โรงเรีย รี นวิสุวิท สุ ธรัง รั ษี จัง จั หวัด วั กาญจนบุรี บุ รี สำ นักนังานเขตพื้นพื้ที่กที่ารศึกศึษา มัธมัยมศึกศึษากาญจนบุรี บุรี ปีก ปี ารศึก ศึ ษา 2565 สำ นักนังานคณะกรรมการการศึกศึษาขั้นขั้พื้นพื้ฐาน กระทรวงศึกศึษาธิกธิาร
ก บทสรุปสำหรับผู้บริหาร โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 32 หมู่ 1 ตำบลท่าล้อ อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 มีบุคลากรสายบริหารจำนวน 5 คน จัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2565 เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอื่น ๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มีจำนวนครู227 คน จำแนกเป็น ข้าราชการครู 187 คน ครู(พนักงานราชการ) 3 คน ครูอัตราจ้าง/เจ้าหน้าที่ สำนักงาน 37 คน นักเรียนภาคเรียนที่ 1 จำนวน 4,018 คน จำแนกเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2,199 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1,819 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2565) ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 4,040 คน จำแนกเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2,222 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1,818 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565) ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ค่าความสำเร็จ ร้อยละ ระดับ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ยอดเยี่ยม ประเด็นหลักที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 1.1.1 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ร้อยละ 82.53 ยอดเยี่ยม 1.1.2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และแก้ปัญหา ร้อยละ 90.31 ยอดเยี่ยม 1.1.3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ร้อยละ 89.74 ยอดเยี่ยม 1.1.4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ร้อยละ 96.95 ยอดเยี่ยม 1.1.5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 86.24 ยอดเยี่ยม 1.1.6 มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ร้อยละ 96.49 ยอดเยี่ยม ประเด็นหลักที่ 2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 1.2.1. การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ร้อยละ 99.00 ยอดเยี่ยม 1.2.2 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ 95.51 ยอดเยี่ยม 1.2.3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ 90.00 ยอดเยี่ยม 1.2.4 สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ร้อยละ 97.89 ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับยอดเยี่ยม 2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ระดับ 5 ยอดเยี่ยม 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ระดับ 5 ยอดเยี่ยม 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุ่มเป้าหมาย ระดับ 5 ยอดเยี่ยม
ข มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ค่าความสำเร็จ ร้อยละ ระดับคุณภาพ 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ระดับ 5 ยอดเยี่ยม 2.5 ดูสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ระดับ 5 ยอดเยี่ยม 2.6 ดูระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ระดับ 5 ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตได้ ร้อยละ 100.00 ยอดเยี่ยม 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ร้อยละ 100.00 ยอดเยี่ยม 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ร้อยละ 100.00 ยอดเยี่ยม 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 100.00 ยอดเยี่ยม 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 100.00 ยอดเยี่ยม การจัดการศึกษาของโรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2565 สถานศึกษาได้มุ่งเน้น ที่คุณภาพของผู้เรียนเป็นสำคัญ ภายใต้การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมและเป็นระบบ ที่มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพ ทางการศึกษา ให้คงมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับ โดยผลการจัดการศึกษาในปีการศึกษา 2565 นั้น ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมด้านวิชาการ ด้านการคิด วิเคราะห์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตดี ได้รับการส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์วรรณศิลป์และกีฬา โดยสถานศึกษา กำหนดนโยบายส่งเสริมสุนทรียภาพอย่างชัดเจน ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมให้เล่นดนตรีที่ตนเองชื่นชอบ ทั้งดนตรีไทย ดนตรีสากล ขับร้องเพลงไทยเดิม เพลงไทยลูกทุ่ง ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการเป็นบุตรที่ดี ของพ่อ แม่ ผู้ปกครองและเป็นนักเรียนที่ดีของสถานศึกษา ประพฤติตนตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ที่สถานศึกษากำหนด รวมทั้งมีกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ทั้งในและนอกสถานศึกษาอย่างสม่ำเสมอ มีกิจกรรม ด้านวิชาการ ทั้งการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา แหล่งเรียนรู้ในห้องสมุด การอ่านหนังสือ การสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี นำเสนองานและส่งงานทางเว็บไซด์ใฝ่รู้ใฝ่เรียน (โครงการสอนเสริม, โครงการพัฒนาความสามารถพิเศษตาม ศักยภาพของผู้เรียน, โครงการส่งเสริมความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ของนักเรียนศักยภาพ) ทั้งศึกษาหาความรู้ ด้วยตนเองและทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับเพื่อน ส่งผลให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองได้ครบถ้วนตามอัตลักษณ์ “ใฝ่เรียนรู้ เชิดชูสถาบัน ยึดมั่นความดี” ทำให้สถานศึกษาดำรงเอกลักษณ์เป็นที่ประจักษ์และได้รับการยอมรับจากบุคคล ทั่วไป รวมทั้งองค์กรภายนอกว่าเป็นสถานศึกษาที่มีเอกลักษณ์ “วิชาการเป็นเลิศ เชิดชูคุณธรรม” โดยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ซึ่งในปีการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 สูงกว่าระดับประเทศทุกวิชา และจากการส่งผู้เรียนเข้าร่วมการแข่งขันในรายการต่าง ๆ ล้วนได้รับรางวัล
ค มากมาย อีกทั้งสถานศึกษาดำเนินงานโครงการพิเศษ (กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ที่พึงประสงค์, วิถีพุทธ ส่งเสริมจิตอาสาสร้างสรรค์รักการอ่าน) เพื่อแก้ปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรม ประสบผลสำเร็จ และในปีการศึกษา 2565 ได้มีการพัฒนาผู้เรียนด้านความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการคิด การแก้ปัญหา การสืบค้นข้อมูล การปฏิบัติจริง การทำงานเป็นทีม รวมทั้งการนำเสนอ อย่างสร้างสรรค์(กิจกรรมส่งนักเรียนเข้าร่วมแข่งขันทักษะคอมพิวเตอร์ และหุ่นยนต์, กิจกรรมค่ายบูรณาการ ฟิสิกส์กับสิ่งแวดล้อม) ส่วนด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ สถานศึกษาดำเนินการบริหารงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผสานหลักการทางการบริหารเข้ากับแนวคิดในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และยึดหลักการบริหารโดยใช้รูปแบบการบริหารงานโรงเรียนอย่างมีส่วนร่วม ตามหลักการ STEM – Par Model ซึ่งนำไปสู่การประชุมวางแผนการดำเนินงานและกำกับติดตามการดำเนินงานอย่างใกล้ชิด รวมไปถึง มีการดำเนินการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจ โดยมีการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะกลาง 3 ปี (2566 – 2568) มีการประชุมเพื่อวิเคราะห์ จุดอ่อน - จุดแข็ง ซึ่งในการประชุมเพื่อกำหนด เป้าหมายได้มีตัวแทนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษาเป็นผู้สะท้อนผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ประกอบด้วย ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนศิษย์เก่า ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์ ผู้แทนนักเรียน (อบน.