The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pd1t, 2019-09-16 04:17:52

แฟ้มสะสมผลงาน (Port Folio) โศรยา ปานด้วง

บันทึกหลังการสอน



1. ผลการใช้เอกสารประกอบการสอน /การเรียนรู้
1.1 ด้านการใช้เวลา……………………………………………………………….…………………

………………………………………….………………………………………..…………………

1.2 ด้านเนื้อหาสาระ…………………………….………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…

1.3 ด้านกิจกรรมการสอน/การเรียนรู้หรือวิธีสอน………………………………..…………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

1.4 ด้านสื่อการสอน/การเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้และเนื้อหาวิชา

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. ผลการเรียนของนักเรียน

2.1 ด้านพฤติกรรมความสนใจเรียนของนักเรียน………………….…………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2.2 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน…………………………..…………………………..

………………………………………………………………………………………………………

3. ผลการสอนของครู
3.1 ด้านความเชื่อมั่น/มั่นใจในการสอน……………………………………….……………………

………………………………………………………………………………………………………

3.2 ด้านปริมาณเนื้อหา……………………………………………………….…………………….

………………………………………………………………………………………………………
3.3 ด้านบรรยากาศการสอน…………………………………………………….………………….

………………………………………………………………………………………………………

4.อื่นๆ………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………



ลงชื่อ...............................................ผู้สอน

............./................../..............

หน่วยที่ 4
ความรู้เบื้องต้นในงานเชื่อมแก๊ส


หัวข้อเรื่อง ( Topics )
1. ความหมายของความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊ส

2. หลักความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊ส
3. เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานเชื่อมแก๊ส
4. การเตรียมอุปกรณ์เชื่อมแก๊ส
5. ขั้นตอนการประกอบอุปกรณ์เชื่อมแก๊ส

6. การปรับค่าอุปกรณ์ควบคุมความดันแก๊สและการตรวจสอบรอยรั่ว
7. การจัดเก็บอุปกรณ์เชื่อมแก๊ส


แนวคิดส าคัญ ( Main Idea )
ผู้ที่ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส จะต้องศึกษาถึงชนิด หน้าที่ของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงาน
เชื่อมแก๊สให้มีความเข้าใจ และวิธีการใช้งานให้ถูกต้อง ศึกษากฎความปลอดภัยต่างๆในการใช้งานให้
ถูกต้อง ซึ่งจะเป็นการช่วยลดอุบัติเหตุหรืออันตรายที่จะเกิดขึ้นได้ขณะปฏิบัติงาน ท าให้ลดการ

สูญเสียและท าให้งานเชื่อมที่ได้มีคุณภาพและประโยชน์การใช้งานได้มากที่สุด


สมรรถนะย่อย ( Element of Compeyency )
แสดงความรู้เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นในงานเชื่อมแก๊ส


จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( Behavioral Objectives )
1. บอกความหมายของความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง
2. บอกหลักความปลอดภัยในงานเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง
3. บอกเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง
4. เตรียมอุปกรณ์เชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

5. บอกขั้นตอนการประกอบอุปกรณ์เชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง
6. ปรับค่าอุปกรณ์ควบคุมความดันแก๊ส และตรวจสอบรอยรั่วได้อย่างถูกต้อง
7. จัดเก็บอุปกรณ์เชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

8. มีกิจนิสัยในการท างานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อมโดยใช้อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยส่วน
บุคคล

การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


1. ความพอประมาณ
1.1 ผู้เรียนเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานเชื่อมแก๊สได้ถูกอย่างต้อง
1.2 ผู้เรียนปฏิบัติการประกอบเครื่องมืออุปกรณ์งานเชื่อมแก๊สและการตรวจสอบรอยรั่ว


2. ความมีเหตุผล
2.1 ผู้เรียนเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

2.2 ผู้เรียนแสดงแนวคิดเกี่ยวกับการแก้ปัญหาในการเลือกใช้ เครื่องมืออุปกรณ์งานเชื่อม
แก๊สและการตรวจสอบรอยรั่ว


3. การมีคุ้มกันในตัวที่ดี
3.1 ผู้เรียนปฏิบัติการประกอบเครื่องมืออุปกรณ์งานเชื่อมแก๊สและการตรวจสอบรอยรั่ว
ค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม


4. เงื่อนไขความรู้
4.1 ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการประกอบเครื่องมืออุปกรณ์งานเชื่อมแก๊ส
และการตรวจสอบรอยรั่ว


5. เงื่อนไขคุณธรรม
5.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 ดี


1. ด้านประชาธิปไตย
1.1 ผู้เรียนกล้าแสดงออกและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


2. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย
2.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


3. กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
3.1 ผู้เรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด

กิจกรรมการเรียนการสอน


กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1.ครูขานชื่อนักเรียนพร้อมตรวจความเรียบร้อย 1.รับการเช็คชื่อ
และอบรมในคุณธรรมอันพึงประสงค์ 2.ตอบค าถามปากเปล่าเป็นรายบุคคลเรื่องความรู้

2. ครูตั้งค าถามปากเปล่าให้นักเรียนตอบเป็น เบื้องต้นในงานเชื่อมแก๊ส
รายบุคคลเรื่องความรู้เบื้องต้นในงานเชื่อมแก๊ส 3.ฟังพร้อมจดบันทึกจุดประสงค์การเรียน
3.แจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอนด้านพุทธิ การสอน

พิสัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย การบูรณา
การเศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนทราบ
ขั้นสอน ขั้นสอน
1. ครูแนะน าและเปิดแผนการสอน 1.เปิดหนังสือวิชางานเชื่อมโลหะเบื้องต้น

2. ครูใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงผ่านเครื่องฉาย 2.สังเกตและจดบันทึกใบความรู้เรื่องความรู้
โปรเจคเตอร์และแผ่นภาพอธิบายประกอบการ เบื้องต้นในงานเชื่อมแก๊ส
สาธิตและถามตอบความรู้เบื้องต้นในงานเชื่อม
แก๊ส

3. ครูใช้สื่อของจริง ในการสอนเรื่องความรู้
เบื้องต้นในงานเชื่อมแก๊ส
ขั้นพยายาม ขั้นพยายาม
1.ปฏิบัติงานตามใบงานที่ 4.1 ของนักเรียน 1. ปฏิบัติงานตามใบงานที่ 4.1

พร้อมทั้งตอบค าถามและอธิบายในกรณีที่
นักเรียนไม่เข้าในขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ขั้นวัดและประเมินผล ขั้นวัดและประเมินผล

1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ส่งแบบทดสอบก่อนเรียน
2.ปฏิบัติงานตามใบงานที่ 1.1 2. ตรวจผลงานปฏิบัติงานตามใบงานที่ 1

งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม

ก่อนเรียน
1. เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย
2. ท าแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 4


ขณะเรียน
1.นักเรียนฝึกปฏิบัติงานตามใบงานที่ 4.1


หลังเรียน
1. มอบหมายงานให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัดท้ายบท หน่วยที่ 4

2. ดูแลให้นักเรียนท าความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส
3. ครูบันทึกผลหลังการเรียนการสอน เพื่อใช้แก้ปัญหาในการสอนครั้งต่อไป

สื่อการเรียนการสอน
สื่อโสตทัศน์

1. เครื่องคอมพิวเตอร์
2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์


สื่อสิ่งพิมพ์
1. หนังสือวิชางานเชื่อมโลหะเบื้องต้น เรื่อง ความรู้เบื้องต้นในงานเชื่อมแก๊ส
2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียนหน่วยที่ 4
3. ใบงานที่ 4.1

4. แผ่นใส / Power Point เรื่อง ความรู้เบื้องต้นในงานเชื่อมแก๊ส

สื่อของจริง

1. ท่อบรรจุแก๊สออกซิเจน
2. ท่อบรรจุแก๊สอะเซทิลีน
3. อุปกรณ์ควบคุมความดันแก๊สออกซิเจนและแก๊สอะเซทิลีน
4. หัวเชื่อมแก๊ส

5.สายยางเชื่อมแก๊สและข้อต่อ
6. หัวทิพ
7.อุปกรณ์ท าความสะอาดหัวทิพ
8.อุปกรณ์จุดเปลวไฟ

9.ถุงมือหนัง
10.เสื้อคลุมหนัง
11.แว่นตาเชื่อมแก๊ส

12.ประแจเปิด ปิด วาล์วแก๊ส
13. ลวดเชื่อมแก๊ส
14. คีมจับชิ้นงาน


การวัดและประเมินผล
ก่อนเรียน
1.เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย

2.ตรวจเช็คความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานเชื่อมแก๊ส
ขณะเรียน
1. ปฏิบัติงานตามใบงานที่ 4.1


วิธีวัดผล ตรวจผลงานปฏิบัติ
เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมินผล ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 4.1
38 – 40 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

35 – 37 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี
32 – 34 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้
ต่ ากว่า 31 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


หลังเรียน
1. ท าแบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝึกหัด หน่วยที่ 4


วิธีวัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 4


เครื่องมือวัด
1.ใบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 4


เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้เรียนต้องได้คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

บันทึกหลังการสอน


1. ผลการใช้เอกสารประกอบการสอน /การเรียนรู้
1.1 ด้านการใช้เวลา……………………………………………………………….…………………
………………………………………….………………………………………..…………………
1.2 ด้านเนื้อหาสาระ…………………………….………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………….…
1.3 ด้านกิจกรรมการสอน/การเรียนรู้หรือวิธีสอน………………………………..…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………
1.4 ด้านสื่อการสอน/การเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้และเนื้อหาวิชา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

2. ผลการเรียนของนักเรียน
2.1 ด้านพฤติกรรมความสนใจเรียนของนักเรียน………………….…………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2.2 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน…………………………..…………………………..
………………………………………………………………………………………………………
3. ผลการสอนของครู
3.1 ด้านความเชื่อมั่น/มั่นใจในการสอน……………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………

3.2 ด้านปริมาณเนื้อหา……………………………………………………….…………………….
………………………………………………………………………………………………………
3.3 ด้านบรรยากาศการสอน…………………………………………………….………………….

