The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบงานที่ 1 การฝึกปฏิบัติงานตามภาระงานครู
- ด้านที่ 1 งานธุรการในชั้นเรียน
- ด้านที่ 2 งานแนะแนว
- ด้านที่ 3 งานกิจการนักเรียน
- ด้านที่ 4 งานความสัมพันธ์กับชุมชน
- ด้านที่ 5 : งานประกันคุณภาพการศึกษา
ใบงานที่ 2 โครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ใบงานที่ 3 การวิเคราะห์หลักสูตรและการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
ใบงานที่ 4 การวิเคราะห์ผลการจัดการเรียนรู้เพื่อการพัฒนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูแน็ค, 2021-10-21 05:07:02

ใบงานชุดวิชา "การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 "

ใบงานที่ 1 การฝึกปฏิบัติงานตามภาระงานครู
- ด้านที่ 1 งานธุรการในชั้นเรียน
- ด้านที่ 2 งานแนะแนว
- ด้านที่ 3 งานกิจการนักเรียน
- ด้านที่ 4 งานความสัมพันธ์กับชุมชน
- ด้านที่ 5 : งานประกันคุณภาพการศึกษา
ใบงานที่ 2 โครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ใบงานที่ 3 การวิเคราะห์หลักสูตรและการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
ใบงานที่ 4 การวิเคราะห์ผลการจัดการเรียนรู้เพื่อการพัฒนา

Keywords: ใบงานชุดวิชา "การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 "



คำนำ

รายงานการรวบรวมใบงานที่ 1-4 นเี้ ป็นส่วนหนึง่ ของการปฏบิ ัติการ internship 1 ภาคเรยี นที่ 1
ปีการศกึ ษา 2563 มีจุดประสงคค์ ือ 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั เอกสารหลกั ฐานที่
เกยี่ วข้องกับงานธุรการในช้ันเรียน /งานแนะแนว/งานกิจการนักเรียน และงานความสมั พันธก์ บั ชุมชน
2. เพ่อื ใหน้ ักศกึ ษาสามารถอธิบายขอบขา่ ยของงานธุรการในชั้นเรยี น 3. เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษามีสว่ นร่วมในการฝกึ
ปฏบิ ัติงานธรุ การในช้ันเรยี น 4. เพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษาเขียนบันทึกผลการปฏิบัติงานธุรการในชั้นเรียน
ซึง่ ประกอบด้วย ใบงานท่ี 1 การปฏบิ ัตงิ านตามภาระงานครู ใบงานที่ 2 โครงการกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ใบ
งานท่ี 3 การวเิ คราะหห์ ลักสูตรและการปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา และ ใบงานท่ี 4 การวิเคราะหผ์ ลการ
จดั การเรยี นรู้เพื่อการพฒั นา ซ่งึ เป็นการฝึกพัฒนาทักษะและเรียนร้หู น้าท่ีอันพึงมีของการปฏบิ ัตหิ นา้ ทคี่ รูใน
อนาคตต่อไป

ผจู้ ดั ทา

นายตันติกร บญุ ธรรม
นักศึกษาฝกึ ประสบการวชิ าชีพครู

สำรบัญ ข

คานา ก
สารบญั ข
ใบงานท่ี 1 การฝกึ ปฏบิ ัตงิ านตามภาระงานครู 1
3
- ด้านท่ี 1 งานธรุ การในชัน้ เรียน 12
- ดา้ นที่ 2 งานแนะแนว 18
- ด้านที่ 3 งานกิจการนักเรยี น 19
- ดา้ นที่ 4 งานความสัมพันธ์กับชุมชน 21
- ด้านท่ี 5 : งานประกันคุณภาพการศึกษา 24
ใบงานที่ 2 โครงการกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 71
ใบงานที่ 3 การวิเคราะห์หลักสตู รและการปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา 98
ใบงานท่ี 4 การวิเคราะหผ์ ลการจดั การเรียนรู้เพื่อการพฒั นา

1

ใบงำนท่ี 1

กำรฝกึ ปฏบิ ัตงิ ำนตำมภำระงำนครู

2

ใบงำนที่ 1

กำรฝึกปฏบิ ตั ิงำนตำมภำระงำนครู

จุดประสงค์
1. เพื่อใหน้ ักศึกษามคี วามรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับเอกสารหลกั ฐานทเี่ ก่ียวข้องกับงานธรุ การในชัน้ เรียน
/งานแนะแนว/งานกจิ การนกั เรยี น และงานความสมั พนั ธก์ ับชมุ ชน
2. เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาสามารถอธิบายขอบข่ายของงานธรุ การในชัน้ เรียน
3. เพ่อื ใหน้ กั ศึกษามีส่วนร่วมในการฝกึ ปฏิบตั ิงานธุรการในชน้ั เรียน
4. เพ่อื ให้นักศึกษาเขียนบันทึกผลการปฏบิ ตั ิงานธรุ การในชน้ั เรียน

ขอบขำ่ ยของงำน
1. ให้นักศึกษาศึกษาเอกสารต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั งานธุรการในชนั้ เรียน
2. วางแผนการจัดเกบ็ ข้อมูล รวมถึงการสมั ภาษณ์ครูพี่เลีย้ ง หรืออาจารยป์ ระจาช้ัน เพื่อวิเคราะห์
ขอบข่ายของงานตา่ ง ๆ
3. ฝกึ ปฏิบตั ิงานธรุ การในชัน้ เรยี นกบั ครูพี่เลย้ี งหรอื อาจารย์ประจาชั้น
4. เขียนบนั ทึกผลการปฏิบัตงิ านตามประเดน็ ท่ีกาหนด

ผเู้ ก่ียวข้อง/แหล่งข้อมูล
1. ครพู ีเ่ ลีย้ ง/ครูประจาชน้ั /ครูแนะแนว/ครูฝา่ ยปกครอง
2. ระเบยี นสะสม (ป.พ. 8)
3. บนั ทกึ สขุ ภาพประจาตัวผู้เรยี น (สศ.3)
4. บนั ทกึ การพฒั นาคุณภาพผู้เรียน (ป.พ.5)
5. สมดุ รายงานประเมินคุณภาพและพัฒนาการของผูเ้ รียน (ป.พ.6)
6. บนั ทกึ งานกจิ การนักเรียน
7. บนั ทึกงานแนะแนว
8. บนั ทึกงานความสัมพันธก์ บั ชมุ ชน

3

ด้ำนที่ 1 : งำนธุรกำรในชั้นเรยี น
1. แบบบันทึกระเบยี บสะสม (ป.พ.8)

1.1 องคป์ ระกอบท่สี ำคญั
1.1.1 ประวัตสิ ่วนตัวนักเรยี น

- ขอ้ มลู สว่ นตัว เปน็ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ชอ่ื –สกุล เพศ เชอ้ื ชาติ สัญชาติ ศาสนา หมโู่ ลหิต
ภูมลิ าเนา รวมไปถงึ พี่นอ้ งของนักเรยี น
- ขอ้ มูลครอบครวั
ข้อมลู ทว่ั ไปของบิดามารดา เป็นขอ้ มูลเกย่ี วกับ ชือ่ –สกุล เพศ อาชีพ สถานที่ทางาน
รายได้ ระดับการศึกษา
ขอ้ มูลสถานภาพการอยู่ร่วมกันของบดิ ามารดา เป็นข้อมูลเกยี่ วกับบิดามารดาอยู่
ด้วยกันหรือไม่ จดทะเบยี นกันหรือไม่ การหย่ารา้ งถึงแก่กรรม บิดาหรอื มารดาแต่งงานใหม่
หรือไม่
ขอ้ มลู ของพนี่ ้องในครอบครัวทมี่ ีชวี ติ อยู่ เป็นข้อมลู เก่ยี วกบั พน่ี อ้ งของผู้เรยี น ไม่วา่
จะเปน็ พนี่ ้องร่วมบดิ ามาราดา หรอื ตา่ งบดิ ามารดา
- ข้อมลู ท่ีอย่ปู จั จุบนั เป็นประเภทของท่อี ยู่ เช่น บา้ นของตนเอง บ้านญาติ บา้ นเชา่
หอพัก วดั หรอื อ่นื ๆ ผ้เู รยี นอาศัยอยู่กับใครให้ระบชุ ่ือ และความเกีย่ วข้องก็ให้ระบเุ ป็น บิดา
มารดา ป้า น้า
ฯลฯ
- ข้อมลู เพื่อนสนทิ ของผู้เรยี น เป็นข้อมลู เกยี่ วกับ เพ่ือนสนิท หมายถึง เพอื่ นทอ่ี ยใู่ น
สถานศกึ ษาเดียวกันหรือสถานศึกษาอื่น หรอื อยบู่ า้ นใกล้เคียงกัน
- ข้อมูลสถานภาพทางเศรษฐกจิ เป็นขอ้ มลู ทใ่ี ห้บันทึกสภาพทางการเงินของผูเ้ รยี น
ความจาเป็นท่ีควรชว่ ยเหลือ แนวทางการให้ ความช่วยเหลือ เช่น ทนุ การศึกษา อาหารกลางวัน
ฯ ตลอดจนผล
ทีเ่ กดิ หลังจากการให้ความชว่ ยเหลือ
- ข้อมลู การรับทนุ การศึกษาตา่ ง ๆ เปน็ ขอ้ มูลการรับทุนการศกึ ษาตา่ ง ๆ
- ประวัตกิ ารยา้ ยที่อยู่ เป็นข้อมูลการยา้ ยที่อยู่ ย้ายเมอื่ ใด รวมถึงเหตผุ ลของการยา้ ย
1.1.2 ข้อมูลด้ำนสขุ ภำพ

เป็นขอ้ มลู ทีค่ รปู ระจาชน้ั จะต้องประสานงานกับครพู ยาบาล เพอ่ื บันทึกข้อมูลให้
ถูกต้อง โดยระบวุ นั ทเ่ี จ็บปว่ ยและวันที่ตรวจรักษา

- ประวัติการเจ็บปว่ ย เป็นประวัตขิ องการเจ็บป่วย เชน่ โรคประจาตวั หรือโรคที่เคย
เปน็ โดยใหร้ ะบวุ นั /เดอื น/ปีที่เปน็ กากบั ด้วย ระบุอาหาร/ยา/สารทีแ่ พ้ และ ระบุการผา่ ตัด/
อุบตั ิเหตุร้ายแรงท่ี
ได้รบั

4

- การตรวจสายตา การได้ยิน และชอ่ งปาก
- บันทกึ การเจริญเติบโต ให้บันทึกน้าหนัก ส่วนสูง ภาคเรียนละ 1 คร้งั
- พฤติกรรมและอาการทางจิตเวช
1.1.3 ข้อมูลทำงกำรศึกษำ
- ผลการเรียน เปน็ การบันทกึ ผลการเรียนรู้ ชว่ งช้ันท่ี 3 (มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1–3)
- เจตคติตอ่ กล่มุ สาระการเรียนร้ทู ีเ่ รียนเป็นการบนั ทึกความเห็นทมี่ ตี อ่ กลมุ่ สาระการ
เรียนรู้ทช่ี อบ และกลุม่ สาระการเรียนรู้ ทีไ่ มช่ อบ เพ่อื นาไปสู่การช่วยเหลือสนบั สนุนต่อไป
1.1.4 ข้อมลู ด้ำนบคุ ลิกภำพ
เปน็ แบบสังเกต ประเมนิ และกรอกผลการประเมินตามคณุ ลักษณะ ดังน้ี
4 หมายถงึ มาก
3 หมายถึง ค่อนข้างมาก
2 หมายถงึ ค่อนข้างน้อย
1 หมายถงึ นอ้ ย
- หมายถงึ ไม่แนใ่ จ
ซึง่ ประกอบไปด้วยเรอ่ื งหลัก ๆ ดังต่อไปน้ี ด้านสขุ นิสัย ด้านลกั ษณะนสิ ัย
ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ดา้ นทกั ษะการดาเนินชวี ติ
1.1.5 กำรวำงแผนชีวิตเพื่อกำรศึกษำและอำชีพ
- บันทึกข้อมูลที่เกี่ยวกบั การกาหนด เป้าหมายชีวติ การศกึ ษาต่อ อาชีพ เหตุผลของ
ผเู้ รยี นและความคาดหวังของผู้ปกครอง ซ่ึงได้มาดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ เชน่ การเขยี นอัตชีวประวัติ
ของผเู้ รยี น การ
สัมภาษณ์ การเย่ยี มบา้ นผู้เรยี น เปน็ ต้น และการแสดงความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของครู
- ข้อมูลกิจกรรมท่สี นใจและความสามารถพิเศษ
1.1.6 ผลกำรทดสอบด้ำนกำรแนะแนวและจิตวิทยำ