วส.) โดยใช้ข้อมูลแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายและจุดเน้นการจัดการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2566 แผนยุทธศาสตร์สำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษากาญจนบุรี มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการวิเคราะห์นโยบายของรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดสรรงบประมาณมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดสรร งบประมาณและจัดทำแผนปฏิบัติการ โดยขออนุมัติแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณจากคณะกรรมการ สถานศึกษา และได้ดำเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการ ในแต่ละปีมีการกำกับ ติดตามและประเมินผล การดำเนินงานในแต่ละกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ (ผ.1 –ผ.9) เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา จากกระบวนการดังกล่าวทำให้โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรีมีโครงสร้างการบริหารงานมีแผนพัฒนาการ จัดการศึกษา แผนปฏิบัติการที่ครอบคลุมและทันสมัย มีระบบการบริหารที่ชัดเจน โดยใช้หลักการกระจายอำนาจ เพื่อลดขั้นตอนและเวลาในการปฏิบัติงาน มีหลักสูตรการศึกษาที่หลากหลาย ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน และชุมชน ครูผู้สอนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ โดยได้รับรางวัลต่าง ๆ อีกทั้ง สถานศึกษามีอาคารเรียน, ห้องเรียน,แหล่งเรียนรู้, เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพียงพอและเอื้อต่อการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมสะอาด ร่มรื่น สวยงาม และปลอดภัย และมีเครือข่ายชุมชนให้ความร่วมมือ ในการจัดการศึกษา นอกจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว ยังมีสมาคมศิษย์เก่า สมาคมผู้ปกครอง-ครู โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งมีความพร้อมในการให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาทุกกิจกรรม ส่งเสริม และร่วมมือร่วมใจในการพัฒนาสถานศึกษาทุกด้าน ส่วนด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ สถานศึกษามีครูครบชั้นและมีความรู้ความสามารถตรงกับวิชาที่สอน ผู้บริหารส่งเสริมสนับสนุนให้ครู เข้ารับการอบรม ศึกษาดูงาน เพื่อพัฒนาตนเองและนำความรู้มาพัฒนาผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งนิเทศ ติดตาม
ง ผลการปฏิบัติงานของครู ให้มีความรู้ ความสามารถในด้านเทคโนโลยี การปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วนในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลายโดยเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ โดยจัดการเรียนรู้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง เพิ่มเจตคติที่ดีในการศึกษาหาความรู้ของผู้เรียน และสามารถนำความรู้ มาบูรณาการได้อีกทั้งในสถานการณ์ปัจจุบันที่มีการส่งเสริมและพัฒนาด้านการใช้เทคโนโลยีสถานศึกษา ได้ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูผู้สอนเกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา โดยให้มีการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นการนำเทคโนโลยีและโปรแกรมต่าง ๆ เช่น โปรแกรม G-Suite (Google Classroom, Google Meet, Zoom, Line แ ล ะ Google form) โ ป ร แ ก ร ม Canva, YouTube, Power point, live worksheets เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อีกทั้งสถานศึกษาจัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการของสถานศึกษา โดยกำหนดหมวดหมู่ข้อมูลให้ถูกต้อง ครอบคลุม และพร้อมใช้ โดยจัดหาฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่มีประสิทธิภาพ ใช้งานได้ง่าย ถูกต้อง และมีความปลอดภัย รวมไปถึง มีการจัดทำและให้บริการข้อมูลสารสนเทศที่เป็นระบบแก่ผู้ต้องการใช้ทุกฝ่าย บุคลากรทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูล ได้สะดวก รวดเร็ว เป็นปัจจุบันและมีช่องทางให้บริการประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารสำหรับประชาชน ผู้เรียน และผู้ปกครองได้ที่เว็ปไซต์ของสถานศึกษา www.visut.ac.th, เว็ปไซต์ของกลุ่มงาน, แอพลิเคชัน (Application) Line และ Facebook ของโรงเรียนวิสุทธรังษีจังหวัดกาญจนบุรี จากการส่งเสริมและสนับสนุนดังกล่าว ส่งผลให้ ครูผู้สอนออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ ได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ด้วยการปฏิบัติจริง ด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เอาใจใส่ดูแลผู้เรียนทุกคนอย่างใกล้ชิด ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้แสดงความสามารถของแต่ละคนอย่างมีประสิทธิภาพและเต็มตามศักยภาพ ลงชื่อ (นายหงษ์ดี ศรีเสน) ผู้อำนวยการโรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี
ฉ คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นการสรุปผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่สะท้อน ผลการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานคุณภาพของผู้เรียน ซึ่งเกี่ยวกับเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน, มาตรฐานด้านกระบวนการ บริหารและการจัดการ, มาตรฐานด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และระบบ การประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล ผลการวิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และระบุแนวทางการพัฒนา สถานศึกษาในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาให้ต้นสังกัด และสาธารณชนได้รับทราบ งานประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนวิสุทธรังษีจังหวัดกาญจนบุรี
ช สารบัญ เรื่อง หน้า บทสรุปสำหรับผู้บริหาร........................................................................................................ ............. ก บันทึกการให้ความเห็นชอบรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา............................... จ คำนำ............................................................................................................................................. .... ฉ สารบัญ............................................................................................................................... ............... ช ส่วนที่ 1ข้อมูลพื้นฐาน…………………………………………………………………………………………….. 1 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา…………………………………………………… 28 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน…………………………………………………… 28 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ…………………………….. 47 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.. 59 สรุปผลการประเมินในภาพรวม................................................................. 68 ส่วนที่ 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนาและความต้องการการช่วยเหลือ……………………………. 70 ภาคผนวก...........................................................................................................................................
