The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

A brief history of China's Qin dynasty

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ณัฐกันต์ จตุรวงษ์, 2019-11-19 09:21:18

穿越秦朝之史

A brief history of China's Qin dynasty

Keywords: China

44

234 ปีก่อนคริสต์ศักรำช หวนอ่ีนำทัพโจมตีนครหำนตำนจำก
ทำงใต้ กองทัพรัฐจ้ำวแตกพ่ำย หู้เจ๋อ (扈辄) แม่ทัพรัฐจ้ำวเสียชีวิต
ในกำรรบ ต่อมำทำงรัฐจ้ำวได้เรียกตัวหล่ีมู่ (李牧 ไม่ทรำบแน่ชัด-
229 ปีกอ่ นคริสต์ศักรำช) ท่ีประจำอยู่ชำยแดนมำเป็นแม่ทัพใหญ่ หล่ีมู่มี
ช่ือเสียงจำกกำรรบกับชนเผ่ำซยงหนู (匈奴) ท่ีรุกรำนชำยแดนรัฐจ้ำว
และสำมำรถปรำบปรำมจนชนเผำ่ ซยงหนูไม่กล้ำมำรุกรำนได้อีกเลย หล่ีมู่นำ
กำลงั ปะทะกับหวนอี่ท่ีเมืองอี๋อัน (宜安) และเมืองเฝย (肥 ปัจจุบัน
ทั้งสองเมืองอยู่ในเมืองเก่ำเฉิง (藁城) มณฑลเหอเป่ย) หวนอี่เสีย
ทหำรไปเกือบหมดและหลบหนีไปยังรัฐเยียนเพรำะกลัวอำญำศึก (นัก
ประวัติศำสตร์บำงท่ำนสันนิษฐำนว่ำ หวนอี่กับฝำนอว๋ีชี แม่ทัพฉินที่ยุยงให้
องคช์ ำยเฉิงเจียวกอ่ กบฏต่อรัฐฉนิ อำจจะเป็นคนๆเดียวกัน)

232 ปีก่อนครสิ ต์ศักรำช หลี่มนู่ ำทัพโจมตกี องทพั รัฐฉินที่บุกมำ
จำกทำงเหนอื และใต้ได้ จำกนั้นใช้โอกำสน้ีโจมตีกองทัพรัฐฉินที่เมืองโผอู๋
(番吾 ปัจจุบันอยู่ในเมืองหลิงโซ่ว (灵寿) มณฑลเหอเป่ย) ทำให้
กองทัพรฐั ฉนิ ต้องถอยออกไปจำกรฐั จ้ำว

45

พิชติ รัฐหำน
230 ปีก่อนคริสต์ศักรำช รัฐฉินส่งแม่ทัพเถิง (腾) หรือเน่ยสื่อเถิง
(内史腾) ไปโจมตีรัฐหำน หำนเฟ่ยหวัง (韩废王 ไม่ทรำบแน่
ชัด-226 ปีก่อนครสิ ต์ศกั รำช) กษัตรยิ แ์ ห่งรฐั หำนถูกจบั เป็นเชลย รัฐหำน
ลม่ สลำยและกลำยเป็นส่วนหน่ึงของรฐั ฉิน

ขณะที่รัฐฉินพิชิตรัฐหำนได้ รัฐจ้ำวก็เกิดภัยแล้งอย่ำงหนัก จึง
เป็นโอกำสที่รัฐฉินจะโจมตีรัฐจ้ำวอีก ปีต่อมำหวังเจ่ียน หยำงตวนเหอ
และเชียงเหล่ย (羌瘣) ร่วมกันโจมตีรัฐจ้ำวและปิดล้อมนครหำนตำน
หล่ีมู่กับซือหม่ำช่ำง (司马尚) นำทัพเข้ำรบกับรัฐฉิน เสนำธิกำรของ
รัฐฉินเห็นว่ำเม่ือรัฐฉินบุกตีรัฐจ้ำว หลี่มู่สำมำรถสกัดกองทัพรัฐฉินไว้ได้
ท้ังหมด จึงส่งคนนำทองไปติดสินบนกัวไค (郭开 264-224 ปีก่อน
คริสต์ศักรำช) ขุนนำงรัฐจ้ำวให้เพ็ดทูลว่ำหลี่มู่และซือหม่ำช่ำงคิดกบฏ
ต่อมำทั้งสองถูกปลดและนำตัวไปประหำร และต้ังจ้ำวชง (赵葱) กับ
เหยียนจว้ี (颜聚) มำเป็นแมท่ พั ใหญแ่ ทน

46

229 ปีก่อนคริสต์ศักรำช เมื่อทั้งหมดเป็นไปตำมแผนของรัฐ
ฉิน หวังเจย่ี นจึงนำทพั บุกตรี ฐั จำ้ ว จำ้ วชงเสียชวี ิตในกำรรบ ส่วนเหยียนจว้ี
นำกำลังท่ีเหลือกลับไปป้องกันนครหำนตำน กษัตริย์รัฐจ้ำวถูกขุนนำงหว่ำน
ล้อมให้ยอมจำนนต่อรัฐฉิน แต่ว่ำองค์ชำยเจีย (公子嘉 ไม่ทรำบแน่
ชัด-222 ปีก่อนคริสต์ศักรำช) นำกำลังป้องกันนครหำนตำนจนถึงที่สุด
จนกระท่ังกองทัพรัฐฉินตีนครหำนตำนแตก รัฐจ้ำวล่มสลำยและกลำยเป็น
สว่ นหน่ึงของรฐั ฉนิ (หลังรฐั จำ้ วลม่ สลำย องคช์ ำยเจยี หลบหนีไปยังเมืองไต้
( 代 ปัจจุบันคืออำเภออวี้ (蔚县) เมืองจำงเจียโข่ว (张家口)
มณฑลเหอเป่ย) และตั้งตนเป็นกษัตริย์ปกครองรัฐไต้จนถึง 222 ปีก่อน
ครสิ ตศ์ กั รำช กถ็ กู หวงั เปนิ (王贲) แมท่ ัพรัฐฉินโจมตี องค์ชำยเจียฆ่ำ
ตวั ตำย รัฐไตล้ ่มสลำย)

พิชติ รฐั เยียน
227 ปีกอ่ นครสิ ตศ์ กั รำช หลงั จำกที่รัฐฉนิ ผนวกรฐั จ้ำว หวังเจี่ยน

ที่ต้ังทัพอยู่ในรัฐจ้ำวก็ยกทัพไปบุกตีรัฐเยียน องค์รัชทำยำทตัน (太子
丹 ไม่ทรำบแน่ชัด-226 ปีก่อนคริสต์ศักรำช) องค์ประกันในรัฐฉินได้
หลบหนีกลบั มำยังรฐั เยยี น พระองค์เห็นว่ำหำกสังหำรอ๋ิงเจิ้งลงได้ รัฐฉินจะ
ลม่ สลำยและรัฐอื่นๆจะปลอดภยั พระองค์จงึ หำยอดฝีมือไปลอบสังหำรอ๋ิง
เจ้ิงแล ะได้ตัวจิงเคอ (荆轲 ไม่ ทรำ บแน่ชัด -227 ปีก่อน
ครสิ ตศ์ ักรำช)

47

กับฉินอู่หยำง (秦舞阳 240-227 ปีก่อนคริสต์ศักรำช)
มำรบั หนำ้ ที่ลอบสงั หำร และเพือ่ กำรเข้ำถึงตัวอิ๋งเจิ้งให้ได้มำกที่สุด ทำงรัฐ
เยียนจึงใหท้ งั้ สองปลอมตัวเป็นทูตแสร้งยอมจำนนต่อรัฐฉิน และนำแผนท่ี
เมืองตูกัง (督亢 ปัจจุบันอยู่ในเมืองจัวโจว (涿州) มณฑลเหอ
เป่ย) ท่ีรัฐเยียนจะมอบให้รัฐฉิน พร้อมศีรษะของฝำนอวี๋ชี แม่ทัพท่ีอิ๋ง
เจิ้งต้องกำรตัวมำกท่ีสุดไปถวำยแก่รัฐฉิน เม่ือคณะทูตมำถึงรัฐฉิน อ๋ิงเจ้ิง
ทรงให้คณะทูตเข้ำเฝ้ำ พระองค์ทรงพอพระทัยมำกเม่ือจิงเคอนำศีรษะ
ของฝำนอว๋ีชีมำถวำย จำกนั้นจิงเคอกำงแผนที่ให้อิ๋งเจ้ิงทอดพระเนตร
เมื่อกำงแผนท่ีจนสุด จงิ เคอก็หยิบมีดสั้นอำบยำพิษที่ซ่อนไว้ในแผนท่ีหมำย
จะสังหำรอ๋ิงเจิ้ง แต่กำรสังหำรล้มเหลวและทำให้จิงเคอกับฉินอู่หยำงถูก
ทหำรองครกั ษฆ์ ่ำตำยทง้ั สิ้น เหตุกำรณน์ ี้ทำใหอ้ ิง๋ เจิ้งทรงกรวิ้ เปน็ อยำ่ งมำก

