แผนการจัดการเรียนรู้
วชิ าวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน ว21101
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง สมบัติของสารบรสิ ุทธ์ิ
ระดับขน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1
โรงเรยี นหนองบวั พิทยาคาร
นายบญุ เลิศล้ำ บุญเกดิ
รหัสประจำตัวนักศึกษา 62040111115
สาขาวชิ า วทิ ยาศาสตร์ทวั่ ไปและชีววิทยา
การฝกึ ปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษา 1
รหัสวิชา ED16401 (INTERNSHIP IN SCHOOL 1)
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565
ก
คำนำ
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 เล่ม
1 นี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และให้นักเรียน
บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560) ผ้จู ดั ทำจงึ ไดศ้ กึ ษาสาระการเรยี นรู้ เทคนิค วิธกี ารสอน
การวัดและประเมนิ ผล มาจัดทำแผนการจัดการเรยี นรใู้ นครั้งนี้
แผนการจัดการเรียนรู้ในเล่ม 1 น้ี ประกอบไปด้วย เปา้ หมายของวิทยาศาสตร์ เรยี นร้อู ะไร
ในวิทยาศาสตร์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ คุณภาพผู้เรียนเมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์สำคัญของผู้เรียน ตัวชี้วัดและสาระการ
เรียนรู้แกนกลางชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อธิบายรายวิชาพื้นฐาน โครงสร้างรายวิชา แผนการ
ประเมินผลการเรยี นรู้ การวิเคราะห์ตวั ช้ีวดั เพ่ือกำหนดน้ำหนกั คะแนน โครงสรา้ งกำหนดการสอน
แผนการจดั การเรยี นรู้
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง สมบตั ขิ องสารบริสุทธิ์ เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนบรรลมุ าตรฐานการเรียนรู้
ได้เต็มศักยภาพอย่างแท้จริง จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ จะสามารถ
นำไปใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ นำไปสู่การพัฒนาที่ถูกต้องและ
เกดิ ผลแกผ่ ู้เรยี นเป็นอยา่ งดี
นายบญุ เลิศลำ้ บุญเกิด
4 ตุลาคม 2565
ข
สารบญั
เรื่อง หน้า
คำนำ..................................................................................................................................................... ก
สารบัญ................................................................................................................................................. ข
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ.2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560)
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี............................................................................... ค
เปา้ หมายของวทิ ยาศาสตร์..................................................................................................... ค
เรยี นรู้อะไรในวิทยาศาสตร์.................................................................................................... ค
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้............................................................................................... ง
คุณภาพผู้เรยี นเม่ือจบชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3........................................................................... ฉ
สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น................................................................................................... ซ
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์สำคัญของผเู้ รยี น......................................................................... ซ
ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง มัธยมศึกษาปีที่ 1..................................................... ฌ
คำอธิบายรายวิชา............................................................................................................................. ณ
โครงสร้างรายวิชา............................................................................................................................. ถ
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้..................................................................................................... น
บันทกึ ข้อความ เรื่องขออนมุ ตั ิใช้แผนการจัดการเรยี นรู้.................................................................. บ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่อง สมบตั ิของสารบรสิ ุทธิ์
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรอ่ื ง การจำแนก........................................................................ 1
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอื่ ง จดุ เดือดของสารบรสิ ุทธ์ิและสารผสม................................ 12
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 เร่อื ง จดุ หลอมเหลวของสารบรสิ ุทธิ์และสารผสม...................... 27
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง ความหนาแน่นของสารบรสิ ทุ ธิ์.......................................... 38
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 เรื่อง ความหนาแน่นของสารผสม.............................................. 50
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 6 เรอื่ ง ความหนาแนน่ ของสาร..................................................... 62
ค
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ.2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560)
กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เปา้ หมายของวทิ ยาศาสตร์
ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตรม์ ุ่งเน้นใหผ้ ู้เรยี นได้ค้นพบความรูด้ ้วยตนเองมากที่สุด เพื่อให้ได้ท้ัง
กระบวนการและความรูจ้ ากวธิ ีการสังเกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนำผลที่ได้ มาจัดระบบเป็น
หลกั การ แนวคดิ และองคค์ วามรู้
การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรจ์ ึงมีเปา้ หมายทสี่ ำคัญ ดังน้ี
1. เพือ่ ให้เขา้ ใจหลกั การ ทฤษฎีและกฎทเ่ี ปน็ พ้ืนฐานในวิชาวทิ ยาศาสตร์
2. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจำกัดในการศึกษาวิชา
วิทยาศาสตร์
3. เพอ่ื ใหม้ ีทักษะที่สำคัญในการศึกษาคน้ ควา้ และคดิ คน้ ทางเทคโนโลยี
4. เพ่ือให้ตระหนกั ถงึ ความสัมพันธร์ ะหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีมวลมนษุ ย์และสภาพแวดล้อม
ในเชงิ ทีม่ ีอิทธิพลและผลกระทบซ่งึ กนั และกนั
5. เพื่อนำความรู้ความเขา้ ใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ สังคมและ
การดำรงชวี ติ
6. เพอ่ื พัฒนากระบวนการคดิ และจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปญั หา และการจัดการ ทักษะ
ในการส่ือสาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ
7. เพื่อให้เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยอี ยา่ งสรา้ งสรรค
เรียนรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์
กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ม่งุ หวงั ให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการเชอ่ื มโยงความรู้กับ
กระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้
และแกป้ ญั หาท่หี ลากหลาย ใหผ้ เู้ รียนมสี ว่ นร่วมในการเรียนรทู้ ุกข้ันตอน มีการทำกจิ กรรมด้วยการลงมือปฏิบัติ
จรงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชนั้ โดยกำหนดสาระสำคัญ ดังนี้
✧ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ชีวิตในสิ่งแวดลอ้ ม องค์ประกอบของสิ่งมีชวี ิตการดำรงชวี ิต
ของมนุษยแ์ ละสัตวก์ ารดำรงชีวติ ของพชื พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวฒั นาการของสิ่งมชี ีวติ
✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกบั ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสารการเคลื่อนที่
พลังงาน และคล่นื
✧ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ เรียนรู้เกีย่ วกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธภ์ ายในระบบ
สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ
และผลตอ่ ส่ิงมีชวี ติ และสิ่งแวดล้อม
ง
✧ เทคโนโลยี
● การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เกีย่ วกับ เทคโนโลยีเพื่อการดำรงชวี ิตในสังคมที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือ
แกป้ ญั หาหรอื พฒั นางานอย่างมคี วามคดิ สร้างสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี
อยา่ งเหมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม
● วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับ การคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็น
ขัน้ ตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความร้ดู ้านวทิ ยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ในการแก้ปญั หาทีพ่ บในชีวติ จรงิ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งส่งิ ไมม่ ีชีวิต
กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบทีม่ ตี ่อทรัพยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดล้อมแนวทางในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาส่ิงแวดล้อมรวมทงั้ นำความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ขิ องสิ่งมีชวี ิต หนว่ ยพนื้ ฐานของสงิ่ มีชีวิต การลำเลยี งสารเขา้
และออกจากเซลล์ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ท่ีของระบบตา่ ง ๆ ของสตั วแ์ ละมนษุ ยท์ ่ที ำงานสัมพันธ์
กนั ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้างและหน้าทข่ี องอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ทท่ี ำงานสมั พันธก์ นั รวมท้ังนำความรูไ้ ปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมสารพันธกุ รรม การเปล่ยี นแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อสิง่ มีชวี ิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ
วิวัฒนาการของส่งิ มีชวี ิต รวมทัง้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธ์ระหวา่ งสมบัติ
ของสสารกับโครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของ
สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ
ลกั ษณะการเคลอื่ นทแี่ บบต่าง ๆ ของวัตถรุ วมทง้ั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