………………………………………………………………………………………………………
4.อื่นๆ………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………


ลงชื่อ...............................................ผู้สอน

............./................../..............

หน่วยที่ 5

กระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน – อะเซทิลีน


หัวข้อเรื่อง ( Topics )

1.ความหมายของกระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน – อะเซทิลีน

2.ชนิดของแก๊สที่ใช้ในงานเชื่อมแก๊ส
3.การผลิตแก๊สอะเซทิลีน

4.การผลิตแก๊สออกซิเจน

5.ชนิดของเปลวไฟที่ใช้ในการเชื่อมแก๊ส
6.คุณสมบัติของเปลวไฟที่ใช้ในการเชื่อมแก๊ส



แนวคิดส าคัญ ( Main Idea )
กระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน-อะเซทิลีน เป็นการเชื่อมที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง ซึ่งผู้ที่

ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส จะต้องใช้เปลวไฟเป็นตัวให้ความร้อนแก่ชิ้นงานจนชิ้นงานหลอมละลาย โดย

เปลวไฟจะได้มาจากแก๊สเชื้อเพลิงกับแก๊สออกซิเจน แก๊สเชื้อเพลิงที่นิยมใช้กันคือแก๊สอะเซทิลีน

ในการเชื่อมต้องมีการเติมลวดเชื่อมแก๊สเข้ามาช่วยเพื่อท าหน้าที่เติมให้เป็นแนวเชื่อม โดยท าการเติม
ลงไปในขณะชิ้นงานหลอมละลาย


สมรรถนะย่อย ( Element of Compeyency )

แสดงความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน – อะเซทิลีน


จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( Behavioral Objectives )

1. บอกความหมายของกระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน-อะเซทิลีน ได้อย่างถูกต้อง

2. บอกชนิดของแก๊สที่ใช้ในงานเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

3. บอกวิธีการผลิตแก๊สอะเซทิลีนได้อย่างถูกต้อง
4. บอกวิธีการผลิตแก๊สออกซิเจนได้อย่างถูกต้อง

5. บอกชนิดของเปลวไฟที่ใช้ในการเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

6. บอกคุณสมบัติของเปลวไฟที่ใช้ในการเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง
7. มีกิจนิสัยในการท างานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อมโดยใช้อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยส่วน

บุคคล

การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. ความพอประมาณ

1.1 ผู้เรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง
1.2 ผู้เรียนปฏิบัติงานเชื่อมแก๊สตามใบงาน



2. ความมีเหตุผล
2.1 ผู้เรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

2.2 ผู้เรียนแสดงแนวคิดเกี่ยวกับการแก้ปัญหาในกระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน –

อะเซทิลีน


3. การมีคุ้มกันในตัวที่ดี

3.1 ผู้เรียนปฏิบัติงานตามใบงานโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม


4. เงื่อนไขความรู้

4.1 ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเชื่อมแก๊ส


5. เงื่อนไขคุณธรรม

5.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 ดี


1. ด้านประชาธิปไตย

1.1 ผู้เรียนกล้าแสดงออกและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


2. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย

2.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


3. กิจกรรมป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

3.1 ผู้เรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด

กิจกรรมการเรียนการสอน



กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน

ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1.ครูขานชื่อนักเรียนพร้อมตรวจความเรียบร้อย 1.รับการเช็คชื่อ

และอบรมในคุณธรรมอันพึงประสงค์ 2.ตอบค าถามปากเปล่าเป็ นรายบุคคลเรื่อง

2. ครูตั้งค าถามปากเปล่าให้นักเรียนตอบเป็น กระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน – อะเซทิลีน
รายบุคคลเรื่องกระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน 3.ฟังพร้อมจดบันทึกจุดประสงค์การเรียน

– อะเซทิลีน การสอน

3.แจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอนด้านพุทธิ
พิสัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย การบูรณา

การเศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนทราบ

ขั้นสอน ขั้นสอน

1. ครูแนะน าและเปิดแผนการสอน 1.เปิดหนังสือวิชางานเชื่อมโลหะเบื้องต้น
2. ครูใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงผ่านเครื่องฉาย 2.สังเกตและจดบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับ

โปรเจคเตอร์และแผ่นภาพอธิบายประกอบการ กระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน – อะเซทิลีน

สาธิตและถามตอบเกี่ยวกับกระบวนการเชื่อม

แก๊สออกซิเจน – อะเซทิลีน
3. ครูใช้สื่อของจริง ในการสอนเรื่อง

กระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน – อะเซทิลีน

ขั้นพยายาม ขั้นพยายาม
1.สังเกตการปฏิบัติงานตามใบงานที่ 5.1- 5.2 1. ปฏิบัติงานตามใบงานที่ 5.1 – 5.2

ของนักเรียน พร้อมทั้งตอบค าถามและอธิบาย

ในกรณีที่นักเรียนไม่เข้าในขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน

ขั้นวัดและประเมินผล ขั้นวัดและประเมินผล

1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ส่งแบบทดสอบก่อนเรียน

2. ตรวจชิ้นงานตามใบงานที่ 5.1- 5.2 2. ส่งชิ้นงานตามใบงานที่ 5.1-5.2

งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม

ก่อนเรียน

1. เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย
2. ท าแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 5



ขณะเรียน
1.นักเรียนฝึกปฏิบัติงาน ตามใบงานที่ 5.1-5.2


หลังเรียน

1. มอบหมายงานให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัดท้ายบท หน่วยที่ 5

2. ดูแลให้นักเรียนท าความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส

3. ครูบันทึกผลหลังการเรียนการสอน เพื่อใช้แก้ปัญหาในการสอนครั้งต่อไป


สื่อการเรียนการสอน

สื่อโสตทัศน์
1. เครื่องคอมพิวเตอร์

2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์


สื่อสิ่งพิมพ์

1. หนังสือวิชางานเชื่อมโลหะเบื้องต้น เรื่อง กระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน – อะเซทิลีน

2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน หน่วยที่ 5

3. ใบงานที่ 5.1-5.2
4. แผ่นใส / Power Point เรื่อง กระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิเจน – อะเซทิลีน


สื่อของจริง

-

การวัดและประเมินผล

ก่อนเรียน

1.เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย
2.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1


ขณะเรียน

1. ปฏิบัติงานตามใบงานที่ 5.1- 5.2

วิธีวัดผล ตรวจผลงานปฏิบัติ

เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมินผล ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 5.1
48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


เกณฑ์การประเมินผล ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 5.2
48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้
ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง



หลังเรียน

1. ท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 5


วิธีวัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 5



เครื่องมือวัด

1.ใบเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 5


เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้เรียนต้องได้คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

บันทึกหลังการสอน



1. ผลการใช้เอกสารประกอบการสอน /การเรียนรู้
1.1 ด้านการใช้เวลา……………………………………………………………….…………………

………………………………………….………………………………………..…………………

1.2 ด้านเนื้อหาสาระ…………………………….………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…

1.3 ด้านกิจกรรมการสอน/การเรียนรู้หรือวิธีสอน………………………………..…………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

1.4 ด้านสื่อการสอน/การเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้และเนื้อหาวิชา

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. ผลการเรียนของนักเรียน

2.1 ด้านพฤติกรรมความสนใจเรียนของนักเรียน………………….…………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2.2 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน…………………………..…………………………..

………………………………………………………………………………………………………

3. ผลการสอนของครู
3.1 ด้านความเชื่อมั่น/มั่นใจในการสอน……………………………………….……………………

………………………………………………………………………………………………………

3.2 ด้านปริมาณเนื้อหา……………………………………………………….…………………….

………………………………………………………………………………………………………
3.3 ด้านบรรยากาศการสอน…………………………………………………….………………….

………………………………………………………………………………………………………

4.อื่นๆ………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………



ลงชื่อ...............................................ผู้สอน

............./................../..............