เป็นการบนั ทึกข้อมูลโดยประสานความรว่ มมือกับผู้ทีเ่ กยี่ วข้องในการทดสอบดา้ น
การศกึ ษา อาชีพและบุคลิกภาพ และการนาผลทดสอบไปใช้ประโยชน์พร้อมบนั ทึก ชือ่ /ตาแหนง่ ของ
ผทู้ ดสอบและผู้ท่นี าผลการทดสอบไปใช้
1.1.7 บนั ทึกควำมดีหรอื เกียรตคิ ุณของผ้เู รียน

- บันทึกความดี/ผลงาน/ความสามารถพิเศษของผู้เรยี นในการบาเพ็ญประโยชน์ เชน่
การเข้าร่วมกจิ กรรมชุมชน การดูแลสาธารณสมบัติการชว่ ยเหลือทัว่ ไปแก่ครอบครัว
สถานศกึ ษา ชุมชน สงั คมโดยการสงั เกตจากพฤติกรรม ผลงานท่ีปรากฏ การสมั ภาษณส์ ารวจ
ความเห็นจากเพ่ือน ผปู้ กครอง ครู บุคคลในชมุ ชน แฟ้มผลงานของผู้เรยี น

5

- ขอ้ มลู การนาชื่อเสียงมาสตู่ นเอง ครอบครวั สถานศึกษา และสังคม บนั ทึกการเขา้ รว่ ม
กจิ กรรมการประกวด การคดั เลอื ก การแข่งขันของผู้เรียนท่ีสถานศึกษาหรือหนว่ ยงาน ตา่ งๆ
ดาเนินการ
1.1.8 บนั ทึกเพิ่มเติม (ควำมคดิ เหน็ ของคร)ู
เป็นข้อมูลท่แี สดงรายละเอียดข้อมลู ท่ีเพมิ่ เตมิ หรือเปล่ียนแปลง
1.2 กำรมีส่วนร่วมของนักศึกษำ
1. บนั ทกึ ข้อมูลทว่ั ไปของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1/1 ลงในโปรแกรม Scan tool 4.0
ซ่งึ เป็นโปรแกรมคดั กรองนกั เรยี นในระบบการดูแลช่วย/เหลือ เพ่ือส่งข้อมูลไปที่ สพฐ.
2. บันทึกข้อมลู ทางดา้ นสขุ ภาพ เก่ยี วกับโรคประจาตวั ของนักเรยี น
3. บันทกึ ผลการเรยี นรู้ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
4. บันทึกการเจรญิ เติบโต โดยการให้นกั เรียนชั่งน้าหนัก วดั สว่ นสงู แล้วบันทึกเกณฑ์
5. บันทกึ การสังเกต เก่ยี วกับบุคลกิ ภาพ กรอกผล การประเมินผล ตามคณุ ลักษณะ
6. เปน็ ท่ปี รกึ ษาในดา้ นความถนดั /ความสามารถของนักเรียน รวมไปถงึ การวางแผนชีวิตเพื่อ
การศึกษาต่อ
1.3 ผลกำรปฏิบตั ิงำน
1. จากการที่บันทึกข้อมูลของนักเรียนลงในโปรแกรม Scan tool 4.0 แลว้ ทาใหส้ ามารถร้ถู งึ
องคป์ ระกอบท่สี าคัญของระเบยี บสะสมและขอ้ มูลท่วั ไปของนักเรียน พร้อมทั้งทราบถึงปัญหา
ตา่ ง ๆ ท่ีเกิดขึน้ ต่อตวั นักเรยี นซง่ึ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อผ้เู รยี น
2. สาหรบั การนาขอ้ มูลมากรอกจาเปน็ ต้องแยกข้อมูลเป็นสว่ นๆ ให้สะดวกตอ่ การกรอกข้อมลู
แต่ละข้อ เพ่ือความสะดวกรวดเรว็ และถกู ต้อง
3. ระเบียนสะสมมีความสาคัญมากต่อครแู ละนักเรียน ทาใหค้ รทู ราบข้อมลู ทุก ๆ ด้าน
เก่ยี วกับตัวนักเรยี น ซ่ึงสามารถนาข้อมลู ดังกลา่ วไปวิเคราะห์สภาพปญั หาท่เี กิดขนึ้ กับตวั
นักเรียนตลอดจนเปน็ แนวทางในการหาวิธแี ก้ไขปัญหาต่าง ๆ และยงั เป็นประโยชนต์ อ่ ครดู า้ น
การแนะแนวนกั เรียนเมื่อนาระเบียนสะสมมาวิเคราะหค์ วามถนัด ความสามารถของนักเรยี น
ครูจะสามารถสง่ เสริมนักเรยี นได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสมกับความสามารถของนักเรยี น
2. บันทกึ สุขภำพประจำตัวผู้เรยี น (สศ.3)
2.1 องค์ประกอบทีส่ ำคัญ
2.1.1 ประวตั ิทั่วไป

เปน็ ข้อมลู เก่ียวกบั ชือ่ –สกลุ วัน/เดือน/ปีเกดิ เพศ เชอ้ื ชาติ สัญชาติ ศาสนา หมโู่ ลหติ
ภมู ลิ าเนา รวมไปถึงพ่นี ้องของนักเรยี นข้อมลู ทว่ั ไปของบดิ ามารดาและผู้ปกครอง เกี่ยวกับ ชอ่ื –สกุล
เพศ อาชพี การสมรส การหยา่ ร้างหรือถงึ แก่กรรม

6

2.1.2 ประวัตกิ ำรเจ็บปว่ ย
เป็นประวตั ิการเจบ็ ปว่ ยเกีย่ วกับโรคตา่ งๆ ทเ่ี คยเปน็ รวมไปถงึ ประวัติการใชย้ าตา่ งๆ

การแพย้ า การผา่ ตดั และประวัติของการเกิดอบุ ตั ิเหตรุ า้ ยแรง
2.1.3 บันทึกกำรเจรญิ เติบโตปลี ะ 2 คร้งั

คร้ังท่ี 1 (1 สิงหาคม) และครั้งที่ 2 (2 กุมภาพนั ธ)์ เป็นบนั ทึกการเจริญเติบโตของ
ผเู้ รียนเกีย่ วกับอายุ ปี/เดือน นา้ หนกั สว่ นสูง และภาวการณ์-เจรญิ เตบิ โต วา่ มคี วามเปน็ ปกติ ตา่ กว่า
เกณฑ์หรือสูงกวา่ เกณฑ์
2.1.4 บันทกึ กำรตรวจสำยตำและกำรไดย้ ิน

เป็นขอ้ มูลเกยี่ วกับการตรวจสายตาโดยการวัดสายตา ประเภทไมส่ วมแวน่ สวมแวน่
และการวัดสายตาโดยใช้ PIN HOLE โดยวัดทัง้ ด้านขวาและด้านซา้ ย ส่วนด้านของการได้ยนิ มกี ารวัด
ในแบบเดยี วกันคือ วัดทง้ั ดา้ นขวาและดา้ นซ้าย
2.1.5 บันทึกกำรตรวจทนั ตสุขภำพปีละ 2 ครั้ง

เดอื นมิถุนายน และเดือนธนั วาคมเป็นข้อมลู เกี่ยวกบั การบันทกึ การตรวจสุขภาพ
เหงือกทัง้ ดา้ นบนและดา้ นล่าง โรคฟันผุ รวมถงึ วิธกี ารแก้ไข โดยมีการแบง่ ระดับของสุขภาพฟนั และมี
การสรปุ ผลท่ีได้เพอื่ รายงานต่อไป
2.1.6 กำรสร้ำงเสริมภมู คิ ้มุ กันโรค

เปน็ การบันทึกข้อมูลที่แสดงการสรา้ งภมู คิ ุ้มกันต่างๆ ให้กบั นกั เรยี น เช่น โปลิโอ คอตบี
บาดทะยัก เปน็ ตน้ โดยการแบ่งเป็นเด็กวยั ก่อนเรยี นกับเด็กวยั เรียน
2.1.7 บนั ทกึ ของครูโรงเรยี นประถมศกึ ษำและครูหรือผู้นำเยำวชนสำธำรณสขุ ในโรงเรียน
มธั ยมศกึ ษำ

จากการพบความผิดปกติของนกั เรียนเกี่ยวกับสขุ ภาพ อปุ นิสัย พฤตกิ รรม ท่ผี ดิ ปกติ
ตลอดจนการรักษา การส่งต่อ หรือการช่วยเหลอื อืน่ ๆ แลว้ ลงชอ่ื กากบั ทกุ คร้งั
2.1.8 บันทึกกำรตรวจสุขภำพนักเรยี นประจำปี โดยบคุ ลำกรสำธำรณสุข

เปน็ ขอ้ มูลเก่ยี วกับการตรวจสุขภาพนกั เรยี นโดยบุคลากรสาธารณสุข ซึง่ จะบันทึก
เก่ียวกบั ชนั้ อายุ ความสะอาดของรา่ งกายและเสอ้ื ผ้า ความสมบรู ณข์ องร่างกาย ผม และศรี ษะ ตา หู
จมกู ปาก ฟัน เหงอื ก คอ ทอนซิล ต่อมไทรอยด์ ต่อมนา้ เหลอื ง ปอด หัวใจ ตับ มา้ ม กระเพาะอาหาร
ลาไส้ ประสาท ผิวหนงั กระดูก การพูด เมอื่ มกี ารบนั ทกึ แล้วกล็ งชือ่ ผตู้ รวจในดา้ นความสะอาดของ
ร่างกายและเสือ้ ผา้ สามารถแบ่งเปน็ 3 ระดับ คือ สะอาด พอใช้ ไมส่ ะอาด และในด้านความสมบรู ณ์
ของรา่ งกาย แบง่ เป็น 3 ระดับ เช่นกนั คือ ปกติ ต่ากวา่ เกณฑ์ มากกว่าเกณฑ์
2.1.9 รำยงำนกำรตรวจชันสูตร
2.1.10 บันทึกของบคุ ลำกรสำธำรณสขุ กำรตรวจพบ กำรรกั ษำ กำรติดตำมผลกำรรักษำ
และกำรสง่ นกั เรียนไปขอรับกำรรกั ษำต่อยังสถำนบริกำรสำธำรณสขุ อ่นื ๆ

7

2.2 กำรมีส่วนร่วมของนักศึกษำ
1. บันทกึ การเจริญเติบโตเกีย่ วกับอายุ น้าหนัก ส่วนสูง และภาวะการเจรญิ เตบิ โต
2. ตรวจสอบการเจ็บปว่ ยของนกั เรยี น
3. ส่งเสริมความสะอาดของนักเรียนในด้านการล้างมือ การตรวจเคร่ืองแตง่ กาย
4. การตรวจสขุ ภาพของนักเรียน เชน่ ตรวจเลบ็ ตรวจผม ตรวจฟัน เปน็ ตน้

