The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pd1t, 2019-09-16 04:17:52

แฟ้มสะสมผลงาน (Port Folio) โศรยา ปานด้วง

แฟ้ มสะสมผลงาน (Port Folio)










นางสาวโศรยา ปานด้วง




ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ



วิทยาลัยเทคนิคระยอง

1












แฟ้มสะสมผลงานครู (Portfolio)

และรายงานการประเมินตนเอง (SAR)


ปีการศึกษา…2562……………
























โดย

นางสาว.....โศรยา.........ปานด้วง.......

ต าแหน่ง....ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ....




วิทยาลัยเทคนิคระยอง


สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2


คํานํา

แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) และรายงานการประเมินตนเอง (SSR) ฉบับนี้ จัดท าขึ้นเพื่อรายงาน
ผลการปฏิบัติงานประจ าปีการศึกษาทั้งงานในหน้าที่ และงานพิเศษที่ได้รับมอบหมายจากวิทยาลัยเทคนิค

ระยอง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา

และแนวการประเมินเพื่อรักษามาตรฐานวิทยฐานะของคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
(ก.ค.ศ.) โดยผู้จัดท ารายงานได้รวบรวมข้อมูลและผลงานที่ได้ด าเนินการที่ผ่านมาและในระหว่างปีการศึกษา

ด้วยความรู้ ความสามารถและความตั้งใจในการปฏิบัติงาน
หวังว่ารายงานฉบับนี้ คงจะท าให้คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้แนวทาง

ในการประเมินคุณภาพของผู้จัดท ารายงาน และขอขอบคุณผู้บริหาร เพื่อนครู และนักเรียน นักศึกษา
วิทยาลัยเทคนิคระยอง ทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดท ารายงานฉบับนี้




นางสาวโศรยา ปานด้วง


ต าแหน่ง ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ

1



ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1.1 ประวัติส่วนตัว

ชื่อ – สกุล…นางสาวโศรยา……ปานด้วง……เลขประจ าตัวประชาชน…..1401700121337………….

สัญชาติ……ไทย………………เชื้อชาติ……ไทย……………ศาสนา………พุทธ…………………………………………………
เกิดเมื่อวันที่……8…….เดือน….…..กุมภาพันธ์…………. พ.ศ. ……2533……..…อายุ …………….29………..…….ปี

ภูมิล าเนาอยู่บ้านเลขที่…102….หมู่ที่………2……ต าบล…สวนหม่อน…….อ าเภอ……มัญจาคีรี.………..………….
จังหวัด………ขอนแก่น……………………รหัสไปรษณีย์……40160…….โทรศัพท์…090-1914763……..……………

ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่…6/17..หมู่ที่……-…… ต าบล…เชิงเนิน……………อ าเภอ…………เมือง……….…..…………….

จังหวัด………ระยอง……………………รหัสไปรษณีย์……21000……………โทรศัพท์……090-1914763…………….
e-mail : …[email protected]…….…………………………………………………………………….…….…….…………..

ชื่อบิดา……นายกิตติศักดิ์……ปานด้วง………………ชื่อมารดา……นางจันดา……จันทร์วิเศษ….……..………………


มีความสามารถพิเศษดังนี้

1) ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Word, Excel, Power point, Autocad, Solidworks

2) ถ่ายและตัดต่อ วีดีโอ, ถ่ายภาพนิ่ง
3) กีฬาแบดมินตัน


1.2 ประวัติการศึกษา


ลําดับ ระดับการศึกษา/วุฒิ ปี พ.ศ. ที่จบ วิชาเอก/หลักสูตร สถานศึกษา

1 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2554 ออกแบบการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ชั้นสูง ราชมงคลอีสาน

วิทยาเขตขอนแก่น

2 ปริญญาตรี 2558 อุตสาหการ-เชื่อมประกอบ/ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ครุศาสตร์อุสาหกรรม ราชมงคลอีสาน

วิทยาเขตขอนแก่น









เอกสารอ้างอิง : แฟ้มประวัติ (ส าเนาเกียรติบัตร วุฒิบัตร ภาพถ่าย)

2


1.3 ประวัติการทํางาน


พ.ศ. ตําแหน่ง สถานที่/สังกัด

2559-ปัจจุบัน ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะและ วิทยาลัยเทคนิคระยอง
เทคนิคโลหะ