หน่วยที่ 6

รอยต่อและต าแหน่งท่าเชื่อม


หัวข้อเรื่อง ( Topics )

1.ความหมายของรอยต่อ

2.ชนิดของรอยต่อที่ใช้ในงานเชื่อม
3.การบากร่องรอยต่อ

4.ชนิดของรอยเชื่อม

5.ชื่อส่วนต่างๆของแนวเชื่อม
6.ต าแหน่งท่าเชื่อม



แนวคิดส าคัญ ( Main Idea )
การเชื่อมแก๊สเป็นการเชื่อมที่ผู้ปฏิบัติงาน จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชนิดของ

รอยต่อ และต าแหน่งของท่าเชื่อมต่างๆ ลักษณะงานบางชนิดอาจะใช้รอยต่อและต าแหน่งท่าเชื่อมที่

ต่างกันซึ่งองค์ประกอบเหล่านี่จะส่งผลให้งานที่ได้มีคุณภาพ และท าให้งานที่ปฏิบัติการเชื่อมมี

ความแข็งแรง


สมรรถนะย่อย ( Element of Compeyency )
แสดงความรู้เกี่ยวกับรอยต่อและต าแหน่งท่าเชื่อม



จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( Behavioral Objectives )
1.บอกความหมายของรอยต่อได้อย่างถูกต้อง

2.บอกชนิดของรอยต่อได้อย่างถูกต้อง

3.บอกลักษณะการบากร่องรอยต่อได้อย่างถูกต้อง

4.บอกชนิดของรอยเชื่อมได้อย่างถูกต้อง
5.บอกชื่อส่วนต่างๆของแนวเชื่อมได้อย่างถูกต้อง

6.บอกชื่อต าแหน่งท่าเชื่อมได้อย่างถูกต้อง

7. มีกิจนิสัยในการท างานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อมโดยใช้อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยส่วน
บุคคล

การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. ความพอประมาณ

1.1 ผู้เรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับการเชื่อมแก๊ส
1.2 ผู้เรียนปฏิบัติการเชื่อมแก๊สตามใบงาน



2. ความมีเหตุผล
2.1 ผู้เรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

2.2 ผู้เรียนแสดงแนวคิดเกี่ยวกับการแก้ปัญหารอยต่อและต าแหน่งท่าเชื่อม


3. การมีคุ้มกันในตัวที่ดี

3.1 ผู้เรียนปฏิบัติการเชื่อมแก๊สโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม


4. เงื่อนไขความรู้

4.1 ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเลือกใช้รอยต่อและต าแหน่งท่าเชื่อม


5. เงื่อนไขคุณธรรม

5.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 ดี

1. ด้านประชาธิปไตย

1.1 ผู้เรียนกล้าแสดงออกและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


2. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย

2.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


3. กิจกรรมป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

3.1 ผู้เรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด

กิจกรรมการเรียนการสอน



กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน

ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1.ครูขานชื่อนักเรียนพร้อมตรวจความเรียบร้อย 1.รับการเช็คชื่อ

และอบรมในคุณธรรมอันพึงประสงค์ 2. ตอบค าถามปากเปล่าเป็นรายบุคคลเรื่องรอยต่อ

2. ครูตั้งค าถามปากเปล่าให้นักเรียนตอบเป็น และต าแหน่งท่าเชื่อม
รายบุคคลเรื่องรอยต่อและต าแหน่งท่าเชื่อม มีกี่ 3.ฟังพร้อมจดบันทึกจุดประสงค์การเรียน

แบบ อะไรบ้าง การสอน

3.แจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอนด้านพุทธิ
พิสัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย การบูรณา

การเศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนทราบ

ขั้นสอน ขั้นสอน

1. ครูแนะน าและเปิดแผนการสอน 1.เปิดหนังสือวิชางานเชื่อมโลหะเบื้องต้น
2. ครูใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงผ่านเครื่องฉาย 2.สังเกตและจดบันทึกชนิด และลักษณะของ

โปรเจคเตอร์และแผ่นภาพอธิบายประกอบการ รอยต่อและต าแหน่งท่าเชื่อม

สาธิตและถามตอบเกี่ยวกับรอยต่อและต าแหน่ง

ท่าเชื่อม
3. ครูใช้สื่อของจริง ในการสอนเรื่องรอยต่อ

และต าแหน่งท่าเชื่อม

ขั้นพยายาม ขั้นพยายาม
1.สังเกตการปฏิบัติงานตามใบงานที่ 6.1 -6.2 1. ปฏิบัติงานตามใบงานที่ 6.1 – 6.2

ของนักเรียน พร้อมทั้งตอบค าถามและอธิบาย

ในกรณีที่นักเรียนไม่เข้าในขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน

ขั้นวัดและประเมินผล ขั้นวัดและประเมินผล

1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ส่งแบบทดสอบก่อนเรียน

2. ตรวจชิ้นงานตามใบงานที่ 6 2. ส่งชิ้นงานตามใบงานที่ 6.1 – 6.2

งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม

ก่อนเรียน

1. เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย
2. ท าแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 6



ขณะเรียน
1.นักเรียนฝึกปฏิบัติงานตามใบงานที่ 6.1 – 6.2


หลังเรียน

1. มอบหมายงานให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัดท้ายบท หน่วยที่ 6

2. ดูแลให้นักเรียนท าความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส

3. ครูบันทึกผลหลังการเรียนการสอน เพื่อใช้แก้ปัญหาในการสอนครั้งต่อไป


สื่อการเรียนการสอน

สื่อโสตทัศน์
1. เครื่องคอมพิวเตอร์

2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์


สื่อสิ่งพิมพ์

1.หนังสืองานเชื่อมโลหะเบื้องต้น เรื่อง รอยต่อและต าแหน่งของท่าเชื่อม

2. แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน หน่วยที่ 6

3. ใบงานที่ 6.1 – 6.2
4. แผ่นใส / Power Point เรื่อง รอยต่อและต าแหน่งท่าเชื่อม


สื่อของจริง

1.แผ่นภาพรอยต่อและต าแหน่งท่าเชื่อม


การวัดและประเมินผล

ก่อนเรียน

1.เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย

2.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 6


ขณะเรียน
1. ปฏิบัติงานตามใบงานที่ 6.1 – 6.2

วิธีวัดผล ตรวจผลงานปฏิบัติ

เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมินผล ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 6.1
48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


เกณฑ์การประเมินผล ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 6.2

48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก
45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


หลังเรียน

1. ท าแบบฝึกหัด หน่วยที่ 6


วิธีวัดผล

1. ตรวจแบบฝึกหัด หน่วยที่ 6


เครื่องมือวัด

1.ใบเฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 6


เกณฑ์การประเมินผล

1.ผู้เรียนต้องได้คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

บันทึกหลังการสอน



1. ผลการใช้เอกสารประกอบการสอน /การเรียนรู้
1.1 ด้านการใช้เวลา……………………………………………………………….…………………

………………………………………….………………………………………..…………………

1.2 ด้านเนื้อหาสาระ…………………………….………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…

1.3 ด้านกิจกรรมการสอน/การเรียนรู้หรือวิธีสอน………………………………..…………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

1.4 ด้านสื่อการสอน/การเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้และเนื้อหาวิชา

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. ผลการเรียนของนักเรียน

2.1 ด้านพฤติกรรมความสนใจเรียนของนักเรียน………………….…………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2.2 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน…………………………..…………………………..

………………………………………………………………………………………………………

3. ผลการสอนของครู
3.1 ด้านความเชื่อมั่น/มั่นใจในการสอน……………………………………….……………………

………………………………………………………………………………………………………

3.2 ด้านปริมาณเนื้อหา……………………………………………………….…………………….

………………………………………………………………………………………………………
3.3 ด้านบรรยากาศการสอน…………………………………………………….………………….

………………………………………………………………………………………………………

4.อื่นๆ………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………



ลงชื่อ...............................................ผู้สอน

............./................../..............

หน่วยที่ 7

เทคนิคการเชื่อมแก๊ส


หัวข้อเรื่อง ( Topics )

1.เทคนิคการเชื่อมแก๊ส

2.การเชื่อมจากขวามือไปยังซ้ายมือ
3.การเชื่อมจากซ้ายมือไปยังขวามือ

4.การเอียงมุมหัวทิพและมุมลวดเชื่อมแก๊ส

5.การส่ายหัวทิพ
6.ลวดเชื่อมแก๊ส

7.ประเภทของลวดเชื่อมแก๊ส

8.หลักการพิจารณาเลือกใช้ลวดเชื่อมแก๊ส
9.ข้อบกพร่องในงานเชื่อมแก๊ส



แนวคิดส าคัญ ( Main Idea )

ในการเชื่อมโลหะด้วยแก๊สออกซิ - อะเซทิลีนถ้าต้องการให้แนวเชื่อมซึมลึก มีลักษณะเป็นแนว
เชื่อมทะลุออกด้านหลังของแผ่นงานเชื่อมการซึมลึกที่ดีให้แนวเชื่อมที่แข็งแรง ส่วนแนวเชื่อมที่ซึม

ลึกไม่ดีจะเกิดการแตกหักที่แนวเชื่อม จะขึ้นอยู่กับเทคนิคการเชื่อมแก๊ส


สมรรถนะย่อย ( Element of Compeyency )

แสดงความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการเชื่อมแก๊ส


จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( Behavioral Objectives )

1.บอกเทคนิคการเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

2.อธิบายวิธีการเชื่อมจากขวามือไปยังซ้ายมือได้อย่างถูกต้อง
3.อธิบายวิธีการเชื่อมจากซ้ายมือไปยังขวามือได้อย่างถูกต้อง

4.อธิบายการเอียงมุมหัวทิพและมุมลวดเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

