เอกสารประกอบการสอน การพัฒนาระบบอีคอมเมิร์ซด้วยโปรแกรมส าเร็จรูป 30901-2116 ระดับ ปวส. นางสาวเบญญาภา ส ุ รส ุ ข คร ู ผ ้ ู ช ่ วย วิทยาลัยเทคนิควังน าเย็น ส านักงานคณะกรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ
ค าน า เอกสารประกอบการสอนวิชา การพัฒนาระบบอีคอมเมิร์ซด้วยโปรแกรมส าเร็จรูป (30901-2116) จัดท าขึ้น เพื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เนื้อหาของเอกสารประกอบการสอนมีด้วยกัน 9 หน่วยการเรียนรู้ ประกอบด้วย ความรู้เบื้องต้นใน เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต วิธีใช้อินเตอร์เน็ตและการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าสู่อินเตอร์เน็ต การใช้ PHP เบื้องต้น การจัดตะกร้าระบบโปรแกรมส าหรับใช้งานระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ลูกค้า และตลาดธุรกิจในอินเตอร์เน็ต การสร้างร้านค้าบนเว็ป การประชาสัมพันธ์ร้านค้าบนอินเอร์เน็ต และกฎหมาย พาณิชย์ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ผู้เรียบเรียง หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประกอบการสอนวิชา เทคโนโลยีเรือข่ายไร้สาย เล่มนี้ จะสามารถใช้ประกอบการศึกษาให้เกิดการเรียนรู้และเกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน ผู้สอน ตลอดจนผู้สนใจศึกษา ทั่วไปได้เป็นอย่างดี หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้เรียบเรียง ขอน้อมรับค าติชมเพื่อเป็นประโยชน์ในการ ปรับปรุงแก้ไขในโอกาสต่อไป เบญญาภา สุรสุข แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิควังน้ าเย็น
สารบัญ เรื่อง หน้า หน่วยที่ 1 ความรู้เบื องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต 1 ประวัติความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต 1 ความหมายของของอินเตอร์เน็ต 3 อนาคตของของอินเตอร์เน็ต 3 ความส าคัญของของอินเตอร์เน็ต 5 หน่วยที่ 2 วิธีใช้อินเตอร์เน็ตและการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าสู่อินเตอร์เน็ต 7 World wide web 7 Web Browser 8 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 9 เว็บไซต์ (WebSite) 14 จดหมายอิล็กทรอนิกส์ 16 หน่วยที่ 3 การใช้ PHP เบื องต้น 17 การเริ่มต้นเขียนโปรแกรมด้วยภาษา php 17 แท็กค าสั่งที่ใช้แสดงผลลัพธ์ทางหน้าจอ 18 ลักษณะของ Whitespace 19 การเขียนหมายเหตุ (Comment) 19 การติดตั้งตัวแปรในภาษา php 19 วิธีการก าหนดค่าตัวแปร 21 หน่วยที่ 4 การจัดตะกร้าระบบโปรแกรมส าหรับใช้งานระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 22 ความหมายของ Content Management System (CMS) 22 ความโดดเด่นของ CMS 23 หลักการท างานของ CMS 24 ส่วนประกอบของ CMS 24 ล าดับการด าเนินงานของเนื้อหา 26 การประยุกต์ใช้งาน CMS ในด้านต่างๆ 27 ตัวอย่างเว็บไซต์ใช้งานด้วย CMS 28 การสร้างเว็บ CMS ด้วย WordPress บน Docker (Lab 3SB02) 29 พัฒนาเว็บไซต์ตามแนวทาง Web 2.0 ด้วย WordPress.org 40 การติดตั้ง XAMPP เพื่อจ าลอง WebServer 41 การติดตั้ง Wordpress 55
สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า หน่วยที่5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เบื องต้น 64 ค าจ ากัดความของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 64 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) 64 ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Business : e-Business) 65 คุณสมบัติส าคัญของเทคโนโลยีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 66 มิติของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 68 กรอบการด าเนินงานของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 69 ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 70 ประโยชน์ ข้อจ ากัด และ ปัญหาของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 74 มูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 75 หน่วยที่ 6 ลูกค้าและตลาดธุรกิจในอินเตอร์เน็ต 76 การตลาดออนไลน์ (Online Marketing) คืออะไร 76 ท าไมต้องท าการตลาดออนไลน์ (Online Marketing) 76 ช่องทางท าการตลาดออนไลน์ (Online Marketing) 77 การตลาดออนไลน์ที่น่าสนใจ 80 หน่วยที่ 7 การสร้างร้านค้าบนเว็บ 83 การก าหนดตลาดเป้าหมาย 83 การวางแผนและออกแบบขั้นตอนการพัฒนา 83 การส ารวจความพร้อม 84 การส ารวจความพร้อม 84 การวางแผน 84 การออกแบบทั้งระบบให้สมบูรณ์ 85 การวิเคราะห์การลงทุนและผลประโยชน์ 85 ท าอย่างไรให้ลูกค้าเข้าเว็บไซต์และคลิกสั่งซื้อ 86 รับมือกับยอดขาย กับเทคนิคจัดการออเดอร์ออนไลน์ 87 รับมือกับเทรนด์ C-Commerce 88 หน่วยที่ 8 การประชาสัมพันธ์ร้านค้าออนไลน์ 89 เทคนิคช่วยโปรโมท 89 10 ข้อดี Facebook Fan Page ต่อการประชาสัมพันธ์ 92 การใช้ LINE@ เพื่อธุรกิจ 94 การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าเดิม เพิ่มเติมลูกค้าใหม่ 96
สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า หน่วยที่ 9 กฎหมายพาณิชย์ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 98 ท าความเข้าใจในเรื่องธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 98 ลักษณะของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 98 ท าไมต้องมีกฎหมายการพาณิชย์อิเล็กทรอนิสก์ 98 กว่าจะมาเป็นกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 100 กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ : การริเริ่มในประเทศ 100 กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ : บทบาทและความจ าเป็น 101 ปัญหาของการเกิดอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 109 พระราชบัญญัติ ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 109 ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร 115
ความรู้เบื องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต 1. ประวัติความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet (Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้งเมื่อ ประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่อยมา ค.ศ.1969 (พ.ศ.2512) ARPA ได้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่าย ซึ่งหนึ่งในผู้สนับสนุนก็คือ Edward Kenedy และเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เป็น DARPA (Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อม เปลี่ยนแปลงนโยบายบางอย่าง และในปีค.ศ.1969(พ.ศ.2512)นี้เองที่ได้ทดลองการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์คนละ ชนิด จาก 4 แห่งเข้าหากันเป็นครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนีย และมหาวิทยาลัยยูทาห์ เครือข่ายทดลองประสบความส าเร็จอย่างมาก ดังนั้นในปีค.ศ.1975(พ.ศ. 2518) จึงได้เปลี่ยนจากเครือข่ายทดลอง เป็นเครือข่ายที่ใช้งานจริง ซึ่ง DARPA ได้โอนหน้าที่รับผิดชอบ โดยตรง ให้แก่ หน่วยการสื่อสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปัจจุบันคือ Defense Informations Systems Agency) แต่ในปัจจุบัน Internet มีคณะท างานที่รับผิดชอบบริหาร เครือข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงค์หลัก, IAB (Internet Architecture Board ) พิจารณาอนุมัติมาตรฐานใหม่ในInternet, IETF (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช้ กับ Internet ซึ่งเป็นการท างานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิ้น ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจน า TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มาใช้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบ ท าให้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet จนกระทั่งปัจจุบัน จึงสังเกตได้ว่า ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่จะต่อ internet ได้จะต้องเพิ่ม TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ TCP/IP คือข้อก าหนดที่ท าให้คอมพิวเตอร์ทั่วโลก ทุก platform คุยกันรู้เรื่อง และ สื่อสารกันได้อย่างถูกต้อง การก าหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) มีขึ้นเมื่อ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เพื่อสร้างฐานข้อมูล แบบกระจาย (Distribution database) อยู่ในแต่ละเครือข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วย จัดท าฐานข้อมูลของตนเอง จึงไม่จ าเป็นต้องมีฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรียกเว็บ www.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ หรือไม่ ที่ www.thnic.co.th ซึ่งมีฐานข้อมูลของเว็บที่ลงท้าย ด้วย th ทั้งหมด เป็นต้น DARPA ได้ท าหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ.2523) และให้ มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนร่วม กับอีกหลาย หน่วยงาน หน่วยที่ 1