2.3 ผลกำรปฏบิ ัติงำน
จากการบนั ทึกสุขภาพของนกั เรยี นทาให้ทราบว่าครตู ้องบนั ทึกเป็นประจาเพ่ือใหง้ ่ายตอ่ การ

ดูแลและตรวจสอบความเจริญเติบโตของนักเรียน ซ่งึ เม่อื นักเรยี นเกิดปัญหาทางดา้ นสุขภาพข้อมลู ที่
บนั ทกึ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อตวั นักเรียนในการเข้ารบั การรักษาพยาบาล และเป็นข้อมลู ทน่ี ามาใชใ้ นการ
วเิ คราะหก์ ารจดั การเรยี นรู้ให้เหมาะสมต่อผ้เู รียนโดยไม่กระทบต่อปัญหาด้านสุขภาพของนกั เรียนได้
3. แบบบนั ทึกกำรพัฒนำคุณภำพผู้เรียน (ป.พ.5)
3.1 องคป์ ระกอบท่สี ำคญั
3.1.1. ข้อมลู ท่ัวไป

- เป็นข้อมูลท่วั ไปของแบบบันทึก ซึง่ เปน็ เรื่องเก่ยี วกบั ชัน้ โรงเรียน เขตพ้นื ท่กี ารศึกษา อาเภอ
จังหวดั ภาคเรยี นที่ และปีการศึกษา รายวิชา รหสั วชิ า หนว่ ยกติ เวลาเรียน ครูผสู้ อน
ครูทป่ี รกึ ษา
3.1.2. สรุปผลกำรประเมิน
- จะบนั ทึกการสรปุ ระดับผลการเรยี น ซงึ่ จะบอกรายละเอียดเก่ียวกับ จานวนนกั เรยี น จานวน
นกั เรยี นในระดับผลการเรียนตา่ งๆ จานวนนกั เรียนท่ผี ่านการประเมนิ จานวนนกั เรียนที่ไม่ผ่าน
การประเมนิ ร้อยละของระดับผลการเรียนตา่ งๆ บอกรายละเอียดเกยี่ วกบั ผลการประเมินคณุ
ลกั ษณอันพงึ ประสงค์ จานวนนักเรียนเก่ยี วกับผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณอนั พึงประสงคใ์ นระดบั
ตา่ งๆ ดังนี้ 3 = ดีเยย่ี ม, 2 = ดี, 1 = ผา่ น,0 = ไมผ่ ่าน บอกรายละเอียดเกย่ี วกบั ผลการประเมิน
การอ่านคดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน จานวนนกั เรียนเก่ยี วกบั ผลการประเมินการอา่ นคดิ วเิ คราะห์และ
เขยี น ในระดับต่างๆ ดงั น้ี 3 = ดีเย่ียม, 2 = ด,ี 1 = ผา่ น, 0 = ไมผ่ า่ น
3.1.3. กำรอนุมตั ผิ ลกำรเรยี น (อนมุ ตั ิโดยผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ)
- การตรวจสอบผลการเรียนน้นั จะตรวจสอบความถกู ต้องว่า ผ่าน หรอื ไมผ่ า่ น ซึ่งต้องได้รบั การ
ยอมรบั จาก ครผู ู้สอน หวั หนา้ กลุ่มสาระ หัวหน้างานทะเบยี นวดั ผล รองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร
งาวิชาการ และผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา สว่ นการอนุมตั ผิ ลการเรียนนั้น ตอ้ งได้รับการยืนยันจาก
ผูอ้ านวยการสถานศึกษาพร้อมกบั ลงวนั ท่ี
3.1.4. แบบบนั ทึกผลกำรประเมินผลกำรเรียน
- เป็นข้อมูลเก่ียวกบั การบนั ทึกผลการประเมินผลการเรียนในภาคเรียน ประกอบด้วย ก่อนกลาง
ภาค กลางภาค หลงั กลางภาค ปลายภาค คา่ เฉลีย่ ร้อยละ และระดับผลการเรยี น
3.1.5. แบบบนั ทึกผลกำรประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

8

- เป็นขอ้ มลู เก่ียวกบั การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในภาคเรยี นและการสรุปผลการ
ประเมิน ประกอบด้วย การแบง่ ช่องคะแนนของผลการประเมิน และสรุปผลคา่ เฉล่ียรอ้ ยละ

3.1.6. แบบบันทกึ ผลกำรประเมินอำ่ น คิด วเิ ครำะห์ และเขียน
- เปน็ ข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนในภาคเรยี นและการสรุปผลการ

ประเมนิ ประกอบด้วย การแบง่ ช่องคะแนนของผลการประเมนิ และสรุปผลคา่ เฉลีย่ รอ้ ยละ
3.1.7. แบบบนั ทกึ ผลกำรเข้ำเรยี น
- เปน็ การบนั ทึกการมาเรียนของนักเรยี น ซง่ึ จะบนั ทกึ การเข้าเรยี นในภาคเรียน โดยสรุป ดงั นี้ มา

สาย ลาป่วย ลากจิ ขาด และสรุปผลเฉลย่ี ร้อยละ
3.1.8. สรุปสถิตปิ ระเมนิ ผล
- เปน็ ข้อมลู เก่ยี วกบั การบันทึกผลการประเมินผลการเรยี นในภาคเรยี น จานวนนกั เรียนระดับผล

การเรียนต่างๆ ลงลายมือช่อื ครูผูส้ อน และวนั ที่การสรปุ การประเมนิ
3.2 กำรมสี ่วนร่วมของนักศกึ ษำ
1. บันทกึ รายชอ่ื นักเรียนทต่ี นเองประจาชัน้ เลขประจาตัวนักเรยี น เลขประจาตวั บัตรประชาชน
นักเรียน ในรายวชิ าต่าง ๆ ท่ีอย่ใู นความรับผิดชอบของครพู ี่เล้ยี ง
2. บนั ทึกมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั ในกลุม่ สาระการเรยี นรทู้ ต่ี นเองรบั ผิดชอบสอน
3. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในความดแู ลของครูพีเ่ ลี้ยงเพือ่ ประกอบการประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
อนั พึงประสงค์ของนักเรียนในด้านต่าง ๆ
4. ควบคมุ นักเรียนเขา้ รับการทดสอบการประเมนิ การอา่ น การคดิ วเิ คราะห์ และการเขียน เพือ่ ให้
กจิ กรรมการทดสอบดังกล่าวเป็นไปอย่างถูกตอ้ งและบรรลวุ ตั ถุประสงค์
3.3 ผลกำรปฏิบัตงิ ำน
1. การดาเนินกจิ กรรมการประเมนิ ต่าง ๆ สาเร็จลุลว่ งตามวัตถปุ ระสงค์
2. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์และมผี ลการเรยี นรู้อยู่ในเกณฑด์ ี
3. นักเรียนมที ักษะการอา่ น การคดิ วิเคราะห์ และการเขยี นอยูใ่ นเกณฑ์ดี
4. พบการกรอกขอ้ มูลท่ผี ิดพลาดบา้ งบางครัง้ แต่ก็มกี ารปรบั แกไ้ ขทันที

4. แบบบนั ทกึ สมุดรำยงำนประเมนิ คณุ ภำพ และพฒั นำกำรของผู้เรียน (ป.พ.6)
4.1 องคป์ ระกอบทีส่ ำคัญ
1. ขอ้ มูลทวั่ ไป
- เปน็ ข้อมูลเก่ยี วกับ ชอื่ – สกลุ เลขประจาตัว โรงเรยี น อาเภอ จงั หวัด ปีการศึกษาทเ่ี ร่ิมเรียน

และปกี ารศกึ ษาทีจ่ บ ครูทีป่ รึกษาในแต่ปีการศึกษา

9

2. คำชี้แจง้ สมดุ รำยงำนผลกำรพฒั นำคณุ ภำพผู้เรยี นรำยบคุ คล (ป.พ.6)

10

3. ปพ.1
- การประเมินผลสมั ฤทธ์ิ รายวิชาตา่ งๆ หนว่ ยกิต คะแนนรวม ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ ระดบั การ

ประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับการประเมินอา่ น คิด วิเคราะห์และเขยี น และครูผู้สอนของรายวิชา
ตา่ งๆ

- สรปุ ผลการเรียน จานวนหนว่ ยกิตรวมท่เี รยี น หน่วยกิตรวมที่ได้ ผลการเรยี นเฉลยี่ (GPA) อันดับ
ทข่ี องหอ้ ง อนั ดบั ท่ีของระดบั เกณฑ์การประเมิน

- ลงชอื่ รับรอง ลงช่อื ครูทปี่ รึกษา นายทะเบียน และผ้อู านวยการสถานศกึ ษา
- บนั ทึก (ผ้ปู กครอง) ลงความเหน็ ผู้ปกครอง และลงชอื่ ผู้ปกครองรบั ทราบผลการเรียน
4. ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
- เปน็ แบบการประเมินของคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ในภาคเรียน ประกอบด้วย

4.1 รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
4.2 ซือ่ สัตย์สุจรติ
4.3 มีวินยั
4.4 ใฝ่เรยี นรู้
4.5 อยู่อยา่ งพอเพียง
4.6 ม่งุ มั่นในการทางาน
4.7 รักความเป็นไทย
4.8 มีจติ สาธารณะ
ซึ่งในแต่ละคณุ ลกั ษณะน้ันจะมเี กณฑด์ ังนี้ คือ 3 = ดเี ยีย่ ม, 2 = ด,ี 1 = ผ่าน,0 = ไมผ่ า่ น
5. ผลการประเมนิ การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน (เปน็ รายวิชา)
- เปน็ แบบการประเมนิ ของคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ในภาคเรียน ซ่ึงในแต่ละคุณลกั ษณะน้นั จะมี
เกณฑ์ดงั น้ี คือ 3 = ดเี ยย่ี ม, 2 = ด,ี 1 = ผา่ น, 0 = ไมผ่ ่าน
6. ผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
- เป็นแบบการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นในกิจกรรมจะประกอบด้วยกจิ กรรมดงั นี้
- กจิ กรรมแนะแนว
- กจิ กรรมนักเรียน
- กิจกรรมลกู เสือ – เนตรนารี
- กิจกรรม แนะแนว
- กจิ กรรมชมุ นมุ
- กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์
ผลการประเมนิ ซึง่ จะแบง่ เปน็ ผ่าน/ไมผ่ ่าน
7. ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน

11

- เป็นการสรปุ ผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นผลการประเมนิ แบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื
ผ่าน/ไมผ่ า่ น
4.2 กำรมสี ่วนร่วมของนกั ศึกษำ

1. บันทกึ เวลาเรยี นของนักเรียนต้งั แตเ่ ดือนพฤษภาคม ถงึ เดือนกันยายน
2. ตรวจสอบผลประเมินตัวชีว้ ดั ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ จานวนตัวชี้วดั ทงั้ หมด 9 ตัวชี้วัด
3. การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ นภาคเรียนท่ี 1 ท้งั 8 คณุ ลักษณะ
4. การประเมนิ การอ่าน คิด วเิ คราะห์ และการเขียน ภาคเรียนท่ี 1 ในกล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย
5. การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนภาคเรียนท่ี 1
4.3 ผลกำรปฏิบตั ิงำน

การปฏิบัตงิ านในด้านการประเมนิ คุณภาพและพฒั นาการของผูเ้ รยี นทาให้ทราบถงึ ประโยชน์
ของแบบบันทกึ สมุดรายงานประเมินคุณภาพและพฒั นาการของผู้เรยี น เชน่ ทาให้ทราบวิธกี าร
ประเมนิ ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และการเขยี น ใช้เปน็ เอกสารหลกั ฐานสาหรบั ตรวจสอบ
ยืนยันและรับรองผลการเรยี นและพฒั นาการต่าง ๆ ของผู้เรียน และทาใหท้ ราบว่าการบนั ทกึ ข้อมลู ใน
สว่ นนี้ตอ้ งจดั ลาดับการบนั ทึกให้ดีเพื่อให้งา่ ยต่อการบันทกึ และสะดวก ทาให้ผิดพลาดได้น้อยลง