จ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงและการถา่ ยโอนพลังงาน
ปฏสิ มั พันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจำวนั ธรรมชาติของคลน่ื ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กบั เสียง แสง และคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมทัง้ นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ
กาแลก็ ซีดาวฤกษ์และระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏสิ มั พันธ์ภายในระบบสรุ ิยะทีส่ ง่ ผลต่อสิง่ มชี ีวติ และการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปล่ยี นแปลงภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณพี ิบัติภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภมู ิอากาศโลก
รวมท้งั ผลต่อสง่ิ มีชีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม
สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อ
แกป้ ัญหาหรือพฒั นางานอย่างมคี วามคิดสร้างสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี
อยา่ งเหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวติ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหาทพี่ บในชีวติ จริงอยา่ งเป็น
ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้
อย่างมีประสิทธภิ าพ รู้เท่าทัน และมจี ริยธรรม
ฉ
คณุ ภาพผูเ้ รียนเมอื่ เรียนวิทยาศาสตร์ เมื่อจบช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
❖ เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการ ทำงานของ
ระบบตา่ ง ๆ ในรา่ งกายมนษุ ยก์ ารดำรงชวี ิตของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรม การเปล่ยี นแปลงของ
ยีนหรือ โครโมโซม และตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของ
สิ่งมีชวี ิตดัด แปรพันธกุ รรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนเิ วศและการ
ถ่ายทอด พลังงานในสงิ่ มีชวี ิต
❖ เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร การ
เปลย่ี นแปลงของสารในรปู แบบของการเปลีย่ นสถานะ การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมแี ละสมบัติ
ทางกายภาพ และการใชป้ ระโยชน์ของวสั ดุประเภทพอลเิ มอร์เซรามิค และวสั ดุผสม
❖ เขา้ ใจการเคล่อื นท่ี แรงลัพธ์และผลของแรงลพั ธ์กระทำต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรง แรงท่ีปรากฏใน
ชีวิตประจำวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์
พลังงาน การถา่ ยโอนพลังงาน สมดลุ ความรอ้ น ความสัมพนั ธ์ของปรมิ าณทางไฟฟ้า การตอ่ วงจรไฟฟ้าในบ้าน
พลงั งานไฟฟ้า และหลักการเบอ้ื งต้นของวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์
❖ เข้าใจสมบัติของคลื่น และลักษณะของคลื่นแบบต่าง ๆ แสง การสะท้อน การหักเหของแสงและ
ทศั น อุปกรณ์
❖ เขา้ ใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคล่อื นท่ี ปรากฏของดวงอาทิตย์
การเกิด ขา้ งขนึ้ ขา้ งแรม การขึ้นและตกของดวงจันทรก์ ารเกิดนำ้ ขนึ้ นำ้ ลง ประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศและ
ความก้าวหน้าของโครงการสำรวจอวกาศ
❖ เข้าใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและ
ผลกระทบ ของพายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศ
โลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์
ลักษณะ โครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน
กระบวนการ เกิดดิน แหลง่ นำ้ ผิวดิน แหล่งน้ำใตด้ ิน กระบวนการเกดิ และผลกระทบของภยั ธรรมชาติและธรณี
พิบตั ภิ ยั
❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี
ความสัมพันธ์ ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์วิเคราะห์
เปรียบเทียบ และ ตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ทักษะ และทรพั ยากรเพ่อื ออกแบบและสร้าง ผลงานสำหรับการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
หรอื การประกอบอาชพี โดยใช้กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม รวมทง้ั เลอื กใช้วัสดุอุปกรณ์และเคร่ืองมือ
ได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทัง้ คำนงึ ถึงทรพั ย์สนิ ทางปัญญาตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
ช
❖ นำข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นำเสนอข้อมูล และสารสนเทศได้
ตาม วัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแกป้ ัญหาที่พบในชีวติ จริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย
เพ่ือ ชว่ ยในการแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร อยา่ งรเู้ ท่าทันและรับผดิ ชอบต่อสังคม
❖ ตัง้ คำถามหรือกำหนดปญั หาที่เช่อื มโยงกับพยานหลักฐาน หรอื หลักการทาง วทิ ยาศาสตร์ที่มีการ
กำหนด และควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐาน ที่สามารถนำไปสู่การสำรวจ
ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครื่องมือ ที่เหมาะสม เลือกใช้เครื่องมือและ
เทคโนโลยี สารสนเทศทเ่ี หมาะสมในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพทไ่ี ด้ผลเทย่ี งตรงและ
ปลอดภยั
❖ วิเคราะหแ์ ละประเมินความสอดคล้องของข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการสำรวจตรวจสอบ จากพยานหลกั ฐาน
โดยใช้ ความร้แู ละหลักการทางวิทยาศาสตรใ์ นการแปลความหมายและลงข้อสรุป และสอ่ื สารความคิด ความรู้
จากผล การสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าง
เหมาะสม
❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้มีความคิด
สร้างสรรค์ เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธกี าร ที่ให้ได้ผลถูกต้อง
เช่ือถอื ได้ ศกึ ษาคน้ ควา้ เพมิ่ เติมจากแหลง่ ความร้ตู า่ ง ๆ แสดงความคิดเห็นของ ตนเอง รบั ฟงั ความคดิ เห็นผู้อ่ืน
และ ยอมรบั การเปล่ียนแปลงความรทู้ คี่ น้ พบ เม่อื มีข้อมูล และประจักษพ์ ยานใหมเ่ พิ่มขึ้นหรอื โต้แยง้ จากเดมิ
❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และ
กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวติ และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยก
ย่อง และเคารพ สิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและ ด้านลบของการพัฒนาทาง
วทิ ยาศาสตรต์ ่อ ส่งิ แวดล้อมและตอ่ บรบิ ทอื่น ๆ และศึกษาหาความรเู้ พมิ่ เติม ทำโครงงานหรอื สร้างชิน้ งานตาม
ความสนใจ
❖ แสดงถึงความซาบซง้ึ หว่ งใย มีพฤตกิ รรมเก่ียวกบั การดูแลรกั ษาความสมดลุ ของระบบนเิ วศ และ
ความ หลากหลายทางชวี ภาพ
❖ วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยีได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน การเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์วิเคราะห์
เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และ
สิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะ ทรัพยากรเพื่อออกแบบสร้างหรือพัฒนาผลงาน สำหรับแก้ปัญหาที่มี
ผลกระทบตอ่ สังคม โดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ใช้ซอฟต์แวร์ชว่ ยในการออกแบบและนำเสนอ
ผลงาน เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และเคร่ืองมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้งคำนึงถงึ ทรัพย์สินทาง
ปัญญา
ซ
❖ ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพ่ือ
รวบรวมข้อมลู ในชีวิตจรงิ จากแหล่งต่าง ๆ และความรูจ้ ากศาสตร์อนื่ มาประยกุ ต์ใช้สรา้ งความร้ใู หม่ เขา้ ใจการ
เปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยที มี่ ีผลต่อการดำเนนิ ชวี ิต อาชพี สงั คมวัฒนธรรม และใชอ้ ยา่ งปลอดภยั มีจรยิ ธรรม
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน มงุ่ ให้ผ้เู รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั นี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และ
ประสบกรณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทง้ั การเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปญั หา
ความขดั แยง้ ตา่ งๆ การเลอื กรบั หรือไม่รับขอ้ มูลขา่ วสารด้วยหลักเหตผุ ลและความถกู ตอ้ ง ตลอดจนการเลอื กใช้
วิธีการส่อื สารที่มีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทีม่ ีตอ่ ตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สรา้ งสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพ่ือนำไปสกู่ ารสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็น
ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล
คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธแ์ ละการเปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ในสังคม แสวงหา
ความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึง
ผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้ ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทำงาน และการอยูร่ ่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสรมิ ความสมั พันธ์อันดรี ะหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเสี่ยงพฤติกรรมไม่พึง
ประสงค์ท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผูอ้ ื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยี ดา้ นตา่ ง ๆ และ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในต้านการเรียนรู้การสื่อสารการทำงาน
การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมคี ุณธรรม
คุณลกั ษณะอันพึงประสงคส์ ำคญั ของผู้เรยี น
ในหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ไดก้ ำหนดสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ทกั ษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ดังต่อไปน้ี
ฌ
1. ทำความเข้าใจหรอื สรา้ งกรณที ว่ั ไปโดยใชค้ วามรู้ทีไ่ ดจ้ ากการศึกษากรณีตวั อยา่ งหลาย ๆ กรณี
2. มองเห็นว่าความสามารถใช้คณิตศาสตรแ์ ก้ปัญหาในชวี ติ จริงได้
3. มีความมุมานะในการทำความเขา้ ใจปญั หาและแก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์
4. สร้างเหตผุ ลเพอื่ สนบั สนนุ แนวคดิ ของตนเองหรอื โต้แยง้ แนวคิดของผู้อ่นื อยา่ งสมเหตสุ มผล
5. ค้นหาลักษณะที่เกิดขึ้นซ้ำๆ และประยุกต์ใช้ลักษณะดังกล่าวเพ่ือทำความเข้าใจหรือแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ
ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1
ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 1.2
1. เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะและ - เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีเซลล์
โครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เพียง เซลลเ์ ดยี ว เช่น อะมบี า พารามีเซียม ยีสต์ บางชนดิ มหี ลาย
