The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารสามาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ปีที่ 29 เล่มที่ 1 ประจำเดือน มกราคา - มิถุนายน 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natnorth.cm, 2023-06-26 13:37:19

วารสาร ปีที่ 29 เล่มที่ 1 ประจำเดือน มกราคา - มิถุนายน 2566

วารสารสามาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ปีที่ 29 เล่มที่ 1 ประจำเดือน มกราคา - มิถุนายน 2566

Keywords: วารสารสามาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ

วารสาร สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ นื ปีที่ 29 เล่มที่ 1 ประจำ เดือ ดื น มกราคม - มิถุมิน ถุ ายน 2566 ติดต่อเรา 053-935030 www.natnorth.org [email protected] JNATNO Vol. 29 No.1 JANUARY-JUNE 2023 JOURNAL OF NURSES' ASSOCIATION OF THAILAND NORTHERN OFFICE ISSN 2985-0347 (Online)


วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ วัตถุประสงค1. เผยแพร*ความรู0ทางวิชาการและความก0าวหน0าของวิชาชีพการพยาบาล 2. เป@นสื่อกลางให0ทราบถึงข0อมูล สถานภาพและเกียรติศักดิ์ ศักดิ์ศรีแห*งวิชาชีพ 3. เป@นศูนยNกลางรวบรวมและเผยแพร*ความคิดของมวลสมาชิกเสริมสร0างความแข็งแกร*งแห*งวิชาชีพ 4. ก*อให0เกิดพลังสามัคคีสัมพันธภาพอันดีระหว*างมวลสมาชิก เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของ องคNกร วิชาชีพพยาบาล วารสารสมาคมพยาบาลแห*งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ เป@นวารสารราย 6 เดือน กำหนดออกปWละ 2 ฉบับ ดังนี้ ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม ค.าธรรมเนียมในการตีพิมพ-บทความ ค*าดำเนินการพิจารณาบทความเพื่อลงตีพิมพNวารสาร บทความละ 3,500 บาท เจ0าของ: สมาคมพยาบาลแห*งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ สำนักงาน: อาคาร 1 ชั้น 6 คณะพยาบาลศาสตรN มหาวิทยาลัยเชียงใหม* 110/406 ถนนอินทวโรรส ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม* 50200 โทร. 0-5389-4213, 0-5393-5030 โทรสาร 0-5389-4213 ที่ปรึกษา: อ.ดร.ปijนนเรศ กาศอุดม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร* นายกสมาคมฯ บรรณาธิการ: ผศ.ดร.รุ*งฤดี วงคNชุม คณะพยาบาลศาสตรNแมคคอรNมิค มหาวิทยาลัยพายัพ ผู0ช*วยบรรณาธิการ: ผศ.ดร.ปรารถนา ลังการNพินธุN คณะพยาบาลศาสตรNแมคคอรNมิค มหาวิทยาลัยพายัพ อ.พูนพิลาศ โรจนNสุพจนN คณะพยาบาลศาสตรNแมคคอรNมิค มหาวิทยาลัยพายัพ กองบรรณาธิการ: ศ.ดร.ดาราวรรณ ตlะปiนตา คณะพยาบาลศาสตรN มหาวิทยาลัยบูรพา ผศ.ดร.อุษณียN จินตะเวช คณะพยาบาลศาสตรN สถาบันการจัดการปmญญาภิวัฒนN อ.ดร.ฬุpีญา โอชารส คณะพยาบาลศาสตรN สถาบันการจัดการปmญญาภิวัฒนN รศ.ดร.เดชา ทำดี คณะพยาบาลศาสตรN มหาวิทยาลัยเชียงใหม* ผศ.ดร.ศรินทรNทิพยN ชวพันธุN คณะพยาบาลศาสตรNแมคคอรNมิค มหาวิทยาลัยพายัพ อ.ดร.อัศนี วันชัย วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช อ.ดร.ปลื้มจิต โชติกะ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม* อ.ดร.ศิริกาญจนN จินาวิน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร*


สารบัญ ผลของการใช0แผนการชี้แนะต*อค*าความดันโลหิตและคุณภาพชีวิตของผู0สูงอายุ 1 โรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม*ได0แผนกผู0ปqวยนอกโรงพยาบาลโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี Effects of Using Coaching on Blood Pressure and Quality of Life in the Elderly with Uncontrolled Hypertension in the Outpatient Department Khoksamrong Hospital, Lopburi Province ภูรดา ยังวิลัย Purada Yaungwilai ผลของดนตรีบำบัดต*อความวิตกกังวลและสัญญาณชีพของผู0ปqวยที่รับการผ*าตัดแบบวันเดียวกลับ 17 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม* The Effects of Music Therapy on Anxiety Level and Vital Sings in One Day Surgery patients, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital ดาราวรรณ คำปา Darawan Kumpa เดชา ทำดี Dacha Tamdee ประสิทธิผลของการให0ความรู0ร*วมกับการใช0สเปรยNสมุนไพรต*อระดับความปวดและความสามารถในการ 30 ทำกิจกรรมของผู0สูงอายุเข*าเสื่อม The Effectiveness of Teaching and the Use of Herbal Spray on Level of Pain and Activities Ability in Elderly with Knee Osteoarthritis ณัฏฐ-ธัญศา ยิ่งยงเมธี Natthansa Yingyongmatee อัญสุรีย- ศิริโสภณ Ansuree Sirisophon ดุจเดือน จิตเงิน Dutduen Chitngern ละมูล จาบทอง Lamun Chapthong ผลของการพยาบาลทางไกลต*อความสามารถของผู0ดูแลในการดูแลผู0ปqวยโรคหลอดเลือดสมอง 43 หลังจำหน*ายกลับบ0าน โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม* The Effects of Telenursing on the Abilities of Caregivers of Patients with Stroke after Discharging from Chiang Mai Neurological Hospital วิริยภรณ- สิงห-ทองวรรณ Wiriyaporn Singthongwan สุพัตรา ปวนไฝ Supattra Puanfai


การพัฒนาคุณภาพการวางแผนจำหน*ายสำหรับผู0ปqวยโรคไตวายระยะสุดท0ายที่ได0รับการล0างไตทางช*องท0อง 58 อย*างต*อเนื่อง โรงพยาบาลนครพิงคN Quality Development of Discharge Planning for Patients with End Stage of Renal Disease using Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis, Nakornping Hospital ศุภรดา ประเสริฐกุล Supharada Prasertkul สมใจ ศิระกมล Somjai Sirakamon บุญพิชชา จิตต-ภักดี Bunpitcha Chitpakdee ผลของการจัดการเรียนการสอนแบบพี่สอนน0องต*อความรู0และความพึงพอใจของนักศึกษา 79 รายวิชากายวิภาคและสรีรวิทยาระบบประสาท วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม* The Effects of Peer Tutoring on Knowledge and Satisfaction of Nursing Students in The Anatomy and Physiology of Nervous System Course, Boromarajonani College of Nursing Chiang Mai วริศา วรวงศ- Varisa Voravong พูลทรัพย- ลาภเจียม Poonsab Lapchiem วราภรณ- บุญยงค- Waraporn Boonyong วรรณภา กาวิละ Wanapa Gavila ภาวะพฤฒพลังของผู0สูงอายุในเขตชุมชนเมือง จังหวัดเชียงใหม* 92 Active Aging of the Elderly in Urban Area, Chiang Mai Province พิชชาวีร- โอบอtอม Pitchawee Oborm อภิชาติ ไตรแสง Apichart Traisaeng เสาวลักษณ- ชายทวีป Saowalak Chaytaweep เมธี วงศ-วีระพันธุ- Metree Vongverapant ปyยะพันธุ- นันตา Piyaphun Nunta ความบกพร*องทางเพศของสตรีวัยหมดประจำเดือน 104 Sexual Dysfunction in Menopausal Women ประวีดา คำแดง Praveda Kamdaeng สิริยาภรณ- เจนสาริกา Siriyaphon Jensariga การประยุกตNใช0การพูดกับตนเองทางบวกในการปฏิบัติการพยาบาล:กรณีศึกษาผู0ปqวยวัยรุ*นโรคธาลัสซีเมีย 119 ที่มีภาวะซึมเศร0า The Application of Positive Self-talk Technique in Nursing Clinical Practice: A Case Study of an Adolescent Thalassemic Patient with Depression ปวิมล มหายศนันท- Pavimon Mahayosanan ยุวดี อัครลาวัณย- Yuwadee Akkaralawan เริงฤทธ- ทองอยู. Rerngrit Thongyu


การพัฒนาภาวะผู0นำในตนเองของพยาบาลวิชาชีพหลังการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 131 Development of Self-Leadership among Registered Nurses after COVID - 19 Pandemic นันทวดี วงค-บุตร Nantawadee Wongbud


บรรณาธิการแถลง วารสารสมาคมพยาบาลแห*งประเทศไทย สาขาภาคเหนือ ฉบับที่ 1 ปW 2566 นี้มีบทความที่น*าสนใจตีพิมพNทั้งสิ้น จำนวน 10 เรื่อง ประกอบไปด0วยบทความวิจัย จำนวน 7 เรื่อง ได0แก* ผลของการใช0แผนการชี้แนะต*อค*าความดันโลหิต และคุณภาพชีวิตของผู0สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม*ได0แผนกผู0ปqวยนอกโรงพยาบาลโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี ผลของดนตรีบำบัดต*อความวิตกกังวลและสัญญาณชีพของผู0ปqวยที่รับการผ*าตัดแบบวันเดียวกลับ โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม* ประสิทธิผลของการให0ความรู0ร*วมกับการใช0สเปรยNสมุนไพรต*อระดับความปวดและความสามารถในการทำ กิจกรรมของผู0สูงอายุเข*าเสื่อม ผลของการพยาบาลทางไกลต*อความสามารถของผู0ดูแลในการดูแลผู0ปqวยโรคหลอดเลือด สมองหลังจำหน*ายกลับบ0าน โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม*การพัฒนาคุณภาพการวางแผนจำหน*ายสำหรับผู0ปqวยโรคไต วายระยะสุดท0ายที่ได0รับการล0างไตทางช*องท0องอย*างต*อเนื่อง โรงพยาบาลนครพิงคNผลของการจัดการเรียนการสอนแบบพี่ สอนน0องต*อความรู0และความพึงพอใจของนักศึกษา รายวิชากายวิภาคและสรีรวิทยาระบบประสาท วิทยาลัยพยาบาลบรม ราชชนนี เชียงใหม* ภาวะพฤฒพลังของผู0สูงอายุในเขตชุมชนเมือง จังหวัดเชียงใหม* และบทความวิชาการ จำนวน 3 เรื่อง ได0แก* ความบกพร*องทางเพศของสตรีวัยหมดประจำเดือน การประยุกตNใช0การพูดกับตนเองทางบวกในการปฏิบัติการ พยาบาล: กรณีศึกษาผู0ปqวยวัยรุ*นโรคธาลัสซีเมียที่มีภาวะซึมเศร0าการพัฒนาภาวะผู0นำในตนเองของพยาบาลวิชาชีพหลัง การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทั้งนี้ทางวารสารฯ ได0จัดผู0ทรง คุณวุฒิพิจารณาบทความ จำนวน 3 ท*านต*อ 1 เรื่อง ขอขอบพระคุณผู0ทรงคุณวุฒิ และกองบรรณาธิการทุกท*านที่ช*วยพิจารณา ให0ข0อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงต0นฉบับให0 เนื้อหามีความสมบูรณNมากที่สุด คณะผู0จัดทำหวังเป@นอย*างยิ่งว*าผู0อ*านจะได0รับประโยชนNอย*างเต็มที่ จากเนื้อหาสาระของ วารสารนี้ ท0ายที่สุดนี้ขอเชิญชวนพยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการ นักวิจัย และสมาชิกสมาคม พยาบาลแห*งประเทศไทยฯ ทุก ท*านส*งบทความเพื่อขอรับการตีพิมพNในวารสาร เพื่อเป@นการพัฒนาความรู0 พัฒนาวิชาชีพ และสมาคมฯ ของเราให0 ก0าวหน0ายิ่ง ๆ ขึ้นไป ผู0ช*วยศาสตราจารยN ดร.รุ*งฤดี วงคNชุม บรรณาธิการ


vผลของการใช้แผนการช้ ีแนะต่อค่าความดันโลหิตและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูงท่ ีควบคุมไม่ได้แผนกผู้ปว่ยนอกโรงพยาบาลโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี 1 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ผลของการใช้แผนการช้ ีแนะต่อค่าความดันโลหิตและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูงท่ ีควบคุมไม่ได้แผนกผู้ปว่ยนอกโรงพยาบาลโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี Effects of Using Coaching on Blood Pressure and Quality of Life in the Elderly with Uncontrolled Hypertension in the Outpatient Department Khoksamrong Hospital, Lopburi Province ภูรดา ยังวิลัย พย.ม* Purada Yaungwilai, M.N.S* Corresponding author: E-mail: [email protected] Received: 8 Mar 2023, Revised: 15 Apr 2023, Accepted: 25 Apr 2023 *พยาบาลวิชาชีพ แผนกผูSปUวยนอก โรงพยาบาลโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี *Registor Nurse, Out Patient Department Khoksamrong Hospital, Lopburi Province บทคัดย'อ การวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) ครั้งนี้มีวัตถุประสงคPเพื่อศึกษาผลของการใชZแผนการ ชี้แนะต\อค\าความดันโลหิต และคุณภาพชีวิต ในผูZสูงอายุที่เปbนโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม\ไดZจำนวน 46 คน ระหว\างวันที่ 1 มกราคม 2566- 1 มีนาคม 2566 กลุ\มทดลองไดZแก\กลุ\มตัวอย\างเดิมที่ศึกษาวิจัยในปk 2563 เรื่องการ เปรียบเทียบผลของการชี้แนะและการสอนสุขศึกษาต\อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิตของผูZสูงอายุโรค ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม\ไดZ แผนกผูZปnวยนอก โรงพยาบาลโคกสำโรง จังหวัดลพบุรีกลุ\มทดลองจำนวน 23 คน และสุ\มเขZากลุ\มควบคุม จำนวน 23 คน โดยมีคุณสมบัติตามเกณฑPที่กำหนด ซึ่งจับคู\ใหZมีลักษณะคลZายคลึงกันในเรื่อง เพศ อายุ ระดับการศึกษา และภาวะสุขภาพ เครื่องมือที่ใชZเก็บรวบรวมขZอมูลประกอบดZวย แบบสอบถามขZอมูลทั่วไป และแบบประเมินคุณภาพชีวิตของผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม\ไดZสถิติที่ใชZในการวิเคราะหPขZอมูล คือ ความถี่ รZอยละ ค\าเฉลี่ย ส\วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Dependent t-test และ Independent t-test ผลการวิจัยพบว\า หลังจากที่ไดZใชZแผนการชี้แนะโดยใชZแนวคิดการชี้แนะของแฮส (HASS) มาประยุกตPใชZผูZสูงอายุกลุ\ม ทดลองมีระดับความดันโลหิตลดลงกว\าก\อนการทดลอง และลดลงกว\ากลุ\มควบคุม คะแนนเฉลี่ยของคุณภาพชีวิต เพิ่มขึ้นกว\าก\อนการทดลอง และเพิ่มขึ้นมากกว\ากลุ\มควบคุมโดยไดZผลแตกต\างกันอย\างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) โดยสรุป ผลจากการศึกษาแสดงใหZเห็นว\าการประยุกตPใชZแผนการชี้แนะของแฮส (HASS)ส\งผลใหZ คะแนน เฉลี่ยระดับความดันโลหิตลดลง และคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น สอดคลZองกับการศึกษาเดิมปk 2563 แมZเวลาจะ ผ\านไป 3 ปk ความคงทนของโปรแกรมยังคงอยู\ ดังนั้นเพื่อใหZการดูแลสุขภาพของผูZสูงอายุที่เปbนโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมไม\ไดZ มีประสิทธิภาพ และผูZสูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น จึงควรเผยแพร\แผนการชี้แนะนี้ และนำไป ประยุกตPใชZเพื่อขยายผลต\อไป คำสำคัญ แผนการชี้แนะ คุณภาพชีวิต ผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม\ไดZ


v Effects of Using Coaching on Blood Pressure and Quality of Life in the Elderly with Uncontrolled Hypertension in the Outpatient Department Khoksamrong Hospital, Lopburi Province ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 2 Abstract This quasi-experimental research aimed to explore the effects of using coaching on blood pressure in 46 elderly people with uncontrollable hypertension between January 1, 2023, to March 1, 2023. The samples were the same group as the study of the effects of using coaching and normal health education in the elderly with uncontrolled hypertension in the outpatient department, Khoksamrong Hospital, Lopburi Province in 2020.14The experimental and the control group consisted of 23 elderly and random classified control group 23 elderly with uncontrolled hypertension who had the same criteria in gender, age, education, and health status. The research instruments were a general information questionnaire and a quality-of-life assessment form for elderly with uncontrolled hypertension. The statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test for dependent samples and independent samples. The results revealed that the experimental group had a lower blood pressure and a higher average score of quality of life than the control group (p< .05). In conclusion, the results of this study showed that coaching affected decreasing blood pressure level and increasing quality of life of elderly with uncontrolled hypertension. The results of this study are consistent with the original study in 2020 and the effects remain after three years. Thus, to provide effective care and increase quality of life of elderly with uncontrolled hypertension, coaching should be disseminated and applied for further results. Keywords: Coaching on Health, Quality of Life, Elderly with uncontrolled hypertension


vผลของการใช้แผนการช้ ีแนะต่อค่าความดันโลหิตและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูงท่ ีควบคุมไม่ได้แผนกผู้ปว่ยนอกโรงพยาบาลโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี 3 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ความเปKนมาและความสำคัญของปQญหา ปíจจุบันทั่วโลกมีผูZสูงอายุ หรือผูZที่อายุ 60 ปkขึ้น ไปมากถึง 962 ลZานคน หรือรZอยละ 13 ของประชากร โลกทั้งหมด กระจายอยู\ทุกทวีปที่เปลี่ยนเปbนสังคมสูงวัย เรียบรZอยแลZว ยกเวZนแอฟริกา ทวีปเดียวที่ยังมีประชากร ไม\ถึงเกณฑPในอาเซียนประชากรสูงอายุมากที่สุด ไดZแก\ ประเทศสิงคโปรP ไทยและเวียดนามตามลำดับ สำหรับ ประเทศไทยกZาวเขZาสู\สังคมผูZสูงวัยตั้งแต\ปk 2548 ขณะที่ สัดส\วนประชากรผูZสูงอายุเพิ่มขึ้นอย\างรวดเร็วและ ต\อเนื่อง ส\งผลใหZปk 2562 ประชากรผูZสูงอายุมีมากกว\า ประชากรวัยเด็ก สะทZอนไดZจากตัวเลขของกรมกิจการ ผูZสูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษยP (พม.) ขZอมูล ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2561 พบว\า ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด 66.4 ลZานคน เฉพาะ ผูZสูงอายุ 10,670,000 คน หรือรZอยละ 16.06 สภา พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห\งชาติคาดการณPว\า ปk 2564 ประเทศไทยจะเขZาสู\สังคมผูZสูงอายุอย\างสมบูรณP และในปk2583 ประเทศไทยจะมีผูZสูงวัยจำนวน 20 ลZาน คน หรือ 1 ใน 3 ของคนไทยจะเปbนผูZสูงอายุ และผูZสูงวัย อายุมากกว\า 80 ปkขึ้นไป จะมีมากถึง 3,500,000 คน1 เมื่อบุคคลเมื่อมีอายุมากขึ้นจะมีความเสื่อม ถอยของหลอดเลือดเพิ่มขึ้น ทำใหZเกิดโรคหลอดเลือด มากขึ้น เช\น โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) ซึ่ง โรคความดันโลหิตสูงเปbนปíญหาสำคัญของกระทรวง สาธารณสุขทุกประเทศทั่วโลก และมีแนวโนZมเพิ่มขึ้น อย\างต\อเนื่อง2 จากสถิติของประชากรสหรัฐอเมริกาทั้ง ประเทศกว\า 323 ลZานคน ในปíจจุบันจะถูกจัดอยู\ในกลุ\ม ผูZที่มีความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นรZอยละ 46 3 และบาง ประเทศพบมากในวัยสูงอายุ 60 ปkขึ้นไป ถึงรZอยละ 50 และคาดว\าจะมีความชุกของโรคความดันโลหิตสูงทั่วโลก เพิ่มขึ้นเปbน 1.56 พันลZานคนในปk พ.ศ. 2568 (ค.ศ. 2025) สำหรับประเทศไทยมีแนวโนZมพบผูZปnวยโรคความ ดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น จากฐานขZอมูลของ สปสช. ปkงบประมาณ 2559-2560 มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นจากรZอย ละ 21 เปbนรZอยละ 25 ผูZปnวยความดันโลหิตสูงที่ควบคุม ความดันไดZดีมีเพียงรZอยละ 14.144 จากการสำรวจ สุขภาพประชากรไทยในปk 2562-2563 พบว\าประชากร อายุ 18 ปkขึ้นไป เปbนโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 13 ลZานคน และในจำนวนนี้มีมากถึง 7 ลZานคน ไม\ทราบว\า ตนเองปnวยเปbนโรคความดันโลหิตสูง และพบมากในวัย สูงอายุ โดยมีจำนวนเพิ่มขึ้นตามอายุที่มากขึ้น5 โรคความดันโลหิตสูงไม\สามารถรักษาใหZ หายขาดไดZ แต\ควบคุมไดZดZวยการใชZยาลดความดันโลหิต ร\วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผูZปnวย แต\หาก ควบคุมไม\ไดZ และปล\อยไวZนานจะส\งผลใหZเสZนเลือดแดง แข็งและถูกทำลาย ซึ่งถZาค\า Systolic blood pressure มากกว\า 160/100 มม.ปรอท ขึ้นไป จะทำใหZเกิดภาวะ stroke หัวใจลZมเหลว และไตวาย ส\งผลใหZเกิดความ พิการ และสูญเสียชีวิต6 ตามมาไดZ รวมถึงภาระทั้งดZาน การดูแล และดZานค\าใชZจ\าย การรักษาโดยไม\ใชZยาโดย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแลตนเอง ซึ่ง จะช\วยปôองกันภาวะแทรกซZอนที่ทำใหZเกิดการเสียชีวิตไดZ อย\างยั่งยืน ในปíจจุบันเปôาหมายของระดับความดันโลหิต ในผูZสูงอายุที่ไม\มีโรคเบาหวานและไตใชZเกณฑP นZอยกว\า 140/90 มิลลิเมตรปรอท และถZามีโรคเบาหวาน และไต ใชZเกณฑPนZอยกว\า 130/80 มิลลิเมตรปรอท7 จากการศึกษาปíจจัยที่ส\งผลต\อการควบคุม ระดับความดันโลหิตของผูZปnวยโรคความดันโลหิตสูงชนิด ปฐมภูมิ จังหวัดสมุทรสงครามพบว\าผูZปnวย มีพฤติกรรม การรับประทานอาหารที่มีรสเค็ม การออกกำลังกาย การ สูบบุหรี่ และการรับประทานยา มีความสัมพันธPไปใน ทิศทางเดียวกันกับการควบคุมความดันโลหิตที่นัยสำคัญ ทางสถิติ8 ซึ่งการรักษาพยาบาลที่ผ\านมา อาจไม\ส\งเสริม ใหZผูZสูงอายุนำศักยภาพของตนเองมาใชZในการปฏิบัติตัว เพื่อควบคุมความดันโลหิต มักกำหนดโดยทีมสุขภาพ ทำ ใหZผูZสูงอายุไม\สามารถคิดหรือทำสิ่งต\าง ๆ ดZวยตนเอง รับรูZสภาพปíญหาตนเองนZอย ไม\ตระหนักหรือเห็น ความสำคัญ ขาดแรงจูงใจ จึงทำใหZไม\สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือปฏิบัติไดZไม\ดีเท\าที่ควร เช\น รับประทานอาหารเค็มเกินไป ขาดการออกกำลังกาย ดื่ม