1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 1.1 ข้อมูลทั่วไป โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี รหัส 1071020463 ที่ตั้ง 32 แขวง/ตำบล ท่าล้อ เขต/อำเภอ ท่าม่วง จังหวัด กาญจนบุรี สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โทรศัพท์ 0-3451-1773 โทรสาร 0-3451-2879 e-mail : [email protected] website: www.visut.ac.th ได้รับอนุญาตจัดตั้ง เมื่อ พ.ศ. 2447 เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ถึงระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย 1.2 แนวทางการจัดการศึกษา ปรัชญาการศึกษา การศึกษาเพื่อพัฒนาชีวิตและสังคม วิสัยทัศน์ องค์กรแห่งการเรียนรู้ชั้นนำ เลิศล้ำวิชาการ ตามมาตรฐานสากล เปี่ยมล้นคุณธรรม นวัตกรรม ล้ำหน้า กีฬาเด่น มุ่งเน้นสุขภาวะทางสังคม ตามหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ 1. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การวัดและประเมินผล ที่เน้นสมรรถนะผู้เรียนให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ด้วยการบริหารจัดการคุณภาพ 2. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพหุปัญญาตามศักยภาพผู้เรียนและพัฒนาผู้ที่มีความสามารถพิเศษ สู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการ 3. ส่งเสริมผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ (3Rs8Cs) ที่จำเป็นของโลกในศตวรรษที่ 21 ทักษะ ด้านความรู้ (Hard Skills) และทักษะทางอารมณ์ (Soft Skills) 4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม กตัญญูกตเวที ค่านิยมที่พึงประสงค์มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคม 5. พัฒนาการใช้นวัตกรรมของผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมสถานศึกษา ให้เป็นต้นแบบนวัตกรรมการศึกษา 6. พัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษสู่ความเป็นเลิศด้านกีฬา 7. พัฒนาสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ 8. พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข
2 9. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม 4 ประการตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ประกอบด้วย มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงและมีคุณธรรม มีงานทำ มีอาชีพ เป็นพลเมืองดีและ ดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เอกลักษณ์ วิชาการเป็นเลิศ เชิดชูคุณธรรม อัตลักษณ์ ใฝ่เรียนรู้ เชิดชูสถาบัน ยึดมั่นความดี สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน สัญลักษณ์ รูปคันกระสุน ด้านล่างมีแถบครึ่งวงกลมจารึกชื่อโรงเรียน ความหมาย มุ่งตรงไปข้างหน้าสู่เป้าหมาย คติธรรม สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี คติพจน์ ความพร้อมเพรียงของหมู่คณะทำให้เกิดสุข คำขวัญ สามัคคี มีวินัย ตั้งใจเรียน เพียรทำดี สีประจำ ฟ้า-เหลือง อักษรย่อ ว.ส.
3 เกียรติยศโรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรีปีการศึกษา 2565 (ด้านผู้บริหาร/ครูและบุคลากร) ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านผู้บริหาร นายหงษ์ดี ศรีเสน -รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง ด้านบริหารจัด การศึกษาดีเด่น การประกวดแข่งขันนวัตกรรม การศึกษา “เปิดบ้านนวัตกรรมกาญจน์ 65” สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี นายหงษ์ดี ศรีเสน นางนงนุช เกษมจิต นางวิพาดา อินทวิชัย นางพัณณ์ชิตา แสงใส ว่าที่ร้อยตรีปิยะพงษ์ โสเสมอ - คุรุชน คนคุณธรรม เหรียญทองระดับยอดเยี่ยม ประเภทผู้บริหาร ประจำปีการศึกษา 2565 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี นางวิพาดา อินทวิชัย - ที่ปรึกษาผลงานนักเรียน ประเภทคลิปวิดีโอสั้น ชนะเลิศ ระดับจังหวัด โครงการอัจฉริยะยุวชน ประกันภัย ประจำปี 2565 สำนักงานคณะกรรมการกำกับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย (คปภ.) - รางวัล คนดีศรีกาญจน์ศึกษา ประจำปี2565 สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี นางพัณณ์ชิตา แสงใส - รางวัลนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ประเภทผู้บริหาร ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี ว่าที่ร้อยตรีปิยะพงษ์ โสเสมอ - รองผู้อำนวยการสถานศึกษาดีเด่น เนื่องในโอกาส วันครู ประจำปี 2566 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี
4 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านครู /บุคลากร นายสิริพงศ์แพทย์วงษ์ นายภูริต สงวนศักดิ์ - ครูผู้ควบคุมทีมนักเรียน ได้รับรางวัลชนะเลิศ การ แข่งขันนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ เทียบเท่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี นายทศพล สุวรรณพุฒ นางสาวกุลปริยา ศิริพันธุ์ - ครูผู้ควบคุมทีมนักเรียน ได้รับรางวัลชนะเลิศ (Final Pitching) การประกวดแนวคิดริเริ่มด้าน สิ่งแวดล้อม ภายใต้โครงการ Envi Mission ภารกิจ รักษ์สิ่งแวดล้อม ปีที่3 “Make It Balance: มั่นคง รอบด้าน อาหาร-น้ำ-พลังงาน” คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครูธนวรรณ อนุสนธิ ครูสิริพงศ์แพทย์วงษ์ - ครูผู้ควบคุมทีมนักเรียน ได้รับรางวัลชนะเลิศ การ แข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์ ครั้งที่ 9 กลุ่มเครือข่ายเพื่อ การพัฒนาห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ภาคกลางตอนล่าง และรางวัลระดับเหรียญทอง การแข่งขันฟิสิกส์ สัประยุทธ์ ระดับชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ครูผู้สอนนักเรียน ได้รับรางวัลเหรียญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติครั้งที่70 นางสุทธิชา สมุทวนิช - รองชนะเลิศอันดับที่1 การแข่งขันเวทคณิต ระดับชั้น ม.1-ม.3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นางคมคาย ปวุตตานนท์ นางสาวปรารถนา ดาวเจริญพร - รองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันการสร้างเกม สร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางนิตยา สังข์มา นางศรีวรรณ โชระเวก - รองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันยุวบรรณารักษ์ ส่งเสริมการอ่าน ระดับชั้น ม.4-ม.6 นายประภาส สาระศาลิน นายวีรพัฒน์ ไสยาวัน - อันดับ 4 การแข่งขันหุ่นยนต์ผสม ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางสาวนพวรรณ ส่งกลิ่น นางสาวชลธิชา รื่นเกษม - อันดับ 5 การแข่งขันพูดภาษาจีน ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสาวสุนิสา แซ่เอง - อันดับ 8 การแข่งขันคิดเลขเร็ว ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสุพรรษา เจริญบุตรานนท์ นางสาววรวลัญช์ ยิ้มใหญ่หลวง นางสาวเพ็ญพลอย ก้านเหลือง - อันดับ 8 การแข่งขันรำวงมาตรฐาน ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสุพรรษา เจริญบุตรานนท์ นางสาววรวลัญช์ ยิ้มใหญ่หลวง นางสาวเพ็ญพลอย ก้านเหลือง - อันดับ 8 การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
5 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านครู /บุคลากร นายนนทวรรธน์ เจริญบุตรานนท์ นางสาวสุพัตรา รอดภัย ครูผู้สอนนักเรียน ได้รับรางวัลเหรียญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติครั้งที่70 (ต่อ) นางสาวกฤตศิกาญจน์ อินมี - อันดับ 9 การแข่งขันวาดภาพระบายสี ระดับชั้น ม.1-ม.3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นางสาวโสภิญ ไชยแก้ว นางสาวสุธาสินี อ่างทอง - อันดับ 9 การแข่งขันหนังสือเล่มเล็ก ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางภิญญาพัชญ์ แบ่งเพชร นายปัณณทัต เย็นนะสา - อันดับ 11 การประกวดเพลงคุณธรรม ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางสาวศุภิสรารัตน์ บัวสวัสดิ์ นายวุฒิชัย บุญมา - อันดับ 11 การประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสาวรัตนพรรณ จันทร์ไผ่ นางสาวประภาพร ทองคำ - อันดับ 11 การประกวดแปรรูปอาหาร ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสาวธัญญารัตน์ โพธิ์ทอง นายสิริพงศ์ แพทย์วงษ์ - อันดับ 15 การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางศรีวรรณ โชระเวก นางนิตยา สังข์มา - อันดับ 16 การแข่งขันยุวบรรณารักษ์ส่งเสริม การอ่าน ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสาวกฤตศิกาญจน์ อินมี นายภัทราวุฒิ อะโน - อันดับ 18 การแข่งขันสร้างสรรค์ภาพด้วยการปะ ติด ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสาวมัทนิน เจริญพร นางสาวนันท์นรี ศรีสุขคำ - อันดับ 20 การแข่งขันละครสั้นภาษาญี่ปุ่น ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางสาวมัทนิน เจริญพร นางสาวพงศ์ฉวี พันธุ์เจริญ - อันดับ 20 การแข่งขันพูดเพื่ออาชีพภาษาญี่ปุ่น ระดับชั้น ม.4-ม.6 นายฆเนศจ์ นามสุวรรณ นายกฤษณ์ ยังดี - อันดับ 21 การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทซอฟต์แวร์ระดับชั้น ม.1-ม.3 นายวรกิตติ์ ลักษณุกิจ - อันดับ 26 การแข่งขันเดี่ยวฆ้องวงเล็ก ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสาวกรรณิการ์ ร่มเกตุ MissLiu Silin - อันดับ 29 การแข่งขันพูดภาษาจีน ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางสาวนริศรา อ่วมอ่อง นางนีรนุช จิตเจริญ - อันดับ 29 การแข่งขันหนังสือเล่มเล็ก ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางสาวพรประภัสสร์ ไมตรีเวช นางสาววารินทร์ วันทอง - อันดับ 30 การประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น ม.4-ม.6