5.อธิบายการส่ายหัวทิพได้อย่างถูกต้อง
6.บอกความหมายของลวดเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

7.บอกประเภทของลวดเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

8.บอกหลักการพิจารณาเลือกใช้ลวดเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง
9.บอกลักษณะข้อบกพร่องในงานเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

10.มีกิจนิสัยในการท างานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อมโดยใช้อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัย

การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. ความพอประมาณ

1.1 ผู้เรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับการเชื่อมแก๊ส
1.2 ผู้เรียนปฏิบัติการเชื่อมแก๊สตามใบงาน



2. ความมีเหตุผล
2.1 ผู้เรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมแก๊สได้อย่างถูกต้อง

2.2 ผู้เรียนแสดงแนวคิดเกี่ยวกับการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเทคนิคการเชื่อมแก๊ส


3. การมีคุ้มกันในตัวที่ดี

3.1 ผู้เรียนปฏิบัติการเชื่อมแก๊สโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม


4. เงื่อนไขความรู้

4.1 ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเทคนิคการเชื่อมแก๊ส


5. เงื่อนไขคุณธรรม

5.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 ดี

1. ด้านประชาธิปไตย

1.1 ผู้เรียนกล้าแสดงออกและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


2. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย

2.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


3. กิจกรรมป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

3.1 ผู้เรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด

กิจกรรมการเรียนการสอน



กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน

ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1.ครูขานชื่อนักเรียนพร้อมตรวจความเรียบร้อย 1.รับการเช็คชื่อ

และอบรมในคุณธรรมอันพึงประสงค์ 2. ตอบค าถามปากเปล่าเป็นรายบุคคลเรื่องเทคนิค

2. ครูตั้งค าถามปากเปล่าให้นักเรียนตอบเป็น การเชื่อมแก๊ส
รายบุคคลเรื่องเทคนิคการเชื่อมแก๊สว่ามี 3.ฟังพร้อมจดบันทึกจุดประสงค์การเรียน

อะไรบ้าง การสอน

3.แจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอนด้านพุทธิ
พิสัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย การบูรณา

การเศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนทราบ

ขั้นสอน ขั้นสอน

1. ครูแนะน าและเปิดแผนการสอน 1.เปิดหนังสืองานเชื่อมโลหะเบื้องต้น
2. ครูใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงผ่านเครื่องฉาย 2.สังเกตและจดบันทึกเทคนิคการเชื่อมแก๊ส

โปรเจคเตอร์และแผ่นภาพอธิบายประกอบการ

สาธิตและถามตอบเกี่ยวกับเรื่องเทคนิคการ

เชื่อมแก๊ส
3. ครูใช้สื่อของจริง ในการสอนเรื่องเทคนิคการ

เชื่อมแก๊ส

ขั้นพยายาม ขั้นพยายาม
1.สังเกตการปฏิบัติงานตามใบงานที่ 7.1-7.2 1. ปฏิบัติงานตามใบงานที่ 7.1 – 7.2

ของนักเรียน พร้อมทั้งตอบค าถามและอธิบาย

ในกรณีที่นักเรียนไม่เข้าในขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน

ขั้นวัดและประเมินผล ขั้นวัดและประเมินผล

1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ส่งแบบทดสอบก่อนเรียน / แบบทดสอบ

2. ตรวจชิ้นงานตามใบงานที่ 7.1 – 7.2 หลังเรียน

2. ส่งชิ้นงานตามใบงานที่ 7.1 – 7.2

งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม

ก่อนเรียน

1. เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย
2. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 7



ขณะเรียน
1.นักเรียนฝึกปฏิบัติงาน ตามใบงานที่ 7.1 – 7.2


หลังเรียน

1. มอบหมายงานให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัดท้ายบท หน่วยที่ 7

2. ดูแลให้นักเรียนท าความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส

3. ครูบันทึกผลหลังการเรียนการสอน เพื่อใช้แก้ปัญหาในการสอนครั้งต่อไป


สื่อการเรียนการสอน

สื่อโสตทัศน์
1. เครื่องคอมพิวเตอร์

2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์


สื่อสิ่งพิมพ์

1.หนังสืองานเชื่อมโลหะเบื้องต้น เรื่องเทคนิคการเชื่อมแก๊ส

2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน หน่วยที่ 7

3. ใบงานที่ 7.1 – 7.2
4. แผ่นใส / Power Point เรื่อง เทคนิคการเชื่อมแก๊ส


สื่อของจริง

-

การวัดและประเมินผล

ก่อนเรียน

1.เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย
2.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 7


ขณะเรียน

1. ปฏิบัติงานตามใบงานที่ 7.1 – 7.2

วิธีวัดผล ตรวจผลงานปฏิบัติ

เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมินผล ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 7.1
48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


เกณฑ์การประเมินผล ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 7.2
48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้
ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง



หลังเรียน

1. ท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 7


วิธีวัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 7



เครื่องมือวัด

1.ใบเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 7


เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้เรียนต้องได้คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

บันทึกหลังการสอน



1. ผลการใช้เอกสารประกอบการสอน /การเรียนรู้
1.1 ด้านการใช้เวลา……………………………………………………………….…………………

………………………………………….………………………………………..…………………

1.2 ด้านเนื้อหาสาระ…………………………….………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…

1.3 ด้านกิจกรรมการสอน/การเรียนรู้หรือวิธีสอน………………………………..…………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

1.4 ด้านสื่อการสอน/การเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้และเนื้อหาวิชา

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. ผลการเรียนของนักเรียน

2.1 ด้านพฤติกรรมความสนใจเรียนของนักเรียน………………….…………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2.2 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน…………………………..…………………………..

………………………………………………………………………………………………………

3. ผลการสอนของครู
3.1 ด้านความเชื่อมั่น/มั่นใจในการสอน……………………………………….……………………

………………………………………………………………………………………………………

3.2 ด้านปริมาณเนื้อหา……………………………………………………….…………………….

………………………………………………………………………………………………………
3.3 ด้านบรรยากาศการสอน…………………………………………………….………………….

………………………………………………………………………………………………………

4.อื่นๆ………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………



ลงชื่อ...............................................ผู้สอน

............./................../..............

หน่วยที่ 8

การตัดโลหะด้วยแก๊ส


หัวข้อเรื่อง ( Topics )

1.ความหมายของการตัดโลหะด้วยแก๊ส

2.หลักการตัดโลหะด้วยแก๊ส
3.ชนิดของแก๊สที่ใช้การตัดโลหะด้วยแก๊ส

4.ปฏิกิริยาขณะท าการตัดด้วยแก๊สออกซิเจนกับแก๊สอะเซทิลีน

5.อุปกรณ์การตัดแก๊ส
6.หัวตัดมาตรฐานและหัวตัดแบบความเร็วสูง

7.การถอดทิพตัดออกจากทอร์เชื่อม

8.เครื่องตัดแก๊ส
9.มุมเดินและระยะห่างกรวยไฟกับชิ้นงาน

10. ขั้นตอนการตัดโลหะด้วยแก๊ส

11.เทคนิคการตัดโดยให้รอยตัดอยู่ในแนวดิ่ง

12.เทคนิคการตัดโดยให้รอยตัดบากเฉียง
13.ความเร็วในการเคลื่อนหัวตัด

14. การใช้อุปกรณ์ช่วยตัด

15.สแลกและการเกิดสแลก
16.การตัดโลหะแผ่นบาง



แนวคิดส าคัญ ( Main Idea )
ในการตัดโลหะด้วยแก๊ส ผู้ปฏิบัติงาน จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการตัด

ชิ้นงาน โดยการให้ความร้อนจากเปลวไฟที่เกิดการเผาไหม้ระหว่างแก๊สออกซิเจนและแก๊สเชื้อเพลิง

โดยการเผาชิ้นงาน จนกระทั่งเกิดบ่อหลอมละลายจากนั้นจึงเปิดวาล์วพ่นออกซิเจนบริสุทธิ์ออกไป
อย่างรวดเร็ว ชิ้นงานก็จะตัดออกจากกันโดยรอยตัดจะมีลักษณะเป็นร่องตัด



สมรรถนะย่อย ( Element of Compeyency )
แสดงความรู้เกี่ยวกับการตัดโลหะด้วยแก๊ส



จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( Behavioral Objectives )
1.บอกความหมายของการตัดโลหะด้วยแก๊สได้อย่างถูกต้อง

2.บอกหลักการตัดโลหะด้วยแก๊สได้อย่างถูกต้อง

3.บอกชนิดของแก๊สที่ใช้การตัดโลหะด้วยแก๊สได้อย่างถูกต้อง

4.บอกปฏิกิริยาขณะท าการตัดด้วยแก๊สออกซิเจนกับแก๊สอะเซทิลีน
5.บอกชื่ออุปกรณ์การตัดแก๊สได้อย่างถูกต้อง

6.อธิบายลักษณะหัวตัดมาตรฐานและหัวตัดแบบความเร็วสูงได้อย่างถูกต้อง

7. ปฏิบัติการถอดทิพตัดออกจากทอร์ชเชื่อมได้อย่างถูกต้อง
8. บอกลักษณะเครื่องตัดแก๊สได้อย่างถูกต้อง