v Effects of Using Coaching on Blood Pressure and Quality of Life in the Elderly with Uncontrolled Hypertension in the Outpatient Department Khoksamrong Hospital, Lopburi Province ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 4 เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลP ขาดการพักผ\อนที่เพียงพอ และรับประทานยาไม\สม่ำเสมอ เปbนตZน จากการศึกษาเกี่ยวกับกลวิธีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพในผูZปnวยโรคความดันโลหิตสูง ไดZแก\ โปรแกรมการจัดการแบบมีส\วนร\วมในการดูแลสุขภาพ ในผูZปnวยโรคความดันโลหิตสูง9 โปรแกรมการจัดการ ตนเองในผูZปnวยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดัน โลหิตไม\ไดZ10 และโปรแกรมการดูแลสุขภาพตนเองของ ผูZปnวยโรคความดันโลหิตสูง11 ผลการศึกษาเหล\านี้แมZว\า จะช\วยใหZผูZปnวยเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น แต\ ก็ไม\ดำเนินการที่เนZนเฉพาะกลุ\ม ซึ่งอาจไม\เหมาะกับ ผูZปnวยสูงอายุที่ควบคุมความดันโลหิตไม\ไดZ เนื่องจากกลุ\ม ผูZสูงอายุมีความบกพร\องทางดZานการรับรูZที่ลดลงจากการ เสื่อมตามวัย การใหZขZอมูลโดยการชี้แนะ (Coaching) เปbน วิธีการหนึ่งที่มีประสิทธิภาพ และยังเปbนสมรรถนะหนึ่ง ของผูZปฏิบัติการขั้นสูง12 ที่อาจช\วยพัฒนาความสามารถ ของผูZปnวยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม\สามารถควบคุม ความดันโลหิตไดZ และปíญหาส\วนใหญ\มีสาเหตุเกี่ยวกับ พฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งการชี้แนะนี้จะทำใหZ ในทุกขั้นตอน ของกระบวนการชี้แนะสามารถเชื่อมโยงความรูZ แปล ขZอมูลใหZมีความหมาย มีแรงจูงใจและ หาวิธีการแกZไข ปíญหาภายใตZบริบทสิ่งแวดลZอมของตนเอง และช\วย สะทZอนใหZผูZปnวยเห็นถึงความสามารถในการคิด การ ตัดสินใจ รวมทั้งการปรับพฤติกรรมสุขภาพใหZดีขึ้น เพื่อ นำไปสู\การดูแลที่ยั่งยืน โดยมีพยาบาลเปbนผูZชี้แนะ เนื่องจากการปฏิบัติงานของพยาบาลเปbนการปฏิบัติงาน โดยใชZกระบวนการพยาบาล ซึ่งมีขั้นตอนคลZาย กระบวนการชี้แนะ และถือว\าเปbนบทบาทหนึ่งของผูZ ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง ซึ่งตZองใชZทักษะและสมรรถนะ ในการจัดการ มีความรูZที่กวZางและลึก ใชZวิจารณญาณใน การไตร\ตรองหาเหตุผลเพื่อตัดสินใจทางคลินิกในการ จัดการกับผูZปnวยที่มีปíญหายุ\งยากซับซZอนใหZมีทักษะใน การดูแลสุขภาพไดZเพราะการชี้แนะจะช\วยปรับปรุง แกZไขจุดอ\อนของการสอนแบบเดิม ๆ ที่มุ\งเนZนใหZผูZปnวย เขZาใจเฉพาะขZอมูล แต\การชี้แนะมุ\งสอนใหZผูZปnวยใชZ ทักษะ หรือ สอนเทคนิคเฉพาะดZาน ตZองมีกลวิธี และมี ขั้นตอนในการปฏิบัติ เพื่อใหZผูZปnวยนำทักษะไปปฏิบัติไดZ จริง และมีการปฏิบัติอย\างต\อเนื่อง อีกทั้งยังช\วยสรZาง สัมพันธภาพอันดีระหว\างผูZปnวยกับผูZชี้แนะ13 สอดคลZอง กับการศึกษาผลของโปรแกรมการชี้แนะต\อพฤติกรรม การควบคุมโรคเบาหวานและค\าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมใน ผูZปnวยเบาหวานชนิดที่ 2 พบว\าค\าเฉลี่ยคะแนน พฤติกรรมควบคุมโรคเบาหวานมากกว\ากลุ\มควบคุมและ มีค\าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมลดลงกว\ากลุ\มควบคุมอย\างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.0514 และจากการเปรียบเทียบ ผลของการชี้แนะและการสอนสุขศึกษาต\อพฤติกรรม สุขภาพและระดับความดันโลหิตของผูZสูงอายุโรคความ ดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม\ไดZพบว\า คะแนนพฤติกรรม สุขภาพหลังการทดลองของกลุ\มทดลองสูงกว\า กลุ\ม ควบคุมอย\างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เช\นกัน15 จังหวัดลพบุรีพบอัตราการปnวยโรคความดัน โลหิตสูงต\อแสนประชากรในปkพ.ศ 2563-2565 รZอยละ 22.38, 24.37 และ 27.50 ตามลำดับ และพบในวัย สูงอายุ รZอยละ 44.14, 47.55 และ53.10 ตามลำดับ เช\นเดียวกับโรงพยาบาลโคกสำโรง จังหวัดลพบุรีพบมี ผูZปnวยสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่มารับการรักษาตัวที่ แผนกผูZปnวยนอก ในปk พ.ศ. 2563-2565 รZอยละ 55.70, 56.25 และ 57.42 ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นไดZว\ามีจำนวน เพิ่มขึ้นทุกปk ผูZวิจัยจึงนำการชี้แนะซึ่งเปbนกระบวนการ ประกอบดZวย 4 ขั้นตอน ไดZแก\ 1) การประเมินและ วิเคราะหPปíญหา 2) การกำหนดเปôาหมายและวางแผน 3) การปฏิบัติตามแผน 4) การประเมินผลการปฏิบัติ และ ปรับเปลี่ยนแนวทาง มาใชZในการดูแลผูZปnวยสูงอายุใน กลุ\มที่ไม\สามารถควบคุมความดันโลหิตไดZ เพื่อเปbนการ พัฒนาศักยภาพของพยาบาลในดZานการส\งเสริม ปôองกัน และวางรูปแบบการดูแลสุขภาพไดZอย\างมีเปôาหมาย และ เพื่อใหZผูZปnวยทราบปíญหาที่แทZจริง ตระหนักในเรื่อง พฤติกรรมสุขภาพ และเลือกแนวทางปฏิบัติในการ จัดการตนเองใหZสามารถควบคุมความดันโลหิตไดZ ใน


vผลของการใช้แผนการช้ ีแนะต่อค่าความดันโลหิตและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูงท่ ีควบคุมไม่ได้แผนกผู้ปว่ยนอกโรงพยาบาลโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี 5 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ดZานการควบคุมอาหารรสเค็ม การดื่มแอลกอฮอลP การ สูบบุหรี่ การออกกำลังกาย การรับประทานยา และการ จัดการกับความเครียด เพราะพฤติกรรมแต\ละดZานเปbน ปíจจัยที่มีส\วนเกี่ยวขZองกับโรคความดันโลหิตสูง อันจะ ทำใหZผูZปnวยดำรงชีวิตไดZอย\างมีความสุขทั้งทางร\างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ และ มีคุณภาพชีวิตที่ดีต\อไป ดังนั้นผูZวิจัยในฐานะผูZปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง ที่ผ\านการรับรองจากสภาการพยาบาล และการชี้แนะ (Coaching) เปbนสมรรถนะหนึ่งของพยาบาลผูZปฏิบัติการ ขั้นสูง จึงตZองการศึกษาต\อยอดวิจัยจากครั้งก\อนในปk 2563 ที่ศึกษาเรื่องการเปรียบเทียบผลของการชี้แนะ และการสอนสุขศึกษาต\อพฤติกรรมสุขภาพและระดับ ความดันโลหิตของผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ ควบคุมไม\ไดZแผนกผูZปnวยนอกโรงพยาบาลโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี ซึ่งหลังจากเสร็จสิ้นการวิจัยไปแลZว ผูZวิจัย ไม\ไดZติดตามต\อ ตามขZอเสนอแนะในดZานการศึกษาวิจัย ใหZมีการศึกษาซ้ำ 1 และ 3 ปkเพื่อดูความคงทนของ โปรแกรมว\ามีผลต\อค\าความดันโลหิต และพฤติกรรม สุขภาพซ้ำเนื่องจากประสบปíญหาจากสถานการณP Covid-19 ทำใหZตZองเปลี่ยนแปลงระบบการ รักษาพยาบาล มีการส\งรับยาไปที่โรงพยาบาลส\งเสริม สุขภาพตำบล และเมื่อสถานการณP Covid-19 คลี่คลาย เบาบางลง ผูZปnวยกลับเขZามารับการรักษาพยาบาลที่ โรงพยาบาลเหมือนเดิม ผูZวิจัยตZองการศึกษาในผูZปnวย กลุ\มทดลองเดิม โดยมีการพัฒนาโปรแกรมปรับเปลี่ยน ระยะเวลาจาก 0, 1, 2, 3 เดือน (4ครั้ง) เปbน 0, 1 เดือน (2ครั้ง) และเพิ่มการติดตามทางโทรศัพทPทุก 1 สัปดาหP เพื่อเปbนการกระตุZนเตือนแทน เนื่องจากผูZรับบริการมี จำนวนเพิ่มขึ้น และ ลดค\าใชZจ\ายในการเดินทางของ ผูZปnวย โดยเชื่อว\ากระบวนการชี้แนะนี้ เปbนวิธีการที่ดีถูก นำไปใชZในกลุ\มผูZปnวยอย\างหลากหลาย และใหZผลลัพธPที่ ดี โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไดZตรงกับ สภาพปíญหา และมีสามารถตัดสินใจเลือกวิธีการดูแล สุขภาพดZวยตนเอง ซึ่งจะนำไปสู\การลดอัตราการปnวย อัตราตาย และภาวะแทรกซZอนโรคความดันโลหิตสูง และเปbนวิธีการที่ทำใหZเกิดความการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมแบบยั่งยืน อันจะทำใหZความดันโลหิตลดลง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีต\อไป วัตถุประสงคVการวิจัย 1. เปรียบเทียบค\าเฉลี่ยความดันโลหิตและ คุณภาพชีวิตในระยะก\อนการทดลองและหลังการใชZ แผนการชี้แนะในกลุ\มทดลอง 2. เพื่อเปรียบเทียบค\าเฉลี่ยความดันโลหิตและ คุณภาพชีวิตหลังการทดลองระหว\างกลุ\มทดลองและ กลุ\มควบคุม กรอบแนวคิดการวิจัย แผนการชี้แนะโดยใชZแนวคิดการชี้แนะของ แฮส (HASS)18 มาประยุกตPใชZ ประกอบดZวย 4 ขั้นตอน ไดZแก\ 1) การประเมินและวิเคราะหPปíญหา 2) การ กำหนดเปôาหมายและวางแผน 3) การปฏิบัติตามแผน 4) การประเมินผลการปฏิบัติ ทำใหZผูZสูงอายุโรคความดัน โลหิตสูงที่ควบคุมไม\ไดZ ไดZคZนพบปíญหาที่แทZจริงของ ตนเอง และเลือกแนวทางปฏิบัติใหZเหมาะสมกับตนเอง ในการปรับพฤติกรรมสุขภาพทำใหZค\าความดันโลหิต ลดลง และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น


v Effects of Using Coaching on Blood Pressure and Quality of Life in the Elderly with Uncontrolled Hypertension in the Outpatient Department Khoksamrong Hospital, Lopburi Province ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 6 วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปbนการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อ เปรียบเทียบคะแนนค\าความดันโลหิต และคะแนน คุณภาพชีวิตก\อนและหลังการทดลองภายในกลุ\ม และ ระหว\างกลุ\ม ของผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุม ไม\ไดZที่ไดZรับการชี้แนะกับกลุ\มที่ไดZรับการสอนสุขศึกษา ตามปกติ ระหว\างวันที่1 มกราคม 66 ถึงวันที่ 1 มีนาคม 2566 ประชากรและกลุ]มตัวอย]าง ประชากร คือ ผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ ควบคุมไม\ไดZ กลุ\มตัวอย\าง คือ ผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมไม\ไดZ จำนวน 46 ราย กลุ\มทดลองเปbนผูZปnวยกลุ\มเดิม ในงานวิจัยครั้งก\อน 23 ราย และกลุ\มควบคุมใหม\จำนวน 23 ราย โดยกำหนดเกณฑPในการคัดเขZา และคัดออกดังนี้ เกณฑPการคัดเขZา (Inclusion criteria) 1. มีอายุ 60 ปkขึ้นไป ที่มารับบริการที่แผนก ผูZปnวยนอก โรงพยาบาลโคกสำโรง และ เปbนผูZปnวยกลุ\ม เดิมในงานวิจัยครั้งก\อนในปk 2563 ที่ปnวยเปbนโรคความ ดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม\ไดZไม\มีภาวะแทรกซZอน หรือ ไม\มี โรคร\วม เช\น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด สมอง และโรคไต เปbนตZน 2. มีสติสัมปชัญญะดี สามารถติดต\อสื่อสารไดZ อ\านออกเขียนไดZ สามารถร\วมทำกิจกรรม และใหZขZอมูล ดZวยตนเองไดZ 3. ยินดีเขZาร\วมวิจัย เกณฑPการคัดออก (Exclusion criteria) 1. กลุ\มตัวอย\างเปbนโรคความดันโลหิตสูงที่มี ภาวะแทรกซZอน ไดZแก\ โรคเบาหวาน โรคหัวใจโรคหลอด เลือดสมอง และโรคไต จนทำใหZมีขZอจำกัดทางกายที่ไม\ สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันไดZดZวยตนเอง 2. มีระดับความดันโลหิตมากกว\า 180/110 มิลลิเมตรปรอท ซึ่งตZองพบแพทยPทันที การคำนวณขนาดของกลุ]มตัวอย]าง การกำหนดขนาดตัวอย\างโดยวิเคราะหP อำนาจการทดสอบ (Power analysis) ของโพลิท และเบค16 คำนวณหาค\าขนาดอิทธิพล (Effect size) จากงานวิจัยที่ผ\านมาใกลZเคียงที่สุดกับงานวิจัยในครั้งนี้ คือ ผลของการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของ ผูZสูงอายุที่เปbนโรคความดันโลหิตสูง ไดZขนาดอิทธิพล เท\ากับ 0.8 เมื่อเปùดตารางโคเฮน17 โดยกำหนดระดับ


vผลของการใช้แผนการช้ ีแนะต่อค่าความดันโลหิตและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูงท่ ีควบคุมไม่ได้แผนกผู้ปว่ยนอกโรงพยาบาลโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี 7 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ความเชื่อมั่นที่.05 ไดZขนาดกลุ\มตัวอย\างเท\ากับ 26 ราย และเพื่อปôองกันการสูญหายของกลุ\มตัวอย\างระหว\าง การทดลอง ผูZวิจัยจึงเพิ่มเปbนกลุ\มละ 30 ราย รวม ทั้งหมด 60 ราย ซึ่งเปbนค\ากลุ\มตัวอย\างที่ใชZในงานวิจัย เดิมที่ศึกษาเรื่องการเปรียบเทียบผลของการชี้แนะและ การสอนสุขศึกษาต\อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความ ดันโลหิตของผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม\ไดZ แผนกผูZปnวยนอก โรงพยาบาลโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี15 และเพื่อดูความคงทนของโปรแกรม และมีการพัฒนา โปรแกรมโดยปรับเปลี่ยนระยะเวลา จึงศึกษาในผูZปnวย กลุ\มเดิม และพบว\า กลุ\มตัวอย\างมีการเสียชีวิต ยZายที่อยู\ และ มีโรคร\วมซึ่งไม\เขZาเกณฑPการคัดเขZา รวมทั้งหมด 7 ราย จึงเหลือกลุ\มตัวอย\างเดิมจากการศึกษาในปk 2563 จำนวน 23 ราย และกลุ\มควบคุมใหม\ใชZวิธีการสุ\มอย\าง ง\าย (Simple random sampling) ดZวยการจับฉลาก จำนวน 23 ราย การเก็บรวบรวมข`อมูล ผูZวิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมขZอมูลตั้งแต\ เดือน 1 มกราคม 66–1 มีนาคม 2566 โดยแบ\งกลุ\ม ตัวอย\างออกเปbน 2 กลุ\ม คือกลุ\มทดลองที่ใชZแผนการ ชี้แนะ และ กลุ\มควบคุมที่ไดZรับการสอนสุขศึกษา ตามปกติ การคัดเลือกกลุ\มตัวอย\างเขZากลุ\มทดลอง และ กลุ\มควบคุม โดยกลุ\มทดลองใชZกลุ\มตัวอย\างเดิมที่ศึกษา ครั้งก\อน 23 ราย และ ส\วนกลุ\มควบคุมใชZวิธีการสุ\ม อย\างง\าย (Simple random sampling) ดZวยการจับ ฉลากจำนวน 23 ราย โดยมีขั้นตอนต\อไปนี้ 1.ผูZวิจัยขออนุญาตจากคณะกรรมการจริยธรรม การวิจัยในมนุษยPของโรงพยาบาลพระนารายณPมหาราช จังหวัดลพบุรี 2.เมื่อไดZรับหนังสืออนุมัติจากผูZอำนวยการ โรงพยาบาลพระนารายณPมหาราชแลZว ผูZวิจัยเขZาพบ ผูZอำนวยการโรงพยาบาลโคกสำโรง เพื่อชี้แจง วัตถุประสงคP รวมทั้งขั้นตอนการดำเนินการวิจัย และขอ ความร\วมมือในการดำเนินการวิจัย 3.ผูZวิจัยดำเนินการทดลองดังนี้ กลุ]มทดลอง 1. สัปดาหPที่ 1 ครั้งที่ 1 ผูZวิจัยพบผูZสูงอายุเปbน รายบุคคลที่แผนกผูZปnวยนอก โรงพยาบาลโคกสำโรง จากนั้นสรZางสัมพันธภาพโดยแนะนำตนเอง และชี้แจง วัตถุประสงคPการวิจัย ขั้นตอน และระยะเวลา รวมทั้ง การร\วมมือในการทำวิจัย และพิทักษPสิทธิ์ผูZปnวยโดยการ อธิบายใหZผูZปnวยเขZาใจว\าในการร\วมการวิจัยในครั้งนี้ ผูZปnวยสามารถปฏิเสธ หรือถอนตัวอกจาการวิจัยไดZ ตลอดเวลาที่ตZองการ และไม\มีผลกระทบใดๆต\อการ รักษาพยาบาล เมื่อผูZปnวยสมัครใจยินดีที่เขZาร\วมใน การศึกษาวิจัย ใหZผูZปnวยลงชื่อในใบยินยอมเขZาร\วมวิจัย หลังจากนั้นผูZวิจัยใหZผูZปnวยตอบแบบสอบถามขZอมูลส\วน บุคคล แบบประเมินคุณภาพชีวิต และวัดความดันโลหิต 2. ขั้นตอนการชี้แนะ ประกอบดZวย 4 ขั้นตอน คือ 1) การประเมินและการวิเคราะหPปíญหาในการปฏิบัติ กิจกรรมการดูแลสุขภาพของผูZปnวยโรคความดันโลหิตสูง ดZานการควบคุมอาหาร การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลP การสูบบุหรี่ การออกกำลังกาย การรับประทานยา และ การจัดการกับความเครียด เพื่อคZนหาปíญหาและสาเหตุ ที่ไม\สามารถควบคุมความดันโลหิตไดZ 2) การกำหนด เปôาหมายและวางแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหZ เหมาะสม โดยมีผูZวิจัยคอยชี้แนะ สนับสนุน และใหZขZอมูล ยZอนกลับ 3) การปฏิบัติตามแผน โดยมีผูZวิจัยคอยชี้แนะ ใหZคำแนะนำเพิ่มในบางกิจกรรมที่ยังปฏิบัติไม\ถูกตZอง และใหZขZอมูลยZอนกลับเชิงบวก 4) การประเมินผลการ ปฏิบัติและการปรับเปลี่ยนแนวทางโดยผูZปnวยมีส\วนร\วม ในการประเมินตนเองถึงปíญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ้น ระหว\างการปฏิบัติกิจกรรมการดูแลสุขภาพตามแผนการ ชี้แนะ โดยแต\ละครั้งมีกิจกรรมดังนี้ แผนการชี้แนะที่แผนกผูZปnวยนอกช\วงเวลา 8.30-12.00 น. มีขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ และ วิเคราะหPปíญหาที่เปbนสาเหตุใหZผูZปnวยไม\สามารถควบคุม ความดันโลหิตไดZ


v Effects of Using Coaching on Blood Pressure and Quality of Life in the Elderly with Uncontrolled Hypertension in the Outpatient Department Khoksamrong Hospital, Lopburi Province ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 8 1.1 ผูZวิจัยทักทายผูZปnวยดZวยความเปbนกันเอง แสดงท\าทีที่เปbนมิตร ขออนุญาตวัดความดันโลหิต สอบถามสภาพความเปbนอยู\ทั่วไป แบบแผนการดำเนิน ชีวิต สนทนาเกี่ยวกับความเจ็บปnวยที่ผ\านมา การ รักษาพยาบาลที่ไดZรับ การดูแลตนเองที่ผ\านมา เช\น การ ควบคุมอาหารหรือไม\ อย\างไร การออกกำลังกาย สม่ำเสมอหรือไม\ อย\างไร และประสบการณPเกี่ยวกับโรค ความดันโลหิตสูงเปbนอย\างไร เปbนตZน 1.2 ผูZวิจัยใชZเทคนิคการตั้งคำถามปลายเปùด เพื่อกระตุZนใหZผูZปnวยมีส\วนร\วมในการประเมินปíญหาที่ เปbนสาเหตุใหZควบคุมความดันโลหิตไม\ไดZ และเพื่อใหZ สอดคลZองกับความตZองการในการแกZปíญหาของผูZปnวย เช\น สิ่งที่ทำใหZผูZปnวยไม\สามารถควบคุมความดันโลหิตไดZ และ อะไรเปbนสาเหตุใหZเกิดพฤติกรรมนั้น 1.3 ผูZวิจัยกระตุZนใหZผูZปnวยประเมินและสรุป ปíญหาในแต\ละดZานที่อาจเปbนสาเหตุ ใหZผูZปnวยไม\สามารถ ควบคุมความดันโลหิตไดZ ไดZแก\ ดZานการควบคุมอาหาร การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลP และการสูบบุหรี่ การ ออกกำลังกาย การรับประทานยา และ การจัดการกับ ความเครียด ทั้งนี้ผูZวิจัยกระตุZนใหZผูZปnวยสะทZอนคิดอย\าง มีวิจารณญาณ โดยใหZผูZปnวยทำความเขZาใจกับปíญหา รูZถึง สาเหตุของปíญหา และอุปสรรค รวมทั้งใชZคำพูดทางบวก ในการเสริมแรงผูZปnวยใหZเกิดความมั่นใจ 1.4 ผูZวิจัยรวบรวมปíญหา และอุปสรรคที่เปbน สาเหตุใหZผูZปnวยไม\สามารถควบคุมความดันโลหิตไดZแลZว สรุปใหZผูZปnวยทราบ และใหZผูZปnวยตัดสินใจเลือกปíญหาที่ ตZองแกZไขก\อน ขั้นตอนที่ 2 วางแผนในการปฏิบัติกิจกรรม สุขภาพ เพื่อแกZไขปíญหาที่เปbนสาเหตุใหZผูZปnวยไม\สามารถ ควบคุมความดันโลหิตไดZ ขั้นตอนนี้ดำเนินการต\อเนื่อง จากขั้นที่ 1 เพื่อใหZผูZปnวยปฏิบัติตามแผนที่เปbน สภาพการณPจริง ดังนี้ 2.1 ผูZวิจัยกระตุZนใหZผูZปnวยตั้งเปôาหมาย และ วางแผนการปฏิบัติที่มีความเฉพาะเจาะจง และสามารถ ปฏิบัติไดZตามความรูZพื้นฐาน และประสบการณPเดิมของ ผูZปnวย โดยการตั้งเปôาหมายว\า ตZองการแกZไขปíญหา พฤติกรรมดZานไหนก\อน ใชZระยะเวลาเท\าไหร\ในการ แกZไขปíญหาแต\ละดZาน หรือ จะแกZไขปíญหาไปพรZอมๆ กันในแต\ละดZานก็ไดZ 2.2 เปùดโอกาสใหZผูZปnวยซักถามปíญหาต\างๆที่ สงสัย หรือตZองการทราบขZอมูลเพิ่มเติม และถZาหาก ผูZปnวยวางแผนการปฏิบัติไม\ครอบคลุม ผูZวิจัยจะใหZ คำแนะนำ และชี้แนะเพิ่มเติม ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติกิจกรรมสุขภาพเพื่อ แกZไขปíญหาที่เปbนสาเหตุใหZผูZปnวยไม\สามารถควบคุม ความดันโลหิตไดZ 3.1 ฝ°กปฏิบัติกิจกรรมที่หZองใหZคำปรึกษาแผนก ผูZปnวยนอกโรงพยาบาลโคกสำโรง ที่มีปíญหาแต\ละดZาน ของผูZปnวย เช\น การเลือกรับประทานอาหารใหZเหมาะสม กับโรคความดันโลหิตสูง อาหารที่ควรรับประทาน หรือ อาหารที่ควรงดหรือทานใหZนZอยที่สุด การงดดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอลP และการสูบบุหรี่ รูปแบบการออกกำลัง กายที่เหมาะสม เช\น การเดิน การขี่จักรยาน และ การ ว\ายน้ำ การรับประทานยาตามคำสั่งของแพทยP การ จัดการกับความเครียดโดยใชZเทคนิคผ\อนคลายดZวยวิธี หายใจแบบลึกๆ ชZา และสม่ำเสมอ การฟíงเพลง การ อ\านหนังสือ และ การทำสมาธิ ใหZผูZปnวยยZอนกลับบอกสิ่ง ที่ตZองปรับปรุงแกZไขขณะปฏิบัติกิจกรรม 3.2 สรZางความมั่นใจในการปฏิบัติโดยการแจก แผ\นพับโรคความดันโลหิตสูงในผูZสูงอายุ และ QR code ความรูZ รวมถึงการโทรศัพทPกระตุZนเตือนทุกสัปดาหP และ นัดผูZปnวยอีก 4 สัปดาหP ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผล ทบทวนสรุปปíญหา ของตนเอง และเลือกแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับ ตนเอง และตรงปíญหาของตนเอง 3. สัปดาหP ที่ 4 ครั้งที่ 2 ครั้งสุดทZายโดยทบทวน กิจกรรมตามเปôาหมายร\วมกัน และใชZคำพูดทางบวกใน การเสริมแรงผูZปnวยใหZเกิดความมั่นใจ พรZอมทั้ง ประเมินผล ใชZแบบประเมินคุณภาพชีวิต และวัดความ