3


1.4 ประวัติการหยุดราชการ

4


ส่วนที่ 2 ด้านการครองตน


2.1 คุณธรรม จริยธรรม

1) การบริหารเวลาการตรงต่อเวลา

มีการวางแผนการใช้เวลาปฏิบัติงานตามหน้าที่และการด ารงชีวิตประจ าวันก่อนล่วงหน้า การมาปฏิบัติ

ราชการได้ยึดถือระเบียบปฏิบัติโดยเคร่งครัด โดยเฉพาะการมาโรงเรียนจะไม่เคยมาสายและ เข้าประชุมก่อน

เวลาเสมอ ในการนัดหมายทุกเรื่องกับทุกคนจะค านึงถึงความตรงต่อเวลาเป็นส าคัญ
2) ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานตามหน้าที่หรืองานที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบและปฏิบัติงานอย่างเตฏม

ความสามารถ แม้งานที่ผู้บังคับบัญชาไม่ได้สั่งเป็นลายลักษณ์อักษรบางครั้งแม้งานที่ได้รับมอบหมายจะมี
อุปสรรคเพียงใด กฏตามจะมุ่งมั่นทุ่มเทปฏิบัติอย่างเตฏมความสามารถจนกระทั่งงานส าเรฏจตามเป้าหมาย โดย


เฉพาะงานการให้บริการกับคนทุกระดับทั้งในและนอกเวลาราชการจะท าด้วยความเตฏมใจและยินดีเสมอ
3) การประพฤติปฏิบัติตนตามระเบียบวินัยและกฎหมาย

องตนจะยึดหลักความถูกต้องเป็นธรรม ปฏิบัติตามระเบียบวินัยของทางราชการ ประพฤติ การคร

ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่คนในครอบครัวและบุคคลทั่วไป เสียสละเพื่อส่วนรวม ปฏิบัติตามระเบียบ

ข้อบังคับของกฎหมายอย่างเคร่งครัด มีความซื่อสัตย์ สุจริตเป็นที่ตั้ง


2.2 จรรยาบรรณและเจตคติต่อวิชาชีพ
1) มีรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมก าลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์

โดยเสมอหน้า

2) อบรมสั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะ และนิสัยที่ครูต้องดีงามให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเตฏม
ความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน

3) ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ ทั้งกาย วาจา และจิตใจ
4) ครูต้องไม่กระท าตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม

ของศิษย์

5) ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้
ศิษย์กระท าการใด ๆ อันเป็นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ

6) ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการพัฒนาทาง
วิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ

7) ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู

8) ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครู และชุมชนในทางสร้างสรรค์
9) ครูพึงประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นผู้น า และพัฒนาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

5


2.3 บุคลิกภาพและการวางตัวอย่างเหมาะสม

1) การเคารพสิทธิผู้อื่น
ได้ให้เกียรติกับครูทุกคน เพื่อนร่วมงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง ไม่ก้าวก่ายสิทธิผู้อื่น พยายามกระตุ้น

ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออกและความคิดเหฏนอย่างทั่วถึงแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน ส่งเสริมให้ทุก

คนรับฟังความคิดเหฏนของผู้อื่นด้วยเหตุและผล
2) การสนับสนุนเพื่อนร่วมงานและส่งเสริมผู้อื่นได้แสดงออก

ให้ความส าคัญในการท างานเป็นทีม โดยเน้นการท างานเป็นเอกภาพและเคารพการตัดสินใจมติที่
ประชุม พยายามส่งเสริมนักเรียนทุกคนได้แสดงออก และข้อคิดเหฏนร่วมกัน ค านึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม

เป็นส าคัญตลอดมา
3) การให้ความส าคัญกับเพื่อนร่วมงาน

เพื่อนร่วมงานทุกคนถือเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีค่าต่อหน่วยงานเท่าเทียมกันทุกต าแหน่ง หน่วยงานจะ

ก้าวหน้าทุกคนให้ความร่วมมือกัน พึ่งพาอาศัยและช่วยเหล ือเกื้อกูลกัน จึงให้ความส าคัญกับเพื่อนร่วมงานทุก
คนอย่างดีต่อกันตลอดมา

4) การใช้จ่ายอย่างเหมาะสม

การด ารงชีวิตประจ าวันจะค านึงถึงรายได้แต่ละเดือนเป็นส าคัญ ดังนั้นการใช้จ่ายแต่ละเดือนจะเน้น
ความจ าเป็นที่สอดคล้องกับรายได้ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง หากสิ่งใดไม่จำเป็นหรือจ าเป็นแต่มีราคาสูง