9. บอกลักษณะมุมเดินและระยะห่างกรวยไฟกับชิ้นงานได้อย่างถูกต้อง

10. บอกขั้นตอนการตัดโลหะด้วยแก๊สได้อย่างถูกต้อง

11.บอกเทคนิคการตัดโดยให้รอยตัดอยู่ในแนวดิ่งได้อย่างถูกต้อง
12.บอกเทคนิคการตัดโดยให้รอยตัดบากเฉียงได้อย่างถูกต้อง

13.อธิบายความเร็วในการเคลื่อนหัวตัดได้อย่างถูกต้อง

14. บอกการใช้อุปกรณ์ช่วยตัดได้อย่างถูกต้อง

15.บอกลักษณะสแลกและการเกิดสแลกได้อย่างถูกต้อง
16.ปฏิบัติการตัดโลหะแผ่นบางได้อย่างถูกต้อง

18. มีกิจนิสัยในการท างานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อม โดยใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล


การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


1. ความพอประมาณ

1.1 ผู้เรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับการตัดโลหะด้วยแก๊ส

1.2 ผู้เรียนปฏิบัติการตัดโลหะด้วยแก๊สตามใบงาน


2. ความมีเหตุผล

2.1 ผู้เรียนเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการตัดโลหะด้วยแก๊สได้อย่างถูกต้อง
2.2 ผู้เรียนแสดงแนวคิดเกี่ยวกับการแก้ปัญหาเรื่อง การตัดโลหะด้วยแก๊ส



3. การมีคุ้มกันในตัวที่ดี

3.1 ผู้เรียนปฏิบัติการตัดโลหะด้วยแก๊สโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม


4. เงื่อนไขความรู้
4.1 ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องการตัดโลหะด้วยแก๊ส



5. เงื่อนไขคุณธรรม
5.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์

การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 ดี

1. ด้านประชาธิปไตย

1.1 ผู้เรียนกล้าแสดงออกและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


2. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย

2.1 ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ และความคิดสร้างสรรค์


3. กิจกรรมป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
3.1 ผู้เรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด

กิจกรรมการเรียนการสอน



กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน

ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1.ครูขานชื่อนักเรียนพร้อมตรวจความเรียบร้อย 1.รับการเช็คชื่อ

และอบรมในคุณธรรมอันพึงประสงค์ 2. ตอบค าถามปากเปล่าเป็นรายบุคคลเรื่องการตัด

2. ครูตั้งค าถามปากเปล่าให้นักเรียนตอบเป็น โลหะด้วยแก๊ส
รายบุคคลเรื่องการตัดโลหะด้วยแก๊ส มีกี่วิธี 3.ฟังพร้อมจดบันทึกจุดประสงค์การเรียน

อะไรบ้าง การสอน

3.แจ้งจุดประสงค์การเรียนการสอนด้านพุทธิ
พิสัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย การบูรณา

การเศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนทราบ

ขั้นสอน ขั้นสอน

1. ครูแนะน าและเปิดแผนการสอน 1.เปิดหนังสืองานเชื่อมโลหะเบื้องต้น
2. ครูใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงผ่านเครื่องฉาย 2.สังเกตและจดบันทึกชนิด การตัดโลหะด้วยแก๊ส

โปรเจคเตอร์และแผ่นภาพอธิบายประกอบการ

สาธิตและถามตอบเกี่ยวกับการตัดโลหะด้วย

แก๊ส
3. ครูใช้สื่อของจริง ในการสอนเรื่องการตัด

โลหะด้วยแก๊ส

ขั้นพยายาม ขั้นพยายาม
1.สังเกตการปฏิบัติงานตามใบงานที่ 8.1-8.2 1. ปฏิบัติการเชื่อมตามใบงานที่ 8.1 – 8.2

ของนักเรียน พร้อมทั้งตอบค าถามและอธิบาย

ในกรณีที่นักเรียนไม่เข้าในขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน

ขั้นวัดและประเมินผล ขั้นวัดและประเมินผล

1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ส่งแบบทดสอบก่อนเรียน

2. ตรวจชิ้นงานตามใบงานที่ 8.1 – 8.2 2. ส่งชิ้นงานตามใบงานที่ 8.1 – 8.2

งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม

ก่อนเรียน

1. เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย
2.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1



ขณะเรียน
1.นักเรียนฝึกปฏิบัติงาน ตามใบงานที่ 8.1 – 8.2


หลังเรียน

1. มอบหมายงานให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัดท้ายบท หน่วยที่ 8

2. ดูแลให้นักเรียนท าความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงานตัดโลหะด้วยแก๊ส

3. ครูบันทึกผลหลังการเรียนการสอน เพื่อใช้แก้ปัญหาในการสอนครั้งต่อไป


สื่อการเรียนการสอน

สื่อโสตทัศน์
1. เครื่องคอมพิวเตอร์

2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์


สื่อสิ่งพิมพ์

1. หนังสืองานเชื่อมโลหะเบื้องต้น เรื่อง การตัดโลหะด้วยแก๊ส

2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน หน่วยที่ 8

3. ใบงานที่ 8.1 – 8.2
4. แผ่นใส / Power Point เรื่อง การตัดโลหะด้วยแก๊ส


สื่อของจริง

1.ชุดตัดแก๊สด้วยมือ

2.ชุดตัดแก๊สอัตโนมัติ


การวัดและประเมินผล

ก่อนเรียน

1.เช็คชื่อนักเรียน และตรวจเครื่องแต่งกาย
2.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 8

ขณะเรียน

1. ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส ตามใบงานที่ 8.1 – 8.2

วิธีวัดผล ตรวจผลงานปฏิบัติ

เครื่องมือวัด ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมินผล ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 8.1
48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้

ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง


เกณฑ์การประเมินผล ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ 8.2
48 – 50 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

45 – 47 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ดี

42 – 44 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ พอใช้
ต ่ากว่า 41 คะแนน ผลงานอยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง



หลังเรียน

1. ท าแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 8


วิธีวัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 8



เครื่องมือวัด

1.ใบเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด หน่วยที่ 8


เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้เรียนต้องได้คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

บันทึกหลังการสอน



1. ผลการใช้เอกสารประกอบการสอน /การเรียนรู้
1.1 ด้านการใช้เวลา……………………………………………………………….…………………

………………………………………….………………………………………..…………………

1.2 ด้านเนื้อหาสาระ…………………………….………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…

1.3 ด้านกิจกรรมการสอน/การเรียนรู้หรือวิธีสอน………………………………..…………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

1.4 ด้านสื่อการสอน/การเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้และเนื้อหาวิชา

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. ผลการเรียนของนักเรียน

2.1 ด้านพฤติกรรมความสนใจเรียนของนักเรียน………………….…………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2.2 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน…………………………..…………………………..

………………………………………………………………………………………………………

3. ผลการสอนของครู
3.1 ด้านความเชื่อมั่น/มั่นใจในการสอน……………………………………….……………………

………………………………………………………………………………………………………

3.2 ด้านปริมาณเนื้อหา……………………………………………………….…………………….

………………………………………………………………………………………………………
3.3 ด้านบรรยากาศการสอน…………………………………………………….………………….

………………………………………………………………………………………………………

4.อื่นๆ………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………



ลงชื่อ...............................................ผู้สอน

............./................../..............

โครงการสอน








วิชา โครงการ 1



รหัสวิชา 3103 8502












ครูผู้สอน นางสาวโศรยา ปานด้วง











ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562




แผนกวิชา ช่างเชื่อมโลหะ วิทยาลัยเทคนิคระยอง



ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

รหัสวิชา...3105 8502.....วิชา...โครงการ 1

จ านวน....2...หน่วยกิต...2...ชั่วโมง/สัปดาห์ ระดับ............ปวส............ประเภทวิชาอุตสาหกรรม...............


จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

1. เข้าใจขั้นตอนและกระบวนการสร้างและหรือพัฒนางานอาชีพอย่างเป็นระบบ

2. สามารถบูรณาการความรู้และทักษะในการสร้างและหรือพัฒนางานในสาขาวิชาชีพตาม

กระบวนการ วางแผน ด าเนินงาน แก้ไขปัญหา ประเมินผล ท ารายงานและน าเสนอผลงาน

3. มีเจตคติและกิจนิสัยในการศึกษาค้นคว้าเพื่อสร้างและหรือพัฒนางานอาชีพด้วยความ

รับผิดชอบ มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ขยัน อดทนและสามารถท างาน

ร่วมกับผู้อื่น



สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการสร้างและหรือพัฒนางานอาชีพอย่างเป็นระบบ

2. เขียนโครงการสร้างและหรือพัฒนางานตามหลักการ

3. ด าเนินงานตามแผนงานโครงการตามหลักการและกระบวนการ

4. เก็บข้อมูล วิเคราะห์ สรุปและประเมินผลการด าเนินงานโครงการตามหลักการ

5. รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการตามรูปแบบ

6. น าเสนอผลการด าเนินงานด้วยรูปแบบวิธีการต่างๆ





ค าอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการบูรณาการความรู้และทักษะในระดับเทคนิคที่สอดคล้องกับสาขา

วิชาชีพที่ศึกษาเพื่อสร้างและหรือพัฒนางานด้วยกระบวนการทดลอง ส ารวจ ประดิษฐ์คิดค้น หรือการ

