คมู่ อื อาจารยท์ ป่ี รึกษา
มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนา
หนว่ ยงาน วทิ ยาลยั ศาสนศาสตร์ล้านนา
ปกี ารศึกษา 2565
โทรศัพท์ : 053-270975-6 ต่อ 15
โทรสาร : 053-814752
www.lanna.mbu.ac.th
Advisor's Manual for Students MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY; LANNA CAMPUS
ข
คำนำ
คู่มืออาจารย์ที่ปรึกษาเล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการปกครอง ดูแลนักศึกษา ให้ความ
ช่วยเหลือ พัฒนานักศึกษา ให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรมอันพึงประสงค์ และมี
ความพร้อมในด้านวิชาความรู้ และความประพฤติที่ดีงาม ดังนั้นอาจารย์ที่ปรึกษาจึงเป็นพลังสำคัญของ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ในการพัฒนาลูกศิษย์ให้มีบุคลิกภาพตาม ศาสน
สุภาษิตประจำมหาวิทยาลัยที่ว่า วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏฺโฐ เทวมานุเส “ผู้สมบูรณ์ด้วยความร้แู ละ
ความประพฤติ เป็นผู้ประเสริฐในเทพและมนุษย์” อีกทั้งพัฒนานักศึกษาตามหลักปรัชญามหาวิทยาลัย
ท่ีว่า ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวทางพระพทุ ธศาสนา
บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่จะทำให้พันธกิจการผลิตและพัฒนาบัณฑิต ประสบ
ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ วิทยาลัยศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา
เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดให้มีคณะกรรมการที่ปรึกษา การเพื่อพัฒนาอาจารย์ที่ปรึกษาที่ดี
พรอ้ มทัง้ พัฒนาคู่มืออาจารย์ที่ปรึกษาข้นึ เพือ่ เป็นแนวทางในการดำเนินงานแก่อาจารย์ทป่ี รึกษา สามารถ
นำไปเป็นข้อมูลในการให้คำแนะนำ ปรึกษาแก่นักศึกษา ซึ่งอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นบุคคลที่มีความสำคัญใน
ระบบอาจารยท์ ี่ปรึกษาที่ใกล้ชิดและสามารถชว่ ยเหลือแก้ไขปญั หานักศึกษา ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่สนับสนนุ
การนำไปสู่ความสำเร็จในการผลิตบณั ฑติ ทีพ่ งึ ประสงค์ได้
หวังว่าคู่มืออาจารย์ที่ปรึกษาเล่มน้ีจะเอื้อประโยชน์ให้แก่อาจารย์ที่ปรึกษาและส่งเสริมการ
พัฒนาการดำเนินงานระบบอาจารย์ที่ปรึกษาให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และที่สำคัญสามารถช่วยเหลือ
นักศกึ ษาของมหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ท่ตี อ้ งการปรึกษา และผา่ นปัญหาไปได้
ดว้ ยดี นักศกึ ษาสำเรจ็ การศึกษาตามเวลาทกี่ ำหนด และเปน็ บัณฑิตทม่ี ีคุณภาพสืบไป
พระครสู นุ ทรมหาเจตยิ านุรักษ,์ ผศ.ดร.
รองอธิการบดี
ปกี ารศกึ ษา 2565
(ฉบบั แก้ไขและเรยี บเรยี งโดย ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั ศาสนศาสตรล์ ้านนา)
ค
อาจารย์ทปี่ รึกษามบี ทบาทสำคญั ในการพัฒนา
บุคลิกภาพและสร้างความอบอนุ่ ให้แก่นกั ศกึ ษาทำให้
นกั ศกึ ษาเกดิ ความรัก ความผกู พันตอ่ อาจารย์และ
สถาบันอุดมศกึ ษา (สำเนาว์ ขจรศิลป์, 2533.)
พระครูสุนทรมหาเจตยิ านุรักษ,์ ผศ.ดร.
รองอธิการบดี
15 มิถุนายน 2565
ง หนา้
ข
สารบญั ง
1
เรอ่ื ง 2
คำนำ 4
สารบญั 4
ประวัติความเป็นมา มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั 6
ประวัตคิ วามเป็นมา มมร.วทิ ยาเขตลา้ นนา 7
ปรัชญา ปณธิ าน วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ 7
วัตถปุ ระสงค์ นโยบาย วทิ ยาเขตลา้ นนา 12
ตราสญั ลกั ษณ์ มมร 13
ต้นไม้ สปี ระจำมหาวทิ ยาลยั /วถิ แี หง่ การพัฒนา/โครงสร้างบรหิ าร/ค่านยิ มร่วม 13
ระบบอาจารย์ทป่ี รกึ ษา 13
คณุ ลกั ษณะของอาจารยท์ ่ีปรึกษาท่ีดี 13
จรรยาบรรณของอาจารย์ท่ีปรึกษา 14
ระบบงานอาจารยท์ ป่ี รึกษา 14
หนา้ ทีข่ องผบู้ รหิ าร 15
หน้าท่ขี องคณะกรรมการอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา 15
หน้าที่ของอาจารย์ทปี่ รกึ ษาด้านวชิ าการ 15
หน้าทข่ี องอาจารย์ที่ปรกึ ษาด้านบรกิ ารและพัฒนานักศกึ ษา 16
หนา้ ทข่ี องอาจารย์ท่ปี รึกษาด้านอ่ืนๆ 16
หน้าทข่ี องนกั ศึกษาต่ออาจารย์ท่ปี รกึ ษา 18
ขอ้ ปฏบิ ตั ิของผ้บู รหิ าร 18
ข้อปฏิบัติของคณะกรรมการอาจารยท์ ่ปี รึกษา 18
ข้อปฏิบัติของอาจารยท์ ป่ี รึกษา 19
การจัดนักศึกษาและการแตง่ ตง้ั อาจารย์ท่ปี รึกษา 21
การประเมนิ ผลระบบอาจารย์ท่ีปรึกษา 21
เคร่อื งมอื สำหรับอาจารย์ทป่ี รึกษา 22
เทคนคิ ในการให้คำปรกึ ษา 24
การสร้างระบบอาจารยท์ ปี่ รึกษาทีเ่ ป็นรปู ธรรม 25
แผนงานของระบบอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา
ขอบเขตงานของอาจารย์ท่ปี รึกษา
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก เครอ่ื งมอื สำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
จ 36
121
ภาคผนวก ข ระเบยี บ ข้อบงั คับ ประกาศ มหาวทิ ยาลัยฯ 127
ภาคผนวก ค คำแนะนำขนั้ ตอนการขน้ึ ทะเบยี น การลงทะเบียน 139
ภาคผนวก ง บทบาทหนา้ ที่ของอาจารยท์ ี่ปรึกษา
ภาคผนวก จ คำสัง่ แตง่ ตงั้
1
ประวตั ิความเป็นมา มหาวทิ ยาลยั มหามกุฎราชวิทยาลยั
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ซึ่งเป็นพระน้องยาเธอในพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีพระดำริจัดตั้ง "มหามกุฏราชวิทยาลัย" เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอม
เกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นภายใน วัดบวรนิเวศวหิ าร โดยวิธีจัดการศึกษาแบบสมัยใหม่ มีลักษณะแตกต่างจากการเล่าเรียน
ภาษาบาลีตามประเพณีแบบเดิม ในขณะเดียวกัน ก็นำเอาวิธวี ัดผลแบบข้อเขียนมาใช้เป็นแห่งแรกของประเทศไทย
ดว้ ย
หลังจากที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
ได้ทรงก่อต้ังสถาบันการศึกษานีข้ ึ้นแลว้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หวั ก็ทรงมีพระราชดำรัสให้พระองคท์ รงช่วยปรับปรุงโรงเรียนสอน
ภาษาบาลี ชอื่ "มหาธาตุวิทยาลัย" ภายในวัดมหาธาตุ ข้ึนเปน็ "มหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย" เพื่อจัดการให้คณะสงฆ์ ฝ่ายมหานิกายได้มี
สถาบันการศึกษาชั้นสูงในลักษณะเดียวกัน ควบคู่ไปกับมหามกุฏราช
วิทยาลยั ซ่งึ สมยั นน้ั เปน็ สถาบนั การศกึ ษาชน้ั สูง และส่วนมากยังจำกัดอยู่
แต่ คณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุต ต่อมา ทั้ง มหามกุฏราชวิทยาลัยและ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้ปิดตายลงเพราะประสบ ปัญหาหลาย
ประการดว้ ยกัน นับเป็นเวลาหลายสบิ ปี
จนกระทั่ง ท่านอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพได้พยายามรื้อฟ้ืน
ขึ้นมาใหม่ จนประสบผลสำเรจ็ เมอ่ื สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิ
รญาณวงศ์และคณะสงฆ์วัดบวรนิเวศวิหาร ได้ให้การอุปถัมภ์ โดยได้ทำ
การประกาศรื้อฟื้นขึ้นมาใหม่เมื่อ พ.ศ. 2488 ตามมาด้วย มหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย ซึ่งประกาศรื้อฟื้นกิจการในปี พ.ศ. 2490 อาจารย์สุชีพ
ได้แถลง ว่า สาเหตุที่ต้องมีมหาวิทยาลัยสงฆ์ก็เพราะคณะสงฆ์จำเป็นต้อง
ผลิตบุคคลากรที่รู้ทันวิชาการสมัยใหม่ มิฉะนั้น คณะสงฆ์จะไม่สามารถสงั่
สอนแนะนำชาวบ้านได้ และการสื่อสารกันก็จะเกิดความไม่เข้าใจ เพราะ
ชาวบ้านศึกษาด้านคดีโลก ส่วนพระสงฆ์ศึกษาด้านคดีธรรม ท่านจึงต่อสู้
เพื่อให้ได้มหาวิทยาลัยสงฆ์มาอย่างต่อเนื่อง จนในที่สุด มหามกุฏราช
วิทยาลัย และ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยก็ได้รับการรื้อฟื้นมาอีกครั้ง
หนึ่ง อันเป็นผลพวงมาจากการทุ่มเทและความมุ่งมั่นอย่างไม่หยุดยั้งของ
ท่านฯ อย่างแท้จริง เหตุผลนี้ ทำให้คนรุ่นหลงั กล่าวยกย่อง "อาจารย์สุชีพ
ปุญญานภุ าพ" วา่ เป็น บิดาแห่งมหาวิทยาลัยสงฆไ์ ทย
2
เพื่อรำลึกถึงคุณูปการของท่านและสืบสานเจตนารมณ์ของท่าน คณะศิษยานุศิษย์ได้ร่วมกันก่อต้ั งมูลนิธิ
ปุญญานุภาพ ขึ้นโดยความเห็นชอบของท่านเพื่อให้ทุนสนับสนุนนักศึกษาหรือครูอาจารย์ผู้ค้นคว้าวิจัยทาง
พระพุทธศาสนา ณ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย และดำเนนิ กจิ การตอ่ เน่ืองจนถึงปจั จบุ นั มหาวิทยาลัยมหา
มกฎุ ราชวทิ ยาลยั ได้ขยายวิทยาเขตการศึกษา ออกเป็น 7 วิทยาเขต ดังน้ี
1. วทิ ยาเขตมหาวชริ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วดั ชูจิตธรรมาราม จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (พ.ศ.2516)
2. วทิ ยาเขตสิรนิ ธรราชวทิ ยาลัย อ้อมน้อย จงั หวัดนครปฐม (พ.ศ.2533)
3. วิทยาเขตอสี าน จังหวัดขอนแกน่ (พ.ศ.2533)
4. วิทยาเขตล้านนา จังหวดั เชียงใหม่ (พ.ศ.2534)
5. วทิ ยาเขตศรธี รรมาโศกราช จงั หวดั นครศรธี รรมราช (พ.ศ.2535)
6. วทิ ยาเขตร้อยเอด็ จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด(พ.ศ.2537)
7. วทิ ยาเขตศรลี ้านช้าง จงั หวัดเลย (พ.ศ.2538)
ประวตั ิ มหาวทิ ยาลยั มหามกฎุ ราชวิทยาลยั วิทยาเขตลา้ นนา
วิทยาเขตล้านนาเกิดขึ้นจากแนวความคิดและความ
พยายามของ นายอุทัย บุญเย็น ป.ธ.8 , พ.ม., ศน.บ., M.A.