รวมทั้งบรรยายหน้าที่ของผนังเซลล์ เยื่อ เซลล์ เชน่ พชื สัตว์
หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิว - โครงสรา้ งพ้ืนฐานท่ีพบท้ังในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์และามารถ
โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ สังเกตได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซ
โทพลาซึม และนิวเคลยี ส โครงสร้างท่ีพบในเชลล์พืชแต่ไม่พบใน
2. ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์ เซลล์สตั ว์ ได้แก่ ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์
และโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ภายในเซลล์ - โครงสรา้ งต่าง ๆ ของเซลลม์ ีหนา้ ทีแ่ ตกต่างกัน
- ผนงั เซลล์ ทำหนา้ ทใ่ี ห้ความแข็งแรงแก่เซลล์
- เยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่หอ่ หุ้มเซลล์และควบคุมการลำเลียง
สารเข้าและออกจากเซลล์
- นวิ เคลียส ทำหน้าทค่ี วบคมุ การทำงานของเซลล์
- ไซโทพลาซมึ มีออร์แกเนลลท์ ี่ทำหนา้ ทีแ่ ตกตา่ งกัน
- แวควิ โอล ทำหน้าที่เกบ็ น้ำและสารต่าง ๆ
- ไมโทคอนเดรีย ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสลายสารอาหาร
เพอื่ ใหไ้ ด้พลังงานแกเ่ ซลล์
- คลอโรพลาสต์ เปน็ แหลง่ ท่เี กิดการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
3. อธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างรปู ร่างกับ - เชลล์ของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่าง ลักษณะที่หลากหลายและมีความ
การทำหนา้ ทีข่ องเซลล์ เหมาะสมกับหน้าที่ของเซลล์นั้น เช่น เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ มี
เส้นใยประสาทเปน็ แขนงยาวนำกระแสประสาทไปยงั เซลล์อน่ื ๆ
ที่อยู่ไกลออกไปเซลล์ขนรากเป็นเซลล์ผิวของรากที่มีผนังเซลล์
และเยื่อหุ้มเซลล์ยื่นยาวออกมา มีลักษณะคล้ายขนเส้นเล็ก ๆ
เพ่ือเพมิ่ พืน้ ทผี่ วิ ในการดูดนำ้ และธาตุอาหาร
ญ
ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้
4. อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิตโดย - พชื และสตั ว์เปน็ สง่ิ มชี วี ติ หลายเซลล์ มกี ารจดั ระบบโดยเร่ิมจาก
เริ่มจากเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบ เซลล์ไปเป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ และสิ่งมีชีวิต
อวยั วะ จนเปน็ สิง่ มีชวี ติ ตามลำดบั เซลล์หลายเซลล์มารวมกนั เปน็ เนอ้ื เยื่อ เน้ือเยื่อหลาย
ชนิดมารวมกันและทำงานร่วมกันเป็นอวัยวะ อวัยวะต่าง ๆ
ทำงานรว่ มกนั เป็นระบบอวัยวะ ระบบอวัยวะทุกระบบทำงาน
รว่ มกนั เป็นส่ิงมชี ีวติ
5. อธิบายกระบวนการแพรแ่ ละออสโมซิส - เซลล์มีการนำสารเข้าสู่เซลล์เพื่อใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ของ
จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ และยกตัวอย่าง เซลล์และมีการขจัดสารบางอย่างที่เซลล์ไม่ต้องการออกนอก
การแพร่และออสโมซสิ ในชวี ิตประจำวนั เซลล์การนำสารเข้าและออกจากเซลล์มีหลายวิธี เช่น การแพร่
เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มีความเขม้ ข้นของสารสงู
ไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำ ส่วนออสโมซิสเป็นการ
แพร่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากด้านที่มีความเข้มข้นของ
สารละลายตำ่ ไปยงั ดา้ นท่มี คี วามเข้มขน้ ของสารละลายสงู กวา่
6. ระบุปัจจัยที่จำเป็นในการสังเคราะห์ - กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืชทีเ่ กิดข้นึ ในคลอโร
ด้วยแสงและผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการ พลาสต์จำเป็นต้องใช้แสง แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ คลอโรฟิลล์
สังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้หลักฐานเชิง และนำ้ ผลผลติ ที่ไดจ้ ากการสงั เคราะหด์ ้วยแสง ไดแ้ ก่ น้ำตาลและ
ประจกั ษ์ แกส๊ ออกซเิ จน
7. อธิบายความสำคัญของการสังเคราะห์ - การสงั เคราะหด์ ้วยแสง เปน็ กระบวนการทสี่ ำคญั ต่อส่งิ มีชวี ติ
ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและ เพราะเป็นกระบวนการเดียวที่สามารถนำพลังงานแสงมา
เปลี่ยนเป็นพลังงานในรูปสารประกอบอินทรีย์และเก็บสะสมใน
ส่ิงแวดลอ้ ม
รูปแบบต่าง ๆ ในโครงสร้างของพืช พืชจึงเป็นแหล่งอาหารและ
8. ตระหนักในคุณค่าของพืชที่มีต่อ พลังงานที่สำคัญของสิ่งมีชีวิตอื่น นอกจากนี้กระบวนการ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยการร่วมกัน สังเคราะห์ด้วยแสงยังเป็นกระบวนการหลักในการสร้างแก๊ส
ปลูกและดูแลรักษาต้นไม้ในโรงเรียนและ ออกซิเจนให้กับบรรยากาศเพื่อให้พืชและสิ่งมีชีวิตอื่นใช้ใน
ชมุ ชน กระบวนการหายใจ
9. บรรยายลกั ษณะและหนา้ ทขี่ องไซเลม็ - พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม เป็นเนื้อเยือ่ ที่มีลักษณะคล้ายท่อเรียง
และโฟลเอม็ ตัวกันเป็นกลุ่มเฉพาะที่ โดยไซเล็มทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและธาตุ
10. เขียนแผนภาพที่บรรยายทศิ ทาง อาหารมีทิศทางลำเลียงจากรากไปสู่ลำต้น ใบ และส่วนต่าง ๆ
การลำเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอม็ ของพืชเพื่อใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง รวมถึงกระบวนการอื่น
ของพืช ๆ ส่วนโฟลเอ็มทำหน้าที่ลำเลียงอาหารที่ได้จากการสังเคราะห์
ด้วยแสงมีทิศทางลำเลียงจากบริเวณที่มีการสังเคราะห์ด้วยแสง
ไปส่สู ่วนต่าง ๆ ของพชื
ฎ
ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้
11. อธิบายการสืบพันธ์ุแบบอาศยั เพศและ - พชื ดอกทุกชนิดสามารถสืบพนั ธุแ์ บบอาศัยเพศได้ และบางชนิด
ไมอ่ าศยั เพศของพืชดอก สามารถสืบพนั ธแุ์ บบไม่อาศัยเพศได้
12. อธบิ ายลกั ษณะโครงสร้างของดอกท่ี - การสืบพันธแ์ุ บบอาศัยเพศ เปน็ การสืบพนั ธ์ุท่มี กี ารผสมกนั ของ
มีส่วนทำให้เกิดการถ่ายเรณู รวมท้ัง สเปีรม์ กบั เซลลไ์ ข่ การสบื พันธแ์ุ บบอาศยั เพศของพชื ดอกเกดิ ขึ้น
บรรยายการปฏิสนธิของพืชดอกการ ที่ดอก โดยภายในอับเรณูของส่วนเกสรเพศผู้มีเรณู ทำหน้าท่ี
เกิดผลและเมล็ด การกระจายเมล็ดและ สรา้ งสเปิร์ม และภายในออวลุ ของสว่ นเกสรเพศเมียมีถุงเอ็มบริโอ
ทำหนา้ ท่ีสร้างเซลลไ์ ข่
การงอกของเมล็ด
- การสบื พันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เปน็ การสบื พันธ์ทุ ีพ่ ืชต้นใหมไมไ่ ด้
13. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของสัตวท์ ่ีช่วย เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างสเปีร์มกับเซลล์ไข่ แต่เกิดจากส่วน
ในการถ่ายเรณูของพืชดอกโดยการไม่ ต่าง ๆ ของพืช เช่น ราก ลำต้น ใบ มีการเจริญเติบโตและ
ทำลายชวี ิตของสัตวท์ ่ชี ว่ ยในการถ่ายเรณู พัฒนาขึน้ มาเปน็ ตน้ ใหม่ได้
- การถา่ ยเรณู คือ การเคลือ่ นย้ายของเรณูจากอับเรณูไปยังยอด
เกสรเพศเมีย ซ่งึ เก่ยี วข้องกับลักษณะและโครงสร้างของดอก เช่น
สีของกลีบดอก ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย โดยมี
สิ่งท่ชี ่วยในการถ่ายเรณู เชน่ แมลง ลม
- การถ่ายเรณูนำไปส่กู ารปฏสิ นธใิ นถงุ เอม็ บริโอท่ีอยภู่ ายในออวุล
หลังการปฏิสนธิจะได้ไซโกตและเอนโดสเปีร์ม ไซโกตจะพัฒนา
ตอ่ ไปเป็นเอ็มบรโิ อ ออวลุ พัฒนาไปเป็นเมล็ด และรังไข่พัฒนาไป
เป็นผล
- ผลและเมล็ดมีการกระจายออกจากต้นเดิมโดยวิธีการต่าง ๆ
เมื่อเมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจะเกิดการงอกของ
เมล็ดโดยเอ็มบริโอภายในเมล็ดจะเจริญออกมา ในระยะแรกจะ
อาศัยอาหารที่สะสมภายในเมล็ด จนกระทั่งใบแท้พัฒนาจน
สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้เต็มที่และสร้างอาหารได้เอง
ตามปกติ
14. อธบิ ายความสำคญั ของธาตอุ าหาร - พืชต้องการธาตุอาหารที่จำเป็นหลายชนิดในการเจริญเติบโต
บางชนดิ ที่มีผลต่อการเจรญิ เติบโต และการดำรงชีวติ
และการดำรงชีวติ ของพชื - พชื ต้องการธาตอุ าหารบางชนดิ ในปริมาณมาก ไดแ้ ก่ ไนโตรเจน
15. เลือกใชป้ ้ยุ ทม่ี ีธาตอุ าหารเหมาะสม ฟอสฟอรสั โพแทสเชียม แคลเชยี ม แมกนีเซียม และกำมะถันซ่ึง
กบั พืชในสถานการณ์ที่กำหนด ในดินอาจมีไม่เพียงพอสำหรับการเจริญเติบโตของพืช จึงต้องมี
การให้ธาตอุ าหารในรูปของปุยกับพืชอยา่ งเหมาะสม
ฏ
ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้
16. เลอื กวธิ กี ารขยายพนั ธ์ุพชื ให้เหมาะสม - มนุษย์สามารถนำความรู้เรอ่ื งการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศและ
กับความตอ้ งการของมนุษย์ โดยใช้ความรู้ ไม่อาศัยเพศ มาใช้ในการขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มจำนวนพืช เช่นการ
เกี่ยวกับการสบื พันธุ์ของพืช ใชเ้ มล็ดท่ีได้จากการสบื พนั ธแุ์ บบอาศัยเพศมาเพาะเลี้ยงวิธีการนี้
17. อธิบายความสำคัญของเทคโนโลยี จะไดพ้ ืชในปริมาณมาก แตอ่ าจมลี ักษณะทีแ่ ตกตา่ งไปจากพ่อแม่
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในการใช้ ส่วนการตอนกิ่ง การปกั ชำ การตอ่ ก่งิ การตดิ ตาการทาบก่งิ การ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นการนำความรู้เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่
ประโยชน์ดา้ นต่าง ๆ
อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธุ์เพื่อให้ไดพ้ ชื ที่มีลักษณะ
18. ตระหนักถึงประโยชนข์ องการขยาย เหมือนต้นเดิม ซึ่งการขยายพันธุ์แต่ละวิธีมีขั้นตอนแตกต่างกัน
พนั ธุพ์ ืช โดยการนำความรู้ไปใชใ้ น
จึงควรเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ โดยต้อง
ชวี ติ ประจำวนั
คำนงึ ถงึ ชนิดของพชื และลกั ษณะการสืบพันธ์ขุ องพชื
- เทคโนโลยกี ารเพาะเลีย้ งเนอื้ เยือ่ พืช เป็นการนำความรู้เก่ยี วกบั
ปัจจยั ทจ่ี ำเปน็ ต่อการเจรญิ เตบิ โตของพืชมาใช้ในการเพมิ่ จำนวน
พชื และทำให้พชื สามารถเจรญิ เตบิ โตได้ในหลอดทดลอง ซึง่ จะได้
พชื จำนวนมากในระยะเวลาสัน้ และสามารถนำเทคโนโลยี
การเพาะเล้ยี งเน้อื เยอื่ มาประยกุ ตเ์ พื่อการอนุรกั ษพ์ ันธุกรรมพชื
ปรบั ปรงุ พนั ธ์พุ ืชทีม่ คี วามสำคญั ทางเศรษฐกจิ การผลิตยาและ
สารสำคญั ในพืช และอนื่ ๆ
ฐ
ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 2.1
1. อธบิ ายสมบัตทิ างกายภาพบางประการ - ธาตุแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัวและมีสมบัติทางกายภาพบาง
ของธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะโดยใช้ ประการเหมือนกันและบางประการต่างกัน ซึ่งสามารถนำมาจัด
หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการสังเกต กลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ธาตุโลหะมีจุดเดือดจุด
และการทดสอบ และใช้สารสนเทศที่ได้ หลอมเหลวสูง มีผิวมันวาว นำความร้อน นำไฟฟ้า ดึงเป็นเส้น
จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆรวมทั้งจัดกลุ่มธาตุ หรือตีเป็นแผ่นบาง ๆ ได้ และมีความหนาแน่นทั้งสูงและตำ่ ธาตุ