ปฏิบัติงานเชิงระบบ การเลือกหัวข้อโครงการ การศึกษาค้นคว้าข้อมูลและเอกสารอ้างอิง การเขียนโครงการ
การด าเนินงานโครงการ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และแปลผล การสรุปจัดท ารายงาน การ

น าเสนอผลงานโครงการ ด าเนินการเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มตามลักษณะของงานให้แล้วเสร็จในระยะเวลาที่

ก าหนด

โครงการสอนประจ าภาคเรียน

วิชา โครงการ ( 3103 8502 )
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 2 หน่วยกิต



หน่วยที่ รายการสอน เวลาเรียน


1 ความรู้ทั่วไปและการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดท าโครงการ 2

2 การเขียนร่างโครงการ 2

3 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2

4 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากการสืบค้นบนอินเทอร์เน็ต 2
5 การพัฒนานวัตกรรม 2

6 การก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง และการสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวม 2

ข้อมูล
7 การเก็บรวบรวมข้อมูล 12

8 การวิเคราะห์ข้อมูล 2

9 การเขียนรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ 2
10 รูปแบบการจัดท ารูปเล่มเอกสารรายงานโครงการ 5 บท 4

11 หลักการน าเสนอผลการด าเนินโครงการ 2

12 การประเมินผลโครงการ 2

รวมระยะเวลาในการสอน 18 สัปดาห์ 36

โครงการสอน








วิชา งานเขียนแบบเทคนิคโลหะด้วยคอมพิวเตอร์ 3103 2006









ครูผู้สอน



นางสาวโศรยา ปานด้วง









แผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ




ภาคเรียนที่ 1 / 2562









วิทยาลัยเทคนิคระยอง ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

โครงการสอน

ประเภท วิชาอุตสาหกรรม หมวดวิชา ทักษะวิชาชีพเฉพาะ สาขาวิชา เทคนิคโลหะ

รหัสวิชา 3103 2006 วิชา งานเขียนแบบเทคนิคโลหะด้วยคอมพิวเตอร์


จ านวน 3 หน่วยกิต 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ ผู้สอน นางสาวโศรยา ปานด้วง





จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
1. เข้าใจหลักการอ่านแบบ เขียนแบบภาพประกอบ 2 มิติ 3 มิติ งานเชื่อม งานโครงสร้าง งานท่อ

ถังรับความดัน แบบสั่งงาน และรายการประกอบ
2. ปฏิบัติการเขียนแบบเทคนิคโลหะด้วยคอมพิวเตอร์ตามมาตรฐาน

3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการเรียนรู้และปฏิบัติงานด้วยความ รอบคอบและปลอดภัย


สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการอ่านแบบ เขียนแบบภาพประกอบ 2 มิติ 3 มิติ งานเชื่อม

งานโครงสร้าง งานท่อ ถังรับความดัน แบบสั่งงาน และรายการประกอบ
2. เขียนแบบเทคนิคโลหะด้วยคอมพิวเตอร์ตามมาตรฐาน

3. ประยุกต์ใช้หลักการและกระบวนการในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย


ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการอ่านแบบและเขียนแบบภาพประกอบ 2 มิติ 3 มิติ งานเชื่อม งาน
โครงสร้างงานท่อ และถังรับความดัน แบบสั่งงานรวมทั้งการเขียนรายการประกอบด้วยคอมพิวเตอร์

ตารางผลการวิเคราะห์หน่วยการสอนตลอดภาคเรียน

ประเภทวิชาอุตสาหกรรม หมวดวิชา ทักษะวิชาชีพเฉพาะ สาขาวิชา ช่างเชื่อมโลหะ

รหัสวิชา 3103 2006 วิชา เขียนแบบโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จ านวน 3 หน่วยกิต 5 ชั่วโมง/สัปดาห์

สัปดาห์ ชั่วโมงที่
ที่ หน่วยที่ ชื่อหน่วยการสอน

1 ปฐมนิเทศ 1

1. ค าอธิบายรายวิชา
2. จุดประสงค์การเรียนรู้


1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบหรือเขียนแบบ 2-5

1. นิยามของคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบหรือเขียนแบบ

2. ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการออกแบบ
หรือเขียนแบบ

3. ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบหรือเขียนแบบ
4. ข้อดีของคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบหรือเขียนแบบ



2 2 การติดตั้งโปรแกรม Solidworks 6-10
1. แนะน าโปรแกรม Solidworks

2. สมบัติของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ส าหรับโปรแกรม

Solidworks
3. ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Solidworks



3 3 การใช้โปรแกรม Solidworks ช่วยในการเขียนแบบ 11-15
1. การเปิดโปรแกรม Solidworks มาใช้งาน

2. การใช้กรอบค าถามเริ่มต้นของการสร้างไฟล์แบบงานใหม่

3. ส่วนประกอบหน้าตาของจอภาพโปรแกรม Solidworks
4. การใช้เมนูลัด (Shortcut Menu)

5. การเริ่มต้นเขียนแบบด้วยโปรแกรม Solidworks

สัปดาห์ หน่วยที่ ชื่อหน่วยการสอน ชั่วโมงที่

ที่
4 4 การจัดการไฟล์ 16-20

1. การสร้างไฟล์แบบงานใหม่ (New)

2. การเปิดไฟล์แบบงาน (Open)
3. การบันทึกโดยการตั้งชื่อไฟล์แบบงาน (Save As)

4. การบันทึกทับไฟล์แบบงานเดิม (Save)

5. การปิดไฟล์แบบงาน (Close)
6. การออกจากโปรแกรม Solidworks


5 5 การควบคุมผลการแสดงภาพ 21-25

1. ชุดค าสั่งในการควบคุมผลการแสดงภาพ

2. การมองภาพแบบเข้าใกล้หรือออกห่าง (Zoom)
3. การเลื่อนภาพ (Pan)

4. การหมุนภาพ (Rotate View)
5. การปรับมุมมองมาตรฐาน (Standard View)

6. การปรับพื้นผิวหรือระนาบให้ตั้งฉากกับสายตา (Normal to)

7. การควบคุมการแสดงภาพในลักษณะอื่นๆ


6 6 การเขียนแบบเส้นร่าง 2 มิติ 26-30

1. การใช้สแนป (Snap) และออโตสแนป (Auto Snap)
2. การเขียนแบบเส้นร่าง 2 มิติ



7-8 7 การปรับความสมบูรณ์ของเส้นร่าง 2 มิติ 31-40
1. ความสมบูรณ์ทางเรขาคณิตของเส้นร่าง 2 มิติ

2. การให้ขนาดเส้นร่าง 2 มิติ
3. การปรับความสัมพันธ์ของรูปทรงเรขาคณิต

4. ตัวอย่างการเขียนแบบและปรับความสมบูรณ์ของเส้นร่าง 2

มิติ


9 สอบกลางภาค 41-45

สัปดาห์ หน่วยที่ ชื่อหน่วยการสอน ชั่วโมงที่

ที่
10-13 8 การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ 46-65

1. ชุดค าสั่งในการเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

2. การยืดหน้าตัด (Extrude Boss/Base)
3. การตัดเจาะ (Extrude Cut)

4. การหมุนกวาด (Revolved Boss/Base)

5. การหมุนตัด (Revolved Cut)
6. การดึงลากหน้าตัด (Swept Boss/Base)

7. การตัดเลยการดึงลากหน้าตัด (Swept Cut)
8. การหลอมหน้าตัด (Lofted Boss/Base)

9. การตัดโดยการหลอมหน้าตัด (Lofted Cut)
10. การลบมุมโค้งรัศมี (Fillet)

11. การลบมุมเหลี่ยม (Chamfer)

12. การสร้างแผ่นเสริม (Rib)
13. การเจาะรูมาตรฐาน (Hole Wizard)

14. การสร้างส าเนาชิ้นงาน 3 มิติ ตามแนวเชิงเส้น (Linear

Pattern)
15. การสร้างส าเนาชิ้นงาน 3 มิติ ตามแนวเส้นรอบวงกลม

(Circular Pattern)

16. การสะท้อนชิ้นงาน 3 มิติ (Mirror)
17. การเขียนเกลียวบนชิ้นงาน 3 มิติ (Cosmetic Thread)



14 9 การประกอบชิ้นงาน 3 มิติ 66-70
1. การประกอบชิ้นงาน 3 มิติ

2. ชุดค าสั่งส าหรับการประกอบชิ้นงาน 3 มิติ
3. การให้ความสัมพันธ์ของการประกอบชิ้นงาน 3 มิติ



15 10 การสร้างแบบงาน 71-75
1. การสร้างแบบงาน

2. การสร้างแบบฟอร์มของแบบ

สัปดาห์ หน่วยที่ ชื่อหน่วยการสอน ชั่วโมงที่

ที่
10 3. หมวดการจัดชุดค าสั่งเกี่ยวกับการสร้างแบบงาน

4. การเขียนหมายเลยชิ้นส่วน

5. การการเขียนตารางรายการวัสดุ


16 11 การขนาดและสัญลักษณ์ 76-80

1. การก าหนดรูปแบบ ขนาดของตัวเลขและตัวอักษร
(Document

Properties)
2. การก าหนดขนาดของมิติ (Dimensioning)

3. การระบุค่าพิกัดความเผื่อ (Tolerancing)