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย รุ่นที่ 23 ที่
ตอ้ งการสนองคุณสถาบันโดยการขยายเครอื ข่ายไปยงั ภมู ิภาค
นายอุทัย บุญเย็น ได้เสนอแนวความคิดที่จะจัดต้ัง
วิทยาเขตขึ้นที่วัดล้านนาญาณสังวราราม ต่อพระเดชพระคุณ
พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) เมื่อครั้งยังดำรง
สมณศักดิ์เป็น พระเทพกวี (จันทร์ กุสโล) เจ้าคณะจังหวัด
เชียงใหม่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน (ธ) ระหว่างมีการสัมมนา
ผู้บริหารการประถมศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ณ วัดล้านนา
ญาณสังวราราม ตำบลข่วงเปา อำเภอจอมทอง จังหวัด
เชยี งใหม่ ชว่ งพรรษาปี พ.ศ. 2533
พระเดชพระคุณพระพุทธพจนวราภรณ์ (จนั ทร์ กสุ โล) ได้แนะนำใหไ้ ปขอคำปรึกษา จากศาสตราจารย์
เกยี รติคณุ แสง จันทร์งาม ป.ธ.6, ศน.บ. , A.I.E. , M.A. ศษิ ย์เกา่ มมร. รนุ่ ที่ 1 ซึง่ ก็ได้รับความรว่ มมอื อยา่ งดีย่งิ
ต่อมาพระเดชพระคุณ พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) ศาสตราจารย์เกียรติคุณแสง จนั ทร์งาม และ
นายอุทัย บญุ เย็น ได้เขา้ พบพระเดชพระคุณ พระธรรมดิลก (ขนั ติ์ ขนตฺ ิโก) เจา้ อาวาสวัดเจดยี ์หลวงรองเจ้าคณะภาค
4-5-6-7 (ธ) เพ่ือแจ้งจุดประสงค์ที่จะเปิดวทิ ยาเขต โดยขอเปลย่ี นสถานท่จี ากวัดล้านนาญาณสังวราราม มาเปน็ วดั
3
เจดีย์หลวงวรวหิ ารแทน พระเดชพระคุณพระ พระธรรมดิลก (ขนั ติ์ ขนตฺ โิ ก) ยินดแี ละอนุญาตให้ใช้วัดเจดีย์หลวง
วรวิหาร เป็นสถานที่ต้งั โดยมอบหอสมดุ แหวน สุจิณโฺ ณ เปน็ สำนกั งานวิทยาเขต และมอบอาคารสามัคควี ทิ ยาทาน
เป็นอาคารเรยี น
เมื่อได้สถานที่ตั้งวิทยาเขตแล้ว นายอุทัย บุญเย็น ได้รวบรวมเพื่อนรวมอุดมการณ์ ระยะแรกได้ 4 คนคือ
นายกมล บุตรชารี นายบัณฑิต รอดเทียน นายเมินรัตน์ นวะบุศย์และนางสาววาสนา วงศ์ยิ้มย่อง สถานที่วางแผน
ทำโครงการขอจดั ต้ัง คือสำนักงานเลขานกุ ารในสมเด็จพระญาณสังวร สมเดจ็ พระสังฆราช วดั บวรนิเวศวหิ าร ผู้ที่ให้
ความสะดวก ติดต่อประสานงานกับผูใ้ หญ่ใน มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลยั และบริการวัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกบั
การดำเนินการทุกเรื่อง คือ พระมหาสุวิทย์ ปิยวิชฺโช ป.ธ.9 , ศน.บ. , M.A. ผู้ช่วยเลขานุการ ในสมเด็จพระญาณ
สังวร สมเด็จพระสังฆราช ปัจจุบันคือท่าน เจ้าคุณพระศรีญาณโสภณ (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช) วัดพระราม 9
กรุงเทพมหานคร ต่อมาท่านเจ้าคุณยังเป็นภาระ ขอทุนสมเด็จพระสังฆราช มาช่วยสร้างอาคารสามัคคีวิทยาทาน
ในวดั เจดยี ห์ ลวงอกี ด้วย
ขณะรอการอนุมัติจัดตงั้ วิทยาเขต คณะผู้
ทำงานได้ปรารภ ถงึ โรงเรยี นสามคั คี
วทิ ยาทาน ซง่ึ เปน็ โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนก
สามัญศกึ ษา ของวดั เจดียห์ ลวง พระธรรม ดลิ ก
(ขันติ์ ขนตฺ โิ ก) เมอื่ ครั้งดำรงสมณศักดิเ์ ปน็
พระเทพสารเวที ไดจ้ ัดตง้ั ขึ้นเม่อื วนั ท่ี 24
พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 เปิดสอนระดับ
ประถมศึกษาตอนปลาย ถึงมัธยมศึกษา
ตอนต้น และเลิกกิจการไปเม่ือ พ.ศ. 2527
คณะผู้ทำงานโดยพระพุทธพจนวรา ภ ร ณ์
(จันทร์ กุสโล) และนายอุทัย บุญเย็น ได้ขออนุญาตเปิดโรงเรียนสามัคคีวิทยาทานอีกครั้งโดยขอ เปิดระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนต้น ถึงระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เพ่ือเป็นโรงเรียนสาธติ วทิ ยาเขตล้านนา ในปกี ารศึกษา 2534
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ได้มีคำสั่งที่ 13/2534 ตั้งวิทยาเขตล้านนาขึ้นที่วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร
เมอื่ วนั ที่ 15 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2534
คณะผู้ทำงานประจำวทิ ยาเขตล้านนาระยะเริม่ ก่อต้ัง
1. นายอทุ ัย บญุ เยน็ รกั ษาการหวั หน้าสำนกั งานวิทยาเขต
2. นายกมล บุตรชารี รับผดิ ชอบงานดา้ นการจดั การศกึ ษา
3. นายเมินรัตน์ นวะบุศย์ รับผดิ ชอบงานนโยบายและแผน
4. นางสาววาสนา วงศ์ย้ิมย่อง รบั ผดิ ชอบงานทะเบยี นและพัสดุ
5. นางสาวนิภาวรรณ ยาวิคำ 4
รับผดิ ชอบงานธรุ การ
พุทธศาสนสุภาษติ ประจำมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
วชิ ชฺ าจรณสมฺปนโฺ น โส เสฏโฺ ฐ เทวมานุเส
“ผูส้ มบูรณ์ด้วยความรแู้ ละความประพฤติ เป็นผปู้ ระเสรฐิ ในเทพและมนษุ ย์”
ปรัชญามหาวทิ ยาลัย (Philosophy)
ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการตามแนวพระพทุ ธศาสนา
(Academic Excellence based on Buddhism)
ปณธิ าน (Aspiration)
ผลติ บณั ฑติ ให้มคี วามร้คู ู่คุณธรรม มุ่งนำให้มกี ารเรียนรู้ความอัธยาศยั และการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ผลิตคนดีสู่
สังคมตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา พฒั นากระบวนการดำรงชีวติ ดว้ ยหลกั พทุ ธธรรม
วสิ ัยทศั น์ (Vision Statements)
๑. เป็นสถาบันการศึกษาที่มุ่งพัฒนาบณั ฑิตให้มีความเป็นเลิศทางวชิ าการตามแนวพระพุทธศาสนา
๒. เปน็ สถาบนั การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ผลติ บณั ฑติ ให้เป็นคนดีของสังคม
๓. เป็นแหล่งรวมความรู้ วชิ าการด้านพระพทุ ธศาสนา มผี ูเ้ ชย่ี วชาญทสี่ ามารถชี้นำสงั คมและยตุ ิความ
ขัดแย้งดา้ นวชิ าการพระพุทธศาสนาในสงั คม
พันธกจิ (Mission Statements)
๑. ผลติ บณั ฑิตทางพระพุทธศาสนา ให้มคี ณุ สมบัติตามปรัชญาของมหาวทิ ยาลยั
๒. ให้บริการวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาแก่ ชุมชนในท้องถ่ินทุกระดับ
๓. วิจยั วิชาการดา้ นพระพุทธศาสนา เพอ่ื พัฒนาองค์ความรู้แก่ชุมชนในท้องถนิ่ อย่างหลากหลาย
๔. อนุรกั ษแ์ ละสบื สานศลิ ปวัฒนธรรมของท้องถ่นิ เพื่อสร้างภูมคิ มุ้ กนั วฒั นธรรมทไี่ มเ่ หมาะสม
วัตถปุ ระสงคห์ ลัก (Objectives)
๑. ผลิตบณั ฑิต ใหม้ ีคุณภาพท้งั ด้านความรแู้ ละความประพฤติ
๒. พฒั นาสงั คมใหเ้ ป็นสงั คมที่มีภูมิค้มุ กนั และมีคณุ ภาพ
๓. พฒั นาสังคมใหเ้ ป็นสงั คมแห่งภูมปิ ญั ญาและสังคมแหง่ การเรียนรู้
๔. พัฒนาสังคมให้เป็นสงั คมสมานฉนั ท์และเอื้ออาทรต่อกัน
5
๕. พัฒนาระบบการบรหิ ารองค์กรใหเ้ ป็นองค์กรที่มีมาตรฐานระดบั ท้องถน่ิ และระดบั ชาติ
นโยบาย (Policies)
วทิ ยาเขตลา้ นนามนี โยบายดำเนนิ งานให้สอดคลอ้ งกับวสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกจิ ดังน้ี
๑. ผลติ บัณฑิตทางวิชาการพระพุทธศาสนา ที่มคี ุณภาพและมีมาตรฐาน ทั้งด้านความรู้ ความประพฤติ
๒. บริการวชิ าการพระพุทธศาสนาแกช่ ุมชนใหค้ รอบคลมุ ท้องถิน่ ภาคเหนอื
๓. ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติให้เข้มแข็ง เพื่อดำรงความเป็นไทย ตามวิถีประเพณี
และวฒั นธรรมทางพระพุทธศาสนา
๔. แสวงหาองค์ความรู้ใหม่ ๆ เพอ่ื นำมาใช้พฒั นาวชิ าการดา้ นพระพทุ ธศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
๕. บริหารจัดการวิทยาเขตให้ทันสมัย โปร่งใส และเป็นธรรม จัดสวัสดิการให้เอื้อต่อการดำรงชีวิตเพื่อเป็น
ขวญั และกำลังใจแก่ บุคลากรในวทิ ยาเขตล้านนา
๖. ขยายหอ้ งเรยี นและพนื้ ท่บี รกิ ารการศึกษาเพ่ือรองรบั ความต้องการของประชาชนในท้องถ่นิ อยา่ งทว่ั ถึง
๗. จดั การศึกษาใหม้ คี วามทนั สมัยเพือ่ ใหท้ นั กับการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21
2. บริการวิชาการ 1. ผลติ บัณฑิตทาง 3. ทานบุ ารุง
พระพุทธศาสนาแก่ วิชาการ ศิลปวัฒนธรรมของ
ชมุ ชนใหค้ รอบคลมุ ทอ้ งถนิ่ และของชาติให้
ท้องถ่ินภาคเหนือ พระพุทธศาสนา ทีม่ ี เขม้ แข็ง เพ่อื ดารงความ
คุณภาพและมี เปน็ ไทย ตามวถิ ี
มาตรฐาน ท้ังดา้ น
ประเพณี และ
ความรู้ ความประพฤติ วฒั นธรรมทาง
พระพุทธศาสนา
7. จดั การศกึ ษาใหม้ ี สอดคลอ้ งกบั วสิ ยั ทัศน์ 4. แสวงหาองคค์ วามรู้
ความทันสมยั เพื่อใหท้ นั และพนั ธกจิ ใหม่ ๆ เพือ่ นามาใช้
กับการเปลย่ี นแปลงใน พฒั นาวิชาการดา้ น
พระพทุ ธศาสนา ศิลปะ
ศตวรรษท่ี 21
และวฒั นธรรม
6. ขยายหอ้ งเรยี นและ 5. บรหิ ารจดั การวิทยา
พ้นื ท่บี รกิ ารการศกึ ษา เขตใหท้ ันสมยั โปรง่ ใส
เพือ่ รองรบั ความ และเปน็ ธรรม จัด
ต้องการของประชาชน สวสั ดกิ ารใหเ้ อื้อตอ่ การ
ในท้องถิ่นอย่างท่วั ถึง ดารงชวี ิตเพ่ือเปน็ ขวญั
และกาลงั ใจแก่
บุคลากรในวทิ ยาเขต
ล้านนา
6
ตราสัญลกั ษณ์
มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั
พระมหามงกุฏ : หมายถึง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 พระผู้
ทรงเปน็ ท่มี าแห่งนาม
“มหามกุฏราชวทิ ยาลัย”
พระเกี้ยวประดษิ ฐานแบบหมอนรอง : หมายถงึ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัวรชั กาลที่ 5
ซึ่งทรงเป็นผู้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จดั ต้ังมหามกฏุ ราชวิทยาลยั และพระราชทานทรพั ย์บำรงุ ปลี ะ 60
ชัง่
หนังสือ : หมายถึง คัมภีร์และตำราทางพระพุทธศาสนา โดยที่มหามกุฏราชวิทยาลัยจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็น
แหล่งผลิตคัมภรี ์และตำราทางพระพุทธศาสนา สำหรบั ส่งเสรมิ การศกึ ษาและเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา
ปากกาปากไก่ ดินสอ และม้วนกระดาษ : หมายถึง อุปกรณ์ในการศึกษาเล่าเรียน ตลอดถึงอุปกรณ์
ในการผลิตคัมภีร์และตำราทางพระพุทธศาสนา เพราะมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทำหน้าที่เป็นทั้ง
สถานศึกษาและแหลง่ ผลติ ตำราทางพระพทุ ธศาสนา
ช่อดอกไม้แย้มกลีบ ในทางการศึกษา : หมายถึง ความเบ่งบานแห่งสติปัญญาและวิทยาความรู้ แต่
ในทางพระศาสนาหมายถึง กิตติศัพท์ กิตติคุณ ที่ฟุ้งขจรไปดุจกลิ่นแห่งดอกไม้โดยมีความหมายรวม คือความ
เจรญิ รุง่ เรอื งและเกียรตยิ ศ อิสรยิ ยศ บรวิ ารยศ
พานรองรับหนังสือหรือคัมภีร์ : หมายถึง มหามกุฏราชวิทยาลัยเป็นสถาบันเพื่อความมั่นคงและ
แพรห่ ลายของพระพทุ ธศาสนา ท้ังในดา้ นการศกึ ษาและการเผยแผ่
วงรัศมี : หมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาที่บังเกิดขึ้นจากกิจกรรมของมหามกุฏราช
วิทยาลัยภายใต้พระบรมราชูปถมั ภข์ องพระมหากษตั รยิ ์ไทย
มหามกุฏราชวิทยาลัย : หมายถึง สถาบันการศึกษาระดับปริญญาตรี , โท , เอก ปัจจุบัน คือ
“มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย”
7
ต้นไมป้ ระจำมหาวิทยาลยั
ต้นโพธ์ิ
เป็นต้นไมท้ ตี่ รสั รู้ขององคส์ มเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้
สีประจำมหาวิทยาลัย
สีส้ม