จิงเคอลอบสังหำรอ๋ิงเจ้ิง

48

ต่อมำอ๋ิงเจ้ิงมีพระบัญชำให้หวังเจ่ียนและซินเซ่ิง (辛胜)
โจมตีรัฐเยียนเม่ือ 226 ปีก่อนคริสต์ศักรำช กองทัพรัฐฉินบุกตีนครจี้
(蓟 ปัจจุบันคือนครปักกิ่ง (北京)) เมืองหลวงของรัฐเยียนจนแตก
พระเจ้ำเยียนหวังสี่ (燕王喜) และองค์รัชทำยำทตันหนีไปยังเหลียว
ตง (辽东 ปัจจุบันอยู่ในมณฑลเหลียวหนิง (辽宁)) ต่อมำหลี่ซิ่น
(李信) แมท่ ัพฉินตำมไปโจมตจี นกองทัพรัฐเยียนจนพ่ำยแพ้ เยี่ยนหวัง
ส่ียอมสังหำรองค์รัชทำยำทตัน ผู้เป็นพระโอรสเพ่ือขอสงบศึก พอถึง
223 ปีก่อนคริสต์ศักรำช หวังเปิน แม่ทัพรัฐฉินโจมตีเหลียวตง พระเจ้ำ
เยียนหวังส่ีถูกจับเป็นเชลย รัฐเยียนล่มสลำยและกลำยเป็นส่วนหนึ่งของรัฐ
ฉนิ

พิชิตรัฐเวย่
225 ปีก่อนคริสต์ศักรำช หวังเปิน แม่ทัพรัฐฉินนำกำลัง 6

แสนนำยไปโจมตีภำคเหนือของรัฐฉู่เพ่ือไม่ให้ส่งกำลังมำช่วยรัฐเว่ยได้
หลังจำกนั้นหวังเปินนำกำลังโจมตีรัฐเว่ยและปิดล้อมนครต้ำเหลียง (大
梁 ปัจจุบันคือเมืองไคเฟิง (开封) มณฑลเหอหนำน) เมืองหลวง
ของรัฐเว่ย เน่ืองจำกนครต้ำเหลียงมีแม่น้ำล้อมรอบ ทำให้ยำกที่จะโจมตี
ต่อมำหวังเปินส่ังให้สร้ำงทำงน้ำและทดน้ำจำกแม่น้ำเข้ำนครต้ำเหลียงเป็น
เวลำ 3 เดอื นจนกำแพงเมอื งพงั ทลำย ประชำชนรัฐเว่ยเสียชีวิตนับแสนคน
รฐั เวย่ ล่มสลำยและกลำยเป็นส่วนหนึง่ ของรัฐฉิน

49

พิชิตรัฐฉู่
หลังจำกพิชิตรัฐเว่ยได้แล้ว รัฐฉินก็รบกับรัฐฉู่ท่ีอยู่ทำงใต้ทันที

อ๋ิงเจิ้งทรงแต่งต้ังหล่ีซ่ินและเหมิงอู่ (蒙武) บุตรของเหมิงเอ้ำ นำ
ทหำร 2 แสนนำยไปรบกับรัฐฉู่ และแบ่งกองทัพออกเป็น 2 ส่วน
โดยหลี่ซ่ินนำกำลังไปเข้ำตีเมืองผิงอว๋ี (平舆 ปัจจุบันอยู่ในมณฑลเห
อหนำน) และเหมิงอู่นำกำลังไปตีเมืองฉิ่นชิว (寝丘 ปัจจุบันอยู่ใน
อำเภอหลินเฉวียน (临泉) มณฑลเหอหนำน) เม่ือท้ัง 2 เมืองถูกตี
แตก หล่ีซ่ินนำกำลังโจมตีเมืองเยียน (鄢 ปัจจุบันคือเมืองเยียนหลิง
(鄢陵) มณฑลเหอหนำน) พอถึงเมืองเฉิงฟู่ (城父 ปัจจุบันคือ
เมืองป๋อโจว (亳州) มณฑลอันฮุย (安徽)) ก็พบกับกองทัพของ
เซี่ยงเยียน (项燕) แม่ทัพรัฐฉู่และรบกันนำน 3 วันก่อนที่กองทัพรัฐ
ฉินถูกโจมตีจนแตกพ่ำย อีกท้ังยังเกิดกบฏของชำงผิงจวินและชำงเหวิน
จวินซ่ึงเปน็ ชำวรัฐฉู่ หล่ีซ่นิ จึงนำกำลังที่เหลือกลับรฐั ฉิน

หลังจำกที่หลี่ซ่ินกลับมำยังรัฐฉิน อิ๋งเจ้ิงทรงพิโรธและไปขอให้
หวังเจี่ยนนำทัพไปรบกับรัฐฉู่ หวังเจี่ยนไม่ยอมและอ้ำงว่ำป่วย อิ๋งเจ้ิงทรง
ขอร้องหลำยคร้ังและยอมมอบทหำร 6 แสนนำยตำมท่ีหวังเจี่ยนต้องกำร
หวังเจ่ียนใจอ่อนจึงยอมออกรบ พร้อมกับเหมิงเถียน (蒙恬 รำว
259-210 ปีก่อนคริสต์ศักรำช) บุตรของเหมิงอู่ เมื่อบุกมำถึงรัฐฉู่
หวังเจี่ยนไม่นำทหำรออกรบเพื่อหลอกให้กองทัพรัฐฉู่ตำยใจ ส่วนเซ่ียง

50

เย่ียนถูกพระเจ้ำฟู่ฉู (负刍 265-223 ปีก่อนคริสต์ศักรำช) แห่งรัฐ
ฉู่กดดันใหอ้ อกรบ เซยี่ งเยียนไม่มีทำงเลือกจึงต้องออกรบและถูกกองทัพ
รัฐฉินซุม่ โจมตจี นแตกพ่ำย 223 ปีกอ่ นคริสต์ศกั รำช หวังเจ่ียน โจมตีนคร
โซว่ ชุน (寿春 ปัจจุบนั อยุใ่ นเมอื งหวยหนำน (淮南) มณฑลอันฮุย)
เมืองหลวงของรัฐฉู่จนแตก พระเจ้ำฟู่ฉูถูกจับเป็นเชลย ชำงผิงจวิน อดีต
ขุนนำงรัฐฉินขึ้นครองรำชย์เป็นกษัตริย์องค์สุดท้ำยของรัฐฉู่ นำทัพออกรบ
กับรฐั ฉินจนสวรรคตกลำงสนำมรบ เซ่ียงเยียนฆ่ำตัวตำย รัฐฉู่ล่มสลำยและ
กลำยเปน็ ส่วนหน่งึ ของรฐั ฉิน

พิชิตรฐั ฉี
ระหว่ำงที่รัฐฉินทำสงครำมกับรัฐต่ำงๆน้ัน ได้ส่งทูตนำทองไปติด

สนิ บนโฮว่ เซ่ิง (后胜) อัครมหำเสนำบดีแห่งรัฐฉี ไม่ให้นำกำลังไปร่วม
รบกับรัฐอื่นๆในกำรต่อต้ำนรัฐฉิน ดังนั้นรัฐฉีจึงไม่ได้ฝึกฝนกองทัพให้
พร้อมรบมำตลอดรัชสมัยพระเจ้ำฉีหวังเจี้ยน (齐王建 280-221
ปีกอ่ นคริสตศ์ กั รำช) เมื่อกองทัพรัฐฉนิ บกุ มำถงึ รฐั ฉี พระเจ้ำฉีหวังเจ้ียนจึง
เร่งระดมกำลังไปรับศกึ กบั รัฐฉนิ ที่ฝั่งตะวนั ตกของรัฐฉี