จะหยุดไว้ก่อน เมื่อมีความพร้อมจึงจะน ามาพิจารณาอย่างรอบคอบ จะพยายามไม่กู้หนี้ยืมสินกับบุคคลหรือ

หน่วยงานใดๆ
5) การประพฤติตนอย่างเหมาะสม

ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีงามและถูกต้องมาตลอด โดยละเว้นการกระท าผิดกฎหมาย เช่น
ยาเสพติด การพนัน เที่ยวกลางคืน เป็นต้น และได้พยายามตักเตือนหรือให้ข้อคิดในเรื่องดังกล่าวแก่นักเรียน

และบุคคลอื่นๆ

6


ส่วนที่ 3 ผลการปฏิบัติงานในหน้าที่

3.1 ผลการปฏิบัติงานสอน
1) รายละเอียดการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียน จํานวน
รวมจํานวนคาบ/
ปี ที่ รหัส รายวิชาที่สอน ชั้น คาบ/
ภาคเรียน
การศึกษา สัปดาห์

1 3103 0002 งานเชื่อมโลหะเบื้องต้น ปวส. 1/1 6

2 3103 2005 วัสดุและโลหะวิทยา ปวส.1/1 5
งานเขียนแบบเทคนิค
3 3103 2006 ปวส.1/5,6 5
1/2562 โลหะด้วยคอมพิวเตอร์

การทดสอบงานเชื่อม
4 3103 2105 ปวส.2/1 5 32
โดยไม่ท าลาย

5 3103 8503 โครงการ 1 ปวส.2/3 2

การทดสอบงานเชื่อม
6 3103 2104 ปวส.2/3 5
โดยท าลาย

7 2103 2106 โลหะวิทยาเบื้องต้น ปวช.2/1 4


2) การจัดทํา/พัฒนา/ปรับปรุง แผนการจัดการเรียนรู้

ภาคเรียน/ปี รหัส รายวิชา ระดับชั้น เอกสารอ้างอิง

1/2561 3103 0002 งานเชื่อมโลหะเบื้องต้น ปวส.1/1 แผนการสอน


3) วิจัยในชั้นเรียน

ภาคเรียน/ปี รหัส รายวิชา ระดับชั้น เอกสารอ้างอิง
1/2561 3103 0002 งานเชื่อมโลหะเบื้องต้น ปวส.1/1 งานวิจัย

7




















ภาคผนวก ก

รูปภาพการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ

8


ภาพการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ





































รูปภาพที่ 1 กิจกรรมวันไหว้ครู




































รูปภาพที่ 2 กิจกรรมวันไหว้ครู

9


ภาพการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ





































รูปภาพที่ 3 กิจกรรมสอบสัมภาษณ์นักศึกษาใหม่



































รูปภาพที่ 4 กิจกรรม ประชุมผู้ปกครองของนักศึกษาระดับ ปวส. 2

10


ภาพการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ



































รูปภาพที่ 5 กิจกรรมทอดเยนพรรษาวัดปากน้ า



































รูปภาพที่ 6 ยืนเวรหน้าประตู

11


ภาพการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ



































รูปภาพที่ 7 กิจกรรมศูนย์ซ่อมสร้างบริการประชาชน



































รูปภาพที่ 8 อบรมหุ่นยนต์งานเชื่อมแขนกล

12


ภาพการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ





































รูปภาพที่ 9 อบรมทักษะงานเชื่อมขั้นสูง






































รูปภาพที่ 10 กิจกรรมวันที่ 12 สิงหาคม 2562

13


ภาพการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ



































รูปภาพที่ 11 กิจกรรมตกบาตร วันที่ 12 สิงหาคม 2562



































รูปภาพที่ 12 ถวายพระพรวันเฉลิมพระชนพรรษา ร.10

14


ภาพการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ

































รูปภาพที่ 13 ศึกษาดูงาน ณ วิทยาลัยการอาชีพพล จังหวัดขอนแก่น









































รูปภาพที่ 14 กิจกรรมสัปดาห์ชมรมวิชาชีพ

15






























ภาคผนวก ข
เกียรติบัตร

1

1

2

2

3

3

4

4

5

5

6

6

1

แผนการสอน







วิชา งานเชื่อมโลหะเบื้องต้น 3103 0002








ครูผู้สอน



นางสาวโศรยา ปานด้วง







แผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ



ภาคเรียนที่ 1 / 2561








วิทยาลัยเทคนิคระยอง ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

หน่วยที่ 1

กระบวนการเชื่อมไฟฟ้ าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์


หัวข้อเรื่อง ( Topics )