หมายถึง สปี ระจำพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
ซง่ึ ตรงกับวันพฤหัสบดอี ันเปน็ วนั พระราชสมภพ
องค์ประกอบของระบบอาจารยท์ ีป่ รึกษา
8
วิถแี หง่ การพัฒนา (Strategies)
เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามวิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา จึงกำหนดแก่นแห่งการพัฒนา ( Key
Strategic Areas) เป็น 5 ด้าน คือ ปริยัติ ประยุกต์ ปฏิบัติ ปฏิบถ และปฏิรูป ในแต่ละด้านมีวิถีแห่งการพัฒนา
(Strategies) และเจตนา (Strategic Objectives) ซึ่งประกอบด้วย แก่น (Key Strategic Area) : วิถี อันเป็นมรรค
เป็นผล (Strategy) และเจตนาของวิถี (Strategic Objective) ท้งั 5 ดงั ตารางตอ่ ไปนี้
แกน่ วถิ ี Strategy เจตนา
Key Strategic Strategic objective
Area
ปรยิ ัติ วิถี ท่ี 1 1.ก. มุ่งประดษิ ฐาน พระพทุ ธศาสนา ใหม้ นั่ คงในแผน่ ดนิ ไทย เพอ่ื เผย
ประยุกต์ สบื สาน สง่ ตอ่ ต่อยอด
ปฏิบัติ แผใ่ หก้ วา้ งไกลไปทวั่ โลก มฐี านทมี่ ่นั ในอนภุ มู ภิ าคล่มุ น้ำโขงและเอเชีย
ปฏิบถ วิถี ที่ 2
ปฏริ ปู ผสาน สร้างสรรค์ ตะวนั ออกเฉยี งใต้
อยา่ งลึกซ้ึง 2.ก. พระพุทธศาสนาไดย้ กระดบั และเคยี งคู่ไปกับสรรพวิทยาของ
มวลมนษุ ย์ เพอื่ ให้องค์ภูมแิ ห่งพุทธปัญญาปรากฏอย่ทู ่ามกลาง
วถิ ี ที่ 3 ความเปน็ เลศิ ของสรรพวิชา เพ่ือเป็นฐานะในการพัฒนาตอ่ ใน
ค้นหา “ตน” เตมิ สรรพวิชา
“คน” เสรมิ สร้าง 3.ก. นำทาง ยกระดับ และพัฒนาจิตใจชาวโลก สู่การเป็นมนุษย์ อกี
ครั้ง เพือ่ เป็นมนุษยท์ ี่สมบูรณ์ ก่อใหเ้ กิดเปน็ สังคมทีม่ ีความ เขม้ แข็ง
“สังคม” มีภูมคิ ุ้มกนั มจี ติ วิญญาณและสตปิ ัญญา แบบวิถพี ทุ ธ สร้างสุขและ
วถิ ี ท่ี 4 สันตจิ ากการเปน็ ผู้ใหใ้ นวถิ ีพทุ ธ
ฟ้นื ฟู เยยี วยา นำพา
กลบั สู่ ความสวา่ ง 4.ก. ร่วมเตมิ เต็ม และเสรมิ พลัง แก่สังคมทกุ ภาคส่วนท่อี อ่ นล้า พลดั
สงบ หลง เพอ่ื ให้สมาชกิ ในสงั คม ฟ้นื คืนกลบั สู่ความเขม้ แข็ง ทางจติ
วิญญาณ เกดิ ความมั่นคงยืนหยัด และกา้ วเดนิ ต่อไปอย่างยงั่ ยืนใน
วถิ ี ที่ 5 ทศิ ทางท่ถี ูกควรตามทานองคลองธรรม นำวิถชี วี ิตในเชิงพุทธเขา้
พลกิ เปลย่ี น ปรบั สู่วฏั จกั รการดำรงชพี ของมนษุ ยท์ ี่เปน็ ธรรมชาติงดงาม
5.ก. พัฒนาองค์กร แบบก้าวกระโดดในทุกองคาพยพ ทั้งบทบาท
รบั การ โครงสรา้ ง กระบวนการ การบริหาร และทรพั ยากร
เปลยี่ นแปลง
เพือ่ เป็นองค์กรอนาคตแห่งความร้แู ละภูมปิ ัญญาทีร่ ว่ ม
พัฒนาอนาคตของสงั คมไทยและสงั คมโลก ซึ่งสามารถปรับตวั ได้ทัน
ตอ่ การเปล่ยี นแปลงทรี่ วดเรว็ และรนุ แรงในอนาคต
9
แก่นแหง่ การพฒั นา
22
โครงสรา้ งการแบง่ สว่ นงาน มหาวิทยาล
รองอธกิ ารบ
ผู้ช่วยอธิการ
คณะกรรมการประจำวทิ ยาเขต
ศนู ยบ์ รกิ ารวชิ าการ สำนกั งานวทิ ยาเขต วิท
ฝา่ ยบรหิ ารทั่วไป ฝ่ายบรหิ ารทัว่ ไป ฝ่ายบร
- งานสารบรรณ/ธรุ การ - งานประชาสมั พันธ์ - งานธุรกา
- งานฝึกอบรม/พฒั นา - งานสารบรรณ - งานทะเบ
- งานประชาสัมพนั ธ์ - งานบรหิ ารงานบุคคล - งานกจิ ก
- งานวิจัย/ข้อมูลสถติ ิ/สารสนเทศ - งานการเงนิ /บัญชี - งานจัดก
- งานห้องสมุด - งานพสั ดุ - งาน กยศ
- งานโสตทัศนูปกรณแ์ ละสื่อ - งานอาคารสถานทยี่ าน/พาหนะ - งานประ
- งานพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น - งานติดตามและประสานงาน การศกึ ษา
- งานแผนและงบประมาณ
23
ลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วิทยาเขตลา้ นนา
บดี
รบดี
คณะกรรมการท่ปี รกึ ษา
ทยาลยั ศาสนศาสตร์ บัณฑติ วทิ ยาลยั
รหิ ารทั่วไป ฝ่ายจดั การศกึ ษา -สาขาวชิ าพทุ ธศาสนาและปรชั ญา (ป.โท)
-สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา (ป.โท)
าร/การพมิ พ์ -สาขาวชิ าพทุ ธศาสนาและปรชั ญา (ป.เอก)
บียน/วัดผล
การนักศึกษา -สาขาวิชาพทุ ธศาสตร์เพ่ือการ
การศกึ ษา
ศ. พฒั นา
ะกันคุณภาพ
า -สาขาวิชาการปกครอง
-สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
-สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษ
-สาขาวชิ าการสอนสงั คมศกึ ษา
-สาขาวิชาภาษาองั กฤษ โครงการภาคพิเศษ (เสาร์-อาทติ ย)์
-สาขาวชิ าการปกครอง
-สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ
12
ระบบอาจารยท์ ี่ปรึกษาประกอบดว้ ย
1. อาจารย์
2. ระบบงานอาจารย์ท่ปี รกึ ษา
3. เครอ่ื งมือสำหรบั อาจารยท์ ี่ปรึกษา
4. เทคนคิ การใหค้ ำปรึกษา
1. อาจารย์
1.1 คณุ ลักษณะของอาจารย์ทปี่ รกึ ษาท่ดี ี
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วิทยาเขตล้านนา กำหนดคุณลักษณะของอาจารย์ที่ปรึกษาที่ดี เพื่อให้
อาจารย์ที่ปรกึ ษาทราบและใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาตนเอง ซง่ึ คุณลกั ษณะของอาจารย์ท่ีปรึกษาทด่ี มี ีดงั นี้
• มมี นุษยสมั พนั ธ์ดี
• มคี วามรบั ผิดชอบดี
• ใจกว้างและรบั ฟงั ความคิดเห็นของนักศึกษา
• มีความร้ทู ันเหตุการณ์ด้านเศรษฐกิจ สงั คมและการเมือง
• มคี วามจริงใจและเห็นอกเหน็ ใจ
13
• มเี หตผุ ลและมีความสามารถในการแกป้ ัญหา
• มีความเมตตากรุณา
• ไวตอ่ การรบั รู้ และเข้าใจสง่ิ ตา่ ง ๆ ไดร้ วดเรว็
• มหี ลักจติ วทิ ยาในการใหก้ ารปรกึ ษาและมีจรรยาบรรณอาจารยท์ ่ีปรึกษา
• มคี วามประพฤตเิ หมาะสมทจี่ ะเปน็ แบบอยา่ งที่ดีได้
• รู้และปฏิบตั ติ ามบทบาทและหน้าทข่ี องอาจารย์ทีป่ รกึ ษาเป็นอยา่ งดี
• ให้คำปรกึ ษาตามหลักการพุทธธรรม
1.2 จรรยาบรรณของอาจารยท์ ปี่ รึกษา
อาจารยท์ ีป่ รึกษาต้องยึดมน่ั ในจรรยาบรรณดงั ต่อไปนี้
- อาจารย์ทป่ี รึกษาตอ้ งคำนงึ ถึงสวสั ดภิ าพของนกั ศึกษาโดยจะไม่กระทำการใด ๆ ท่ีจะก่อให้เกดิ ผลเสียหาย
แกน่ กั ศึกษาอย่างไม่เป็นธรรม
- อาจารย์ทีป่ รึกษาต้องรกั ษาข้อมูลตา่ ง ๆ เก่ยี วกับเร่อื งส่วนตวั ของนกั ศึกษาในความดูแลไวเ้ ป็นความลบั
- อาจารย์ที่ปรึกษาต้องพยายามช่วยเหลือนักศึกษาจนสุดความสามารถ (ภายในขอบเขตความสามารถของ
ตน) หากมีปัญหาใดที่เกินความสามารถที่จะช่วยเหลือได้ ก็ควรแนะนำนักศึกษาผู้นั้นไปรับบริการจากบุคลากรอ่ืน
เชน่ นักแนะแนว แพทย์ จติ แพทย์ และนักกฎหมาย เปน็ ต้น
- อาจารย์ที่ปรึกษาไม่ควรวิพากษ์วิจารณ์บุคคลหรือสถาบันใดให้นักศึกษาฟังในทางที่ก่อให้เกิดความเสื่อม
เสยี แก่บุคคลหรือสถาบนั น้นั ๆ
- อาจารย์ที่ปรึกษาต้องเป็นผู้ที่มีความประพฤติที่เหมาะสมตามจรรยาแห่งวิชาชีพในสาขาที่ตนสอนและมี
ศีลธรรมจรรยาท่ีดีงามเพ่อื เป็นตวั อยา่ งทด่ี แี ก่นักศึกษา
2. ระบบงานอาจารยท์ ่ปี รึกษา
2.1 หนา้ ท่ีของผ้บู รหิ าร
เพื่อให้ระบบอาจารย์ที่ปรึกษามีประสิทธิภาพ ผู้บริหารต้องให้ความสำคัญและสนับสนุนระบบอาจารย์ท่ี
ปรึกษาอย่างเต็มท่ี
2.2 หน้าที่ของคณะกรรมการอาจารย์ทป่ี รกึ ษา
เพือ่ ใหก้ ารดำเนนิ งานของระบบอาจารยท์ ปี่ รึกษามีประสิทธิภาพจงึ จำเปน็ ต้องมีคณะกรรมการอาจารยท์ ี่
ปรึกษา ซ่งึ มีหนา้ ที่ดังนี้
14
• รวบรวมข้อมูลดา้ นต่าง ๆ ทใี่ ช้ในการให้การปรึกษาใหอ้ าจารย์ท่ปี รึกษา
• รวบรวมและจดั เตรยี มเคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการให้การปรกึ ษาใหอ้ าจารยท์ ่ีปรึกษา
• ประสานงานให้ความรว่ มมือและชว่ ยแก้ปัญหาให้อาจารย์ที่ปรึกษา
• ประเมินผลการดำเนินงานของอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา
• ปรับปรงุ แก้ไขระบบอาจารย์ทีป่ รึกษาใหเ้ หมาะสมและมปี ระสิทธิภาพยิ่งข้นึ
• เป็นที่ปรึกษาผู้บริหารของคณะฯ เกี่ยวกับปัญหาของนักศึกษาและการจัดบริการให้นักศึกษา เช่น
การแนะนำขอ้ มลู เกยี่ วกบั ทุนการศกึ ษา การปฐมนิเทศ และการปัจฉมิ นิเทศของนกั ศกึ ษา
2.3 หน้าท่ีของอาจารยท์ ี่ปรึกษาด้านวชิ าการ มีดังนี้
• ให้การปรึกษาเกย่ี วกับหลักสตู รและเลอื กวิชาเรยี น
• ใหค้ ำแนะนำเกี่ยวกับการลงทะเบยี นเรียนโดยเป็นไปตามระเบยี บข้อบังคับ รวมถึง การวางแผนการ
เรียน
• ให้คำแนะนำเกย่ี วกบั การเรยี น การคน้ คว้าและตดิ ตามผลการเรียนอย่างสม่ำเสมอ
• ทักท้วงการลงทะเบียนเรียนบางวิชาของนักศึกษา เมื่อพิจารณาเห็นว่าการลงทะเบียนเรียนวิชานน้ั
ๆ ไมเ่ หมาะสม
• ใหก้ ารปรึกษาแนะแนวตักเตือนเม่ือผลการเรียนของนักศึกษาต่ำลง
• ใหก้ ารปรึกษาแนะนำและช่วยเหลือเพือ่ แก้ไขอุปสรรคปญั หาในการเรยี นวชิ าต่าง ๆ
• ใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับการคดิ คา่ คะแนนเฉลี่ยของนักศึกษา
• ใหก้ ารปรกึ ษาแนะนำนกั ศึกษาเก่ียวกับการศึกษาต่อในระดบั ทสี่ ูง
2.4 หนา้ ที่ของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านบรกิ ารและพัฒนานักศึกษา มดี งั นี้
• ใหค้ ำแนะนำเกีย่ วกับระเบียบขอ้ บงั คบั และบริการตา่ ง ๆ ของมหาวิทยาลัยและชมุ ชน
• ใหก้ ารปรึกษาเกย่ี วกับปัญหาส่วนตัว เชน่ ปัญหาสุขภาพอนามัย ท้งั สขุ ภาพกายและสุขภาพจติ เป็นต้น
• ให้การปรึกษาเกย่ี วกับปญั หาสังคม เช่น การปรบั ตัวในสังคม และปญั หาการคบเพื่อน เป็นต้น
• ให้การปรึกษาเก่ียวกับการพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ ความประพฤตแิ ละจริยธรรม
• ให้การปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาด้านอาชีพ ได้แก่ ให้ข้อมูลในแง่มุมต่าง ๆ เช่น ลักษณะของงาน
สภาพแวดล้อมของงาน ตลาดแรงงาน ตลอดจนจรรยาบรรณแห่งวชิ าชีพท่ีนักศกึ ษากำลงั ศึกษาอยู่
• ใหก้ ารปรกึ ษาเกี่ยวกับการเข้าร่วมกจิ กรรมนักศึกษา
15
2.5 หนา้ ที่ของอาจารยท์ ่ีปรึกษาด้านอนื่ ๆ มีดังน้ี
• พิจารณาคำรอ้ งต่าง ๆ ของนักศกึ ษาและดำเนนิ การใหถ้ ูกต้องตามระเบยี บ
• ประสานงานกบั อาจารยผ์ ้สู อนและหนว่ ยงานต่าง ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง โดยเฉพาะฝ่ายจดั
การศกึ ษา ฝ่ายทะเบยี นและวัดผล เพ่ือชว่ ยเหลือและเพ่ือประโยชนข์ องนักศึกษา
• กำหนดเวลาใหน้ ักศึกษาเข้าพบเพ่ือขอคำปรึกษาแนะนำอย่างสม่ำเสมอ
• เก็บข้อมลู รายละเอียดของนักศกึ ษาทอี่ ยู่ในความรบั ผิดชอบ
• สรา้ งสมั พันธภาพและความเข้าใจอันดรี ะหว่างนักศึกษา อาจารย์ คณะฯ และ
มหาวทิ ยาลัย
• ใหก้ ารรับรองความประพฤตแิ ละความสามารถของนักศกึ ษา เมอ่ื นักศกึ ษาต้องการ
นำไปแสดงแก่ผู้อ่นื
• ปอ้ นข้อมูลยอ้ นกลบั (feedback) มายังผ้บู รหิ ารและคณะกรรมการอาจารย์ท่ีปรกึ ษา
เกย่ี วกบั ปญั หาตา่ ง ๆ ของนักศึกษา
• ให้ความรว่ มมือกบั คณะกรรมการอาจารย์ทปี่ รึกษา
• ชีแ้ จงให้นักศึกษาเข้าใจหนา้ ท่ีของอาจารย์ทปี่ รึกษาและหน้าท่ีของนกั ศึกษาต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา
• ในกรณที น่ี ักศึกษาแต่งกายไม่เรยี บร้อยหรอื มีความประพฤติไมเ่ หมาะสมอาจารยท์ ่ี
ปรกึ ษาต้องตักเตือน