4. การระบุความหยาบละเอียดของผิว (Surface Finish)
5. การระบุเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต (Geometric

Dimensioning and Tolerancing : GD&T)


17 12 การพิมพ์แบบ 81-85

1. การปรับตั้งค่ากระดาษ (Page Setup)
2. การดูตัวอย่างแบบก่อนพิมพ์ (Print Preview)

3. การพิมพ์แบบ (Print)


18 สอบปลายภาค 86-90




สื่อการเรียนการสอน



1. หนังสือวิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์. อ านาจ ทองแสน. บริษัทส านักพิมพ์
เอมพันธ์ จ ากัด
2. หนังสือเริ่มต้นอย่างมืออาชีพด้วย AUTO CAD 2000. สัญญา นามี ของบริษัท เอช เอ็น กรุ๊ป จ ากัด

3. สื่อPowerPoint, เครื่องโปรเจ็คเตอร์
4. คอมพิวเตอร์

หนังสืออ้างอิง


1. หนังสือวิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์. อ านาจ ทองแสน. บริษัทส านักพิมพ์

เอมพันธ์ จ ากัด



เกณฑ์การประเมินผล



ประเมินผลแบบอิงเกณฑ์


คะแนน 80 – 100 ระดับผลการเรียน 4.0

คะแนน 75 – 79 ระดับผลการเรียน 3.5

คะแนน 70 – 74 ระดับผลการเรียน 3.0

คะแนน 65 – 74 ระดับผลการเรียน 2.5

คะแนน 60 – 64 ระดับผลการเรียน 2.0

คะแนน 55 – 59 ระดับผลการเรียน 1.5

คะแนน 50 – 54 ระดับผลการเรียน 1.0

คะแนน 0 – 49 ระดับผลการเรียน 0

โครงการสอน





วิชา 3103 0002 วิชา งานเชื่อมโลหะเบื้องต้น










ครูผู้สอน


นางสาวโศรยา ปานด้วง





แผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะและเทคนิคโลหะ


ภาคเรียนที่ 1 / 2562






วิทยาลัยเทคนิคระยอง ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

งานเชื่อมโลหะเบื้องต้น ( 3103 0002 ) 2 หน่วยกิต 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์



จุดประสงค์รายวิชา
1. สามารถปฏิบัติงานเชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์งานเริ่มต้นอาร์ก งานเชื่อมเดินแนว งานต่อ

แนวเชื่อม งานเชื่อมพอก งานเชื่อมรอยต่อชน รอยต่อเกย รอยต่อตัวที ในต าแหน่งท่าราบ

2. สามารถปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส งานปรับเปลวไฟเชื่อม งานสร้างบ่อหลอมเหลว งานเชื่อมเดิน
แนวแบบ Forehand รอยต่อมุม รอยต่อชนในต าแหน่งท่าราบ

3. สามารถปฏิบัติงานตัดแก๊สด้วยมือ และเครื่องตัดอัตโนมัติ

4. มีกิจนิสัยในการท างานที่ดี ปฏิบัติการเชื่อม โดยใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล


สมรรถนะรายวิชา

1. เชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์แผ่นเหล็กกล้า งานเริ่มต้นอาร์ก งานเชื่อมเดินแนว งานต่อแนว

เชื่อมงาน เชื่อมพอก งานเชื่อมรอยต่อชน รอยต่อเกย รอยต่อตัวที ในต าแหน่งท่าราบ ตาม
หลักการและกระบวนการ

2. เชื่อมแก๊สผ่านเหล็กกล้า งานปรับเปลวไฟเชื่อม งานสร้างบ่อหลอมเหลว งานเชื่อมเดินแนว

แบบ Forehand รอยต่อมุม รอยต่อชนต าแหน่งท่าราบตามหลักการและกระบวนการ
3. ตัดแก๊สแผ่นเหล็กกล้า ด้วยมือ และเครื่องตัดอัตโนมัติตามแบบก าหนด



ค าอธิบายรายวิชา

ปฏิบัติงานเชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์เหล็กกล้าคาร์บอนงานเริ่มต้นอาร์ก งานต่อแนวเชื่อมงาน
เชื่อมพอก งานเชื่อมรอยต่อชน รอยต่อเกย รอยต่อตัวที ในต าแหน่งท่าราบ และ งานเชื่อมเดินแนวทุก

ต าแหน่งท่าเชื่อม งานเชื่อมแก๊ส งานปรับเปลวไฟเชื่อม งานสร้างบ่อหลอมเหลว งานเชื่อมเดินแนว รอยต่อ

มุม รอยต่อชนแบบ Forehand ทุกต าแหน่งท่าเชื่อม งานตัดแก๊สโดยใช้อุปกรณ์ถูกต้องตามหลักความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัย

โครงการสอนที่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม

ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

รหัส 3103 0002 วิชา งานเชื่อมโลหะเบื้องต้น



คุณธรรม จริยธรรม

สัปดาห์ หน่วย คาบที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ค่านิยม และ

ที่ ที่ คุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
ปฐมนิเทศ กระบวนการ

เชื่อมโลหะ และความ

ปลอดภัย ในการเชื่อม

1 1 1 - 4 1. ขอบเขตของ 1. บอกขอบเขตของ ความมีวินัย

(4 คาบ) เนื้อหาวิชา เนื้อหาวิชางานเชื่อม ความรับผิดชอบ

งานเชื่อมโลหะ 1 โลหะ 1ได้ ความเชื่อมั่นในตนเอง
2. มาตรฐาน และแนว 2. บอกมาตรฐาน และ ความสนใจใฝ่รู้

ปฏิบัติในการเรียนวิชา แนวปฏิบัติในการเรียน

งานเชื่อมโลหะ 1 วิชางานเชื่อมโลหะ 1ได้
3. แนวทางการวัดผลและ 3. อธิบายวิธีการวัดผลและ

การประเมินผลการ การประเมินผล การ

เรียนรู้ในวิชางานเชื่อม เรียนรู้ ในวิชางาน

โลหะ 1 เชื่อมโลหะ 1 ได้
4. บทบาทของการเชื่อม 4.1 อธิบายบทบาทของงาน

เชื่อมได้

4.2 บอกลักษณะเด่นของ
การเชื่อมได้

5. การจ าแนก 5. สามารถจ าแนกระบวน

กระบวนการ การเชื่อมตามสมาคมการ
เชื่อมแบบต่างๆ เชื่อมของอเมริกาได้

6. ความปลอดภัยทั่วไป 6.1 บอกความหมายของ

ในงานเชื่อม ความปลอดภัย

คุณธรรม จริยธรรม

สัปดาห์ หน่วย คาบที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ค่านิยม และ

ที่ ที่ คุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
1 1 1-4 6.2 บอกสาเหตุของ ความมีวินัย

(4 คาบ) อุบัติเหตุได้ ความรับผิดชอบ

6.3 บอกถึงอันตรายในงาน ความเชื่อมั่นในตนเอง
เชื่อมได้ ความสนใจใฝ่รู้

6.4 บอกวิธีป้องกัน

อันตรายในงานเชื่อมได้
กระบวนการเชื่อมแก๊ส

อ๊อกซี่-อะเซทิลีน

1 2 5 - 12 1. หลักการเชื่อมแก๊ส 1. อธิบายหลักการเชื่อม ความมีวินัย

(8 คาบ) แก๊สได้ ความรับผิดชอบ

2. กระบวนการเชื่อม 2.1 อธิบายกระบวนการ ความเชื่อมั่นในตนเอง
แก๊สออกซี่ – เชื่อมแก๊สออกซี่ – ความสนใจใฝ่รู้

อะเซทิลีน อะเซทิลีนได้

2.2 บอกคุณสมบัติของ
ออกซิเจนได้

2.3 บอกคุณสมบัติของ

อะเซทิลีนได้
3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการ 3.1 บอกชื่อและวิธีใช้

เชื่อมแก๊ส เครื่องมืออุปกรณ์

ในงานเชื่อมแก๊สได้
3.2 สามารถเลือกใช้

เครื่องมือและอุปกรณ์ได้

อย่างถูกต้อง

4. ลวดเชื่อมแก๊ส 4.1 บอกความหมายของ
สัญลักษณ์ลวดเชื่อม

ตามมาตรฐาน AWSได้

4.2 สามารถเลือกใช้ลวด
เชื่อมแก๊สได้เหมาะสม

คุณธรรม จริยธรรม

สัปดาห์ หน่วย คาบที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ค่านิยม และ

ที่ ที่ คุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
1 2 5 – 12 5. ชุดเชื่อมแก๊ส 5. บอกส่วนประกอบของ ความมีวินัย

(8 คาบ) ชุดเชื่อมแก๊สได้ ความรับผิดชอบ

6. ระบบจ่ายแก๊สรวม 6. อธิบายระบบจ่ายแก๊ส ความเชื่อมั่นในตนเอง
รวมได้ ความสนใจใฝ่รู้