1.1 ความหมายของความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้า

1.2 ข้อควรปฏิบัติเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้า

1.3 หลักการเชื่อมไฟฟ้า
1.4 เครื่องเชื่อมไฟฟ้า

1.5 หลักการพิจารณาเลือกใช้เครื่องเชื่อมไฟฟ้า

1.6 ประเภทของเครื่องเชื่อมไฟฟ้า
1.7 รอบท างานของเครื่องเชื่อม

1.8 อุปกรณ์งานเชื่อมไฟฟ้า

1.9 ความหมายของการเริ่มต้นอาร์ก
1.10 วิธีเขี่ยอาร์ก

1.11 วิธีแตะอาร์ก

1.12 การเริ่มต้นและสิ้นสุดรอยเชื่อม
1.13 การต่อรอยเชื่อม

1.14 การส่ายลวดเชื่อม



แนวคิดส าคัญ ( Main Idea )
ผู้ที่ปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้า จะต้องศึกษา ข้อควรปฏิบัติเพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่างๆใน

การปฏิบัติงาน ซึ่งจะเป็นการช่วยลดอุบัติเหตุหรืออันตรายที่จะเกิดขึ้นได้ขณะปฏิบัติงานเชื่อม

ไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ ท าให้ลดการสูญเสียและท าให้งานเชื่อมที่ได้มีคุณภาพและประโยชน์
การใช้งานได้มากที่สุด



สมรรถนะย่อย ( Element of Compeyency )
แสดงความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์



จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( Behavioral Objectives )
1. บอกความหมายของความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

2. บอกข้อควรปฏิบัติเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

3. บอกหลักการเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง
4.บอกลักษณะของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

5.บอกหลักการพิจารณาเลือกใช้เครื่องเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

6.บอกประเภทของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง
7.บอกลักษณะรอบท างานของเครื่องเชื่อมได้อย่างถูกต้อง

8.บอกชนิดอุปกรณ์งานเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

9.บอกความหมายของการเริ่มต้นอาร์กได้อย่างถูกต้อง
10.อธิบายการเชื่อมแบบวิธีเขี่ยอาร์กได้อย่างถูกต้อง

11.อธิบายการเชื่อมแบบวิธีแตะอาร์กได้อย่างถูกต้อง

12.บอกลักษณะการเริ่มต้นและสิ้นสุดรอยเชื่อมได้อย่างถูกต้อง

13.บอกลักษณะการต่อรอยเชื่อมได้อย่างถูกต้อง
14.บอกลักษณะการส่ายลวดเชื่อมได้อย่างถูกต้อง

15. มีกิจนิสัยในการท างานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อมโดยใช้อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัย

ส่วนบุคคล


การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


1. ความพอประมาณ

1.1 ผู้เรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับงานเชื่อมไฟฟ้า

1.2 ผู้เรียนปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าตามใบงาน


2. ความมีเหตุผล

2.1 ผู้เรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง
2.2 ผู้เรียนแสดงแนวคิดเกี่ยวกับการแก้ปัญหาเรื่อง กระบวนการเชื่อมไฟฟ้า

ด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์


3. การมีคุ้มกันในตัวที่ดี

3.1 ผู้เรียนปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม


4. เงื่อนไขความรู้

4.1 ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่อง กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้ม

ฟลักซ์


5. เงื่อนไขคุณธรรม

5.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์

การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 ดี

1. ด้านประชาธิปไตย

1.1 ผู้เรียนกล้าแสดงออกและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


2. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย

2.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


3. กิจกรรมป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

3.1 ผู้เรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด

กิจกรรมการเรียนการสอน



กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน

ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1.ครูขานชื่อนักเรียนพร้อมตรวจความเรียบร้อย 1.รับการเช็คชื่อ

และอบรมในคุณธรรมอันพึงประสงค์ 2. ตอบค าถามปากเปล่าเป็นรายบุคคลเรื่อง

2. ครูตั้งค าถามปากเปล่าให้นักเรียนตอบเป็น กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
รายบุคคลเรื่องกระบวนการเชื่อมไฟฟ้ าด้วยลวด 3.ฟังพร้อมจดบันทึกจุดประสงค์การเรียน

เชื่อมหุ้มฟลักซ์ มีวิธีการเชื่อมอย่างไร การสอน

3.แจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอนด้านพุทธิพิสัย
ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย การบูรณาการ

เศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนทราบ

ขั้นสอน ขั้นสอน

1. ครูแนะน าและเปิดแผนการสอน 1.เปิดหนังสือวิชางานเชื่อมโลหะเบื้องต้น
2. ครูใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงผ่านเครื่องฉาย 2.สังเกตและจดบันทึกเนื้อหาเรื่อง กระบวนการ

โปรเจคเตอร์และแผ่นภาพอธิบายประกอบการ เชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

สาธิตและถามตอบเกี่ยวกับกระบวนการเชื่อม

ไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
3. ครูใช้สื่อของจริง ในการสอนเรื่องกระบวนการ

เชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

ขั้นพยายาม ขั้นพยายาม
1.สังเกตการปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าตามใบงานที่ 1. ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าตามใบงานที่ 1.1 -1.3

1.1- 1.3 ของนักเรียน พร้อมทั้งตอบค าถามและ

อธิบายในกรณีที่นักเรียนไม่เข้าในขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน

ขั้นวัดและประเมินผล ขั้นวัดและประเมินผล

1.ตรวจแบบทดสอบก่อน 1. ส่งแบบทดสอบก่อนเรียน

2.ตรวจงานปฏิบัติตามใบงานที่ 1.1 – 1.3 2. ประเมินผลงานปฏิบัติตามใบงานที่ 1.1-1.3

งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม

ก่อนเรียน

1. เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย
2. ท าแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1

ขณะเรียน

1.นักเรียนฝึกปฏิบัติงานตามใบงานที่ 1.1 – 1.3


หลังเรียน

1. มอบหมายงานให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1

2. ดูแลให้นักเรียนท าความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้า
3. ครูบันทึกผลหลังการเรียนการสอน เพื่อใช้แก้ปัญหาในการสอนครั้งต่อไป



สื่อการเรียนการสอน

สื่อโสตทัศน์
1. เครื่องคอมพิวเตอร์

2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์



สื่อสิ่งพิมพ์
1. หนังสือวิชางานเชื่อมโลหะเบื้องต้น เรื่อง กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อม

หุ้มฟลักซ์

2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน หน่วยที่ 1
3. ใบงานที่ 1.1- 1.3

4. แผ่นใส / Power Point เรื่อง กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์



สื่อของจริง
1.แผ่นภาพแสดงความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟ้า และลักษณะของเครื่องเชื่อมแบบต่างๆ



การวัดและประเมินผล

ก่อนเรียน
1.เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย

2.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1

ขณะเรียน

1. ปฏิบัติตามใบงานที่ 1.1 – 1.3

วิธีวัดผล ตรวจผลงานปฏิบัติ
เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 1.1

เกณฑ์การประเมินผล

38 – 40 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

35 – 37 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี
32 – 34 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 31 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 1.2

เกณฑ์การประเมินผล

48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก
45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 1.3

เกณฑ์การประเมินผล
48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


หลังเรียน

1. ท าแบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝึกหัด หน่วยที่ 1


วิธีวัดผล

1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝึกหัด หน่วยที่ 1


เครื่องมือวัด

1.ใบเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝึกหัด หน่วยที่ 1
เกณฑ์การประเมินผล

1.ผู้เรียนต้องได้คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

บันทึกหลังการสอน



1. ผลการใช้เอกสารประกอบการสอน /การเรียนรู้
1.1 ด้านการใช้เวลา……………………………………………………………….…………………

………………………………………….………………………………………..…………………

1.2 ด้านเนื้อหาสาระ…………………………….………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…

1.3 ด้านกิจกรรมการสอน/การเรียนรู้หรือวิธีสอน………………………………..…………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

1.4 ด้านสื่อการสอน/การเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้และเนื้อหาวิชา

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. ผลการเรียนของนักเรียน

2.1 ด้านพฤติกรรมความสนใจเรียนของนักเรียน………………….…………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2.2 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน…………………………..…………………………..

………………………………………………………………………………………………………

3. ผลการสอนของครู
3.1 ด้านความเชื่อมั่น/มั่นใจในการสอน……………………………………….……………………

………………………………………………………………………………………………………

3.2 ด้านปริมาณเนื้อหา……………………………………………………….…………………….

………………………………………………………………………………………………………
3.3 ด้านบรรยากาศการสอน…………………………………………………….………………….

………………………………………………………………………………………………………

4.อื่นๆ………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………



ลงชื่อ...............................................ผู้สอน

............./................../..............