เปน็ โลหะ อโลหะและกึง่ โลหะ อโลหะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำ มีผิวไม่มันวาว ไม่นำความ
ร้อน ไม่นำไฟฟ้า เปราะ แตกหักง่าย และมีความหนาแน่นต่ำ
ธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติบางประการเหมือนโลหะ และสมบัติบาง
ประการเหมือนอโลหะ
2. วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ - ธาตุโลหะ อโลหะ และกงึ่ โลหะ ทสี่ ามารถแผร่ ังสไี ด้ จัดเปน็ ธาตุ
อโลหะกึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสี ที่มี กมั มนั ตรงั สี
ต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและ - ธาตุมที ้ังประโยชนแ์ ละโทษ การใช้ธาตโุ ลหะ อโลหะ กง่ึ โลหะ
สงั คม จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ ธาตุกมั มนั ตรงั สี ควรคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ สงิ่ มีชวี ิต สิ่งแวดล้อม
3. ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ธาตุโลหะ เศรษฐกจิ และสังคม
อโลหะ กง่ึ โลหะ ธาตุกมั มนั ตรงั สีโดยเสนอ
แนวทางการใชธ้ าตอุ ย่างปลอดภัย ค้มุ คา่
4. เปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลว - สารบริสุทธิ์ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว ส่วนสารผสม
ของสารบริสุทธิ์และสารผสม โดยการวัด ประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมี
อุณหภูมิ เขียนกราฟ แปลความหมาย สมบัติบางประการที่เป็นค่าเฉพาะตัว เช่น จุดเดือดและจุด
ข้อมลู จากกราฟ หรือสารสนเทศ หลอมเหลวคงที่ แตส่ ารผสมมีจุดเดือดและจดุ หลอมเหลวไม่คงที่
ขน้ึ อยู่กับชนดิ และสัดสว่ นของสารทผี่ สมอยู่ดว้ ยกัน
5. อธิบายและเปรยี บเทยี บความหนาแน่น - สารบริสุทธิ์แต่ละชนดิ มคี วามหนาแน่น หรือมวลต่อหนึง่ หน่วย
ของสารบรสิ ทุ ธแิ์ ละสารผสม ปริมาตรคงที่ เป็นค่าเฉพาะของสารนั้น ณ สถานะและอุณหภูมิ
6. ใช้เคร่ืองมอื เพอ่ื วดั มวลและปรมิ าตร หนึ่ง แต่สารผสมมีความหนาแน่นไม่คงที่ขึ้นอยู่กับชนิดและ
ของสารบรสิ ทุ ธแิ์ ละสารผสม สัดสว่ นของสารทผ่ี สมอย่ดู ว้ ยกนั
ฑ
ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้
7. อธบิ ายเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง - สารบริสุทธิ์แบ่งออกเป็นธาตุและสารประกอบ ธาตุ
อะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใช้ ประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุดที่ยังแสดงสมบัติของธาตุนั้น
แบบจำลองและสารสนเทศ เรียกว่าอะตอม ธาตุแต่ละชนิดประกอบด้วยอะตอมเพียงชนดิ
เดียวและไม่สามารถแยกสลายเป็นสารอื่นได้ด้วยวิธีทางเคมี
ธาตุเขียนแทนด้วยสัญลักษณธ์ าตุ สารประกอบเกิดจากอะตอม
ของธาตุตงั้ แต่ 2 ชนดิ ข้ึนไปรวมตวั กนั ทางเคมีในอตั ราสว่ นคงที่
มีสมบัติแตกต่างจากธาตทุ ี่เป็นองค์ประกอบ สามารถแยกเปน็
ธาตไุ ดด้ ้วยวธิ ที างเคมี ธาตุและสารประกอบสามารถเขียนแทน
ได้ด้วยสูตรเคมี
8 . อ ธ ิ บ า ย โ ค ร ง ส ร ้ า ง อ ะ ต อ ม ท่ี - อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน
ประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และ โปรตอนมปี ระจุไฟฟ้าบวก ธาตุชนิดเดียวกันมีจำนวนโปรตอน
อิเลก็ ตรอน โดยใชแ้ บบจำลอง เท่ากันและเป็นค่าเฉพาะของธาตุนั้น นิวตรอนเป็นกลางทาง
ไฟฟ้าส่วนอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าลบ เมื่ออะตอมมีจำนวน
โปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนจะเป็นกลางทางไฟฟ้า
โปรตอนและนิวตรอนรวมกันตรงกลางอะตอมเรียกว่า
นิวเคลียส สว่ นอิเลก็ ตรอนเคล่ือนท่ีอยใู่ นที่วา่ งรอบนิวเคลียส
9. อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียง -สสารทกุ ชนิดประกอบด้วยอนภุ าค โดยสสารชนิดเดียวกันท่ีมี
อนภุ าค แรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาคและ สถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมีการจดั เรยี งอนุภาคแรงยึด
การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารชนิด เหนี่ยวระหว่างอนุภาค การเคลื่อนที่ของอนุภาคแตกต่างกัน
เดียวกันในสถานะของแข็งของเหลว และ ซ่ึงมีผลต่อรูปรา่ งและปรมิ าตรของสสาร
แก๊ส โดยใชแ้ บบจำลอง - อนุภาคของของแข็งเรียงชิดกัน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาคมากที่สุด อนุภาคสั่นอยู่กับที่ ทำให้มีรูปร่างและ
ปรมิ าตรคงท่ี
- อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาคน้อยกว่าของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส อนุภาคเคลื่อนที่ได้
แตไ่ ม่เปน็ อสิ ระเท่าแก๊ส ทำให้มีรูปรา่ งไมค่ งท่ี แต่ปริมาตรคงที่
- อนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาคน้อยทสี่ ุด อนภุ าคเคลอื่ นทไ่ี ดอ้ ย่างอิสระทุกทิศทาง ทำ
ใหม้ รี ปู ร่างและปริมาตรไม่คงที่
ฒ
ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้
10. อธิบายความสมั พันธ์ระหวา่ งพลังงาน
ความร้อนกับการเปลีย่ นสถานะของ - ความร้อนมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อให้ความ
สสาร โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษแ์ ละ รอ้ นแก่ของแข็ง อนุภาคของของแขง็ จะมพี ลังงานและอุณหภูมิ
แบบจำลอง เพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง ซึ่งของแข็งจะใช้ความร้อนในการ
เปล่ียนสถานะเปน็ ของเหลว เรียกความร้อนทใี่ ช้ในการเปล่ียน
สถานะจากของแข็งเป็นของเหลวว่า ความร้อนแฝงของการ
หลอมเหลว และอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงที่ เรียก
อุณหภมู นิ ี้วา่ จดุ หลอมเหลว
- เมื่อให้ความร้อนแก่ของเหลว อนุภาคของของเหลวจะมี
พลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง ซึ่งของเหลวจะ
ใชค้ วามรอ้ นในการเปลย่ี นสถานะเป็นแก๊ส เรียกความร้อนท่ีใช้
ในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊สว่า ความร้อนแฝง
ของการกลายเป็นไอและอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงท่ี
เรียกอณุ หภมู ินว้ี ่าจดุ เดอื ด
- เมื่อทำให้อุณหภูมิของแก๊สลดลงจนถึงระดับหนึ่ง แก๊สจะ
เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดควบแน่น
ซ่งึ มีอณุ หภมู เิ ดยี วกบั จุดเดือดของของเหลวนน้ั
- เมื่อทำให้อุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึงระดับหน่ึง
ของเหลวจะเปล่ยี นสถานะเป็นของแข็ง เรียกอุณหภมู ินี้ว่า จุด
เยอื กแข็งซ่งึ มีอุณหภูมเิ ดยี วกับจุดหลอมเหลวของของแข็งนั้น
ณ
คำอธิบายรายวชิ า/ตัวช้ีวัด
กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาระการเรียนรพู้ นื้ ฐาน
รายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1
จำนวน 60 ช่วั โมง/ภาค (3 ชั่วโมง/สัปดาห)์ จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ
ศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบายคุณสมบตั ิทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และ
กึ่งโลหะ การจัดกลุ่มธาตุ คุณค่าของการใช้และผลจากการใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และกัมมนั ตรังสี ที่มี
ต่อสงิ่ มีชีวิต สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกิจและสงั คม แนวทางการใช้ธาตอุ ยา่ งปลอดภยั คุม้ คา่ จดุ เดอื ด จุดหลอมเหลว
ของสารบริสุทธิ์และสารผสม ความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสารผสม มวลและปริมาตรของสารบริสุทธ์ิ
และสารผสม อะตอม ธาตุและสารประกอบ โครงสร้างอะตอม รปู ร่าง ลักษณะและโครงสรา้ งของเซลล์พืชและ
สัตว์หน้าที่ของผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรูปร่างกับการทำหน้าที่ของเซลล์ การจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดย
เรม่ิ จากเซลล์ เนอื้ เยือ่ อวัยวะ ระบบอวยั วะจนเป็นส่งิ มีชีวิต กระบวนการแพรแ่ ละออสโมซิสในชีวิตประจำวัน
การสังเคราะห์ด้วยแสงและผลผลิตที่เกิดขึน้ จากการสงั เคราะห์แสง ความสำคัญของการสงั เคราะห์แสงของพืช
ตอ่ สิง่ มชี วี ติ และสิง่ แวดล้อม คุณคา่ ของพชื ท่มี ีตอ่ สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ลักษณะ หนา้ ท่ี ทิศทางการลำเลียง
สารในไซเลม็ และโพลเอ็ม การสบื พันธุ์แบบอาศยั เพศและไมอ่ าศยั เพศของพชื ดอกลักษณะโครงสร้างของดอกท่ี
มสี ว่ นทำให้เกิดการถ่ายเรณู การปฏสิ นธิของพชื ดอก การเกดิ เมล็ดและผล การกระจายเมลด็ และการงอกของ
เมล็ด ความสำคัญของสัตว์ที่ช่วยในการถ่ายเรณูของพืชดอก โดยการไม่ทำลายชีวิตของสัตว์ทีช่ ่วยในการถ่าย
เรณู ความสำคญั ของธาตอุ าหารบางชนดิ ท่มี ีผลต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวติ ของพืช การเลือกใชป้ ยุ๋ ที่มี
ธาตอุ าหารเหมาะสมกับพืชวิธีการขยายพันธพุ์ ืชให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ ความสำคัญและการ
ใชป้ ระโยชนข์ องเทคโนโลยีการเพราะเลีย้ งเนือ้ เยื่อพืช
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นขอ้ มูล
และการอภิปราย
เพื่อให้เกิดความรู้ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารเชือ่ มโยงส่ิงทีเ่ รยี นรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม มี
ทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเป็นพลเมืองดี ยึดหลักตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
ตวั ช้วี ัด
ว 2.1 ม 1/1 อธบิ ายสมบัตทิ างกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะและกึ่งโลหะโดยใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์ทไ่ี ด้จากการสังเกตและการทดสอบและใช้สารสนเทศทไี่ ด้จากแหลง่ ขอ้ มูลต่าง ๆ รวมท้ัง
จดั กลุ่มธาตุเปน็ โลหะ อโลหะและกงึ่ โลหะ (ก่อนกลางภาค/ปลายภาค)
ว 2.1 ม 1/2 วิเคราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ กึ่งโลหะและธาตุกมั มันตรงั สีท่ีมีต่อสง่ิ มชี ีวติ
สิง่ แวดลอ้ มเศรษฐกจิ และสังคมจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ (กอ่ นกลางภาค/ปลายภาค)
ด
ว 2.1 ม 1/3 ตระหนักถงึ คุณคา่ ของการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึง่ โลหะ ธาตุกัมมันตรังสี โดยเสนอแนว
ทางการ ใช้ธาตอุ ย่างปลอดภยั คมุ้ คา่ (กอ่ นกลางภาค/ปลายภาค)
ว 2.1 ม 1/4 เปรยี บเทียบจดุ เดอื ด จุดหลอมเหลวของสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสม โดยการวัดอุณหภมู ิ
เขียนกราฟแปลความหมายข้อมลู จากกราฟหรือสารสนเทศ (กอ่ นกลางภาค/ปลายภาค)
ว 2.1 ม 1/5 อธบิ ายและเปรยี บเทียบความหนาแน่นของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสารผสม (ก่อนกลางภาค/
ปลายภาค)
ว 2.1 ม 1/6 ใช้เครอื่ งมือเพอื่ วดั มวลและปรมิ าตรของสารบรสิ ทุ ธ์แิ ละสารผสม (ก่อนกลางภาค/
ปลายภาค)
ว 2.1 ม 1/7 อธิบายเก่ียวกบั ความสัมพันธร์ ะหว่างอะตอมธาตุและสารประกอบโดยใช้แบบจำลอง
และสารสนเทศ
ว 2.1 ม 1/8 อธิบายโครงสร้างอะตอมทป่ี ระกอบดว้ ย โปรตอน นวิ ตรอนและอิเลก็ ตรอนโดยใช้
แบบจำลอง(กอ่ นกลางภาค/ปลายภาค)