51

221 ปีก่อนคริสต์ศักรำช หวังเปิน นำกำลังโจมตีรัฐฉีโดยเล่ียง
กำรปะทะกับกองทัพรัฐฉีที่ต้ังรับอยู่ทำงฝั่งตะวันตก แต่บุกจำกทำงใต้และ
โจมตีนครหลินจือ เมืองหลวงของรัฐฉีจนแตก พระเจ้ำฉีหวังเจี้ยนยอม
จำนนต่อรัฐฉนิ รฐั ฉลี ่มสลำยและกลำยเป็นส่วนหนึ่งของรัฐฉิน แผ่นดินจีนท่ี
แตกแยกกันมำอย่ำงยำวนำนนับต้ังแต่ยุครำชวงศ์โจวรวมกันเป็นหน่ึงเดียว
ได้สำเร็จภำยใต้กำรทำสงครำมของรัฐฉิน โดยใช้เวลำทั้งส้ิน 14 ปี

52

ตอนท่ี5
“กำเนดิ รำชวงศ์ฉนิ ”
建立秦朝

53

เมื่อรวบรวมแผ่นดินเป็นหนึ่งเดียวแล้ว อิ๋งเจิ้งทรงเห็นว่ำ คำว่ำ
“หวัง” (王 รำชำ) น้ันไม่อำจนิยำมถึงควำมย่ิงใหญ่ของพระองค์ได้
แม้แต่บรรพกษัตริย์ในยุคสำมกษัตริย์ห้ำจักรพรรดิ (三皇五帝) ก็
มิอำจเทียบเท่ำพระองค์ ทรงมีรับสั่งให้หล่ีซือและเหล่ำขุนนำงช่วยกันคิด
สรรพนำมแทนพระองค์ใหม่ หลังจำกนัน้ เหล่ำขนุ นำงจึงทลู วำ่

“ในสมัยโบรำณมีเทียนหวง (天皇 รำชำแห่งสวรรค์) ตี้หวง
(地皇 รำชำแหง่ ปฐพี) และไท่หวง (泰皇 หรืออีกชื่อหน่ึงคือเหริน
หวง 人皇 รำชำแห่งมนุษย์) โดยไท่หวงน้ันมีศักดิ์สูงท่ีสุด จึงควร
เปลี่ยนจำกคำว่ำหวงั เปน็ ไท่หวง ”

เมื่อพระองค์ได้ฟังแล้วทรงพิจำรณำ และคิดว่ำพระองค์น้ัน
“คณุ ธรรมสูงส่งกวำ่ สำมกษัตริย์ เกียรติคุณเหนือกว่ำห้ำจักรพรรดิ” (德
高三皇, 功过五帝) ทรงนำคำว่ำ หวง (皇 ผู้ทรงศักด์ิ)
และคำว่ำ ต้ี (帝 พระเจ้ำอยู่หัว) ซึ่งมีควำมหมำยใกล้เคียงกันและนำมำ
รวมกันเป็นคำใหม่ คอื “หวงต้ี” (皇帝) หรือในภำษำฮกเกี้ยนอ่ำนว่ำ
“ฮอ่ งเต”้ อันมคี วำมหมำยวำ่ “จักรพรรด”ิ

54

ทรงขนำนนำมพระองค์เองเป็น “องค์ปฐมจักรพรรดิ” (始
皇帝) ส่วนพระนำมท่ีคนไทยรู้จักกันในชื่อ “จิ๋นซีฮ่องเต้” น้ันมำจำก
คำว่ำ “ฉินสื่อหวงตี้” (秦始皇帝) แปลว่ำ “องค์ปฐมจักรพรรดิ
แหง่ ฉนิ ” ทรงสถำปนำรำชวงศ์ฉิน จำกน้ันทรงมีพระรำชดำริในกำรปฏิรูป
บ้ำนเมอื งในด้ำนตำ่ งๆ ดังน้ี

จ๋นิ ซีฮ่องเต้ องคป์ ฐมจักรพรรดิของจีน

55

ด้ำนกำรเมอื งกำรปกครอง
ระบบขุนนำง

จ๋ินซที รงสรำ้ งระบบรำชกำรขนึ้ ใหมโ่ ดยอิงจำกระบบที่รัฐต่ำงๆเคย
ใช้ในยคุ จ้ำนกวั๋ และนำมำปรับใหม่ โดยรวมอำนำจเข้ำสู่ศูนย์กลำง เรียกว่ำ
“ระบบสำมพระยำเก้ำเสนำบดี” (三公九卿制) โดยพระองค์ให้
เหล่ำขนุ นำงแบ่งหน้ำทตี่ ำ่ งๆกันไป ดงั ภำพ

แผนผังระบบขุนนำงในสมัยรำชวงศฉ์ ิน

56

จำกภำพจะเห็นได้ว่ำ ฮ่องเต้มีอำนำจสูงสุดในอำณำจักร
รองลงมำคือขุนนำงตำแหน่ง “พระยำ” (公) ท้ังสำม ได้แก่ เฉิงเซ่ียง
(丞相 อัครมหำเสนำบดี) เป็นหัวหน้ำของขุนนำง ไท่เว่ย (太尉
สมุหกลำโหม) ดูแลกองทัพ และอว้ีสื่อต้ำฟู (御史大夫 รำช
เลขำธิกำร) ดูแลเรื่องฏีกำและกำรตรวจสอบทั้งหมด ส่วนเก้ำเสนำบดี จะ
เปน็ ขนุ นำงท่รี องลงมำจำกสำมพระยำ มีทงั้ หมด 9 ตำแหน่ง ไดแ้ ก่

1. เฟ่ิงฉำง (奉常) เสนำบดีกรมพิธีกำร มีหน้ำที่ดูแลหรือ
จดั พิธีกรรมตำ่ งๆ ของรำชสำนกั

2. หลำงจงล่ิง (郎中令) เสนำบดีกรมรำชองครักษ์ มี
หน้ำท่ีถวำยกำรอำรกั ขำฮ่องเต้และเชื้อพระวงศ์

3. เวย่ เวย่ (卫尉) เสนำบดีกรมทหำรรักษำวัง มีหน้ำที่ดูแล
รกั ษำควำมปลอดภยั ภำยในเขตพระรำชฐำน

4. ไท่ผู (太仆) เสนำบดีกรมรำชพำหนะ มีหน้ำท่ีดูแล
ยำนพำหนะและม้ำประจำพำหนะของรำชสำนกั

5. ถิงเว่ย (廷尉) เสนำบดีกรมยุติธรรม มีหน้ำที่ตัดสินคดี
ควำมและดูแลเรอื นจำ

57

6. เต่ียนเค่อ (典客) เสนำบดีกำรต่ำงประเทศ มีหน้ำท่ี
ดูแลควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำชวงศ์ฉินกับอำณำจักรต่ำงๆ
นอกจำกนี้ยังมีกำรตั้งขุนนำงออกไปประจำในต่ำงแดน
(เทยี บได้กบั เอกอคั รรำชทูตในปัจจุบัน)

7. จงเจง้ิ (宗正) เสนำบดีกรมพระอำลักษณ์ มีหน้ำท่ีจัดทำ
พงศำวลีของรำชวงศ์และงำนเอกสำรต่ำงๆ หำกเชื้อพระ
วงศ์องค์ใดมีควำมผิด ขุนนำงในตำแหน่งน้ีมีสิทธิท่ีจะไม่
บันทกึ พระนำมลงในพงศำวลีของรำชวงศก์ ็ได้

8. จ้ือซู่เน่ยสื่อ (治粟内史) เสนำบดีกำรคลัง มีหน้ำท่ี
เก็บรักษำทรัพย์สิน รวมถึงผลผลิตทำงกำรเกษตรของรัฐท่ี
ได้รบั มำจำกประชำชนในแตล่ ะพนื้ ทีข่ องอำณำจักร

9. เส้ำฝู่ (少府) เสนำบดีกรมรำชเลขำนุกำร มีหน้ำที่ดูแล
กิ จ ก ำ ร ใ น ร ำ ช ส ำ นั ก ร ว ม ถึ ง ดู แ ล ด้ ำ น พ ร ะ ร ำ ช จ ริ ย วั ต ร
ประจำวัน (กิจวัตรประจำวัน) ของฮ่องเต้ โดยมีกองงำน
ย่อยทั้งหมด 14 กอง กำรแบ่งกองงำนน้ียังเป็นต้นแบบ
ให้กับรำชวงศ์ตำ่ งๆ ในยุคหลงั อีกดว้ ย