vผลของการใช้แผนการช้ ีแนะต่อค่าความดันโลหิตและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูงท่ ีควบคุมไม่ได้แผนกผู้ปว่ยนอกโรงพยาบาลโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี 9 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ดันโลหิต กล\าวคำอำลา ชมเชย และใหZกำลังใจผูZปnวย ผูZวิจัยกล\าวคำอำลาสิ้นสุดการวิจัย กลุ]มควบคุม กลุ\มควบคุมไดZรับการสอนสุขศึกษาตามปกติ โดยสอนในตอนเชZาที่แผนกผูZปnวยนอกซึ่งเปbนกลุ\มเปùด หรือสอนรายบุคคลในรายที่ผิดปกติที่โต¢ะซักประวัติแบบ รีบเร\ง ไม\มีลำดับขั้นตอน และ ยังเปbนสถานที่มีเสียงดัง รบกวน และเมื่อหลังเสร็จสิ้นการทดลอง กลุ\มควบคุม ไดZรับแผนการชี้แนะเหมือนกลุ\มทดลองทุกประการตั้งแต\ ขั้นตอนที่ 1 ถึงขั้นตอนที่ 4 และมีการวัดความดันโลหิต และประเมินคุณภาพชีวิตในสัปดาหPที่ 1 และสัปดาหPที่ 4 เหมือนกลุ\มทดลอง ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. แผนการชี้แนะเพื่อการปรับพฤติกรรม สุขภาพของผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม\ทราบ สาเหตุ โดยใชZแนวคิดการชี้แนะของแฮส (HASS)18 มา ประยุกตPใชZ ซึ่งประกอบดZวย 4 ขั้นตอนคือ 1) ประเมิน และวิเคราะหPปíญหา 2) กำหนดเปôาหมายและวางแผน 3) ปฏิบัติตามแผน 4) ประเมินผลการปฏิบัติ และมีการ พัฒนาโปรแกรมโดยปรับเปลี่ยนระยะเวลาจาก 0, 1, 2, 3 เดือน (4 ครั้ง) เปbน 0, 1 เดือน (2 ครั้ง) และเพิ่มการ ติดตามทางโทรศัพทPทุก 1 สัปดาหP เพื่อเปbนการกระตุZน เตือน ซึ่งผูZวิจัยไดZดำเนินการตามกระบวนชี้แนะทั้ง 4 ขั้นตอน จำนวน 2 ครั้ง ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 2. เอกสารประกอบการชี้แนะ ไดZแก\ ภาพพลิก แผ\นพับ QR code และการโทรศัพทPกระตุZนเตือนผูZปnวย ทุกสัปดาหP เครื่องมือที่ใช`ในการเก็บรวบรวมข`อมูล ประกอบดZวย 1. แบบสอบถามขZอมูลส\วนบุคคลของ ผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูง ไดZแก\ เพศ อายุ อาชีพ สภาภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดZ ระดับความ รุนแรงของโรค ระยะเวลาในการเปbนโรค และความดัน โลหิต 2. แบบประเมินคุณภาพชีวิตซึ่งใชZของ อนัญญา มานิตยP (2562)19 ที่ศึกษาการพัฒนารูปแบบ การบริการพยาบาลผูZปnวยโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลพระ นารายณPมหาราช จังหวัดลพบุรี และ ซึ่งประกอบดZวย 4 ดZาน คือ ดZานสุขภาพกาย ดZานจิตใจ ดZานสัมพันธภาพ ทางสังคม และ ดZานสิ่งแวดลZอม โดยลักษณะคำถาม เปbนมาตราส\วนแบบประมาณค\า (Rating scale) 5 ระดับ การตรวจสอบเครื่องมือ หาความเชื่อมั่นโดยนำไปทดลองใชZกับ ผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ไม\ใช\กลุ\มตัวอย\างจำนวน 30 คนไดZค\าความเชื่อมั่นเท\ากับ .87 การวิเคราะหVข`อมูล สถิติที่ใชZในการวิเคราะหPขZอมูล คือ ความถี่ รZอยละ ค\าเฉลี่ย ส\วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Dependent t-test และ Independent t-test การพิทักษVสิทธิกลุ]มตัวอย]าง โครงการวิจัยผ\านการพิจารณาของ คณะกรรมการจริยธรรมการพัฒนาในคนของ โรงพยาบาลพระนารายณPมหาราชจังหวัดลพบุรี (KHN 05/2566) ผลการวิจัย 1. ขZอมูลทั่วไป ผูZปnวยโรคความดันโลหิตสูงในกลุ\มทดลอง จำนวน 23 คน เปbนเพศชายรZอยละ 43.50 เพศหญิง รZอยละ 56.50 ส\วนใหญ\อายุ 60-70 ปk คิดเปbนรZอยละ 73.33 มีสถานภาพสมรสและหมZายจำนวนเท\ากัน คิด เปbนรZอยละ 43.50 มีการศึกษาอยู\ในระดับประถมศึกษา คิดเปbนรZอยละ 65.20 ส\วนใหญ\มีอาชีพรับจZางทำไร\ทำนา รZอยละ 65.20 รายไดZนZอยกว\าเดือนละ 5,000 บาท คิด เปbนรZอยละ 47.80 ปnวยเปbนโรคความดันโลหิตสูง มากกว\า 6 ปk คิดเปbนรZอยละ 91.30 ส\วนใหญ\ ไม\สูบบุหรี่ รZอยละ 73.90 ไม\ดื่มแอลกอฮอลPรZอยละ 87 และ ประวัติ ในครอบครัวไม\มีความดันโลหิตสูงรZอยละ 56.50


v Effects of Using Coaching on Blood Pressure and Quality of Life in the Elderly with Uncontrolled Hypertension in the Outpatient Department Khoksamrong Hospital, Lopburi Province ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 10 ส\วนในกลุ\มควบคุม จำนวน 23 คนเปbนเพศชาย รZอยละ 52.20 เพศหญิงรZอยละ 47.80 ส\วนใหญ\อายุ 60-70 ปk คิดเปbนรZอยละ 66.67 มีสถานภาพหมZายคิด เปbนรZอยละ 56.50 มีการศึกษาอยู\ในระดับประถมศึกษา คิดเปbนรZอยละ 65.20 ส\วนใหญ\มีอาชีพรับจZางทำไร\ทำนา จากตารางพบว\าคะแนนเฉลี่ยค\าความดันโลหิต ในกลุ\มทดลอง ระยะหลังการทดลอง ต่ำกว\าก\อนการ จากตารางพบว\าคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิต ระยะหลังการทดลองสูงกว\าก\อนการทดลอง และพบว\า รZอยละ 87 รายไดZนZอยกว\าเดือนละ 5,000 บาท คิดเปbน รZอยละ 56.50 ปnวยเปbนโรคความดันโลหิตสูงมากกว\า 6 ปkคิดเปbนรZอยละ 73.90 ส\วนใหญ\ไม\สูบบุหรี่รZอยละ 82.60 ไม\ดื่มแอลกอฮอลP รZอยละ 87 และ ประวัติใน ครอบครัวไม\มีความดันโลหิตสูงรZอยละ 73.90 ทดลอง และพบว\าแตกต\างกันอย\างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ.05 (p<.05) แตกต\างกันอย\างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (p<.05) 2. การเปรียบเทียบระดับความดันโลหิตและคุณภาพชีวิต ตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับความดันโลหิตในระยะก\อนทดลอง และ หลังทดลอง ภายในกลุ\ม ทดลอง ค]าความดันโลหิต ก]อนทดลอง หลังทดลอง t p-value ค\าความดันโลหิตซีสโตลิค 162.96 6.99 147.35 9.09 10.09* < 0.000 ค\าความดันโลหิตไดแอสโตลิค 91.61 8.70 83.70 4.26 3.87* < 0.000 *p < .05 X SD X SD ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตในระยะก\อนทดลอง และ หลังทดลองภายในกลุ\มทดลอง คุณภาพชีวิต ก]อนทดลอง หลังทดลอง t p-value ดZานสุขภาพกาย 19.74 2.64 23.22 1.83 5.18* < 0.000 ดZานจิตใจ 20.61 2.33 24.35 2.03 5.85* < 0.001 ดZานสัมพันธภาพทางสังคม 10.30 1.36 12.30 .82 5.37* < 0.001 ดZานสิ่งแวดลZอม 26.52 2.99 31.74 3.91 517* < 0.001 คุณภาพชีวิตโดยรวม 87.78 9.90 97.91 5.49 4.26* < 0.001 *p < .05 X SD X SD


vผลของการใช้แผนการช้ ีแนะต่อค่าความดันโลหิตและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูงท่ ีควบคุมไม่ได้แผนกผู้ปว่ยนอกโรงพยาบาลโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี 11วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ จากตารางพบว\า คะแนนเฉลี่ยค\าความดันโลหิต ระหว\างกลุ\มทดลอง และกลุ\มควบคุมในระยะก\อนการ จากตารางพบว\าคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิต ระหว\างกลุ\มทดลองและกลุ\มควบคุมในระยะก\อนการ จากตารางพบว\าคะแนนเฉลี่ยค\าความดันโลหิต ในกลุ\มทดลองต่ำกว\ากลุ\มควบคุม และพบว\าแตกต\างกัน ทดลองพบว\าไม\แตกต\างกัน (p>.05) ทดลองพบว\าไม\แตกต\างกัน (p>.05) อย\างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p<.05) ตารางที่ 3 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยค\าความดันโลหิตระหว\างกลุ\มทดลองและกลุ\มควบคุมในระยะก\อนการ ทดลอง ความดันโลหิต กลุ]มทดลอง กลุ]มควบคุม t p ค\าความดันโลหิตซีสโตลิค 162.96 6.90 160.22 7.14 1.31 .19 ค\าความดันโลหิตไดแอสโตลิค 91.61 8.70 90.96 8.37 .25 .79 *p < .05 X SD X SD ตารางที่ 4 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตระหว\างกลุ\มทดลองและกลุ\มควบคุมในระยะก\อนการ ทดลอง คุณภาพชีวิต กลุ]มทดลอง กลุ]มควบคุม t p-value ดZานสุขภาพกาย 19.74 2.64 19.96 2.36 .29 .77 ดZานจิตใจ 20.61 2.33 20.65 1.96 .06 .94 ดZานสัมพันธภาพทางสังคม 10.30 1.36 10.43 1.34 .32 .74 ดZานสิ่งแวดลZอม 26.52 2.99 27 3.14 .52 .60 คุณภาพชีวิตโดยรวม 87.78 9.90 88.70 9.59 .31 .75 *p < .05 X SD X SD ตารางที่ 5 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยค\าความดันโลหิตระหว\างกลุ\มทดลองและกลุ\มควบคุมในระยะหลัง การทดลอง ความดันโลหิต กลุ]มทดลอง กลุ]มควบคุม t p-value ค\าความดันโลหิตซีสโตลิค 147.25 9.09 158.35 7.95 4.36* < 0.000 ค\าความดันโลหิตไดแอสโตลิค 83.70 4.26 91.57 4.05 6.41* < 0.000 *p < .05 X SD X SD


v Effects of Using Coaching on Blood Pressure and Quality of Life in the Elderly with Uncontrolled Hypertension in the Outpatient Department Khoksamrong Hospital, Lopburi Province ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 12 จากตารางพบว\าคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตใน ระยะหลังการทดลองของกลุ\มทดลอง สูงกว\ากลุ\ม ควบคุม และพบว\าแตกต\างกันอย\างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ.05 (p<.05) อภิปรายผลการวิจัย จากผลการศึกษาวิจัยขZางตZนสามารถอภิปราย ไดZว\า ระดับความดันโลหิตของกลุ\มทดลองลดลง จาก ก\อนทดลอง และ ลดลงมากกว\ากลุ\มควบคุม ส\วน คะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิต ในกลุ\มทดลองเพิ่มขึ้นจาก ก\อนการทดลอง และ เพิ่มขึ้นมากกว\ากลุ\มควบคุม ไดZผล แตกต\างกันอย\างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (p<.05) แสดงใหZเห็นว\า กระบวนการชี้แนะช\วยเพิ่มพูนทักษะการ ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพอย\างต\อเนื่อง และ สม่ำเสมอ โดยมีผูZวิจัยเปbนผูZใหZขZอมูล สอนฝ°กปฏิบัติ การใหZคำชี้แนะ สนับสนุนและใหZขZอมูลยZอนกลับ จึงทำใหZผูZปnวยมีการ พัฒนาทักษะ และ สามารถปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพไดZ ถูกตZอง ดZวยความชำนาญ ในการวิจัยครั้งนี้ ผูZวิจัยใชZ กระบวนการชี้แนะที่ประกอบดZวย 1) การประเมินและ การวิเคราะหPปíญหาในการปฏิบัติกิจกรรมการดูแล สุขภาพของผูZปnวยโรคความดันโลหิตสูง ในดZานการ ควบคุมอาหาร การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลP การสูบ บุหรี่ การออกกำลังกาย การรับประทานยา และ การ จัดการกับความเครียด เพื่อคZนหาปíญหาและสาเหตุที่ไม\ สามารถควบคุมความดันโลหิตไดZ 2) กำหนดเปôาหมาย และวางแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหZเหมาะสม โดย มีผูZวิจัยคอยชี้แนะ สนับสนุน และ ใหZขZอมูลยZอนกลับ 3) นำแผนที่วางไวZมาปฏิบัติ โดยมีผูZวิจัยคอยชี้แนะใหZ คำแนะนำเพิ่มในบางกิจกรรมที่ยังปฏิบัติไม\ถูกตZอง และ ใหZขZอมูลยZอนกลับเชิงบวก 4) การประเมินผลการปฏิบัติ และการปรับเปลี่ยนแนวทางโดยผูZปnวยมีส\วนร\วมในการ ประเมินตนเองถึงปíญหา และ อุปสรรคที่เกิดขึ้น กระบวนการดังกล\าวทำใหZผูZวิจัยและผูZปnวยทราบปíญหา ที่แทZจริงของผูZปnวย และ ผูZปnวยเกิดความตระหนักในเรื่อง พฤติกรรมสุขภาพ สอดคลZองกับการศึกษาของจำเนียร พรประยุทธ ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริและสมสมัย รัตนกรีฑากุล20 ศึกษาผลของโปรแกรมการชี้แนะต\อ พฤติกรรมการควบคุมโรคเบาหวาน และ ค\าเฉลี่ยน้ำตาล สะสมในผูZปnวยเบาหวานชนิดที่ 2 ภายหลังการทดลอง กลุ\มทดลองมีค\าเฉลี่ยผลต\างคะแนนพฤติกรรมการ ควบคุมโรคเบาหวานมากกว\ากลุ\มควบคุม และมีค\าเฉลี่ย ผลต\างค\าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมลดลงมากกว\ากลุ\มควบคุม อย\างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p<.001) และยืนยันไดZว\าจาก การศึกษาเรื่อง การเปรียบเทียบผลของการชี้แนะและ การสอนสุขศึกษาต\อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความ ดันโลหิตของผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม\ไดZ ตารางที่ 6 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตระหว\างกลุ\มทดลองและกลุ\มควบคุมในระยะหลังการ ทดลอง คุณภาพชีวิต กลุ]มทดลอง กลุ]มควบคุม t p-value ดZานสุขภาพกาย 26.30 1.97 23.22 1.83 5.58* < 0.000 ดZานจิตใจ 24.35 2.03 21.52 1.03 5.92* < 0.000 ดZานสัมพันธภาพทางสังคม 12.30 .82 9.91 .79 10.04* < 0.000 ดZานสิ่งแวดลZอม 31.74 3.91 29.22 1.93 2.77* < 0.009 คุณภาพชีวิตโดยรวม 97.91 5.49 94.43 5.08 2.23* < 0.031 *p < .05 X SD X SD


vผลของการใช้แผนการช้ ีแนะต่อค่าความดันโลหิตและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูงท่ ีควบคุมไม่ได้แผนกผู้ปว่ยนอกโรงพยาบาลโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี 13วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ แผนกผูZปnวยนอก โรงพยาบาลโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี พบว\า คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพในกลุ\มทดลอง เพิ่มขึ้นจากก\อนการทดลอง และเพิ่มขึ้นมากกว\ากลุ\ม ควบคุม ส\วนระดับความดันโลหิต ลดลงจากก\อนทดลอง และลดลงมากกว\ากลุ\มควบคุม ไดZผลแตกต\างกันอย\างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p<.05)14 การศึกษาต\อยอดใชZแผนการชี้แนะที่ใชZจาก การศึกษาครั้งก\อนเมื่อมีการพัฒนาปรับระยะเวลาใหZสั้น ลงจาก 1,4,8,12 สัปดาหP (4 ครั้ง) มาเปbน 1,4 สัปดาหP (2 ครั้ง) ใชZการกระตุZนเตือนทางโทรศัพทPทุกสัปดาหPแทน และเพิ่มรูปแบบเอกสารเผยแพร\ความรูZทางช\องทาง QR Code แมZจะผ\านไป 3 ปk เนื่องจากสถานการณPโควิด-19 ตZองมีการส\งยาไปที่โรงพยาบาส\งเสริมสุขภาพตำบล ทำ ใหZไม\มีการติดตามอย\างต\อเนื่อง และตามขZอเสนอแนะ ของการศึกษาวิจัยเดิม เพื่อดูความคงทนของโปรแกรม ใหZมีการศึกษาวิจัยใหม\ในกลุ\มตัวอย\างเดิม ไดZเห็นเชิง ประจักษPแลZวว\าแผนการชี้แนะที่ผูZวิจัยพัฒนาปรับ ระยะเวลาโปรแกรมช\วยทำใหZผูZปnวยไดZคZนพบปíญหาที่ แทZจริงของตนเอง และตั้งเปôาหมายนำมาวางแผนการ ปฏิบัติกิจกรรมที่ผูZปnวยสามารถปฏิบัติไดZจริงตามความรูZ และประสบการณPเดิมของตนเอง อันก\อใหZเกิดประโยชนP ต\อผูZปnวย ทำใหZเกิดแรงจูงใจที่จะเรียนรูZ และทำใหZเห็น ความสำคัญในการปฏิบัติกิจกรรม ซึ่งพบว\าผูZปnวย สามารถวางแผนปฏิบัติกิจกรรมที่ถูกตZองมากขึ้น พรZอม กับใหZคำชมเชยเมื่อปฏิบัติถูกตZอง นอกจากนี้ผูZวิจัยยังใหZ ขZอมูลยZอนกลับ และใหZคำแนะนำเพิ่มเติม ทำใหZผูZปnวยมี ความรูZ ความสามารถ พัฒนาทักษะในการปฏิบัติ ตาม ศักยภาพของตนเองในสถานการณPจริง ไดZถูกตZองมากขึ้น และเนZนปฏิบัติต\อเนื่อง พรZอมทั้งเปùดโอกาสใหZผูZปnวยไดZ ร\วมประเมินผล ซึ่งทำใหZผูZปnวยไดZรูZว\า การปฏิบัติกิจกรรม ของตนนั้นบรรลุเปôาหมายหรือไม\ มีอุปสรรคในการ ปฏิบัติกิจกรรมหรือไม\ และมีการหาแนวทางแกZปíญหา ร\วมกัน ทำใหZผูZปnวยมีความมั่นใจในการปฏิบัติกิจกรรม จนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไดZอย\าง ต\อเนื่อง ซึ่งต\างจากกลุ\มควบคุมที่ไดZรับการสอนสุขศึกษา ตามปกติ ส\วนใหญ\รูปแบบการสอนเปbนลักษณะการใหZ ขZอมูล คำแนะนำ ช\วยใหZผูZปnวยไดZรับความรูZในปíญหา เฉพาะเรื่องที่กำลังมีปíญหา และจำเปbนตZองรูZเท\านั้น เนื่องจากมีขZอจำกัดในเรื่อง เวลา บุคลากร จึงไม\สามารถ วางแผนร\วมกับผูZปnวยไดZ และเมื่อผูZปnวยนำไปปฏิบัติ ก็ ขาดการประเมินผลร\วมกัน จึงทำใหZผูZปnวยมีคะแนน คุณภาพชีวิตแต\ละดZานต่ำกว\ากลุ\มที่ไดZรับการชี้แนะ และ ระดับความดันโลหิต สูงกว\ากลุ\มที่ไดZรับการชี้แนะ ชี้ใหZเห็นชัดว\าแผนการชี้แนะนี้สามารถจัดบริการใหZ ประชาชนไดZ และมีผลการดำเนินงานเกิดขึ้นจริง ผูZปnวย เกิดความตระหนักในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพ และปรับ พฤติกรรมสุขภาพของตนเองใหZดีขึ้น ทำใหZค\าความดัน โลหิตลดลง ส\งผลต\อคุณภาพชีวิตที่ดีอย\างยั่งยืนต\อไป ในการนำผลการวิจัยไปใช`ข`อเสนอแนะ 1. ดZานการปฏิบัติจากผลการวิจัยพบว\าค\า ความดันโลหิตหลังการทดลองของกลุ\มทดลอง ลดลง จากก\อนทดลอง และ ลดลงมากกว\ากลุ\มควบคุม ส\วน คะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตของผูZสูงอายุโรคความดันโลหิต สูงชนิดไม\ทราบสาเหตุหลังการทดลองของกลุ\มทดลอง เพิ่มขึ้นจากก\อนการทดลอง และ เพิ่มขึ้นมากกว\ากลุ\ม ควบคุม ดังนั้นการไดZรับแผนการชี้แนะช\วยใหZผูZปnวยไดZ คZนพบปíญหาที่แทZจริงของตนเอง และไดZเลือกแนวทางที่ ดีและเปbนประโยชนPต\อตนเองมาปฏิบัติช\วยลดความดัน โลหิตแกZปíญหาความรุนแรงของโรค และปôองกันการเกิด ภาวะฉุกเฉินที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง หรือ โรคหลอด เลือดสมองไดZ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นบุคลากรดZาน สาธารณสุขควรนำแผนการชี้แนะที่ผูZวิจัยศึกษาขึ้นไป ใหZบริการในผูZปnวยกลุ\มโรคดังกล\าว รวมถึงขยายผลใน ระดับชุมชนต\อไป 2. ดZานการบริหาร และวิชาการ ควร สนับสนุนงบประมาณ และ มีการจัดอบรมอบรม เรื่อง การชี้แนะ (Coaching) และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูZใน การนำแนวคิดการชี้แนะไปใชZในการปฏิบัติงาน เพื่อเปbน การพัฒนางาน และปรับพฤติกรรมสุขภาพของผูZปnวย