2.6 หนา้ ที่ของนักศกึ ษาต่ออาจารย์ทปี่ รกึ ษา มีดังน้ี
• นกั ศกึ ษาต้องเข้าพบอาจารย์ทปี่ รกึ ษาเมอ่ื มีปญั หาการเรยี นหรือปญั หาสว่ นตวั ดา้ น
อื่น ๆ
• นักศกึ ษาต้องเข้าพบอาจารย์ท่ีปรึกษาตามกำหนดเวลาท่ีอาจารย์ทปี่ รกึ ษากำหนดไว้
แตเ่ ม่ือมีปญั หาเรง่ ด่วนกเ็ ข้าพบอาจารย์ท่ีปรึกษาไดท้ ุกเวลา
• นกั ศกึ ษาต้องรับฟังคำแนะนำตกั เตอื นของอาจารย์ท่ีปรกึ ษา
• นักศกึ ษาควรอ่านป้ายประกาศของฝา่ ยจดั การศกึ ษา/สาขาวชิ า และคณะฯ อยา่ ง
สม่ำเสมอ
2.7 ข้อปฏบิ ตั ขิ องผู้บริหาร (หัวหน้าฝ่ายจัดการศกึ ษาและ/หรือสาขาวิชา ผู้ชว่ ย
อธิการบดี ผ้อู ำนวยการ รองอธกิ ารบดี) มดี ังนี้
16
• ผูบ้ ริหารของวทิ ยาเขตจะทำหนา้ ทดี่ ำเนนิ งานเป็นคณะกรรมการอาจารยท์ ป่ี รึกษา
วทิ ยาลัยศาสนศาสตร์โดยตำแหน่ง
• ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของอาจารย์ท่ีปรึกษา
• กรรมการอาจารย์ท่ีปรึกษาคณะรว่ มกับอาจารย์ที่ปรึกษาประชุมร่วมกนั เพอื่ หาทา
ปรับปรงุ ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาให้ดยี ง่ิ ขน้ึ
• ตักเตอื นอาจารย์ท่ปี รกึ ษาท่บี กพร่องต่อหนา้ ที่จนทำให้นักศึกษาเสยี ผลประโยชน์
หรือไม่สำเรจ็ การศึกษาตามที่ควรจะเป็น
2.8 ข้อปฏบิ ัติของคณะกรรมการอาจารย์ท่ีปรึกษา มีดังนี้ ขอ้ ปฏบิ ตั ิก่อนเปดิ ภาคการศกึ ษา
• รวบรวมและจดั เตรยี มเคร่ืองมือให้อาจารยท์ ่ีปรึกษา
• ติดตอ่ หน่วยงานอ่นื ๆ ภายในมหาวทิ ยาลัยเพื่อหาข้อมูลตา่ ง ๆ ให้อาจารย์ที่ปรึกษา
ทราบเปน็ ประจำ
• รวบรวมปญั หาและอุปสรรคของระบบอาจารย์ทีป่ รกึ ษา
• จัดประชมุ สัมมนาอาจารยท์ ีป่ รึกษาของคณะฯ เพ่ือให้อาจารยท์ ปี่ รึกษาไดร้ ับทราบ
บทบาทหน้าที่ แนวทางปฏิบัติ ปญั หาอุปสรรค และเพ่ือเพ่ิมเทคนิคและทักษะในการ
ให้การปรกึ ษาแก่อาจารย์ที่ปรึกษา
• จัดนกั ศึกษาชัน้ ปที ่ี 1 พบอาจารยท์ ี่ปรึกษาดแู ลรบั ผดิ ชอบ และพบอาจารยท์ ่ีปรึกษา
ภายหลงั การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่
ขอ้ ปฏิบัตริ ะหวา่ งภาคการศกึ ษา
• ตดิ ตอ่ ประสานงานให้ความรว่ มมือและให้ความช่วยเหลอื อาจารยท์ ปี่ รึกษาในการ
แกป้ ัญหาของนักศึกษา
• ทำการประเมินผลระบบอาจารย์ทปี่ รกึ ษาและการปฏิบัติงานของอาจารย์ทปี่ รึกษา
ทุกปี
• นำเอาผลการประเมินผลมาทำการปรบั ปรงุ แก้ไขระบบอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาใหม้ ี
ประสทิ ธิภาพยิ่งข้นึ
• รายงานผลการประเมนิ ผลตอ่ ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั ศาสนศาสตร์/รองอธกิ ารบดี
2.9 ข้อปฏิบัติของอาจารย์ท่ีปรึกษา
17
ข้อปฏบิ ัติโดยทั่วไป
• ศกึ ษารายละเอยี ดคมู่ ืออาจารย์ทีป่ รกึ ษา เพ่อื ใหม้ ีความพร้อมในการให้คำแนะนำปรกึ ษา
• นดั พบนักศกึ ษาในความดแู ลท้งั หมดก่อนวนั ลงทะเบยี นเรียน
• นัดพบนกั ศึกษาในความดแู ลท้งั หมดเม่ือทราบผลการสอบกลางภาค เพ่ือทราบและ
แกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ของนกั ศึกษา
• ใหค้ วามสนใจพิเศษแก่นักศกึ ษาในโครงการพิเศษหรือนักศึกษาท่ีมปี ัญหา
• เขยี นบันทกึ การเข้าพบโดยใช้แบบบนั ทึกการพบนักศึกษา (แบบ มมร.ลน.2) และแบบบันทึกการ
ให้คำปรกึ ษาในด้านต่าง ๆ (แบบ มมร.ลน.3)
• สนใจติดตามข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ และสนใจตดิ ตามข่าวสังคมและการเมอื ง เพอ่ื ใหท้ ันเหตุการณ์
และทันสมัยอย่เู สมอ
• สนใจทจ่ี ะพฒั นาตนเองท้งั ในดา้ นเทคนคิ ในการใหก้ ารปรึกษา
• ปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณอาจารยท์ ปี่ รึกษา
ขอ้ ปฏิบัติเฉพาะกรณี (การลงทะเบียนเรยี น)
• อาจารย์ทปี่ รึกษาควรนัดนักศึกษาในความดแู ลมาพบกอ่ นการลงทะเบียน เพื่อปรึกษา หารือให้
คำแนะนำช้ีแจงเก่ยี วกบั การลงทะเบยี นเรียน
• อาจารยท์ ี่ปรึกษาต้องอยูป่ ฏิบัตหิ นา้ ทใ่ี นวนั ลงทะเบยี นเรยี น
• ในกรณีท่ีอาจารย์ท่ปี รึกษาไม่สามารถอยู่ปฏบิ ตั ิหน้าทีใ่ นวนั ลงทะเบยี น ใหม้ อบหมายอาจารย์ท่าน
อ่ืนในภาควิชาและ/หรือสาขาวิชาเดยี วกันเพื่อทำหนา้ ที่แทน โดยแจ้งใหห้ ัวหน้าภาควิชา/หัวหนา้
สาขาวชิ า หวั หนา้ ฝา่ ยจัดการศึกษา และนกั ศึกษาทราบกอ่ น
• อาจารยท์ ีป่ รึกษาต้องปฏิบัติตามขั้นตอนการลงทะเบียนตามทม่ี หาวิทยาลยั กำหนด
• อาจารย์ที่ปรึกษาต้องตรวจสอบความถูกต้องของรหัสวิชา ชื่อวิชา จำนวนหน่วยกิตให้ถูกต้องตาม
ขอ้ บงั คับของมหาวิทยาลยั
ข้อปฏบิ ตั ิของอาจารย์ท่ีปรึกษาเฉพาะกรณพี ิเศษ (การเพ่ิม-ถอนรายวชิ า)
• อาจารย์ที่ปรึกษาต้องให้คำแนะนำกับนักศึกษากลุ่มพิเศษเป็นรายบุคคล และทำการลงทะเบียน
ให้กับนักศกึ ษาดว้ ยตัวของอาจารยเ์ องเทา่ นนั้
18
• หากเกิดกรณีที่ต้องมีการเพิ่ม-ถอนรายวิชาอาจารย์ที่ปรึกษาควรถามถึงสาเหตุของการเพิ่ม-ถอน
รายวชิ า กอ่ นทำการลงทะเบียนใหก้ บั นักศกึ ษากับงานทะเบียนและวัดผล
• ตรวจสอบการเพิ่ม-การถอนรายวชิ าน้ันวา่ ถูกต้องตามข้อบังคับของมหาวิทยาลยั หรือไม่ ทุกคร้ังท่ีจะ
มกี ารลงทะเบยี น
ขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องอาจารย์ท่ีปรึกษาเฉพาะกรณี (ทุนการศึกษา)
• อาจารย์ที่ปรึกษาควรสอบถามความต้องการทุนการศึกษาของนักศึกษา หาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
ความจำเป็นที่ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลือและบนั ทกึ ข้อมลู เหลา่ นนั้ ไวเ้ พือ่ ใหส้ ามารถใชไ้ ดท้ ันที
• พจิ ารณาคัดเลอื กจดั อนั ดบั นกั ศกึ ษาท่สี มควรได้รับทุนการศกึ ษาเพื่อเสนอขอรับทุนการศกึ ษา
• บันทึกแจ้งความจำเป็นและข้อมูลประกอบเกี่ยวกับความต้องการและความจำเป็นของนักศึกษาให้
ผู้รบั ผดิ ชอบเก่ยี วกบั ทนุ การศึกษาทราบ
2.10 การจัดนกั ศึกษาและการแต่งตง้ั อาจารย์ท่ีปรกึ ษา
การจัดอาจารย์ที่ปรึกษาให้อยู่ในการพิจารณาและการมอบหมายของผู้อำนวยการวิทยาลัยศาสนศาสตร์
รองอธกิ ารบดี ตามลำดับ
2.11 การประเมินผลระบบอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา
คณะกรรมการอาจารย์ที่ปรึกษาควรทำการประเมินผลทั้งการดำเนินงาน โดยมุ่งประเมินผลของ
กระบวนการ (process evaluation) และประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา (performance
evaluation)
3. เครือ่ งมือสำหรับอาจารย์ท่ปี รกึ ษา มดี ังนี้
3.1 เครอ่ื งมือท่สี ำคัญสำหรับอาจารยท์ ี่ปรึกษา ไดแ้ ก่
• คู่มอื นักศึกษา
• หนังสือระเบยี บการทั่วไปและหลกั สตู รการศกึ ษาของสาขาวชิ าท่ีนกั ศึกษาสงั กัด
• คมู่ อื อาจารย์ทปี่ รึกษา
19
• แบบฟอรม์ สำหรับอาจารยท์ ่ปี รกึ ษา ซึ่งประกอบด้วย
(1) แผนแนะนำการศึกษาของนกั ศกึ ษา (ดรู ายละเอียดในคู่มือนกั ศึกษา)
(2) แบบสำรวจผลการศึกษาของนกั ศกึ ษาตลอดหลักสูตร (ใบสมัครเรยี น)
(3) แบบทะเบียนประวัตินักศึกษา (แบบ มมร.ลน.1)
(4) แบบบันทกึ การพบนักศึกษา (แบบ มมร.ลน.2)
(5) แบบบันทึกแนวทางการใหค้ ำปรึกษาในดา้ นต่างๆ (แบบ มมร.ลน.3)
(6) แบบบันทกึ การสง่ ต่อและแกไ้ ขปัญหาของนักศึกษา (แบบ มมร.ลน.4)
(7) แบบประเมินอาจารย์ท่ีปรึกษาโดยนกั ศกึ ษา (แบบ มมร.ลน.5)
(8) แบบประเมินตนเองของอาจารย์ทปี่ รึกษา (แบบ มมร.ลน.6)
(9) แบบประเมนิ ระบบอาจารยท์ ปี่ รึกษา วิทยาลัยศาสนศาสตร์ล้านนา (แบบ มมร.ลน.7)
3.2 ข้อมูลทส่ี ำคัญสำหรับใช้ประกอบการให้การปรกึ ษา ได้แก่
(1) ข้อมูลเกย่ี วกบั ทุนการศึกษาของนกั ศกึ ษา
(2) ข้อมูลเกีย่ วกับระเบียบข้อบงั คับของมหาวทิ ยาลัย
(3) ข้อมลู เก่ียวกับบรกิ ารทม่ี หาวิทยาลยั จดั ให้แก่นักศกึ ษา
(4) ข้อมลู เก่ยี วกบั การแนะแนวอาชพี
(5) ข้อมูลเกีย่ วกับกจิ กรรมนกั ศกึ ษา
หมายเหตุ ข้อมูลทั้งหมดอยู่ในระเบียบการทั่วไปและหลักสูตรการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย ซึง่ อาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษาจะไดร้ ับจากฝ่ายจัดการศกึ ษา งานกิจการนกั ศึกษา และงานทะเบยี นและวดั ผล
4. เทคนคิ ในการให้คำแนะนำปรึกษา
4.1 เทคนิคในการสร้างสมั พันธภาพ มีดังตอ่ ไปนี้
(1) สร้างบรรยากาศทเ่ี ปน็ มิตร อบอุน่ ยม้ิ แยม้ แจม่ ใส
(2) เปิดเผยไม่มีลับลมคมใน
(3) มคี วามสนใจ มเี มตตากรณุ า
(4) มีความจรงิ ใจและปฏิบัติตนอยา่ งเสมอต้นเสมอปลาย
(5) ยอมรบั ทัง้ คุณค่าและความแตกต่างของบุคคล
(6) พยายามทำความเขา้ ใจทัง้ ความรสู้ ึก ปญั หาและความต้องการของนกั ศกึ ษา
(7) มีความเสยี สละ
(8) ให้ความชว่ ยเหลอื นักศึกษาอยา่ งจริงจังและจรงิ ใจ
20
(9) ให้ความช่วยเหลือนักศกึ ษาตามแนวทางพุทธวิธี
4.2 การให้คำแนะนำและการปรึกษา มีดังน้ี
(1) การใหค้ ำแนะนำ (Advising) เปน็ วิธีทีอ่ าจารย์ท่ีปรึกษาให้การช่วยเหลือแก่นักศึกษา โดยสง่ิ ท่อี าจารย์
ที่ปรึกษาแนะนำนักศึกษามักจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ กฎ ระเบียบ หรือวิธีปฏิบัติที่ใช้กันอยู่เป็นประจำ เช่น การ
ลงทะเบยี นเรียน การขอลด ขอเพิ่มและ ขอเพิกถอนวิชาเรยี น และหรือปญั หาเลก็ น้อยที่อาจารย์ท่ีปรึกษาซึ่งเป็นผู้ท่ี
มวี ุฒภิ าวะและประสบการณม์ ากกว่านกั ศกึ ษาให้คำแนะนำในทางท่ถี ูกต้องเหมาะสม
(2) การปรึกษา (Counseling) เป็นกระบวนการช่วยเหลือให้นักศึกษาเข้าใจตนเอง สภาพแวดล้อม และ
ปัญหาที่เผชิญอยู่ และสามารถใช้ความเข้าใจดังกล่าวมาแก้ปัญหาหรือตัดสินใจเลือกเป้าหมายในการดำเนินชีวิตที่
เหมาะสมกับตัวเองและเพื่อการปรับตัวที่ดีในอนาคต ตามคติพจน์มหาวิทยาลัยฯ ที่ว่า “ระเบียบ สามัคคี บำเพ็ญ
ประโยชน์” (ศีล สมาธิ ปัญญา)
เทคนคิ ในการปรึกษาท่สี ำคัญทอี่ าจารยท์ ่ีปรกึ ษาควรทราบ มดี งั น้ี
(1) การฟงั (Listening) ในท่ีนี้ เป็นการฟังที่แสดงความสนใจต่อนักศึกษา เป็นการต้ังใจฟงั ด้วยหูต่อคำพูด
และใชส้ ายตาสงั เกตท่าทางและพฤติกรรม เพอ่ื ใหท้ ราบว่าเกิดอะไรขึ้นแก่นักศึกษา เทคนิคในการฟังนี้ประกอบด้วย
การใสใ่ จ ซ่ึงมพี ฤตกิ รรมทีป่ ระกอบด้วยการประสานสายตา การวาง ท่าทางอยา่ งสบาย การใช้มือประกอบการพูดที่
แสดงถึงความสนใจต่อนักศึกษา ในการฟังนี้บางคร้งั อาจารย์ทป่ี รึกษาอาจสะท้อนข้อความหรือตีความให้กระจ่างชัด
หรอื ถามคำถามเพอื่ ให้ทราบถึงปัญหาและความต้องการของนักศึกษา
(2) การนำ (Leading) เป็นการกระตุน้ ให้นักศกึ ษาซงึ่ บางครง้ั ไม่กล้าพดู ออกมา การนำจงึ เป็น การกระตุ้น
ใหน้ ักศึกษาสำรวจหรอื แสดงออกถงึ ความรู้สกึ ทัศนคติ ค่านยิ ม หรือพฤติกรรมของตนการสะท้อนกลับ (reflecting)
เปน็ การช่วยทำให้นกั ศึกษาเข้าใจตนเอง เขา้ ใจความรูส้ ึก ประสบการณ์ หรือปญั หาไดถ้ ูกต้องย่ิงข้นึ
(3) การสรุป (Summarization) คือการที่อาจารยท์ ี่ปรึกษารวบรวมความคิดและความรู้สึกที่สำคัญ ๆ ท่ี