ค.ศ.1991(พ.ศ.2534) ทิม เบอร์เนอร์ส ลี (Tim Berners-Lee) แห่งศูนย์วิจัย CERN ได้คิดค้นระบบ ไฮเปอร์เท็กซ์ขึ้น เว็บเบราวเซอร์ (Web Browser) ตัวแรกมีชื่อว่า WWW (World Wide Web) แต่เว็บได้รับ ความนิยมอย่างจริงจัง เมื่อ ศูนย์วิจัย NCSA ของมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์เออร์แบน่าแชมเปญจ์ สหรัฐอเมริกา ได้คิดโปรแกรม MOSAIC (โมเสค) โดย Marc Andreessen ซึ่งเป็นเว็บเบราว์เซอร์ระบบกราฟฟิก หลังจากนั้น ทีมงานที่ท าโมเสคก็ได้ออกไปเปิดบริษัทเน็ตสเคป (Browser Timelines : Mosaic 1993, IE 1995, Netscape 1994, Opera 1996, Macintosh IE 1996) ในความเป็นจริง ไม่มีใครเป็นเจ้าของ Internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผู้เดียว ในการก าหนด มาตรฐานใหม่ต่าง ๆ ผู้ติดสินว่าสิ่งไหนดี มาตรฐานไหนจะได้รับการยอมรับ คือ ผู้ใช้ ที่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลก ที่ได้ทดลองใช้มาตรฐานเหล่านั้น และจะใช้ต่อไปหรือไม่เท่านั้น ส่วนมาตรฐานเดิมที่เป็นพื้นฐานของระบบ เช่น TCP/IP หรือ Domain name ก็จะต้องยึดตามนั้นต่อไป เพราะ Internet เป็นระบบกระจายฐานข้อมูล การ จะเปลี่ยนแปลงระบบพื้นฐาน จึงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย ส าหรับการใช้งาน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในประเทศไทยนั้น ได้เริ่มต้นการใช้งานในภาครัฐ โดยมี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นจุดแรก ประมาณ พ.ศ. 2530 จากนั้น กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และ การพลังงาน ได้มอบหมายให ้ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ NECTEC จัดสรร เงินทุน งบประมาณ เพื่อการวิจัยการพัฒนาเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อเชื่อมโยง มหาวิทยาลัยทั่วประเทศ ทั้งหมด เข้าด้วยกัน ส าหรับ ในเชิงพาณิชย์นั้น เมื่อการสื่อสารแห่งประเทศไทย ได้อนุมัติการ จัดตั้งให้บริษัท KSC เป็นผู้ให้บริการ อินเตอร์เน็ต หรือ ISP รายแรกของประเทศไทย เพื่อให้บริการการเชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ต แก่บุคคลทั่วไป ทั้งในรูปแบบของบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล จากนั้น ก็ได้มี ISP เกิดขึ้นตามมาอีกหลาย บริษัทเพื่อให้บริการในเชิงพาณิชย์ 2
2. ความหมายของอินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ต (Internet) นั้นย่อมาจากค าว่า “International network” หรือ “Inter Connection network” ซึ่งหมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าไว้ ด้วยกัน เพื่อให้เกิดการสื่อสาร และการแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกัน โดยอาศัยตัวเชื่อมเครือข่ายภายใต้ มาตรฐานการเชื่อมโยงเดียวกัน นั่นก็คือ TCP/IP Protocol ซึ่งเป็นข้อก าหนดวิธีการติดต่อสื่อสารระหว่าง คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย ซึ่งโปรโตคอลนี้จะช่วยให้คอมพิวเตอร์ที่มีฮาร์ดแวร์ที่แตกต่างกันสามารถติดต่อ ถึงกันได้ การที่มีระบบอินเตอร์เน็ต ท าให้สามารถเคลื่อนย้ายข่าวสารข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ โดยไม่ จ ากัดระยะทาง ส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ ทั้งข้อความตัวหนังสือ ภาพ และ เสียง โดยอาศัยเครือข่าย โทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนับเป็นอภิ ระบบเครือข่ายที่ยิ่งใหญ่มาก มีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายล้าน เครื่องทั่วโลกเชื่อมต่อกับระบบ ท าให้คนในโลกทุกชาติทุก ภาษาสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ โดยไม่ต้องเดินทางไป โลก ทั้งโลกเปรียบเสมือนเป็นบ้านหนึ่งที่ทุกคนในบ้านสามารถ พูดคุยกันได้ตลอด 24 ชั่วโมง ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่าย แต่ เกิดประโยชน์ต่อสังคมโลกปัจจุบันมาก 3. อนาคตของอินเทอร์เน็ต เป็นที่แน่นอนแล้วว่าในอนาคต อินเทอร์เน็ตจะเข้ามามีส่วนร่วมกับชีวิตประจ าวันของคนเรามากขึ้น และจะช่วยอ านวยความสะดวกในการท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีรูปแบบใหม่ ดังนี้ 1. การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตกับเครื่องใช้ต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน (Internet Device) จนถึงขั้น สามารถควบคุมบ้านทั้งหลังได้ด้วยระบบอินเทอร์เน็ต 2. มีการประชุมทาง VoIP การประชุมทางไกล เป็นการประชุมผ่านเครือข่าย เนื่องจากปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงราคาถูกลงมากแล้ว และสามารถติดตั้งได้ทั่วไป 3. นักธุรกิจรายย่อย จะมีการใช้เว็บไซต์ส าเร็จรูป (DIY Website) เว็บไซต์ส าหรับธุรกิจ เป็นการ ประชาสัมพันธ์ธุรกิจให้เป็นที่รู้จักของคนที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต 5. จะมีการละเมิดลิขสิทธิ์ผ่านทางอินเทอร์เน็ตมากยิ่งขึ้น เพราะสามารถแลกเปลี่ยนไฟล์กันทาง โปรแกรมส าหรับดาวน์โหลดไฟล์ เช่น โปรแกรม Bitcomet, ABC, BitTorrent ฯลฯ ได้ง่าย 6. อินเทอร์เน็ตจะกลายเป็นแหล่งก่ออาชญากรรมแหล่งใหม่ เนื่องจากคนใช้งานมากขึ้น เมื่อเกิด ปัญหาใดๆ ขึ้นก็ตาม จะส่งผลกระทบในวงกว้างและก่อให้เกิดความสูญเสียเป็นมูลค่ามหาศาลไม่ต่างจากการ ก่ออาชญากรรมทางอื่น 3
ตัวอย่าง การใช้อินเทอร์เน็ต 1. youtube เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมรายการโทรทัศน์ มิวสิกวีดีโอ วีดีโอจากทางบ้าน งานโฆษณาทาง โทรทัศน์ และบางส่วนจากภาพยนตร์ ซึ่งผู้ใช้งานสามารถอัปโหลดวีดิโอต่างๆ ลงใน youtube แล้วไฟล์วีดิโอ นั้นก็จะถูกเผยแพร่ต่อไป แต่ youtube มีนโนบายไม่ให้อัปโหลดคลิปที่มีภาพโป๊เปลือยและคลิปที่มีลิขสิทธิ์ นอกเสียจากเจ้าของลิขสิทธิ์ได้อัปโหลดเอง โดยผู้ใช้สามารถท าการแจ้งลบได้ 2. เว็บบล็อก (weblog) หรือ บล็อก (blog) เป็นที่นิยมมากในหมู่นักเขียน โดยเริ่มจากกลุ่มคนที่ ชอบการเขียนไดอารี่ บล็อกในปัจจุบันพัฒนาไปมากกว่านั้น เพราะนอกจากจะเขียนไดอารี่ได้แล้ว ยังสามารถ ใส่ภาพเป็นอัลบั้มให้คนมาวิจารณ์ได้ หรือมีที่เล่นไฟล์เพลง ไฟล์วีดิโอ เพื่อเปิดอัตโนมัติเมื่อมีคนกดเข้ามาที่ บล็อก ซึ่งคุณสมบัติพิเศษเหล่านี้ช่วยให้บล็อกมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีบริการแบบนี้ก็ ได้แก่ Windows Live Spaces 4
3. DIY Website เป็นการท าธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์แบบนี้จะบริการทุกอย่าง เช่น บริการ ติดต่อเรื่องการขอชื่อโดเมน บริการเทมเพลตส าเร็จรูป ฯลฯ เจ้าของกิจการเพียงแค่สมัครใช้บริการแล้ว บอก รายละเอียดต่างๆ ที่ต้องการจะให้ปรากฏในเว็บไซต์ ก็จะสามารถสร้างเว็บไซต์ได้ภายในไม่กี่ชั่วโมง มีทั้งที่สร้าง เองและบริการสร้าง ซึ่งมีค่าใช้จ่ายแต่ก็ถือว่าคุ้มค่าเพราะปัจจุบันคนนิยมสั่งซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ตเพราะ สะดวกมาก ข้อมูลทั้งหมดที่ได้ยกตัวอย่างมา เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเท่านั้น เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตยังมีรายละเอียดอีกมากมาย ซึ่งสามารถค้นคว้าเพิ่มเติมได้จากแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม ปัจจุบันนี้ มีเว็บไซต์เกิดขึ้นใหม่มากมาย มีข้อมูลต่างๆ ถูกเผยแพร่ทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตอยู่ ตลอดเวลา ซึ่งมีทั้งข้อมูลที่ดีและไม่ดี ข้อมูลที่ถูกและผิด ข้อเท็จจริงและเรื่องที่สร้างขึ้น ดังนั้นผู้รับข้อมูลจึง ควรใช้วิจารณญาณในการรับข่าวสารให้มาก และตรวจสอบข่าวสารทุกครั้งก่อนที่จะเชื่อ เพื่อไม่ให้เกิดความ เสียหายกับตัวท่านเองและส่วนรวมได้ 4. ความส าคัญของอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทและมีความส าคัญต่อ ชีวิตประจ าวันของคนเราเป็นอย่างมาก เพราะท าให้วิถีชีวิตเราทันสมัย และทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื่องจากอินเทอร์เน็ตจะมีการเสนอข้อมูล ข่าวปัจจุบัน และสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผู้ใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศที่เสนอในอินเทอร์เน็ตจะมีมากมายหลายรูปแบบเพื่อสนอง ความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์เน็ตจึงเป็น แหล่งสารสนเทศส าคัญส าหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่งที่ตนสนใจ ได้ในทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด หรือแม้แต่ การรับรู้ข่าวสารทั่วโลกก็สามารถอ่านได้ในอินเทอร์เน็ตจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ของหนังสือพิมพ์ 5
ดังนั้น อินเทอร์เน็ตจึงมีความส าคัญกับวิถีชีวิตของคนเราในปัจจุบันเป็นอย่างมากในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่า จะเป็นบุคคลที่อยู่ในวงการธุรกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตด้วยกันทั้งนั้น 1. ด้านการศึกษา อินเทอร์เน็ตมีความส าคัญ ดังนี้ 1. สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการ บันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่น ๆ ที่น่าสนใจ 2. ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะท าหน้าที่เปรียบเสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ 3. นักเรียนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนอื่น ๆ เพื่อ ค้นหาข้อมูลที่ก าลังศึกษาอยู่ได้ ทั้งที่ข้อมูลที่เป็นข้อความเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ 2. ด้านธุรกิจและการพาณิชย์ อินเทอร์เน็ตมีความส าคัญดังนี้ 1. ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ 2. สามารถซื้อขายสินค้า ท าธุรกรรมผ่านระบบเครือข่าย 3. เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสินค้า ติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ 4. ผู้ใช้ที่เป็นบริษัท หรือองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิดให้บริการ และสนับสนุนลูกค้าของตน ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้ค าแนะน า สอบถามปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ลูกค้า แจกจ่ายตัว โปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) 3. ด้านการบันเทิง อินเทอร์เน็ตมีความส าคัญดังนี 1. การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ โดยมีภาพประกอบที่ จอคอมพิวเตอร์เหมือนกับวารสารตามร้านหนังสือทั่ว ๆ ไป 2. สามารถฟังวิทยุหรือดูรายการโทรทัศน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ 3. สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์มาดูได้ 6
