (Conference proceeding) มีรูปแบบ ดังนี้ การอIางอิงบทความที่นำเสนอในการประชุม/สรุปผลการประชุม (Conference paper) มี รูปแบบ ดังนี้ การอIาอิงเอกสารที่เป}นวิทยานิพนธ,(Thesis/ Dissertation) มีรูปแบบการเขียนอ=างอิง ดังนี้ ตัวอย-าง จุฑามาศ สนกนก. ปéจจัยที่มีผลต-อแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองเพื่อการสร=างสรรคJผลงานทางวิชาการ ของอาจารยJสถานบันอุดมศึกษาเอกชน. วิทยานิพนธJครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณJมหาวิทยาลัย; 2553. ชื่อผู=แต-ง (Author). ชื่อบท (Title of a chapter). ใน (In): ชื่อบรรณาธิการ, บรรณาธิการ/ Editor (s). ชื่อหนังสือ (Title of the book). ครั้งที่พิมพJ (Edition). เมืองที่พิมพJ (Place of Publication): สำนักพิมพJ (Publisher); ป†พิมพJ (Year). หน=า/p.หน=าแรก–หน=าสุดท=าย. ชื่อบรรณาธิการ, บรรณาธิการ. ชื่อเรื่อง. ชื่อการประชุม; วัน เดือน ป† ที่ประชุม; สถานที่จัด ประชุม. เมืองที่พิมพJ: สำนักงานพิมพJ; ป†ที่พิมพJ. ชื่อผู=เขียน. ชื่อเรื่อง. ใน/In: ชื่อบรรณาธิการ,บรรณาธิการ/ editor(s). ชื่อการประชุม; วัน เดือน ป† ที่ประชุม; สถานที่จัดประชุม. เมืองที่พิมพJ: สำนักพิมพJ; ป†ที่พิมพJ.หน=า/p.หน=าแรก–หน=า สุดท=าย. ชื่อผู=นิพนธJ. ชื่อเรื่อง. ประเภท/ระดับปริญญา. เมืองที่พิมพJ: มหาวิทยาลัย; ป†ที่ได=ปริญญา.
ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 182 การอIางอิงเอกสารอิเล็กทรอนิกส,(Electronic material) ใช=การอ=างอิงตามรูปแบบประเภท ของเอกสารโดยจะเพิ่มเติมข=อมูลบอกประเภทองสื่อเอกสารที่นำมาอ=างอิง วันที่สืบค=นข=อมูล และ แหล-งที่มาของข=อมูล ดังนี้ ตัวอย-าง ยุทธนา พรหมณี. วิวัฒนาการทางความคิดเกี่ยวกับผู=นำ : ทฤษฎีภาวะผู=นำ [ออนไลนJ]. 2551 [เข=าถึง เมื่อ 2556/3/17]. เข=าถึงได=จาก: www.pncc.ac.th/pncc/wrod/re/r22.doc การอIางอิงบทความวารสารบนอินเตอร,เน็ต (Journal article on the Internet) ตัวอย-าง วนิดา สติประเสริฐ, ยุวดี ลีลัคนาวีระ และพรนภา หอมสินธุJ. ผลการชี้แนะต-อพฤติกรรมสุขภาพ และระดับความดันโลหิตของผู=ป®วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม-ทราบสาเหตุที่ไม-สามารถ ควบคุมความดันโลหิตได=. วารสารการพยาบาลและการศึกษา [ออนไลนJ]. 2558 [เข=าถึงเมื่อ 2558/12/25];8(3):33–51. เข=าถึงได=จาก: http://www.scppk.com2_tps13/marticle.php?id=113114 Krejci RV, Morgan DW. Determining sample size for research activities. Educ Psychol Meas [Internet] 1970 [cited 2021 Dec,3];30(3):607-10. Available from: https://doi.org/10.1177/001316447003000308 ชื่อผู=แต-ง (Author). ชื่อบทความ (Title of the article) [ประเภทของสื่อ]. ป†ที่พิมพJ [เข=าถึง เมื่อ/cited ป† เดือน วันที่]. เข=าถึงได=จาก/Available from: http://......... ชื่อผู=แต-ง (Author). ชื่อบทความ (Title of the article). ชื่อวารสาร (Title of the Journal) [ประเภทของสื่อ]. ป†ที่พิมพJ [เข=าถึงเมื่อ/cited ป† เดือน วันที่];ป†ที่/เล-มที่:หน=า/about screen. เข=าถึงได=จาก/Available from:http//……….