นกั ศกึ ษาแสดงออก การสรปุ จงึ เป็นการให้นักศึกษาไดส้ ำรวจความคิดและความรู้สกึ ของตนเองให้กวา้ งขวางยงิ่ ขึ้น
(4) การให้ข้อมูล (Informing) เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยให้นักศึกษาเข้าใจตนเองและสิ่งแวดล้อมได้ดียิ่งข้ึน
ขอ้ มลู ทจี่ าเป็นในการปรกึ ษา ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลเกีย่ วกับการศึกษา ข้อมลู เก่ยี วกับอาชีพและข้อมลู เก่ียวกับสภาพแวดล้อม
ของสังคม ข้อมูลดงั กลา่ วจะชว่ ยกระตนุ้ และให้กำลังใจแกน่ ักศกึ ษากลา้ สปู้ ัญหา เกดิ ความม่ันใจและพร้อมที่จะแก้ไข
ปัญหา
(5) การให้กำลังใจ (Encouragement) เมื่อมีปัญหา นักศึกษาส่วนใหญ่ที่มาพบอาจารย์ที่ปรึกษา มักมี
ความร้สู ึกท้อแท้ ขาดความมน่ั ใจ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาจึงควรชว่ ยกระตุ้นใหก้ ำลังใจแก่นักศึกษาให้กลา้ สู้กับปัญหา เกิด
ความม่นั ใจและพรอ้ มจะแกไ้ ขปัญหา
21
(6) การเสนอแนะ (Suggestion) ในบางกรณีอาจารย์ทปี่ รึกษาอาจจะเสนอความคิดเหน็ ท่ีเหมาะสม เพ่ือ
นำไปสูก่ ารแก้ปัญหาให้แก่นักศึกษา การเสนอแนะดังกล่าวควรเปดิ โอกาสให้นักศึกษาไดใ้ ช้เหตุผลของตนเองให้มาก
ท่ีสุดเพื่อสามารถตดั สินใจไดด้ ว้ ยตนเอง
เทคนคิ ในการปรึกษาดังกล่าวเป็นเทคนิคในการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ซึง่ ต้องมีการศึกษาอบรม และมีการฝึก
ปฏบิ ตั ิเพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ความชำนาญ จงึ จะสามารถแกไ้ ขปัญหาของนักศึกษาได้อย่างกว้างขวาง อาจารย์ที่ปรึกษาท่ี
มิได้ฝึกอบรมมาทางด้านนี้โดยเฉพาะ แต่มีหน้าที่ต้องช่วยเหลือนักศึกษา จะต้องมีการศึกษาและฝึกหัดเทคนิค
ดังกล่าวเพื่อให้เกิดความรูค้ วามชำนาญพอสมควร อย่างไรก็ตาม ปัญหาของนักศึกษาบางอย่างเป็นปัญหาท่ีแก้ไขได้
ยาก หรือการแก้ไขปัญหาน้นั ต้องใช้เวลา เช่น ปัญหาทีเ่ กยี่ วกบั เศรษฐกิจ ปญั หาครอบครัว เช่น การขัดแย้งระหว่าง
บิดา-มารดา อาจารย์ที่ปรึกษาควรช่วยให้นักศึกษายอมรับสภาพและหาทางคลี่คลายปัญหาต่อไป และในขณะที่มี
ปัญหา นักศึกษาอาจมีอาการเก็บกด อาจารย์ที่ปรึกษาจึงควรเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ระบายอารมณ์ หรือ
ความรู้สึก โดยเป็นผู้ฟังที่ดี ควรให้กำลังใจ ให้ความอบอุ่น และใช้เทคนิคที่ได้กล่าวมาแล้ว ก็จะทำให้สามารถ
ช่วยเหลือนักศึกษาได้มากพอสมควร ถ้านักศึกษามีปัญหาที่เกี่ยวกับอารมณ์ หรือปัญหาการเลือกอาชีพ การเลือก
สาขาวิชา หรือปัญหาที่เกี่ยวกับการตัดสินใจที่สำคัญมาก อาจารย์ที่ปรึกษาควรแนะนำให้นักศึกษาไปขอรับความ
ช่วยเหลอื จากผทู้ ่ีมีความเช่ียวชาญโดยเฉพาะ และที่สำคัญมหาวทิ ยาลัยฯ วิทยาเขตล้านนา เป็นมหาวทิ ยาลัยเฉพาะ
ทางท่ีมุง่ เนน้ ทางด้านพระพุทธศาสนา จงึ ต้องใหค้ ำปรกึ ษา ใหค้ วามรู้ ค่คู ุณธรรม และใหม้ ีการเรียนรูต้ ลอดชีวิต
การสรา้ งระบบอาจารย์ทป่ี รกึ ษาอยา่ งเป็นรปู ธรรมของวทิ ยาลยั ศาสนศาสตรล์ า้ นนา
1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบ (หัวหน้าฝ่ายจัดการศึกษา ประธานกรรมการ) คณะกรรมการจัดทำ
คู่มือฯ (ผู้อำนวยการวิทยาลัยศาสนศาสตร์ เป็นประธาน) เพื่อสร้างระบบอาจารย์ที่ปรึกษา และคู่มืออาจารย์ท่ี
ปรกึ ษาพรอ้ มท้งั สร้างแบบฟอร์มตา่ งๆ
2. คณะกรรมการบรหิ าร สร้างความเขา้ ใจระบบอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาใหแ้ กค่ ณาจารย์ใน มมร.วิทยาเขตล้านนา
3. คณะกรรมการบริหาร ที่ร่วมปรึกษาหารือเพื่อจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ โดยฝึกเทคนิคในการให้การ
ปรกึ ษา (Counseling Technique) ให้กับอาจารยท์ ี่ปรึกษา
4. กำหนดมาตรการให้อาจารยท์ ่ีปรึกษาปฏิบัติอย่างจริงจงั และตอ่ เนื่อง
5. ทำการประชาสมั พนั ธใ์ ห้นักศึกษาในวิทยาเขตล้านนาทุกคนทราบ เก่ยี วกบั การปรบั ปรงุ ระบบอาจารยท์ ี่
ปรกึ ษาเพอื่ ให้นกั ศึกษามาพบอาจารยท์ ี่ปรึกษามากข้ึน
6. คณะกรรมการบรหิ ารทำการประเมินระบบอาจารย์ทป่ี รึกษาในแตล่ ะเทอมเพื่อปรับปรงุ แก้ไข
แผนงานของระบบอาจารย์ที่ปรกึ ษาของวิทยาลยั ศาสนศาสตรล์ า้ นนา
1. จดั ให้นกั ศกึ ษามีการพบปะระหวา่ งอาจารย์ที่ปรึกษา และคณาจารยใ์ นคณะฯ ดังน้ี
22
(1.1) โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ เพื่อเป็นการแนะนำอาจารย์ที่ปรึกษา และขั้นตอนวิธีการปฏิบัติ
ของการลงทะเบียน การคำนวณเกรด การยื่นคำร้องต่าง ๆ การปรับตัว การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย กิจกรรมในแต่
ละชนั้ ปี ขอ้ ควรระวัง และข้อตกลงรว่ มกนั ในเรอื่ งตา่ ง ๆ ตามท่พี งึ มี
(1.2) โครงการค่ายคุณธรรม สร้างระเบียบวินัย ที่จัดโดยวิทยาลัยศาสนศาสตร์ล้านนา วิทยาเขตล้านนา
โดยสนองนโยบายและวัตถปุ ระสงคข์ องมหาวิทยาลยั
(1.3 ) โครงการนกั ศกึ ษาพบที่ปรึกษาประจำเดือน จดั โดยฝา่ ยจดั การศึกษา วทิ ยาลยั ศาสนศาสตร์ วิทยา
เขตล้านนา โดยจดั ทำตารางกิจกรรมการพบที่ปรึกษา ตลอดปกี ารศกึ ษา
2. จัดกิจกรรมการรับฟังความคิดเห็นจัดโดยอาจารย์ที่ปรึกษา ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง และตามความ
ตอ้ งการของนกั ศึกษา โดยมขี อบเขตหัวข้อต่อไปนี้
• ดา้ นการปรับตวั
• ดา้ นการดำเนินชวี ิต
• ด้านการคบเพื่อน
• ด้านยาเสพติด
• ด้านการเรยี น
• ดา้ นทนุ สนบั สนนุ
3. จัดกิจกรรมไหว้พระสวดมนต์ เจริญปัญญา อาทิตย์ละ 1 ครั้ง และรับฟังโอวาทข้อคิดจากผู้บริหาร
คณาจารย์ งานกจิ การนกั ศกึ ษา อนื่ ๆ (ทุกวนั ศกุ ร์ของสัปดาหส์ ุดทา้ ย)
4. จัดอบรมให้ความรู้แก่คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา เกี่ยวกับเทคนิค
และวิธีการให้คำปรึกษา โดยคณะกรรมการการให้คำปรึกษาระดับมหาวทิ ยาลัย หรือผู้เชีย่ วชาญ ปีการศึกษาละ 1
คร้งั (โครงการฝกึ อบรมเทคนคิ การใหค้ ำปรึกษา)
5. มีทมี วชิ าการเพอ่ื สอนเพมิ่ ในรายวชิ าต่าง ๆ ทีอ่ ย่ใู นความรับผิดชอบของสาขาวชิ า ภาควิชาและคณะฯ
6. สรา้ งระบบการประเมนิ อาจารยท์ ป่ี รึกษา โดยใช้แบบประเมิน (เอกสารแนบในภาคผนวก)
7. หาแหลง่ ทนุ สนบั สนนุ งบประมาณเมอ่ื มีความจำเปน็
ขอบเขตงานของอาจารย์ทปี่ รึกษาในแต่ละคณะ/หรือสาขาวิชา ของวิทยาลัยศาสนศาสตรล์ า้ นนา
1. ด้านวิชาการ ได้แก่ การลงทะเบยี น การดำเนินการแบบคำร้องต่าง ๆ ตดิ ตามความก้าวหนา้ ทางด้านการ
เรียนและทางดา้ นวิชาการของนักศึกษา และการสนบั สนนุ ดา้ นการศึกษา เชน่ เรอื่ งทุนการศึกษา เรอ่ื งการศึกษาต่อ
เป็นต้น
23
2. ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมที่จดั โดยมหาวิทยาลัย กิจกรรมที่
จัดโดยคณะฯ กิจกรรมที่จัดโดยภาควิชา/สาขาวิชา กิจกรรมที่จัดโดยชั้นปีของนักศึกษาเอง กิจกรรมโครงการที่จัด
โดยฝา่ ยจัดการศกึ ษา กจิ กรรมโครงการท่จี ัดโดยศนู ยบ์ รกิ ารวชิ าการ เปน็ ตน้
3. ด้านการดำเนินชวี ิตและอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ การดูแลดา้ นจิตใจและปญั หาอ่นื ๆ ท่ีอยู่ในขอบข่ายของอาจารยท์ ่ี
ปรกึ ษาพงึ ชว่ ยเหลือได้
งานของอาจารยท์ ี่ปรึกษา
ดา้ นวิชาการ ด้านการพฒั นานกั ศึกษา ดา้ นการดำเนินชีวติ
• การลงทะเบยี น • การสนบั สนนุ ให้นักศกึ ษา • การดูแลด้านจิตใจและ
• การดำเนนิ แบบคำร้องต่าง ๆ เข้ารว่ มกิจกรรมที่จัดโดย ปัญหาอ่นื ๆ ที่อยใู่ นขอบข่าย
• การสนับสนุนเรือ่ งทนุ มหาวทิ ยาลัย ของอาจารย์ทีป่ รึกษาพึง
• ตดิ ตามความกา้ วหน้าทางดา้ นการเรยี น ช่วยเหลอื ได้
• การตดิ ตามทางด้านวชิ าการของนกั ศึกษา • การสนับสนุนให้นักศกึ ษา
• การสนบั สนุนด้านแหล่งทนุ การศกึ ษา เข้าร่วมกิจกรรมทีจ่ ดั โดย • การดูแลด้านความประพฤติ
• การสนบั สนุนด้านการศกึ ษาต่อ ฯ คณะ/ภาควิชา/สาขาวิชา ตามคตพิ จน์ “ระเบียบ
สามัคคี บำเพญ็ ประโยชน”์
• การสนบั สนนุ ให้นกั ศกึ ษา
เข้าร่วมกิจกรรมที่จัดโดย
นักศกึ ษา ฯ
24
ภาคผนวก
25
ภาคผนวก ก
เคร่ืองมอื สำหรบั อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา
26
แบบ มมร.ลน. 1
ประวตั ินกั ศกึ ษา ติดรูปขนาด
2 นิ้ว
คำชี้แจง ให้นักศกึ ษาเติมขอ้ ความในช่องวา่ งตามความเป็นจรงิ และเขยี น เคร่อื งหมาย / ลงใน ( )
ข้อมลู ทง้ั หมดจะเก็บเปน็ ความลบั และจะนำมาใช้เพ่อื ประโยชน์สำหรับนกั ศึกษาเท่านั้น
ขอ้ มูลส่วนตัว
1. ชื่อ-สกลุ .............................................................................................................ชอ่ื เล่น.....................................................
กำลงั ศกึ ษาอยู่ระดบั ช้ัน......................เกดิ วนั ที.่ .......เดอื น...........................................................พ.ศ................อายุ............ปี
ศาสนา.............................เลขประจำตวั ประชาชน - ---
โทรศัพทท์ ีต่ ิดตอ่ สะดวก
2. ปัจจุบันนกั ศึกษาอาศยั อยกู่ ับ (นาย/นาง/น.ส.)............................................................................................................................
เกี่ยวข้องเปน็ .........................................ท่อี ย.ู่ ....................................................................................................................
..................................................................................รหสั ไปรษณีย.์ ........................โทรศัพท์...........................................
3. เพ่ือนสนทิ 1.ช่ือ.......................................................................ช้นั /หอ้ ง,สาขา..................................................................
ทีอ่ ย.ู่ .....................................................................................................................โทรศัพท์...............................................
2.ชื่อ................................................................................ชนั้ /ห้อง,สาขา.............................................................
ที่อย.ู่ ..................................................................................................................โทรศัพท.์ ...............................................
4. อาจารย์ท่ีปรกึ ษา
ชื่อ .........................................................................................................................................................................................