12

ด้ำนที่ 2 : งำนแนะแนว
1. สภำพกำรดำเนินงำนแนะแนวของโรงเรยี น

การจัดกิจกรรมแนะแนว สถานศึกษาตอ้ งบรหิ ารจดั การให้บคุ ลากรท่ีเก่ียวข้อง มหี นา้ ท่ีและมี
ส่วนร่วมในการพัฒนาผูเ้ รยี น ใหบ้ รรลุตามจดุ หมายของหลักสูตร และมาตรฐานการแนะแนวดา้ นผู้เรยี น
โดยจัดเวลาให้เป็นไปตามสดั ส่วนของการจดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนในแตล่ ะช่วงชน้ั รวมท้งั จดั บรกิ าร
และกจิ กรรมนอกห้องเรยี นให้ครอบคลุมทั้ง 5 งาน และมีกิจกรรมอยา่ งนอ้ ย 9 กิจกรรม ตามแนวการ
จดั กิจกรรมแนะแนว ดังน้ี
การจัดกจิ กรรมแนะแนว มีภาระงาน 2 ลกั ษณะคอื

1. การจดั บรกิ ารแนะแนว
2. การจดั กิจกรรมในและนอกห้องเรยี น
กำรจัดบรกิ ำรแนะแนว
ครูทุกคน รวมถงึ ครูแนะแนวร่วมรับผิดชอบ และมีหนา้ ท่ใี นการจัดบรกิ ารแนะแนว โดยมี ครแู นะ
แนวเปน็ ทป่ี รกึ ษาและประสานงานเพ่ือพฒั นาผู้เรยี นให้ไดม้ าตรฐานและครอบคลมุ บริการแนะแนวท้งั 5
งาน ตามวิธีการ ดงั นี้
1. งำน

วิธีกำร
1. งำนศกึ ษำรวบรวมขอ้ มูล
- ศกึ ษา รวบรวม วเิ คราะห์ สรุป และนาเสนอ ข้อมูลของผู้เรียน
2. งำนสำรสนเทศ
- จัดศูนย์สารสนเทศทางการแนะแนวในรูปศูนย์การเรยี นรู้ด้วยตนเอง โดยครอบคลุม
ด้านการศึกษา อาชีพ ชีวติ และสงั คม
3. งำนให้คำปรึกษำ
- อบรมทกั ษะการให้คาปรึกษาเบ้อื งตน้ แก่ครูใหค้ าปรึกษาผู้เรยี น ทง้ั รายบุคคลและ
เปน็ กล่มุ
- ศึกษารายกรณี (Case study) และจดั กล่มุ ปรึกษาปัญหา (Case conference)
- ส่งตอ่ ผเู้ ช่ยี วชาญ ในกรณที ่ีผเู้ รียนมีปัญหายากแกก่ ารแก้ไข
- จดั กลมุ่ พัฒนาผู้เรยี นด้วยเทคนิคทางจิตวิทยา
4. งำนกิจกรรมส่งเสรมิ พัฒนำ ชว่ ยเหลือผเู้ รียน
- จดั บริการ สร้างเสริมประสบการณ์ รวมทง้ั ให้การสงเคราะห์ เพ่ือตอบสนองความ
ถนดั ความต้องการ และความสนใจของผูเ้ รยี น
5. งำนตดิ ตำมประเมนิ ผล

13

- ติดตาม ดูแลพฤตกิ รรมและพฒั นาการของผู้เรียน
- ตดิ ตามผลผเู้ รยี น
- ประเมินผลการดาเนนิ งานแนะแนวการจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน
ครูทุกคนร่วมรับผิดชอบ และมหี น้าทใี่ นการจัดกจิ กรรมแนะแนว โดยมีครแู นะแนวเป็นท่ี
ปรกึ ษาและประสานงาน รว่ มกันวางแผนและหาวิธีการทีเ่ หมาะสมมาใช้พัฒนาผเู้ รยี น เช่น

1. กิจกรรมโฮมรูม
2. กจิ กรรมคาบแนะแนว
3. การสอดแทรกกระบวนการแนะแนว

3.1. กจิ กรรมกลุม่ ทางจติ วิทยาและการแนะแนว เช่น โปรแกรมพฒั นาตนเอง
เกี่ยวกับการร้จู ัก และเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง
3.2. การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ เช่น โครงการอบรม ผนู้ าในโรงเรยี นสหวทิ ยาเขต
3.3 การทศั นศึกษาแหลง่ วทิ ยาการ และสถานประกอบการ
3.4 การเชญิ วทิ ยากร ใหค้ วามรู้ เชน่ ผปู้ กครอง นักเรียน ศษิ ยเ์ ก่า ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน
3.5 การจัดนทิ รรศการ
3.6 การจดั ปา้ ยนิเทศ
3.7 การปฐมนิเทศ
3.8 การปจั ฉิมนเิ ทศ
3.9 การจดั เสียงตามสาย
3.10 ชุมนมุ แนะแนว
3.11 กิจกรรมผปู้ กครองพบครูของลกู รัก
3.12 กจิ กรรมเพ่ือนช่วยเพ่อื น
โดยดาเนินการตามกจิ กรรมอยา่ งนอ้ ย ๙ กิจกรรม
1. ศึกษาและรวบรวมขอ้ มลู ผู้เรยี นทตี่ นเองรบั ผดิ ชอบเป็นรายบคุ คล
2. คัดกรองผูเ้ รยี นเพ่ือจาแนกผ้เู รยี นออกเปน็ ๒ กลมุ่ คือกลุ่มปกตแิ ละกลุม่ พิเศษ
3. ดแู ลชว่ ยเหลือให้คาปรกึ ษาเบื้องตน้ ในด้านตา่ ง ๆ ให้ผ้เู รียนพัฒนาเด็กตามศักยภาพ
4. พัฒนาระบบข้อมูลและภมู ิความรูท้ ที่ ันสมยั เป็นประโยชนแ์ ละจาเป็นในการดาเนินชวี ิต
5. ประสานงานกับผู้เกย่ี วข้องภายในสถานศึกษา เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ผู้เรยี น แนวทางการ
ดูแล
ชว่ ยเหลือ และการสง่ ต่อผเู้ รยี น
6. ประสานงานกับผปู้ กครอง ชุมชน เพือ่ การรว่ มมอื ในการดแู ลช่วยเหลอื ผ้เู รียน
7. จัดกิจกรรมท้ังในและนอกหอ้ งเรียน เพ่ือป้องกัน แก้ไข และการส่งเสรมิ พฒั นาผเู้ รยี นทุก
คน รวมทง้ั

14

ผ้ทู ่มี คี วามสามารถพิเศษ ผดู้ ้อยโอกาส คนพิการ ตลอดจนผู้มปี ัญหาชวี ิตและสงั คมให้สามารถ
พฒั นาตนได้เตม็
ศักยภาพ
8. ร่วมจัดบริการตา่ ง ๆ เชน่
- แนะแนวกลุ่ม
- จดั บริการดา้ นสุขภาพ
- จดั หาทุนและอาหารกลางวัน
- จดั หางาน
- จดั ให้มีการฝึกงานและหารายได้ระหว่างเรียน
- จัดศนู ยก์ ารเรยี นรู้ใหผ้ ูเ้ รียนเพ่อื การวางแผนชีวิต
- จัดบริการชว่ ยผเู้ รียนทีม่ ีปญั หา หรอื ความต้องการพเิ ศษ
- ตดิ ตามผลผเู้ รยี นท้ังในปัจจุบนั และจบการศกึ ษาแล้ว ฯลฯ
9. นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และประชาสมั พันธ์
2. การประเมินผล
ในการประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมแนะแนว ครูผรู้ ับผดิ ชอบการจดั กิจกรรมแนะแนวและ
ผเู้ รยี น มีภาระตอ้ งรบั ผิดชอบ ดงั นี้
1. ครผู ูจ้ ัดกจิ กรรมแนะแนว
1.1 ต้องจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผ้เู รยี น ใหเ้ กิดคุณลักษณะตามมาตรฐาน
การแนะแนว
1.2 ต้องรายงาน เวลา และพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม
1.3 ต้องศึกษา ติดตาม และพัฒนาผเู้ รียน ในกรณีทีผ่ ู้เรยี นไม่เข้ารว่ มกจิ กรรม
2. ผู้เรยี น
2.1 ตอ้ งเข้ารว่ มกิจกรรมแนะแนวตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรไมน่ ้อยกวา่ 34 ชั่วโมง/ปี โดยมี
หลักฐานแสดงการเข้ารว่ มกิจกรรม
2.2 ต้องปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเพ่มิ เติมตามที่ครูผรู้ บั ผิดชอบการจัดกิจกรรมมอบหมาย ถา้ ไม่เกดิ
คุณลักษณะตามมาตรฐานการแนะแนว
3. วิธีกำรประเมนิ
ครูผู้จดั กิจกรรมแนะแนว สามารถเลือกใชว้ ธิ ีการประเมินผลตามความเหมาะสมดงั ตอ่ ไปน้ี
1. แฟ้มผลงาน
2. การประเมินสภาพจริง
3. การประเมนิ ตนเอง
4. การประเมินโดยกลุ่ม/เพ่ือน
5. การสังเกต

15

6. การสัมภาษณ์
7. การเขยี นรายงาน

การดาเนนิ งานแนะแนวท่ีดี ควรจะต้องดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐานการ แนะแนวทุก
มาตรฐาน ทั้งในดา้ นปัจจัย กระบวนการ และผลผลิต ซ่งึ สามารถศึกษาเพมิ่ เตมิ ไดจ้ ากเอกสาร
มาตรฐานการแนะแนวและคู่มือการบริหารการแนะแนว
มาตรฐานกจิ กรรมแนะแนว

มาตรฐานที่ 1 รู้จัก เขา้ ใจ และเห็นคณุ ค่าในตนเองและผู้อ่ืน
มาตรฐานที่ 2 มคี วามสามารถแสวงหา และใช้ข้อมลู สารสนเทศ
มาตรฐานที่ 3 มีความสามารถในการตดั สินใจและแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสม
มาตรฐานท่ี 4 มคี วามสามารถในการปรบั ตวั และการดารงชีวติ อย่างมีความสุข
มาตรฐานที่ 1 รจู้ ัก เข้าใจ และเหน็ คุณคา่ ในตนเองและผ้อู ื่น หมายถึง มคี วามสามารถ ในการรจู้ ัก
และเข้าใจตนเอง ท้งั ในดา้ นความถนัด ความสนใจ ความสามารถ จดุ เดน่ จดุ ด้อย นิสัย อารมณ์
ความภูมใิ จและเหน็ คุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน
มาตรฐานที่ 2 มคี วามสามารถในการแสวงหาและใชข้ ้อมูลสารสนเทศ หมายถงึ มีทักษะและวธิ ีการ
ในการแสวงหาข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ รวบรวม และจัดระเบียบขอ้ มลู สามารถจดั ระบบกลนั่ กรอง
เลือกใชข้ ้อมูลอยา่ งฉลาด เหมาะสม และเห็นคุณคา่ ในการใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ
มาตรฐานที่ 3 มคี วามสามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม หมายถงึ สามารถ
กาหนดเปา้ หมาย วางแผน วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมนิ ผล ตลอดจนปรับปรุงแผนการ
ดาเนินงาน โดยใช้ขอ้ มูล คุณธรรม และจริยธรรมเป็นพน้ื ฐานในการตดั สนิ ใจ
มาตรฐานท่ี 4 มคี วามสามารถในการปรบั ตวั และการดารงชวี ิตอย่างมคี วามสุข หมายถงึ การเขา้ ใจ
ยอมรบั ตนเองและผอู้ ื่น มวี ฒุ ิภาวะทางอารมณ์ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ สามารถ
ทางานรว่ มกบั ผู้อืน่ และดารงชวี ิตอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสขุ
ตวั อยา่ งตัวช้วี ัดความสาเร็จในการดาเนนิ งานแนะแนว
• ดา้ นผลผลติ
1. ผเู้ รยี นรกั และเหน็ คุณค่าในตนเองและผูอ้ ่ืน
2. ผเู้ รียนรคู้ วามถนัด ความสามารถ ความสนใจ และจดุ เด่น จุดดอ้ ย ของตนเอง
3. ผู้เรียนมีความเขา้ ใจเก่ยี วกับแนวทางการศกึ ษาและการประกอบอาชีพ ตลอดจนสภาพ
สงั คมและสิง่ แวดล้อมทมี่ ผี ลต่อการดาเนนิ ชีวิต
4. ผู้เรียนรูจ้ กั พัฒนาศักยภาพ และการใชศ้ ักยภาพของตนให้เป็นประโยชน์ตอ่ ตน ครอบครวั
สังคม ประเทศชาติ ได้ตามสภาพของแตล่ ะบุคคล
5. ผเู้ รยี นมีเปา้ หมายชีวิต รจู้ กั วางแผนชวี ติ การเรยี น การงาน ทเี่ หมาะสมกับความถนัด
ความสนใจ และสภาพการเปล่ยี นแปลงทางสังคม และเทคโนโลยี
6. ผ้เู รียนมที ักษะในการดาเนินชีวิต ทักษะการสร้างสมั พนั ธภาพ ทกั ษะในการเรียนและ