58

ระบบกำรแบ่งเขตปกครอง

แผนทแ่ี สดงอำณำเขตในสมัยรำชวงศฉ์ ิน

59

ภำยหลังกำรสถำปนำรำชวงศ์ฉิน จ๋ินซีทรงนำข้อเสนอของหลี่
ซือมำปรับใช้ในกำรแบ่งเขตปกครอง โดยยกเลิกระบบแต่งตั้งเจ้ำนคร
(分封制) รวมถึงยกเลิกตำแหน่งเจ้ำนครที่เคยใช้ในอดีต และใช้
ระบบแคว้น (郡县制) ในกำรปกครองแทน โดยกำรแบ่งพื้นท่ี
ทั้งหมดออกเป็น 36 แคว้น (อำจมีมำกกว่ำน้ัน เนื่องจำกรำชวงศ์ฉินได้
ดนิ แดนเพ่ิมข้นึ มำหลังจำกกำรทำสงครำมขบั ไล่ชนเผ่ำไป่เย่ว์ (百越) ซ่ึง
เป็นชนเผ่ำที่อำศัยอยู่ทำงใต้ของจีน) มีเมืองหลวงอยู่ที่นครเสียน หยำง
ในกำรปกครองส่วนท้องถิ่นน้ัน แต่ละแคว้นจะมีผู้ว่ำกำร เรียกว่ำ จว้ินโส่ว
(郡守) เป็นผู้มีอำนำจสูงสุดในแคว้น โดยได้รับกำรแต่งตั้งจำกฮ่องเต้
มีรองผู้ว่ำกำรคือจวิ้นเฉิง (郡丞) มีจว้ินเว่ย (郡尉) เป็นผู้
บัญชำกำรทหำรประจำแคว้น และจวิ้นเจ้ียน (郡监) เป็นผู้ตรวจกำรณ์
ประจำแควน้

60

นอกจำกนีใ้ นแตล่ ะแคว้นยงั แบ่งย่อยลงไปเป็นเส้ียน (县 เทียบ
ได้กับอำเภอ) มีเสี้ยนล่ิง (县令) เป็นนำยอำเภอสำหรับอำเภอที่มี
ขนำดใหญ่ หรือเส้ียนจ่ำง (县长) เป็นนำยอำเภอสำหรับอำเภอท่ีมี
ขนำดเลก็ เสย้ี นเฉงิ (县丞) เป็นรองนำยอำเภอ เสี้ยนเว่ย (县尉)
เป็นผู้บัญชำกำรทหำรประจำอำเภอ ส่วนย่อยของเส้ียนคือเซียง (乡
เทยี บไดก้ ับตำบล) ถงิ (亭) และหล่ี (里) ซึ่งเป็นหน่วยกำรปกครองท่ี
เล็กทส่ี ุด

ในบำงแคว้นท่ีมีชนพื้นเมืองอยู่เป็นจำนวนมำก ทำงรัฐก็ตั้ง
ผปู้ กครองทอ้ งถนิ่ (君长) ขน้ึ มำปกครองแทน ตัวอย่ำงเช่นแคว้นหม่ิน
จง (闽中郡) ซึง่ อยทู่ ำงใต้ของอำณำจักร (ปัจจุบันคือเมืองเจี้ยนโอว
(建瓯) มณฑลฝูเจ้ียน (福建)) และดินแดนของชนพื้นเมืองใน
ระดับเส้ยี น (县) เรียกวำ่ “เต้ำ” (道)

61

ดำ้ นเศรษฐกิจ

1.ปรบั มำตรำช่ังตวงวดั เปน็ มำตรำฐำนเดยี วกัน (统一度量衡)

จ๋ินซีทรงมีพระรำชดำริว่ำในอดีตแต่ละรัฐมีมำตรำชั่งตวงวัดที่
ต่ำงกัน แต่เม่ือรวบรวมแผ่นดินได้แล้วก็เห็นสมควรต้องปรับมำตรำชั่งตวง
วัดให้เป็นมำตรำฐำนเดียวกันท้ังอำณำจักร โดยหน่วยวัดปริมำตรสิ่งของ
รำชวงศ์ฉินได้นำพื้นฐำนมำจำกมำตรำชั่งตวงวัดของซำงยำง เรียกว่ำ
“มำตรำซำงยำง” (商鞅量) เป็นมำตรฐำนหลัก กำรปรับมำตรำชั่ง
ตวงวัดของรำชวงศ์ฉินมีวัตถุประสงค์คือเพื่อกำรเก็บภำษีและจ่ำยเป็น
เงินเดือนให้แก่ขุนนำงได้อย่ำงสะดวกและเป็นระเบียบ ลดกำรทุจริตและ
ควำมยงุ่ ยำกในกำรชง่ั นำ้ หนักแบบในอดีต

62

อปุ กรณช์ ั่งตวงวัดในสมัยรำชวงศฉ์ ิน

63

แผน่ จำรกึ พระรำชโองกำรปรบั มำตรำช่ังตวงวัดเปน็ แบบแผนเดียวกัน
จำกนิทรรศกำร “จนิ๋ ซฮี อ่ งเต้: จักรพรรดิองคแ์ รกของแผ่นดินจีนกับ
กองทัพทหำรดินเผำ” เปน็ หนึง่ ในวตั ถโุ บรำณจำกจีนที่ยืมมำจัดแสดง ณ

พิพิธภณั ฑสถำนแห่งชำติ พระนคร กรุงเทพฯ

64

2.ปรบั เงินตรำให้เปน็ รปู แบบเดียวกนั (统一货币)

ก่อนยุครำชวงศ์ฉิน รัฐต่ำงๆมีกำรใช้สำริดหรือโลหะประเภท
อื่นๆ แลกเปลี่ยนแทนเงินตรำ และมีรูปร่ำงที่แตกต่ำงไปในแต่ละรัฐ เช่น
เงินรูปใบมีด (刀币) ของรัฐฉีและรัฐเยียน เงินรูปใบจอบ (布币)
ของรัฐหำน รัฐเว่ย และรัฐจ้ำว เงินรูปจมูก (蚁鼻钱) และเหรียญ
ทอง (金币) ของรัฐฉู่ เงินรูปวงกลมมีรูตรงกลำง (圜钱) ของ
รัฐฉิน 210 ปีก่อนคริสต์ศักรำช หล่ีซือได้นำฏีกำทูลจ๋ินซีฮ่องเต้ในเร่ือง
กำรเปลี่ยนรูปร่ำงของเงินตรำ จ๋ินซีทรงนำฏีกำของหลี่ซือมำปรับใช้โดย
ยกเลกิ เงินตรำรูปแบบเดมิ ของรัฐตำ่ งๆ และให้ใช้เงินตรำรูปวงกลมมีรูตรง
กลำงแบบฉินทง้ั หมด นอกจำกน้ียังกำหนดค่ำเงินคือ อ้ี (镒) และเหลียง
(两) โดย 1 อี้มีค่ำเท่ำกับ 20 เหลียง นอกจำกน้ียังออกกฏหมำย
ไมใ่ หป้ ระชำชนผลติ เงนิ ตรำขน้ึ ใช้เอง ส่งผลให้กำรเงินมีมำตรฐำนเดียวกัน
และก่อให้เกิดกำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจ

65

เงินตรำในรปู แบบตำ่ งๆ ในยุคก่อนรำชวงศ์ฉิน
เหรียญเงินรำคำคร่ึงเหลยี ง (半两) ยคุ รำชวงศ์ฉิน