5. สถานศึกษาเดมิ ................................อำเภอ.....................จังหวดั ....................................รหสั ไปรษณีย…์ ………………………
6. ความสามารถพิเศษ...........................................................................................................................................................
7. สุขภาพ หมเู่ ลอื ด......................โรคประจำตวั ..................................................................................................................
เคยได้รบั การรักษาโรคประจำตวั จาก................................................................................................................................
อน่ื ๆ เชน่ การแพย้ า...................................................................................................................................................
ขอ้ มลู ครอบครัว
1. ชื่อ-สกลุ บิดา……………………….......………………………อายุ.............ปี จบการศกึ ษาช้ัน....................................................
ทอี่ ย.ู่ .................................................................................................................................................................................
โทรศพั ท.์ .....................................อาชีพ..........................................รายได้ประมาณเดือนละ......................................บาท
2. ชือ่ -สกุลมารดา........………………………............………………อาย.ุ ............ปี จบการศกึ ษาชนั้ ................................................
ที่อย่.ู ...................................................................................................................................................................................
โทรศัพท.์ ..........................................อาชีพ.......................................รายไดป้ ระมาณเดือนละ.....................................บาท
3. สถานครอบครวั บิดา/มารดา ( ) อยู่ดว้ ยกนั ( ) แยกกันอยู่ ( ) ถึงแกก่ รรม.............................................................
( ) หยา่ รา้ ง ( ) อ่ืน ๆ ระบ.ุ .........................................................................................
27
4. นกั ศกึ ษาอย่ใู นความปกครองของ ( นาย/ นาง/ น.ส. ).................................................................................................................
ทอี่ ย.ู่ ...............................................................................................................รหสั ไปรษณีย.์ ............................................
โทรศพั ท.์ .......................................อาชพี ..................................... .........รายได.้ .........................บาท/เดือน
ข้อมูลระหว่างเรียน
1. ผ้สู ง่ เสยี ใหน้ กั ศึกษา เรยี น ชอ่ื .........................................................เกยี่ วขอ้ งเปน็ ...........................................................
2. นกั ศึกษาได้รบั คา่ ใชจ้ ่าย สปั ดาห์ละ......................บาทหรือเดือนละ....................................บาท
3. นกั ศกึ ษากลบั บา้ นบ่อยเพยี งใด.........................เดนิ ทางกลบั บ้านอยา่ งไร..........................................................................
4. เพอื่ นบ้านทตี่ ิดตอ่ ได้สะดวก คอื ........................................................................ที่อยู่.........................................................
.........................................................รหัสไปรษณีย.์ ..................................โทรศพั ท์...............................................................
5. เพ่ือนในวทิ ยาลัยทีอ่ ยูบ่ า้ นใกลห้ รอื ไปกลับด้วยกนั คือ.......................................................................................................
ช้ัน..................................หอพกั /ทอี่ ย่.ู ...............................................................................................................................
6. กรณี นักศึกษาขออนญุ าตกลบั บ้านซง่ึ บ้านทีก่ ลับไปน้นั ต้งั อยทู่ .่ี .....................................................................................
หม่ทู ่.ี ...........ตำบล. ............................อำเภอ. ..............................จงั หวัด. ...................... รหัสไปรษณีย.์ ......................
7. แผนที่สงั เขปที่อยตู่ ามภมู ลิ าเนา
(หากมีการเปล่ยี นแปลงใด ๆ ใหแ้ จ้งกบั อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาทราบทุกคร้ังภายใน 3 วนั หลังจากการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ)
ลงช่ือ....................................................นกั ศึกษา
(..........................................................................)
................/....................../.................
28 แบบ มมร.ลน. 2
แบบบนั ทึกการพบนักศกึ ษา
(ส่วนนี้เฉพาะอาจารย์ทปี่ รึกษาบันทกึ เพื่อเก็บไวเ้ ปน็ ฐานข้อมูล)
ชอ่ื -สกุล นกั ศกึ ษา………………………………………………รหัส…………………………………………………
ภาคการศึกษา……………………………………………ปกี ารศึกษา…………….…………………………………
วนั /เดอื น/ปี เวลา เหตุผลของการเขา้ พบ คำแนะนำท่ใี ห้ หมายเหตุ
29
แบบ มมร.ลน.3
แบบบันทกึ แนวทางการใหค้ ำปรกึ ษาในด้านตา่ งๆ
การใหก้ ารปรกึ ษาดา้ นวชิ าการ
1. แนะนำเก่ียวกับหลักสูตร และการลงทะเบยี นวิชาเรยี น
2. ติดตามผลการเรยี นของนกั ศึกษา
3. แนะนำวธิ ีการเรียน การค้นคว้า
4. แนะนำหรอื ตักเตือน เม่ือผลการเรยี นตกต่ำลง
5. แนะนำและชว่ ยเหลือเพอ่ื การแก้ไขอปุ สรรคปัญหาในการเรียนวิชา
6. ใหค้ วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดคา่ คะแนนเฉลย่ี (คะแนนเฉล่ีย ระบ…ุ ………………..)
7. แนะนำเก่ียวกับการศึกษาตอ่ ในระดบั สูง
8. อน่ื ๆ (ระบ)ุ ……………………........................………………..
การใหก้ ารปรกึ ษาดา้ นงานสนับสนนุ การศกึ ษา
1. พิจารณาคำร้องตา่ ง ๆ ของนกั ศกึ ษา (ระบุ)………………………………………………………….
2. ใหร้ ับรองความประพฤตแิ ละความสามารถของนกั ศึกษา
3. แนะนำเกี่ยวกบั ระเบยี บขอ้ บังคับและบริการต่าง ๆ ของมหาวทิ ยาลัย และตกั เตอื นเม่ือทำผดิ
4. กฎระเบยี บวนิ ยั
5. อ่ืน ๆ (ระบ)ุ …………………………………………………………………………...…………….
การให้การปรกึ ษาดา้ นการพัฒนานักศกึ ษาและอนื่ ๆ
1. ใหก้ ารปรึกษาเก่ียวกบั ปัญหาสว่ นตัว ปญั หาสุขภาพกาย……..…………………………………
ปญั หาสขุ ภาพจิต…………………………………………
2. ปญั หาการปรบั ตวั ในสงั คม………............................................................................……………
3. ปญั หาการคบเพ่อื น………...............................................................................................….……
4. การพฒั นาบคุ ลิกภาพ ความประพฤตแิ ละจรยิ ธรรม
5. การให้คำแนะนำการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
6. อื่น ๆ (ระบ)ุ ……………………………………………………………………………………...….
30 แบบ มมร.ลน.4
แบบบันทกึ การส่งตอ่ และแกไ้ ขปัญหาของนักศกึ ษา
ชือ่ -สกุล นกั ศกึ ษา…………………………………………………………รหสั ……………………................................
ช่ืออาจารยท์ ีป่ รึกษา………………………………………….วันที่…….เดอื น……….พ.ศ…………...........................................
ส่งเร่อื งต่อให้
งานกิจการนักศึกษา
หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารงานทวั่ ไป
หวั หน้าฝ่ายจดั การศึกษา
ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดี
ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัยศาสนศาสตรล์ า้ นนา
รองอธิการบดี
เรื่องที่
ปรึกษา……………………………...............…………………………………………………………...... ..................................................
............................................................................................................................ .............................................. ..........
...................................................................................................................... ………………………………………………………
…………………...............………………………………
ผลสรุปของการแก้ไข
ปญั หา………………………………………………………................………………….. .....................................................................
.......................................................................................................... ..........................................................................
.................................................................................................... ………………………………………………………………….......
........………………………………………
ลงช่อื ผแู้ ก้ไขปัญหา………..…………………….
(……………………………….)
………/…………/……….
เ ็หนด้วยมากท่ี ุสด 31 แบบ มมร.ลน.5
เ ็หน ้ดวยมาก
แบบประเมนิ อาจารย์ทป่ี รึกษาโดยนกั ศึกษา
เ ็หนด้วยปานกลาง
เ ็หนด้วยน้อยขอ้ มูลส่วนบุคคล
เพศ ............. ช้นั ปี .............. เกรดเฉล่ีย ............. ชือ่ – นามสกุล อาจารยท์ ่ีปรึกษา…………................................
เ ็หน ้ดวยน้อยท่ี ุสดไดเ้ ขา้ พบอาจารยท์ ่ปี รึกษาในภาคการศึกษาท่ี…............ปกี ารศึกษา.......................
ไม่ไ ้ดขอคำป ึรกษา
ความคิดเห็น
้ดานน้ี
ลำดับ
ประเด็นพิจารณาความเห็น
1. ดา้ นวชิ าการและการสนับสนนุ การศึกษา
1.1 ใหค้ ำแนะนำทีถ่ ูกต้องชดั เจนในด้านหลกั สตู ร
และการเรียน
1.2 ให้คำปรึกษาทมี่ ีประโยชนใ์ นการพฒั นาการเรยี น
และหม่ันติดตามผลการเรยี นสมำ่ เสมอ
1.3 ช่วยเหลอื แนะนำ เพือ่ แกไ้ ขอุปสรรค ปัญหาใน
การเรยี นวิชาตา่ ง ๆ
1.4 พิจารณาดูแลการยื่นคำรอ้ งต่าง ๆ ให้คำแนะนำ
และเสนอแนะแนวทางในการดำเนินการอย่าง
เป็นข้ันตอนได้ถูกต้อง ตามระเบยี บ
1.5 จัดสรรเวลาเพอื่ ให้นกั ศึกษาเข้าพบไดท้ ้ังกรณี
ทว่ั ไปและกรณีพเิ ศษเมื่อนักศึกษาต้องการความ
ช่วยเหลอื
2. ดา้ นพฒั นานกั ศึกษา
2.1 ใหค้ ำปรึกษาเพอ่ื พัฒนาบุคลกิ ภาพ งานอาชีพ
และการเรยี นตอ่ ในระดบั สูงได้
2.2 ปลกู ฝังทศั นคติทดี่ ีต่ออาจารย์ สาขาวชิ า คณะ
และมหาวทิ ยาลัยฯ
2.3 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้นกั ศกึ ษาเข้ารว่ มกิจกรรมใน
ระดบั ต่าง ๆ
32
3. ดา้ นการดำเนินชวี ิต และดา้ นอนื่ ๆ
3.1 ให้คำปรึกษาเรอ่ื งส่วนตัว
3.2 ใหค้ ำปรกึ ษาเร่ืองสุขภาพ
3.3 ใหค้ ำปรกึ ษาเรอ่ื งการปรบั ตัว และการคบเพื่อน
3.4 พรอ้ มรับฟังปญั หาของนกั ศึกษาดว้ ยความจริงใจ
3.5 ใชค้ ำพดู เหมาะสมในการใหค้ ำปรกึ ษา
ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ
............................................................................................................................. .........................................................
........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................................
............................................................................................................................. ...........................
.................................................................................................. ....................................................................................
............................................................................................................................. ..........................
................................................................................................................................................. .....................................
.............................................................................................. ..........................................................
ขอขอบคณุ ทีต่ อบแบบประเมิน
เ ็หน ้ดวยมาก 33 แบบ มมร.ลน.6
ี่ท ุสด
แบบประเมนิ ตนเองของอาจารย์ท่ีปรึกษา
เ ็หน ้ดวยมาก
เ ็หน ้ดวยปาน1. จำนวนปีในการปฏบิ ตั งิ าน ระบ…ุ …………………………ปี
2. จำนวนนกั ศึกษาในความดูแล
กลาง
เ ็หน ้ดวย ้นอย1. ช้นั ปี………….หลักสูตร………........................................……..………….จำนวน.……………คน
เ ็หน ้ดวย ้นอย2.ช้นั ปี…….…….หลักสูตร……………..…………..................................จำนวน…...……….…….คน
3. ความคิดเห็นของทา่ นในการปฏบิ ตั หิ น้าทขี่ องอาจารย์ท่ีปรกึ ษา
ี่ท ุสด
ความคดิ เห็น
ลำดับ ประเด็นพจิ ารณา
1 มีการจัดสรรเวลาในการใหค้ ำปรกึ ษาแก่นักศกึ ษา
2 ชว่ ยให้คำแนะนำในการแกป้ ัญหาให้นกั ศึกษาอย่างทนั เหตกุ ารณ์
3 ทราบปัญหาของนกั ศกึ ษาในความดูแล และติดตามชว่ ยเหลอื ตามข้นั ตอน
4 ติดตามผลการเรียน และช่วยปรับปรงุ การเรยี นของนักศกึ ษาที่มีปญั หา
5 แนะนำและตดิ ตามการเขา้ ร่วมกจิ กรรมต่าง ๆ อย่างน้อยเทอมละ 5 ครั้ง
6 แนะนำและตรวจสอบการลงทะเบยี นเรยี นของนักศกึ ษา
7 พบปะและบันทกึ ขอ้ มลู นักศึกษาในความดูแลอยา่ งสมำ่ เสมอ
8 ศกึ ษากฎระเบียบข้อบังคบั ของสถาบนั และใหค้ ำแนะนำแก่นักศกึ ษาในการ
ปฏิบตั ิตวั อย่างถกู ต้อง
9 ให้คำแนะนำ ตักเตือน เพือ่ พฒั นานกั ศกึ ษาในความดูแลท้งั ด้านการเรียน
สงั คม และพฤตกิ รรมสว่ นบคุ คล
10 ไมเ่ ปดิ เผยความลับของนกั ศกึ ษาแกผ่ ูท้ ี่ไมเ่ กย่ี วขอ้ ง
ปญั หาและอปุ สรรคทเ่ี กดิ ขึ้น
............................................................................................................................. .........................................................
........................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .........................................................
............................................................................................................................. ...........................
34 แบบ มมร.ลน.7
แบบประเมินระบบอาจารยท์ ่ปี รกึ ษา วิทยาลยั ศาสนศาสตร์ลา้ นนา
คำแนะนำ ให้อาจารยท์ ปี่ รึกษาทำเคร่ืองหมาย ที่ตรงกับความคิดเห็นมากท่สี ดุ
ความคิดเห็น
รายการประเมิน เ ็หน ้ดวยมาก
ี่ท ุสด
เ ็หน ้ดวยมาก
เ ็หน ้ดวยปาน
กลาง
เ ็หน ้ดวย ้นอย
เ ็หน ้ดวย ้นอย
ี่ท ุสด
1. ภาระหนา้ ท่ขี องอาจารย์ที่ปรึกษามีความเหมาะสม
2. คู่มืออาจารยท์ ป่ี รึกษามีความเหมาะสม
3. อาจารย์มคี วามเข้าใจและสามารถแนะนำเกีย่ วกับ
3.1 หลักสตู รและลักษณะรายวชิ าในสาขาวชิ า
3.2 การลงทะเบยี นเรยี น
3.3 วธิ ีเรยี นและการวัดผล
3.4 ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของมหาวิทยาลยั
3.5 บริการและสวัสดกิ ารของมหาวทิ ยาลยั
4. ระบบอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาทางวชิ าการของ วิทยาลยั ศาสนศาสตร์
ล้านนา กอ่ ใหเ้ กิดความสัมพนั ธ์และ ความเข้าใจอนั ดีระหว่าง
คณาจารย์ นักศึกษา และสถาบนั
ปัญหาและอุปสรรคท่เี กิดขึน้
............................................................................................................................. .........................................................
......................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................................