v Effects of Using Coaching on Blood Pressure and Quality of Life in the Elderly with Uncontrolled Hypertension in the Outpatient Department Khoksamrong Hospital, Lopburi Province ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 14 ส\งผลใหZผูZปnวยสามารถกลับไปใชZชีวิตอย\างปกติ และมี คุณภาพชีวิตที่ดี 3. ดZานการวิจัย พยาบาลหรือบุคลากร การแพทยPที่สนใจ สามารถนำผลการศึกษาที่ไดZรับจาก การวิจัยครั้งนี้ไปต\อยอดทำวิจัยในกลุ\มผูZปnวยกลุ\มโรค เรื้อรังอื่น เช\น โรคเบาหวาน โรคไต ต\อไป


vผลของการใช้แผนการช้ ีแนะต่อค่าความดันโลหิตและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูงท่ ีควบคุมไม่ได้แผนกผู้ปว่ยนอกโรงพยาบาลโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี 15วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ เอกสารอ`างอิง 1. Hypertention association of Thailand guideline in general practice 2012 [Internet]. 2015. [cited 2023 January 27]. Available from: Sukviwatsirikul/2558-55823263. 2. World Health Organization. A global brief on hypertension. [Internet]. 2013. [cited 2023 January 27]. Available from: http://www.Ish-world.com /downloads/pdf/ global_brief_hypertension. 3. Andrea Shalal. Aging population to hit U.S. economy like a ton of bricks-U.S.commerce secretary. [Internet]. 2021. [cited 2023 January 27]. Available from: https://www.reuters.com/world/us/agingpopulation-hit-us-economy-like-ton-bricks-us-commerce-secretary-2021-07-12/. 4. วินิตยP หลงละเลิง. Nurse Literacy Hypertention in OPD. พ.ศ.2564. [เขZาถึงเมื่อ 2 กุมภาพันธP 2566]. เขZาถึงไดZ จากจาก: http://www.hospital.tu.ac.th/ndtuh/upload/ addsome/ files/2022032410121511.pdf 5. กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข. แนะประชาชนใส\ใจสุขภาพ วัดความดันโลหิตอย\างสม่ำเสมอ ปôองกันโรคความ ดันโลหิตสูง. พ.ศ. 2565. [เขZาถึงเมื่อ 2 กุมภาพันธP 2566]. เขZาถึงไดZจาก: http://www.ddc.moph.go.th/brc/news.php.news. 6. สำนักโรคไม\ติดต\อกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข. จำนวนและอัตราตายดZวยโรคความดันโลหิตสูง ปk พ.ศ. 2544- 2555. [เขZาถึงเมื่อ 27 กรกฏาคม 2560]. เขZาถึงไดZจากจาก: http://www. Thaincd. Com/informationstatistic/non-communicable-disease-data. 7. สมาคมความดันโลหิตสูงแห\งประเทศไทย. แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป(ฉบับปรุงปรุง พ.ศ. 2558). [เขZาถึงเมื่อ 27 กรกฏาคม 2560]. เขZาถึงไดZจากจาก: http://www. Thaihypertension.org. 8. ณัฐดนัย สดคมขำ. ปíจจัยที่ส\งผลต\อการควบคุมระดับความดันโลหิตของผูZปnวยโรคความดันโลหิตสูงชนิดปฐมภูมิ จังหวัด สมุทรสงคราม. วารสารวิจัยเพื่อการส\งเสริมสุขภาพคุณภาพชีวิต 2565;2(2):25-36. 9. Sritirakul S, Nuntawan C, Thrakul S, Bullangpo P, Paonibol U. Factors related to the failure of controlling hypertension. Journal Public Health 1999; 29(1): 49-58. 10. นพาภรณP จันทรPศรี กนกพร นทีธนสมบัติ และ ทวีศักดิ์ กสิผล. ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองในผูZปnวยโรคความ ดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม\ไดZ. วารสารวิทยาศาสตรPและเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. พ.ศ. 2564; [เขZาถึงเมื่อ 2 กุมภาพันธP 2566]. เขZาถึงไดZจาก: https://ph02.tci-thaijo.org. 11. สุดฤทัย รัตนโอภาส. ประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูZปnวยความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลปากน้ำ ชุมพร. วารสารอยุรศาสตรP มหาวิทยาลัยขอนแก\น 2560;3(4):59. 12. ประกาศสภาการพยาบาล. ขอบเขตและสมรรถนะผูZปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง พ.ศ.2552. [เขZาถึงเมื่อ 2 กุมภาพันธP 2566]. เขZาถึงไดZจาก: https://www.tnmc.or.th. 13. Spross JA. Expert Coaching and Guidance. En: Hamric AB, Spross JA, Hanson CM. Advanced practice nursing: an integrative approach. Philadelphia: Elsevier; 2009 14. จำเนียร พรประยุทธ ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ และ สมสมัย รัตนากรีฑากุล. ผลของโปรแกรมการชี้แนะต\อพฤติกรรม การควบคุมโรคเบาหวานและค\าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมในผูZปnวยเบาหวานชนิดที่2. วารสารคณะพยาบาลศาสตรP มหาวิทยาลัยบูรพา 2560 ; 2(4): 60-69.


v Effects of Using Coaching on Blood Pressure and Quality of Life in the Elderly with Uncontrolled Hypertension in the Outpatient Department Khoksamrong Hospital, Lopburi Province ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 16 15. ภูรดา ยังวิลัย. การเปรียบเทียบผลของการชี้แนะและการสอนสุขศึกษาต\อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิต ของผูZสูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม\ไดZ แผนกผูZปnวยนอก โรงพยาบาลโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน 2563; 6(2): 41. 16. Polit DF. Beck CT. Nursing Research:Gernerating and Assessing vidence for Nursing Practice.(8th ed). Philadephia:Lippincott; 2008. 17. Cohen J. Statistical Power Analysis for the Behavioral Sciences. New York: Routledge Academic; 1988. 18. Haas SA. Coaching: Developing key players. Journal of Nursing Administration. 1992; 22(6): 54-58. 19. อนัญญา มานิตยP. การพัฒนารูปแบบการบริการพยาบาลผูZปnวยโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลพระนารายณPมหาราช จังหวัด ลพบุรี. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน 2562;5(2):131. 20. จำเนียร พรประยุทธ. ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ. และ สมสมัย รัตนกรีฑากุล. ผลของโปรแกรมการชี้แนะต\อพฤติกรรม. การควบคุมโรคเบาหวาน และ ค\าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมในผูZปnวยเบาหวานชนิดที่ 2 .วารสารคณะพยาบาลศาสตรP มหาวิทยาลัยบูรพา 2560;25(4):60-69.


vผลของดนตรีบําบัดต่อความวิตกกังวลและสัญญาณชีพของผู้ป ่วย ท่ ีรับการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 17วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ผลของดนตรีบําบัดต่อความวิตกกังวลและสัญญาณชีพของผู้ปวยที ่่ รับ การผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ The Effects of Music Therapy on Anxiety Level and Vital Sings in One Day Surgery patients, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital ดาราวรรณ คำปา พย.ม* Darawan Kumpa, M.N.S* เดชา ทำดี ปร.ด. (การพยาบาล)** Decha Tamdee, Ph.D. (Nursing)** Corresponding author: E-mail: [email protected] Received: 9 Mar 2023, Revised: 29 Apr 2023, Accepted: 10 May 2023 *พยาบาลวิชาชีพ แผนกงานการพยาบาลผูVปXวยผYาตัดและพักฟ_`น ฝXายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหมYE-mail: [email protected] *Register Nurse, Operating theatre and recovery room nursing Department, Maharaj Nakorn chiang Mai Hospital **รองศาสตราจารยqดอกเตอรq คณะพยาบาลศาสตรq มหาวิทยาลัยเชียงใหมY Email: [email protected] **Associcate Profession. Faculty of Nursing, Chiang Mai University บทคัดย'อ การวิจัยกึ่งทดลองชนิดสองกลุ4มวัดก4อนและหลังนี้มีวัตถุประสงค@เพื่อเปรียบเทียบผลของดนตรีบำบัดต4อ ความวิตกกังวลและสัญญาณชีพของผูKปLวยที่รับการผ4าตัดแบบวันเดียวกลับ กลุ4มตัวอย4างคือ ผูKปLวยที่เขKารับการรักษา ดKวยการผ4าตัดแบบวันเดียวกลับของโรงพยาบาลมหาราชมหาราชนครเชียงใหม4 จำนวน 60 ราย แบ4งเปRนกลุ4มควบคุม และกลุ4มทดลองกลุ4มละ 30 ราย คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ@ที่กำหนด กลุ4มทดลองไดKรับดนตรีบำบัดก4อน ผ4าตัด ส4วนกลุ4มควบคุมไดKรับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใชKในการวิจัยไดKแก4แผ4นดิสก@เสียงธรรมชาติ เครื่องเล4น คอมแพคดิสก@หูฟYงสวมศีรษะ เครื่องวัดสัญญาณชีพมาตรฐานอัตโนมัติ เครื่องมือที่ใชKในการรวบรวมขKอมูล ไดKแก4 แบบ บันทึกขKอมูลส4วนบุคคล แบบบันทึกสัญญาณชีพ และมาตรวัดระดับความวิตกกังวลซึ่งสรKางโดยเอเค4น (Aitken) หาความ เชื่อมั่นโดยนำมาทดสอบซ้ำ ไดKค4าความเชื่อมั่น 0.90 วิเคราะห@ขKอมูลโดยใชKสถิติทดสอบแมน วิทนีย@ยู (Mann-Whitney U test)สถิติทดสอบวิลคอกซัน (Wilcoxon sign rank test) และการวิเคราะห@ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ (Repeated measured ANOVA และ Bonferroni test) ผลการวิจัยพบว4า ระยะหลังการทดลอง 5 นาทีกลุ4มทดลองมีคะแนนความวิตกกังวลเฉลี่ยนKอยกว4ากลุ4มควบคุมอย4างมี นัยสำคัญทางสถิติ(p<.001) มีค4าความดันโลหิตไดแอสโตลิก และอัตราการหายใจเฉลี่ยต่ำกว4ากลุ4มควบคุมอย4างมี นัยสำคัญทางสถิติ(p<.001; p=.014) แต4กลุ4มทดลองมีค4าความดันโลหิตซิสโตลิกและอัตราการเตKนของหัวใจไม4 แตกต4างจากกลุ4มควบคุม (p=.15; p=.50) ดังนั้นพยาบาลควรนำดนตรีบำบัดมาใชKในการดูแลผูKปLวยก4อนรับการผ4าตัดแบบแบบวันเดียวกลับ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการพยาบาลผูKปLวยต4อไป คำสำคัญ: ดนตรีบำบัด การผ4าตัดแบบวันเดียวกลับ ความวิตกกังวล สัญญาณชีพ


v The Effects of Music Therapy on Anxiety Level and Vital Sings in One Day Surgery patients, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 18 Abstract This semi-experimental design aimed to compare the effects of music therapy on anxiety level and vital signs in one-day surgery patients. at Maharat Nakhon Chiang Mai Hospital. A sample of 60 patients was divided into two groups. Each group consisted of 30 patients. The experimental group received preoperative music therapy. The research tools consisted of a natural sound disc, a compact disc player, and headphones. A standardized automatic blood pressure and vital signs monitor was used to collect data. The data collection tools included personal data logs, vital signs records, and VAS anxiety level gauges. The data were analyzed using descriptive statistics, MannWhitney U test, the Wilcoxon sign rank test, and the levels of significant difference were measured using ANOVA and Bonferroni tests. The results of the study showed that, five minutes after the experiment, the mean diastolic blood pressure and anxiety score of the experimental group was found significantly lower than the control group (P<.001; P= .014) . However, there is no significantly difference of the mean systolic blood pressure and heart rate between the experimental and the control group (P=15; P=.50) The mean diastolic blood pressure of the experimental group was found significantly lower than the control group (P<0.01) The respiratory rates in both groups decreased but those in the experimental group were statistically lower than the control group (P<.014). The results showed positive effects of using music therapy in reducing anxiety, diastolic blood pressure and respiratory rate in one-day surgery patients. Nurses should use music therapy in preoperative one day surgery patients in order to increase effectiveness of nursing care In summary, the results of this study can be used to plan for the care of patients who are waiting for surgery. Keyword: Music Therapy, One Day Surgery, Anxiety, Vital signs


vผลของดนตรีบําบัดต่อความวิตกกังวลและสัญญาณชีพของผู้ป ่วย ท่ ีรับการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 19วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ความเปTนมาและความสำคัญของป[ญหา การผ4าตัดแบบวันเดียวกลับอาจสรKางความไม4 คุKนเคยต4อผูKปLวยสถานที่สิ่งแวดลKอมต4าง ๆ ในหKอง มีเวลา ปรับตัวนKอย และตKองแยกกับญาติรวมถึงผูKดูแลรอคอย ก4อนจะถึงคิวผ4าตัด ทำใหKเกิดความวิตกกังวล ซึ่งความ วิตกกังวลขึ้นอยู4กับประสบการณ@หรือขKอมูลที่ผูKปLวยมี สภาพแวดลKอมที่แปลกใหม4และไม4คุKนเคย เปRนตัวกระตุKน ที่ก4อใหKเกิดความเครียด ความกลัว และความวิตกกังวล1 ความวิตกกังวลอาจส4งผลกระทบต4อสุขภาพกาย และ สภาพจิตใจผูKปLวยไดK ความวิตกกังวลจนเกิดความเครียด จะมีผลต4อระบบประสาทอัตโนมัติโดยจะกระตุKนการหลั่ง อิพิเนฟริน (Epinephrine) จากต4อมหมวกไตและนอร@อิพิ เนฟริน (Norepinephrine) จากปลายประสาทอัตโนมัติ ทำใหKมีการบีบตัวของหลอดเลือด และความดันโลหิต เพิ่มขึ้น เมื่อเกิดความเครียดจะทำใหKมีการเปลี่ยนแปลง ของความดันโลหิต เนื่องจากบาโรรีเซปเตอร@ (Baroreceptor) ซึ่งทำหนKาที่ปรับระดับความดันเลือดใหK เปRนปกติมีการส4งกระแสประสาทผ4านเสKนประสาทคู4ที่ 10 (Vagus nerve) ใหKมีการทำงานลดลง ทำใหKร4างกายปรับ ระดับความดันโลหิตใหKสูงขึ้นกว4าเดิม2 ดนตรีบำบัดเปRนการนำดนตรีและกิจกรรมดนตรี ต4าง ๆ ไปใชKบำบัดรักษาผูKปLวยทั้งทางร4างกาย จิตใจ และ อารมณ@โดยคำนึงถึงวัย ลักษณะโรคและอาการของผูKปLวย3 โดยดนตรีบำบัดเริ่มเมื่อมีเสียงดนตรีผ4านไปยังอวัยวะรับ เสียงและส4งทอดสัญญาณไปตามเสKนประสาทนำไปสู4 สมองซีกขวา ซึ่งเปRนสมองส4วนที่เกี่ยวกับความคิดริเริ่ม สรKางสรรค@จินตนาการ และการตอบสนองทางจิตสรีระ โดยกระตุKนผ4านสมองส4วนลิมบิค (Limbic) ซึ่งเปRน ศูนย@กลางควบคุมอารมณ@ความรูKสึก และมีผลต4อสมอง ส4วนไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) และคอร@เทคซ@ (Cortex) ความรูKสึกสงบ และผ4อนคลายจากดนตรีมี อิทธิพลต4อการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบ กลKามเนื้อภูมิคุKมกันและต4อมไรKท4อ4 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม4 มีบริการดูแล ผูKปLวยผ4าตัดแบบวันเดียวกลับ ในปó พ.ศ. 2556 มีจำนวน ผูKปLวย ทั้งหมด 2,674 ราย ในจำนวนนี้พบว4ามีความวิตก กังวล และมีภาวะความดันโลหิตสูงจำนวน 6 ราย คิดเปRน รKอยละ 2.38 แมKว4าสถิติการเกิดปYญหาจะนKอย แต4ยังคงมี ความจำเปRนในการพยายามใหKการพยาบาลเพื่อลดปYญหา นี้เพราะเมื่อผูKปLวยมีความดันโลหิตสูงจะส4งถึงผลลัพธ@การ ผ4าตัด มีความเสี่ยงต4อการเกิดเลือดออกมากขณะผ4าตัด ทำใหKแพทย@จะงดการผ4าตัด จากการศึกษาของจันทนิภา ธีรพงษ@5 ที่ศึกษาถึงผลกระทบของการงด/เลื่อนผ4าตัดของ หKองผ4าตัดโรงพยาบาลเสนาในผูKปLวยผ4าตัดแบบวันเดียว กลับ (One day surgery) พบว4าการเลื่อนการผ4าตัดมี ผลกระทบต4อตัวผูKปLวย ทั้งร4างกายและจิตใจ ทำใหKเสีย โอกาสในการรักษา อาการของโรคลุกลาม และโรคมีความ รุนแรงมากขึ้น ส4งผลใหKเสียค4าใชKจ4ายเพิ่มขึ้น สาเหตุของ การเลื่อนการผ4าตัดมาจากความวิตกกังวลทำใหKความดัน โลหิตสูง6 และไดKมีการจัดทำโครงการลดความวิตกกังวล ดKวยดนตรีบำบัด (Preoperative anxiety with music therapy) เนื่องจากพบว4าดนตรีบำบัดมีผลต4อการลด ความวิตกกังวลของผูKปLวยก4อนผ4าตัด ไดKทำการศึกษานำ ร4องในผูKปLวยที่มารอรับการผ4าตัดจำนวน 80 คน ตั้งแต4 วันที่ 1 มีนาคมถึง 31 พฤษภาคม 2553 กลุ4มตัวอย4าง เปRนเพศหญิง 43 คน เพศชาย 37 คน ผลการศึกษา พบว4าก4อนฟYงดนตรีบำบัด มีความวิตกกังวลหรือกลัวการ ผ4าตัดคิดเปRนรKอยละ 63.70 หลังจากไดKฟYงดนตรีบำบัด แลKวกลุ4มตัวอย4างมีความวิตกกังวลหรือกลัวการผ4าตัดรKอย ละ 21.20 ซึ่งจะพบว4าดนตรีบำบัดช4วยลดความวิตกกังวล ในการผ4าตัด ในการศึกษานำร4องไม4มีการจำกัดดKาน สิ่งแวดลKอม แสง เสียงรบกวน และดนตรีที่ใชKเปRนเพลง ตามที่ผูKปLวยชอบ จากการศึกษาของศุภมิตร ประสบเกียรติ7 พบว4า บทเพลงอาจมีเนื้อเพลงไปกระตุKนความรูKสึกหรือมี ระดับเสียงดังมากมีผลต4ออารมณ@ของผูKปLวย เนื่องจาก จังหวะหรือลีลา (Rhythm) ช4วยสรKางเสริมสมาธิ (Concentration) และช4วยในการผ4อนคลาย (Relax) ใน ส4วนของระดับเสียง (Pitch) พบว4าเสียงในระดับต่ำ และ เสียงระดับสูงปานกลางจะช4วยใหKเกิดความรูKสึกสงบส4วน


v The Effects of Music Therapy on Anxiety Level and Vital Sings in One Day Surgery patients, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 20 ระดับเสียงดัง (Volume/intensity) พบว4าระดับเสียงที่ เบานุ4มจะทำใหKเกิดความสงบสุข สบายใจ ในขณะที่ ระดับเสียงดังทำใหKเกิดการเกร็งกระตุกของกลKามเนื้อไดK ระดับเสียงดังที่เหมาะสม จะช4วยสรKางระเบียบในการ ควบคุมตนเองไดKดี มีความสงบ และเกิดสมาธิในส4วน ของทำนองเพลง (Melody) ช4วยในการระบายความรูKสึก ส4วนลึกของจิตใจ ทำใหKเกิดความคิดริเริ่มสรKางสรรค@และ ลดความวิตกกังวล อีกทั้งการประสานเสียง (Harmony) ช4วยในการวัดระดับอารมณ@ความรูKสึกไดKโดยดูจาก ปฏิกิริยาที่แสดงออก สถาบันโจแอนนาบริกส@ (The Joanna Briggs Institute for music as an intervention in hospitals) 8 ไดKจัดทำแนวปฏิบัติที่ดีใน การนำดนตรีมาใชKเปRนกิจกรรมใหKการพยาบาลใน โรงพยาบาลโดยลักษณะของดนตรีที่นำมาใชKควรมีความ ชKาเร็วของจังหวะ (Tempo) เปRนสิ่งสำคัญที่สุด จังหวะที่ ชKา 60-80 ครั้งต4อนาทีไม4มีเนื้อรKอง และผูKปLวยเปRนผูK เลือกเพลงเองซึ่งจะทำใหKเกิดการผ4อนคลาย ดังนั้นผูKวิจัย จึงนำดนตรีที่เปRนเสียงธรรมชาติ 4 ชุดไดKแก4 เสียงลม เสียงคลื่น เสียงน้ำไหล และเสียงนกรKองและมีความถี่ของ จังหวะอยู4ระหว4าง 60-80 ครั้งต4อนาที เรียบเรียงโดยจักร กริช กลKาผจญ9 มาใชKในการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพและ ประสิทธิภาพในการดูแลผูKปLวยที่รับการผ4าตัดแบบวัน เดียวกลับของหน4วยดูแลผูKปLวยก4อนผ4าตัดงานการ พยาบาลผูKปLวยผ4าตัดและพักฟ°¢นโรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม4 อันจะส4งผลใหKผูKปLวยไดKรับการผ4าตัดอย4าง ปลอดภัยและคลายความวิตกกังวลไดK วัตถุประสงค`ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบความวิตกกังวลและสัญญาณชีพ ระหว4างกลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุมก4อนหลังไดKรับ ดนตรีบำบัด สมมติฐานการวิจัย กลุ4มทดลองหลังไดKรับดนตรีบำบัดผูKปLวยมีความวิตก กังวล ความดันโลหิต อัตราการเตKนของหัวใจ อัตราการ หายใจนKอยกว4ากลุ4มควบคุม กรอบแนวคิดในการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ไดKใชKแนวคิดจากการทบทวน วรรณกรรมที่เกี่ยวขKองเปRนกรอบในการศึกษา ซึ่งพบว4า ดนตรีบำบัดที่ไม4มีเนื้อรKองประเภทผ4อนคลาย ที่เปRนเสียง ธรรมชาติ 4 ชุด ไดKแก4 เสียงลม เสียงคลื่น เสียงน้ำไหล และเสียงนกรKอง มีความถี่จังหวะ 60-80 ครั้งต4อ/นาที จังหวะสม่ำเสมอความยาวในการฟYงดนตรีประมาณ 30 นาที9 สามารถลดความวิตกกังวล และสัญญาณชีพใน ผูKปLวยที่เขKามารับการผ4าตัดแบบวันเดียวกลับเพราะ เสียงดนตรีมีผลต4อสมองซีกขวาซึ่งเปRนสมองเกี่ยวกับ ความคิดริเริ่มสรKางสรรค@จินตนาการ และตอบสนองโดย กระตุKนผ4านลิมบิค (limbic) ซึ่งเปRนศูนย@กลางควบคุม อารมณ@ ความรูKสึก และการรับรูK โดยสมองส4วนลิมบิค ทำงานประสานกับสมองส4วนคอร@เทคซ@ และไฮโปทา ลามัส เมื่อผูKปLวยไดKรับดนตรีบำบัดจะส4งสัญญาณ ประสาทไปยังสมองส4วนลิมบิค ซึ่งจะตอบสนองโดยการ หลั่งสารเอนดอร@ฟ£นทำใหKมีการปรับเปลี่ยนดKานอารมณ@ และผ4อนคลายแลKวยังมีผลลดระดับความวิตกกังวล3 จึง ลดความวิตกกังวล ลดความดันโลหิต อัตราการเตKนของ หัวใจ อัตราการหายไดK วิธีการดำเนินการวิจัย งานวิจัยครั้งนี้ใชKระเบียบวิธีวิจัยกึ่งทดลอง (Quasiexperimental research design) ชนิดสองกลุ4มวัด ก4อนหลัง เพื่อเปรียบเทียบผลของดนตรีบำบัดต4อความวิตก กังวลและการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพในผูKปLวยที่มารับ การผ4าตัดแบบวันเดียวกลับโดยทำการรวบรวมขKอมูลตั้งแต4 เดือนตุลาคม 2557ถึงกันยายน 2558 ประชากรและกลุfมตัวอยfาง ประชากรที่ใชKในการศึกษา คือ ผูKปLวยที่มารับการ ผ4าตัดแบบวันเดียวกลับงานการพยาบาลผูKปLวยผ4าตัดและ พักฟ°¢น โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม4ระหว4างเดือน ตุลาคม 2557 ถึง กันยายน 2558