66

ดำ้ นคมนำคม

ก่อนยุครำชวงศ์ฉิน พำหนะที่ใช้เดินทำงส่วนใหญ่มักใช้เกวียน
เทียมกับสัตว์ในกำรเดินทำง แต่ละรัฐมีรถเกวียนท่ีมีขนำดและควำมกว้ำง
ของล้อเกวยี นท่ีแตกตำ่ งกันไป โดยสังเกตจำกรอยล้อรถท่ีติดอยู่บนพื้นดิน
เม่ือสถำปนำรำชวงศ์ฉินแล้ว จิ๋นซีฮ่องเต้ทรงมีพระรำชโองกำรให้ปรับ
ควำมกว้ำงของล้อเกวียนให้เป็นแบบเดียวกันทั้งหมดเพื่อเป็นมำตรฐำน
เดียวกันท่ัวทั้งอำณำจักร และออกกฏหมำยให้รถทุกคันมี 2 ล้อ โดยล้อ
แต่ละข้ำงมีควำมกว้ำงไม่เกิน 6 ฉ่ือ (尺 1 ฉ่ือยำวประมำณ 1.38
เซ็นติเมตร 6 ฉ่ือ = 8.28 เซ็นติเมตร) นอกจำกรถแล้วจ๋ินซีทรงมีพระ
รำชโองกำรให้สร้ำงถนนหลวง 9 สำย แต่ละสำยมีควำมกว้ำง 25 ฟุตจีน
(รำว 80 เมตร) ซ่ึงเปน็ ควำมกวำ้ งที่รถม้ำ 2 คันสำมำรถวิ่งสวนกันได้ พื้น
ถนนอัดแน่นด้วยดินหลำยช้ันพร้อมกับก่ออิฐท่ีแนวของถนน พร้อมกับ
ระบบระบำยน้ำท่ีอยู่ข้ำงพ้ืนถนน ทำให้ถนนมีควำมแข็งแรงและยังคงใช้
งำนได้มำจนถึงปัจจบุ นั

67

แผนทท่ี ำงหลวงในสมยั รำชวงศ์ฉิน
ภำพจำลองทำงหลวงสมยั รำชวงศ์ฉิน

68

นอกจำกนี้ถนนหลวงในสมัยรำชวงศ์ฉิน ทุกๆ 10 เมตรจะปลูก
ต้นสน 1 ต้น ทุก 10 ล้ี (1 ล้ี มีควำมยำวประมำณ 500 เมตร และ
10 ล้ี = 5000 เมตร หรือ 5 กิโลเมตร) จะมีกำรสร้ำงศำลำเพื่อเป็นที่
พักสำหรับคนเดินทำง และทุกๆ 30 ล้ี (15000 เมตร หรือ 15
กิโลเมตร) จะมีกำรสร้ำงท่ีพักสำหรับคนเดินทำงและสถำนีส่งสำร (驿
站) หรอื ทีท่ ำกำรไปรษณีย์ยุคแรกๆ ของจีนโบรำณเพื่อส่งข้อมูลข่ำวสำร
ไดอ้ ยำ่ งรวดเร็ว วัตถปุ ระสงค์ในกำรสร้ำงถนนเช่ือมทุกส่วนของอำณำจักร
เข้ำด้วยกันเพ่ือเป็นเส้นทำงเดินทัพไปปรำบกบฏได้อย่ำงทันท่วงที อีก
วตั ถุประสงค์หนงึ่ กค็ อื เปน็ ถนนสำหรับเสด็จประพำสของจิ๋นซี นอกจำกนี้ยัง
มีถนนเส้นหนึ่งเรียกว่ำ “ฉินจ๋ือเต้ำ” (秦直道) เป็นถนนท่ีเช่ือมต่อ
ระหว่ำงมณฑลส่ำนซี มณฑลกำนซู่ และเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน
(内蒙古自治区) ในปัจจุบัน เป็นเส้นทำงที่ระยะทำงยำวกว่ำ
700 กิโลเมตร เชื่อมต่อกับนครเสียนหยำงโดยตรง กำรสร้ำงถนน
เช่อื มต่อกันท่ัวอำณำจักรทำให้กำรเดนิ ทำงเปน็ ไปอย่ำงสะดวก ช่วยกระตุ้น
เรือ่ งกำรคมนำคมและเศรษฐกจิ ของรำชวงศ์ฉิน

69

ด้ำนวฒั นธรรม

เขียนตัวอักษรแบบเดียวกัน (书同文)

ประเทศจีนเร่มิ มีกำรใช้อักษรเพื่อบันทึกเรื่องรำวต่ำงๆ มำตั้งแต่
สมัยรำชวงศ์ซำง (商朝 1600-1046 ปีก่อนคริสต์ศักรำช) อักษร
แบบแรกที่ใช้บันทึกเรียกว่ำ อักษรเจี๋ยกู่เหวิน (甲骨文) ซ่ึงเป็น
อักษรที่จำรึกบนกระดองเต่ำหรือกระดูกสัตว์ มีวัตถุประสงค์เพื่อกำร
ทำนำยดวงชะตำ ตัวอักษรในยุคต่อมำ เรียกว่ำ จินเหวิน (金文) เป็น
อักษรท่ีจำรกึ บนเครื่องสำรดิ

เม่ือจิ๋นซีรวบรวมแผ่นดินจีนได้ พระองค์เห็นว่ำรัฐต่ำงๆในอดีต
ใช้ตัวอักษรกันคนละแบบทำให้เกิดปัญหำในกำรเขียนและกำรส่ือสำร
ดังน้ันพระองค์มอบหมำยให้หล่ีซือ จ้ำวเกำ (赵高 ไม่ทรำบแน่ชัด-
207 ปีก่อนคริสต์ศักรำช) หูอู๋จ้ิง (胡毋敬) และขุนนำงคนอ่ืนๆ
ร่วมกันแต่งตำรำท่ีเขียนด้วยอักษรใหม่ข้ึนมำ หลี่ซือเห็นว่ำควรใช้อักษร
ของรัฐฉินเป็นแบบเดียวกันทั้งอำณำจักร ในท่ีสุดอักษรใหม่นี้ถูกเรียกว่ำ
“ฉินจ้วน” (秦篆) หรือ “เส่ียวจ้วน” (小篆) และใช้แทนอักษร
แบบเก่ำทั้งหมด ด้วยกำรเขียนที่ง่ำยและเป็นระเบียบมำกกว่ำจึงทำให้
แพร่หลำยไปอย่ำงรวดเร็ว นับเป็นมรดกชิ้นสำคัญในรัชสมัยของจ๋ินซีใน
กำรจดั กำรระบบกำรเขยี นของจนี

70

จำรกึ อกั ษรภเู ขำไทซ่ ำน《泰山刻石》(ซ้ำย) และจำรึกอกั ษร
ภูเขำอ้ีซำน《峄山刻石》(ขวำ) เปน็ จำรึกอกั ษรทมี่ ีชื่อเสียงใน

สมยั รำชวงศ์ฉิน

ตวั อย่ำงอกั ษรจีน “หม่ำ”(马 มำ้ ) ของรฐั ต่ำงๆกอ่ นปรับมำใช้อกั ษร
แบบเดียวกันโดยยดึ แบบรัฐฉิน (ซ้ำยสดุ ) เปน็ หลัก

71

ดำ้ นสถำปตั ยกรรม

1.สถำปตั ยกรรมดำ้ นชลประทำน

คลองหลิงฉวี (灵渠)
ตั้งอยู่ในอำเภอซิ่งอัน (兴安县) เมืองกุ้ยหลิน (桂林

市) เขตปกครองตนเองชนชำติจ้วง กว่ำงซี (广西壮族自治
区) สร้ำงข้ึนในช่วง 219 ปีก่อนคริสต์ศักรำช มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น
เส้นทำงลำเลียงกองทัพและเสบียงไปโจมตีดินแดนหลิ่งหนำน (岭南
ปัจจุบันคือมณฑลกวำงตุ้ง (广东) เขตปกครองตนเองชนชำติจ้วง
กว่ำงซี มณฑลไห่หนำน (海南) และรวมไปถึงตอนเหนือของ
ประเทศเวียดนำม) ของชนเผ่ำไป๋เย่ว์ โดยมีขุนนำงสื่อลู่ (史禄) เป็น
ผรู้ บั ผิดชอบกำรสรำ้ ง โดยขดุ เปน็ คลองเช่อื มแม่น้ำหลีเจียง (漓江) ซ่ึง
เป็นแม่น้ำสำยย่อยของแม่น้ำจูเจียง (珠江) กับแม่น้ำเซียงเจียง (湘
江) ซึ่งเป็นแม่น้ำสำยย่อยของแม่น้ำฉำงเจียง (长江) มีควำมยำว
ท้ังส้ิน 36.4 กิโลเมตร สร้ำงแลว้ เสร็จเมื่อ 214 ปีกอ่ นครสิ ต์ศักรำช