............................................................................................................................. .........................................................
ขอ้ เสนอแนะ
..................................................................................................................................................... .................................
................................................................................................. ...................................................................... ...............
............................................................................................................................. .........................................................
35
ภาคผนวก ข
ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ประกาศ
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั
36
ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วา่ ด้วย การศกึ ษาระดับปริญญาตรี
พ.ศ. 2559
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงแก้ไขระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วย การศึกษา ระดับ
ปริญญาตรี ใหส้ อดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตร มาตรฐานทางวิชาการ และการจัดการศกึ ษา
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 149 (2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ.
2540 และในคราวประชมุ สภามหาวทิ ยาลัย ครงั้ ท่ี 4/2559 เมือ่ วนั ท่ี 17 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ได้มีมติที่ 108/2559
จึงวางระเบยี บไวด้ งั น้ี
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วย การศึกษาระดับ ปริญญาตรี
พ.ศ. 2559”
ขอ้ 2 ระเบียบน้ีใชบ้ ังคบั ตง้ั แตป่ ีการศึกษา 2559 เป็นตน้ ไป
ข้อ 3 ใหย้ กเลิกระเบยี บมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย วา่ ดว้ ย การศกึ ษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554
และให้ใช้ระเบยี บนแ้ี ทน
ข้อ 4 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคาสั่งอื่นใดซึ่งขัดหรือแย้งหรือสอดคล้องกับ ระเบียบนี้ให้ใช้
ระเบียบน้ีแทน
ขอ้ 5 ในระเบยี บนี้
“มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย “อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดี
มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั “สภาวชิ าการ” หมายถงึ สภาวิชาการมหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั
“วิทยาเขต” หมายถึง เขตการศกึ ษาของมหาวิทยาลัยที่จัดตั้งขึน้ นอกเขตท่ตี ง้ั มหาวทิ ยาลยั ตามมาตรา
4 แห่งพระราชบญั ญัตมิ หาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย พ.ศ. 2540
“คณะ” หมายถึง คณะที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัย และให้หมายความ รวมถึง
วิทยาลยั ในวทิ ยาเขตของมหาวทิ ยาลยั และวทิ ยาลัยทม่ี ิได้สงั กัดวิทยาเขตของมหาวทิ ยาลยั
“คณบดี” หมายถึง คณบดีของคณะที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัย และ ให้
หมายความรวมถึงผู้อานวยการวทิ ยาลัยในวทิ ยาเขตและวทิ ยาลยั ทีม่ ิไดส้ งั กัดวทิ ยาเขตของมหาวิทยาลยั
“ภาควิชา” หมายถึง ภาควิชาในคณะทนี่ กั ศึกษาสงั กดั
37
“หัวหน้าภาควิชา” หมายถึง หัวหน้าภาควิชาในคณะที่นักศึกษาสังกัด และให้หมายความ รวมถึง
หวั หน้าฝ่ายจดั การศกึ ษาในวิทยาเขตและวิทยาลยั ทีม่ ไิ ด้สังกัดวทิ ยาเขต
“นักศึกษา” หมายถึง ผู้เข้ารับการศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย “หน่วยกิต”
หมายถึง หน่วยที่ใช้แสดงปรมิ าณการศึกษาในแต่ละรายวชิ า
“นายทะเบียน” หมายถึง ผู้อานวยการศูนย์บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยซึ่งได้รับมอบหมาย จาก
มหาวทิ ยาลยั ใหป้ ฏบิ ตั ิหน้าทเ่ี ป็นนายทะเบียนของมหาวทิ ยาลัย
“เจ้าหน้าที่ทะเบียน” หมายถึง ผู้อานวยการวิทยาลัยที่ได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัย ให้ปฏิบัติ
หน้าทเ่ี ปน็ เจา้ หนา้ ทที่ ะเบียนของวทิ ยาลัยในวทิ ยาเขตและวิทยาลยั ท่ีมิได้สงั กัดวทิ ยาเขต
“อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา”
“อาจารย์ที่ปรึกษา” หมายถึง อาจารย์ประจาของมหาวิทยาลัยและได้รับแต่งตั้งให้เป็น อาจารย์ท่ี
ปรึกษาของนักศกึ ษา
ขอ้ 6 ให้อธิการบดรี ักษาการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบนี้
ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนดไว้ในระเบียบนี้ หรือมีความจาเป็นต้องปฏิบัติ
นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในระเบียบนี้ หรือในกรณีต้องตีความ วินิจฉัยปัญหาอันเกิดจากการใช้ระเบียบนี้ ให้
อธิการบดีเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด เว้นแต่อธิการบดีเห็นว่าปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ควรนาเข้าสู่ การ
พิจารณาของสภาวชิ าการ ใหอ้ ธกิ ารบดเี สนอสภาวิชาการเพื่อวินิจฉยั ช้ีขาด และคาวินิจฉยั ชี้ขาดของ อธิการบดีหรือ
สภาวชิ าการแลว้ แตก่ รณถี ือเป็นท่สี ุด
หมวด 1 คณุ สมบัติของผเู้ ข้าศึกษา
ข้อ 7 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครเข้าศึกษา ผู้สมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัย ต้องมี
คุณสมบัติ ดังต่อไปน้ี
7.1 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และไม่เป็นผู้มีคุณสมบัติ ต้องห้ามข้อ
ใดขอ้ หนึง่ ตอ่ ไปน้ี
(1) ไม่เป็นผู้ที่เปน็ โรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคร้ายแรงทเี่ ปน็ อปุ สรรคต่อการศกึ ษา
(2) ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม เว้นแต่นักศึกษา ตามโครงการ
ศึกษาลกั ษณะพเิ ศษ
(3) ไมเ่ ปน็ ผูว้ ิกลจรติ หรอื จติ ฟนั เฟอื นไมส่ มประกอบ หรอื ตดิ ยาเสพติดให้โทษ
7.2 เปน็ ผูท้ ่ีสภาวิชาการพิจารณาแลว้ เหน็ สมควรใหร้ ับเข้าศึกษา
ขอ้ 8 การรับเขา้ ศกึ ษา
มหาวิทยาลัยจะรับผู้มีคุณสมบัตติ ามข้อ 7 เข้าศึกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่มหาวิทยาลัย กาหนด ซ่ึง
จะประกาศให้ทราบในแตล่ ะปีการศกึ ษา
38
หมวด 2
ระบบการศึกษา
ข้อ 9 ระบบการศึกษา
การศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลยั ใช้ระบบหน่วยกิตแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ การศึกษาภาค
ปกติและการศกึ ษาภาคพเิ ศษ
9.1 การศึกษาภาคปกติใช้ระบบทวิภาค แบ่งเวลาการศึกษาในหนึ่งปีการศึกษาออกเป็น 2 ภาค
การศกึ ษาปกติ ได้แก่ ภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศกึ ษาที่ 2 แต่ละภาคการศึกษาปกติมี ระยะเวลาการศึกษาไม่
นอ้ ยกวา่ 15 สปั ดาห์
ทั้งนี้ ในการศึกษาภาคปกติ มหาวิทยาลัยอาจจัดให้มีการศึกษาภาคฤดูรอ้ นต่อจากภาค การศึกษาที่
2 กไ็ ด้ และการศึกษาภาคฤดูร้อนจะต้องมีกาหนดระยะเวลาการศึกษาและหนว่ ยกิต โดยมีสัดส่วน เทียบเคียงกันได้
กับการศกึ ษาภาคปกติ
การจัดการศึกษาภาคฤดูรอ้ นและการจัดการศกึ ษาระดับปริญญาตรใี นโครงการพิเศษ ให้เป็นไปตาม
ระเบยี บของมหาวิทยาลยั
9.2 การศึกษาภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยอาจจัดให้มกี ารศกึ ษาภาคพิเศษนอกเวลาราชการ หรือเวลาทา
การของมหาวิทยาลัยด้วยก็ได้ และการจัดการศึกษาภาคพิเศษจะต้องให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน เช่นเดียวกันกับ
การศึกษาภาคปกติ และมีกาหนดระยะเวลาการศึกษาและหน่วยกิต โดยมีสัดส่วนเทียบเคียงกัน ได้กับการศึกษา
ภาคปกติ
การจัดการศกึ ษาภาคพเิ ศษเปน็ ไปตามทสี่ ภาวิชาการกาหนด โดยทาเป็นระเบียบของ มหาวิทยาลยั
ขอ้ 10 การคดิ หน่วยกติ การกาหนดหน่วยกิตแต่ละรายวิชามหี ลกั เกณฑ์ ดังนี้
10.1 รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยายหรือการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาค
การศึกษาปกติ ใหม้ ีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค
10.2 รายวชิ าภาคปฏิบตั ิ ทใ่ี ช้เวลาฝกึ หรอื ทดลองไมน่ ้อยกวา่ 30 ชว่ั โมงต่อภาค การศกึ ษาปกติ ให้
มีค่าเท่ากับ 1 หนว่ ยกติ ระบบทวภิ าค
10.3 การฝกึ งานหรอื การฝึกภาคสนาม ทใ่ี ช้เวลาฝกึ ไม่น้อยกวา่ 45 ชว่ั โมง ตอ่ ภาค การศึกษาปกติ
ให้มคี ่าเท่ากับ 1 หนว่ ยกิตระบบทวิภาค
10.4 การทาโครงงานหรือกจิ กรรมการเรยี นอ่ืนใดตามที่ได้รับมอบหมายท่ีใชเ้ วลาทา โครงงานหรือ
กจิ กรรมน้ัน ๆ ไม่น้อยกวา่ 45 ช่วั โมงต่อภาคการศึกษาปกติ ใหม้ ีค่าเทา่ กบั 1 หนว่ ยกติ ระบบทวิภาค
ข้อ 11 จานวนหนว่ ยกิตรวมและระยะเวลาการศกึ ษา
39
11.1 หลักสตู รปริญญาตรี (4 ป)ี ใหม้ จี านวนหน่วยกติ รวมไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกติ ใชเ้ วลาศึกษา
ไม่เกิน 4 ปีการศึกษา สาหรับการลงทะเบียนเต็มเวลา และไม่เกิน 12 ปีการศึกษา สาหรับการ ลงทะเบียนเรียนไม่
เตม็ เวลา
11.2 หลักสูตรปริญญาตรี (5 ปี) ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต ใช้เวลา
การศึกษาไม่เกิน 10 ปีการศึกษา สาหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่เกิน 15 ปีการศึกษา สาหรับการ
ลงทะเบยี นเรียนไม่เต็มเวลา
ทั้งนี้ การนับระยะเวลาการศึกษา ให้นับจากวันท่ีเปิดภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษาในหลักสูตร ของ
มหาวทิ ยาลัย และในกรณที ม่ี เี หตผุ ลและความจาเป็นและสภาวชิ าการเหน็ สมควร นกั ศึกษาทุกหลักสูตร สามารถขอ
อนุมัติขยายระยะเวลาการศึกษาต่อสภาวิชาการได้อีกไม่เกิน 1 ปีการศึกษา ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติใน การขอขยาย
เวลาการศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามทีส่ ภาวิชาการกาหนดโดยทาเป็นประกาศของมหาวทิ ยาลัย
ข้อ 12 โครงสร้างหลักสูตร โครงสร้างเนื้อและสาระการเรียนรู้ของหลักสูตรแต่ละสาขาวิชาและ
จานวนหน่วยกติ ใหเ้ ป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร เกณฑม์ าตรฐานวชิ าชีพ ทัง้ นี้ เพือ่ ความเปน็ สถาบัน เฉพาะ
ทางพระพุทธศาสนา หลักสูตรทุกสาขาวิชาของมหาวิทยาลัย ให้มีวิชาเฉพาะทางพระพุทธศาสนาไม่น้อย กว่า 30
หนว่ ยกติ
ข้อ 13 เวลาเรียน ในแต่ละรายวิชานักศึกษาต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลา เรียน
ทั้งหมดในหนึ่งภาคการศึกษา หรือได้ปฏิบัติงานในรายวิชานั้นจนเป็นที่เพียงพอตามที่อาจารย์ประจา รายวิชา
กาหนดจงึ จะมสี ทิ ธิเขา้ สอบในรายวชิ าน้ัน ยกเว้นในกรณีทคี่ ณบดีไดส้ อบสวนแลว้ เห็นว่าการมีเวลาเรยี น ไม่ครบตาม
กาหนดน้ี เนอื่ งมาจากเหตุอนั มใิ ชค่ วามผิดของนักศึกษา
ข้อ 14 การเทียบชั้นปีของนักศึกษา ให้เทียบชั้นปีของนักศึกษาจากจานวนหน่วยกิตที่สอบได้ ตาม
อตั ราสว่ นของหนว่ ยกติ รวมของหลักสตู รทีน่ ักศึกษาลงทะเบยี นเรยี น
ข้อ 15 การเปิดการเรียนการสอนและการระงับการเรียนการสอนรายวิชา ให้อยู่ในดุลพินิจของ
หัวหนา้ ภาควชิ า โดยความเหน็ ชอบของคณบดี
หมวด 3 การข้นึ ทะเบียนเป็นนักศกึ ษาและการลงทะเบียนเรียน
ข้อ 16 การขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา ผู้สมัครเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย จะมีสถานภาพเป็น นักศึกษา