วิธีใช้อินเตอร์เน็ตและการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าสู่อินเตอร์เน็ต 1. World Wide Web World Wide Web หรือที่เรามักเรียกสั้นๆว่า Web หรือ W3 (WWW) คือ คอมพิวเตอร์ส่วนหนึ่งบน อินเตอร์เน็ต ที่ถูกเชื่อมต่อกันในแบบพิเศษที่ท าให้คอมพิวเตอร์เหล่านั้นสามารถเข้าถึงข้อมูลเนื้อหาที่เก็บไว้ ภายในของแต่ละเครื่องได้ (กลายเป็นแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่) โดยผ่านทาง บราวเซอร์ (Browser) ซึ่งเป็น ซอฟต์แวร์ประเภทหนึ่งที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้อ่านและตอบโต้ข้อมูลต่างๆที่มีอยู่ใน World Wide Web โดยเฉพาะ บราวเซอร์ที่พบเห็นได้มากที่สุดในปัจจุบัน ได้แก่ Internet Explorer ของ และ Netscape ที่มาของ World Wide Web เวิร์ลไวด์เว็บถือก าเนิดขึ้นเป็นครั้งแรกโดยมีโครงการทางวิชาการในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ระหว่างนักวิทยาศาสตร์ในทวีปยุโรป โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ CERN ซึ่งเป็นศูนย์วิจัยทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์ ที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ผู้ที่ได้รับเกียรติเป็นบิดาของเวิร์ลไวด์เว็บได้แก่ Tim Berners-Lee ทิมได้คิดโครงการ เชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารขึ้นมา โดยใช้ระบบไฮเปอร์เท็กซ์ และโครงการ ของเขาก็ได้รับความนิยมขึ้นเรื่อยจนเขา กลายเป็นผู้สร้างประวัติศาสตร์ไป ปัจจุบันนี้ทิมท างานอยู่ที่ World Wide Web Consortium หรือชื่อย่อว่า W3C ซึ่งเป็นองค์กรศูนย์กลางของเครือข่าย ใยแมงมุมท าหน้าที่รับรอบมาตรฐานต่างๆของระบบทั้งหมด มาตรฐานที่ใช้ในเว็บ ประกอบด้วย 3 มาตรฐานหลักดังต่อไปนี 1. Uniform Resource Locator (URL) เป็นระบบมาตรฐานที่ใช้ก าหนดต าแหน่งที่อยู่ของเว็บเพจแต่ ละหน้า 2. HyperText Transfer Protocol (HTTP) เป็นตัวก าหนดลักษณะการสื่อสารระหว่างเว็บ เบราว์เซอร์ และเซิร์ฟเวอร์ 3. HyperText Markup Language (HTML) เป็นตัวก าหนดลักษณะการแสดงผลของข้อมูลในเว็บ เพจ องค์กรเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม (World Wide Web Consortium: W3C) เป็นผู้พัฒนาและดูแล ระบบมาตรฐานหลักและมาตรฐานอื่น ๆ ที่ใช้กันในเวิลด์ไวด์เว็บ องค์กรเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม (World Wide Web Consortium: W3C) คือองค์กรระหว่าง ประเทศท าหน้าที่จัดระบบมาตรฐานที่ใช้งานบนเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW หรือ W3) โดยมีจุดมุ่งหมาย ที่จะเป็น แกนน าทางด้านพัฒนาโพรโทคอล และวิธีการใช้งานส าหรับเวิลด์ไวด์เว็บทั้งหมด นอกจากนี้ทาง W3C มีการ บริการทางการศึกษา การพัฒนาซอฟต์แวร์ และเปิดให้ใช้ฟอรัมในการปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องเว็บ หน่วยที่ 2
2. Web Browser โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์คืออะไร เว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser) หรือ โปรแกรมค้นดูเว็บ คือ โปรแกรมที่ใช้แปลงภาษา HTML แล้ว แสดงผลเป็นหน้าเว็บเพจตามที่ผู้ใช้ไคลแอนต์ได้ร้องขอ หรืออีกความหมายคือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้ สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเวบที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษา เอชทีเอ็มแอล (HTML)ที่จัดเก็บไว้ที่ระบบบริการเว็บหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์หรือระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดย โปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เรียกว่า เวิลด์ไวด์เว็บ ประวัติ ทิม เบอร์เนอร์ส ลี แห่งศูนย์วิจัยเซิร์น (CERN) ได้คิดค้นระบบไฮเปอร์เท็กซ์ โปรแกรมค้นดูเว็บตัวแรก มีชื่อว่า เวิลด์ไวด์เว็บ แต่เว็บได้รับความนิยมอย่างจริงจังเมื่อ ศูนย์วิจัยเอ็นซีเอสเอ (NCSA) ของมหาวิทยาลัย อิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์ สหรัฐอเมริกา ได้คิดโปรแกรม โมเสก (MOSAIC) ซึ่งเป็นโปรแกรมค้นดูเว็บ เชิงกราฟิก หลังจากนั้นทีมงานที่ท าโมเสกก็ได้ออกไปเปิดบริษัทเน็ตสเคป มาตรฐาน โปรแกรมค้นดูเว็บเชื่อมโยงกับเว็บเซิร์ฟเวอร์ผ่านมาตรฐานหรือโปรโตคอลการรับส่งข้อมูล แบบ เอชทีทีพี (HTTP) ในการส่งหน้าเว็บ หรือเว็บเพจ ปัจจุบันเอชทีทีพีรุ่นล่าสุด คือ 1.1 ซึ่งสนับสนุนโดย โปรแกรมค้นดูเว็บทั่วไป ยกเว้นอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ที่ยังสนับสนุนไม่เต็มที่ ที่อยู่ของเว็บเพจ เรียกว่า ยูอาร์แอล (URL) หรือยูอาร์ไอ (URI) ซึ่งรูปแบบมักจะเริ่มต้นด้วยค าว่า http:// ส าหรับการติดต่อแบบเอชทีทีพี โปรแกรมค้นดูเว็บส่วนมากสนับสนุนการเชื่อมต่อรูปแบบอื่น นอกจากนี้ เช่น ftp:// ส าหรับเอฟทีพี (FTP) https:// ส าหรับเอชทีทีพีแบบสนับสนุนการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อ ความปลอดภัย เป็นต้น รูปแบบของไฟล์ส าหรับเว็บเรียกว่าเอชทีเอ็มแอล (HTML) และสนับสนุนไฟล์รูปแบบอื่นๆ เช่น รูปภาพ (JPG, GIF, PNG) หรือเสียง รายชื่อโปรแกรมค้นดูเว็บที่เป็นที่นิยม อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ (Internet Explorer) โดยบริษัทไมโครซอฟท์ กูเกิลโครม (Google chrome) พัฒนาโดยกูเกิล มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ (Mozilla Firefox) โดยมูลนิธิมอซิลลา เน็ตสเคป นาวิเกเตอร์ (Netscape Navigator) โดยบริษัทเน็ตสเคป ซาฟารี (Safari) โดยบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ โอเปร่า (Opera) โดยบริษัทโอเปร่า ประเทศนอร์เวย์ 8
3. การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ถูกน ามาใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เนื่องจากมีราคาไม่แพง จนเกินไปนัก ประกอบกับสามารถน าไปใช้ได้กับงานหลากหลายชนิด ธุรกิจในปัจจุบันจึงได้น าคอมพิวเตอร์มา ใช้ในการด าเนินงานและถือว่าคอมพิวเตอร์มีความส าคัญต่อการปฏิบัติงานในองค์กรท าให้องค์กรสามารถบรรลุ ตามเป้าหมายที่ก าหนดได้ ธุรกิจแต่ละประเภทน าคอมพิวเตอร์ไปใช้งานในรูปแบบแตกต่างกัน แล้วแต่ วัตถุประสงค์ของการน าไปใช้งาน แต่จะมีวัตถุประสงค์หนึ่งที่เหมือนกันคือ ต้องการให้งานนั้นส าเร็จลุล่วงอย่าง รวดเร็ว และถูกต้องแม่นย า อีกทั้งต้องการลดภาระงานของพนักงาน เพื่อให้พนักงานไปท างานอย่างอื่นให้ องค์กรได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ ความหมายของระบบธุรกิจ ธุรกิจ (Business) หมายถึง กระบวนการของ กิจการทางเศรษฐกิจที่สัมพันธ์เป็นระบบและอย่างต่อเนื่องใน ด้านการผลิต การซื้อขายแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสินค้าและ บริการ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะได้ก าไรหรือผลตอบแทนจาก กิจกรรมนั้น ระบบธุรกิจ (Business System) หมายถึงระบบที่ ท างานเพื่อจุดประสงค์ด้านธุรกิจ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นระบบธุรกิจเพื่อจุดประสงค์ด้านการผลิต ระบบ ขนส่ง ระบบโรงแรม ระบบการพิมพ์ ระบบธนาคาร และอื่นๆ อีกมากมาย ล้วนแล้วแต่เป็นระบบธุรกิจทั้งนั้น แต่ละระบบมีจุดประสงค์แตกต่างกันออกไป ระบบธุรกิจอาจจะแบ่งเป็นย่อยๆ ลงไปได้อีก โครงสร้างระบบธุรกิจ โครงสร้างระบบธุรกิจแบ่งเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. ลักษณะภายนอกของโครงสร้างระบบธุรกิจ แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ (1) ส่วนประกอบโดยตรงของระบบธุรกิจ เช่น กลุ่มของธุรกิจที่มีความสัมพันธ์กันพนักงานที่ท างาน ในหน่วยงาน เป็นต้น ซึ่งจะขาดส่วนใดส่วนหนึ่งไม่ได้ 9