หน่วยที่ 2

องค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้ า


หัวข้อเรื่อง ( Topics )

1.องค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้า

2.การใช้ระยะอาร์กที่ถูกต้อง

3.การปรับกระแสไฟที่เหมาะสมกับงาน
4. การควบคุมความเร็วในการเดินลวดเชื่อม

5. การตั้งมุมของลวดเชื่อม


แนวคิดส าคัญ ( Main Idea )

ในการปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้านั้น ผู้ปฏิบัติงานจะต้องศึกษาถึงองค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้า ซึ่งมี

ความจ าเป็นอย่างยิ่งที่ช่างเชื่อมจะต้องท าความเข้าใจ เพื่อน าไปประกอบการฝึกเชื่อม ซึ่งการเชื่อมจะให้ผลได้
ดี และชิ้นงานที่ได้มีคุณภาพ



สมรรถนะย่อย ( Element of Compeyency )
แสดงความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้า


จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( Behavioral Objectives )

1. บอกองค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

2. บอกวิธีการใช้ระยะอาร์กได้อย่างถูกต้อง

3. บอกวิธีการปรับกระแสไฟที่เหมาะสมกับงานได้อย่างถูกต้อง
4. บอกวิธีการควบคุมความเร็วในการเดินลวดเชื่อมได้อย่างถูกต้อง

5. บอกวิธีการตั้งมุมของลวดเชื่อมได้อย่างถูกต้อง

6. มีกิจนิสัยในการท างานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อมโดยใช้อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยส่วน

บุคคล

การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


1. ความพอประมาณ

1.1 ผู้เรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับงานเชื่อมไฟฟ้า

1.2 ผู้เรียนปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าตามใบงาน


2. ความมีเหตุผล

2.1 ผู้เรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง
2.2 ผู้เรียนแสดงแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้า



3. การมีคุ้มกันในตัวที่ดี
3.1 ผู้เรียนปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม



4. เงื่อนไขความรู้
4.1 ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่ององค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้า



5. เงื่อนไขคุณธรรม
5.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์



การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 ดี


1. ด้านประชาธิปไตย

1.1 ผู้เรียนกล้าแสดงออกและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


2. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย

2.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


3. กิจกรรมป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

3.1 ผู้เรียนมีความรู้เรื่องการป้ องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด

กิจกรรมการเรียนการสอน



กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน

ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1.ครูขานชื่อนักเรียนพร้อมตรวจความเรียบร้อย 1.รับการเช็คชื่อ

และอบรมในคุณธรรมอันพึงประสงค์ 2.ตอบค าถามปากเปล่าเป็ นรายบุคคลเรื่อง

2. ครูตั้งค าถามปากเปล่าให้นักเรียนตอบเป็น องค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้า
รายบุคคลเรื่ององค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้า 3.ฟังพร้อมจดบันทึกจุดประสงค์การเรียน

มีอะไรบ้าง ใช้งานอย่างไร การสอน

3.แจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอนด้านพุทธิ
พิสัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย การบูรณา

การเศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนทราบ

ขั้นสอน ขั้นสอน

1. ครูแนะน าและเปิดแผนการสอน 1.เปิดหนังสือเรียนวิชางานเชื่อมโลหะเบื้องต้น
2. ครูใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงผ่านเครื่องฉาย 2.สังเกตและจดบันทึกองค์ประกอบในการเชื่อม

โปรเจคเตอร์และแผ่นภาพอธิบายประกอบการ ไฟฟ้า

สาธิตและถามตอบเกี่ยวกับองค์ประกอบในการ

เชื่อมไฟฟ้า
3. ครูใช้สื่อของจริง ในการสอนเรื่อง

องค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้า

ขั้นพยายาม ขั้นพยายาม
1.สังเกตการปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้าตามใบงานที่ 1. ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าตามใบงานที่ 2.1 -2.3

2.1-2.3 ของนักเรียน พร้อมทั้งตอบค าถามและ

อธิบายในกรณีที่นักเรียนไม่เข้าในขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน

ขั้นวัดและประเมินผล ขั้นวัดและประเมินผล

1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ส่งแบบทดสอบก่อนเรียน

2. ตรวจชิ้นงานตามใบงานที่ 2.1 - 2.3 2. ส่งชิ้นงานตามใบงานที่ 2.1 – 2.3

งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม

ก่อนเรียน

1. เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย
2. ท าแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 2