ตอ่ เมอื่ ไดข้ ึน้ ทะเบียนเปน็ นกั ศึกษา และในการขนึ้ ทะเบียนเป็นนักศึกษาผสู้ มัครเขา้ ศึกษาต้องปฏบิ ัติ ตามหลักเกณฑ์
และวิธปี ฏิบัติตามประกาศของมหาวิทยาลยั
ขอ้ 17 การลงทะเบยี นเรียน
17.1 นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา ตามวัน เวลา และสถานที่ที่มหาวิทยาลัย กาหนด
ยกเว้นกรณีที่มีเหตุจาเป็นสุดวิสัย อาจได้รับอนุมัติให้ลงทะเบียนเรียนได้เป็นกรณีพิเศษจากคณบดี ทั้งนี้ จะต้อง
ลงทะเบียนเรียนใหเ้ รยี บร้อยภายใน 2 สปั ดาหข์ องภาคการศึกษานนั้ ๆ
40
17.2 การลงทะเบียนเรยี นจะสมบูรณ์ตอ่ เมื่อไดช้ าระค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ของ มหาวิทยาลัยเรียบร้อย
แล้ว การลงทะเบียนล่าช้า การชาระค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ภายหลังวันที่มหาวิทยาลัย กาหนดต้องเสียค่าปรับตาม
ประกาศของมหาวิทยาลยั
17.3 การลงทะเบียนเรียนจะต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา ถ้ารายวิชา ใดบังคับว่า
ต้องเรียนรายวิชาอื่นก่อน ต้องสอบรายวิชาที่ต้องศึกษาก่อนให้ได้ หรือได้รับอนุมัติจากหัวหน้า ภาควิชา เป็นกรณี
พิเศษ จึงจะมีสทิ ธิลงทะเบียนเรยี นวชิ านน้ั
17.4 ในกรณที ่นี ักศึกษาไม่ได้ลงทะเบยี นเรียนในภาคการศึกษาใด จะต้องยืน่ คาร้อง ลาพักการศึกษา
เพื่อรักษาสถานสภาพนักศึกษา พร้อมทั้งชาระค่าธรรมเนียมภายใน 30 วัน นับจากวันเปิด ภาคการศึกษา มิฉะนั้น
อาจถกู คดั ช่อื ออกจากทะเบียนนักศึกษา
ข้อ 18 จานวนหนว่ ยกิตต่อภาคการศึกษา
18.1 นักศึกษาภาคปกติ ให้ลงทะเบียนเรยี นไดไ้ ม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต ใน
แต่ละภาคการศกึ ษาปกติ สาหรับการลงทะเบยี นเรยี นเตม็ เวลา และใหล้ งทะเบยี นเรียนได้ไม่ เกนิ 4 หนว่ ยกิต ในแต่
ละภาคการศึกษาปกติ สาหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เตม็ เวลา ยกเวน้ การลงทะเบียน เรยี นในภาคการศึกษาสุดท้าย
ท้งั น้ี ต้องได้รับอนุมัตจิ ากคณบดี
18.2 ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็น เพื่อคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา ตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตร เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนตามปรัชญาและ ปณิธานของ
มหาวิทยาลยั สภาวิชาการจะกาหนดให้การลงทะเบียนเรยี นของนักศึกษามจี านวนหนว่ ยกติ ที่แตกตา่ งไปจากเกณฑ์
ที่กาหนดในข้อ 18.1 ก็ได้ แต่ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อมาตรฐานและคุณภาพ การศึกษา และนักศึกษาต้องเรียน
ให้ครบและสอบได้ตามจานวนหน่วยกติ ท่กี าหนดไว้ในหลักสูตร
ขอ้ 19 การลงทะเบยี นเรียนโดยไมน่ ับหน่วยกิต
19.1 นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนรายวิชาไม่นับหน่วยกิต (Audit) ได้ โดยต้อง ได้รับอนุมัติ
จากคณบดี โดยความเห็นชอบของอาจารยท์ ีป่ รกึ ษา และชาระคา่ หนว่ ยกติ หรือค่าธรรมเนยี มปกติ
19.2 การลงทะเบียนเรียนรายวิชาโดยไม่นับหน่วยกิต ไม่บังคับให้นักศึกษาสอบและ ไม่มีผลการ
เรียน การบันทึกผลการเรียนจะบันทึกว่า “AUD” เฉพาะผู้ที่มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ เวลาเรียน
ทั้งหมดของรายวิชานนั้
19.3 มหาวทิ ยาลยั อาจอนมุ ัตใิ ห้บุคคลภายนอกลงทะเบียนเรียนวิชาโดยไม่นับหนว่ ยกิตได้ แตผ่ ู้นั้น
จะต้องมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สภาวิชาการกาหนด และจะต้องปฏิบัติตามข้อบังคับและ ระเบียบ
ของมหาวิทยาลยั
ขอ้ 20 การลงทะเบยี นเรียนซ้ำ
41
20.1 ในรายวิชาที่มีการประเมินผลว่าสอบได้ นักศึกษาไม่มีสิทธิลงทะเบียนเรียนซ้า ใน
รายวิชานั้นอีก ยกเว้นกรณีที่นักศึกษาสอบได้จานวนหน่วยกิตครบทุกวิชาตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแล้ว ได้ค่า
ระดับคะแนนเฉลีย่ สะสมไม่ถึง 2.00 และต้องเป็นรายวชิ าที่สอบได้ค่าระดบั คะแนนต่ากว่า 2.00 เท่านนั้
20.2 นักศึกษาที่มีผลการเรียนหรือผลการสอบในรายวิชาบังคับได้ระดับคะแนนต่ำกว่า C
จะต้องลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นซ้ำอีกจนกวา่ จะสอบได้ระดบั คะแนน C ขึ้นไป ส่วนรายวิชาอน่ื ที่ไม่ใช่ รายวิชา
บังคบั ซงึ่ นักศึกษาสอบได้ระดับคะแนน F สามารถลงทะเบยี นเรียนซ้ำหรือจะเลือกลงทะเบียนเรียน รายวิชาอ่ืนแทน
กไ็ ด้
20.3 การลงทะเบียนเรียนซ้าหรือเรียนแทนรายวิชาตามข้อ 20.1 และ 20.2 จะต้อง ได้รับ
อนุมัติจากคณบดีโดยความเห็นชอบของอาจารย์ประจารายวิชา และต้องนาค่าระดับคะแนนทุกรายวิชาที่
ลงทะเบยี นเรยี นไปรวมในการคานวณคา่ ระดับคะแนนเฉล่ียสะสม
หมวด 4 การขอลด ขอเพ่ิมและขอเพิกถอนรายวิชา
ข้อ 21 การขอลด ขอเพมิ่ หรอื ขอเพกิ ถอนรายวิชาต้องไดร้ ับอนมุ ตั ิจากคณบดี โดยความ เหน็ ชอบจาก
อาจารย์ที่ปรึกษา และนาความเห็นของอาจารย์ประจารายวิชามาประกอบการพิจารณา แล้วแจ้ง ให้นายทะเบียน
ทราบหรอื เจ้าหนา้ ทท่ี ะเบียนทราบแลว้ แตก่ รณี
ขอ้ 22 การขอลด หรือขอเพม่ิ รายวชิ าทจี่ ะเรียนให้กระทาไดภ้ ายใน 2 สัปดาห์แรกของภาค การศึกษา
และรายวิชาที่ขอลดนัน้ จะไมบ่ ันทกึ ในใบรายงานผลการศึกษา
ขอ้ 23 การขอลดรายวชิ า การขอเพมิ่ รายวชิ า จะต้องไม่ขัดกับจานวนหน่วยกติ ตามข้อ 18
ขอ้ 24 การขอเพิกถอนรายวิชา
24.1 การขอเพิกถอนรายวิชาจะกระทาได้ภายในสัปดาห์ที่ 4 ของภาคการศึกษา รายวิชาที่ขอเพิก
ถอนน้นั จะบันทึกสญั ลักษณ์ W ในใบรายงานผลการศกึ ษา
24.2 การขอเพิกถอนรายวชิ าหลงั ระยะเวลาทกี่ าหนดจะกระทามิได้ เวน้ แต่จะขอเพิก ถอนทุกรายวิชา
ในภาคการศึกษานั้น โดยยื่นคาร้องขอเพิกถอนก่อนวันสอบปลายภาคการศึกษาวันแรก เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2
สัปดาห์ ทงั้ นี้ ตอ้ งไดร้ บั อนมุ ัติเป็นกรณีพเิ ศษจากคณบดี
หมวด 5
การวดั และการประเมนิ ผลการศึกษา
ข้อ 25 นักศกึ ษาตอ้ งไดร้ บั การประเมินผลการเรยี นรู้ผา่ นกจิ กรรมการเรียนรขู้ องรายวิชา และเข้า สอบ
ทกุ คร้งั ทม่ี กี ารสอบทกุ ประเภท
25.1 การสอบย่อยหรือการประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างการเรียนการสอน เป็นการ ทดสอบและ
หรอื การประเมินผลการเรยี นร้ใู นระหวา่ งการศึกษาของแตล่ ะรายวชิ า การกาหนดเวลา จานวนครง้ั วธิ ีการสอบ และ
กิจกรรมการเรียนรู้ ให้อยใู่ นดุลยพนิ จิ ของอาจารย์ประจารายวชิ า
42
25.2 การสอบกลางภาค เป็นการทดสอบในระหว่างการศึกษาของแต่ละรายวิชา โดยมี การแจ้งให้
นักศกึ ษาทราบล่วงหนา้ การกาหนดเวลาและวิธกี ารสอบให้อยูใ่ นดุลยพินจิ ของอาจารยป์ ระจารายวิชา
25.3 การสอบปลายภาค เป็นการทดสอบครั้งสุดท้ายของแต่ละรายวิชาที่ได้ทาการเรียน การสอน
ครบตามเนอ้ื หาและระยะเวลาตามปริมาณหน่วยกิตในภาคการศึกษานน้ั การกาหนดเวลาและวิธีการ สอบใหเ้ ป็นไป
ตามตารางสอบตามประกาศของมหาวิทยาลยั ยกเว้นในกรณที ่อี าจารยป์ ระจารายวชิ าจะ กาหนดให้มกี ารสอบปลาย
ภาคนอกตารางสอบของมหาวิทยาลัยก็ได้ โดยการอนุมัติของคณบดีและได้รับความ เห็นชอบจากหัวหน้าภาควิชา
และแจ้งใหน้ ายทะเบียนหรือเจ้าหน้าที่ทะเบียนของมหาวทิ ยาลัยทราบแล้วแตก่ รณี
25.4 นักศึกษาที่ขาดสอบในรายวิชาใดให้ถือว่าได้ค่าระดับคะแนนศูนย์ (o) เว้นแต่ใน การสอบครั้ง
นั้น ผู้ขาดสอบได้แจ้งเหตุที่ขาดสอบพร้อมแสดงหลักฐานต่อนายทะเบียนหรือเจ้าหน้าทีท่ ะเบียน ของมหาวิทยาลัย
แล้วแต่กรณี ภายใน 5 วันทาการ นับจากวันที่ขาดสอบ และให้นายทะเบียนหรือเจ้าหน้ าที่ ทะเบียนของ
มหาวิทยาลยั แจง้ คณบดีเพอื่ พิจารณาให้การสอบครั้งน้ันไม่สมบรู ณ์
ข้อ 26 การให้คะแนนการสอบ หรือคะแนนการประเมินผลการเรยี นรู้ประจารายวิชา ให้อยู่ใน ดุลย
พินิจของอาจารย์ประจารายวิชา โดยในการประเมินผลการเรียนรู้จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานการวัดและ การ
ประเมนิ ผลภายใตก้ ารควบคุมของคณบดี
ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยจะต้องกาหนดให้มีมาตรฐานการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ให้
เปน็ ไปตามมาตรฐานการวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู้ และผลการเรยี นรู้ของนักศึกษาถือเป็นสว่ นหนึ่ง ของการ
ประเมินคุณภาพการสอนของอาจารย์ประจารายวิชา อาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร และอาจารย์ ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร
ขอ้ 27 ระบบการประเมนิ ผล
27.1 การประเมินผลการศึกษาของแต่ละรายวิชาให้กระทาเป็นระดับขั้น ซึ่งมี ความหมาย
และค่าระดับคะแนนโดยใช้สัญลักษณ์ดังนี้
ระดบั คะแนน (เกรด) ความหมาย คา่ ระดับคะแนน
A ดเี ยยี่ ม (Excellent) 4.00
B+ ดมี าก (Very good) 3.50
B ดี (Good) 3.00
C+ ค่อนขา้ งดี (Above average) 2.50
C พอใช้ (Average) 2.00
D+ ออ่ น (Below average) 1.50
D ออ่ นมาก (Poor) 1.00
F ตก (Fait) 0.00
43
27.2 ในกรณีที่ไม่สามารถประเมินผลเป็นระดับคะแนนหรือค่าระดับคะแนนดังกล่าว ข้างต้น ให้ใช้
สญั ลกั ษณ์ ตอ่ ไปนี้
(1) AUD (Audit) หมายถงึ การลงทะเบียนเรยี นรายวิชาไมน่ บั หน่วยกติ
(2) (Incomplete) หมายถงึ การวัดผลยงั ไม่สมบูรณ์
(3) S (Satisfactory) หมายถงึ การเรียนเป็นที่น่าพอใจ นกั ศึกษาสอบผ่านวชิ านนั้
(4) U (Unsatisfactory) หมายถึง การเรียนไม่เป็นที่น่าพอใจ นักศึกษาจะต้อง ลงทะเบียนเรียนซ้า
เพื่อเปลี่ยน บ ให้เป็น S
(5) W (Withdrawal) หมายถงึ การขอเพิกถอนรายวิชาโดยได้รบั อนมุ ัติ
27.3 การให้ระดับคะแนน A, B, B , C , C, D, D และ F จะกระทาในกรณีที่เป็น รายวิชาที่นักศึกษาเข้า
สอบและหรอื มีผลงานที่ประเมินค่าได้ตามระดบั คะแนน
27.4 นกั ศกึ ษาทมี่ ีผลการศึกษาในระดบั คะแนน D ข้ึนไปถอื ว่าสอบได้ในรายวิชาน้ัน ยกเว้นรายวิชาตามข้อ
20.2 สว่ นนกั ศึกษาที่มผี ลการศึกษาในระดับคะแนน F จะต้องลงทะเบยี นเรียนซา้ ใน รายวชิ าน้นั
27.5 การให้ F นอกจากขอ้ 27.3 จะกระทาได้ในกรณตี ่อไปน้ี
(1) นกั ศกึ ษาเข้าสอบและสอบตก (2) นกั ศึกษาขาดสอบโดยไม่ไดร้ ับอนมุ ตั ิจากคณบดี
(3) นักศกึ ษาไมม่ ีสทิ ธเิ ข้าสอบเน่ืองจากไดร้ ับการตดั สินว่ามเี วลาเรียนไมถ่ ึงร้อยละ 80 ในรายวชิ านน้ั
(4) นักศกึ ษาทาผิดระเบยี บการสอบและได้รับการตัดสินใหส้ อบตกในรายวิชานั้น
27.6 การให้ AUD จะกระทาได้เฉพาะรายวชิ าทน่ี ักศึกษาลงทะเบยี นเรียนโดยไมน่ ับหน่วยกิต
27.7 การให้ ในรายวชิ าใดจะกระทาได้ในกรณตี อ่ ไปนี้
(1) นักศึกษาที่มีเวลาเรียนครบร้อยละ 80 แต่ไม่สามารถเข้าสอบได้เพราะป่วย โดยต้องยื่นใบลา
พร้อมใบรับรองแพทย์ โดยตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบของอาจารย์ประจารายวชิ า และได้รับ อนมุ ัติคณบดี
(2) นกั ศึกษาขาดสอบโดยเหตสุ ดุ วสิ ัยและไดร้ บั อนมุ ัติจากคณบดี
(3) นักศึกษาทางานที่เป็นส่วนประกอบการศึกษาของรายวิชายังไม่สมบูรณ์และ อาจารย์ประจา
รายวชิ าเหน็ สมควรให้รอผลการศกึ ษา
ทง้ั นี้ นักศึกษาทไี่ ดร้ ับการประเมนิ ผลดว้ ยสัญลักษณ์ l ตอ้ งดาเนินการขอประเมนิ ผลเพ่ือ แก้สัญลักษณ์
l ให้เสร็จภายในภาคการศึกษาถัดไป หากพ้นกาหนดดงั กลา่ ว จะไดร้ ับการเปลย่ี นสัญลกั ษณ์ l เปน็ F โดยอัตโนมัติ
27.8. การให้ S หรือ U ในรายวิชาใดจะกระทาได้เฉพาะรายวิชาที่ไม่มีหน่วยกิต หรือมี หน่วยกิตแต่คณะ
วิชาเห็นว่าไมส่ มควรประเมินผลการศกึ ษาเปน็ สัญลักษณ์ทีม่ ีคา่ ระดบั คะแนน
27.9 การให้ w ในรายวิชาใดจะกระทาได้เฉพาะรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนไว้แล้ว โดยจะต้องเป็นไป
ตามหลกั เกณฑ์