ว 2.1 ม 1/9 อธบิ ายและเปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาคแรงยึดเหนย่ี วระหวา่ งอนภุ าค และการ
เคลอื่ นท่ีของอนุภาคของสสารชนดิ เดยี วกนั ในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส๊ โดยใช้แบบจำลอง
ว 2.1 ม 1/10 อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่างพลังงานความรอ้ นกับการเปลยี่ นสถานะของสสาร โดยใช้
หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์และแบบจำลอง
ว 1.2 ม 1/1 เปรียบเทียบรปู ร่างลักษณะและโครงสร้างของเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ รวมทั้งบรรยาย
หน้าท่ีของผนังเซลล์ เย่อื หุ้มเซลลไ์ ซโทพลาซึม นวิ เคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์
(ก่อนกลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/2 ใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสรา้ งต่าง ๆ ภายในเซลล์ (หลงั กลางภาค/
ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/3 อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ งรูปร่างกับการทำหนา้ ทข่ี องเซลล์ (หลังกลางภาค/
ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/4 อธิบายการจดั ระบบของส่ิงมชี วี ิตโดยเรมิ่ จาก เซลลเ์ น้ือเยื่ออวยั วะระบบอวัยวะ จนเปน็
สงิ่ มีชวี ิต (หลังกลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/5 อธบิ ายกระบวนการแพร่และออสโมซสิ จากหลักฐานเชิงประจกั ษแ์ ละยกตวั อย่างการ
แพรแ่ ละออสโมซิสในชีวติ ประจำวนั (หลังกลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/6 ระบปุ ัจจัยที่จำเปน็ ในการสังเคราะห์ด้วยแสงและผลผลิตที่เกิดขน้ึ จากการสงั เคราะห์ด้วย
แสงโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ (หลังกลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/7 อธิบายความสำคัญของการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ของพชื ตอ่ ส่ิงมชี ีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม
(หลังกลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/8 ตระหนกั ในคุณค่าของพชื ที่มีต่อสงิ่ มีชวี ิตและสิง่ แวดล้อม โดยการร่วมกนั ปลูกและดูแล
รกั ษาตน้ ไม้ในโรงเรียนและชุมชน (หลงั กลางภาค/ปลายภาค)
ต
ว 1.2 ม 1/9 บรรยายลกั ษณะและหน้าที่ของไซเล็มและโฟลเอ็ม (หลังกลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/10 เขยี นแผนภาพท่ีบรรยายทิศทางการลำเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอม็ ของพืช
(หลงั กลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/11 อธบิ ายการสืบพนั ธุแ์ บบอาศยั เพศและไมอ่ าศัยเพศของพชื ดอก (หลงั กลางภาค/
ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/12 อธิบายลักษณะโครงสรา้ งของดอกทมี่ ีส่วน ทำใหเ้ กิดการถ่ายเรณู รวมท้งั บรรยายการ
ปฏสิ นธขิ องพชื ดอก การเกิดผลและเมล็ดการกระจายเมล็ด และการงอกของเมลด็ (หลงั กลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/13 ตระหนักถงึ ความสำคญั ของสัตวท์ ่ีช่วยในการถ่ายเรณขู องพชื ดอก โดยการไม่ทำลาย
ชวี ิตของสตั วท์ ่ีชว่ ยในการถา่ ยเรณู (หลังกลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/14 อธิบายความสำคญั ของธาตุอาหารบางชนดิ ท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต
ของพชื (หลงั กลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/15 เลอื กใช้ปุย๋ ทม่ี ธี าตุอาหารเหมาะสมกบั พชื ในสถานการณ์ทก่ี ำหนด (หลงั กลางภาค/
ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/16 เลือกวธิ กี ารขยายพันธ์ุพชื ใหเ้ หมาะสมกับ ความตอ้ งการของมนุษยโ์ ดยใชค้ วามรู้
เกี่ยวกับการสบื พันธข์ุ องพชื (หลังกลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/17 อธบิ ายความสำคญั ของเทคโนโลยีการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อพืชในการใช้ประโยชน์
ดา้ นต่าง ๆ (หลังกลางภาค/ปลายภาค)
ว 1.2 ม 1/18 ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องการขยายพันธุพ์ ืชโดยการนำความรไู้ ปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
(หลังกลางภาค/ปลายภาค)
รวมท้งั ส้นิ 28 ตัวชว้ี ดั
ถ
โครงสรา้ งรายวชิ า
กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐาน
วทิ ยาศาสตร์ 1 รหสั ว21101 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1/2565
เวลาเรยี น 60 ชั่วโมง/ภาคเรยี น (3 ชั่วโมง/สปั ดาห)์ จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ
ท่ี ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา
การเรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด เรียน คะแนน
(ช่วั โมง)
1 สมบตั ิของ ว 2.1 ม 1/4 สารบริสุทธิ์ประกอบด้วยสารเพียงสารเดียว 9 10
สารบรสิ ทุ ธิ์ ว 2.1 ม 1/5 สารบริสทุ ธแ์ิ ต่ละชนิดมีสมบตั ิบางประการท่ี
ว 2.1 ม 1/6 เป็นค่าเฉพาะตัว สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมี
ความหนาแน่นคงที่เป็นค่าเฉพาะของสารนั้น
2 การจำแนก ว 2.1 ม 1/1 สารบริสุทธิ์แบ่งออกเป็นธาตุและ 15 15
และองค์ ว 2.1 ม 1/2 สารประกอบ ธาตุประกอบด้วยอนภุ าคที่เล็ก
ประกอบ ว 2.1 ม 1/3 ที่สุดที่ยังแสดงสมบัติของธาตุนั้นเรียกว่า
ของบริสทุ ธิ์ ว 2.1 ม 1/7 อะตอม ธาตุเขียนแทนสัญลักษณ์ธาตุ
ว 2.1 ม 1/8 สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่
2 ชนิดขึ้นไปรวมตัวกันทางเคมีในอัตราส่วน
คงที่ อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอนนิวตรอน
และอเิ ล็กตรอน
ธาตุแต่ละชนิดนิดมีคุณสมบัติเฉพาะตัว
และมีสมบัติทางกายภาพบางประการ
เหมือนกันและบางประการต่างกัน ซึ่ง
สามารถนำมาจัดกลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะ
และกงึ่ โลหะ ธาตุโลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ
ทีส่ ามารถแผร่ งั สีไดจ้ ัดเปน็ ธาตกุ มั มันตรงั สี
ธาตุมีทั้งประโยชน์และโทษ การใช้ธาตุ
โลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ ธาตกุ มั มนั ตรงั สี ควร
คำนงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ส่ิงมชี ีวิต สงิ่ แวดลอ้ ม
ท
ท่ี ชื่อหนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา
การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ช้ีวัด เรียน คะแนน
(ช่วั โมง)
3 หนว่ ยของ ว 1.2 ม 1/1 เซลล์เป็นหนว่ ยของสงิ่ มชี วี ิต สิ่งมชี ีวติ บางชนิด 12 10
สิ่งมีชีวิต ว 1.2 ม 1/2 มีเซลล์เพียงเดียว โครงสร้างพื้นฐานที่พบทั้งใน
ว 1.2 ม 1/3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์และสามารถสังเกตได้
ว 1.2 ม 1/4 ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์
ว 1.2 ม 1/5 ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส โครงสร้างที่พบใน
เซลล์พืชแต่ไม่พบในเซลล์สัตว์ ได้แก่ผนังเซลล์
และคลอโรพลาสต์ โครงสรา้ งตา่ ง ๆ ของเซลล์มี
หน้าที่แตกต่างกัน เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่าง
ลักษณะที่หลากหลายและมีความเหมาะสมกับ
เซลลน์ ้นั
พืชและสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์มีการ
จ ั ด ร ะ บ บ โ ด ย เ ร ิ ่ ม จ า ก เ ซ ล ล ์ ไ ป เ ป ็ น เ น ื ้ อ เ ย่ื อ
อวยั วะ ระบบอวยั วะ และสง่ิ มชี ีวติ ตามลำดบั
เซลล์มีการนำสารเข้าสู่เซลล์เพื่อใช้ใน
กระบวนการต่าง ๆ ของเซลล์ และมีการขจัด
สารบางอย่างที่เซลล์ไม่ตอ้ งการออกนอกเซลล์
4 การดำรง ว 1.2 ม 1/6 พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม ใช้ในการลำเลียงน้ำ 18 15
ชวี ิตของพืช ว 1.2 ม 1/7 และธาตุอาหาร ที่ได้จากการดูดและสังเคราะห์
ว 1.2 ม 1/8 ด้วยแสง การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น
ว 1.2 ม 1/9 กระบวนการที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิต กระบวนการ
ว 1.2 ม 1/10 สังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเกิดขึ้นในคลอโรพ
ว 1.2 ม 1/11 ลาสต์ เป็นกระบวนการนำพลังงานแสงมา
ว 1.2 ม 1/12 เปลี่ยนเป็นพลังงานในรูปสารประกอบอินทรีย์
ว 1.2 ม 1/13 และเกบ็ สะสมในรูปแบบต่าง ๆ
ว 1.2 ม 1/14 พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบอาศัย
ว 1.2 ม 1/15 เพศได้และบางชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบไม่
ว 1.2 ม 1/16 อาศัยเพศ การถ่ายเรณูจะนำไปสู่การปฏิสนธิ
ว 1.2 ม 1/17 ซึ่งจะเกิดที่ถุงเอ็มบริโอภายในออวุล ออวุลจะ
ว 1.2 ม 1/18 พัฒนาไปเป็นเมล็ดและรังไข่พัฒนาไปเป็นผล
ผลและเมล็ดมกี ารกระจาย
ธ
ท่ี ชอื่ หนว่ ย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา คะแนน
การเรยี นรู้ เรียนร้/ู ตัวชว้ี ัด เรยี น
(ช่ัวโมง) 20
สอบกลางภาค 70
ระหว่างภาคเรยี น ออกจากต้นเดิมโดยวิธีการต่าง ๆ เมื่อ 30
สอบปลายภาค 100
เมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
จะเกดิ การงอก
พืชต้องการธาตุอาหารจำเป็นหลายชนดิ
ในปริมาณมาก ในการเจริญเติบโตและ
การดำรงชีวติ
มนุษย์สามารถนำความรู้เรื่องการ
สบื พันธุ์แบบอาศยั เพศและไม่อาศัยเพศมา
ใช้ในการขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มจำนวนพืช
เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นการ
น ำ ค ว า ม ร ู ้ ม า ป ร ั บ ป ร ุ ง พ ั น ธ ุ ์ พ ื ช ท ี ่ มี
ความสำคญั ทางเศรษฐกจิ การผลิตยาและ
สาระสำคญั ในและอ่ืน ๆ
3
57
3
รวมทงั้ สน้ิ ตลอดปี 60
น
การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปกี ารศกึ ษา 2565
รหสั วชิ า ว21101 วิทยาศาสตร์ศาสตร์พ้นื ฐาน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1
เวลา 3 ชัว่ โมง / สปั ดาห์ เวลา 60 ช่ัวโมง
อัตราสว่ น ระหวา่ งภาคเรยี น : ปลายภาคเรียน เทา่ กบั 70: 30
คะแนนกอ่ นสอบกลางภาคเรียน 20 คะแนน
คะแนนสอบกลางภาคเรยี น 20 คะแนน
คะแนนหลังสอบกลางภาคเรยี น 30 คะแนน
คะแนนสอบปลายภาคเรียน 30 คะแนน
เกณฑ์การตัดสนิ ผลการเรียน คะแนน 0 - 49 ไดผ้ ลการเรียน 0
คะแนน 50 – 54ไดผ้ ลการเรยี น 1
คะแนน 55 - 59 ไดผ้ ลการเรียน 1.5
คะแนน 60 - 64 ได้ผลการเรียน 2
คะแนน 65 - 69 ได้ผลการเรียน 2.5
คะแนน 70 - 74 ได้ผลการเรยี น 3
คะแนน 75 - 79 ได้ผลการเรียน 3.5
คะแนน 80 - 100 ได้ผลการเรียน 4
บ
บนั ทึกขอ้ ความ ขออนุมตั ิใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาวิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1
1
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาศาสตร์ 1 รหสั วชิ า ว21101
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรือ่ ง สมบัติของสารบริสุทธิ์ เวลาเรียนรวม 9 ช่วั โมง
เรื่อง การจำแนกสาร เวลา 1 ช่วั โมง
ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1/2565
ผ้สู อน นายบญุ เลศิ ลำ้ บญุ เกดิ วนั ท.่ี ....เดือน...............พ.ศ.............