6 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านครู /บุคลากร นางสาวอริญชยา ตะพังพินิจการ นางสาวอาภาภัทร รัตนโอภา - อันดับ 33 การแข่งขันต่อคำศัพท์ภาษาไทย (คำคมเดิม) ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสาวรัตนพรรณ จันทร์ไผ่ นางสาวประภาพร ทองคำ - อันดับ 36 การประกวดแปรรูปอาหาร ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางมธุรส ไก่แก้ว - ครูที่ปรึกษา รางวัลชนะเลิศการประกวดโครงการ ขับเคลื่อนกิจกรรมสร้างสรรค์ชุมชนตามเป้าหมาย การพัฒนาโลกที่ยั่งยืน (SDGs) ในทุกภูมิภาค ระดับ ภาค ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2565 คณะกรรมการผู้บำเพ็ญประโยชน์ ภาคกลาง นางสาวทัศนีย์ นิลผึ้ง นายชัยประสิทธิ์ ชิวปรีชา - ผู้มีความเสียสละ สนับสนุนกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนา - บุคคลที่มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีคุณธรรมและ จริยธรรม สำนักงานเจ้าคณะจังหวัด กาญจนบุรี นางสาวทัศนีย์ นิลผึ้ง นางสาวโสภิญ ไชยแก้ว นายชัยประสิทธิ์ ชิวปรีชา นางนิตยา สังข์มา นางสาวกิติพร พลศร - รางวัล เหรียญทองชนะเลิศ การขับเคลื่อนการ ดำเนินงานการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง ในการแข่งขันทักษะภาษาไทย โครงการ “สพม. กาญจน์สืบสาน รักษ์ภาษาไทย เนื่องในสัปดาห์วัน ภาษาไทยแห่งชาติ ปีพุทธศักราช 2565” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี นางสาวนริศรา อ่วมอ่อง นายอาทิตย์ สุวรรณสุข นายยุทธพิชัย บุตรน้ำเพ็ชร นางศรีวรรณ โชระเวก นางสาวปรียดา ฉิมเมือง นางสาวปาจรินทร์ หนูเจริญ นายณัฐนนท์ เดือนขึ้น นางนีรนุช จิตเจริญ นางสาวอริญชยา ตะพังพินิจการ นางสาวอาภาภัทร รัตนโอภา นางสาววริศรา ธงชัยเลิศ - รางวัล เหรียญทองชนะเลิศ การขับเคลื่อนการ ดำเนินงานการพัฒนาสมรรถนะการอ่านขั้นสูง ในการแข่งขันทักษะภาษาไทย โครงการ “สพม. กาญจน์สืบสาน รักษ์ภาษาไทย เนื่องในสัปดาห์ วันภาษาไทยแห่งชาติ ปีพุทธศักราช 2565” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี นายอาทิตย์ สุวรรณสุข - ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันรอบรู้วรรณคดี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โครงการ “สพม. กาญจน์สืบสาน รักษ์ภาษาไทย เนื่องในสัปดาห์วัน ภาษาไทยแห่งชาติ ปีพุทธศักราช 2565” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี
7 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านครู /บุคลากร นางสาวอาภาภัทร รัตนโอภา - ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัล เหรียญทองรอง ชนะเลิศอันดับ 3 การอ่านจับใจความสำคัญโดยใช้ เทคนิคบันได 6 ขั้น ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โครงการ “สพม.กาญจน์สืบสาน รักษ์ภาษาไทย เนื่องในสัปดาห์วันภาษาไทยแห่งชาติ ปีพุทธศักราช 2565” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี นางสาววิลาวรรณ เที่ยงธรรม - ครูผู้อุทิศตนเพื่อการสอน องค์กรสภาอนุรักษ์ศาสนาและ วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย นางปพิชญา ทมาภรณ์ นายสิริพงศ์ แพทย์วงษ์ นางสาวธนวรรณ อนุสนธิ นางสาวกุลปริยา ศิริพันธุ์ - รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ นวัตกรรมการนิเทศ การศึกษาดีเดน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี นางสาวทัศนีย์นิลผึ้ง นางนิตยา สังข์มา นางสาวโสภิญ ไชยแก้ว นางสาวกิติพร พลศร นางสาวปาจรินทร์หนูเจริญ นายชัยประสิทธิ์ชิวปรีชา นางสาวสุธาสินีอ่างทอง นายประเสริฐ วันเย็น นางคนึงนิตย์เนียมหอม นางสุดใจ พละศักดิ์ นางสาวพิมพ์ชนก ปทุมธนรักษ์ นางสาวสายชล เรียงสันเทียะ นางสาวอภิรดา ทั่นเส้ง นางสาววิลาวรรณ เที่ยงธรรม นางสาวสุมาลีเขตจันทึก นางอรสุชา ภัทรสิริวรกุล นางจีรภัทร พาภิรมย์ นายสุพัฒน์กนกพจนานนท์ นางสาวสุนิสา แซ่เอง นางสาวกิ่งกาญจน ทองใย นางสาวอัญธิกา ไข่ม่วง นางสาวภัททิรา ศุภมาศ - คุรุชน คนคุณธรรม เหรียญทองระดับยอดเยี่ยม ประเภทครูประจำปีการศึกษา 2565 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี
8 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านครู /บุคลากร นายเชาวลิต ชัยศักดิ์สกุล นายสุทัศน์ ไคลมี นางสาวเขมิกา เยียวยา นางสาวชวนพิศ ผ่องศิริ นางสาวกมลชนก ชาวเมืองกรุง นางสาวลักขณา แต่แดงเพชร นางสาวสาริวรรณ มิสกริม นางสาวสุรีรัตน์ กองนิมิตร นางกิ่งกาญจน์ อยู่เพ็ชร์ นางสาวจุฑามาส สามทอง นางสาวธัญญารัตน์ โพธิ์ทอง นางสาววันทนา พวงแก้ว นางปิยกาญจน์ แก้วล้อมทรัพย์ นางสาวแสงดาว สืบด้วง นางสาวพัชรี สรวยล้ำ นางอาริสา ทิแพง นายวีระพงษ์ ทิแพง นายรภัทกร สุขช่วย นางสาวศิริกมล ภาคภูมิ นายวิริยะ กิติกุล นายไกรสิภณณ์ พงษ์วิทยภานุ นางดาราณี ถือความสัตย์ นางสาวกัญญาณัฐ เขียวบ้านยาง นางสาวธนวรรณ อนุสนธิ นางสาวกุลปริยา ศิริพันธุ์ นายสิริพงศ์ แพทย์วงษ์ นายกฤษณ์ ยังดี นางปวีณา เกษมโสตร นางสาวเนาวรัตน์ จันทร์สวัสดิ์ นางคมคาย ปวุตตานนท์ นายวีรพัฒน์ ไสยาวัน ว่าที่ ร.ต.วรานุรักษ์ เหลืองสด นายรัฐวุฒิ ชินวงษ์เกตุ นายฆเนศจ์ นามสุวรรณ นางสาววัชรี ทรัพย์พุ่ม - คุรุชน คนคุณธรรม เหรียญทองระดับยอดเยี่ยม ประเภทครูประจำปีการศึกษา 2565 (ต่อ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี
9 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านครู /บุคลากร นางสาวปรารถนา ดาวเจริญพร นางสาวจิรัตติกาล ถิ่นกาญจน์วัฒนา นายประภาส สาระศาลิน นายอำนาจ ชื่นบาน นางสาวชุติมา จันทร์ประเสริฐ นางยุพดีทิพย์บำรุง นางสาวลาวัลย์น้อยอยู่ นางสาวพะนอ ทัดสวน นายธวัช พวงแก้ว นายปรีดา เเจ่มศรี นางอรปภา พิมพ์สุภานนท์ นางปพิชญา ทมาภรณ์ นายวรวิทย์ฤทธิ์เดช นางสาววารินทร์วันทอง นางสาวกาญจนา เอ็นทู้ นายวรวรรธน์ แสงมาลา นายธีรเสฏฐ์โพธิ์นิล นางภิญญาพัชญ์แบ่งเพชร นางสาวพรประภัสสร์ไมตรีเวช นายปัณณทัต เย็นนะสา นายวุฒิชัย บุญมา นายจำนงค์นรดี นายนิติธร ต้นโพธิ์ นางสาวศุภิสรารัตน์บัวสวัสดิ์ นายสิทธิชัย ชะบา นางสาวศุภสิริกลัดตลาด นายสมบูรณ์ สุรินทร์จันทร์ นายสราวุธ ขันแก้ว นายสมทรง วงศ์ระพี นายณัฐวุฒิ สุขศรีงาม นางสาวมีนา รักคล้ำ นายสุโชติ นิลเพ็ง นายธนวิชญ์ มีล้อม นายอนุชา หิรัญลำไย - คุรุชน คนคุณธรรม เหรียญทองระดับยอดเยี่ยม ประเภทครูประจำปีการศึกษา 2565 (ต่อ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี
10 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านครู /บุคลากร นายณฐปกรณ์ บุญบรรลุ นางสาวกมลชนก บุญมี นายสุริยันต์ อิ่มรัตน์ นายพรหมมาตร์ ศรีนิล นายสิทธิชัย บวบทอง นายประกฤษณ์ ทันกาศ นางสาวเพ็ญพลอย ก้านเหลือง นายสมนึก รุ่งรัตน์ นายภัทราวุฒิ อะโน นายนนทวรรธน์ เจริญบุตรานนท์ นางสุพรรษา เจริญบุตรานนท์ นางสาววรวลัญช์ ยิ้มใหญ่หลวง นางสาวจิราพร ศานติกาญจน์ นายอดิศร นิยมรัตน์ นางสาวกฤตศิกาญจน์ อินมี นายวรกิตติ์ ลักษณุกิจ นางสาวณัชชา ศรีเสน นางสาวพิชมญ ทองนอก นางสาวพรทิพย์ทองมาก นางกัญจนพร ภัคพาณิชย์ นางพรรณีเพ็งศาสตร์ นายนเรศ คนรำ นายรักษ์พล ฝอยทับทิม นางสาวรัตนพรรณ จันทร์ไผ่ นายรังสิมันต์รัตนากร นางสาวประภาพร ทองคำ ว่าที่ ร.ต.วิสุทธิ์เจียมธโนปจัย นางศศลักษณ์ วัฒนา นางบุษราภรณ์ กล่อมจิตต์ นางสาวภควรรณ ตันธนะชัย นางสาวรวิสรา เหล่าม่วง นางสาวสุชาดา หร่ายซี นางสาวกรรณิการ์ ร่มเกตุ นางสาวพงศ์ฉวี พันธุ์เจริญ นางสาวกฤตพร กลัวผิด - คุรุชน คนคุณธรรม เหรียญทองระดับยอดเยี่ยม ประเภทครูประจำปีการศึกษา 2565 (ต่อ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี
11 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านครู /บุคลากร นายจิระวิน แจ้งใจดี นางสาวชลธิชา รื่นเกษม นางสาวปทิตตา บุญวาสนาลิขิต นางสาวเพียงรฐา มาสว่าง นางสาวอริญชยา ตะพังพินิจการ นางสาววริศรา ธงชัยเลิศ นางสาวอัญธิกา ไข่ม่วง นางสาวภัททิรา ศุภมาส นางสาววันนิษา ปิ่นแก้ว นายสมศักดิ์ เหลืองมังกร นายวิริยะ กิติกุล นางสาวกัญญาณัฐ เขียวบ้านยาง นายอำนาจ ชื่นบาน นายธีรเสฏฐ์ โพธิ์นิล นางสาวศุภิสรารัตน์ บัวสวัสดิ์ นางภิญญาพัชญ์ แบ่งเพชร นางสาวนีนา รักคล้ำ นางสุพรรษา เจริญบุตรานนท์ นายอดิศร นิยมรัตน์ นางสาวรัตนพรรณ จันทร์ไผ่ นางสาวนัดดา ทำจะดี นางบุษราภรณ์ กล่อมจิตต์ นางสาวพรสวรรค์ ลิ้มสินโสภณ นางสาวพัชรี ศรีนิล - ครูดีเด่น เนื่องในโอกาสวันครู ประจำปี 2566 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี นางสาวศุภสิริ กลัดตลาด - ครูอัตราจ้างดีเด่น เนื่องในโอกาสวันครู ประจำปี 2566 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี นายนคร สำฤทธิ์ - ลูกจ้างประจำดีเด่น เนื่องในโอกาสวันครู ประจำปี 2566 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี นายรังสิมันต์ รัตนากร - รางวัล Active Learner เป็นผู้มุ่งมั่นในการเรียนรู้ เรียนคอร์สออนไลน์ Starfish Labz มากที่สุด ภายใต้โครงการ Starfish Future Labz สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรีและ Starfish Education นายวรวิทย์ ฤทธิ์เดช - รางวัลเหรียญเงิน เปิดบ้านนวัตกรรมกาญจน์ 65 ตามโครงการพัฒนาระบบการศึกษาโดยใช้รูปแบบ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด กาญจนบุรี