16

ทักษะในการทางาน ทมี่ ีประสทิ ธิภาพตามวฒุ ิภาวะ ความถนดั ความสนใจ
7. ผู้เรยี นรู้จกั เลอื กตัดสินใจและแก้ปัญหา รวมท้งั สามารถปรับตวั ตอ่ สถานการณต์ า่ ง ๆ ที่
เกดิ ขนึ้ ในชวี ติ อย่างเหมาะสม
8. ผู้เรยี นมีวฒุ ิภาวะทางอารมณ์ มคี ุณธรรม จริยธรรม และบคุ ลกิ ภาพที่ดี
9. ผู้เรยี นรูจ้ กั หลีกเล่ียงอบายมขุ เช่น สารเสพตดิ การพนัน สง่ิ ที่เป็นอันตราย ต่อชีวติ ได้ทกุ
ชว่ งชวี ิต
10. ผู้เรยี นทุกคนไดร้ ับการดูแลเอาใจใสอ่ ย่างใกลช้ ดิ จากครู
• ด้านกระบวนการ
1. มกี ารทางานร่วมกนั เปน็ ทีมระหวา่ งบคุ คลภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
2. มีการศึกษา สารวจ ขอ้ มูล เกี่ยวกบั ตัวผู้เรียน และจดั ทาข้อมลู อย่างเป็นระบบ ทนั สมัยอยู่
เสมอ
3. มีการจัดโปรแกรมชุดกิจกรรมพฒั นาตนตา่ ง ๆ เช่น ชุดกิจกรรมการรักและเหน็ คุณค่าใน
ตน ชุดกิจกรรมเสรมิ สร้างประสทิ ธิภาพทางการเรียน ชดุ กิจกรรมพัฒนาบุคลิกภาพ และชดุ
กจิ กรรมการสร้างเสรมิ วุฒภิ าวะทางอารมณ์ศีลธรรม จรยิ ธรรม
4. มกี ารจดั บริการขา่ วสาร ข้อมลู สารสนเทศ ท่ีทนั สมยั และเป็นประโยชนต์ ่อผเู้ รยี นด้วย
วิธกี ารท่หี ลากหลาย
5. ให้ผู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในการวางแผนการเรยี น และเสนอแนะวิธีการจัดกจิ กรรมทจ่ี ะช่วยให้
เรยี นรู้อย่างสนุกสนาน แปลกใหม่ และนา่ สนใจ
6. จดั ใหม้ ศี ูนย์การเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศกึ ษา เชน่ ห้องสมดุ ศนู ยว์ ิชาการ ศูนย์สขุ ภาพ
พิพธิ ภัณฑ์พ้ืนบา้ น ที่อา่ นหนงั สือประจาหมูบ่ ้าน แหล่งฝกึ งานอาชีพ สหกรณ์
7. มกี ารประสานสมั พนั ธ์กบั ผู้ปกครองอยา่ งสม่าเสมอ ต่อเน่ือง และหลากหลายรูปแบบ
8. มีการจดั โครงการ/งาน/กจิ กรรม เพื่อพัฒนาผ้เู รียน อยา่ งหลากหลายตามสภาพปัญหา
ความต้องการของผเู้ รียน
1. มีการจัดโครงการ/งาน/กิจกรรม เพ่ือให้ผเู้ รียนได้คน้ พบศักยภาพของตนตามความถนัด
ความสามารถและความสนใจ
2. มกี ารจัดกิจกรรมการเสรมิ หลักสตู ร เพ่อื ชว่ ยให้ผู้เรียนได้แสดงออกอย่างเหมาะสมและเกดิ
ความภาคภมู ใิ จในตนเอง
3. มีการจดั กจิ กรรมท้ังในและนอกเวลาเรยี น ใหค้ รแู ละผ้เู รียน ได้พบปะใกลช้ ิด เพื่อสร้าง
ความคุ้นเคย เช่น กจิ กรรมรับศษิ ย์ใหม่ วันไหวค้ รูวนั เด็ก วนั ข้ึนปใี หม่
• ดา้ นปจั จัย
1. ผู้บรหิ ารมีภาวะผนู้ าและเห็นความสาคญั ของการแนะแนว
2. ครูทกุ คนตระหนกั เห็นความสาคญั ของการแนะแนว และมคี วามรู้ ความเข้าใจพ้นื ฐานดา้ น
จิตวทิ ยาการแนะแนว

17

3. ครูทกุ คนมีบทบาทในการดาเนนิ งานแนะแนว
4. มคี ณะทางานทีร่ บั ผิดชอบการดาเนนิ งานแนะแนวโดยตรง
5. มแี ผนการดาเนนิ งานแนะแนวที่ชดเจนและเปน็ รูปธรรม
6. มโี ครงการ/งาน/กจิ กรรม ท่ีสนองความต้องการของผเู้ รียนทกุ กลุม่ เป้าหมายและชุมชน
7. มีแนวปฏบิ ตั ิในการดาเนินงานแนะแนวและมกี ารปฏบิ ตั ิอยา่ งจรงิ จงั
8. มีเคร่อื งมอื การรู้จักและเข้าใจผู้เรยี นที่หลากหลาย ทนั สมัย และมีการนาไปใช้
9. มศี นู ย์ปฏิบตั ิการแนะแนวของสถานศกึ ษา
10. มเี ครือข่ายการพฒั นาดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นท้ังในและนอกสถานศกึ ษา
2. ปัญหำและอปุ สรรค
นกั เรยี นบางคนโดยเฉพาะนักเรยี นระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษา ปที ี่ 6
บางคนยงั ไมร่ ูเ้ ปา้ หมายชีวติ ชีวิตของตนเองว่าจะศกึ ษาในด้านใด สาขาใด แผนการเรียนใด เพราะ
นักเรียนยังไมไ่ ดว้ างแผนชวี ิต วางแผนการเรยี น และไมร่ ้วู า่ ตนเองนั้นมีความถนัด ความสนใจ ดา้ น
ใดบา้ ง นอกจากนี้ยงั พบปญั หาด้านฐานะทางครอบครัวจงึ ทาให้นักเรยี นไมไ่ ด้ศกึ ษาต่อหลงั จบการศึกษา
เพราะขาดทนุ ทรพั ย์ในการศึกษาตอ่ และต้องช่วยครอบครัวหางานทา

18

ด้ำนท่ี 3 : งำนกจิ กำรนกั เรียน

1. สภำพกำรดำเนินงำนกจิ กำรนกั เรียน
1.1 สนับสนุนการดาเนินงานของฝ่ายบรหิ ารงานกิจการนักเรียนรวมท้ังให้ข้อเสนอแนะแก่โรงเรียนในการดูแล
นักเรยี น
1.2 ร่วมพิจารณาวางแผนงานกจิ การนักเรียนของโรงเรยี น กาหนดนโยบายเสนอของบประมาณ
แนวปฏบิ ัตกิ ารและกาหนดปฏทิ นิ การปฏบิ ัติงานของฝ่ายบรหิ ารงานกิจการนกั เรียน
1.3 ให้คาปรกึ ษาในด้าน "งานควบคมุ ความประพฤตแิ ละป้องกันการกระทาผดิ ระเบียบวินยั " เสนอ
มาตรการการควบคมุ ปอ้ งกนั การประพฤติผิดนาเสนอหาแนวทางแกไ้ ขสาเหตุความประพฤติของนักเรยี น
1.4 พจิ ารณาแนวทางสง่ เสริมพฒั นานักเรยี นให้มีวินัยคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยม เช่นการจัด
กิจกรรมส่งเสรมิ พฒั นาความประพฤติ และระเบียบวนิ ยั ของนักเรียนในดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสะอาด
การแตง่ กาย การเข้าแถว การแสดงความเคารพ การปฏบิ ตั ิตามระเบียบขอ้ บงั คบั และแนวปฏบิ ัตขิ อง
โรงเรยี น
1.5 จัดกจิ กรรมสง่ เสริมและพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยม ในดา้ นการประหยดั อดออม
การเสียสละ ความอดทน อดกล้ัน ความขยนั ความมีมตตากรณุ า และความสามัคคี เป็นตน้
1.6 พจิ ารณาแนวทางแก้ไขพฤตกิ รรม และการปฏิบัติตามระเบยี บวนิ ยั ที่ไมเ่ หมาะสมตามระเบยี บ
ว่าด้วยความประพฤติที่โรงเรยี นนครไทยกาหนด
1.7 ให้คาปรกึ ษาในด้านงานหวั หนา้ ระดับชน้ั และงานประจาชั้น งานครูเวรประจาวนั งานสวสั ดภิ าพ
และรักษาความปลอดภยั งานระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน และงานอน่ื ๆทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ฝ่ายโดยให้
ขอ้ เสนอแนะเม่ือมีปัญหาในการดาเนนิ งาน
1.8 ประสานงานกับฝ่ายตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวข้องกบั งานกิจการนักเรยี น รวมท้ังนาเสนอข้อคดิ เห็นอ่นื ๆ
ทีเ่ ก่ยี วข้องกับการประเมินผลงาน/โครงการและการประเมินครู บุคลากรทีด่ าเนนิ งานดา้ นการ
ปกครองนักเรยี น
1.9 ปฏิบตั ิงานอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องและ/หรอื ที่ได้รบั มอบ
2. ปญั หำอปุ สรรค

บางกิจกรรมฝา่ ยกิจการนักเรียนไมไ่ ดม้ กี ารแจ้งล่วงหนา้ แกค่ รปู ระจาช้ัน ทาใหก้ ารประสานงาน
หรอื การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา่ ง ๆ สง่ ผลใหเ้ กดิ ความผดิ พลาด เกิดความไมเ่ ข้าใจระหวา่ งครูประจาชั้นและ
นักเรียนผู้ปกครองบางท่านไม่ทราบข้อมูลกิจกรรมล่วงหน้า จึงไม่ได้เตรียมความพร้อมในการเข้าร่วมกิจกรรม
ดังกล่าว ซ่ึงหากเป็นกิจจกรมที่จะต้องมีการเดินทางออกนอกสถานศึกษาแล้วน้ันก็จะมีปัญหาในเร่ืองของการ
รับส่งนักเรียนเข้ามาด้วย วิธีการแก้ปัญหาจึงเป็นการร่วมมือกันระหว่างครูประจาช้ัน นักเรียน และผู้ปกครอง
เพอื่ แกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ ใหผ้ ่านพ้นไป ไดด้ ว้ ยดี