1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว 2.1 ม 1/4 เปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม โดยการวัด
อณุ หภูมิเขยี นกราฟแปลความหมายข้อมูลจากกราฟหรือสารสนเทศ
2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (K)
นกั เรียนสามารถอธิบายลักษณะของสารได้
2.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
นกั เรยี นสามารถจำแนกสารโดยใชล้ ักษณะของเนือ้ สารได้
2.3 ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
1) มีวินัย
2) ใฝ่เรยี นรู้
3) มุง่ ม่ันในการทำงาน
3. สมรรถนะสำคญั
3.1 ความสามารถในการสอื่ สาร
3.2 ความสามารถในการคดิ
3.3 ความสารถในการใชเทคโนโลยี
4. สาระสำคญั
สาร สมบัติของสารแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี โดยการจำแนก
สารโดยใช้ลักษณะของเนื้อสาร สามารถจำแนกได้ เป็นสารเนื้อเดียวและสารเน้ือผสม สารเนื้อเดียวคือสารที่
มองเห็นด้วยตาเปล่าเป็นเนื้อเดียว ในสารเนื้อเดียวมีสารชนิดเดียวเรียกว่าสารบริสุทธิ์ สารมากกว่า 1 ชนิด
เรยี กว่าสารไมบ่ ริสทุ ธิ์ และสารเนอื้ ผสมคอื สารท่มี ีลกั ษณะเนอื้ สารคละกัน
5. สาระการเรยี นรู้
การจำแนกสารโดยใช้ลักษณะของเน้อื สารเป็นเกณฑ์
2
6. กจิ กรรมการเรียนรู้ (กระบวนการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E)
ขน้ั ที่ 1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) (5 นาที)
1.1 ครกู ลา่ วทกั ทายนกั เรยี น เชค็ ชือ่ นกั เรยี นทเ่ี ขา้ ชน้ั เรียน สอบถามพูดคยุ กับนกั เรยี นโดยท่ัวไป ชแ้ี จง
คำอธบิ ายรายวิชา และขอ้ ตกลงในชนั้ เรียน
1.2 ครูนำส่ิงของมากระต้นุ ความสนใจหรอื ถามเกี่ยวกับชวี ติ ประจำวันของนกั เรียนนักเรยี นแลว้ ถาม
นักเรยี นยกตวั อย่าง เชน่
ครูใหน้ กั เรียนสงั เกต น้ำนม พริกเกลอื น้ำผลไม้ น้ำสี ลกู เหมน็ เหลก็ ธปู น้ำมนั ผสมน้ำ
พร้อมให้นกั เรียนจำแนกประเภท
ครถู ามคำถาม ส่ิงของมีความแตกตา่ งกันอยา่ งไร (แนวคำตอบ นำ้ นมเหล็ก ลูกเหมน็ นำ้ สี
เปน็ สารเนื้อเดียว ธปู พรกิ เกลือ น้ำมนั ผสมนำ้ เป็นสารเน้อื ผสม เปน็ ตน้ )
1.3 ครูแจ้งจุดประสงค์การเรยี นรู้ให้นักเรยี นทราบ
ขนั้ ท่ี 2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) (25 นาที)
2.1 ครแู บง่ นักเรยี นออกเป็น 10 กล่มุ กลุ่มละ 4 คน
2.2 ครูให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มศกึ ษา เรื่อง การจำแนกสารโดยใช้เนื้อสารและอนุภาคของสารเป็นเกณฑ์
จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าท่ี 18
2.3 ครูแจกภาพแต่ละชุดให้แต่ละกลุ่ม โดยภาพแต่ละชุดมี ดังนี้ ส้มตำ น้ำผลไม้ปั่น น้ำเกลือ น้ำนม
กาแฟ สลัด น้ำแปง้ ทองคำขาว น้ำพริก แอลกอฮอลเ์ ช็ดแผล น้ำสม้ สายชู หมอก ควันจากทอ่ ไอเสีย แกส๊ หุงต้ม
เป็นตน้ ครแู จกใบงานที่ 1.1 เรื่อง การจำแนกสาร เพื่อใหแ้ ต่ละกลุ่มร่วมกนั จำแนกสารจากภาพ แลว้ บันทึกลง
ใน ใบงานที่ 1.1
ขน้ั ท่ี 3 ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) (15 นาที)
3.1 ครูสุม่ ตวั แทนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอใบงานที่ 1.1 เรื่อง การจำแนกสาร
3.2 ครูเสริมและเพิม่ เติมความรใู้ หก้ บั ตัวแทนนกั เรียนท่อี อกมานำเสนอ
3.3 ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายสมบตั ขิ องสาร การจำแนกสาร
ขน้ั ที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาท)ี
4.1 ครอู ธิบายและสรปุ องค์ความรู้ เร่ือง การจำแนกสาร
4.2 ครูอธิบายเพิ่มเติม ดงั นี้
ขอ้ สงั เกตในการจำแนกสาร
1. สารบรสิ ทุ ธิ์ทกุ ชนดิ ธาตทุ ุกชนิด สายละลายทุกชนิด สารประกอบทกุ ชนดิ เป็นสารเน้อื เดียว
2. สารประกอบทกุ ชนิด เป็นสารบริสุทธ์ิ
3. สารละลายทุกชนิดไมเ่ ปน็ สารบรสิ ุทธิ์
4. สารผสมไมใ่ ชส่ ารบริสุทธิ์
3
ขน้ั ที่ 5 ข้นั ประเมนิ (Evaluation) (5 นาที)
5.1 ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะคนพิจารณาว่าจากหัวขอ้ ทเี่ รยี นมา มีเนอ้ื หาใดบา้ งที่ยงั ไม่เขา้ ใจ
ถา้ มี ครชู ว่ ยอธิบายเพิม่ เติมใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจ
5.2 ประเมนิ การทำงานกลุม่ ตามกจิ กรรม
5.3 ประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ จากพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
7. สื่อการเรียนรู้และแหลง่ การเรยี นรู้
7.1 หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 (นิยมวิทยา นว.)
7.2 ใบกิจกรรม เรอื่ ง การจำแนกสาร
7.3 สือ่ จริง
8. ภาระงานและช้นิ งาน
ใบกจิ กรรม เรื่อง การจำแนกสาร
9. การวัดและการประเมนิ ผล วธิ ีการวดั เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
ส่ิงทีต่ ้องการวัด การตรวจใบ แบประเมนิ ใบกจิ กรรม ผา่ นรอ้ ยละ 70
กจิ กรรม
ดา้ นความรู้ (K) เร่อื ง การจำแนกสาร ขึ้นไป
นกั เรียนสามารถอธิบายลกั ษณะของ การตรวจใบ
สารได้ กิจกรรม แบประเมินใบกิจกรรม ผา่ นร้อยละ 70
ดา้ นทักษะ (P)
นกั เรียนสามารถจำแนกสารโดยใช้ การสังเกต เรือ่ ง การจำแนกสาร ขึน้ ไป
ลกั ษณะของเน้ือสารได้ พฤตกิ รรม
ด้านคุณลักษณะ (A) ในชัน้ เรียน แบบประเมินด้าน ระดับคณุ ภาพ
1) มีวนิ ยั คุณลกั ษณะอนั พึง ด/ี พอใช้/ปรบั ปรงุ
2) ใฝ่เรียนรู้ ประสงค์รายบุคคล ผ่านระดับดีขึน้ ไป
3) มุง่ ม่ันในการทำงาน
4
5
ภาคผนวก
7
ใบงานที่ 1
เร่อื ง การจำแนกสาร
คำชีแ้ จง : จงบนั ทึกชื่อสารจากภาพ และใช้สมบัตทิ างกายภาพของสารเปน็ เกณฑ์ในการจำแนกชนิดของสาร
โดยขีดเครือ่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งทีก่ ำหนดให้
สมบตั ทิ างกายภาพ
ชือ่ สาร เนื้อสาร อนภุ าค
สารเน้อื เดียว สารเน้ือผสม สารละลาย สารแขวนลอย คอลลอยด์
ใบงานท่ี 1 8
เรอื่ ง การจำแนกสาร
เฉลย
คำชแี้ จง : จงบนั ทึกช่อื สารจากภาพ และใช้สมบัติทางกายภาพของสารเป็นเกณฑใ์ นการจำแนกชนิดของสาร
โดยขีดเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องท่ีกำหนดให้
สมบตั ทิ างกายภาพ
ชอ่ื สาร เน้อื สาร อนภุ าค
สารเน้อื เดยี ว สารเน้ือผสม สารละลาย สารแขวนลอย คอลลอยด์
หมอก
ส้มตำ
นำ้ ผลไม้ป่ัน
นำ้ เกลือ
แก๊สหงุ ตม้
นำ้ สม้ สายชู
ทองคำขาว
แอลกอฮอล์เช็ด
แผล
กาแฟ
สลดั
น้ำพรกิ
ควันท่อไอเสีย
น้ำแปง้
น้ำนม
นำ้ โคลน
9
แบบประเมินใบกิจกรรม เร่อื ง การจำแนกสาร
แนวทางในการประเมนิ ใบกจิ กรรม คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
รายการประเมิน
การบนั ทกึ ผล 1 บอกไดอ้ ยา่ งถูกต้องครบถ้วน
0.5 บอกไดอ้ ย่างถูกตอ้ งบางส่วน ไม่ครบถ้วน
0 บอกไมไ่ ด้หรือบอกไม่ถกู ต้อง
นำ้ หนักคะแนน
คะแนนเต็ม 10 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสิน (ผา่ นเกณฑ์ 70% ขนึ้ ไป)
ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
7 – 10 70-100% ดมี าก
4 – 6 50-60% ดี
0-3 0-40% ปรบั ปรุง
แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 10
ปผรละกเมาริน
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1/………
ประเด็นการประเมิน
0มท่งุ 1กำมงา่นั าร2ในน3
ลำดับที่ ชอ่ื -นามสกลุ มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ คะแนน
012 0123
1 3
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
ลงชอ่ื .....................................................ผู้ประเมิน
(นายบุญเลศิ ล้ำ บญุ เกิด)
วนั ท่ี ..........เดือน..................พ.ศ. ............