(2) ส่วนประกอบโดยอ้อมหรือปัจจัยแวดล้อม ได้แก่ กฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ลัทธิทาง ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี ทัศนคติ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 2. ลักษณะภายในของโครงสร้างระบบธุรกิจ ได้แก่ (1) ธุรกิจที่มีลักษณะแตกต่างกันออกไป - ความแตกต่างทางด้านผลิตภัณฑ์ - ความแตกต่างทางด้านภูมิศาสตร์ เช่น ภาคใต้อุดมสมบูรณ์ด้วยยางพาราและแร่ดีบุกก็จะมีธุรกิจที่ ผลิตยางแผ่น และท าเหมือนแร่ดีบุก ภาคเหนือมีป่าไม้มาก ก็จะมีธุรกิจแปรรูปไม้ส าเร็จ เป็นต้น (2) ธุรกิจที่มีลักษณะขึ้นตรงต่อกันและความเชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะอย่าง คือ ลักษณะของธุรกิจที่ จะต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เช่น ธุรกิจผลิตผลไม้กระป๋องซึ่งจ าเป็นต้องอาศัยวัตถุดิบจากชาวนาชาวไร่ที่ ผลิตผลไม้สด และต้องอาศัยธุรกิจที่ผลิตภาชนะส าหรับบรรจุผลไม้ลงไป ซึ่งแต่ละส่วนนั้นมีความช านาญพิเศษ เฉพาะอย่างไม่เหมือนกัน เป็นต้น (3) ธุรกิจที่มีลักษณะไม่หยุดนิ่ง เป็นสิ่งที่ธุรกิจจะต้องค านึงถึงการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอกของวงการธุรกิจ เช่น เทคโนโลยีที่ทันสมัย กฎหมาย เป็นต้น การใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ แนวคิดการใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 1. การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการอุตสาหกรรม ในวงการอุตสาหกรรมนับได้ว่าคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมาก ตั้งแต่การวางแผนการ ผลิต ก าหนดเวลาการผลิต จนกระทั่งถึงการผลิตสินค้า ควบคุมระบบ การผลิตทั้งหมด ในรายงานทางอุตสาหกรรมได้มีการน าคอมพิวเตอร์มาใช้ในการควบคุมการ ท างานของเครื่องจักร เช่น การ เจาะ ตัด ไส กลึง เป็นต้น ตลอดจนโรงงานผลิตรถยนต์ ก็จะใช้หุ่นยนต์คอมพิวเตอร์ในการทาสี พ่นสี รวมถึง การประกอบรถยนต์ เป็นต้น 2. การใช้คอมพิวเตอร์ในธุรกิจธนาคาร ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทในการบริหาร และการให้บริการในด้านธุรกิจธนาคาร ท าให้ ธุรกิจธนาคารเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว ซึ่งจุดหลักของธนาคารคือ การให้บริการแก่ลูกค้าที่มาติดต่อด้วยความ สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง จึงมีการน าระบบ On-Line เข้ามาใช้กันอย่างกว้างขวาง 10
ในแวดวงธนาคารนับได้ว่าคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทมากที่สุด เพราะธนาคารจะมีการน าข้อมูล (Transaction) เป็นประจ าทุกวัน การหาอัตราดอกเบี้ยต่างๆ นอกจากนี้การใช้บริการ ATM ซึ่งลูกค้าสามารถ ฝากถอนเงินได้จากเครื่องอัตโนมัติ ซึ่งท าให้สะดวกแก่ผู้ใช้บริการเป็นอย่างยิ่ง และเป็นที่นิยมแพร่หลายใน ปัจจุบัน Online Banking คือ การรับฝาก - ถอนเงิน รวมทั้งการบันทึกรายการบัญชีทันที โดยอาศัยคู่ สายโทรศัพท์เป็นสื่อกลางการติดต่อระหว่าง Terminal ที่ส านักงานสาขากับศูนย์คอมพิวเตอร์ที่ส านักงานใหญ่ ขบวนการดังกล่าวอาจเรียกว่า Update tele – Processing ก็ได้ นั่นคือ ส านักงานสาขามีหน้าที่ป้อนข้อมูล ทาง Terminal ส่งข้อมูลมายังศูนย์คอมพิวเตอร์ ส านักงานใหญ่ เพื่อบันทึกรายละเอียดต่าง ๆ ลงบัญชี การ ค านวณผลประโยชน์ (ดอกเบี้ย) จะกระท าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์เท่านั้น ทางส านักงานสาขาไม่จ าเป็นต้องเก็บข้อมูลไว้ และคอมพิวเตอร์ที่ส านักงานใหญ่ยังสามารถออก รายงานให้ทุกสาขาได้ทุกลักษณะ พนักงานส านักงานสาขาเพียงแต่รับสมุดและสลิปจากลูกค้า ป้อนข้อมูลทาง Terminal ส่งข้อมูลไปประมวลผลที่ส านักงานใหญ่ โดยคอมพิวเตอร์จะท าหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลที่เข้ามาว่า ถูกต้องหรือไม่ หากผิดพลาดจะแจ้งออกมาให้ทราบซึ่งอาจจะระงับการถอนเงิน หรือยกเลิกรายการนั้นบาง รายการ จากนั้นคอมพิวเตอร์จะปฏิบัติตามรหัสที่ป้อนเข้าไปว่าเป็นการให้ถอนเงินหรือฝากเงิน และจะปรับ ยอดรายการบัญชีนั้น โดยจะบันทึกไว้ใน Magnetic device ข้อมูลที่ประมวลผลแล้วจะถูกส่งกลับมาตาม สายโทรศัพท์อีกเพื่อพิมพ์ลงบนสมุดคู่ฝากของลูกค้า การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ ความสามารถและโยชน์ในการน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในธุรกิจ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ การประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ ความส าคัญและความสามารถในงานด้านต่าง ๆ ที่น าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจ มีดังนี้ 1. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น - การรับสมัครนักศึกษาเข้าเรียน - การช าระค่าลงทะเบียนเรียนผ่านทางธนาคาร เป็นต้น 2. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานทางด้านการธนาคารที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น - การให้บริการกับลูกค้า - การฝากเงิน และการถอนเงิน - การช าระค่าบริการต่าง ๆ เป็นต้น 3. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านโรงแรมที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น - การบันทึกข้อมูลการเข้าพัก และการแจ้งคืนห้องพักของลูกค้า - การช าระค่าห้องพัก เป็นต้น 11
4. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจสายการบินที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น - การตรวจดูตารางการบิน - การจองตั๋วเครื่องบิน - การยกเลิกเที่ยวบิน - การส ารองที่นั่งล่วงหน้า เป็นต้น 5. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น - การค้นหาประวัติของคนไข้ - การวินิจฉัยโรค - การเอ็กซเรย์ - การช าระเงินค่ารักษา เป็นต้น 6. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น - การเพิ่มผลผลิตสินค้าให้มีปริมาณมากขึ้น และเพียงพอกับความต้องการของตลาด - ตรวจสอบคุณภาพของสินค้า - การออกแบบการบรรจุหีบห่อให้สวยงาม เป็นต้น 7. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านบันเทิงที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น - การน าภาพยนตร์ออกมาฉาย - การออกแบบและตัดต่อภาพ - การควบคุมคุณภาพของเสียง - การออกแบบท่าทางเต้น - การโฆษณา เป็นต้น 8. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านการสื่อสาร เช่น - การน าอินเตอร์เน็ตเข้ามามีส่วนร่วมในงาน เป็นต้น 9. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น - การซื้อ-ขายหุ้น เป็นต้น 10. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านสื่อสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น - การหาข้อมูลข่าวสาร - การออกแบบรูปเล่ม - การตัดต่อข้อมูล - การส่งไปตีพิมพ์ เป็นต้น 12
ประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้ 1. ประโยชน์ในเรื่องของการเก็บบันทึกข้อมูล เช่น - ใช้ในการเก็บบันทึกเกี่ยวกับประวัติของพนักงานว่า ชื่อสกุลอะไร อายุเท่าไหร่ จบการศึกษามา จากที่ไหน เคยท างานมาแล้วหรือไม่ เป็นต้น ซึ่งท าให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และสะดวกในการใช้ ระยะเวลาในการค้นหามากกว่าที่จะใช้กระดาษในการเขียนบันทึกข้อมูล - ใช้ในบันทึกเกี่วยกับข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าว่าเป็นประเภทอะไร ชื่อสินค้าอะไร สี อะไร มีลักษณะรูปแบบเป็นอย่างไร ผลิตเมื่อไหร่ และมีวันหมดอายุวันไหน เป็นต้น 2. ประโยชน์ในเรื่องของการให้บริการลูกค้า คือสามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว และต่อเนื่อง ซึ่งสามารถให้บริการลูกค้าที่มาขอใช้บริการได้อย่างทันทีที่ลูกค้ามาเข้ารับการบริการ เช่น - ใช้ในด้านงานธนาคาร เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เป็นต้น - ใช้ในด้านการศึกษา เช่น การลงทะเบียนเรียน การบันทึกผลการเรียน และการประการผลการ เรียน เป็นต้น 3. ประโยชน์ในเรื่องของงานวิจัย เช่น - ใช้ในการค านวณ คือ ใช้หาค่าของตัวเลขที่มีความสลับซับซ้อน เช่น การหาค่าของสมการ การ ถอดราก และยกก าลังของตัวเลข เป็นต้น ซึ่งสามารถค านวณได้อย่างแม่นย า และมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น - ใช้ในการประมวลผลข้อมูลในการทดลอง และท าการสรุปผลของการวิจัย เป็นต้น 4. ประโยชน์ในเรื่องของการเก็บรักษาสินค้า เช่น - ท าให้สามารถควบคุมอุหภูมิของสินค้าภายในโกดังได้ ว่าสินค้าประเภทไหนต้องการอุหภูมิ ประมาณกี่องศา ชอบอากาศแบบไหน เป็นต้น จึงมีส่วนช่วยในการเก็บรักษาสินค้าได้เป็นเวลานาน และท าให้ เกิดการเสียหายของสินค้าลดน้อยลงอีกด้วย 5. ประโยชน์ในเรื่องของการตรวจสอบคุณภาพของสินค้า เช่น - เมื่อป้อนข้อมูลสินค้าลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ก็สามารถทราบได้ทันทีเลยว่าข้อมูลของสินค้ายังมี สภาพดีอยู่หรือไม่ และท าให้สามารถทราบวันผลิต และวันหมดอายุได้อีกด้วย 6. ประโยชน์ในเรื่องของการค านวณเงินเดือนและค่าแรงงานของพนักงาน เช่น - ในการค านวณเงินเดือนและค่าแรงของพนักงาน ได้มีการน าโปรแกรมส าเร็จรูปขึ้นมาใช้เฉพาะใน การค านวณเงินเดือนและค่าแรงของพนักงาน ท าให้มีความสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น 7. ประโยชน์ในเรื่องของการท าบัญชี คือ สามารถน าโปรแกรมส าเร็จรูปทางบัญชีเข้ามาช่วยในเรื่อง ต่าง ๆ เช่น - ในเรื่องของการลงบันทึกรายการทางด้านบัญชี - ในเรื่องของการลงสต็อกสินค้า - ในเรื่องของการจัดท างบการเงินไม่ว่าจะเป็นงบทดลอง งบกระแสเงินสด 13