72

คลองหลงิ ฉวีมีสว่ นชว่ ยให้กองทัพรำชวงศ์ฉินสำมำรถพิชิตชนเผ่ำ
ไป๋เยว่ ไ์ ดส้ ำเร็จ รวมถึงกำรเชื่อมแม่น้ำใหญ่ 2 สำยในภำคใต้ของจีน คือ
แม่น้ำฉำงเจียงและแม่น้ำจูเจียงเข้ำกันได้สำเร็จ ในยุคหลังคลองหลิงฉวี
ไม่ได้มีควำมสำคัญในด้ำนกำรทหำรอีกต่อไป แต่กลำยเป็นเส้นทำงขนส่ง
สนิ ค้ำสำคญั ในภำคใตข้ องประเทศจีน อกี ทั้งมีกำรซ่อมบำรุงคลองสำยน้ีอยู่
เสมอ จุดท่ีกว้ำงที่สุดของคลองหลิงฉวีมีควำมยำว 22 เมตร กว้ำง2.8
เมตร ซึ่งกว้ำงพอที่จะให้เรือสินค้ำเดินทำงได้อย่ำงสะดวก ค.ศ.1938
เม่ือทำงรถไฟสำยเซียงเจียงและหลีเจียงสร้ำงเสร็จสมบูรณ์ กำรขนสินค้ำ
ผ่ำนคลองหลิงฉวีก็เร่ิมน้อยลง และหมดลงอย่ำงสมบูรณ์ในช่วงต้น ค.ศ.
1970

ในกำรประชุมคณะกรรมกำรบริหำรนำนำชำติครั้งที่ 69
(Meeting of International Executive Council - IEC) ณ ประเทศ
แคนำดำในวันท่ี 18 สิงหำคม ค.ศ. 2018 คลองหลิงฉวีได้รับกำร
คัดเลือกให้เป็นมรดกโลกทำงชลประทำน (World Heritage Irrigation
Structures)

73

แผนทีค่ ลองหลิงฉวี
คลองหลิงฉวีในปัจจุบัน

74

ระบบชลประทำนตเู จียงเยี่ยน (都江堰)

ตั้งอยู่ในฝั่งตะวันตกของเมืองเฉิงตู (成都) มณฑลเสฉวน
สร้ำงข้ึนในรำว 256-251 ปีก่อนคริสต์ศักรำช ในรัชสมัยพระเจ้ำเจำ
เซียงหวัง มีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ปัญหำน้ำจำกแม่น้ำหมินเจียง (岷江)
ในทำงตะวันตกที่ไหลผ่ำนท่ีรำบลุ่มเฉิงตู (成都平原) น้ำจำกแม่น้ำ
มีตะกอนทับถมเป็นจำนวนมำกจนทำให้ร่องน้ำต้ืนและมักเกิดอุทกภั ย
บ่อยครั้ง ส่วนทำงตะวันออกมีภูเขำอวี้เหล่ย (玉垒山) ขวำงก้ันทำ
ให้พ้ืนท่ีนั้นเกิดควำมแห้งแล้ง หล่ีปิง (李冰) ขุนนำงประจำเมืองสู่
(蜀郡) ได้รับพระบัญชำในกำรสร้ำงเข่ือนเพ่ือแก้ปัญหำน้ำ โดยเร่ิม
จำกกำรเจำะภูเขำอวี้เหล่ย โดยเขำะเป็นร่องกว้ำง 20 เมตร สูง 40
เมตร ยำว 80 เมตร มีรูปร่ำงคล้ำยกับปำกขวด จึงถูกเรียกว่ำ “ปำกขวด
วิเศษ” (宝瓶口) และให้น้ำในเส้นทำงนี้ไหลไปยังคูคลองต่ำงๆ
ต่อมำจึงเริ่มสร้ำงเข่ือนและแยกแม่น้ำหมินเจียงเป็น 2 ส่วนด้วยกำรสร้ำง
เกำะกลำงน้ำ และควบคุมกระแสน้ำไหลเข้ำปำกขวดวิเศษทำงตะวันออก
ทำงหนึ่ง กับปล่อยให้แม่น้ำหมินเจียงไหลไปตำมปกติในฝั่งตะวันตกทำง
หน่ึง เกำะกลำงน้ำน้ันมีรูปรำ่ งคล้ำยปลำ จึงถูกเรียกว่ำ “ปำกมัจฉำ” (鱼
嘴)

75

นอกจำกนี้หล่ีปิงยังติดต้ังอุปกรณ์เสริมในกำรควบคุมระดับน้ำทำจำกไม้ไผ่
สำน เรยี กว่ำ “ฝำยทรำยเหิน” (飞沙堰) มีหน้ำที่กรองตะกอนและ
โคลนที่ไหลมำกับแม่น้ำออกไป ในกำรประชุมคณะกรรมกำรบริหำร
นำนำชำติคร้ังท่ี 69 (Meeting of International Executive Council -
IEC) ณ ประเทศแคนำดำเม่ือวันที่ 18 สิงหำคม ค.ศ. 2018 ระบบ
ชลประทำนตเู จียงเยี่ยนได้รับกำรคัดเลือกให้เป็นมรดกโลกทำงชลประทำน
(World Heritage Irrigation Structures)

แผนที่ระบบชลประทำนตเู จียงเย่ียน

76

2.สถำปัตยกรรมด้ำนกำรปกครอง

กำแพงเมอื งจีน (长城)

หำกจะกลำ่ วถงึ สถำปัตยกรรมของประเทศจนี ท่ยี ง่ิ ใหญ่และเป็นที่
รู้จกั มำกที่สุดแหง่ หนงึ่ ในโลก กำแพงเมืองจีนเป็นหนึ่งในส่ิงนั้น ที่แสดงถึง
ควำมยิ่งใหญ่ในด้ำนสถำปัตยกรรมและวัฒนธรรมของประเทศจีน มี
ตำนำนเลำ่ ขำนถงึ ควำมยงิ่ ใหญข่ องกำแพงเมืองจีนหลำยอย่ำง เช่น กำแพง
เมืองจีนมองเห็นได้จำกอวกำศ หรือตำนำนของนำงเม่ิงเจียง (孟姜
女) ที่รอ้ งไหจ้ นกำแพงพังทลำยลงมำ เป็นตน้

แทจ้ ริงแล้วกำแพงเมืองจีนไม่ได้สร้ำงในสมัยของจ๋ินซีเพียงอย่ำง
เดียว แต่มีกำรสร้ำงขึ้นต้ังแต่ยุคชุนชิว-จ้ำนกั๋ว (春秋战国) โดย
มหี ลกั ฐำนปรำกฏว่ำแตล่ ะรฐั ในขณะน้ันสรำ้ งข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์แตกต่ำง
กันไป เช่น เพื่อป้องกันกำรรุกรำนของชนเผ่ำต่ำงๆ ในทำงตะวันตกของ
จีน อย่ำงเช่นกำแพงของรัฐฉิน รัฐจ้ำว รัฐเยียน หรือเพื่อป้องกันจำกกำร
รุกรำนระหว่ำงรัฐตำ่ งๆ อย่ำงเชน่ กำแพงรฐั ฉี รฐั ฉู่ รฐั เว่ย รัฐจงซำน (中
山) กำแพงของแตล่ ะรัฐมีควำมยำวที่แตกต่ำงกัน นักประวัติศำสตร์จีนจึง
เรยี กกำแพงในยคุ นว้ี ำ่ “กำแพงยุคกอ่ นรำชวงศ์ฉิน” (先秦长城)

77

กำแพงของรัฐตำ่ งๆ กอ่ นยุครำชวงศฉ์ ิน

221 ปกี ่อนคริสต์ศกั รำช หลงั กำรรวมแผ่นดนิ จีน จ๋ินซีมีพระรำช
โองกำรให้รวมแนวกำแพงของรัฐฉิน รัฐจ้ำวและรัฐเยียนเดิมเป็นแนว
เดียวกันทั้งหมด เพ่ือป้องกันกำรรุกรำนของชนเผ่ำซยงหนู ชนเผ่ำเร่ร่อน
ในทำงตอนเหนือของจีนที่มักจะรุกรำนชำยแดนจีนบ่อยคร้ัง แนวกำแพง
ใหม่นี้พระองค์มอบหมำยให้แม่ทัพเหมิงเถียนเป็นผู้รับผิดชอบในกำร
ก่อสร้ำงและคุมกองทัพในกำรปรำบปรำมชนเผ่ำซยงหนูจนรำบคำบเม่ือ
213 ปีก่อนคริสต์ศักรำช และปลอดภัยจำกกำรรุกรำนของชนเผ่ำซยงหนู
หลำยปี