11
เกณฑ์การวัดประเมนิ ผล (ผ่านเกณฑใ์ นระดบั ด)ี
ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
7-9 3 = ดี
4-6 2 = พอใช้
0-3 1 = ปรบั ปรงุ
แนวทางในการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ประเด็นการประเมิน ระดบั คุณภาพ
3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรบั ปรงุ ) 0 (แก้ไข)
1. มวี นิ ยั นกั เรียนเข้าเรียนตรง นักเรยี นเข้าเรยี น นกั เรยี นเขา้ เรยี น นักเรียนไมเ่ ขา้ เรียน
ตอ่ เวลาสม่ำเสมอ ตรงตอ่ เวลา ตรงต่อเวลา ไม่ปฏบิ ตั ิตาม
บางครั้ง ปฏบิ ัติ กฎระเบยี บ
ปฏบิ ตั ติ าม ตามกฎระเบยี บ บางคร้งั ไมป่ ฏบิ ัติ
กฎระเบียบ บางคร้ัง ตามกฎระเบยี บ ไมม่ คี วามสนใจใน
สม่ำเสมอ กิจกรรมการเรียน
การสอน ไม่ทำใบ
2. ใฝเ่ รยี นรู้ มคี วามสนใจใน มีความสนใจใน มีความสนใจใน
กจิ กรรม
กิจกรรมการเรียน กิจกรรมการเรยี น กิจกรรมการเรยี น
การสอนสม่ำเสมอ การสอนสม่ำเสมอ การสอนบางครั้ง
ทำใบกิจกรรมด้วย ทำใบกิจกรรมด้วย ไม่ทำใบกิจกรรม
ตนเอง ตนเองบางคร้งั ดว้ ยตนเอง
3. มงุ่ มน่ั ในการ นักเรียนตั้งใจทำงาน นกั เรยี นตัง้ ใจ นักเรยี นไม่ตง้ั ใจ นกั เรยี นไม่ทำงานสง่
ทำงาน อยา่ งเต็ม ทำงานอย่างเต็ม ทำงาน และส่งงาน
ความสามารถแต่ ไม่ทันตามเวลาที่
ความสามารถ ส่งงานไมต่ รงตาม
ทำงานเสร็จ และสง่ เวลาทีก่ ำหนด กำหนด
ทนั ตามเวลาที่
กำหนด
12
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2
กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว21101
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่ือง สมบัตขิ องสารบรสิ ทุ ธ์ิ เวลาเรยี นรวม 9 ชวั่ โมง
เรอื่ ง จดุ เดือดของสารบรสิ ทุ ธิ์และสารผสม เวลา 2 ช่วั โมง
ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1/2565
ผสู้ อน นายบญุ เลิศลำ้ บุญเกดิ วนั ท.ี่ ....เดือน...............พ.ศ.............
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด
มาตรฐาน ว 2.1 ม 1/4 เปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม โดยการวัด
อุณหภูมเิ ขียนกราฟแปลความหมายขอ้ มูลจากกราฟหรือสารสนเทศ
2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
2.1 ด้านความรู้ (K)
นักเรยี นสามารถอธบิ ายจุดเดอื ดของสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสมได้
2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
นกั เรียนมที กั ษะในใชเ้ ครือ่ งมือบอกจุดเดอื ดของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสารผสมได้
2.3 ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
1) มวี นิ ัย
2) ใฝเ่ รียนรู้
3) ม่งุ ม่ันในการทำงาน
3. สมรรถนะสำคญั
3.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร
3.2 ความสามารถในการคดิ
4. สาระสำคญั
สารบรสิ ทุ ธิเ์ มื่อได้รบั อุณหภูมสิ งู ขึน้ เรอื่ ย ๆ จนถึงอณุ หภูมิ 100 องศาเซลเซียส อณุ หภูมจิ ะไมเ่ พ่ิมขึ้น จึง
มีจุดเดือดคงที่ ในขณะที่สารผสม อุณหภูมิขณะเดือดจะไม่คงที่ขึ้นอยู่กับชนิดและสัดส่วนที่ผสมอยู่กันใน
สารละลาย
5. สาระการเรียนรู้
จุดเดอื ดของสารบริสทุ ธิแ์ ละสารผสม
13
6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (กระบวนการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E)
ชวั่ โมงที่ 1
ขนั้ ท่ี 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (5 นาท)ี
ครูกลา่ วทักทายนกั เรยี น และทบทวนบทเรยี นเร่อื ง การจำแนกสาร โดยตั้งคำถามดังน้ี
1. สารจำแนกตามเนื้อสารสามารถจำแนกไดก้ ี่อย่าง อะไรบา้ ง (แนวคำตอบ 2 อยา่ ง ได้แก่สารเนือ้ เดียว
และสารเนอ้ื ผสม)
2. สารเนื้อเดียวสามารถจำแนกย่อยได้กี่ประเภท (แนวคำตอบ 2 ประเภท สารบริสุทธิ์และสารไม่
บริสุทธ์ิหรอื สารผสม)
ขัน้ ที่ 2 ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) (35 นาท)ี
2.1 ครูแบ่งนักเรียนออกเปน็ 10 กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ให้นักเรียนศึกษาวธิ ีการทดลองจากหนังสือเรยี น
รายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ 19
2.2 ครูอธิบายขั้นตอนการทดลอง โดยอธิบายการใช้เทอร์มอมิเตอร์อย่างระวัดระวัง วิธีการอ่านค่า
อณุ หภูมิ การเตมิ สารและนำ้ ในปริมาณท่กี ำหนด
2.3 ใหน้ กั เรยี นร่วมกันทำกิจกรรมการทดลองกลมุ่ โดยมีวิธกี ารทดลองดังนี้
2.3.1 จดั อุปกรณก์ ารทำกิจกรรมดงั รูป สงั เกตการณ์เปล่ียนแปลงและวัดอุณหภูมิเริ่มต้นท่ี 0 วินาที
บันทกึ ผล
2.3.2 จุดตะเกียงแอลกอฮอล์ ใช้แท่งแก้วคนน้ำกลัน่ ในขณะทีใ่ หค้ วามร้อน สังเกตการเปลีย่ นแปลง
และวดุ อณุ หภูมิทุก ๆ 30 วินาที จนกระท้ังนำ้ เดอื ดและวดั อณุ หภูมิต่อไปอีก 2 นาที บนั ทึกผล
14
2.3.3 ทำการทดลองซ้ำในข้อ 1 และขอ้ 2 แต่เปล่ียนมาใชส้ ารละลายโซเดียมคลอไรด์ 10%
ปรมิ าตร 50 cm3 แทนน้ำกล่ัน
ขน้ั ที่ 3 ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) (10 นาที)
ครูให้นกั เรยี นตรวจสอบผลการบนั ทกึ กิจกรรมการทดลอง และสรุปร่วมกัน
ขั้นท่ี 4 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) (5 นาที)
ครอู ธิบายขยายความจากผลการทำกิจกรรมการทดลองเร่อื ง จุดเดือดของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสารผสม จาก
บนั ทกึ ผลการทดลองของนักเรยี น
ขั้นท่ี 5 ขั้นประเมิน (Evaluation) (5 นาท)ี
ครูสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ของนกั เรียน
ชั่วโมงที่ 2
ข้นั ท่ี 1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (5 นาท)ี
ครูทบทวนการบันทึกผลการทดลอง จากกิจกรรมการทดลอง เรื่อง จุดเดือดของสารบริสุทธิ์และ
สารผสม
ข้นั ที่ 2 ข้ันสำรวจและค้นหา (Exploration) (15 นาท)ี
2.1 ครูอธบิ ายวิธกี ารเขียนกราฟ ไปทีละขึน้ ตอนเริ่มจากการแบ่งชว่ งข้อมลู การอา่ นคา่ ของข้อมูล
2.2 ให้นักเรยี นนำข้อมลู ท่ไี ดม้ าเขียนกราฟแสดงความสมั พันธร์ ะหว่างอุณหภูมกิ ับเวลา เม่อื ใหค้ วามรอ้ น
กับน้ำกล่นั และสารละลายโซเดียมคลอไรด์
ขั้นที่ 3 ข้นั อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) (20 นาท)ี
3.1 ครูและนักเรยี นสรุปกจิ กรรมร่วมกัน
3.2 ใหน้ กั เรยี นตวั แทนกล่มุ รายงานผลการทดลองและการเขียนกราฟหน้าชน้ั เรียน และนักเรียนรว่ มกัน
อภปิ ราย
ขั้นที่ 4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) (15 นาท)ี
4.1 ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ ดงั น้ี
4.1.1 น้ำกลั่นเมื่อได้รับความร้อนจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนถึงอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสซึ่งเป็นจุด
เดือดของน้ำกลั่น เดือดกลายเป็นไอและอุณหภูมิยังคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงถึงแม้ว่าจะให้ความร้อนต่อไป ส่วน
สารละลายโซเดียมคลอไรด์ เมื่อได้รับความร้อนอุณหภูมิจะสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ จนสารละลายโซเดียมคลอไรด์
เดือดแตอ่ ณุ หภูมิกย็ ังคงเพิ่มขน้ึ ไปเรอื่ ย ๆ ไมค่ งที่
4.1.2 สารบริสุทธิ์มีจุดเดือดคงที่ เช่น น้ำกลั่นเป็นสารบริสุทธิ์ อุณหภูมิขณะเดือดจะคงที่ในขณะที่
สารละลายโซเดยี มคลอไรด์เป็นสารละลายหรือสารผสมระหว่างน้ำกับโซเดียมคลอไรด์ อุณหภูมิขณะเดือดจะ
ไมค่ งท่ีขึ้นอยกู่ บั ชนิดและสัดส่วนของสารทีผ่ สมอยูด่ ้วยกนั ในสารละลายหรอื สารผสมนัน้
4.1.3 ใหน้ กั เรียนตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม
15
ข้นั ท่ี 5 ขนั้ ประเมิน (Evaluation) (5 นาที)
5.1 ตรวจใบกิจกรรม
5.2 ประเมนิ การทำงานกลมุ่ ตามกิจกรรม
5.3 ประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ จากพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ
7. สอื่ การเรียนรู้และแหลง่ การเรียนรู้
7.1 หนงั สอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 (นยิ มวิทยา นว.)