4. เว็บไซต์ (Website) เว็บไซต์ เป็นสิ่งที่สังคมยุคใหม่ต่างก็รู้จักกันดี เพราะเป็นสื่อในการน าเสนอข้อมูลหรือเรื่องราวต่างๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งเว็บไซต์ก็มีองค์ประกอบหลายอย่าง และมีประโยชน์ต่อผู้ใช้งานเป็นอย่างมาก 4.1 ความหมายของเว็บไซต์และองค์ประกอบต่าง ๆ เว็บไซต์ (Website) หมายถึง หน้าเว็บเพจที่จัดท าขึ้น เพื่อน าเสนอข้อมูลต่างๆ ผ่านทางคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต โดยจะมีหน้าเว็บเพจหลายๆ หน้าที่เชื่อมโยงเข้ากับไฮเปอร์ลิ้งค์ เพื่อให้สามารถเปิดไปยังหน้า เพจต่างๆ ได้อย่างง่ายดายและถูกจัดเก็บไว้ใน www. (เวิลด์ไวด์เว็บ) โดยเว็บไซต์ส่วนใหญ่นั้นก็มีทั้งเว็บไซต์ที่ เปิดให้เข้าชมได้ฟรี และเว็บไซต์ที่ต้องสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการ จึงจะเข้าใช้งานเว็บได้ ซึ่งข้อมูลในเว็บก็ จะมีหลากหลายแบบ ขึ้นอยู่กับความต้องการน าเสนอของเจ้าของเว็บไซต์ การเรียกดูเว็บไซต์จะเรียกดูผ่านทาง ซอฟต์แวร์ ในลักษณะของเบราว์เซอร์ เว็บเบราว์เซอร์ (Web browser) คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการท่องเว็บ และมีการจัดเก็บ ข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษา HTML ซึ่งก็เปรียบเสมือนกับเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการ ติดต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ นอกจากนี้ยังสามารถดูเอกสารในเว็บ เซิร์ฟเวอร์ได้ ไม่ว่าเว็บเหล่านั้นจะแสดงข้อมูลในลักษณะของภาพ ระบบมัลติมีเดีย รูปภาพหรือข้อความ ใน ปัจจุบันเว็บเบราว์เซอร์ที่รองรับระบบ HTML 5 สามารถอ่าน CSS 3 ได้อย่างสวยงาม และก าลังได้รับความ นิยมมากที่สุด ก็มี 4 ประเภทดังนี้ - Internet Explorer - Mozilla Firefox - Google Chrome - Safari โฮมเพจ (Home Page) ก็คือหน้าแรกของเว็บไซต์เมื่อเปิดเข้าไปยังเว็บไซต์ใดเว็บไซต์หนึ่ง โดยหน้า แรกนี้จะรวมเมนูและเรื่องราวต่างๆ ไว้มากมาย ซึ่งก็มีความส าคัญเป็นอย่างมาก เพราะหากหน้าแรกมีการ ออกแบบได้อย่างสวยงามและจัดหน้าอย่างเป็นระเบียบก็จะท าให้ผู้ชมเกิดความสนใจและอยากเข้าชมเว็บมาก ขึ้น 14
เว็บเพจ (Web Page) ก็คือหน้าเอกสารต่างๆ ที่อยู่ในรูปของ HTML โดยจะน าเสนอข้อมูลหรือ เรื่องราวต่างๆ เป็นหน้าๆ ไป และใช้การเชื่อมโยงเพื่อให้สามารถคลิกไปหน้าเว็บเพจแต่ละหน้าได้ง่ายขึ้น เว็บ Static คือเว็บที่แสดงผล เพื่อให้ความรู้หรือข้อมูลแก่ผู้เข้าชมเว็บเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถ โต้ตอบหรือรับส่งข้อมูลกับผู้ที่เข้าชมเว็บได้ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเว็บไซต์ประเภทนี้ ก็จะเป็นเว็บ Gallery รูปภาพ เว็บของบริษัทหรือองค์กรต่างๆ และเว็บให้ความรู้ทั่วไป เว็บ Dynamic เป็นเว็บไซต์ที่สามารถตอบโต้ และรับส่งข้อมูลระหว่างผู้เข้าชมกับเว็บไซต์ได้ ซึ่งเว็บ เหล่านี้ส่วนใหญ่ก็จะมีระบบเว็บบอร์ด รวมไปถึง Social Media ประเภทต่างๆ มีการสมัครสมาชิก หรือเป็น เว็บขายสินค้าออนไลน์ที่มีระบบแชทกับผู้ขาย เป็นต้น Web Service เป็นบริการด้านข้อมูล ที่สามารถดึงข้อมูลของอีกเว็บหนึ่งไปแสดงผลในอีกเว็บหนึ่งได้ Hosting เป็นพื้นที่ของคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ที่ทางผู้ให้บริการได้ท าการจัดสรรมาให้เช่า โดยส่วนใหญ่ จะมีการให้เช่าเป็นแบบรายเดือน รายปีหรือตามแต่ผู้ให้บริการก าหนด อินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อให้ผู้คนสามารถท่องเว็บไซต์ต่างๆ ได้อย่าง ง่ายดาย และช่วยให้กลุ่มองค์กร ธุรกิจหรือบริษัทสามารถน าเสนอข้อมูลของตนลงบนอินเทอร์เน็ต ผ่านทาง เว็บไซต์ เป็นการให้ความรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่อกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ การแสดงผลที่เว็บเบราเซอร์ หลังจากมีการพิมพ์โปรแกรมนี้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้บันทึกเป็น ไฟล์ที่มีนามสกุล .htm หรือ .html จากนั้นให้เรียกโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ขึ้นมาท าการทดสอบ ข้อมูลที่เราสร้างจะถูก น ามาที่ออกมาแสดงที่ จอภาพ ถ้าไม่เขียนอะไรผิด บนจอภาพก็จะแสดงผลตามนั้น ถ้าเรามีการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลในโปรแกรมเดิม ให้อยู่ในรูปของ โปรแกรมใหม่ ก็จ า เป็นต้องโหลด โปรแกรมขึ้นมาใหม่ เพียงแต่เลื่อนเมาส์ไปคลิกที่ปุ่ม Refresh โปรแกรมก็จะท าการ ประมวลผลและแสดงผล ออกมาใหม่ ในค าสั่ง HTML ส่วนใหญ่ใช้ตัวเปิด เป็นเครื่องหมายน้อยกว่า < ตามด้วยค าสั่ง และปิดท้ายด้วย เครื่องหมายมากกว่า > และมีตัวปิดที่มีรูปแบบเหมือนตัวเปิดเสมอ เพียงแต่จะมีเครื่อง หมาย / อยู่หน้าค าสั่ง นั้นๆ เช่น ค าสั่ง <BODY> จะมี </BODY> เป็นค าสั่งปิด เมื่อใดที่ผู้เขียนลืมหรือพิมพ์ค าสั่งผิด จะส่งผลให้การ ท างานของโปรแกรมผิดพลาดทันที 15
5. จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ E-Mail จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ จดหมายอีเลกทรอนิกส์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า อีเมล์(E-mail) หมายถึง จดหมายหรือข้อความที่ส่งถึงกัน ผ่านระบบเครือข่าย เราสามารถส่งจดหมายไปให้ผู้รับซึ่งเป็นสมาชิกของระบบอินเทอร์เน็ตได้โดยไม่จ ากัด สถานที่และเวลา จดหมายจะส่งถึงปลายทางอย่างรวดเร็วภายในเวลาไม่กี่วินาที หรืออาจจะส่งจดหมายฉบับ เดียวไปถึงผู้รับหลายคน ในเวลาเดียวกันก็ได้ ทั้งผู้รับและส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ จะต้องมีที่อยู่เพื่อใช้ในการ อ้างอิงการส่งและรับจดหมาย ที่อยู่ส าหรับการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วยสองส่วนคือ รหัสผู้ใช้ หรือ UserIDซึ่งจะได้รับจากผู้ให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และส่วนที่สองคือชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ท า หน้าที่ในการบริการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือ HostName โดยรูปแบบการเขียนจะเริ่มต้นด้วย UserID คั่นด้วยเครื่องหมาย '@' ตามด้วย HostName ดังนี้ userid@hostname ตัวอย่างเช่น u9999999@dusit.ac.th หมายถึงผู้ใช้มี UserID เป็น u9999999 และเป็นสมาชิกอยู่ที่ Host ชื่อ dusit.ac.th เป็นต้น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) คือ การส่งข้อความหรือข่าวสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลอื่นๆ ผ่านทางคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายเหมือนกับการส่งจดหมาย แต่อยู่ในรูปแบบของสัญญาณข้อมูลที่เป็น อิเล็กทรอนิกส์ โดยเปลี่ยนการน าส่งจดหมาย จากบุรุษไปรษณีย์มาเป็นโปรแกรม และ เปลี่ยนจากการใช้เส้นทางจราจรคมนาคม ทั่วไปมาเป็นช่องสัญญาณรูปแบบต่างๆ ที่ เชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะ ตรงเข้ามาสู่ Mail Box ที่ถูกจัดสรรใน Server ของผู้รับปลายทางทันที 16
การใช้ PHP เบื องต้น ภาษา PHP มาจากค าว่า PHP Hypertext Preprocessor หรือชื่อเดิม Personal Home Page ถูก สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1994 โดย Rasmus ปัจจุบันพัฒนาถึงเวอร์ชัน 6 ภาษา PHPเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ใน ลักษณะโอเพนซอร์ส และง่ายต่อการเรียนรู้ ซึ่งเป้าหมายหลักของภาษานี้ คือให้นักพัฒนาเว็บไซต์สามารถ เขียนเว็บเพจที่มีการตอบโต้ได้อย่างรวดเร็ว การเริ่มต้นเขียนโปรแกรมด้วยภาษา PHP ในการเรียนจะใช้โปรแกรม EditPlus ส าหรับการพิมพ์หรือแก้ไขโปรแกรมหรือสคริปต์ต่างๆ ซึ่ง EditPlus สามารถรองรับ Text , HTML , PHP , ASP , ASP.NET การใช้งานเบื้องต้นดังนี้ 1. ไปที่เมนู File - >New->Others->PHP ดังรูป 2. ทดลองเขียนภาษาPHP ดังรูป หน่วยที่ 3
3. บันทึกไฟล์ให้เป็นนามสกุล . php แล้วเก็บไว้ที่ C:\AppServ\www ในการเขียนโปรแกรมภาษา PHP จะต้องเขียนอยู่ใน Tag ของค าสั่งของ PHP เสมอซึ่งต้องปิดท้าย ด้วยเครื่องหมาย semicolon(;) โดยมีรูปแบบ tag 3 แบบดังต่อไปนี้ 1. <?echo "Hello World!!";?> 2. <?phpecho "Hello World!!"; ?> 3. <script language=’php’>echo "Hello World!!"; </script> แท็กค าสั่งที่ใช้แสดงผลลัพธ์ทางหน้าจอ การแสดงผลลัพธ์ของภาษา PHP มีแนวทางให้เราเลือกใช้ทั้งหมด 3 แนวทางเช่นเดียวกัน 1.echo“ข้อความที่ต้องการแสดง……………”; 2. print“ข้อความที่ต้องการแสดง……………”; 3. printf(“ข้อความที่ต้องการแสดง………….”); ตัวอย่าง 18
ลักษณะของ Whitespace Whitespace คือ การพิมพ์ตัวอักษร หรือค าสั่งที่มองไม่เห็น แต่ท าให้เกิดช่องว่าง หรือ การขึ้น บรรทัดใหม่ อันประกอบด้วย enter space tab จะไม่มีผลกระทบต่อผลลัพธ์ที่ได้ การเขียน หมายเหตุ (Comment) การเขียนค าอธิบายหรือหมายเหตุในส่วนใดๆของโปรแกรมสคริปต์ จะสามารถท าได้โดยใช้ /* ... */ เขียนคร่อมส่วนที่เป็นหมายเหตุ หรือใช้ // และ # เขียนน าหน้าค าอธิบายภายในบรรทัดหนึ่งๆ เมื่อน าไป แสดงผล จะไม่ปรากฏในส่วนที่ได้ท าการเขียนหมายเหตุ(comment) ไว้ ตัวอย่าง การตั งชื่อตัวแปรในภาษา php มีกฏเกณฑ์ดังนี้ 1. การตั้งชื่อตัวแปรจะต้องขึ้นต้นด้วย Dollar Sign ( $ ) เท่านั้น 2. หลังจากDollar Sign ( $ )สามารถใช้ได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลขและUnderscores ( _ ) 3. ตัวอักษรตัวแรกของชื่อห้ามเป็นตัวเลข 4. การใช้ตัวพิมพ์เล็กหรือใหญ่ เพื่อตั้งชื่อนั้นจะไม่เหมือนกัน เช่น $total จะไม่เหมือนกับ $Total 19
5. ไม่ควรตั้งชื่อซ้ ากับฟังก์ชันมาตรฐาน และไม่ตรงกับค าส าคัญ(keyword)เพราะจะเกิดข้อผิดพลาด ขึ้น ตารางแสดงค าส าคัญ(keyword) ตัวอย่างการตั งชื่อตัวแปรที่ถูกต้อง $total $_cell1 $length_of_string ตัวอย่างการตั งชื่อตัวแปรที่ไม่ถูกต้อง: $1total ผิด เพราะตัวอักษรตัวแรกของชื่อห้ามเป็นตัวเลข _cell1 ผิด เพราะการตั้งชื่อตัวแปรจะต้องขึ้นต้นด้วย Dollar Sign ( $ ) เท่านั้น $case ผิด เพราะตรงกับค าส าคัญ(keyword) $return()ผิด เพราะตรงกับฟังก์ชันมาตรฐาน 20
วิธีการก าหนดค่าตัวแปร จะใช้เครื่องหมาย = ในการก าหนดค่าที่อยู่ทางขาวมือ ให้กับตัวแปรที่อยู่ทางซ้ายมือ โดยที่ค่าที่จะ ก าหนดให้กับตัวแปรจะเป็นเลขจ านวนเต็ม ,เลขทศนิยม,ชุดข้อมูลที่เป็นชุดข้อมูล หรือตัวอักษร ซึ่งต้องอยู่ ภายใต้เครื่องหมาย "" ตัวอย่าง เมื่อก าหนดค่าให้กับตัวแปร ที่แตกต่างจากเดิม ตัวแปรจะเปลี่ยนตามค่าที่ก าหนดให้ใหม่ ตัวอย่าง 21