ขณะเรียน
1.นักเรียนฝึกปฏิบัติงาน ตามใบงานที่ 2.1 – 2.3


หลังเรียน

1. มอบหมายงานให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2

2. ดูแลให้นักเรียนท าความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้า

3. ครูบันทึกผลหลังการเรียนการสอน เพื่อใช้แก้ปัญหาในการสอนครั้งต่อไป


สื่อการเรียนการสอน

สื่อโสตทัศน์
1. เครื่องคอมพิวเตอร์

2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์


สื่อสิ่งพิมพ์

1. หนังสือวิชางานเชื่อมโลหะเบื้องต้น เรื่อง องค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้า

2. แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน หน่วยที่ 2

3. ใบงานที่ 2.1 – 2.3
4. แผ่นใส / Power Point เรื่อง องค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟ้า


สื่อของจริง

1.รูปภาพชิ้นงาน


การวัดและประเมินผล

ก่อนเรียน

1.เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย

2.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 2


ขณะเรียน
1. ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าตามใบงานที่ 2.1 – 2.3

วิธีวัดผล ตรวจผลงานปฏิบัติ

เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน

เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 2.1

เกณฑ์การประเมินผล
48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 2.2

เกณฑ์การประเมินผล
48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 2.3

เกณฑ์การประเมินผล

48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก
45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


หลังเรียน

1. ท าแบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝึกหัด หน่วยที่ 2


วิธีวัดผล

2. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน และฝึกหัด หน่วยที่ 2


เครื่องมือวัด
1.ใบเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝึกหัด หน่วยที่ 2



เกณฑ์การประเมินผล

1.ผู้เรียนต้องได้คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

บันทึกหลังการสอน



1. ผลการใช้เอกสารประกอบการสอน /การเรียนรู้
1.1 ด้านการใช้เวลา……………………………………………………………….…………………

………………………………………….………………………………………..…………………

1.2 ด้านเนื้อหาสาระ…………………………….………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………….…

1.3 ด้านกิจกรรมการสอน/การเรียนรู้หรือวิธีสอน………………………………..…………………

………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

1.4 ด้านสื่อการสอน/การเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้และเนื้อหาวิชา

………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

2. ผลการเรียนของนักเรียน

2.1 ด้านพฤติกรรมความสนใจเรียนของนักเรียน………………….…………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2.2 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน…………………………..…………………………..

………………………………………………………………………………………………………

3. ผลการสอนของครู
3.1 ด้านความเชื่อมั่น/มั่นใจในการสอน……………………………………….……………………

………………………………………………………………………………………………………

3.2 ด้านปริมาณเนื้อหา……………………………………………………….…………………….

………………………………………………………………………………………………………
3.3 ด้านบรรยากาศการสอน…………………………………………………….………………….

………………………………………………………………………………………………………

4.อื่นๆ………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………



ลงชื่อ...............................................ผู้สอน

............./................../..............

หน่วยที่ 3

ข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้ า


หัวข้อเรื่อง ( Topics )

1.ความหมายข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้า

2.ชนิดข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้า

3.ลักษณะสาเหตุ ข้อบกพร่อง และวิธีแก้ไข


แนวคิดส าคัญ ( Main Idea )
ผู้ที่ปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้ า คงจะพบเห็นข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในงานเชื่อมไฟฟ้า ซึ่งสาเหตุ

ดังกล่าวอาจจะมาจากเทคนิควิธีการเชื่อม และองค์ประกอบอื่นๆที่ผู้ปฏิบัติงานยังมีความรู้ ความ

เข้าใจที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งรอยเชื่อมที่ได้จะมีคุณภาพต ่า ขาดความแข็งแรง เพื่อลดปัญหาดังกล่าวจึง

จ าเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานจะต้องศึกษาเทคนิคการเชื่อมต่างๆ วิธีการตลอดจนเข้าใจถึงสาเหตุ ของ
ข้อบกพร่องและวิธีการแก้ไข เพื่อเป็นการเพิ่มทักษะการเชื่อมให้ดีขึ้นในล าดับต่อๆไป



สมรรถนะย่อย ( Element of Compeyency )
แสดงความรู้เกี่ยวกับข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้า



จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( Behavioral Objectives )
1. บอกความหมายข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

2. บอกชนิดข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

3. บอกลักษณะสาเหตุ ข้อบกพร่อง และวิธีแก้ไขได้อย่างถูกต้อง
4. มีกิจนิสัยในการท างานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อม โดยใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล



การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


1. ความพอประมาณ

1.1 ผู้เรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับงานเชื่อมไฟฟ้า
1.2 ผู้เรียนปฏิบัติการเชื่อมตามใบงาน