19

ดำ้ นที่ 4 : งำนควำมสมั พนั ธ์กับชุมชน

1. สภำพกำรดำเนินงำนควำมสมั พันธ์กับชุมชน
การดาเนินงานในการสร้างความสัมพนั ธ์กบั ชมุ ชน จะดาเนนิ งานไดห้ ลากหลายดงั น้ี

1.การสอนให้ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในครอบครัวและชุมชน เช่น ประชาสัมพันธ์การรักษาระยะห่างตาม
มาตรการการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 การละเว้นจากยาเสพติด การลดละเลิกอบายมุข กา ร
ลดละเลกิ ใช้ยาสารเคมี การใช้เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า การปลูกผกั ปลอดสารพิษ ฯลฯ
2.สถานศึกษาขอความรว่ มมือจากชมุ ชน ซึง่ จะขอความรว่ มมอื จากชุมชนในดา้ นต่างๆได้ คอื

2.1 ขอความร่วมมือในด้านการเป็นวิทยากรหรือเป็นแหลง่ ศึกษาหาความรู้ เช่น ในชุมชนมีภูมิปัญญา
ท้องถ่ิน เช่น ศิลปินพ้ืนบ้าน ช่างทอผ้า ช่างจักสาน ช่างแกะสลัก ช่างป้ัน และช่างตัดผม เป็นต้น ซ่ึงเป็นแหล่ง
ศึกษาหาความรู้อย่างดียิ่ง จะดาเนินการได้โดยเชิญมาเป็นวิทยากร หรือให้ผู้เรียนไปศึกษาไปฝึกงานกับภูมิ
ปัญญาทอ้ งถนิ่ เหล่าน้ี

2.2 ขอความร่วมมือในด้านทุนทรัพย์ วัสดุครุภัณฑ์จากชุมชน เช่น ขอบริจาคเงินจากธนาคาร บริษัท
ห้างร้าน ในชมุ ชนเพ่อื นามาใชจ้ ่ายในสถานศกึ ษา หรอื เป็นเงินทนุ สาหรบั ผเู้ รยี นทย่ี ากจน
3.การออกเยย่ี มเยียนผูป้ กครอง และผู้เรยี นตามบ้าน เชน่ เม่อื ผเู้ รยี นเจ็บปว่ ย หรอื ผ้สู อน
ไปแนะนาผู้เรียนทาแปลงเกษตรท่ีบ้าน รวมทั้งการเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน เช่น ร่วมงานการทอดกฐินที่วัด
รว่ มงานมงคลในชุมชน เป็นตน้
4.การประชาสมั พนั ธ์สถานศึกษา เชน่ จดั ให้มสี ิ่งพมิ พเ์ พอื่ เผยแพรข่ า่ วสารของสถาน
ศึกษา อาจทาในรูปของจดหมายข่าว วารสาร จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีประชาสัมพันธ์เพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อ
สอบถามหรือให้ความสะดวกแกผ่ มู้ าติดต่อสถานศึกษา
5.การเชิญผู้ปกครองและประชาชนในชุมชนมาประชุมโดยรักษาระยะห่างตามมาตรการการแพร่ระบาดของ
เชอ้ื ไวรสั โคโรน่า 2019 เชน่ ในวันปฐมนเิ ทศนกั เรยี นใหม่
วนั เปิดเรียนในภาคเรียนแรกของปกี ารศึกษา เป็นตน้
6.การรายงานผลการเรยี นและอ่นื ๆให้ผู้ปกครองทราบ เชน่ การรายงานเป็นประจาวัน
หรอื การทาสมุดพกประจาตวั นักเรยี น ซ่ึงจะมีท้ังผลการเรียน ความประพฤติ สุขภาพ และอื่นๆ
7.การใชท้ รัพยากรทอ้ งถนิ่ ในงานวชิ าการ แบ่งออกได้เป็น 4 ข้อยอ่ ย ดงั น้ี

7.1 ทรพั ยากรบคุ คล ได้แก่ นกั วชิ าการ ครอู าจารย์จากสถานศกึ ษาอืน่ ศิลปินพ้ืนบา้ น ผูอ้ าวุโสผเู้ ปน็ ปู
ชนียบุคคลในหมู่บ้าน ผู้ปกครองนักเรียน ซ่ึงนามาใช้ในลักษณะขอคาปรึกษาและข้อเสนอแนะ หรือเชิญเป็น
วทิ ยากรใหค้ วามรแู้ ก่ผู้เรยี น เปน็ ตน้

7.2 ทรัพยากรวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ โสตทัศนูปกรณ์ สถานศึกษาอ่ืน นามาใช้ในลักษณะของ
การสนับสนุนวัสดอุ ุปกรณก์ ารศกึ ษา การร่วมมอื ทางวชิ าการ เปน็ ต้น

7.3 ทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ ป่าไม้ ภเู ขา ทะเล ปะการงั หิน แรธ่ าตุ สัตวป์ า่ สมุนไพร ซึ่งจะ
นามาใช้ในลกั ษณะเป็นสื่อการเรยี นการสอน การไปทัศนศกึ ษา การช่วยกนั อนุรกั ษ์ไว้ เป็นตน้

20

7.4 ทรัพยากรสังคม ได้แก่ วันสาคัญ ศิลปะพื้นบ้าน วัฒนธรรมพ้ืนบ้าน โบราณวัตถุสถาน ประเพณี
ปักธงชัย ซ่ึงจะนามาใช้ได้ในลักษณะให้ครูอาจารย์ นิสิต นักศึกษา นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมโดยตรง, จัด
นทิ รรศการ, การศกึ ษาหาข้อมลู เพ่อื จะได้ชว่ ยกนั อนุรักษ์ไว้ เป็นตน้

2.ปญั หำอุปสรรค
ในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิค 2019 จึงจาเป็นต้องรักษาระยะห่างตาม

มาตรการการแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา่ 2019 ข้อมลู ขา่ วสารจะเป็นในรปู แบบออนไลน์
เชน่ เย่ยี มบา้ นออนไลน์ ความสัมพนั ธ์ใกล้ชดิ ตา่ งจากเดิมทไ่ี ปเย่ยี มบา้ นนักเรียนถงึ บ้านตามสภาพจรงิ
และในรูปแบบการเรียนการสอน นักเรียนเรียนอยู่ท่ีบา้ น ปฏิสัมพันธ์ การโต้ตอบ ซักถาม มีโอกาสน้อยลงและ
เปน็ การเพ่มิ ภาระใหผ้ ู้ปกครองคอยติดตาม ควบคมุ ดแู ลนักเรยี น

21

ดำ้ นท่ี 5 : งำนประกนั คุณภำพกำรศึกษำ
1. สภำพกำรดำเนนิ งำนประกันคุณภำพกำรศึกษำ

การวางระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน
ในข้ันตอน การประเมินเพ่ือตรวจสอบและทบทวนคุณภาพ (การประเมินตนเองของ
สถานศึกษา) เนื่องด้วยกฎกระทรวงศึกษาธิการท่ีว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2546 ที่กาหนดให้สถานศึกษาจัดให้มี
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เพื่อสร้างความม่ันใจแก่ผู้ท่ีเก่ียวข้อง ว่าผู้เรียน
ทุกคนจะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพจากสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาความรู้ความสามารถและ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาที่กาหนดในหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างเต็ม
ศักยภาพ และให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของการบริหาร
การศกึ ษาซง่ึ เป็นกระบวนการพฒั นาคณุ ภาพ
การศึกษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง ประกอบด้วย 8 ขน้ั ตอนดังนี้
1. การจดั ระบบบริหารและสารสนเทศ
2. การพฒั นามาตรฐานการศึกษา
3. การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
4. การดาเนินงานตามแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
5. การตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพการศึกษา
6. การประเมินคุณภาพการศึกษา
7. การรายงานคณุ ภาพการศึกษาประจาปี
8. การผดุงระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา
ข้นั ตอนท่ี 1 กำรจดั ระบบบรหิ ำรและสำรสนเทศโรงเรยี นดำเนินงำนดงั ตอ่ ไปนี้
1. จดั โครงสร้างการบริหาร โรงเรยี นจะตอ้ งมโี ครงสรา้ งการบรหิ ารที่ชดั เจน ตามความ
เหมาะสมของแต่ละโรงเรียน โดยแบ่งเป็น 4 งาน (งานงบประมาณ งานวิชาการ งานบุคลากร
และงานบริหารทัว่ ไป)
2. แต่งต้งั คณะกรรมการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
3. จัดระบบสารสนเทศ ที่มขี อ้ มูลอยา่ งเพียงพอตอ่ การดาเนนิ งาน ข้อมูลต่าง ๆ จะได้จากการ
ปฏิบตั งิ านตั้งแตข่ น้ั ตอนที่ 5 การตรวจสอบและทวนคณุ ภาพการศึกษา ขนั้ ตอนท่ี 6 การประเมิน
คณุ ภาพการศกึ ษา ขน้ั ตอนท่ี 7 การรายงานคณุ ภาพการศึกษาประจาปีในปีการศึกษา ทผ่ี ่าน
ขนั้ ตอนท่ี 2 กำรพัฒนำมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
โรงเรยี นควรกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาระดบั สถานศกึ ษาในหลักสูตรของสถานศึกษา ซึง่
เป็นข้อกาหนดเกย่ี วกับคุณลักษณะ คณุ ภาพ ท่พี งึ ประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการใหเ้ กิดข้ึนในโรงเรียน
เพอ่ื ใชเ้ ป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการส่งเสริมและกากับดูแล การตรวจสอบ การประเมนิ ผล และ
การประกันคณุ ภาพการศึกษา

22

ขัน้ ตอนที่ 3 กำรจัดทำแผนพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ
จดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาโดยคานงึ ถึงหลักและครอบคลมุ ในเร่ือง

ตอ่ ไปนี้
1. เป็นแผนท่ีใช้ข้อมลู จากการวเิ คราะห์สภาพ ปัญหาและความจาเป็นอย่างเป็นระบบและมี
แผนปฏิบัตกิ ารประจาปรี องรบั
2. กาหนดวิสัยทศั น์ ภารกจิ เป้าหมาย และสภาพความสาเร็จของการพฒั นาไว้อย่างตอ่ เน่ือง
ชดั เจนและเป็นรปู ธรรม
3. กาหนดวิธีดาเนนิ งานที่มีขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษท์ อ่ี า้ งอิงไดใ้ ห้ครอบคลุมการพฒั นาดา้ นการจดั
ประสบการณ์ การเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ การส่งเสริมการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล การ
พฒั นาบุคลากร และการบรหิ ารจัดการ เพอ่ื นาไปสเู่ ปา้ หมายทก่ี าหนดไว้
4. กาหนดแหลง่ วิทยาการภายนอกทใ่ี ห้การสนบั สนุนทางวชิ าการ
5. กาหนดบทบาทหน้าทใ่ี ห้บคุ ลากรของสถานศึกษาทุกคนรวมทัง้ ผู้เรียนรบั ผดิ ชอบและ
ดาเนนิ งานตามทก่ี าหนดไว้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
6. กาหนดบทบาทหน้าท่ีและแนวทางใหบ้ ิดามารดา ผู้ปกครองและบุคลากร ในชมุ ชนเขา้ มา
มีสว่ นร่วมในการดาเนนิ งาน
7. กาหนดการใชง้ บประมาณและทรัพยากรอย่างมคี ณุ ภาพ