การจัดตะกร้าระบบโปรแกรมส าหรับใช้งานระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ความหมายของ Content Management System (CMS) เริ่มต้นจากอินเทอร์เน็ตได้ก่อก าเนิดขึ้นมา โลกของเราก็เปลี่ยนแปลงไปมากมาย โดยเฉพาะเรื่องของ การติดต่อสื่อสารที่ท าได้ด้วยความรวดเร็วยิ่งขึ้นและการพัฒนาของภาษาหรือซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับ อินเทอร์เน็ตก็เติบโตขึ้นมามากเช่นกัน ตลอดจนมีการแข่งขันกันพัฒนาซอฟท์แวร์ด้านต่างๆ พร้อมทั้งเผยแพร่ บนอินเทอร์เน็ตมากขึ้น หากกล่าวถึงในอดีต ภาษา HTML เป็นภาษายอดนิยมที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจหรือเว็บไซต์ขึ้นมา ต่อมามีการพัฒนาภาษาในการสร้างเว็บไซต์เพิ่มขึ้นมาอีกมากมายและภาษาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดตัวหนึ่ง จนมาถึงปัจจุบันก็คือภาษา PHP เนื่องจากภาษา PHP มีความสามารถในการท างานสูง สามารถดาว์นโหลดมา ใช้งานได้ฟรีและมีตัวอย่างให้เลือกใช้มากมาย ซึ่งสิ่งนี้เองก็เป็นต้นก าเนิดของการท าเว็บไซต์แนวใหม่ที่เรียกว่า Content Management System CMS ย่อมาจากค าว่า Content Management System เป็นระบบที่น ามาช่วยในการสร้างและ บริหารจัดการเว็บไซต์แบบส าเร็จรูป โดยในการใช้งาน CMS นั้นผู้ใช้งานไม่ต้องมีความรู้ในด้านการเขียน โปรแกรมสามารถสร้างเว็บไซต์ได้ด้วยตนเองโดยที่ตัว CMS มีโปรแกรมประยุกต์ พร้อมใช้งานอยู่ภายใน มากมาย อาทิเช่น ระบบจัดการบทความและข่าวสาร (News and Article) ระบบจัดการบทวิจารณ์(Review) ระบบจัดการสมาชิก (Member) ระบบสืบค้นข้อมูล (Search) ระบบจัดการไฟล์ดาวน์โหลด (Download) ระบบจัดการป้ายโฆษณา(Banner) ระบบการวิเคราะห์และตรวจสอบสถิติความนิยมในเว็บไซต์ (Analysis, Tracking and Statistics) เป็นต้น และผู้ใช้งานสามารถเพิ่มเติมโปรแกรมอิสระ (Module) อาทิ กระดาน สนทนา (Forum) ห้องสนทนาออนไลน์ (Chatroom) แบบส่งอีเมล(Form mail) เข้าไปได้ในภายหลังจากการ ติดตั้ง ระบบการจัดการเนื้อหาของเว็บไซต์ หรือ Content Management System ใช้ค าย่อว่า CMSคือ ระบบซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ใช้เพื่อจัดระเบียบเนื้อหาเว็บไซต์และส่งเสริมการท างานในหมู่คณะให้สามารถ สร้างเอกสารหรือเนื้อหาสาระอื่นๆ บนเว็บไซต์ได้ CMS เป็นระบบที่พัฒนาคิดค้นเพื่อช่วยลดทรัพยากรในการ พัฒนา (Development) และการบริหาร(Management) เว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องก าลังคน ระยะเวลา และ งบประมาณ ที่ใช้ในการสร้างและควบคุมดูแลเว็บไซต์ โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะน าภาษาสคริปต์ (Script languages) ต่างๆ มาใช้ เพื่อให้วิธีการท างานเป็นแบบอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็น PHP, ASP, Python หรือภาษา อื่นๆ (แล้วแต่ความถนัดของผู้พัฒนา) ซึ่งมักต้องใช้ควบคู่กันกับโปรแกรมเว็บเวอร์ (เช่น Apache) และดาต้า เบสเซิร์ฟเวอร์ เช่น MySQL ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ที่ใช้สร้าง CMS มากมาย เช่น PostNuke, PHP-Nuke, MyPHPNuke, Mambo, eNvolution, MD-Pro, XOOPs, OpenCMS, Plone, JBoss, Drupal, Joomla เป็นต้น หน่วยที่ 4
ความโดดเด่นของ CMS มีเมนูผู้ควบคุมระบบ (Administration Panel) ที่ใช้ในการบริหารจัดการส่วนการท างานต่างๆภายใน เว็บไซต์ ท าให้สามารถบริหารจัดการเนื้อหาได้อย่างรวดเร็ว และเน้นการจัดการหรือท างานผ่านรูปแบบเว็บ (Web Interface) ในลักษณะรูปแบบของ ระบบเว็บท่า (Portal Systems) ตัวอย่างการท างาน ได้แก่ การ น าเสนอบทความ (Articles/Content) เว็บไดเรคทอรี (Web Directory) การเผยแพร่ข่าวสารต่างๆ (News) หัวข้อข่าว (Headline) รายงานสภาพดินฟ้าอากาศ (Weather) หัวข้อข่าวสารที่น่าสนใจ (Informations) ถาม/ตอบปัญหา (FAQs) ห้องสนทนาออนไลน์ (Chat Room) กระดานสนทนา (Forum) การจัดการไฟล์ใน ส่วนดาวน์โหลด (Downloads) แบบสอบถาม (Polls) ข้อมูลสถิติต่างๆ (Statistics) ธีมให้ใช้มากมาย (Lot of themes) การจัดการธีมส าหรับสมาชิก (Themesmanager for registered users) แสดงหน้ายอดฮิต (Top page) นับสถิติผู้เข้าชมด้วยตัวนับ (Accessstats page with counter) การแก้ไขสมาชิกและผู้ควบคุมระบบ (User and authors edit) และส่วนอื่นๆอีกมากมาย ที่สามารถเพิ่มเติม ดัดแปลง แก้ไขแล้วประยุกต์น ามาใช้ งานให้เหมาะสมตามแต่รูปแบบและประเภทของเว็บไซต์นั้นๆ เมนูผู้ควบคุมระบบ (Administration Panel) 23
หลักการท างานของ CMS หลักการท างานของ CMS ระบบจัดการแบ่งแยกการท างานระหว่างเนื้อหา (Content) ออกจากการ ออกแบบ (Design) โดยการออกแบบเว็บเพจจะถูกจัดเก็บไว้ในแม่แบบ (Templates/ Themes)ในขณะที่ เนื้อหาถูกจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลหรือไฟล์ เมื่อใดที่มีการเรียกใช้งานจะมีการท างานร่วมกันระหว่าง 2 ส่วน เพื่อ สร้างเว็บเพจขึ้นมา โดยเนื้อหาจะประกอบไปด้วยหลายๆ ส่วนประกอบ เช่น Sidebarหรือ Blocks, avigation bar หรือ Main menu, Title bar หรือ Top menu bar เป็นต้น ส่วนประกอบของระบบ CMS ส่วนประกอบของ CMS - แม่แบบ (Templates/Theme) เป็นส่วนที่เปรียบเสมือนหน้าตา หรือเสื้อผ้า ที่ถือเป็นสีสรรของ เว็บไซต์ (Look&feel) มีรูปแบบที่กลมกลืนกันตลอดทั้งไซต์ - ภาษาสคริปต์หรือภาษา HTML หรือภาษา php หรือภาษาอื่นๆ ที่ใช้ในการควบคุมการท างาน ทั้งหมดของระบบ - ฐานข้อมูล ส าหรับจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาและการแสดงผลของเว็บไซต์ประเภทของ CMS - เว็บบล็อก (Weblog) - เป็น CMS ใช้ส าหรับการจดบันทึกหรือเขียนบันทึกเผยแพร่ส่วนบุคคล วี บล็อก(Weblog) หรือ เว็บ-ล็อก (web log) นิยมเรียกกันว่า Blogs (บล็อก) ค าว่า Weblog มาจาก Web (เว็บ) และ log (ปูม,บันทึก) น ามารวมกัน หมายถึง บันทึกบนเว็บ ซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่คนที่ชอบเขียนบันทึก หรือสร้างบล็อก (Blogger) ปัจจุบันได้มีผู้ให้บริการบล็อกมากมายทั้งแบบให้บริการฟรีและเสียค่าใช้จ่าย Weblog เป็นเว็บประเภทหนึ่งที่มีรูปแบบการแสดงผลและใช้งานง่าย มีลักษณะเป็นเว็บไซต์ส่วนตัวคนสร้าง บล็อก (Blogger หรือ Weblogger) บรรยายเหตุการณ์ส่วนตัวหรือความรู้ผ่านทางเว็บบล็อกเพื่อใช้เป็น 24
เครื่องมือในการสื่อสารรูปแบบใหม่ เช่น การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ความในใจ ชีวิตในครอบครัว เหตุการณ์ประทับใจในชีวิต เป็นต้น - อีคอมเมิร์ช (e-Commerce) - เป็น CMS ใช้ส าหรับท าร้านค้า Online มีความสามารถใช้ในการ ซื้อขายสินค้า สามารถเพิ่ม/ลดรายการสินค้า ราคา สามารถซื้อขายสินค้าผ่านหน้าร้านได้ ซึ่งก าลังได้รับความ นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ - อีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) - เป็น CMS ใช้ส าหรับการท าสื่อการเรียนการสอน หรือบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ (CAI on Web) ท าเป็นระบบ Online ได้ เหมาะส าหรับนักเรียน ครูอาจารย์ หรือสถานศึกษาต่างๆ สร้างแบบทดสอบต่างๆ ได้ ปัจจุบันได้รับความนิยมมาก - กระดานข่าว (Forums) - เป็น CMS ใช้ส าหรับถามตอบปัญหาหรือสร้างเป็นชุมชนต่างๆโดยมีการ แบ่งเป็นหัวข้อหรือหมวดหมู่ต่างๆ ตามความสนใจของผู้เข้าชม ซึ่งส่วนใหญ่กระดานข่าวนี้จะติดตั้งพร้อมกับ CMS ประเภทอื่นเข้าไว้ด้วยกัน ขณะเดียวกันผู้ใช้สามารถติดตั้งใช้งานกระดานข่าวอย่างเดียวก็ได้เหมือนกัน - กรุ๊ปแวร์ (Groupware) - เป็น CMS ใช้ส าหรับการท างานในองค์กรหรือหน่วยงานที่มีความสัมพันธ์ ต่อเนื่องกัน มีความรวดเร็วในการท างาน สามารถช่วยเหลือกันได้ ท างานเป็นทีมและควบคุมการท างานได้ โดย ท างานผ่านระบบเน็ตเวิร์คหรืออีเมลหรือระบบเว็บออนไลน์ ซึ่งการติดต่อสื่อสารสามารถติดต่อได้เป็นกลุ่มหรือ เฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะบุคคลก็ได้ พร้อมทั้งข้อมูลที่ต้องการแจ้งใช้เป็นรูปภาพข้อความ เสียงหรืออื่นๆ ได้ ขึ้นอยู่ กับความสามารถของ Groupware CMS จะมีความสามารถท าได้หรือไม่ - อัลบั มภาพ (Image Galleries) - เป็น CMS ใช้ส าหรับจัดการอัลบั้มภาพหรือท าเป็นGalleries มี ฟังก์ชันใช้งานโดยการแบ่งเป็นหมวดหมู่ของภาพ สามารถก าหนดขนาดภาพหรือขนาดไฟล์หรือย่อขยายภาพ ตามที่ก าหนดได้หรือท าเป็น Thumbnail - พอร์ททัล (Portals) - เป็น CMS ใช้เป็นหน้าหลักของเว็บไซต์ ท างานได้ด้วยระบบของตนเอง และ สามารถน า CMS ประเภทอื่นๆ ติดตั้งเพิ่มเติมหรือเข้ามารวมเพิ่มได้ด้วย - วิกิ (Wiki) - เป็น CMS ที่อนุญาตให้ผู้ใช้เพิ่มเติมและแก้ไขเนื้อหาได้โดยง่าย เหมือนกับการเขียน บทความร่วมกัน วิกิน าเสนอเนื้อหาสาระทางด้านสารานุกรมหรือแหล่งความรู้จ านวนมากๆ โดยเป็นการระดม ความเห็นหรือความรู้จากหลายๆ คนมาใช้งาน ตัวอย่างเช่น http://th.wikipedia.orgการเลือกใช้ CMS - ใช้ CMS ให้เหมาะสมกับงาน ผู้ใช้งานควรเลือกใช้ CMS ให้เหมาะสมกับงานที่จะน ามาใช้งาน เช่น ต้องการใช้งานเพื่อซื้อขายสินค้าควรเลือกใช้งาน CMS ประเภทอีคอมเมิร์ช (e-Commerce)หรือ ต้องการใช้ งานเพื่อสื่อการเรียนการสอนควรเลือกใช้งาน CMS ประเภทอีเลิร์นนิ่ง (e-Learning)เป็นต้น - ความยากง่ายในการใช้งาน ควรเลือกใช้ CMS ที่มีความง่ายในการติดตั้งไม่ยุ่งยากและซับซ้อน มี ส่วนการท างานของผู้ใช้งานทั่วไป เป็นมิตรกับผู้ใช้งาน (User Friendly) สามารถใช้งานได้อย่างง่าย เช่น การ แก้ไขประวัติส่วนตัว การสร้าง/แก้ไข/ลบบทความ เป็นต้น มีส่วนการท างานของผู้ดูแลระบบที่ใช้ง่าย เช่น ระบบการจัดการสมาชิก ระบบจัดการไฟล์ดาวน์โหลด ระบบจัดการป้ายโฆษณาเป็นต้น - ความยืดหยุ่นในการพัฒนา ควรเลือกใช้ CMS ที่ผู้ใช้งานสามารถน าไปพัฒนาหรือประยุกต์ใช้งาน ต่อได้หรือต่อยอดการพัฒนาได้ 25