12 เกียรติยศโรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรีปีการศึกษา 2565 (ด้านผู้เรียน) ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านผู้เรียน นางสาวศิริอาภา พงศ์รัตนมงคล นายสุชาครีย์สระศรีสม - รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี นายนนนท์ศิลปาภิสันทน์ นายปานตะวัน พวงแก้ว นายปุณยวีร์ตันติปิธรรม - รางวัลชนะเลิศ (Final Pitching) การประกวด แนวคิดริเริ่มด้านสิ่งแวดล้อม ภายใต้โครงการ Envi Mission ภารกิจรักษ์สิ่งแวดล้อม ปีที่3 “Make It Balance: มั่นคงรอบด้าน อาหาร-น้ำ-พลังงาน” คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย นายสรชัช อุ่นอร่ามวัฒน์ นายฉันทพณธ์ เอี่ยมโชติชวลิต นายภรภัทร เสือดาว นายปวรุต ศรีเสริฐ นางสาวเขมจิรา ชูนำชัย -รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์ ครั้งที่ 9 กลุ่มเครือข่ายเพื่อการพัฒนาห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและ สิ่งแวดล้อม ภาคกลางตอนล่าง -รางวัลระดับเหรียญทอง การแข่งขันฟิสิกส์ สัประยุทธ์ ระดับชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นายชยพล พลายชุมพล - รางวัลเหรียญทองแดง การแข่งขันชีววิทยา โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 20 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ร่วมกับมูลนิธิสอวน. ค่ายเคมี นายจารุวิทย์ คำมูล นางสาวพลอยชมพู แกมไทย นายวิชญ์ ศรีวัฒนชัย นางสาวหทัยภัทร ชโลธร นายอาทินันท์ แก้วเกตุ ค่ายชีววิทยา นายชยพล พลายชุมพล เด็กชายรณกร อุตสาหะ นายศุภฤกษ์วศินนิติวงศ์ ค่ายฟิสิกส์ นายฉันทพณธ์ เอี่ยมโชติชวลิต - ผ่านการคัดเลือกเข้าค่ายอบรมโอลิมปิกวิชาการ สอวน. ค่าย 2 ประจำปีการศึกษา 2565 ศูนย์โอลิมปิกวิชาการ สอวน. มหาวิทยาลัยศิลปากร นายภัทรกร กองเพชร - ชนะเลิศการแข่งขัน THAILAND ESPORTS CHAMPIONSHIP 2022 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย และ กองทุนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ
13 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านผู้เรียน นางสาวภัทรนันท์ กลีบเมฆ นางสาวนวรัตน์ สร้อยสกุลณี นางสาวศุภสุตา สัตย์ซื่อ - นำเสนอผลงาน หรือนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็น เลิศ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในหัวข้อ “โครงการ ปันใจ ไออุ่น” คณะกรรมการผู้บำเพ็ญประโยชน์ ภาคกลาง รางวัลเหรียญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติครั้งที่70 เด็กหญิงกานต์ธีรา สระศรี - รองชนะเลิศอันดับที่1 การแข่งขันเวทคณิต ระดับชั้น ม.1-ม.3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นางสาวฐิติรัตน์ สุโอฬาร นายณรงค์พล นิยม - รองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันการสร้างเกม สร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางสาวกิรณา สระทองกลั่น นางสาวณิชชา ปิ่นประชานันท์ นางสาวเขมจิรา ชูนำชัย - รองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันยุวบรรณารักษ์ ส่งเสริมการอ่าน ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางสาวณัฎฐณิชา ธีระกุลพิศุทธิ์ นายภูริณัฐ สอนเพีย นายรณกร โชคบุญประสงค์ นายสิรวิชญ์ เชี่ยวชาญ - อันดับ 4 การแข่งขันหุ่นยนต์ผสม ระดับชั้น ม.4 - ม.6 เด็กหญิงอาภัสรา ศรีราคำ เด็กหญิงเขมรัตน์ ปิ่นสยาม - อันดับ 5 การแข่งขันพูดภาษาจีน ระดับชั้น ม.1-ม. 3 เด็กชายเตชินท์ ตั้งสากล - อันดับ 8 การแข่งขันคิดเลขเร็ว ระดับชั้น ม.1-ม.3 เด็กชายณภัทร พรมโสภา เด็กหญิงณัฎฐณิชา แต่งสง่า เด็กหญิงดรัญพร โตทองสุข เด็กชายติณณภพ ทองนิ่ม เด็กหญิงพรณัชชา ประภากมล นายพีรพัฒน์ อุตสาหะ เด็กชายภูติวัฒน์ วันดี เด็กหญิงภูษิตา ทับทิมศรี เด็กหญิงรินรดา พุกรอด เด็กชายวันนิสาข์ คีรีวรรณ์ - อันดับ 8 การแข่งขันรำวงมาตรฐาน ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสาวกชกร ก้านเหลือง นายกิตติทัต จันทะพินิจ นางสาวฐิติภัทร์ ไชยศรี นางสาวนุธิตภรณ์ จงไพบูลย์ นายประกาศิต จำนงค์พันธ์ นางสาวพุทธิชา มฤคลักษณ์ นางสาวภัทรมน ขุนเที่ยงธรรม - อันดับ 8 การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