vผลของดนตรีบําบัดต่อความวิตกกังวลและสัญญาณชีพของผู้ป ่วย ท่ ีรับการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 21วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ กลุ4มตัวอย4างคำนวณจากการศึกษาของนีช4าย ลี เกKา และเชน (Ni, Tsai, Lee, Kao, & Chen) 10กำหนด ความคลาดเคลื่อน 0.05 อำนาจการทดสอบ 0.95 ใชK G* power ในการคำนวณไดKจำนวนกลุ4มตัวอย4างกลุ4มละ 29 ราย ผูKวิจัยปรับเปRนกลุ4มละ 30 ราย ซึ่งเปRนจำนวนนKอย ที่สุดและมีความเหมาะสม คัดเลือกกลุ4มตัวอย4างแบบ เฉพาะเจาะจงตามเกณฑ@การคัดเลือกกลุ4มตัวอย4าง (inclusion criteria) ดังนี้ 1. เปRนผูKปLวยที่มาผ4าตัดแบบวันเดียวกลับทุกชนิด 2. มีอายุระหว4าง 18-65 ปó 3. มีความวิตกกังวลตั้งแต4ระดับปานกลาง (4.0- 5.99) ขึ้นไป และมีภาวะความดันโลหิตมากกว4า 140/90 มิลลิเมตรปรอท 4. มีการรับรูKและสติสัมปชัญญะดี เขKาใจการ สื่อสารดKวยภาษาไทยไดK 5. ชอบฟYงดนตรี ประเมินโดยการสอบถาม 6. ไม4มีปYญหาในการไดKยินหรือหูหนวก, มีการรับรูK โดยการไดKยินปกติโดยการประเมินอาการแรกรับการ ตอบคำถาม 7. ไม4มีประสบการณ@ที่ไม4ดีเกี่ยวกับ เสียงคลื่น เสียงน้ำไหล เสียงลม และเสียงนกรKอง มีประสบการณ@ที่ ดีเกี่ยวกับเสียงคลื่น เสียงลม เสียงน้ำไหลและเสียงนก รKองประเมินโดยการสอบถาม 8. ยินดีใหKความร4วมมือในการวิจัย หลังจากนั้นผูKวิจัยคัดเลือกเขKากลุ4มทดลองและ กลุ4มควบคุมโดยการสุ4มจับฉลาก เครื่องมือที่ใชiในการวิจัย ส4วนที่ 1 เครื่องมือที่ใชKในการศึกษา ประกอบดKวย แผ4นดิสก@เสียงธรรมชาติ 4 ชุด ที่จัดทำ ไดKแก4 เสียงลม เสียงคลื่น เสียงน้ำไหล และเสียงนกรKอง มีความถี่จังหวะ 60-80 ครั้งต4อนาทีเครื่องเล4นคอม แผ4นดิสก@หูฟYงชนิด สวมศีรษะเครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติ เลือก แผ4นดิสก@โดย มีเกณฑ@ในการเลือกคือลักษณะของดนตรี บำบัดรักษาผูKปLวยช4วยผ4อนคลายทั้งร4างกายและจิตใจ และอารมณ@ทำใหKเกิดความสุขลักษณะของดนตรี ประเภทผ4อนคลายดนตรีไม4มีเนื้อรKอง เปRนเสียงธรรมชาติ ส4วนที่ 2 เครื่องมือที่ใชKในการรวบรวมขKอมูล ประกอบไปดKวย 1. แบบบันทึกขKอมูลทั่วไปของกลุ4มตัวอย4างไดKแก4 เพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ การศึกษา รายไดK ประเภท การผ4าตัด ประวัติโรคประจำตัวและประวัติการผ4าตัด สรKางโดยผูKวิจัย 2. แบบบันทึกขKอมูลสัญญาณชีพบันทึกทุกเวลาที่ 0, 5, 15, และ 35 ใหKบันทึก ชีพจร หายใจ ความดัน โลหิต ยกเวKนอุณหภูมิของร4างกายเนื่องจากผูKปLวยผ4าตัด วันเดียวกลับทุกรายไดKรับการประเมินอุณหภูมิก4อนเขKา ผ4าตัด ถKาหากผูKปLวยมีไขKแพทย@จะใหKงดผ4าตัดเพื่อรักษา อาการไขKใหKหายก4อน 3. มาตรวัดความวิตกกังวล เปRนแบบประเมินค4า ดKวยสายตา (Visual analogue rating scale =VAS) ซึ่ง ผูKวิจัยประยุกต@จากมาตรวัดความวิตกกังวลแบบประเมิน ค4าดKวยสายตา (Visual analogue rating scale: VAS of anxient measurement) ของ Aitken11 มีลักษณะ เปRนเสKนตรงมีความยาว 10 เซนติเมตร โดยใชKสเกล 1.1 แผ4นดิสก@เสียงธรรมชาติ ประกอบดKวย เสียง ลม เสียงคลื่น เสียงน้ำไหลและเสียงนกรKอง โดย ผูKทรงคุณวุฒิดKานดนตรี8 คณะแพทยศาสตร@ มหาวิทยาลัยเชียงใหม4เปRนผูKเรียบเรียง และไดKตรวจสอบ ตัวเลขตั้งแต4 0 ถึง 10 คะแนนเปRนตัวเลือกตามระดับ ความวิตกกังวล จากตำแหน4งปลายสุดทางซKายมือคือ 0 คะแนนหมายถึงไม4มีความวิตกกังวลและเพิ่มมากขึ้นไป ทางขวามือจนถึง 10 คะแนนหมายถึง มีความวิตกกังวล มากที่สุด ผูKวิจัยไดKเพิ่มตัวเลขกำกับไวKบนเสKนตรงเพื่อ สะดวกต4อผูKปLวยในการประเมินมากยิ่งขึ้นดังแสดงใน ภาพที่ 1


v The Effects of Music Therapy on Anxiety Level and Vital Sings in One Day Surgery patients, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 22 การแปลค4าความวิตกกังวล แบ4งออกเปRน 5 ระดับ11 ดังนี้ 8.00 - 10.0 คะแนน แสดงถึงผูKปLวยมีความวิตก กังวลมากที่สุด 6.00 - 7.99 คะแนน มีความวิตกกังวลมาก 4.00 - 5.99 คะแนน มีความวิตกกังวลปาน กลาง 2.00 - 3.99 คะแนน มีความวิตกกังวลนKอย 0.01 - 1.99 คะแนน มีความวิตกกังวลนKอย ที่สุด 4. เครื่องมือวัดสัญญาณชีพแบบอัตโนมัติ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใชiในการวิจัย 1. การหาความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (Reliability) ว4ามีลักษณะผ4อนคลาย มีความถี่ของจังหวะ อยู4ในช4วง 60 - 80 ครั้ง ต4อนาที 1.2 เครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติ ไดKนำไปทำการ ตรวจสอบมาตรฐาน (Calibration) กับช4างอิเล็กทรอนิกส@ ของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม4 และใชKเครื่อง เดียวกันตลอดการศึกษา ทั้งกลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุม 1.3 แบบประเมินความวิตกกังวล ผูKวิเคราะห@งาน นำมาหาความเชื่อมั่นกับผูKปLวยที่มารอรับการผ4าตัด จำนวน 10 ราย ดKวยวิธีการทดสอบซ้ำ (Test-retest) มีระยะห4าง การประเมิน 10 นาที ไดKค4าความเชื่อมั่นเท4ากับ 0.90 โดย ใชKสถิติ Pearson's Product Moment Correlation12 การพิทักษ`สิทธิ์ของกลุfมตัวอยfาง การวิจัยครั้งนี้ไดKผ4านการพิจารณาจริยธรรมการ วิจัย จากกรรมการจริยธรรมวิจัย คณะแพทยศาสตร@ มหาวิทยาลัยเชียงใหม4 ตามหมายเลขบันทึกขKอความ ที่ศธ 6393(8).2 ฟพ.ปผพ./27 โดยผูKวิจัยพิทักษ@สิทธิ์ของ กลุ4มตัวอย4างโดยอธิบายวัตถุประสงค@ขั้นตอน รายละเอียดในการวิจัยและเก็บขKอมูลรวม เป£ดโอกาสใหK กลุ4มตัวอย4างต4าง ๆ การมีส4วนร4วมในการวิจัยครั้งนี้เปRน ความยินยอมสมัครใจของกลุ4มตัวอย4าง โดยผูKวิจัยไม4สวม ชุดพยาบาลเพื่อใหKผูKปLวยมีอิสระในการตัดสินใจ ผูKปLวยมี สิทธิ์ในการปฏิเสธเขKาร4วมวิจัย โดยไม4มีผลต4อการดูแล รักษาหรือการบริการต4าง ๆ ที่ไดKรับและการแยกผูKปLวย ออกจากกลุ4มวิจัยในรายที่ไม4สามารถฟYงดนตรีบำบัดจน จบการทดลอง ขKอมูลที่ไดKจากการศึกษาวิจัยเก็บรวบรวม ไวKและนำเสนอผลการวิจัยในภาพรวม และทำลายขKอมูล หลังไดKรับการเผยแพร4แลKว 1 ปó ขั้นตอนการรวบรวมขiอมูล ผูKวิจัยดำเนินการรวบรวมขKอมูลดKวยตนเอง โดย ประเมินผูKปLวยทุกราย ที่เขKามารับการผ4าตัดแบบวันเดียว กลับ ประเมินความวิตกกังวล ผูKที่มีความวิตกกังวลตั้งแต4 ระดับปานกลางขึ้นไป (คะแนนความวิตกกังวลตั้งแต4 4.00-5.99 ขึ้นไป)และความดันโลหิต140/90 มิลลิเมตร ปรอทขึ้นไปมีคุณสมบัติตามที่กำหนด ดำเนินการดังนี้ 1. กลุ4มทดลอง ใหKฟYงเพลงจากแผ4นดิสก@ผ4านหู ฟYง ผูKวิจัยทำการบันทึกขKอมูลสัญญาณชีพจากเครื่อง 1 10 ภาพที่ 1 มาตรวัดความวิตกกังวลเปRนแบบประเมินค4าดKวยสายตา 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ไม4มีความวิตกกังวล มีความวิตกกังวลมากที่สุด ภาพที่ 2: มาตรวัดความวิตกกังวลเปRนแบบประเมินค4าดKวยสายตาที่ผูKวิจัยประยุกต@มาจากมาตร วัดความวิตกกังวลของ Aitken


vผลของดนตรีบําบัดต่อความวิตกกังวลและสัญญาณชีพของผู้ป ่วย ท่ ีรับการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 23วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ บันทึกสัญญาณชีพอัตโนมัติ ณ เวลาที่เริ่มใหKผูKปLวยฟYง ดนตรี จากนั้นวัดและบันทึกสัญญาณชีพขณะฟYงดนตรี 15 นาที เมื่อดนตรีจบ ในนาทีที่ 30 และวัดสัญญาณชีพ อีกครั้งหลังจากที่ผูKปLวยฟYงดนตรีจบ 5 นาที(นาทีที่ 35) ทำการวัดระดับความวิตกกังวลครั้งที่ 2 หลังจากผูKปLวย ฟYงดนตรีจบแลKว 5 นาที 2. กลุ4มควบคุมผูKวิจัยติดเครื่องบันทึกสัญญาณชีพ อัตโนมัติ ที่ตัวผูKปLวยและเริ่มวัดสัญญาณชีพไดKแก4 อัตรา การเตKนของหัวใจ อัตราการหายใจ ค4าความดันโลหิต และวัดต4อเนื่องในนาทีที่ 15, 30 และ 35 การวัดระดับ ความวิตกกังวลครั้งที่ 2 ในนาทีที่ 35 นำขKอมูลที่ไดKมาทำ การวิเคราะห@ขKอมูลทางสถิติต4อไป การวิเคราะห`ขiอมูล ผูKวิจัยนำขKอมูลที่รวบรวมไดKมาวิเคราะห@ทางสถิติ โดยใชKโปรแกรมคอมพิวเตอร@สำเร็จรูป 1. ขKอมูลส4วนบุคคลวิเคราะห@โดยหาค4ารKอยละ ค4าเฉลี่ย ค4าเบี่ยงเบนมาตรฐานและเปรียบเทียบ คุณลักษณะของกลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุมโดยใชK ค4าสถิติ t-test และสถิติ Chi-square, Fisher exact test และ Mann-Whitney U test 2. เปรียบเทียบค4าเฉลี่ยคะแนนความวิตกกังวล ภายในกลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุมโดยใชKค4าสถิติ Mann-Whitney U test และ Wilcoxon sign rank test เนื่องจากการแจกแจงขKอมูล ไม4เปRนโคKงปกติ 3. เปรียบเทียบค4าเฉลี่ยของค4าความดันโลหิตซิส โตลิก ความดันโลหิตไดแอสโตลิก อัตราการเตKนของ หัวใจ อัตราการหายใจในนาทีที่ 0, 15, 30 และ 35 โดย ใชKค4าสถิติ Repeated measured ANOVA แ ล ะ Bonferroni ผลการวิจัย สfวนที่ 1 ขKอมูลส4วนบุคคล ในกลุ4มทดลอง พบว4า เปRนเพศชาย รKอยละ 50 อายุเฉลี่ย ระหว4าง 49.40 (S.D.=14.3) ปóสถานะภาพคู4 รKอยละ 83.33 มีอาชีพรับจKางมากที่สุดรKอยละ 33.33 จบการศึกษาต่ำกว4าระดับปริญญาตรีรKอยละ 73.33 รายไดKนKอยกว4า 10,000 บาทต4อเดือน รKอยละ 53.33 และเปRนการผ4าตัดระบบทางเดินอาหารมากที่สุดรKอยละ 40 ส4วนในกลุ4มควบคุมพบว4าเปRนเพศหญิงมากที่สุดรKอย ละ 53.33 อายุเฉลี่ย 53.80 (S.D.=14.6) ปóสถานะภาพ คู4 รKอยละ 86.66 มีอาชีพแม4บKานมากที่สุดรKอยละ 36.66 จบการศึกษาต่ำกว4าระดับปริญญาตรีรKอยละ70 รายไดK นKอยกว4า 10,000 บาทต4อเดือน รKอยละ 46.66 และเปRน การผ4าตัดระบบทางเดินปYสสาวะมากที่สุดรKอยละ 36.66 โดยเมื่อเปรียบเทียบขKอมูลทั่วไประหว4างกลุ4มทดลองและ กลุ4มควบคุม พบว4าไม4มีความแตกต4างกันอย4างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p>.05) สfวนที่ 2 การเปรียบเทียบผลความวิตกกังวล และสัญญาณชีพระหว4างกลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุม ก4อนและหลังไดKรับดนตรีบำบัดก4อนการผ4าตัด ผลการศึกษาพบว4าเมื่อเปรียบเทียบคะแนนความ วิตกกังวลพบว4า ในระยะหลังการทดลอง สิ้นสุดการฟYง เพลง 5 นาที คะแนนความวิตกกังวลหลังทดลองของกลุ4ม ทดลองมีคะแนนนKอยกว4ากลุ4มควบคุมอย4างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<.001) (ดังตารางที่ 1) ส4วนค4าเฉลี่ยความดันซิสโตลิคระหว4างกลุ4ม ทดลองและกลุ4มควบคุม พบว4าค4าเฉลี่ยความดันซิสโตลิก หลังการทดลองไม4มีความแตกต4างกันอย4างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p=.15) (รูปที่ 1) สำหรับค4าเฉลี่ยความดันได แอสโตลิก ระหว4างกลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุมลดลง อย4างมีนัยสำคัญทางสถิต (p<.001) ในนาทีที่ 0, 15, 30 และ 35 อีกทั้งภายในกลุ4ม ณ เวลาต4าง ๆ ลดลงอย4างมี นัยสำคัญทางสถิต (p<.001) (รูปที่ 2) ในส4วนอัตราการ เตKนของหัวใจในกลุ4มทดลองไดKรับดนตรีบำบัดมีอัตราการ เตKนหัวใจลดลงเฉลี่ยนKอยกว4ากลุ4มควบคุม ไม4มีความ แตกต4างกันอย4างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.50) (รูปที่ 3) สำหรับค4าเฉลี่ยอัตราการหายใจของทั้ง 2 กลุ4มลดลงตาม ช4วงเวลาทั้งนี้อัตราการหายใจของกลุ4มทดลองชKากว4า กลุ4มควบคุมชKากว4าอย4างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.014) (รูปที่ 4)


v The Effects of Music Therapy on Anxiety Level and Vital Sings in One Day Surgery patients, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 24 ตารางที่ 1 เปรียบเทียบค4าคะแนนความวิตกกังวลแบบสองกลุ4มหลังไดKรับดนตรีบำบัด หลังการทดลอง 5 นาที ระหว4างกลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุม กลุ4มทดลอง (n=30) กลุ4มควบคุม (n=30) p value Mean SD. Mean SD. คะแนนความวิตกกังวลหลัง การทดลอง 5 นาที 1.87 1.40 2.80 1.52 <.001 รูปที่1 แสดงการเปรียบเทียบความแตกต4างค4าเฉลี่ยความดันซิสโตลิคลิก ผลการวัดนาทีที่ 0, 15, 30 และ 35 การ ทดลองระหว4าง กลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุม ณ นาทีที่ 0, 15, 30 และ 35 รูปที่ 2 เปรียบเทียบความแตกต4างค4าเฉลี่ยความดันไดแอสโตลิคลิก ผลการวัดนาทีที่ 0 15 30 และ 35 ระหว4างกลุ4ม ทดลองและกลุ4มควบคุม ณ นาทีที่ 0, 15, 30 และ 35


vผลของดนตรีบําบัดต่อความวิตกกังวลและสัญญาณชีพของผู้ป ่วย ท่ ีรับการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 25วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ อภิปรายผลการวิจัย 1. จากการเปรียบเทียบ คะแนนความวิตกกังวล ระหว4างกลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุม ในระยะหลังการ ทดลอง สิ้นสุดการฟYงเพลง 5 นาที พบว4ากลุ4มทดลองหลัง ใชKดนตรีบำบัดมีคะแนนความวิตกกังวล (X̅=1.80, S.D.=1.40) นKอยกว4ากลุ4มควบคุม (X̅= 2.80, S.D.=1.52) อย4างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>.01) ทั้งนี้อธิบายไดKว4า เสียงดนตรีมีผลต4อสมองซีกขวาซึ่งเปRนสมองเกี่ยวกับ ความคิดริเริ่มสรKางสรรค@จินตนาการ และตอบสนองโดย กระตุKนผ4านลิมบิค (Limbic) ซึ่งเปRนศูนย@กลางควบคุม อารมณ@ ความรูKสึก และการรับรูK โดยสมองส4วนลิมบิค ทำงานประสานกับสมองส4วนคอร@เทคซ@ และไฮโปทา ลามัส เมื่อผูKปLวยไดKรับดนตรีบำบัดจะส4งสัญญาณ ประสาทไปยังสมองส4วนลิมบิค ซึ่งจะตอบสนองโดยการ หลั่งสารเอนดอร@ฟ£นทำใหKมีการปรับเปลี่ยนดKานอารมณ@ และผ4อนคลายแลKวยังมีผลลดระดับความวิตกกังวล3 สอดคลKองกับการศึกษาของรัตนา เพิ่มเพ็ชร@ และเบญจ มาภรณ@ บุตรศรีภูมิ13 ซึ่งศึกษาผลของต4อระดับความ วิตกกังวลของผูKปLวยที่เขKารับการผ4าตัดคลอดคณะ แพทยศาสตร@โรงพยาบาลรามาธิบดีพบว4าในกลุ4มทดลอง ที่ไดKรับดนตรีบำบัดมีความวิตกกังวลลดลง กว4ากลุ4ม ควบคุมอย4างมีนัยสำคัญทางสถิติ รูปที่ 4 เปรียบเทียบความแตกต4างค4าเฉลี่ยอัตราการหายใจ ผลการวัดนาทีที่ 0 15 30 และ 35 ระหว4างกลุ4มทดลอง และกลุ4มควบคุม ณ นาทีที่ 0, 15, 30 และ 35 รูปที่ 3 เปรียบเทียบความแตกต4างค4าเฉลี่ยอัตราการเตKนของหัวใจ ผลการวัดนาทีที่ 0 15 30 และ 35 ระหว4างกลุ4ม ทดลองและกลุ4มควบคุม ณ นาทีที่ 0, 15, 30 และ 35


v The Effects of Music Therapy on Anxiety Level and Vital Sings in One Day Surgery patients, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 26 2. จากการเปรียบเทียบดKานสัญญาณชีพระหว4าง กลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุม พบว4า กลุ4มทดลองใชKดนตรี บำบัดมีค4าเฉลี่ยความดันซิสโตลิคระหว4างกลุ4มทดลอง และกลุ4มควบคุมภายหลังการทดลองไม4มีความแตกต4าง กันอย4างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.15) อย4างไรก็ตามผล การศึกษาครั้งนี้สอดคลKองกับผลการศึกษาเพื่อทบทวน วรรณกรรมอย4างเปRนระบบเกี่ยวกับผลของดนตรีบำบัด ต4อความดันโลหิตในผูKปLวยรอผ4าตัดซึ่งรวบรวมขKอมูลจาก ฐานขKอมูลต4าง ๆ ตั้งแต4ปó ค.ศ.1950-ค.ศ.2012 จำนวน 14 การศึกษาจากทั้งหมด 26 การศึกษาพบว4าไม4สามารถ สรุปผลการใชKดนตรีบำบัดต4อค4าเฉลี่ยความดันซิสโต ลิคไดKอย4างชัดเจนเนื่องมาจากผลการศึกษาไม4เปRนไป แนวทางเดียวกันและไม4มีความแตกต4างอย4างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ15 สำหรับค4าเฉลี่ยความดันไดแอสโตลิค ระหว4าง กลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุมหลังการทดลองพบว4า แตกต4างกันอย4างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) เนื่องจากเสียงดนตรีส4งผลต4อระบบประสาทอัตโนมัติ โดยลดการทำงานของประสาทซิมพาเทติค การหลั่งอิพิ เนฟฟ£น (Epinephrine) แ ล ะ น อ ร @ อ ิ ป £ เ น ฟ ริ น (Norepinehrin) ลดลง มีผลทำใหKความดันโลหิตลดลง 13,14และ การศึกษาครั้งนี้สอดคลKองกับผลการศึกษา15 ที่ พบว4าการใชKดนตรีบำบัดมีผลต4อการลดลงของค4าเฉลี่ย ความดันไดแอสโตลิคอย4างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. จากการเปรียบเทียบอัตราการเตKนของหัวใจ ระหว4างกลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุมหลังการทดลองไม4 แตกต4างกัน (p=.50) เนื่องมาจากผูKปLวยอาจถูกรบกวนจาก สิ่งแวดลKอม เคลื่อนยKายเตียง นอกจากนี้การตอบสนองทาง สรีระวิทยาต4อภาวะวิตกกังวล และอัตราการเตKนของหัวใจ ของแต4ละคนยังขึ้นอยู4ปฏิกิริยาการตอบสนองทางอารมณ@ ดKานลบและเปRนภัยถูกคุกคามความรูKสึกที่มีสาเหตุมาจาก ความกลัวสถานการณ@ในอนาคตที่ยังมาไม4ถึง16 และ สอดคลKองกับการศึกษาของแบรดและคณะพบว4าใน จำนวน 16 การศึกษา ดนตรีบำบัดไม4มีผลต4อการ เปลี่ยนแปลงของอัตราการเตKนของหัวใจ อย4างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ 4. จากการเปรียบเทียบอัตราการหายใจหว4างก ลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุมหลังการทดลองใชKดนตรี บำบัดของทั้งสองกลุ4มมีความแตกต4างกันอย4างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p=.014) จากการที่ดนตรีประเภทที่ ทำใหKสงบ (Soothing music) ทำใหKอัตราการไหลเวียน ของโลหิตในสมองชKาและมีปริมาณลดลง รวมทั้งยังทำใหK อัตราการใชKออกซิเจนเปRนนาทีและอัตราการเผาผลาญ สารอาหารลดลงดKวย ส4งผลใหKอัตราการหายใจชKาลง17 สอดคลKองกับการศึกษาของ Sargar และคณะ18 ที่ศึกษา ผูKปLวยที่เขKารับการผ4าตัดคลอดบุตรที่ไดKรับยาชาเขKาไขสัน หลัง หลังไดKรับดนตรีบำบัดต4อความวิตกกังวลของผูKปLวย ก4อนผ4าตัดพบว4ามีอัตราการหายใจลดลงอย4างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p=.004) ผลการศึกษาครั้งนี้พบว4า การใชKดนตรีบำบัด ช4วยลดความวิตกกังวล ความดันโลหิตไดแอสโตลิก และ อัตราการหายใจในผูKปLวยรอผ4าตัดแบบวันเดียวอย4างมี นัยสำคัญทางสถิติ ถึงแมKว4าความดันซิสโตลิกและอัตรา การเตKนของหัวใจระหว4างกลุ4มทดลองและกลุ4มควบคุมไม4 พบความแตกต4างอย4างมีนัยสำคัญทางสถิติ อย4างไรก็ตาม อาจสรุปไดKว4า การใชKดนตรีบำบัดในผูKปLวยรอผ4าตัดแบบ วันเดียว เปRนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพการดูแลผูKปLวยดKาน ร4างกายและจิตใจ ที่เปRนประโยชน@ต4อผูKปLวยและ หน4วยงาน ซึ่งควรนำไปใชKอย4างต4อเนื่อง นอกจากนั้นควร มีการควบคุมสิ่งแวดลKอมระหว4างรอผ4าตัดใหKมีความสงบ เงียบ ซึ่งจะช4วยใหKผูKปLวยผ4อนคลาย ลดความวิตกกังวล และส4งผลดีต4อสัญญาณชีพมากขึ้น ขiอเสนอแนะ 1. ขiอเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใชi 1.1 ส4งเสริมใหKพยาบาลหน4วยดูแลผูKปLวยก4อน ผ4าตัด งานการพยาบาลผูKปLวยผ4าตัดและฟYกฟ°¢น นำดนตรี บำบัดไปใชKในการลดความวิตกกังวลและความดันโลหิต สำหรับผูKปLวยที่รับการผ4าตัดวันเดียวกลับอย4างต4อเนื่อง 1.2 ส4งเสริมใหKผูKปLวยที่รับการผ4าตัดวันเดียว กลับ เกิดความผ4อนคลายก4อนรับการผ4าตัดโดยใหKเลือก