- ความสามารถในการท างาน CMS ที่เลือกใช้งานสามารถท างานด้านการจัดการเนิ้อหาได้อย่าง ง่ายดายไม่ซับซ้อน สามารถน าไฟล์มัลติมีเดียมาใช้งานได้ เช่น ไฟล์วีดิทัศน์ (*.avi, *.mov, *.rm, *.wmv เป็น ต้น หรือสามารถกระจายข่าวสารได้ (RSS Feeds) - ความปลอดภัย ควรเลือกใช้ CMS ที่มีความบกพร่องของระบบน้อยที่สุดหรือหากมีความบกพร่อง ของระบบก็ควรมีตัวแก้ไขหรือซ่อมแซม (Patch/FIx) - ระบบปฏิบัติการ ควรเลือกใช้ CMS ที่สามารถติดตั้งได้ทุกระบบปฏิบัติการ เช่น ติดตั้งลงบน ระบบปฏิบัติการวินโดวส์หรือลีนุกซ์หรือยูนิกซ์ได้ โดยไม่จ าเป็นต้องแก้ไขซอร์สโค้ดหรือแก้ไขโปรแกรมหรือ ดัดแปลงโปรแกรม - ราคา ควรเลือกใช้ CMS ที่ใช้งานฟรี ไม่มีค่าลิขสิทธ์ิ ไม่มีค่าเขียนโปรแกรม เช่น โอเพ่นซอร์ส (Opensource) ล าดับการด าเนินงานของเนื อหา CMS มีล าดับการด าเนินงานของเนื อหาซึ่งประกอบด้วย - การน าเนื้อหาเข้าสู่ระบบ (Ingestion/Creation) เป็นขั้นตอนการเตรียมสร้างเนื้อหาที่ต้องมีการ วางแผน ซึ่งเว็บไซต์หรือเนื้อหาเป็นอย่างไร เกี่ยวกับอะไร เน้นไปในด้านใด กลุ่มคนแบบไหนที่เข้ามาใช้งานเว็บ เมื่อได้เนื้อหาหรือเป้าหมายของเว็บแล้ว ท าให้การรวบรวมเนื้อหาและจัดท าเข้าสู่ระบบ - การตรวจสอบเนื้อหา (Staging/Approval) เป็นขั้นตอนการตรวจสอบเนื้อหาว่าถูกต้องหรือไม่ ตรง กับความต้องการหรือไม่ จัดหมวดหมู่เป็นอย่างไร มีค าผิดหรือไม่ รวมไปถึงทดสอบการใช้งานระบบ CMS ด้วย ว่ามีพร้อมใช้งานและแสดงเนื้อหาได้ถูกต้อง - การเผยแพร่ (Delivery/Publishing) เป็นขั้นตอนสุดท้ายที่จัดท า เนื่องจากต้องท าให้ผู้ใช้งาน อินเทอร์เน็ตคนอื่นๆ รู้จักเว็บไซต์ที่จัดตั้งขึ้นมา ต้องมีการจดทะเบียนชื่อเว็บไซต์หรือ Domain ก่อนพร้อมทั้ง หาพื้นที่ใช้งานหรือโฮส (Hosting) โดยส่วนมากแล้วบริษัทที่รับท าจะท าควบคู่กันไปเลย ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้ใช้งาน ควรศึกษารายละเอียดให้รอบคอบว่า การใช้งานเป็นอย่างไร มีข้อก าหนดอะไรบ้าง เพื่อที่จะให้ได้ข้อมูลในการ จัดท า เนื่องจากถ้าไม่ใช้ Host ของตนเองก็ต้องไปเช่าพื้นที่ที่มีบริการอยู่มากมายทั้งในประเทศไทยและ ต่างประเทศ 26
ภาพผังล าดับการด าเนินงานของเนื้อหา การประยุกต์ใช้งาน CMS ในด้านต่างๆ ระบบ CMS สามารถน ามาประยุกต์ใช้งานได้หลายหน่วยงาน อาทิเช่น - หน่วยงานสถาบันการศึกษา น ามาใช้ในการสร้างเว็บไซต์แนะน าหน่วยงาน ใช้ในการนิเทศก์นักศึกษา ฝึกงาน ใช้ประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่างๆ ใช้เป็นระบบอินทราเน็ต เป็นต้น - หน่วยงานทางธุรกิจ น ามาใช้ในการสร้างเว็บไซต์ของธุรกิจ ใช้ในการแนะน าสินค้าหรือซื้อขายสินค้า ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เป็นต้น - หน่วยงานอื่นๆ น ามาใช้ในการสร้างเว็บไซต์หน่วยงานนั้นๆ ใช้ในการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงาน ใช้เป้นแหล่งแลกเปลี่ยนหรืแสดงความคิดเห็น เป็นต้น ประโยชน์ของ CMS สร้างเว็บไซต์ได้ง่าย ผู้ใช้งานไม่จ าเป็นต้องมีความรู้ด้านโปรแกรมก็ท าได้ ประหยัดเงินลงทุน เพราะถ้าจ้างบริษัทพัฒนาเว็บไซต์โดยใช้ CMS จะมีค่าจ้างที่ถูกกว่าการใช้ CMS ส าเร็จรูปโดยตรง ประหยัดเวลา ถ้าท าด้วยตนเองก็ไม่ต้องเสียเวลาศึกษาด้านโปรแกรมมาก สวยงาม มีหน้าตาเว็บไซต์หรือ Theme หลายแบบให้เลือก มีปลั๊กอินให้เลือกใช้ตามความต้องการ เช่น ตะกร้าสินค้า ปุ่มแชร์ไปยังเฟซบุ๊ก คอมเมนต์ด้วยไอ ดีเฟซบุ๊ก เป็นต้น ดูแลง่าย เพราะระบบมีรูปแบบที่จัดการง่าย มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา 27
ตัวอย่างเว็บไซต์ใช้งานด้วย CMS o มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://www.psu.ac.th o ส านักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://oas.psu.ac.th o ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา ส านักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://oas.psu.ac.th/techno o คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://dental.psu.ac.th o คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://www.sat.psu.ac.th o คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://eduit.pn.psu.ac.th/ o คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://huso.pn.psu.ac.th/ o ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://www.cc.psu.ac.th/ o จุมลาคอร์เนอร์ http://www.joomlacorner.com/ o ซีเอ็มเอ็สไทยแลนด์ http://www.cmsthailand.com ตัวอย่าง CMS ยอดนิยม WordPress พัฒนาโดย แมตต์ มูลเลนเวน ที่เริ่มต้นจากการใช้งาน B2 หรือ Cafelog ในการลงรูปถ่าย ต่อมา ผู้พัฒนา B2 ได้หยุดพัฒนา ท าให้แมตต์ มูลเลนแวน คัดลอกโปรแกรมของ B2 ที่เป็น GPL ซอฟต์แวร์ ซึ่งใครก็ สามารถใช้โค้ดจากโปรแกรมนี้ได้ มาพัฒนาต่อ โดยมีผู้ร่วมพัฒนาคือ ไมค์ ลิตเติล และคริสทีน ทรีมูเลต WordPress จึงได้ถือก าเนิดขึ้นมา ปัจจุบัน WordPress ได้รับความนิยมจากผู้ใช้งานทั่วโลก เพราะเป็นระบบที่ใช้งานง่าย มีความ ยืดหยุ่น จุดเด่นของ WordPress คือ ปลั๊กอิน หรือโปรแกรมเสริม ที่ท าให้เว็บไซต์ตอบสนองการใช้งานใน รูปแบบที่หลากหลาย รวมถึงระบบ E-commerce ที่เรียกว่า WooCommerce และธีมที่หลากหลายแบบ และสวยงาม ที่ส าคัญคือรองรับการท า SEO ได้เป็นอย่างดีจึงท าให้เว็บไซต์ติดอันดับที่ดีเวลาค้นหาผ่าน Search Engine อย่าง Google OpenCart พัฒนาโดย แดเนียล เคอร์ จุดเริ่มต้นมาจากเขาต้องการระบบ E-commerce ที่สมบูรณ์ คือเป็นระบบ ที่ใช้โค้ดน้อย มีระบบเทมเพลต และเป็นมิตรกับ Search Engine เขาจึงสร้างระบบขึ้นมาด้วยตนเอง และ เผยแพร่แวอร์ชั่น 0.x เป็นครั้งแรกเมื่อปลายปี ค.ศ. 2005 OpenCart เป็น CMS ที่เหมาะกับธุรกิจ E-Commerce เนื่องจากรองรับการสร้างเว็บขายสินค้า ออนไลน์ และมีโปรแกรมเสริม เช่น ตะกร้าสินค้า ระบบช าระเงิน ที่ออกแบบมาเพื่อการขายสินค้าออนไลน์ โดยเฉพาะ นอกจากนี้ยังมีจุดเด่นตรงที่ใช้งานง่าย หน้าตาเว็บไซต์มีความสวยงามเพราะปรับแต่งเทมเพลตได้ และเป็นมิตรต่อการท า SEO 28
Magento เดิมมีชื่อว่า Varien เหมือนกับชื่อบริษัทที่พัฒนา ก่อนจะเปลี่ยนเป็นชื่อ Magneto Inc. ในภายหลัง ซึ่ง Magento Inc. เป็นกลุ่มโป รแก รมเมอ ร์ใน Open Source Community ที่เคยท าง าน ร่ ว มกับ osCommerce ที่เคยเป็น Open Source eCommerce ที่ดีที่สุด แต่ osCommerce หมดความนิยมใน ภายหลังเพราะ Framework พัฒนาต่อได้ยาก กลุ่ม Magento Inc. จึงพัฒนาขึ้นมาใหม่ด้วยตนเอง จนมี แอพพลิเคชั่นที่พัฒนาพร้อมกันกับเว็บไซต์ และมีเวอร์ชั่นใหม่ออกมาเรื่อยๆ Magento เป็น CMS ที่เหมาะกับธุรกิจ E-Commerce เหมือนกับ Opencart แต่มีจุดเด่นตรงที่ สามารถดีไซน์หน้าตาของร้านค้าออนไลน์ได้อย่างอิสระ ไม่จ ากัดรูปแบบ และมีโปรแกรมเสริมส าหรับ ECommerce ที่ CMS แบบอื่นไม่มี เช่น ระบบการออกโปรโมชั่น การเปรียบเทียบสินค้า เป็นต้น CMS (Content Management System) แต่ละแบบก็มีจุดเด่นที่แตกต่างกันไป ดังนั้นต้องดูว่า เว็บไซต์ของเรามีจุดประสงค์อะไร ถ้าเน้นเป็นเว็บไซต์ข่าว บทความ WordPress อาจเหมาะมากกว่า ถ้าจะท า เว็บไซต์ขายของออนไลน์ ถ้ามีสินค้าจ านวนไม่มาก WooCommerce ของ WordPress ก็สามารถตอบโจทย์ ได้เช่นกัน แต่หากมีสินค้าเป็นจ านวนมาก OpenCart หรือ Magento ที่เป็นระบบ E-Commerce โดยตรง ก็ จะรองรับได้ดีกว่า การสร้างเว็บ CMS ด้วย WordPress บน Docker (Lab 3SB02) WordPress คืออะไร ? WordPress เป็น Open Source Web Software ที่เราสามารถติดตั้งบนเว็บ Server ของเราเพื่อ สร้างเว็บไซต์,Blog หรือ Community ตอนเริ่มแรก WordPress เป็นเครื่องมือไว้ส าหรับสร้าง Blog แต่ได้รับ การพัฒนามาเรื่อย ๆ จนสามารถสร้างเป็นเว็บไซต์ หรือ เว็บ Community ได้แล้ว โดยมีระบบจัดการบทความ หรือ Content Management System (CMS) ท าให้ง่ายต่อการใช้งาน ซึ่ง WordPress สร้างขึ้นโดย Matt Mullenweg และ Mike Little ในปี 2003 29
Docker คืออะไร ? Docker มันคืออะไร ท าไมคนรอบๆ ตัว หลายถึงเริ่มใช้มันเยอะขึ้น ซึ่งจริงๆ แล้ว Docker มันก็คือ Virtualization อย่ างนึงที่ รันอยู่บน LXC ที่อยู่บน Linux โดยมันจ ะส ร้ าง Containers เพื่อจ าลอง สภาพแวดล้อมการท างานอยู่บนระดับ OS เลย ซึ่งจะต่างกับ VMs ที่ต้องจ าลอง Guest OS โดยใช้ Hypervisor (VMware, Virtual Box) ขึ้นมาก่อน 30
โดยในบทเรียนนี้จะเป็นการสร้างเว็บไซต์ในรูปแบบของ CMS ด้วย Wordpress บน Web Server ที่ ถูกติดตั้งใน Docker เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการ แบ่งแยกทรัพยากร ติดตั ง Docker ในที่นี้จะใช้งาน Docker บน OS Linux/Ubuntu เพื่อความสะดวกในการใช้งาน เนื่องจาก Native Docker ไม่รองรับบน Windows บางเวอร์ชั่น และใช้งานได้ไม่ค่อยเต็มประสิทธิภาพ 1. ขั้นตอนแรกให้ท าการติดตั้ง Docker ลงบนเครื่องของเราก่อน โดยดูวิธีการติดตั้งได้จากลิ้งค์นี้ (How To Install and Use Docker on Ubuntu 16.04) 2. หลังจากติดตั้ง Docker เรียบร้อยแล้ว ให้ท าการติดตั้ง Docker-Compose เพื่อช่วยในการจัดการ Container ให้ง่ายยิ่งขึ้น (Install Compose on Linux Systems) 3. เมื่อท าการติดตั้ง Docker และ Docker-Compose เรียบร้อยแล้ว ให้ท าการตรวจสอบ Version docker --version docker-compose --version 4. หากขึ้นแบบในภาพแสดงว่า Docker และ Docker-Compose ถูกติดตั้งลงบนเครื่องของเรา เรียบร้อยแล้ว 31