7. เปลวไฟที่ใช้ในการ 7.1 บอกชนิดแลคุณสมบัติ

เชื่อมแก๊ส ของเปลวไฟ ในงานเชื่อม
แก๊สได้

7.2 สามารถปรับเปลวไฟใน

งานเชื่อมแก๊สได้อย่าง

ถูกต้อง

8. เทคนิคการเชื่อมแก๊ส 8. สามารถน าเทคนิคการ
ควบคุมหัวเชื่อมและลวด

เชื่อมไปใช้ในการ

ปฏิบัติงานได้
9. ข้อบกพร่องในงาน 9.1 บอกสาเหตุข้อบกพร่อง

เชื่อมแก๊ส ข้อบกพร่องในงานเชื่อมแก๊สได้

9.2 สามารถแก้ไขข้อบกพร่อง
ในงานเชื่อมแก๊สได้

10. ความปลอดภัยใน 10.1 บอกสาเหตุและวิธีป้องกัน

งานเชื่อมแก๊ส อันตรายในงานเชื่อมได้

กระบวนการเชื่อมแก๊ส 10.2 เลือกใช้อุปกรณ์ความ

อ๊อกซี่-อะเซทิลีน ปลอดภัยส่วนบุคคลได้ครบถ้วน
11. ขั้นตอนวิธีการเชื่อม 11. บอกขั้นตอนวิธีการ ความมีวินัย

แก๊สต่อตัวทีท่าราบ เชื่อมแก๊สต่อตัวทีท่าราบได้ ความรับผิดชอบ

2 2 13 – 24 12. งานเชื่อมแก๊สต่อ 12. ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส ความเชื่อมั่นในตนเอง
(12 คาบ) ตัวทีท่าราบ (1F) ต่อตัวทีท่าราบได้ ความสนใจใฝ่รู้

คุณธรรม จริยธรรม

สัปดาห์ หน่วย คาบที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ค่านิยม และ

ที่ ที่ คุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
กระบวนการเชื่อมแก๊ส

อ๊อกซี่-อะเซทิลีน

3 2 25-36 13. ขั้นตอนวิธีการเชื่อม 13. บอกขั้นตอนวิธีการ ความมีวินัย
(12 คาบ) แก๊สต่อตัวทีท่าขนาน เชื่อมแก๊สต่อตัวที ความรับผิดชอบ

นอน ท่าขนานนอนได้ ความเชื่อมั่นในตนเอง

14. งานเชื่อมแก๊ส ต่อตัว 14. ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส ความสนใจใฝ่รู้

ทีท่าขนานนอน (2F) ต่อตัวทีท่าขนานนอนได้
กระบวนการเชื่อมแก๊ส

อ๊อกซี่-อะเซทิลีน

4 2 37 – 48 15. ขั้นตอนวิธีการเชื่อม 15. บอกขั้นตอนวิธีการ ความมีมนุษยสัมพันธ์

(12 คาบ) แก๊สเชื่อมหน้าแปลน เชื่อมแก๊สเชื่อมหน้าแปลนได้ ความมีวินัย
3F 16. ปฏิบัติงานเชื่อมแก๊ส ความรับผิดชอบ

16. งานเชื่อมแก๊สเชื่อม เชื่อมหน้าแปลน 3F ได้ ความเชื่อมั่นในตนเอง

หน้าแปลน 3F ความสนใจใฝ่รู้
ความรักสามัคคี


การตัดโลหะด้วยแก๊ส 1. อธิบายหลักการตัดโลหะ

5 3 49 – 52 1. หลักการตัดโลหะด้วย ด้วยแก๊สได้ ความมีวินัย

(4 คาบ) แก๊ส 2. อธิบายอุปกรณ์ที่ใช้ใน ความรับผิดชอบ
การตัดโลหะด้วยแก๊สได้
ความเชื่อมั่นในตนเอง
2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการตัด
โลหะด้วยแก๊ส 3.1 บอกวิธีการจุดเปลวไฟ ความสนใจใฝ่รู้
หัวตัดแก๊สได้
3. การจุดเปลวไฟหัวตัด
แก๊ส 3.2 สามารถจุดเปลวไฟได้

อย่างถูกวิธี


4.1 ก าหนดมุมหัวตัดและ

4. เทคนิคการตัดโลหะ ระยะห่างระหว่างกรวย
ไฟกับผิวงานตัดได้4.2 บอก
ด้วยแก๊ส
ล าดับขั้นตอนการตัดได้

คุณธรรม จริยธรรม

สัปดาห์ หน่วย ชั่วโมงที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ค่านิยม และ

ที่ ที่ คุณลักษณะอันพึง

ประสงค์

การตัดโลหะด้วยแก๊ส 4.3 ก าหนดความสัมพันธ์ ความมีวินัย

5 3 49 – 52 ของความเร็วตัดกับความ ความรับผิดชอบ

(4 คาบ) หนาของชิ้นงานได้ ความเชื่อมั่นในตนเอง
4.4 เลือกใช้อุปกรณ์ช่วยตัด ความสนใจใฝ่รู้

ได้อย่างเหมาะสม

4.5 สามารถเทคนิคการตัด
อย่างเหมาะสม

5.1 บอกสาเหตุและ

5. การวิเคราะห์คุณภาพ วิธีแก้ไขข้อบกพร่องของ

รอยตัด การตัดได้

5.2 สามารถแก้ไข
ข้อบกพร่องในการตัดได้

6. บอกข้อดีและข้อเสียของ
การตัดโลหะด้วยแก๊สได้
6. ข้อดีและข้อเสียของ
การตัดโลหะด้วยแก๊ส 7.1 บอกข้อควรระวังใน

7. ความปลอดภัยในการ การตัดโลหะด้วยแก๊สได้

ตัดโลหะด้วยแก๊ส 7.2 เลือกใช้อุปกรณ์ความ

ปลอดภัยส่วนบุคคลได้
ครบถ้วน

5 3 53 – 60 8. ล าดับขั้นการตัดแก๊ส 8. บอกล าดับขั้นการตัด ความมีมนุษยสัมพันธ์

(8 คาบ) เหล็กเหนียวบาง แก๊สเหล็กเหนียวบางได้ ความมีวินัย
9. งานตัดแก๊สเหล็ก 9.1 เตรียมการตัดแก๊สเหล็ก ความรับผิดชอบ

เหนียวบาง เหนียวบางได้ถูกต้อง ความเชื่อมั่นในตนเอง

9.2 ปฏิบัติการตัดแก๊สเหล็ก ความสนใจใฝ่รู้

เหนียวบางได้ ความรักสามัคคี
6 3 61 - 68 10. ล าดับขั้นการตัดแก๊ส 10. บอกล าดับขั้นการตัด ความมีมนุษยสัมพันธ์

(8 คาบ) ท่อเหล็กเหนียว แก๊สเหล็กเหนียวบางได้ ความมีวินัย

คุณธรรม จริยธรรม

สัปดาห์ หน่วย ชั่วโมงที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ค่านิยม และ

ที่ ที่ คุณลักษณะอันพึง

ประสงค์



6 3 61 – 68 11. งานตัดแก๊สท่อเหล็ก 11. เตรียมการตัดแก๊สเหล็ก ความเชื่อมั่นในตนเอง

(8 คาบ) 11.2 ปฏิบัติการตัดแก๊สเหล็ก ความสนใจใฝ่รู้
เหนียวบางได้ ความรักสามัคคี

1. การเชื่อมไฟฟ้าด้วย 1. อธิบายหลักการของ

ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ การเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวด
6 4 69 – 72 เชื่อมหุ้มฟลักซ์ได้ ความมีวินัย

(4 คาบ) 2. เครื่องเชื่อมและ 2.1 บอกชนิดของเครื่อง ความรับผิดชอบ

อุปกรณ์การเชื่อมไฟฟ้า เชื่อมไฟฟ้าและอุปกรณ์ ความเชื่อมั่นในตนเอง
การเชื่อมได้ ความสนใจใฝ่รู้

2.2 สามารถเลือกใช้เครื่อง

เขียนและอุปกรณ์การ
เชื่อมได้อย่างเหมาะสม

3. ความปลอดภัยในงาน 3.1 บอกถึงอันตรายที่อาจ

เชื่อมไฟฟ้า เกิดขึ้นในงานเชื่อมไฟฟ้า

และวิธีป้องกันได้
3.2 เลือกใช้อุปกรณ์ความ

ปลอดภัยส่วนบุคคลได้

ครบถ้วน

7 4 73-84 4. ขั้นตอนวิธีการเชื่อม 4. บอกขั้นตอนวิธีการเชื่อม ความมีวินัย
(12 คาบ) ไฟฟ้าต่อตัวทีท่าราบ ไฟฟ้าต่อตัวทีท่าราบได้ ความรับผิดชอบ

5. งานเชื่อมไฟฟ้าต่อตัว 5. ปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้าต่อ ความเชื่อมั่นในตนเอง

ที่ท่าราบ 1F ตัวทีท่าราบได้ ความสนใจใฝ่รู้
ลวดเชื่อมไฟฟ้ า ความมีวินัย

8 5 85 -88 1. ชนิดของลวดเชื่อม ไฟฟ้า 1. บอกชนิดของลวด เชื่อมไฟฟ้าได้ ความรับผิดชอบ

(4 คาบ) 2 . ลวดเชื่อมไฟฟ้า 2.1 อธิบายส่วนประกอบของลวด ความเชื่อมั่นในตนเอง

หุ้มฟลักซ์ เชื่อมไฟฟ้าหุ้มฟลักซ์ได้ ความสนใจใฝ่รู้


Click to View FlipBook Version