78

แผนทแ่ี นวกำแพงเมืองจีนในสมัยรำชวงศฉ์ นิ

อย่ำงไรกต็ ำมกำแพงเมอื งจนี มกี ำรสร้ำงเพิ่มเติมและซ่อมแซมอยู่
ทกุ ยุคทุกสมัยเปน็ เวลำยำวนำนกว่ำ 2,000 ปี กำแพงเมืองจีนในปัจจุบันมี
ควำมยำว 21,196 กิโลเมตร (ข้อมูลจำกสำนักมรดกวัฒนธรรมแห่งชำติ
จีน เม่ือค.ศ. 2012) ตั้งแต่ตะวันออกจรดตะวันตกของประเทศจีน
กระจำยตัวอยู่ในพ้ืนท่ีของจีน 15 มณฑล มีสมญำนำมว่ำ “กำแพงหมื่น
ล้ี” (万里长城) กำแพงเมืองจนี ท่เี หน็ ในปัจจบุ ันนั้นเป็นแนวกำแพง
ที่สร้ำงข้ึนและซ่อมแซมในสมัยรำชวงศ์หมิง (明朝 ค.ศ.1368-
1644)

79

ซ่ึงคิดเป็น 1 ใน 3 ของแนวกำแพงท้ังหมด แนวกำแพงและเชิงเทินมี
ระยะห่ำงกัน 250 เมตร หรือบำงแห่งห่ำงกัน 450 เมตร ทำงเดินบน
กำแพงมีควำมกว้ำงพอท่ีรถม้ำสำมำรถวิ่งได้ ด้ำนล่ำงมีลักษณะเป็นเมือง
ขนำดย่อมและเปน็ ท่อี ย่อู ำศยั ของทหำรและประชำชนสำหรับกำรรับศึกจำก
ต่ำงชำติ แนวกำแพงเมืองจีนที่เป็นสถำนที่ท่องเที่ยวท่ีมีช่ือเสียงไปท่ัวโลก
ตัวอย่ำงเช่น กำแพงปำต๋ำหล่ิง (八达岭) ในนครปักก่ิง ที่ทอดยำว
ไปตำมสันเขำ ด่ำนซำนไห่ (山海关) ในมณฑลเหอเป่ย ที่มีแนว
กำแพงสว่ นหน่งึ ยื่นออกไปในทะเล เรียกว่ำ เหล่ำหลงโถว (老龙头)
สรำ้ งขึ้นในสมยั รำชวงศ์หมงิ เพอื่ ป้องกนั กำรรกุ รำนของโจรสลัดญี่ปุ่น (倭
寇) ท่ีมกั จะเขำ้ มำบุกปล้นเมืองตำมชำยฝั่งของจีน ด่ำนเจียอว้ี (嘉峪
关) ในมณฑลกำนซู่ท่ีตั้งอยู่ท่ำมกลำงทะเลทรำยอันว่ำงเปล่ำ เป็นต้น
กำแพงเมืองจีนได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกจำกกำรประชุมคณะกรรมกำร
มรดกโลกสมยั สำมัญคร้ังที่ 11 ณ กรุงปำรีส ประเทศฝร่ังเศสในปี ค.ศ.
1987

80

จำกบนลงล่ำง กำแพงปำตำ๋ หล่ิง ด่ำนซำนไห่บรเิ วณริมทะเลทเ่ี รียกวำ่
เหล่ำหลงโถว และด่ำนเจียอวี้ เปน็ ดำ่ นของกำแพงเมอื งจีนที่มีชอ่ื เสยี งและ

เปน็ ทร่ี ู้จกั กันทวั่ ไปของนกั ทอ่ งเท่ียวต่ำงชำติ

81

พระรำชวงั เออผัง (阿房宫)

ตั้งอยู่ท่ีเมืองซีอัน มณฑลส่ำนซี สร้ำงเม่ือ 217 ปีก่อน
คริสต์ศักรำช ในรัชสมัยของจิ๋นซี เป็นพระรำชวังในสมัยรำชวงศ์ฉิน
ปจั จบุ นั สันนิษฐำนว่ำท้องพระโรงของพระรำชวังมีควำมยำว 1200 ม. สูง
7 เมตร และมีควำมลกึ 400 เมตร คดิ เปน็ พนื้ ที่ 1 ใน 7 ส่วนของพ้ืนท่ี
ท้ังหมด (คำดว่ำพ้ืนท่ีของพระรำชวังท้ังหมดน่ำจะอยู่ท่ี 4.5 ตำรำง
กิโลเมตร) และรองรับผู้คนได้มำกถึง 10,000 คน นอกจำกน้ียังมีกำร
ค้นพบแนวกำแพงของพระรำชวัง คูคลองและส่ิงก่อสร้ำงอ่ืนๆ ในพ้ืนท่ี
ของพระรำชวังด้วยเช่นกัน กล่ำวกันว่ำมีกำรสร้ำงรูปปั้นสำริดสีทอง (金
人) จำนวน 12 ตัวไว้ที่ทำงเดินหน้ำท้องพระโรง มีควำมสูง 8-12
เมตร มีน้ำหนักรำว 8 ตัน โดยสร้ำงมำจำกอำวุธท่ียึดได้เมื่อคร้ังสงครำม
รวบรวมแผน่ ดนิ หลังจน๋ิ ซีเสดจ็ สวรรคต พระรำชวังแห่งนี้ก็ยังสร้ำงไม่เสร็จ
สมบูรณ์ พระเจ้ำฉินที่ 2 พระโอรสได้ขยำยและต่อเติมพระรำชวัง และ
พอถึงปลำยยุครำชวงศ์ฉนิ พระรำชวังแห่งน้ีก็ถูกเซ่ียงอวี่ (项羽 232-
202 ปีก่อนคริสต์ศักรำช) แม่ทัพแห่งรัฐฉู่เผำทำลำยจนรำบคำบ กล่ำวกัน
วำ่ เพลงิ ไหม้พระรำชวงั แหง่ นีก้ ินเวลำนำนถงึ 3เดือนกว่ำจะมอดไหมท้ ัง้ หมด

82

นอกจำกนี้รูปแบบของพระรำชวังเออผังกงยังเป็นต้นแบบให้กั บ
พระรำชวังเว่ยยำง (未央宫) ในสมัยรำชวงศ์ฮ่ันตะวันตก (西汉
202 ปีก่อนคริสต์ศักรำช-ค.ศ.8) และพระรำชวังต้ำหมิง (大明
宫) ในสมัยรำชวงศ์ถัง (唐 ค.ศ.618-907) ปัจจุบันมีกำรจำลอง
พระรำชวังเออผังกงขึ้นเป็นสถำนที่ท่องเท่ียวข้ึนในปี ค.ศ. 2012 โดย
อยู่ไม่ไกลจำกโบรำณสถำนพระรำชวังเออผงั กงและเปดิ ให้นักท่องเที่ยวได้
เขำ้ มำเยี่ยมชมจนถึงปัจจุบัน

ท้องพระโรงของพระรำชวังเออผงั กงแบบจำลอง

83

แนวดินทตี่ ง้ั ทอ้ งพระโรงของพระรำชวัง

ภำพจำลองท้องพระโรงพระรำชวงั เออผัง (หลัง) เมื่อเทยี บกับ
พระรำชวงั เวย่ ยำงของรำชวงศ์ฮ่ัน(ซำ้ ย) และพระรำชวังต้ำหมงิ ของ

รำชวงศถ์ งั (ขวำ)

84

สสุ ำนจ๋ินซแี ละกองทหำรดินเผำ (秦始皇陵兵马俑)