vผลของดนตรีบําบัดต่อความวิตกกังวลและสัญญาณชีพของผู้ป ่วย ท่ ีรับการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 27วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ดนตรี ไดKแก4 เสียงลม เสียงคลื่น เสียงน้ำไหล และเสียง นกรKอง ตามที่ผูKปLวยชอบ 2. ขiอเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งตfอไป 2.1 ศึกษาเปรียบเทียบการใชKดนตรีบำบัด ร4วมกับเทคนิคการผ4อนคลายความวิตกกังวลอื่นในการ ดูแลผูKปLวยก4อนรับการผ4าตัด 2.2 ศึกษาการใชKดนตรีบำบัดเพื่อลดความ วิตกกังวลในผูKปLวยที่อยู4ระหว4างการรักษาในสถานการณ@ อื่น เช4น ขณะรับการผ4าตัดโดยใชKยาชาเฉพาะที่


v The Effects of Music Therapy on Anxiety Level and Vital Sings in One Day Surgery patients, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 28 เอกสารอ6างอิง 1. Sigdel S. Perioperative anxiety: a short review. Glob Anaesth Perioper Med 2015;1:10.15761. 2. สุดสบาย จุลกทัพพะ. ความเครียด. [อินเทอร@เน็ต]. (ม.ป.ท.). [เขKาถึงเมื่อ 8 เม.ย. 2557]. เขKาถึงไดKจาก : http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e- pl/articledetail.asp?id=50 3. สราวลี สุนทรวิจิตร. ดนตรีบำบัด: การบำบัดทางเลือกสาหรับบุคคลที่มีภาวะซึมเศรKา. วารสารวิชาการและวิจัย สังคมศาสตร@2017 12(36):1-12. 4. Thaut MH, Kenyon GP, Schauer ML, McIntosh GC. The connection between rhythmicity and brain function. IEEE Eng Med Biol Mag.1999;18(2):101. 5. จันทนิภา ธีรพงษ@. รายงานวิจัยศึกษาการลดลงของการงด/เลื่อนหัตถการในหKองผ4าตัดจากการเตรียมผูKปLวยนอกสำหรับ การทำหัตถการในหKองผ4าตัดโรงพยาบาลเสนา. พระนครศรีอยุธยา: โรงพยาบาลเสนา; 2557. 6. งานการพยาบาลผูKปLวยผ4าตัดและพักฟ°¢น. สถิติผูKปLวยผ4าตัดงานการพยาบาลผูKปLวยผ4าตัดและพักฟ°¢น. เชียงใหม4: โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม4; 2556. 7. ศุภมิตร ประสบเกียรติ. ดนตรีบำบัด. [อินเทอร@เน็ต]. [เขKาถึงเมื่อ 23 มี.ค. 2566]. เขKาถึงไดKจาก: http://blog.mcp.ac.th/?p=55060. 8. The Joanna Briggs Institute. Music as an intervention in hospitals. Best Practice: evidence based informationsheet forhealth professionals 2009;13:13-6. 9. จักรกริช กลKาผจญ. แผ4นดิสก@เสียงธรรมชาติ [CD]. เชียงใหม4: คณะแพทยศาสตร@มหาวิทยาลัยเชียงใหม4; 2556. 10. Ni CH, Tsai WH, Lee LM, Kao CC, & Chen YC. Minimising preoperative anxiety with music for day surgery patients – A randomized clinical trial. Journal of Clinical Nursing, 2012; 21(5-6):620-25. 11. Aitken RC. Measurement of feelings using visualanalogue scales. Proc R Soc Med 1969;62:989-93. 12. Hinkle DE, Wiersma W, Jur SG. Applied Statistic for the Behavioral Sciences (P.118). Chicago: Rand Mcnally College Publishing; 1998. 13. รัตนา เพิ่มเพ็ชร, เบญจมาภรณ@ บุตรศรีภูมิ. ผลของดนตรีบำบัดต4อระดับความวิตกกังวลของผูKปLวยที่เขKารับการผ4าตัด คลอด. วารสารพยาบาลทหารบก 2559;17(3):34-43. 14. Bailey L. Strategies for decreasing patient anxiety in the perioperative setting. AORNJ. 2010; 92: 445-60. 15. Bradt J, Dileo C, Potvin N. Music for stress and anxiety reduction in coronary heart disease patients. Cochrane Database Syst Rev 2013;12:CD006577. 16. Hernandez PJ, Fuentes GD, Falcon AL, Rodriguez RA, Garcia PC, Roca-Calvo MJ. Visual Analogue Scale for Anxiety and Amsterdam Preoperative Anxiety Scale Provide a Simple and Reliable Measurement of Preoperative Anxiety in Patients Undergoing Cardiac Surgery. Int Cardiovasc Res J 2015; 9: 1-6. 17. วัฒนวุฒิ ชKางชนะ. ดนตรีบำบัด ความสุขสงบอันเปRนสมาธิสู4จินตนาการที่เป£ดกวKาง. วารสารดนตรีบKานสมเด็จฯ. 2020;2(1):119-24.


vผลของดนตรีบําบัดต่อความวิตกกังวลและสัญญาณชีพของผู้ป ่วย ท่ ีรับการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 29วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 18. Sarkar D, Chakrabarty K, Bhadra B, Singh R, Mandal U, Ghosh D. Effects of music on patients undergoing caesarean section under spinal anesthesia. Int J Recent Trends Sci Tech2015;13(3):633– 7.


v The Effectiveness of Teaching and the Use of Herbal Spray on Level of Pain and Activities Ability in Elderly with Knee Osteoarthritis ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 30 ประสิทธิผลของการให้ความรู้ร่วมกับการใช้สเปรย์สมุนไพรต่อระดับ ความปวดและความสามารถในการทํากิจกรรมของผู้สูงอายุเข่าเสื่ อม The Effectiveness of Teaching and the Use of Herbal Spray on Level of Pain and Activities Ability in Elderly with Knee Osteoarthritis ณัฏฐ&ธัญศา ยิ่งยงเมธี พย.ม.* Natthansa Yingyongmatee, M.N.S.* อัญสุรีย& ศิริโสภณ วท.ม.* Ansuree Sirisophon, M.Sc.* ดุจเดือน จิตเงิน วท.บ** Dutduen Chitngern, B.Sc. ** ละมูล จาบทอง วท.บ.*** Lamun Chapthong, B.Sc. *** Corresponding Author: E-mail: [email protected] Received: 7 Apr 2023, Revised: 2 May 2023, Accepted: 10 May 2023 *อาจารยLพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรคLประชารักษL นครสวรรคL คณะพยาบาลศาสตรL สถาบันพระบรมราชชนก E-mail: [email protected], [email protected] *Nursing Instructor, Boromarajonani College of Nursing Sawanpracharak Nakhonsawan, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute **พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนยLสุขภาพชุมชนวัดชqองคีรีศรีสิทธิวราราม จ.นครสวรรคL E-mail: [email protected] ** Professional Nurse, Primary care Cluster Watchongkirisrisitthiwararam, Nakhon Sawan Province ***แพทยLแผนไทย ศูนยLสุขภาพชุมชนวัดชqองคีรีศรีสิทธิวราราม จ.นครสวรรคL E-mail: [email protected] *** Thai Tradition Medicire Primary care Cluster Watchongkirisrisitthiwararam, Nakhon Sawan บทคัดย'อ การวิจัยแบบกึ่งทดลองชนิดกลุ6มเดียวเปรียบเทียบก6อนและหลังการทดลองนี้มีวัตถุประสงคBเพื่อเปรียบเทียบ ระดับความปวดและความสามารถในการทำกิจกรรม ก6อนและหลังการใหGความรูGและการใชGสเปรยBสมุนไพรในผูGสูงอายุ กลุ6มตัวอย6างเปKนผูGสูงอายุเข6าเสื่อมที่มารับบริการที่ศูนยBสุขภาพชุมชนแห6งหนึ่งในจังหวัดนครสวรรคB เลือกกลุ6มตัวอย6าง แบบเจาะจง จำนวน 30 ราย ตามเกณฑBคัดเขGา เครื่องมือที่ใชGในการทดลอง ไดGแก6 การใหGความรูGเรื่องโรคขGอเข6าเสื่อม ร6วมกับการใชGสเปรยBสมุนไพร เครื่องมือที่ใชGในการรวบรวมขGอมูล ประกอบดGวยแบบสอบถามขGอมูลส6วนบุคคลแบบ ประเมินความปวด แบบประเมินความสามารถในการทำกิจกรรม และ4) แบบบันทึกการใชGสเปรยBสมุนไพร วิเคราะหB ขGอมูลโดยสถิติพรรณนาและสถิติ Paired sample t-test ผลการวิจัยพบว6า หลังการใหGความรูGร6วมกับการใชGสเปรยB สมุนไพร ค6าเฉลี่ยระดับความปวดลดลงอย6างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p <.05) และระดับความสามารถในการทำกิจกรรมดี ขึ้นอย6างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p <.05) ผลการวิจัยเสนอแนะไดGว6าการใหGความรูGร6วมกับการใชGสเปรยBสมุนไพร สามารถเปKนทางเลือกหนึ่งของผูGสูงอายุ ขGอเข6าเสื่อมเพื่อบรรเทาอาการปวดและเพิ่มความสามารถในการทำกิจกรรม คำสำคัญ: ความปวดสเปรยBสมุนไพรผูGสูงอายุเข6าเสื่อม


vประสิทธิผลของการให้ความรู้ร่วมกับการใช้สเปรย์สมุนไพรต่อระดับความปวด และความสามารถในการทํากิจกรรมของผู้สูงอายุเข่าเส่ ือม 31วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ Abstract This one group pretest-posttest quasi-experimental research aimed to compare the level of pain and activity ability before and after using teaching and the use of herbal spray in elderly with knee osteoarthritis at Primary Care Cluster, Nakhon Sawan Province. Thirty purposive samples were recruited with the same criteria. The research instruments were teaching knee osteoarthritis and the use of herbal spray. Data were collected using demographic data form, pain level assessment scale, activity abilities assessment form, and the herbal spray used recording form. Analysis statistics were descriptive statistics and inferential statistics, paired sample t-test. The results showed that, after teaching and the use of herbal spray, the mean of pain score was significantly decreased (p<.05) and the activity abilities were significantly increased (p<.05). The finding of the study suggested that teaching and the use of herbal spray can be used as an alternative for the elderly with knee osteoarthritis to release pain and increase their activity ability. Keywords: Pain, Herbal spray, Elderly, Knee Osteoarthritis


v The Effectiveness of Teaching and the Use of Herbal Spray on Level of Pain and Activities Ability in Elderly with Knee Osteoarthritis ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 32 ความเปfนมาและความสำคัญของปiญหา โรคขGอเข6าเสื่อมเปKนปÅญหาที่พบบ6อยในผูGสูงอายุ ความสูงอายุทำใหGเกิดการเสื่อมของเนื้อเยื่อรอบขGอและ การแคบของช6องระหว6างขGอเข6า เนื่องจากการสูญเสีย กระดูกอ6อนของขGอเข6า โรคนี้ทำใหGเกิดอาการปวดขGอ ขGอ ผิดรูป กลGามเนื้อรอบขGอเข6าอ6อนแรง พิสัยการเคลื่อนไหว ลดลง และเกิดความพิการของขGอ1 ซึ่งสาเหตุของขGอเข6า เสื่อม เกิดจากการมีอายุมากขึ้น เข6าเสียรูปร6าง โรคขGอ อักเสบ การไดGรับบาดเจ็บที่ขGอเข6า ความอGวน กลGามเนื้อ ตGนขาและกลGามเนื้อรอบเข6าที่ไม6แข็งแรง อ6อนแอลง การ อยู6ในอิริยาบถที่ใชGเข6ามาก เช6น นั่งยอง นั่งขัดสมาธินั่ง พับเพียบ การเดินขึ้นลงบันได จะทำใหGเกิดแรงกดที่ขGอ เข6า ทำใหGผิวขGอเสื่อมไดG2 จากการคัดกรองโรคขGอเข6าเสื่อมในประเทศไทย ปÖงบประมาณ 2565 พบว6า ผูGสูงอายุ จำนวน 6,958,212 คน มีความผิดปกติของขGอเข6า จำนวน 376,562 คน คิด เปKนรGอยละ 5.41 และจังหวัดนครสวรรคB ไดGคัดกรองโรค ขGอเข6าเสื่อม พบว6า ผูGสูงอายุ จำนวน 139,623 คน มี ความผิดปกติของขGอเข6า จำนวน 10,449 คน คิดเปKน รGอยละ 7.48 มีความชุกสูงกว6าภาพรวมของประเทศ3 ซึ่ง ปÅญหาขGอเข6าเสื่อมส6งผลกระทบต6อคุณภาพชีวิตของ ผูGสูงอายุ พบปÅญหาที่สำคัญคือ อาการปวดขGอเข6า และ การเคลื่อนไหวที่ลำบาก ทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ลดลง พึ่งพาผูGดูแลมากขึ้น ขาดความรูGเกี่ยวกับโรค การ ปฏิบัติตนที่ชะลอความรุนแรงของโรคไม6สามารถ หลีกเลี่ยงกิจกรรม ท6าทางที่เปKนการเพิ่มแรงกดต6อขGอเข6า ไดG4 การรักษาโรคขGอเข6าเสื่อม มีเปéาหมายคือ ใหG ผูGปèวยและญาติมีความรูGเกี่ยวกับโรค แนวทางการปฏิบัติ ตัว การรักษาโรค และภาวะแทรกซGอนที่อาจเกิดขึ้น รักษาและบรรเทาอาการปวด แกGไขคงสภาพหรือฟëíนฟู สภาพการทำงานของขGอใหGปกติหรือใกลGเคียงปกติมาก ที่สุด ชะลอการดำเนินโรค ปéองกันภาวะแทรกซGอน และ การรักษาทั้งในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง ใหGผูGปèวยมี คุณภาพชีวิตที่ดีและฟëíนฟูสภาพจิตใจของผูGปèวย5 วิธีการ รักษาที่สำคัญ มีอยู6 3 วิธี ไดGแก6 1) การรักษาแบบใชGยา ซึ่งส6วนมากเปKนยาลดปวดและลดอาการอักเสบที่ไม6ใช6 เสตียรอยดBแต6มีขGอเสียคือ ยาที่ใชGมักมีราคาแพง และ อาจก6อใหGเกิดอาการขGางเคียงจากการใชGยา เช6น ภาวะแทรกซGอนต6อไต ทางเดินอาหาร เช6น มีแผลใน กระเพาะอาหารและเลือดออกในทางเดินอาหารมีโอกาส เกิดในผูGสูงอายุมากกว6าผูGใหญ6ที่มีอายุนGอย และระบบ หัวใจและหลอดเลือด6 2) การรักษาแบบไม6ใชGยา ประกอบดGวย การส6งเสริมพฤติกรรมการปฏิบัติตัวที่ ถูกตGองเพื่อลดอาการของโรคและปéองกันไม6ใหGมีการ เสื่อมเร็วขึ้น การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรง ของกลGามเนื้อตGนขาและรอบขGอเข6า และการควบคุม น้ำหนักตัวใหGอยู6ในเกณฑBมาตรฐาน ซึ่งตGองใชGระยะเวลา ในการทำกิจกรรมเปKนเวลานานจนกว6าจะเปKนพฤติกรรม ที่คงทนต6อเนื่องจนเห็นความแตกต6างของอาการปวดไดG 3) การรักษาโดยใชGเวชศาสตรBฟëíนฟูและการรักษา ทางเลือก เช6น การใชGอาหารเสริม การใชGสมุนไพร การ ฝÅงเข็ม การนวด การกดจุด วิธีธาราบำบัด เปKนตGน7 ศาสตรBการรักษาทางเลือกอื่น ๆ ที่ทำใหGสามารถลดการ ใชGยา จึงทำใหGศาสตรBการรักษาทางเลือกไดGรับความนิยม มากขึ้น8 จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวขGองกับการใชG สมุนไพรลดอาการปวดเข6าในผูGสูงอายุ พบว6า ส6วนใหญ6ใชG วิธีการพอกเข6า โดยการใชGสมุนไพรที่มีฤทธิ์ตGานการอักเสบ และลดอาการปวดไดG ซึ่งจากการศึกษาพบว6าสามารถช6วย ลดความปวด ความฝëดและช6วงเวลาในการลุกเดินไดG ส6งผล ใหGความสามารถในการใชGงานดีขึ้น9-10 กลุ6มงานแพทยBแผนไทยและแพทยBทางเลือก สาธารณสุขจังหวัดนครสวรรคBร6วมกับโรงพยาบาลสวรรคB ประชารักษB ไดGจัดคลินิกขGอเข6าเสื่อมเพื่อแกGปÅญหา ดังกล6าว โดยมีการรักษานวดไทย ประคบสมุนไพร พอก ยาสมุนไพร รวมถึงการบริหารเข6า เพื่อลดปวดและลด การใชGยาแผนปÅจจุบัน ศูนยBสุขภาพชุมชนวัดช6องคีรีศรี สิทธิวราราม เปKนศูนยBสุขภาพชุมชนของโรงพยาบาล สวรรคBประชารักษBไดGเปòดบริการคลินิกพอกเข6า ผูGมารับ บริการส6วนใหญ6เปKนผูGสูงอายุ 60-80 ปÖ มาดGวยอาการ


vประสิทธิผลของการให้ความรู้ร่วมกับการใช้สเปรย์สมุนไพรต่อระดับความปวด และความสามารถในการทํากิจกรรมของผู้สูงอายุเข่าเส่ ือม 33วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ปวดเข6า ขGอฝëด จำนวน 100 -160 คนต6อปÖ ระยะเวลาใน การพอกเข6าประมาณ 40-60 นาทีต6อครั้ง จำนวน 1 ครั้ง ต6อสัปดาหB ระยะเวลารักษา 1- 3 เดือน ผูGรับบริการส6วน ใหญ6พบว6าทุเลาอาการปวดและสามารถปฏิบัติกิจวัตร ประจำวันไดGมากขึ้น เมื่อมีอาการปวดก็จะกลับมาพอก เข6าซ้ำ บางรายมีอาการเปKน ๆ หาย ๆ ตGองมาพอกเข6า เกือบทุกเดือน การพอกเข6าใชGตำรับยาแพทยBแผนไทย มี ส6วนผสมของสมุนไพร 20 ชนิด ผลิตโดยแพทยBแผนไทย ในคลินิก แต6พบปÅญหาการใหGบริการคือบางรายพอกยา สมุนไพรเกินระยะเวลา ทำใหGมีการระคายเคืองผิวหนัง บางรายไม6สะดวกเดินทางมาตามนัดของสถานบริการ บาง รายการรักษาไม6ต6อเนื่อง และจากขGอจำกัดของการใชG สมุนไพรดGวยการพอก ประคบ และยาทาพบว6า มีขั้นตอน การใชGซับซGอน ใชGไม6สะดวก บางครั้งการพอก ทา ประคบมี การเปëíอน และตGองมีขั้นตอนการลGางทำความสะอาด คณะผูGวิจัยจึงหาแนวทางพัฒนาจากยาพอกเข6ามาเปKนยา ในรูปแบบสเปรยB และเพิ่มการใชGสมุนไพรที่อยู6ในกลุ6ม flavonoids ที่ช6วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยกลGามเนื้อ ลดการอักเสบ ลดบวม ไดGแก6 ว6านเอ็นเหลือง ไพล ขมิ้นชัน กระดูกไก6ดำ ซึ่งเปKนสมุนไพรที่หาง6ายในทGองถิ่น และเพื่อใหGผูGสูงอายุสะดวกในการใชGงานเพิ่มมากขึ้น สามารถนำไปใชGไดGในทุกที่ ไม6จำเปKนตGองเดินทางมาพอก เข6าในสถานบริการ ขGอมูลเกี่ยวกับการใชGสเปรยBสมุนไพร พบว6า มี การศึกษาของภูมิรงคB วาณิชยBพุฒิกุล11 ที่ใชGสมุนไพรจาก ลูกประคบซึ่งมีไพลเปKนส6วนประกอบหลัก มาทำใน รูปแบบสเปรยBโดยการแช6หมักดGวยเอทานอล นำมาใชGใน ผูGปèวยโรคปวดกลGามเนื้อหลังส6วนล6าง พบว6า สามารถลด ปวดและมีความปลอดภัยในการใชGงาน แสดงใหGเห็นว6า การใชGสมุนไพรในรูปแบบสเปรยB สามารถช6วยลดปวดไดG ดี และจากการศึกษาปÅจจัยที่มีผลต6อผูGที่เปKนโรคขGอเข6า เสื่อม พบว6า ปÅจจัยดGานความรูGเกี่ยวกับโรคขGอเข6าเสื่อม เปKนสิ่งสำคัญที่นักวิจัยหรือผูGศึกษานำมาประกอบกับการ ใหGบริการ หรือ ร6วมกับกิจกรรมในการแกGไขปÅญหาโรค ขGอเข6าเสื่อมและพบว6ามีประสิทธิผลที่ลดความปวดของ ขGอเข6า เพิ่มความสามารถในการทำกิจกรรมสำหรับผูGปèวย ขGอเข6าเสื่อมไดG12-16 ผูGวิจัยจึงนำวิธีการใหGความรูGร6วมกับการใชGสเปรยB สมุนไพรมาศึกษาในผูGสูงอายุโรคขGอเข6าเสื่อมเพื่อลด ระดับความปวดและเพิ่มความสามารถในการทำกิจกรรม ของผูGสูงอายุเข6าเสื่อม ส6งเสริมใหGผูGสูงอายุสามารถดูแล ตนเอง พึ่งพาตนเองไดG อีกทั้งการทำยาสมุนไพรรูปแบบ สเปรยB สะดวกในการใชGงานและพกพา สามารถใชGงานไดG ทุกที่ ทำใหGมีการใชGยาต6อเนื่อง และยังเปKนการอนุรักษB สมุนไพรไทย ส6งเสริมใหGมีการใชGสมุนไพรในชุมชนไดG ต6อไป วัตถุประสงค&การวิจัย เพื่อเปรียบเทียบระดับความปวดและ ความสามารถในการทำกิจกรรมของผูGสูงอายุเข6าเสื่อม ก6อนและหลังการใหGความรูGร6วมกับการใชGสเปรยBสมุนไพร สมมติฐานการวิจัย 1. ผูGสูงอายุเข6าเสื่อมหลังไดGรับความรูGร6วมกับ การใชGสเปรยBสมุนไพรมีระดับความปวดลดลง 2. ผูGสูงอายุเข6าเสื่อมหลังไดGรับความรูGร6วมกับ การใชGสเปรยBสมุนไพรมีความสามารถในการทำกิจกรรม ดีขึ้น นิยามคำศัพท& ผูnสูงอายุเขoาเสื่อม หมายถึง ของผูGสูงอายุ 60 ปÖ ขึ้นไป มีภาวะเข6าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ เปKนโรคขGอเข6าเสื่อม ที่เกิดจากการชำรุด สึกหรอตามอายุที่เพิ่มขึ้นหรือการใชG งานของขGอ ไม6มีประวัติความเจ็บปèวยที่เกิดกับขGอ โดยตรง มีอาการปวด เปKนๆ หายๆ ระยะเวลามากกว6า 3 เดือน สเปรย&สมุนไพร หมายถึง การสกัดสมุนไพรที่มี สรรพคุณลดความปวด อักเสบของกลGามเนื้อและเสGนเอ็น โดยมีสมุนไพรหลัก ไดGแก6 ว6านเอ็นเหลือง ไพล ขมิ้นชัน กระดูกไก6ดำ และอื่น ๆ โดยแพทยBแผนไทยดGวยกรรมวิธี