เริ่มต้นใช้งาน WordPress และ Docker 1. สร้างโฟลเดอร์ wp ขึ้นมาเพื่อเก็บไฟล์ต่างๆ ไว้ในนี้ mkdir wp cd wp 2. จากนั้นสร้างไฟล์ชื่อ docker-compose.yml (ใน /home/coe/wp) ขึ้นมาเพื่อใช้เป็นตัวก าหนด ว่า Container ของเราต้องการให้ Service อะไรท างานอยู่บ้าง nano docker-compose.yml จากนั้นพิมพ์ config ดังนี้ version: '3' ใช้บอกให้รู้ว่าไฟล์นี้ใช้งานกับเฉพาะ Docker-Compose เวอร์ชั่น 3 ขึ้นไปเท่านั้น services: db: image: x.coe.phuket.psu.ac.th:8443/wordpress/mysql:5.7 volumes: - ./db_data:/var/lib/mysql restart: always environment: MYSQL_ROOT_PASSWORD: somewordpress MYSQL_DATABASE: wordpress MYSQL_USER: wordpress MYSQL_PASSWORD: wordpress Services หมายถึง Service ที่เราต้องการสร้างขึ้นมา โดยประกอบไปด้วย db (ชื่ออ้างอิง) โดยมี image คือ URL ที่เก็บไฟล์ image เพื่อใช้ในการสร้าง Service (:5.7 หมายถึงให้ใช้ image เวอร์ชั่น 5.7 เท่านั้น) Volumes หมายถึงการเชื่อม PATH ใน OS หลักกับ PATH ใน Container เข้าด้วยกัน ในที่นี้จะ หมายถึง ให้เชื่อมไดเร็กทอรี่ ./db_data เข้ากับ /var/lib/mysql ใน Container Environment เป็นการก าหนดค่าต่างๆ ให้กับ Service ของเรา โดยในทีนี้จะก าหนด Credential ที่ ใช้ในการเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล wordpress: depends_on: - db image: x.coe.phuket.psu.ac.th:8443/wordpress/wordpress:latest ports: 32
- "8000:80" restart: always environment: WORDPRESS_DB_HOST: db:3306 WORDPRESS_DB_USER: wordpress WORDPRESS_DB_PASSWORD: wordpress ในส่วนนี้จะเป็นการสร้าง Service อีกตัวชื่อ wordpress โดย depends_on หมายถึงให้อ้างอิงข้อมูล ที่ใช้ในการสร้าง wordpress มาจาก Service ที่ชื่อ db Ports คล้ายๆ กับ Volumes คือการอ้างอิง Port จาก OS หลักเข้าไปยัง Port ใน Container เช่น หากมีการเชื่อมต่อมายัง Port 8000 ใน OS หลัก ก็จะส่งต่อข้อมูลไปยัง Port 80 ใน Container ตัวนี้ Restart: always หมายถึงหาก Service เกิดข้อผิดพลาดให้เริ่มต้นใหม่ทุกครั้ง มาถึงตรงนี้ไฟล์ docker-compose.yml ของเราจะอยู่ในลักษณะแบบนี้ 3. เมื่อสร้างไฟล์ docker-compose.yml เสร็จแล้ว ท าการรัน Docker ขึ้นมา docker-compose up -d (-d หมายถึงให้รัน Docker ในรูปแบบของ daemon หากไม่ใส่ -d จะรันใน Terminal และหากเรา ปิดหน้า Terminal ตัว Docker ก็จะหยุดการท างานด้วย) 33
4. ทดสอบใช้ค าสั่ง docker -ps จะเห็น Service ของเราชื่อ wordpress, db ท างานอยู่ เริ่มต้นใช้งาน WordPress 1. เมื่อรัน wordpress, db เรียบร้อยแล้ว ให้รอประมาณ 1–2 นาทีเพื่อให้ Service เริ่มท างาน จากนั้นเข้า ไปยัง http://127.0.0.1:8000 เพื่อเริ่มติดตั้ง WordPress เลือกภาษาที่ต้องการ จากนั้นกด Next 34
ใส่ข้อมูลที่ต้องการ Web Title, Username, Password, Email จากนั้นกด Install WordPress เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อย Login เข้ามาในส่วนของ Backend จะมีหน้าตาลักษณะนี้ 35
ทดลองสร้างบทความใหม่ 1. กดไปที่ เขียนเรื่องแรกของบล็อกคุณ 2. ใส่ชื่อหัวข้อเรื่อง, เนื้อหา โดย WordPress จะสามารถใส่รูปภาพ ลิ้งค์ วิดีโอ เสียง ฯลฯ ได้มากมาย และจัดเรียงตัวอักษรได้หลายรูปแบบ เมื่อใส่ข้อมูลที่ต้องการแล้วกด เผยแพร่ 36
3. กลับมาดูในหน้าเว็บของเรา จะมีลักษณะแบบนี้ โดยจะมีบทความใหม่ที่เราสร้างขึ้นมา เรื่องล่าสุด ความคิดเห็นล่าสุด แบ่งตามหมวดหมู่ วันเวลาที่สร้าง (ตรงนี้สามารถปรับแต่งได้หมดว่าต้องการให้แสดง อะไรบ้างในเว็บของเรา) นอกจากนี้ WordPress สามารถสร้างหมวดหมู่ของบทความของเรา เพื่อใช้แบ่งแยกประเภทบทความ และสามารถใส่ TAG เพื่อแบ่งตาม TAG ได้อีกด้วย ทดลองเปลี่ยนธีมของเว็บไซต์ เนื่องจาก WordPress ถูกสร้างขึ้นมานานกว่า 15 ปี จึงได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก และมี Add-ons หรือ Theme จ านวนมาก ทั้งฟรีและเสียเงิน 1. กดเมนูไปที่ รูปแบบเว็บ 2. จะมี Theme พื้นฐานมาให้ 3 แบบในรูป กด เพิ่มธีมใหม่ 3. ให้เราท าการเลือกไฟล์ .zip ของ Theme ที่ดาวน์โหลดมา จากนั้นกด อัปโหลดธีม 37
4. WordPress จะท าการติดตั้ง Theme และสามารถกดเลือกใช้งาน Theme ดังกล่าวได้ทันที 5. เมื่อกลับมาดูหน้าเว็บของเรา จะพบว่า Theme ได้ถูกเปลี่ยนไปเป็นแบบที่เราต้องการแล้ว เพิ่มเติมในส่วนของ Docker หากเราต้องการหยุด Docker ไม่ให้รัน Service ของเราแล้วสามารถท าได้โดยใช้ค าสั่ง dockercompose down 38
จะพบว่าหน้าเว็บของเรานั้น ไม่สามารถเข้าใช้งานได้แล้วเนื่องจากเราท าการปิด Service ทั้งหมดลง โดยไฟล์ข้อมูลทั้งหมดถูกเก็บไว้ในไดเร็คทอรี่ db_data (จากที่เราก าหนดในไฟล์ dockercompose.yml) หากเราต้องการปิด Service และลบไฟล์ข้อมูลทั้งหมดออกไปจากเครื่อง ท าได้โดยใช้ค าสั่ง docker-compose down –volumes 39
พัฒนาเว็บไซต์ตามแนวทาง Web 2.0 ด้วย WordPress.org การพัฒนาเว็บไซต์ด้วย WordPress.org เพื่อให้มีฟังก์ชันและการท างานตามแนวทาง Web 2.0 มี ประเด็นที่ควรทราบ ดังนี้ 1) เตรียม Web Server ที่รองรับ SEO โดยเฉพาะ Permalink 2) ปรับค่า Config ของ WordPress.org ในส่วน URL ให้เป็น Permalink 3) เลือก Themes ของ WordPress.org ที่สนับสนุน Web 2.0 Themes ของ WordPress.org ที่สนับสนุน Web 2.0 จะต้องมีการแสดงผลของ Sidebar ด้านขวา Right Sidebar) เพื่อให้ Bot ของ Search Engine วิ่งเข้ามาแล้วแปลความหมายจากเนื้อหาที่แสดงผลานซ้าย โดยตรง (ไม่ต้องมาเสียเวลากับการเก็บค่าดัชนีจากแถบเมนู) เมื่อได้ Themes แล้วควรติดตั้ง Plug-ins ที่ช่วย ในการสั่งพิมพ์เฉพาะเนื้อหา เช่น WP-Print 4) ติดตั ง Plug-ins ที่สนับสนุน SEO ติดตั้ง Plug-ins ที่สนับสนุน SEO เริ่มจาก All in One SEO Pack ที่เป็น Plug-ins หลักส าหรับการ จัดการ SEO ให้กับ WordPress.org ต่อด้วย Google XML Sitemaps ที่น าเนื้อหาต่างๆ มาจัดท าเป็นผัง โครงสร้างเว็บไซต์ตามแนวทางของ Google ในรูปแบบไฟล์ XML เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับ Google Bot และควรสร้าง Sitemap แบบปกติผสานไปด้วยโดยใช้ HTML Page Sitemap หรือ Simple Sitemap นอกจากในส่วนโครงสร้างแล้ว หัวใจส าคัญของ Blog ก็คือ Tag โดยควรเลือก/ก าหนด Tag ที่ เหมาะสมให้กับบทความ การเลือกหรือก าหนด Tag ที่ดีวิธีหนึ่งคือ การใช้ความสามารถของ Simple Tags ที่มี ฟังก์ชันวิเคราะห์ Tag และน าเสนอ Tag ที่เหมาะสมให้เลือก 5) เพิ่มส่วนเชื่อมต่อกับ Social Networking เนื้อหาของเว็บ 2.0 ต้องสามารถเผยแพร่ไปยังกลุ่มหรือชุมชนออนไลน์ต่างๆ ได้สะดวก รวดเร็ว การ ติดตั้งเครื่องมือเผยแพร่อย่าง Share This, FeedBurner จึงเป็นสิ่งส าคัญที่ควรด าเนินการ 6) เนื้อหาต้องมากกว่า Text แน่นอนว่า “เนื้อหา” ก็ควรเป็นประเด็นส าคัญของเว็บไซต์ แต่การน าเสนอเฉพาะเนื้อหาที่เป็น ข้อความก็คงไม่ได้ช่วยเพิ่มความน่าสนใจ และความนิยมได้มากกว่า ด้วยเทคโนโลยีเว็บ 2.0 การน า Movie ของตนเองที่บันทึกด้วยโหมดบันทึก Movie ของโทรทัศน์มือถือไปแปลงและพร้อมเผยแพร่ด้วย Youtube จึง เป็นสิ่งที่ควรท า รวมทั้งการน าสื่อสไลด์ เอกสารสิ่งพิมพ์แปลงสภาพเป็น iSlide iPaper ด้วย Slidshare การ ท าแบบสอบถามออนไลน์ การสร้างผังมโนทัศน์ด้วย Online MindMap ก็ควรเร่งด าเนินการด้วยเช่นกัน 7) สร้างจุดโต้ตอบกับผู้ใช้ การเพิ่มส่วน Post Rating, eMail Form รวมทั้ง Ajax Poll ก็เป็นลูกเล่นที่สร้างความเร้าใจกับผู้ใช้ได้ อย่างดี 40
การติดตั ง XAMPP เพื่อจ าลอง WebServer ส าหรับคนที่ก าลังหาวิธีการจ าลอง Windows ของเรา ไม่ว่าจะเป็น Windows 7 , Windows 8.1 หรือ Windows 10 เพื่อจ าลองให้ Windows ของเราสามารถท าตัวเองเป็น WebServer เพื่อท าการพัฒนา WordPress , Joomla หรือ php โดยในการจ าลองเครื่องตัวเองเป็น WebServer นั้น ผมแนะน าให้ท าการลง และติดตั้ง XAMPP ในการจ าลองเพราะเป็นโปรแกรมที่ Update ตลอดเวลา และเป็นที่นิยมในการ Develop (สมัยก่อนเราใช้ Appserv ตอนนี้หยุดพัฒนา) โดย XAMPP นั้นจะมาพร้อมกับ Apache และ Mysql (phpmyadmin) วิธีการติดตั ง XAMPP เพื่อจ าลอง WebServer 1. ท าการดาวน์โหลด XMAPP ส าหรับ Windows https://www.apachefriends.org/index.html 2. ท าการติดตั ง คลิก Next 41
3. ท าการเลือก Components ที่เราต้องการ เลือกทั้งหมดก็ได้ แต่ส าหรับบทเรียนนี้เลือก Apache / MySQL 4. เลือก Path ในการติดตั ง XAMPP 42
5. คลิก Next 6. คลิก Next Advertisements 43
7. รอท าการติดตั ง 8. ท าการติดตั้งเรียบร้อย และท าการ Restart Computer 1 ครั้ง 44
9. จากนั นเข้า Control Panel ของ XAMPP และท าการคลิก Start Apache และ Mysql ตามล าดับ 10. จากนั นลองเข้า Phpmyadmin และ localhost ดู http://localhost/phpmyadmin http://localhost ส าหรับ Code ต่างๆ ของ Php ในการท า WebSite ให้เอามาไว้ที่ C:\xampp\htdocs\ Note : หลังจากที่เราลง xampp เราสามารถ Folders และไฟล์ต่างๆได้ใน htdocs 45