ขั้นตอนท่ี 4 กำรดำเนนิ งำนตำมแผนพัฒนำคณุ ภำพกำรศกึ ษำ
โรงเรยี นสารวจโครงการในแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี กิจกรรมทโี่ รงเรยี นปฏิบตั ิ แตไ่ มไ่ ด้ระบุไว้

ในแผนปฏิบัติการประจาปี และกิจกรรมที่ครูในโรงเรียนได้ปฏิบัติเพื่อพัฒนา คุณภาพนักเรียนที่
รับผิดชอบ และตรวจสอบว่าโครงการ กิจกรรมท่ีปฏิบัติในปีการศึกษาที่ผ่านมา ใครเป็นผู้รับผิดชอบ
และได้ดาเนนิ การเสร็จสิน้ แล้วหรือไม่ ผู้บรหิ ารโรงเรียนติดตามการดาเนนิ งานทุกระยะ และพจิ ารณาว่า
สอดคล้องกับมาตรฐานใดและตัวบง่ ช้ีอะไรบ้าง (โครงการ หรือกิจกรรม 1 เรื่อง อาจสอดคล้องได้หลาย
มาตรฐานและหลายตวั บ่งชี)้
ขั้นตอนที่ 5 กำรตรวจสอบและทบทวนคณุ ภำพกำรศึกษำ

ในการตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาให้ใช้วธิ กี าร อยา่ ง
หลากหลายและเหมาะสม โดยให้ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อนาผลไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา
คุณภาพการศึกษาในข้ันตอนน้ี คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา แต่งตั้งให้ทาหน้าท่ีตรวจสอบ
ทบทวน และรายงานคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ขัน้ ตอนที่ 6 กำรประเมนิ คณุ ภำพกำรศกึ ษำ

โรงเรียนกาหนดเป้าหมายผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและคุณลักษณะท่ีสาคัญในระดับ ที่
โรงเรียนพอใจไว้ เพื่อสะดวกในการรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนถึงเป้าหมายที่โรงเรียนกาหนดไว้
หรือไมโ่ รงเรียนจัดทาคูม่ ือและปฏทิ ินการวัดผลของโรงเรยี นให้เปน็ ระบบ

23

ข้ันตอนท่ี 7 กำรรำยงำนคณุ ภำพกำรศึกษำประจำปี
จดั ทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี โดยระบคุ วามสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย ท่ีกาหนดใน

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา พร้อมหลักฐานข้อมูลและผลการประเมินผลสมั ฤทธิ์ตาม
เสนอตอ่ หน่วยงานต้นสังกัด หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้องและเปิดเผยตอ่ สาธารณชน
ขน้ั ตอนท่ี 8 กำรผดุงระบบกำรประกันคณุ ภำพกำรศึกษำ

นาข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากการปฏบิ ัตงิ านตามข้ันตอนท่ี 7 และข้อมูลอน่ื ๆ ของโรงเรียนไปเป็นขอ้ มูล
เพอ่ื ใชใ้ นการวางแผนจัดทาแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี ในรอบปีการศึกษาตอ่ ไป
2. ปญั หำอปุ สรรค
-

24

ใบงำนท่ี 2

โครงกำรกจิ กรรมพฒั นำผู้เรยี น

25

ใบงำนท่ี 2
โครงกำรกิจกรรมพัฒนำผู้เรียน

วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจลักษณะของกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนตามโครงสร้างหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 2551
2. เพ่อื ใหน้ ักศึกษาสามารถเขียนโครงการพัฒนาผเู้ รียนตามรปู แบบทก่ี าหนดได้
3. เพื่อใหน้ กั ศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานตามโครงการได้
4. เพ่ือให้นักศึกษาเขียนรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการเมื่อโครงการเสร็จสิ้นแล้ว
ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง

ขอบข่ำยของงำน
1. ศึกษาแผนปฏิบตั ิการของโรงเรยี นในส่วนกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
2. เขียนโครงการพัฒนาผู้เรียนอยา่ งนอ้ ย 1 โครงการ ตามรูปแบบท่ีกาหนด
หรอื อาจเป็นโครงการของโรงเรยี นทน่ี ักศึกษาต้องนามาปรับปรุงให้เข้าไปมสี ว่ นร่วมด้วย
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมตามทโ่ี ครงการระบุไว้
4. เขยี นรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ

ผูเ้ กยี่ วข้อง / แหล่งข้อมูล
1. ครพู ่ีเลี้ยง
2. อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบงานกิจกรรมนกั เรียน
3. แผนปฏบิ ตั กิ าร
4. รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR)

26

ชอ่ื โครงกำร เพื่อนใจวัยเรยี น ก้ำวผ่ำนวกิ ฤติ COVID -19

ผู้รบั ผดิ ชอบโครงกำร

นักศกึ ษำฝึกประสบกำรณ์วชิ ำชพี ครู มหำวิทยำลัยรำชภฏั พบิ ลู สงครำม

1. นายตนั ติกร บญุ ธรรม

นกั ศกึ ษำปฏิบัติกำรสอนในสถำนศึกษำ มหำวิทยำลัยรำชภัฏอุตรดิตถ์

1. นางสาวนริ มลสีนาค

2. นางสาวจิรัชญา จันทะมาศ

3. นางสาวสนุ ันทา คงทน

4. นางสาวณัฎฐนชิ ทองน้อย

5. นางสาวสมฤดีแกว้ กาคา

6. พลอยไพลนิ ทมิ วงศ์

7. นางสาวพัชรกมล แก้ววงหวิ

8. นางสาวณธั วรรณ ทองเพง็

9. นางสาวบุศรินทร์ ศรแี จง้

10. นายปริญญา พิมพิลา

11. นางสาววิลาสนิ ี คาภู

12. นางสาวกาญจนา อายุยนื

นิสิตฝึกประสบกำรณ์วชิ ำชีพครู มหำวทิ ยำลัยนเรศวร

1. นายอนาวิล รตั นกลุ

2. นางสาวนศิ ารตั น์ นอ้ ยทอง

ลกั ษณะโครงกำร โครงการพเิ ศษเพื่อฝกึ ประสบการณข์ องนิสิตนักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู

โครงกำรสังกัดกลุ่มงำน/ฝ่ำย บรหิ ารวิชาการ

หลกั กำรและเหตผุ ล
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้สง่ ผลกระทบตอ่

ประชากร โลกเป็นวงกว้าง โดยมีจานวนผปู้ ว่ ยตดิ เชื้อและผู้เสยี ชีวิตเพ่มิ ข้ึนเปน็ จานวนมากในระยะเวลา
อนั รวดเร็ว องค์การ อนามยั โลกจงึ ไดป้ ระกาศใหโ้ รคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 เปน็ โรคระบาดใหญ่
(Pandemic) ในวนั ท่ี 11 มีนาคม พุทธศักราช 2563 (WHO, 2563) อีกทงั้ การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัสโคโร
นายงั ทาให้พฤติกรรมมนุษย์ พฤติกรรมการบริโภคและการบรกิ ารเกดิ การเปลยี่ นแปลงที่สาคญั ในหลาย ๆ ดา้ น
สง่ ผลให้ในหลายภาคส่วนเกิดผล กระทบ เช่น เศรษฐกิจ สังคม การทอ่ งเทีย่ ว เทคโนโลยี และการศึกษา
นอกจากนย้ี ังสง่ ผลใหส้ ถานศึกษา ไมส่ ามารถจดั การเรียนการสอนไดต้ ามปกติ

สถานศึกษาเป็นสถานท่ีที่มีนักเรียนอยู่รวมกนั จานวนมาก จงึ มคี วามเสี่ยงสงู ท่อี าจจะมีการแพร่ระบาด
ของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ในกลมุ่ เด็กไปยังบคุ คลในบา้ น หากมีการระบาดในกลุม่ เด็กขึ้น
จะมีผลกระทบในสังคมหรือผู้ใกลช้ ดิ เชน่ ครู พ่อแม่ ผู้สงู อายทุ ่ตี ดิ เชอื้ จากเด็ก องค์การอนามัยโลก WHO,
UNICEF, & CIFRC ได้เสนอแนวทางในการปอ้ งกันและควบคุมโรคระบาดในโรงเรียน โดยให้ตระหนกั ถงึ การ
ปอ้ งกนั ทางดา้ นสภาวะแวดล้อมในโรงเรียน สขุ อนามัยของนักเรยี นและการผอ่ นปรน การลาปว่ ยใหก้ ับครู

27

นกั เรียนและบุคลากรทางการศึกษา เมื่อมอี าการปว่ ย (2563, น.4-6) นอกจากน้ัน การเว้นระยะหา่ งทางสังคม
เป็นอกี เรื่องหนึ่งท่ี สาคญั ที่ควรคานงึ ถึง โดยใหม้ ีการจดั ห้องเรยี นแบบสลับกันมาเรยี น ยกเลกิ กิจกรรมที่มีการ
รวมตวั กนั กีฬา เกม และการชมุ นุมกันเปน็ กลุ่มใหญ่และจัดโตะ๊ เรยี นให้ห่างกัน อกี ท้ังยงั สง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรยี น
จดั การเรยี นการสอนออนไลน์อีกดว้ ย นอกจากนี้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดต้ ระหนกั ถึงความสาคญั ในการดูแลนักเรียน ผู้ปกครอง ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
จึงได้จัดทาแนวทางการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียนสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
ในสถานการณก์ ารระบาดของ โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศกึ ษา 2563 เพื่อใหโ้ รงเรียน
ใชเ้ ป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนใน สงั กดั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (ศูนยเ์ ฉพาะกจิ การจัด
การศกึ ษาทางไกลในสถานการณ์โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน, 2563, น.2) ส่วนกาญจนา บญุ ภกั ด์ิ (2563, น.2) ไดเ้ สนอ แนวคดิ ท่สี อดคล้องกนั วา่
สถานศกึ ษาตา่ ง ๆ จาเปน็ ต้องปรบั เปล่ยี นวธิ ีการจัดการเรยี นรูอ้ ย่างเรง่ ดว่ นในการพฒั นาการเรยี นการสอนของ
ครูมาเปน็ แบบออนไลน์เพ่อื ลดการเผชญิ หนา้ กนั โดยให้มีการจดั การเรยี นรแู้ บบออนไลน์100% โดยงดเดนิ ทาง
มาเรยี น งดการรวมกลมุ่ กันเป็นจานวนมาก งดกจิ กรรมหลาย ๆ กิจกรรมท่จี ัดเพื่อพฒั นาผ้เู รียนมาเปน็ แบบ
ออนไลน์

การเรยี นการสอน ออนไลน์ในสถานการณ์โควดิ -19 ถือเปน็ เรื่องทใี่ หมผ่ ูเ้ รยี นต้องมกี ารปรับตัวจนอาจ
ทาให้เกิดความเครียดได้ความเครียดในการเรยี นออนไลน์อาจมมี ากหรือนอ้ ย อาจเนื่องมาจาก ปัจจยั ในด้าน
ตา่ งๆ (Moawad RA,2562, น.12) บุคคลเกิดความเครยี ดร่างกายจะเกิดความไม่สมดุลของระบบฮอรโ์ มนท่ีทา
หนา้ ที่ควบคุมการทางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย ทาให้ระบบการทางาน ของรา่ งกายบกพร่อง อาจทาให้
เกดิ อาการต้งั แต่ ปวดศรี ษะ ปวดหลัง ปวดท้อง อ่อนเพลีย หรือ เกดิ โรคทางกายท่ีมสี าเหตมุ าจากจติ ใจ เชน่
หนา้ มืด เป็นลม ความดันโลหติ สงู ขึน้ ผลกระทบตอ่ ด้าน จิตใจ ทาให้การรับรูเ้ ส่ือมลง ความสามารถใน การ
แก้ปัญหาลดลง ไม่สนใจส่ิงรอบตัว ความคิดสับสน ความจาลดลง สมาธลิ ดลง ตดั สินไมไ่ ด้ แสดงอารมณไ์ ม่
เหมาะสม โกรธ และหงุดหงิดงา่ ย กลวั นอนไม่หลบั สูญเสียความเชอ่ื มน่ั ในความสามารถทจี่ ะจดั การกับชีวิต
ของตนเอง (กีรติญา ไทยอู่,2557,น.2-13) หากความเครยี ดนน้ั เกดิ จากการเรยี นออนไลนย์ อ่ มส่งผล กระทบต่อ
ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นด้วยเช่นกนั