2. ความมีเหตุผล
2.1 ผู้เรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง

2.2 ผู้เรียนแสดงแนวคิดเกี่ยวกับการแก้ปัญหาข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้า

3. การมีคุ้มกันในตัวที่ดี

3.1 ผู้เรียนปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม


4. เงื่อนไขความรู้

4.1 ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้า


เงื่อนไขคุณธรรม

5.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 ดี

1. ด้านประชาธิปไตย

1.1 ผู้เรียนกล้าแสดงออกและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


2. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย
2.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์



3. กิจกรรมป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

3.1 ผู้เรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด

กิจกรรมการเรียนการสอน



กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน

ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1.ครูขานชื่อนักเรียนพร้อมตรวจความเรียบร้อย 1.รับการเช็คชื่อ

และอบรมในคุณธรรมอันพึงประสงค์ 2. ตอบค าถามปากเปล่าเป็นรายบุคคลเรื่อง

2. ครูตั้งค าถามปากเปล่าให้นักเรียนตอบเป็น ข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้า
รายบุคคลเรื่องข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้า 3.ฟังพร้อมจดบันทึกจุดประสงค์การเรียน

มีอะไรบ้าง สาเหตุและวิธีการแก้ไขอย่างไร การสอน

3.แจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอนด้านพุทธิ
พิสัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย การบูรณา

การเศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนทราบ

ขั้นสอน ขั้นสอน

1. ครูแนะน าและเปิดแผนการสอน 1.เปิดเอกสารประกอบการสอนวิชางานเชื่อมและ
2. ครูใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงผ่านเครื่องฉาย โลหะแผ่นเบื้องต้น

โปรเจคเตอร์และแผ่นภาพอธิบายประกอบการ 2.สังเกตและจดบันทึกชนิดข้อบกพร่องในงาน

สาธิตและถามตอบเกี่ยวกับข้อบกพร่องในงาน เชื่อมไฟฟ้า

เชื่อมไฟฟ้า
3.ครู ใช้สื่อ ของจริ ง ในการสอนเรื่ อง

ข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้า

ขั้นพยายาม ขั้นพยายาม
1.สังเกตการปฏิบัติงานตามใบงานที่ 3.1 - 3.3 1. ปฏิบัติการเชื่อมตามใบงานที่ 3.1 – 3.3

ของนักเรียน พร้อมทั้งตอบค าถามและอธิบาย

ในกรณีที่นักเรียนไม่เข้าในขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน

ขั้นวัดและประเมินผล ขั้นวัดและประเมินผล

1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ส่งแบบทดสอบก่อนเรียน

2. ตรวจชิ้นงานตามใบงานที่ 3.1 – 3.3 2. ส่งชิ้นงานตามใบงานที่ 3.1 – 3.3

งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม

ก่อนเรียน

1. เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย
2. ท าแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 3



ขณะเรียน
1.นักเรียนฝึกปฏิบัติงาน ตามใบงานที่ 3.1 – 3.3


หลังเรียน

1. มอบหมายงานให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัดท้ายบท หน่วยที่ 3

2. ดูแลให้นักเรียนท าความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้า

3. ครูบันทึกผลหลังการเรียนการสอน เพื่อใช้แก้ปัญหาในการสอนครั้งต่อไป


สื่อการเรียนการสอน

สื่อโสตทัศน์
1. เครื่องคอมพิวเตอร์

2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์


สื่อสิ่งพิมพ์

1. หนังสือวิชางานเชื่อมโลหะเบื้องต้น เรื่อง ข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้า

2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน หน่วยที่ 3

3. ใบงานที่ 3.1 – 3.3
4. แผ่นใส / Power Point เรื่อง ข้อบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้า


สื่อของจริง

1.ตัวอย่างชิ้นงาน


การวัดและประเมินผล

ก่อนเรียน

1.เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย


ขณะเรียน

1. ปฏิบัติการเชื่อมตามใบงานที่ 3.1 – 3.3

วิธีวัดผล ตรวจผลงานปฏิบัติ

เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน

เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 3.1
เกณฑ์การประเมินผล

48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้
ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 3.2

เกณฑ์การประเมินผล

48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี
42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 3.3

เกณฑ์การประเมินผล

48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก
45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


หลังเรียน

1. ท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 3


วิธีวัดผล

1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 3


เครื่องมือวัด

1.ใบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 3


เกณฑ์การประเมินผล

1.ผู้เรียนต้องได้คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70


Click to View FlipBook Version