v The Effectiveness of Teaching and the Use of Herbal Spray on Level of Pain and Activities Ability in Elderly with Knee Osteoarthritis ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 34 คือนำสมุนไพรมาสกัดดGวยแอลกอฮอลB 95 เปอรBเซ็นตB บรรจุในขวดพลาสติกออกมาเปKนรูปแบบสเปรยBสำหรับ ฉีดพ6น ขนาดบรรจุขวดละ 120 มิลลิลิตร (ขนาดของ หัวฉีดปริมาณน้ำยาสมุนไพรที่ฉีดออกมาแต6ละครั้ง ๆ มี ปริมาณประมาณครั้งละ 0.2 มิลลิลิตร) ใหGฉีดพ6น 2-3 ครั้งบริเวณเข6าที่ปวด โดยใหGฉีดพ6นวันละ 2 เวลา คือ เชGา กับ เย็น การใหnความรูnรoวมกับการใชnสเปรย&สมุนไพร หมายถึง การใหGความรูGดGวยการสอนรายกลุ6ม กลุ6มละ 30 คน จำนวน 1 ครั้ง ระยะเวลา 2 ชั่วโมง มีเนื้อหาเกี่ยวกับโรคขGอ เข6าเสื่อม สาเหตุ อาการ การรักษา การดูแลตนเอง การ ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันใหGกับผูGสูงอายุที่มีเข6าเสื่อม และใหG ความรูGเกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพรที่ใชGลดความปวดของ ขGอเข6าเสื่อม สาธิตและแนะนำวิธีการใชGและการเก็บรักษา สเปรยBสมุนไพร การบันทึกการใชGสเปรยBสมุนไพร และการ ติดตามปÅญหาอุปสรรคในการใชGสเปรยBอย6างต6อเนื่องทาง โทรศัพทBและช6องทางออนไลนB สัปดาหBละ 1 ครั้ง ระยะเวลา 6 สัปดาหB ระดับความปวด หมายถึง ความรูGสึกของ ผูGสูงอายุขGอเข6าเสื่อมที่ใหGค6าคะแนนระดับความปวดขGอเข6า ตามการรับรูGของตนเองในช6วง 2 สัปดาหBที่ผ6านมา โดย การเทียบกับตัวเลขตามแบบวัดความปวดดGวยตัวเลข (Numerical rating scale) มาช6วยบอกระดับของอาการ ปวด ใชGตัวเลขตั้งแต6 0-10 ซึ่งตัวเลข 0 หมายถึง ไม6มี อาการปวด และ 10 หมายถึง อาการปวดมากที่สุด ความสามารถในการทำกิจกรรม ประกอบดGวย 1) อาการปวด หมายถึง ความรูGสึกปวดของผูGสูงอายุขGอเข6า เสื่อมในขณะเดิน ขึ้นลงบันได ปวดตอนกลางคืน ขณะอยู6 เฉย ๆ และการลงน้ำหนัก 2) อาการฝëดตึง หมายถึง ความรูGสึกว6าขGอฝëดในช6วงเชGาขณะตื่นนอน กับขGอฝëดช6วง ระหว6างวัน ซึ่งบอกระดับความรุนแรงของอาการปวดใชG ตัวเลขตั้งแต6 0 - 10 ซึ่งตัวเลข 0 หมายถึงไม6มีอาการปวด หรือไม6มีขGอฝëด และ 10 หมายถึงอาการปวดมากที่สุดหรือ ขGอฝëดมากที่สุด และ 3) ความสามารถในการใชGงานของขGอ ขณะปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน หมายถึงความรูGสึกที่สามารถ ทำกิจกรรม ไดGแก6 การขึ้นลงบันได การลุกยืนจากท6านั่ง การยืน การนั่ง เดินบนพื้นราบ การขึ้นลงรถยนตB การซื้อ ของนอกบGานหรือไปตลาด การถอดใส6กางเกง การลุกจาก เตียง การเขGาออกจากหGองอาบน้ำ หGองสGวม การทำงานบGาน หนัก และเบา โดยใชGตัวเลขตั้งแต6 0 - 10 ซึ่งตัวเลข 0 หมายถึงทำไดGดีมาก และ 10 หมายถึงทำไดGยากลำบาก หรือไม6สามารถทำไดG กรอบแนวคิดการวิจัย ความรูGและความเขGาใจเกี่ยวกับโรครวมทั้งการ ดำเนินของโรค เปKนส6วนสำคัญเนื่องจากปÅจจัยดGาน ความรูGส6งผลต6อการรับรูG สามารถปรับทัศนคติและสรGาง การปฏิบัติไดG หากมีความรูGความเขGาใจที่ถูกตGอง จะทำใหG ผูGปèวยลดความรุนแรงของโรค หรือมีสุขภาวะที่ดีขณะ เจ็บปèวยไดG จากการศึกษาของนักวิจัยและผูGศึกษาที่ผ6าน มาพบว6า การใหGความรูG การเสริมแรงจูงใจใหGกับผูGมี อาการปวด สามารถปรับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ช6วย ทำใหGอาการปวดและความรุนแรงของโรคลดลง12-16 โดย ร6วมกับการกิจกรรมอื่น ๆ เช6น การออกกำลังกาย การ พอกเข6า และจากการที่สมุนไพรที่อยู6ในกลุ6ม flavonoids ที่ช6วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยกลGามเนื้อ ลดการอักเสบ ลดบวม ไดGแก6 ว6านเอ็นเหลือง ไพล ขมิ้นชัน กระดูกไก6ดำ สามารถออกฤทธิ์บรรเทาปวดในผูGปèวยเข6าเสื่อมไดG เนื่องจากมีสารสำคัญ Vitexin และ Apigenin ในกลุ6ม flavonoids สารสองชนิดนี้ออกฤทธิ์ผ6านกลไกเดียวกัน กับยาตGานอักเสบชนิดไม6ใช6สเตียรอยดB (NSAIDs) 17 ที่ เมื่อดูดซึมเขGากลGามเนื้อแลGว ส6งผลใหGลดการอักเสบ และ ลดอาการปวดไดGดี ผูGวิจัยจึงนำสมุนไพรดังกล6าวมา ประยุกตBทำเปKนสเปรยBสมุนไพรร6วมกับการใหGความรูGเพื่อ ศึกษาในครั้งนี้


vประสิทธิผลของการให้ความรู้ร่วมกับการใช้สเปรย์สมุนไพรต่อระดับความปวด และความสามารถในการทํากิจกรรมของผู้สูงอายุเข่าเส่ ือม 35วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ วิธีดำเนินการวิจัย วิจัยครั้งนี้เปKนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi experimental research) ชนิดกลุ6มเดียว เปรียบเทียบ ก6อนและหลังการทดลอง (One group pretestposttest) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ ระดับความปวด และ ความสามารถในการทำกิจกรรมก6อนและหลังการใหGการ ใหGความรูGเรื่องขGอเข6าเสื่อมร6วมกับการใชGสเปรยBสมุนไพร ประชากรและกลุ6มตัวอย6าง ประชากร คือ ผูGสูงอายุเข6าเสื่อม อายุ 60 ปÖขึ้น ไป ที่มารับการรักษาที่ศูนยBแพทยBชุมชนวัดช6องคีรีศรี สิทธิวราราม อ. เมือง จ. นครสวรรคB ไดGรับการวินิจฉัย จากแพทยBว6าขGอเข6าเสื่อม จำนวน 156 คน กำหนดขนาด กลุ6มตัวอย6าง โดยการคำนวณค6าอำนาจในการทดสอบ ของโปรแกรม G*power 3.1 โดยกำหนดค6า Effect size=0.7 และแอลฟา=.05 ไดGขนาดกลุ6มที่เหมาะสมคือ 30 ราย ผูGวิจัยคัดเลือกกลุ6มตัวอย6างแบบเจาะจง (Purposive sampling) ตามเกณฑBที่กำหนดไวG จำนวน 30 ราย เกณฑBการคัดเขGา (Inclusion criteria) 1. ผูGสูงอายุ 60 ปÖขึ้นไป ไดGรับการวินิจฉัยจาก แพทยB ว6ามีภาวะเข6าเสื่อมและมีอาการปวดเข6า เปKน ๆ หาย ๆ ระยะเวลามากกว6า 3 เดือน 2. มีระดับความรุนแรงตั้งแต6ระยะที่ 1 คือ ขGอ เข6าเสื่อมระยะเริ่มตGนถึงระยะที่ 3 คือขGอเข6าเสื่อมปาน กลาง 3. ไม6ไดGใชGยาแกGปวดเปKนประจำทุกวัน 4. ไม6มีประวัติการบาดเจ็บที่ขGอเข6า เช6น กระดูกหักหรือไดGรับการผ6าตัดเปลี่ยนขGอเข6า 5. ไม6มีประวัติการแพGสเปรยBสมุนไพร หรือแพG สมุนไพรที่เปKนส6วนผสม 6. ไม6มีอาการชาบริเวณผิวหนัง ปลายมือ ปลาย เทGา 7. ไม6เปKนโรคเกาตB หรือรูมาตอยดB 8. ยินดีเขGาร6วมการวิจัยครั้งนี้ดGวยความสมัครใจ เกณฑBการคัดออก (exclusion criteria) 1. ทดสอบการแพGโดยพ6นสเปรยBที่บริเวณ ทGองแขนดGานในทั้ง 2 ขGาง ทิ้งไวGนาน 15 นาทีหากมี อาการไม6พึงประสงคBจากสเปรยBสมุนไพร เช6น มีผื่นแดง แสบรGอนที่ผิวหนังมาก 2. เปKนโรคผิวหนังรุนแรง 3. ไม6สามารถเขGาร6วมโครงการตลอดระยะเวลา 6 สัปดาหB เครื่องมือที่ใชnในการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใชGในการทดลอง คือการใหGความรูG ร6วมกับการใชGสเปรยBสมุนไพร โดยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การใหGความรูGและการใชGสเปรยB สมุนไพร มีกิจกรรมคือ นัดกลุ6มตัวอย6างเพื่อ 1) ใหGความรูG เปKนรายกลุ6มเกี่ยวกับโรคขGอเข6าเสื่อม สาเหตุ อาการ การ รักษา การดูแลตนเอง การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และ เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใชGลดความปวดของขGอเข6า 2) สาธิตและแนะนำวิธีการใชGและการเก็บรักษาสเปรยBสมุนไพร และการบันทึกการใชGสเปรยBสมุนไพร ใชGเวลา 2 ชั่วโมง จากนั้นมอบสเปรยBสมุนไพรจำนวน 1 ขวด ขวดละ 120 มิลลิลิตร ใหGฉีดพ6นสเปรยBบริเวณเข6าที่ปวด จำนวน 2-3 ครั้ง (ปริมาณสมุนไพรที่ฉีดพ6นมีประมาณ 0.2 มิลลิลิตร ต6อครั้ง) เชGา-เย็น ต6อเนื่องทุกวันเปKนระยะเวลา 6 สัปดาหB ตัวแปรตnน ตัวแปรตาม การให&ความรู&ร+วมกับการใช&สเปรย3สมุนไพร - อาการปวด - ความสามารถในการทำกิจกรรม


v The Effectiveness of Teaching and the Use of Herbal Spray on Level of Pain and Activities Ability in Elderly with Knee Osteoarthritis ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 36 ขั้นตอนที่ 2 ติดตามการใชGสเปรยBสมุนไพร และใหG กลุ6มตัวอย6างเขGาร6วมกลุ6มไลนB เพื่อติดตามอาการ ส6วน กลุ6มตัวอย6างที่มีขGอจำกัดไม6สามารถใชGไลนBไดG ใชGวิธีการ โทรศัพทBโดยมีการติดตามสัปดาหBละ 1 ครั้ง สอบถาม อาการ ความพึงพอใจ และปÅญหาอุปสรรค เพื่อติดตาม อย6างต6อเนื่อง 2. แบบบันทึกการใชGสเปรยBสมุนไพร ระยะเวลา 6 สัปดาหB เครื่องมือที่ใชnในการเก็บรวบรวมขnอมูล 1. แบบสอบถามขGอมูลส6วนบุคคล ประกอบดGวย ขGอมูลส6วนบุคคล ไดGแก6 เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับ การศึกษา อาชีพ รายไดG ดัชนีมวลกาย การออกกำลังกาย ระยะเวลาที่เปKนเข6าเสื่อม 2. แบบประเมินความปวด (Numerical Rating Scale; NRS) เปKนการใชGตัวเลขมาช6วยบอกระดับความ รุนแรงของอาการปวด ใชGตัวเลขตั้งแต6 0-10 เกณฑBการใหG คะแนน 0-10 คะแนน การแปลผลคือ 0 เท6ากับไม6ปวด 10 คือ ปวดมากที่สุด 3. แบบประเมินความสามารถในการทำกิจกรรม ใชGแบบประเมิน Modified WOMAC Scale ฉบับภาษาไทย ของราชวิทยาลัยแพทยBออรBโธปòดิกสBแห6งประเทศไทย ประกอบดGวยคำถาม 3 ส6วน คือ 1) ระดับความปวดขณะทำ กิจกรรม มี 5 ขGอ แต6ละขGอมีคะแนน 0-10 คะแนน การแปล ผลคือ 0 เท6ากับไม6ปวด จนถึง 10 คือ ปวดมากที่สุด 2) ระดับอาการขGอฝëด มี 2 ขGอแต6ละขGอมีคะแนน 0-10 คะแนน การแปลผลคือ 0 เท6ากับไม6ฝëดเลย ถึง 10 ฝëดมากที่สุด 3) ระดับความสามารถในการใชGงานขGอ มี 15 ขGอ แต6ละขGอมี คะแนน 0-10 คะแนน จากทำไดGดีถึงเปKนปÅญหามากที่สุด การแปลผลค6าคะแนนมากความสามารถในการใชGงานของ ขGอไม6ดีเปKนปÅญหามาก การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย ผูGวิจัยนำโปรแกรมใหGความรูGร6วมกับการใชGสเปรยB สมุนไพร ประกอบดGวยกิจกรรมการบรรยายใหGความรูG การสาธิตและการติดตาม เสนอต6อผูGทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท6านพิจารณาความเหมาะสม สอดคลGอง กำหนดค6าดัชนี ความสอดคลGองของเนื้อหา (Content Validity Index: CVI) ในระดับยอมรับไดGคือ 0.80 ขึ้นไป ไดGค6า CVI=1 สำหรับแบบประเมินความปวดและความสามารถในการ ทำกิจกรรม ใชGแบบมาตรฐานของราชวิทยาลัยแพทยBออรB โธปòดิกสBแห6งประเทศไทย, 25536 การพิทักษ&สิทธิ์กลุoมตัวอยoาง โครงร6างวิจัยผ6านการอนุมัติจริยธรรมวิจัยใน มนุษยBจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษยB วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรคBประชารักษB นครสวรรคB เลขที่จริยธรรมวิจัย SPRNW-REC 008/2022 และดำเนินการพิทักษBสิทธิ์กลุ6มตัวอย6างโดย การชี้แจงวิธีและขั้นตอนการวิจัยกับกลุ6มตัวอย6าง ระบุว6า ขGอมูลที่ไดGจะเก็บเปKนความลับไม6สามารถระบุถึงตัว บุคคลไดG จะนำเสนอเปKนภาพรวมเท6านั้น นอกจากนี้การ เขGาร6วมวิจัยขึ้นอยู6กับความสมัครใจ สามารถถอนตัวไดG ตลอดเวลาโดยไม6มีผลกระทบใด ๆ กับการรักษา ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขnอมูล 1. ผูGวิจัยทำหนังสือขอเก็บรวบรวมขGอมูลไปยัง ศูนยBสุขภาพชุมชนวัดช6องคีรีศรีสิทธิวราราม และ ประสานงานนัดหมายวันเวลาเพื่อชี้แจงวิธีการดำเนินการ วิจัย และดำเนินการวิจัย 2. คัดเลือกตัวอย6างแบบเจาะจง (Purposive sampling) ที่ตรงกับเกณฑBการคัดเขGาโครงการวิจัย ผูGวิจัยชี้แจงวัตถุประสงคBและอธิบายขั้นตอนการ ดำเนินการ และเมื่อกลุ6มตัวอย6างตอบตกลงใหGลงลายมือ ชื่อในแบบแสดงความยินยอมเขGาร6วมวิจัย 3. ผูGวิจัยและผูGร6วมวิจัย ดำเนินการเก็บรวบรวม ขGอมูลโดยจะประเมินความปวดและความสามารถในการ ทำกิจกรรม หลังจากนั้นนัดหมายใหGความรูGร6วมกับแนะนำ สาธิตการใชGสเปรยBสมุนไพร 4. ติดตามอาการ ส6วนกลุ6มตัวอย6างที่มีขGอจำกัด ไม6สามารถใชGไลนBไดG ใชGวิธีการโทรศัพทBสอบถามอาการ เพื่อติดตามอาการอย6างต6อเนื่อง พรGอมทั้งใหGบันทึกการ ใชGสเปรยB


vประสิทธิผลของการให้ความรู้ร่วมกับการใช้สเปรย์สมุนไพรต่อระดับความปวด และความสามารถในการทํากิจกรรมของผู้สูงอายุเข่าเส่ ือม 37วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 5. เมื่อครบ 6 สัปดาหB ผูGวิจัยและผูGร6วมวิจัย นัด กลุ6มตัวอย6างรายกลุ6มมาที่ศูนยBสุขภาพชุมชนวัดช6องคีรีศรี สิทธิวรารามเพื่อประเมินระดับความปวดและ ความสามารถในการทำกิจกรรม การวิเคราะห&ขnอมูล 1.ขGอมูลส6วนบุคคล ระดับความปวดวิเคราะหBโดย การแจกแจงความถี่ รGอยละ 2. วิเคราะหBเปรียบเทียบค6าเฉลี่ยระดับความปวด และความสามารถในการทำกิจกรรมของกลุ6มทดลอง ระหว6างก6อนกับหลังการใหGความรูGร6วมกับการใชGสเปรยB สมุนไพร โดยใชGสถิติ Paired sample t-test ผลการวิจัย 1. ขGอมูลทั่วไปของกลุ6มตัวอย6าง ส6วนใหญ6เปKนเพศหญิงรGอยละ 90 อายุเฉลี่ย 70 ปÖ สถานภาพสมรสคู6 รGอยละ 56.7 จบการศึกษาระดับ จากตารางที่ 1 การเปรียบเทียบค6าเฉลี่ยระดับ ความปวดและความสามารถในการทำกิจกรรมของกลุ6ม ทดลองระหว6างก6อนกับหลังการใหGความรูGร6วมกับการใชG ประถมศึกษา รGอยละ 46.7 ไม6ไดGประกอบอาชีพ รGอยละ 63.3 มีรายไดGเฉลี่ย 4,510 บาท/เดือน ระยะเวลาที่เปKน เข6าเสื่อมเฉลี่ย 4 ปÖ ส6วนใหญ6มีความรุนแรงในระดับ 2 รGอยละ 40 รองลงมาระดับ 1 รGอยละ 36.7 และระดับ 3 รGอยละ 23.3 มีโรคประจำตัวเปKนความดันโลหิตสูง รGอย ละ 46.7 มี BMI อยู6ระหว6าง 25.0-29.9 อยู6ในระดับอGวน รGอยละ 53.3 กลุ6มตัวอย6างส6วนใหญ6ไม6บริหารเข6า และมี การบริหารเข6านาน ๆ ครั้ง รGอยละ 36.7 เท6ากัน และไม6 ออกกำลังกาย รGอยละ 40 กลุ6มตัวอย6างรGอยละ 100 มี ความพึงพอใจเกี่ยวกับการใชGสเปรยBสมุนไพร เนื่องจาก สามารถลดระดับความปวดไดGดี และใชGงานไดGสะดวก 2. การเปรียบเทียบค6าเฉลี่ยระดับความปวดและ ความสามารถในการทำกิจกรรมของกลุ6มทดลองระหว6าง ก6อนกับหลังการทดลอง สเปรยBสมุนไพร พบว6า หลังทดลอง 6 สัปดาหB ผูGสูงอายุมี ค6าเฉลี่ยระดับความปวดลดลง และความสามารถในการ ทำกิจกรรมดีขึ้นอย6างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบค6าเฉลี่ยระดับความปวดและความสามารถในการทำกิจกรรมของกลุ6มทดลองระหว6าง ก6อนกับหลังการใหGความรูGร6วมกับการใชGสเปรยBสมุนไพร (n=30) ระดับความปวดและความสามารถใน การทำกิจกรรม กoอนทดลอง หลังทดลอง p-value Mean S.D. Mean S.D. ระดับความปวด (วัดโดย NRS) 5.13 2.37 2.80 2.03 .000 ความสามารถในการทำกิจกรรม 3.61 1.51 2.02 1.13 .000