จากเหตุผลข้างตน้ สถานการณ์โควดิ -19 ยงั ไมส่ น้ิ สุด และอาจเกิดการระบาดรอบใหม่ได้อกี การเรียน
ออนไลนย์ งั คงต้องดาเนินต่อไป แตต่ ้องดาเนินไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ คณะผ้วู ิจัยจงึ สนใจทจี่ ะจัดทาโครงการ
เพอ่ื ลดปญั หาความเครยี ดให้กับเรียน โดยการให้คาปรึกษา ชแี้ นะแนวทาง แลกเปลี่ยนพูดคยุ เป็นท่ปี รกึ ษา
ใหก้ บั นักเรียนในเร่ืองต่าง ๆ ท้ังยงั มีการจัดสอนเสริม เติมเตม็ ความรใู้ นรายวิชาตา่ ง ๆ ให้กบั นักเรียน โดยจะมี
การปรบั ปรงุ รปู แบบการสอนใหม้ ีความนา่ สนใจ ไม่เหมือนกับการเรียนออนไลน์ทว่ั ไป เปรยี บเสมอื นพ่ีสอนน้อง
เพ่ือไมใ่ ห้บรรยากาศในการเรียนสอนมีความตึงเครียด

ดงั น้ัน นักศกึ ษาปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ รว่ มกบั มหาวิทยาลัย
ราชภัฏพิบูลสงคราม และมหาวิทยาลัยนเรศวร จงึ ไดจ้ ัดทาโครงการเพื่อนใจวัยเรียน กา้ วผ่านวิกฤติ COVID -
19 สาหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นนครไทย อาเภอนครไทย จงั หวัดพษิ ณโุ ลก

28

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนมีสภาวะความเครยี ดท่ีลดน้อยลง
2. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ได้มคี วามรูเ้ พิ่มเตมิ ในสาระวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์ และภาษาจีน
3. เพือ่ ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรียนนครไทย อาเภอนครไทย

จงั หวดั พิษณุโลก ท่ีมตี อ่ การเข้าร่วมโครงการเพ่ือนใจวยั เรยี น กา้ วผ่านวิกฤติ COVID -19
เปำ้ หมำย

เชิงปริมำณ
นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 จานวน 89 คน
เชิงคุณภำพ
นกั เรียนท่เี ขา้ ร่วมโครงการเพ่ือนใจวัยเรยี น กา้ วผา่ นวิกฤตโควิด- 19 มสี ภาวะความเครียดท่ลี ดลง
และไดร้ ับความรเู้ พม่ิ เตมิ ในรายวชิ าต่าง ๆ
วธิ ดี ำเนนิ กำร
ระยะเตรียมกำร

1. วางแผนจัดทาโครงการ
2. เสนอโครงการต่อโรงเรยี นนครไทย
3. ประชุมวางแผนเพื่อเตรยี มการจัดโครงการถา่ ยทอดความรู้
4. ดาเนินการจัดโครงการตามกาหนดการ
5. ประเมนิ ผล สรปุ และรายงาน
ระยะดำเนินกำร
วันเสารท์ ่ี 11 กนั ยายน 2564 ถงึ วนั เสาร์ ท่ี 9 ตลุ าคม 2564
ระยะเวลำดำเนินกำร
วันเสารท์ ี่ 18 กันยายน 2564 ถงึ วันเสาร์ ท่ี 9 ตลุ าคม 2564 สาหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4
โรงเรยี นนครไทย อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก จานวน 72 คน

กิจกรรม ปี พ.ศ. 2564
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ษ. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ประชมุ ช้แี จง
วางแผน
จดั ทาโครงการ
ดาเนินการ
จัดเตรียมโครงการ
ดาเนนิ การตาม
โครงการ
จดั ทารายงานสรปุ
โครงการ

29

งบประมำณ
-

สถำนท่ี
- เขา้ ร่วมการอบรมผา่ นทางแอปพลิเคช่นั Line Meeting

ผลทีค่ ำดวำ่ จะไดร้ บั
14.1 โรงเรยี นไดร้ ปู แบบวธิ ีการสอนไปปรบั ใช้ในการจดั การเรยี นรู้
14.2 ครไู ด้มกี ารตระหนักถึงสภาวะความเครยี ดและปัญหาจากการเรยี นออนไลนข์ องนกั เรียน
14.3 นกั เรยี นสามารถนาความรทู้ ่ไี ดร้ ับไปประยกุ ต์ใช้ในรายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
และภาษาจีน

กำรประเมนิ โครงกำร
1. การประเมนิ แบบประเมนิ ความเครยี ด st5
2. เปรียบเทยี บคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
3. การสอบถามความคิดเหน็ ดว้ ยแบบสอบถาม
13.1 ผลลัพธ์ (Effects)
นกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรยี นนครไทยโดยรวมมีสภาวะความเครียดลดน้อยลง และมีความรู้
เพมิ่ มากขึ้นในกลมุ่ สาระวิชา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาจนี
13.3 ผลกระทบ (Impacts)
นักเรยี นได้พฒั นาและทบทวนความรู้ในกลุ่มรายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
ภาษาจนี ส่งผลให้นกั เรียนเข้าใจบทเรียนนัน้ ๆ มากยิง่ ขึน้ และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในการสอบพฒั นา
ผลสมั ฤทธ์ทางการเรยี นในรายวชิ านัน้ ๆ ได้

ผใู้ ห้ความเห็นชอบ ผูน้ าเสนอโครงการ................................................
ว/ด/ป 14 กรกฎาคม 2564 .

ผู้อนมุ ตั โิ ครงการ

ลงช่อื .......................................................... ลงชอื่ ..................................................................
ตาแหน่ง รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบริหารงาน .
ตาแหนง่ ครูนิเทศก์
บุคคลและกจิ การนักเรียน .

30

2. กำรรำยงำนผลกำรดำเนนิ โครงกำร
2.1 กำรปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตำมโครงกำร

ภำพกิจกรรม โครงกำรเพื่อนใจวยั เรียน กำ้ วผ่ำนวิกฤติ COVID -19
สัปดำหท์ ี่ 1 วิชำภำษำไทย

ภำพที่ 1 นักเรียนเขา้ เรยี นผ่าน line Meeting

ภำพท่ี 2 ครพู ดู คยุ และทาขอ้ ตกลง เพื่อเตรยี มความพรอ้ มเขา้ ส่ชู ั้นเรยี น

31

ภำพท่ี 3 ครสู อบถามความรสู้ กึ ของนกั เรียนทมี่ ตี อ่ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์
ภำพที่ 4 ครูสอนเรื่อง ไตรยางศ์ (อกั ษรสามหมู่)

32

ภำพท่ี 5 ครสู อนเรื่อง ไตรยางศ์ (อักษรสามหมู่)
ภำพท่ี 6 ครสู อนเร่ือง คาเปน็ - คาตาย

33

ภำพที่ 7 ครูสอนเรื่อง การผนั วรรณยกุ ต์
ภำพที่ 8 นกั เรยี นสแกน QR Code ทาแบบทดสอบหลังเรยี น

34

ภำพกจิ กรรม โครงกำรเพอื่ นใจวัยเรยี น ก้ำวผ่ำนวิกฤติ COVID -19
สัปดำห์ที่ 2 วชิ ำภำษำจีน

ภำพที่ 9 นักเรียนเขา้ เรยี นผ่าน line Meeting
ภำพท่ี 10 นักเรียนสแกน QR Code ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน

35

ภำพท่ี 11 ครูสอนเร่ือง เทศกาลวันตรุษจนี
ภำพที่ 12 ครสู อนเรื่อง กิจกรรมทีท่ าในวนั ตรษุ จนี

36

ภำพท่ี 13 ครสู อนเร่ือง อาหารท่ใี ช้ไหว้เจ้าในเทศกาลตรุษจนี
ภำพที่ 14 ครูอธบิ ายความหมายของอาหารแต่ละชนดิ ทใ่ี ชไ้ หวเ้ จา้ ในเทศกาลตรุษจนี

37

ภำพที่ 15 ครูอธบิ ายความหมายของอาหารแต่ละชนดิ ทีใ่ ชไ้ หว้เจา้ ในเทศกาลตรษุ จนี
ภำพที่ 16 ครูอธบิ ายความหมายของอาหารแตล่ ะชนิดทีใ่ ชไ้ หว้เจา้ ในเทศกาลตรุษจนี

38

ภำพท่ี 17 ครไู ขข้อสงสยั วา่ ทาไมต้องสวมใสเ่ สอ้ื ผ้าสแี ดงในวนั ตรุษจนี
ภำพท่ี 18 ครูอธบิ ายทม่ี าของปศี าจเหนียน (Nian Beast)

39

ภำพที่ 19 ครสู อนเรื่อง เทศกาลวันไหวบ้ ๊ะจา่ ง
ภำพที่ 20 ครูเปดิ วดิ ีโอตานานวนั ไหวบ้ ะ๊ จ่าง

40

ภำพที่ 21 ครูอธิบายสว่ นประกอบของขนมบ๊ะจา่ ง
ภำพที่ 22 ครูทบทวนความรขู้ องนกั เรียนโดยการเลน่ เกม

41

ภำพท่ี 23 ครูทบทวนความรขู้ องนกั เรยี นโดยการเลน่ เกม
ภำพที่ 24 การจัดลาดับนกั เรยี นที่ได้คะแนนสงู สดุ

42

ภำพกจิ กรรม โครงกำรเพอื่ นใจวยั เรยี น ก้ำวผำ่ นวิกฤติ COVID -19
สปั ดำห์ที่ 3 วชิ ำวทิ ยำศำสตร์

ภำพท่ี 25 นกั เรยี นเขา้ เรยี นผา่ น line Meeting

ภำพท่ี 26 นกั เรยี นสแกน QR Code ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน

43

ภำพท่ี 27 ครสู อนเร่ือง ฮอรโ์ มนพชื และการแบง่ กลุม่ ของฮอรโ์ มนพืช
ภำพที่ 28 ครสู อนเรื่อง ฮอรโ์ มนพืช กลมุ่ ออกซนิ (auxin)

44

ภำพที่ 29 ครูสอนเร่ือง หน้าท่ีของออกซิน (auxin)
ภำพท่ี 30 ครูสอนเร่ือง ฮอรโ์ มนพืช กลมุ่ ไซโทไคนนิ (cytokinin)

45

ภำพท่ี 31 ครูสอนเร่ือง หน้าท่ีไซโทไคนนิ (cytokinin)
ภำพที่ 32 ครูสอนเร่ือง ฮอรโ์ มนพชื กลมุ่ จบิ เบอเรลลิน (gibberellin)

46

ภำพที่ 33 ครูไขข้อสงสัยใหก้ บั นกั เรยี นเกี่ยวกบั เร่อื ง ฮอรโ์ มนพชื
ภำพท่ี 34 นักเรียนสแกน QR Code ทาแบบทดสอบหลังเรยี น

47

ภำพกิจกรรม โครงกำรเพอ่ื นใจวัยเรียน กำ้ วผำ่ นวกิ ฤติ COVID -19
สปั ดำหท์ ี่ 4 วิชำคณิตศำสตร์

ภำพที่ 35 นกั เรียนเขา้ เรยี นผ่าน line Meeting

ภำพที่ 36 นักเรียนเขา้ เรียนผ่าน line Meeting


Click to View FlipBook Version