7.2 ใบกจิ กรรม เรือ่ ง จุดเดอื ดของสารบริสุทธ์แิ ละสารผสม
7.3 อปุ กรณใ์ นการทดลอง ได้แก่ เทอร์มอมเิ ตอร์ แท่งแกว้ คนสาร บีกเกอร์ ตะเกียงแอลลกอฮอลล์
7.4 สารเคมที ีใ่ ชใ้ นการทดลอง ไดแ้ ก่ โซเดยี มคลอไรด์
8. ภาระงานและช้นิ งาน
ใบกจิ กรรม เรอื่ ง จดุ เดอื ดของสารบรสิ ุทธ์ิและสารผสม
9. การวัดและการประเมินผล
ส่ิงที่ตอ้ งการวดั วธิ กี ารวดั เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมิน
แบประเมินใบกิจกรรม
ด้านความรู้ (K) การตรวจใบ เรื่อง จุดเดอื ดของสาร ผา่ นรอ้ ยละ 70
นกั เรียนสามารถอธิบายจุดเดือดของ กจิ กรรม บริสุทธ์แิ ละสารผสม ข้ึนไป
สารบริสทุ ธิ์และสารผสมได้
แบบประเมินทักษะการ ระดับคณุ ภาพ
ด้านทักษะ (P) การสงั เกต ปฏิบตั ิกิจกรรม ด/ี พอใช้/ปรับปรงุ
นักเรยี นมที กั ษะในใชเ้ ครอื่ งมอื บอก พฤติกรรมการ ผา่ นระดบั ดขี นึ้ ไป
จุดเดอื ดของสารบริสุทธแิ์ ละสารผสม ทำงานกล่มุ แบบประเมินดา้ น
ได้ คุณลักษณะอนั พงึ ระดบั คุณภาพ
ประสงคร์ ายบคุ คล ด/ี พอใช้/ปรบั ปรงุ
ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) การสงั เกต ผา่ นระดบั ดขี น้ึ ไป
1. มวี ินัย พฤติกรรมในช้ัน
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มุง่ ม่ันในการทำงาน เรยี น
16
17
ภาคผนวก
19
ใบกจิ กรรมเรื่อง จุดเดือดของสารบริสุทธ์ิและสารผสม
กลมุ่ ท่.ี ......................................
1…………………………………………………………………………………………………………………..เลขท่ี.............................
2…………………………………………………………………………………………………………………..เลขท.ี่ ............................
3…………………………………………………………………………………………………………………..เลขที.่ ............................
4…………………………………………………………………………………………………………………..เลขที่.............................
จุดประสงค์
...................................................................................................................................................
ตอนท่ี 1 ทดลองและบันทึกผล
วิธีการทดลอง
1 จัดอปุ กรณก์ ารทำกจิ กรรมดังรปู สังเกตการณ์เปล่ยี นแปลงและวัดอณุ หภูมเิ ร่ิมตน้ ที่ 0 วนิ าทบี นั ทกึ ผล
2 จดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์ ใชแ้ ทง่ แก้วคนน้ำกลน่ั ในขณะท่ีให้ความร้อน สังเกตการเปลย่ี นแปลงและวุดอุณหภูมิ
ทกุ ๆ 30 วินาที จนกระท้ังนำ้ เดือดและวดั อุณหภูมติ ่อไปอกี 2 นาที บันทกึ ผล
3 ทำการทดลองซำ้ ในขอ้ 1 และขอ้ 2 แตเ่ ปลี่ยนมาใช้สารละลายโซเดยี มคลอไรด์ 10% ปริมาตร 50 cm3
แทนนำ้ กลน่ั
4. นำขอ้ มลู ทไี่ ด้มาเขยี นกราฟแสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างอุณหภมู ิกบั เวลา เมอ่ื ใหค้ วามร้อนกบั นำ้ กลน่ั และ
สารละลายโซเดียมคลอไรด์
20
ตารางบนั ทึกผลการทำกจิ กรรมการทดลอง
เวลา นำ้ กลนั่ สารละลายโซเดียมคลอไรด์
(วนิ าท)ี อณุ หภูมิ ( ℃) การเปลย่ี นแปลงทส่ี งั เกตได้ อณุ หภูมิ ( ℃) การเปลยี่ นแปลงท่สี งั เกตได้
21
กราฟแสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอุณหภมู ิกบั เวลาเมือ่ ใหค้ วามรอ้ นแกส่ าร
ตอนท่ี 2 คำถามทา้ ยกิจกรรม
1. เม่อื ใหค้ วามรอ้ นนำ้ กลน่ั มกี ารเปลย่ี นแปลงดังน้ี
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. เมือ่ ใหค้ วามรอ้ นสารละลายโซเดยี มคลอไรดม์ กี ารเปลย่ี นแปลงดังนี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. จากกราฟการเปลย่ี นแปลงอณุ หภูมิของนำ้ กล่นั มีลักษณะดงั นี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. จากกราฟการเปลีย่ นแปลงอุณหภมู ิของสารละลายโซเดยี มคลอไรด์มลี กั ษณะดงั นี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. อณุ หภมู ิขณะเดือดของกลัน่ และสารละลายโซเดยี มคลอไรด์มีลักษณะคลา้ ยกันหรอื ไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
22
แบบประเมนิ ใบกิจกรรมการทดลอง
ตอนที่ 1 แนวทางการประเมนิ กจิ กรรมการทดลอง เรอ่ื ง จดุ เดือดของสารบรสิ ุทธ์แิ ละสารผสม
รายการประเมนิ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
2.5 ทดลองได้อยา่ งถกู ตอ้ งตามวิธีการทีก่ ำหนดให้
ใชใ้ นกจิ กรรม
การทดลอง 1 ทดลองได้ตามวธิ กี ารทก่ี ำหนดให้ แตม่ ี
ข้อบกพรอ่ งในการทำกจิ กรรม
0 ไม่สามารถทดลองได้
2.5 บอกไดอ้ ยา่ งถูกต้องครบถ้วน
บันทกึ ผลการทดลอง 1 บอกได้อยา่ งถกู ต้อง ไม่ครบถ้วน
0 บอกไม่ได้หรอื บอกไม่ถูกต้อง
ตอนที่ 2 แนวทางการประเมนิ การตอบคำถามหลังทำกิจกรรม
รายการประเมนิ คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ขอ้ ละ 1 คะแนน บอกได้อย่างถกู ตอ้ งครบถ้วน
บอกได้อย่างถกู ต้อง ไม่ครบถ้วน
1 บอกไม่ได้หรอื บอกไม่ถกู ต้อง
บอกสิ่งทโ่ี จทย์ตอ้ งการ 0.5
0
นำ้ หนกั คะแนน ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ตอนท่ี 1 = 5 คะแนน 70-100% ดมี าก
ตอนที่ 2 = 5 คะแนน 50-60% ดี
0-40% ปรบั ปรุง
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
เกณฑ์การตัดสิน (ผ่านเกณฑ์ 70% ขน้ึ ไป)
ช่วงคะแนน
7 – 10
4–6
0-3
แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 23
ปผรละกเมาริน
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1/………
ประเด็นการประเมิน
0มท่งุ 1กำมงา่นั าร2ในน3
ลำดับที่ ชอ่ื -นามสกลุ มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ คะแนน
012 0123
1 3
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
ลงชอ่ื .....................................................ผู้ประเมิน
(นายบุญเลศิ ล้ำ บญุ เกิด)
วนั ท่ี ..........เดือน..................พ.ศ. ............
24
เกณฑ์การวัดประเมินผล (ผา่ นเกณฑ์ในระดบั ด)ี
ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
7-9 3 = ดี
4-6 2 = พอใช้
0-3 1 = ปรบั ปรงุ
แนวทางในการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ประเด็นการประเมนิ ระดบั คุณภาพ
1. มวี ินัย
3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรบั ปรุง) 0 (แกไ้ ข)
นกั เรียนเข้าเรยี นตรง
ตอ่ เวลาสม่ำเสมอ นักเรียนเขา้ เรียน นกั เรยี นเขา้ เรียน นักเรียนไมเ่ ข้า
ตรงต่อเวลา ตรงต่อเวลา เรยี น ไมป่ ฏบิ ัติ
ปฏบิ ตั ติ าม บางคร้งั ปฏิบัติ
กฎระเบียบ ตามกฎระเบยี บ บางครงั้ ไม่ปฏิบตั ิ ตาม
สม่ำเสมอ บางครง้ั ตามกฎระเบียบ กฎระเบยี บ
2. ใฝเ่ รยี นรู้ มคี วามสนใจใน มีความสนใจใน มคี วามสนใจใน ไม่มีความ
กิจกรรมการเรียน กจิ กรรมการเรียน กจิ กรรมการเรยี น สนใจใน
การสอนสม่ำเสมอ การสอนสม่ำเสมอ การสอนบางครง้ั กิจกรรมการ
ทำใบกิจกรรมดว้ ย ทำใบกิจกรรมดว้ ย ไมท่ ำใบกิจกรรม เรียนการสอน
ตนเองบางคร้งั ไมท่ ำใบ
ตนเอง ดว้ ยตนเอง
กจิ กรรม
3. มงุ่ ม่นั ในการ นักเรียนตั้งใจทำงาน นกั เรยี นตงั้ ใจ นักเรียนไมต่ งั้ ใจ นักเรยี นไม่
ทำงาน อยา่ งเตม็ ทำงานอย่างเตม็ ทำงาน และสง่ งาน ทำงานสง่
ความสามารถแต่ ไม่ทันตามเวลาที่
ความสามารถ สง่ งานไมต่ รงตาม
ทำงานเสร็จ และสง่ เวลาที่กำหนด กำหนด
ทนั ตามเวลาท่ี
กำหนด
25
แบบประเมนิ ทักษะการปฏิบตั ิกจิ กรรม
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1/……..
ประเดน็ การประเมนิ 0แมมส่นั ีคกด1ใจลวงอแา้า2มอลกะ3
0นกรใมคนะ1คีวตกวาือามา2รรมรือหู้ รา3้
ลำดับท่ี ชือ่ -นามสกุล ทมวาทีำงงกั แาษนผะนกกลา่มุ ร คะแนน ปผรละกเมารนิ
0123
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
ลงช่อื .....................................................ผู้ประเมิน
(นายบุญเลศิ ล้ำ บุญเกดิ )
วันท่ี ..........เดอื น..................พ.ศ. ............