v The Effectiveness of Teaching and the Use of Herbal Spray on Level of Pain and Activities Ability in Elderly with Knee Osteoarthritis ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 38 จากตารางที่ 2 การเปรียบเทียบค6าเฉลี่ยระดับ ความสามารถในการทำกิจกรรมของกลุ6มทดลองระหว6าง ก6อนกับหลังการใหGความรูGร6วมกับการใชGสเปรยBสมุนไพร พบว6า ความสามารถในการทำกิจกรรมโดยรวมหลังการ ทดลองมีความสามารถมากกว6าก6อนทดลอง เมื่อพิจารณา รายดGาน พบว6า ระดับความปวด ระดับอาการขGอฝëด ลดลง และระดับความสามารถในการใชGงานของขGอดีขึ้น อย6างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) อภิปรายผลการวิจัย การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคBเพื่อเปรียบเทียบ ระดับความปวดและความสามารถในการทำกิจกรรมใน ผูGสูงอายุขGอเข6าเสื่อมหลังการใหGความรูGร6วมกับการใชG สเปรยBสมุนไพร ดGวยการสอนแบบรายกลุ6ม และสาธิต แนะนำการใชGสเปรยB โดยมอบขวดสเปรยBสมุนไพรจำนวน 1 ขวด ใหGฉีดพ6นบริเวณเข6าที่ปวด ช6วงเวลาเชGา 1 ครั้ง และเย็น 1 ครั้ง แต6ละครั้งกดฉีดพ6นจำนวน 2-3 ครั้ง โดย ไม6กดนวด ไม6ใชGยาทาหรือรับประทานยา หรือทำการ รักษาใด ๆ เพิ่มเติม และการติดตามดGวยการพูดคุยทาง โทรศัพทB การใชGช6องทางไลนB สัปดาหBละ 1 ครั้ง นาน 6 สัปดาหB หลังจากนั้นใหGผูGสูงอายุเข6าเสื่อมตอบแบบ ประเมิน พบว6า ผูGสูงอายุมีค6าเฉลี่ยระดับความปวดลดลง โดยก6อนทดลองมีค6าคะแนน 5.13 ส6วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 2.37 หลังการทดลองมีค6าคะแนน 2.80 ส6วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.03 และมีความสามารถในการทำ กิจกรรมโดยรวมดีขึ้นโดยมีค6าคะแนนก6อนทดลอง 3.61 ส6วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.51 หลังการทดลอง 2.02 ส6วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.13 ซึ่งมีรายละเอียดในองคBประกอบ ของความสามารถในการทำกิจกรรม ดังนี้ อาการปวด ในขณะเดิน ขึ้นลงบันได ปวดตอนกลางคืน ขณะอยู6เฉย ๆ และการลงน้ำหนัก มีอาการปวดลดลง โดยมีค6าคะแนนก6อน ทดลองเท6ากับ 3.93 ส6วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.25 หลัง ทดลองเท6ากับ 2.28 ส6วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.30 อาการ ขGอฝëดตึง ในช6วงเชGาขณะตื่นนอน ช6วงระหว6างวัน มีอาการ ลดลง โดยมีค6าคะแนนก6อนทดลอง 3.42 ส6วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 2.258 หลังทดลอง 2.03 ส6วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.39 และความสามารถในการใชGงานของขGอขณะปฏิบัติ กิจวัตรประจำวัน ไดGแก6 การขึ้นลงบันได การลุกยืนจากท6า นั่ง การยืน การนั่ง เดินบนพื้นราบ การขึ้นลงรถยนตB การซื้อ ของนอกบGานหรือไปตลาด การถอดใส6กางเกง การลุกจาก เตียง การเขGาออกจากหGองอาบน้ำ หGองสGวม การทำงานบGาน หนัก และเบา ผูGสูงอายุขGอเข6าเสื่อมสามารถทำไดGดีขึ้น โดย มีค6าคะแนนก6อนทดลอง 3.53 ส6วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.07 หลังทดลอง มีค6าคะแนน 1.94 ส6วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.16 อย6างมีนัยสำคัญทางสถิติ และจากการติดตามสอบถาม ทางออนไลนBและทางโทรศัพทBและการนัดครั้งที่ 2 เพื่อ ประเมินผล พบว6า ผูGสูงอายุพึงพอใจในการใชGสเปรยB สมุนไพร ไม6พบอาการแพG ไม6มีผลขGางเคียงจากการใชG ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบค6าเฉลี่ยระดับความสามารถในการทำกิจกรรมของกลุ6มทดลองระหว6างก6อนกับหลังการใหG ความรูGร6วมกับการใชGสเปรยBสมุนไพร โดยรวมและจำแนกตามองคBประกอบ (n=30) ความสามารถในการทำกิจกรรม กoอนทดลอง หลังทดลอง p-value Mean S.D. Mean S.D. ระดับความปวดขณะทำกิจกรรม 3.93 2.25 2.28 1.30 .000 ระดับอาการขGอฝëด 3.42 2.25 2.03 1.39 .000 ระดับความสามารถในการใชGงานของขGอ 3.53 2.07 1.94 1.16 .000 โดยรวม 3.61 1.51 2.02 1.13 .000


vประสิทธิผลของการให้ความรู้ร่วมกับการใช้สเปรย์สมุนไพรต่อระดับความปวด และความสามารถในการทํากิจกรรมของผู้สูงอายุเข่าเส่ ือม 39วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ สำหรับการศึกษาครั้งนี้ไดGใหGความรูGดGวยการสอนรายกลุ6ม โดยนัดกลุ6มตัวอย6างทั้งมด 30 คน จำนวน 1 ครั้ง ใชG ระยะเวลา 2 ชั่วโมง มีเนื้อหาเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การ รักษา การดูแลตนเอง การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน การใชG ท6าทางเหมาะสมเพื่อลดแรงกดที่ขGอเข6าและปéองกันไม6ใหGผิว ที่ขGอเข6าเสียดสีเปKนการลดความปวด และใหGความรูGเกี่ยวกับ สรรพคุณของสมุนไพรที่ใชGเปKนสเปรยBสมุนไพรในครั้งนี้ สาธิตและแนะนำวิธีการใชGและการเก็บรักษาสเปรยBสมุนไพร การบันทึกการใชGสเปรยBสมุนไพร โดยขณะสอนเปòดโอกาสใหG กลุ6มตัวอย6างไดGสอบถาม สังเกตเพื่อประเมินการรับรูGและ ความเขGาใจและทำใหGกลุ6มตัวอย6างที่เขGาร6วมโปรแกรมไดGมี โอกาสในการฝ©กปฏิบัติ สาธิตยGอนกลับและเรียนรูGในการ ปฏิบัติตนที่ถูกตGอง สอดคลGองกับการศึกษา8-9 ปÅจจัยที่มี ผลต6อพฤติกรรมการจัดการตนเองของผูGที่เปKนโรคขGอเข6า เสื่อม พบว6า ปÅจจัยดGานความรูGมีความสัมพันธBกับ พฤติกรรมการจัดการตนเองและดูแลตนเองของผูGปèวยขGอ เข6าเสื่อม ซึ่งสอดคลGองกับการศึกษาวิจัยหลาย ๆ การศึกษา18-20 ที่พบว6า การสอนหรือการจัดกิจกรรมใหG ความรูGแบบกลุ6ม สามารถเปKนการสรGางสัมพันธภาพ ระหว6างผูGวิจัยและอาสาสมัคร รวมถึงอาสาสมัครดGวย กันเอง โดยการบรรยาย เสริมความรูGเดิม เกี่ยวกับโรค สาเหตุการรักษาการใชGท6าทางที่เหมาะสมในการปฏิบัติ กิจกรรม และจากการศึกษาประสิทธิผลของการใชGยา สมุนไพรตำรับพอกเข6าในผูGสูงอายุ พบว6ายาสมุนไพรที่ใชG ในการพอกเข6า สามารถลดการอักเสบของขGอไดG ลดความ รุนแรงโรคขGอเข6าเสื่อมและระดับความรูGสึกปวดลดลง สอดคลGองกับการศึกษาเรื่องประสิทธิผลของยาพอกเข6า21 พบว6า ผลของยาสมุนไพรพอกเข6าตำรับหลวงปูèศุข ช6วย ลดความปวดและมีองศาการเคลื่อนไหวของขGอเข6าในท6า งอเพิ่มขึ้นอย6างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ซึ่งเดิม ศูนยBแพทยBชุมชนวัดช6องคีรีศรีสิทธิวราราม ไดGมีการใชGยา พอกเข6าสมุนไพรใหGกับผูGที่มีปÅญหาเข6าเสื่อม โดยมีการจัดชุด พอกเข6าใหGผูGปèวยไปพอกเข6าเองที่บGาน โดยใหGพอกสัปดาหB ละ 1 ครั้ง เนื่องจากผูGปèวยเข6าเสื่อมส6วนใหญ6เปKนผูGสูงอายุ บางคนพอกยาสมุนไพรเกินระยะเวลาที่กำหนด ทำใหGมีการ ระคายเคืองผิวหนัง เมื่อมีการพัฒนาจากยาพอกเข6ามาเปKน รูปแบบสเปรยB และเลือกใชGสมุนไพรที่อยู6ในกลุ6มบรรเทา อาการปวดเมื่อยกลGามเนื้อโดยมีสูตรแตกต6างจากยาพอก เข6า โดยยาพอกเข6าเดิมประกอบดGวย 20 ชนิด เช6น ไพล ผิวมะกรูด ว6านนางคำ ว6านร6อนทอง รากเจตมูลเพลิงแดง หัวดองดึง เปKนตGน ซึ่งเปKนสมุนไพรที่ออกฤทธิ์ลดอักเสบ เพิ่มการไหลเวียนเลือด คลายกลGามเนื้อ ลดปวด ขGอดGอย คือ บางชนิดหาไดGยากและมีขั้นตอนการทำหลายขั้นตอน โดยสมุนไพรดังกล6าวแพทยBแผนไทยของศูนยBสุขภาพ ชุมชนวัดช6องคีรีศรีสิทธิวรารามเปKนผูGปรุงยา ในการศึกษา วิจัยครั้งนี้ใชGสมุนไพรหลัก ไดGแก6 ว6านเอ็นเหลือง กระ ดูกไก6ดำ ที่มีสารสำคัญ vitexin และ apigenin รวมทั้ง ขมิ้นชันที่มีสารเคอรBคูมินอยดB (Curcuminoid) อยู6ใน กลุ6ม flavonoids ที่เปKนสารตGานอนุมูลอิสระ ทำใหGหยุด ปฏิกิริยาลูกโซ6ของอนุมูลอิสระไดG ตGานการทำลายเนื้อเยื่อ เพราะหากเนื้อเยื่อถูกทำลายจะทำใหGเกิดการอักเสบและ การอักเสบทำใหGเกิดความปวดตามมา สำหรับไพลมี Phenylethanoid มีฤทธิ์ช6วยในการกระจายเลือดลม กระตุGนการไหลเวียน ทำใหGลดอาการปวดลงไดG การใชG สมุนไพรเหล6านี้ต6างจากการพอกเข6าคือใชGจำนวนชนิดของ สมุนไพรหลักนGอยลงและหาไดGง6ายในชุมชน นำมาสกัด ดGวยแอลกอฮอลB95% ซึ่งมีขGอดีคือทำใหGสารสกัดเขGมขGน อีกทั้งมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียB22 เปKน การยืดอายุการเก็บรักษา ประกอบกับรูปแบบสเปรยBทำ ใหGการใชGงานสะดวก พกพาไดG ผูGสูงอายุสามารถปฏิบัติไดG ดGวยตนเอง และช6วยลดค6าใชGจ6ายในการเดินทางมารับ บริการไดGอีกทางหนึ่ง และเกิดความต6อเนื่องในการใชGยา อีกทั้งสมุนไพรทั้งหมดนี้เปKนกลุ6มบรรเทาอาการปวดเมื่อย กลGามเนื้อ และขGอต6าง ๆ ในร6างกายไดGเปKนอย6างดี ขnอเสนอแนะ 1. ขnอเสนอแนะการนำผลวิจัยไปใชn จากผลการวิจัยพบว6าการใหGความรูGร6วมกับการ ใชGสเปรยBสมุนไพรในผูGสูงอายุเข6าเสื่อม สามารถลดระดับ ความปวดและเพิ่มความสามารถในการทำกิจกรรมไดGดี


v The Effectiveness of Teaching and the Use of Herbal Spray on Level of Pain and Activities Ability in Elderly with Knee Osteoarthritis ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 40 สามารถนำสเปรยBสมุนไพรไปใชGเปKนยาภายนอกเปKนอีก ทางเลือกหนึ่งลดการรับประทานยาแกGปวดในระยะ เวลานาน หรือทดแทนการพอกเข6า สามารถใชGไดGทันทีที่ มีอาการปวด ใหGฉีดพ6น 2 -3 ครั้งบริเวณเข6าที่ปวด โดย ใหGฉีดพ6นวันละ 2 เวลาคือ เชGา กับเย็นใชGไดGต6อเนื่องไม6 จำกัดระยะเวลาของการใชGยา 2. ขnอเสนอแนะการวิจัยครั้งตoอไป 1. ทำการศึกษาวิจัยโดยมีกลุ6มควบคุมหรือ วิธีการอื่นเปรียบเทียบ และเพิ่มระยะเวลาการ ดำเนินการวิจัย เปรียบเทียบจำนวนครั้งของการใชG สเปรยBสมุนไพร และศึกษาในกลุ6มตัวอย6างที่มีความ รุนแรงของขGอเสื่อมที่แตกต6างกัน 2. ทำการศึกษาวิจัยกับผูGปèวยขGอเข6าเสื่อมวัยอื่น หรือผูGที่มีความปวดกลGามเนื้อ หรือขGออื่น ๆ


vประสิทธิผลของการให้ความรู้ร่วมกับการใช้สเปรย์สมุนไพรต่อระดับความปวด และความสามารถในการทํากิจกรรมของผู้สูงอายุเข่าเส่ ือม 41วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ เอกสารอ6างอิง 1. สุวรรณี สรGอยสงคBและคณะ. การพยาบาลผูGสูงอายุโรคขGอเข6าเสื่อม.วารสารวิชาการแพทยB เขต 11 2562;33(2):197- 209. 2. กนกอร บุญพิทักษB. ปวดเข6า เข6าเสื่อม การดูแลรักษาและการปéองกัน. นนทบุรี:โกลดBเพาเวอรBพริ้นติ้ง; 2556. 3. กระทรวงสาธารณสุข.รายงานการคัดกรองผูGสูงอายุ 10 เรื่อง [ออนไลนB]. 2565 [เขGาถึงเมื่อ 2565/1/20]. เขGาถึงไดGจาก: https://dcservice.moph.go.th/hdc/reports/report.php? 4. วิไลลักษณB ตียาพันธBและวรจรรฑญารB มงคลดิษฐB. ความสัมพันธBระหว6างความรอบรูGดGานสุขภาพกับ พฤติกรรมการดูแล ตนเองของผูGสูงอายุขGอเข6าเสื่อม ในศูนยBบริการสุขภาพโรงพยาบาลสรรพสิทธิ ประสงคB. วารสารนวัตกรรมการศึกษา และการวิจัย 2565;6(2):336-51. 5. สมาคมรูมาติสซั่มแห6งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคขGอเข6าเสื่อม. [ออนไลนB]. 2565 [เขGาถึงเมื่อ 2565/5/11] เขGาถึงไดGจาก www2.si.mahidol.ac.th/km/cop/clinical/ 6. สุปราณี นิรุตติศาสนB. การจัดการความปวดในผูGสูงอายุ ในเกื้อเกียรติ ประดิษฐBพรศิลปÆ.ตำราเวชศาสตรBผูGสูงวัย. พิมพB ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:รุ6งศิลปÆการพิมพB; 2561. 7. ราชวิทยาลัยแพทยBออรBโธปòดิกสBแห6งประเทศไทย.แนวปฏิบัติบริการการดูแลรักษาโรค ขGอเข6าเสื่อม พ.ศ. 2553 [ออนไลนB]. 2565 [เขGาถึงเมื่อ 2565/5/11] เขGาถึงไดGจากww.rcost.or.th/thai/data/2010 8. ญาดา เพ6งพิศ. การศึกษาความเปKนไปไดGในการพัฒนาโครงการจัดสรGางคลินิกกายภาพบำบัดเพื่อการรักษาฟëíนฟูผูGปèวย ดGวยแนวคิดจิตวิญญาณการบริการ Omotenashi. วิทยานิพนธBบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรB; 2562. 9. ปòยะพล พูลสุข และคณะ. ประสิทธิผลของยาพอกสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการปวดเข6าในผูGปèวยโรคขGอเข6าเสื่อม. ธรรมศาสตรBเวชสาร 2561;18(1):104-11. 10.อุมาพร เคนศิลาและอนันตBศักดิ์ จันทรศรี. ผลของยาพอกสมุนไพรลดอาการปวดเข6าในผูGสูงอายุโรคขGอเข6าเสื่อม. วารสารคณะพยาบาลศาสตรB มหาวิทยาลัยบูรพา 2564;29(4):13-21. 11. ภูมิรงคB วาณิชยBพุฒิกุล. ผลของการใชGยาประคบสมุนไพรรูปแบบสเปรยB ที่มีผลต6อการลดระดับความปวดในผูGปèวยโรค ปวดกลGามเนื้อหลังส6วนล6าง โรงพยาบาลจังหาร. วารสารวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ 2563;1(3):93-100. 12. พิมพBมาภรณB ตาสาย, อุบล พิรุณสาร, จีระนันทB ระพิพงษBและณฐารินทรB บุญทา. ผลของโปรแกรมการใหGความรูGและ การออกกำลังกายส6วนหลัง ในพนักงานเปลที่มีอาการปวดหลังส6วนล6างเรื้อรัง. Journal of Associated Medical Sciences 2560;50(2):245-52. 13. กาญจนา นิ่มตรง, นงนุช โอบะ และอาทิตยB เหล6าเรืองธนา. ผลของโปรแกรมการใหGความรูGและการสนับสนุนต6อ พฤติกรรมการดูแลตนเองและอาการปวดของผูGปèวยปวดหลังส6วนล6างเรื้อรัง. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ 2555;6(2):99-109. 14. ยุวดี สารบูรณB, สุภาพ อารีเอื้อ และสุจินดา จารุพัฒนB มารุโอ. อาการ ความรูG และการรับรูGความเจ็บปèวยดGวยโรคขGอ เข6าเสื่อมของผูGสูงอายุในชุมชน : การศึกษานำร6อง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2557;30(2):12- 24.


v The Effectiveness of Teaching and the Use of Herbal Spray on Level of Pain and Activities Ability in Elderly with Knee Osteoarthritis ปีท่ ี29 ฉบับท่ ี1 ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566 42 15. กิตฑาพร ลือลาภ และทัศนา ชูวรรธนะปกรณB. ผลของโปรแกรมการใหGขGอมูล การสรGางแรงจูงใจและการพัฒนาทักษะ ต6อความรุนแรงของโรคขGอเข6าเสื่อมและนํ้าหนักตัวในผูGสูงอายุโรคขGอเข6าเสื่อมที่มีนํ้าหนักตัวเกิน. วารสารเกื้อการุณยB 2559;23(2):149-64. 16. ณฐกานตB คงธรรม. ความรูGและทัศนคติดGานสุขภาพที่มีผลต6อพฤติกรรมของผูGปèวยในการใชGบริการแพทยBแผนไทย. สารนิพนธBบริหารธุรกิจ. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครรินทรB; 2561. 17. อำพล บุญเพียร, ธิดารัตนB แจ6มปรีชา และนิภาพร แสนสุรินทร. ผลของการนวดดGวยน้ำมันกระดูกไก6ดำ และน้ำมัน ไพลต6ออาการปวดกลGามเนื้อ คอ บ6า ไหล6 จากออฟฟòศซินโดรม. วารสารการแพทยBแผนไทยและการแพทยBทางเลือก 2562;17(1):95-105. 18. บุญเรียง พิสมัยและคณะ.ปÅจจัยที่มีผลต6อพฤติกรรมการจัดการตนเองของผูGที่เปKนโรคขGอเข6าเสื่อม. วารสารสาธารณสุข ศาสตรB2555;42(2):54-66. 19. ดุญณภัตนB ขาวหิต ขวัญใจ อำนาจสัตยBซื่อและพัชราพร เกิดมงคล. ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและ ใหGความรูGต6อความรุนแรงของโรคสมรรถภาพทางกายและพฤติกรรมการดูแล ตนเองของผูGสูงอายุที่มีภาวะขGอเข6า เสื่อมในชุมชน จังหวัดมหาสารคาม.วารสารเกื้อการุณยB 2563;27(1):7-19. 20. สุพัตรา พรคุGมทรัพยBยงยุทธ วัชรดุล และศุภะลักษณB ฟÅกคำ. การศึกษาผลของยาพอกสมุนไพรต6อการ รักษาอาการ ปวดในโรคขGอเข6าเสื่อมของผูGสูงอายุในโรงพยาบาลส6งเสริมสุขภาพตำบล วังหวGา อำเภอศรีประจันตB จังหวัด สุพรรณบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยี อีสเทิรBน 2565;17(2):275-84. 21. ศิริรัตนB ศรีรักษา สุธินันทB วิจิตร ซากีมะหB สะมาแล ชวนชม ขุนเอียด วิชชา ดาสิมลา และตั้ม บุญรอด. ประสิทธิผล ของยาพอกเข6าตำรับหลวงปูèศุขวัดปากคลองมะขามเฒ6าต6อการบรรเทาอาการปวด และองศาการเคลื่อนไหวในผูGปèวย โรคลมจับโปงแหGงเข6า. หมอยาไทยวิจัย 2565;8(1):47-62. 22. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารชุดวิชา หน6วยที่ 8-15 เคมีเภสัชวัตถุ เภสัชวิทยาและพิษวิทยาสำหรับ การแพทยBแผนไทย. พิมพBครั้งที่ 1. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2565.


vผลของการพยาบาลทางไกลต่อความสามารถของผู้ดูแลในการดูแลผู้ป ่วย โรคหลอดเลือดสมองหลังจําหน่ายกลับบ้าน โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ 43วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ ผลของการพยาบาลทางไกลต่อความสามารถของผู้ดูแล ในการดูแลผู้ป ่วยโรคหลอดเลือดสมอง หลังจําหน่ายกลับบ้าน โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ The Effects of Telenursing on the Abilities of Caregivers of Patients with Stroke after Discharging from Chiang Mai Neurological Hospital วิริยภรณ( สิงห(ทองวรรณ พย.ม.* Wiriyaporn Singthongwan, M.N.S. * สุพัตรา ปวนไฝ พย.ม.** Supattra Puanfai, M.N.S., Dip. APGN** Corresponding Author: E-mail: [email protected] Received: 5 Apr 2023, Revised: 24 May 2023, Accepted: 2 Jun 2023 *พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ หัวหนYากลุ[มงานการพยาบาลผูYปaวยนอก โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม[E mail: [email protected] *Registered Nurse, Senior Professional Level, Outpatient Department, Chiang Mai Neurological Hospital. **พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ หัวหนYางานการพยาบาลส[งเสริมคุณภาพชีวิต โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม[ E mail: [email protected] **Registered Nurse, Senior Professional Level, Promoting Quality of Life of Nursing Department, Chiang Mai Neurological Hospital. บทคัดย'อ การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาในกลุ6มตัวอย6างกลุ6มเดียวโดยวัดผลก6อนและหลังการศึกษา วัตถุประสงคDเพื่อ ประเมินผลของการพยาบาลทางไกลต6อความสามารถของผูKดูแลในการดูแลผูKปLวยโรคหลอดเลือดสมองที่จำหน6ายกลับ บKาน โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม6 กลุ6มตัวอย6างเปOนผูKดูแลผูKปLวยโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใชK ในการศึกษาประกอบดKวย 2 ส6วน 1) เครื่องมือที่ใชKในการทดลองคือ แนวทางการพยาบาลทางไกล 2) เครื่องมือที่ใชKใน การรวบรวมขKอมูล ไดKแก6 แบบสอบถามขKอมูลทั่วไปของผูKดูแลผูKปLวย แบบสอบถามขKอมูลทั่วไปของผูKปLวยโรคหลอด เลือดสมอง แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผูKปLวย แบบประเมินความสามารถในการดูแล ผูKปLวยโรคหลอดเลือดสมอง และแบบประเมินความพึงพอใจของผูKดูแลผูKปLวยต6อการพยาบาลทางไกลผ6านการตรวจ ความตรงทางเนื้อหา โดยผูKทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท6าน และตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือ โดยหาค6าสัมประสิทธิ์ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ซึ่งแบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวันของผูKปLวย และแบบประเมินความสามารถในการดูแลผูKปLวยโรคหลอดเลือดสมอง แบบประเมินความพึง พอใจของผูKดูแลผูKปLวยต6อการพยาบาลทางไกลไดKค6าความเที่ยงเท6ากับ .88, .87 และ .90 ตามลำดับ วิเคราะหDขKอมูลโดย ใชKสถิติเชิงพรรณนาและสถิติอKางอิง Wilcoxon signed ranks test ผลการวิจัย พบว6า หลังจากไดKรับการดูแลผ6านการพยาบาลระดับความสามารถของผูKดูแลเพิ่มขึ้นอย6างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ระดับความพึงพอใจของผูKดูแลผูKปLวยต6อการติดตามดูแลผูKปLวยทางไกล อยู6ในระดับมาก รKอยละ 86.7 การติดตามประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผูKปLวยวันที่จำหน6ายออกจาก โรงพยาบาลและหลังใหKการพยาบาลทางไกลจนครบ 6 เดือน พบว6าไม6มีความแตกต6างกันอย6างมีนัยสำคัญ (p = .317)


Click to View FlipBook Version