ต้ังอยู่ท่ีตำบลหลินถง (临潼) เมืองซีอัน มณฑลส่ำนซี สร้ำง
ขึ้นรำว 247-208 ปีก่อนคริสต์ศักรำช ในต้นรัชสมัยของจิ๋นซีฮ่องเต้
จนถึงรัชสมัยของพระเจ้ำฉินที่ 2 (秦二世 230-207 ปีก่อน
คริสต์ศักรำช) พระโอรสของจ๋ินซี ใช้เวลำสร้ำงทั้งส้ิน 39 ปี มีพื้นที่
ทั้งหมด 56.25 ตำรำงกิโลเมตร ลักษณะคล้ำยกับภูเขำ สันนิษฐำนว่ำ
ภำยในสุสำนสร้ำงข้ึนให้ใกล้เคียงกับพระรำชวังในนครเสียนหยำง และอีก
สว่ นหนง่ึ คือกองทหำรดินเผำ อย่ดู ำ้ นหนำ้ ของสุสำนท่ีสร้ำงเพ่ือไปรับใช้จ๋ินซี
ในโลกหน้ำ ถูกค้นพบโดยบังเอิญโดยชำวนำคนหน่ึงเมื่อปี ค.ศ.1974
ปัจจบุ นั หลมุ ทมี่ ีทหำรดินเผำมีทั้งหมด 3 หลุม โดยหลุมที่ 1 และ 2 เป็น
หุ่นทหำรในบทบำทต่ำงๆ เช่น ทหำรรำบ ทหำรม้ำ พลธนู แม่ทัพ
นอกจำกนยี้ งั มีหุ่นรูปม้ำ รถศึกและอำวุธอยู่เป็นจำนวนมำก หลุมท่ี 3 เป็น
หลุมขนำดเล็กกว่ำหลุมที่ 1 และ 2 มีหุ่นทหำรระดับแม่ทัพและรถศึก
คำดว่ำเป็นสว่ นบัญชำกำรรบ ท้ังสำมหลุมมีกำรค้นพบห่นุ ทหำรดินเผำและหุ่น
รูปม้ำมำกกว่ำ 8000 ตัว สุสำนจิ๋นซีและกองทหำรดินเผำได้รับกำรจด
ทะเบยี นเปน็ มรดกโลกในปี ค.ศ. 1987

85

ปัจจุบันสุสำนจิ๋นซียังไม่มีกำรขุดค้นเพ่ิมเติมเน่ืองจำกภำยในสุสำน
ตรวจพบควำมเขม้ ขน้ ของสำรปรอทในระดับท่ีสูงกวำ่ ปกติ เช่นเดียวกับหลุม
กองทหำรดินเผำที่ยังไม่มีกำรขุดค้นเพ่ิมเติม เน่ืองจำกสีฝุ่นโบรำณท่ีติดอยู่
บนตัวทหำรจะสลำยไปอย่ำงรวดเร็วเมื่อปะทะกับอำกำศภำยนอก จึงต้อง
ศกึ ษำและวิจยั เพ่มิ เติมเพ่ือกำรอนรุ กั ษเ์ อำไวโ้ ดยคงสภำพเดิมใหม้ ำกทส่ี ดุ

สุสำนจิน๋ ซีในปจั จบุ ัน

86

แผนทโี่ ครงสร้ำงภำยในสุสำน

ภำพจำลองภำยในสุสำนจนิ๋ ซตี ำมบนั ทกึ โบรำณและกำรสนั นิษฐำนของนัก
โบรำณคดี

87

กองทหำรดินเผำในหลมุ หมำยเลข 1
กองทหำรดนิ เผำในหลมุ หมำยเลข 2

88

กองทหำรดินเผำในหลมุ หมำยเลข 3
ห่นุ ทหำรรำบแบบตำ่ งๆ

89

หุ่นพลธนู
ภำพจำลองหุน่ ทหำรเมอื่ ยังมีสีเม่ือเทียบกบั ของจริง

90

ด้ำนกำรทหำร

กำรทหำรในสมัยรำชวงศ์ฉินมีกำรปรับเปล่ียนครั้งใหญ่นับตั้งแต่
กำรปฏิรูปของชำงยำง หลังจำกรัฐฉินรวบรวมแผ่นดินแล้ว จ๋ินซีทรงโปรด
เกล้ำฯ ให้ขุนนำงตำแหน่งไท่เว่ย (เทียบได้กับผู้บัญชำกำรทหำรสูงสุด)
ดูแลกองทัพท้ังหมด และแบ่งหน่วยทหำรเป็น 3 หน่วยใหญ่ ได้แก่
ทหำรรักษำพระองค์ (京师兵) มีขุนนำงในตำแหน่งหลำงจงหล่ิง
และเว่ยเว่ย เป็นผู้บัญชำกำร มีหน้ำที่อำรักขำฮ่องเต้และเช้ือพระวงศ์
รวมถึงดูแลควำมสงบเรียบร้อยในเขตพระรำชฐำน ทหำรชำยแดน (边
防兵) มีหน้ำท่ีป้องกันชำยแดนของอำณำจักร มีขุนนำงตำแหน่งจวิ้นตู
เว่ย (郡都尉) เป็นผู้บัญชำกำร และทหำรประจำแคว้น (郡县
兵) มีหน้ำท่ีดูแลควำมสงบเรียบร้อยภำยในพื้นท่ีของตน มีขุนนำง
ตำแหนง่ จวน้ิ เวย่ (郡尉) หรอื เสยี้ นเวย่ (县尉) เป็นผู้บญั ชำกำร

91

ประเภทของทหำรในกองทพั รำชวงศ์ฉิน
เหลำ่ ทหำรรถศึก (车兵)

เป็นทหำรเหล่ำหนึ่งที่มีเป็นกำลังสำคัญของกองทัพรำชวงศ์ฉิน มี
หน้ำท่ีสนับสนุนกำรรบของทหำรรำบและทหำรม้ำได้เป็นอย่ำงดี เน่ืองจำก
เป็นหน่วยท่ีใช้โจมตีกระบวนทัพของข้ำศึกและคอยระวังป้องกันกองทัพ
หลักจำกกำรโจมตขี องขำ้ ศกึ รถศกึ ของรำชวงศ์ฉินทำจำกไม้ มีล้อ 1 คู่ มี
ม้ำเทียมรถ 4 ตัว มีพลประจำรถศึกสวมเกรำะ 3 นำย ประกอบด้วย
พลขับ (御手) 1 นำย และพลรถศึก 2 นำย ถืออำวุธจำพวกหอก
ยำวมขี อสบั 3 ประเภท ได้แก่ เกอ (戈) จี (戟) หรือเหมำ (矛)
บำงครงั้ ก็ใชธ้ นูเปน็ อำวุธ

รถศกึ ในสมัยรำชวงศฉ์ ิน

92

อำวุธประเภอหอกยำว เกอ จี และเหมำ (จำกซ้ำยไปขวำ)

ห่นุ ทหำรประจำรถศกึ จำกสุสำนทหำรดินเผำ
เมืองซอี ัน มณฑลสำ่ นซี

93

เหลำ่ ทหำรรำบ (步兵)

เป็นกำลังรบหลักสำหรับกองทัพในกำรโจมตีข้ำศึก ทหำรรำบ
สำมำรถเดินทำงไปรบได้ทุกที่และทุกสภำพอำกำศ และแบ่งเป็น 2
ประเภท คอื ทหำรรำบสวมเกรำะและไม่สวมเกรำะ ซ่ึงทหำรรำบที่ไม่สวม
เกรำะมักจะเป็นทหำรที่ได้มำจำกกำรเกณฑ์ประชำชนมำเป็นทหำร ส่วน
ทหำรรำบท่ีสวมเกรำะมักเป็นทหำรท่ีประจำกำรในกองทัพ ทหำรรำบใน
สมัยรำชวงศ์ฉินใช้หอกยำวประเภทต่ำงๆ ได้แก่ เหมำ เกอ จี หรือ พี
(铍) กระบ่ี (剑) โล่ (盾) หรอื ดำบตะขอ (吴钩) ท่ีมีควำมโค้ง
คลำ้ ยกบั เคยี วเปน็ อำวุธ

นอกจำกนี้ในหน่วยทหำรรำบยังมีพลธนู (弩兵) ซ่ึงทำหน้ำท่ี
โจมตีจำกระยะไกลด้วยธนู ธนูในสมัยรำชวงศ์ฉินพัฒนำขึ้นต้ังแต่ยุคจ้ำน
กว๋ั เปน็ ธนูท่ีสำมำรถยงิ ได้เรว็ และยิงได้อย่ำงต่อเน่ือง ในบันทึกกล่ำวว่ำธนู
ในสมัยรำชวงศ์ฉินมีช่องใส่ลูกศรและมีไกสำหรับยิงซ่ึงมีลักษณะคล้ำยกับ
หน้ำไมใ้ นปัจจบุ นั และยิงได้ไกลถึง 800 เมตรหรือมำกกว่ำนั้น แต่เม่ือ
มีกำรขดุ คน้ สสุ ำนทหำรดินเผำก็พบธนูดังที่กล่ำวในบันทึกในสภำพดี ซ่ึงช่วย
ให้นักโบรำณคดีเขำ้ ใจถึงวทิ ยำกำรทำงอำวธุ ในสมยั โบรำณไดด้ ียิ่งข้ึน


Click to View FlipBook Version