14 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านผู้เรียน รางวัลเหรียญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติครั้งที่70 (ต่อ) นางสาววราภรณ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา นางสาวสิดารัศมิ์ ภวะวิจารณ์ นางสาวสิริกร รอดด้วง นางสาวสุธามาศ ไทยล้วน นางสาวสุธาสินี ซิมทรัพย์ เด็กหญิงครีตภัทร์ พรมสอน - อันดับ 9 การแข่งขันวาดภาพระบายสีระดับชั้น ม.1-ม.3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เด็กหญิงณภัทรารัตน์ ง่วนกิม เด็กหญิงบุญรักษา จรัสตระกูล เด็กหญิงสุชญา ใจเย็น - อันดับ 9 การแข่งขันหนังสือเล่มเล็ก ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสาวธนาภา แป้นทอง นางสาวธนิดา ธรรมวิเศษ นางสาวนิชาภา จงศิริไพโรจน์ นางสาวพิมพ์พิกา ล้อเธียรประทาน นางสาวสิตางศุ์ ฟักทอง - อันดับ 11 การประกวดเพลงคุณธรรม ระดับชั้น ม.4-ม.6 เด็กหญิงธนพร เมฆประยูร เด็กชายธาวิน สุขเกษม - อันดับ 11 การประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น ม.1-ม.3 เด็กหญิงรุจิรดา รุจิเจริญวงศ์ เด็กหญิงอภิชญา จงอุดมสมบัติ เด็กหญิงเมธปรียา จุมพรม - อันดับ 11 การประกวดแปรรูปอาหาร ระดับชั้น ม.1-ม.3 นายฐิติวุฒน์ ครุฑชื่น นายอภิวิชญ์ ตันติวงศ์ นายอัครวินท์ ชุมจินดา - อันดับ 15 การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ระดับชั้น ม.4-ม.6 เด็กหญิงทิพย์นันทา ขำเที่ยง เด็กหญิงรัตน์ชรินทร์ ขาวล้วน เด็กหญิงวรันธร พุ่มเกษม - อันดับ 16 การแข่งขันยุวบรรณารักษ์ส่งเสริม การอ่าน ระดับชั้น ม.1-ม.3 เด็กหญิงวิลาสินี ละว้า เด็กหญิงอภิชญา ดวงจันทร์ - อันดับ 18 การแข่งขันสร้างสรรค์ภาพด้วยการปะ ติด ระดับชั้น ม.1-ม.3 นางสาวกวิสรา ศรีสมบูรณ์ นางสาวชินณิชา โตไร่ นางสาวณัฐวดี พุ่มพวง นายนครินทร์ ฉิมมาอุต นางสาวลักษิณา แตงคำ - อันดับ 20 การแข่งขันละครสั้นภาษาญี่ปุ่น ระดับชั้นม.4-ม.6
15 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านผู้เรียน รางวัลเหรียญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติครั้งที่70 (ต่อ) นางสาวกาญจนา ประชุมวงศ์ นางสาวณัฐสุรางค์ หอมนาน - อันดับ 20 การแข่งขันพูดเพื่ออาชีพภาษาญี่ปุ่น ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางสาวกาญจนา ประชุมวงศ์ นางสาวณัฐสุรางค์ หอมนาน เด็กหญิงณภัทร สร้อยสมุทร นายภูภณ ศุภเทียน เด็กหญิงเปมิกา ประเสริฐ - อันดับ 21 การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทซอฟต์แวร์ระดับชั้น ม.1-ม.3 เด็กหญิงณภัทร สร้อยสมุทร นายภูภณ ศุภเทียน เด็กหญิงเปมิกา ประเสริฐ เด็กชายรัฐภูมิ ศรีทับทิม - อันดับ 26 การแข่งขันเดี่ยวฆ้องวงเล็ก ระดับชั้น ม.1-ม.3 เด็กชายรัฐภูมิ ศรีทับทิม นางสาวศิรกาญจน์ ทองปลอด นางสาวอชิรญา แฝงพุต - อันดับ 29 การแข่งขันพูดภาษาจีน ระดับชั้น ม.4-ม.6 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นางสาวกัญญารัตน์ ตันติวัฒนสิทธิ์ นางสาวณฤดี นนทบุตร นางสาวภวิษย์พร พลายชัยศรี - อันดับ 29 การแข่งขันหนังสือเล่มเล็ก ระดับชั้น ม.4-ม.6 นายอาภาสาฬห์ สมทัศนกุล นางสาวเขมิกา ขันวิชัย - อันดับ 30 การประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น ม.4-ม.6 เด็กหญิงณัชชา จงใจภักดี เด็กหญิงมุกตาภา แซ่ตัน - อันดับ 33 การแข่งขันต่อคำศัพท์ภาษาไทย (คำคมเดิม) ระดับชั้น ม.1-ม.3 นายฉายชนม์ แย้มยินดี นางสาวนัทธมน เสาหงษ์ นายภานุพร งามสม - อันดับ 36 การประกวดแปรรูปอาหาร ระดับชั้น ม.4-ม.6 นางสาวภัทรนันท์ กลีบเมฆ นางสาวนวรัตน์ สร้อยสกุลณี นางสาวศุภสุตา สัตย์ซื่อ - รางวัลชนะเลิศการประกวดโครงการขับเคลื่อน กิจกรรมสร้างสรรค์ชุมชนตามเป้าหมายการพัฒนา โลกที่ยั่งยืน (SDGs) ในทุกภูมิภาค ระดับภาค ครั้งที่ 1 ปีการศึกษา 2565 คณะกรรมการผู้บำเพ็ญประโยชน์ ภาคกลาง การแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติครั้งที่38 นครสวรรค์เกมส์ นายธีรเมธ เสือส่าน - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 Inline speed skate 500 m รุ่นอายุ 13 ปีขึ้นไปชาย การกีฬาแห่งประเทศไทย เด็กชายชนพัฒน์ชัมพาลี - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เหรียญทองแดง คาราเต้โด ประเภทต่อสู้ทีมชายรุ่นอายุ12-14 ปี เด็กหญิงพิชญา ศรีกิจวิไลกุล - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เหรียญทองแดง คาราเต้โด ประเภทต่อสู้บุคคลหญิง รุ่นอายุ11-13 ปีน้ำหนักไม่เกิน 43 กก.
16 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านผู้เรียน นายกนกพล ศิลลา - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 คาราเต้โด ประเภท ต่อสู้บุคคลชาย รุ่นอายุ 16-18 ปีน้ำหนักไม่เกิน 55 กก. นางสาววิสุทธินีย์ เรือนคงเดช - เหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันรอบ รู้วรรณคดี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โครงการ “สพม.กาญจน์สืบสาน รักษ์ภาษาไทย เนื่องใน สัปดาห์วันภาษาไทยแห่งชาติ ปีพุทธศักราช 2565” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี เด็กหญิงพัทธนันท์ ไทยอาภรณ์ - เหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 3 การอ่านจับ ใจความสำคัญโดยใช้เทคนิคบันได 6 ขั้น ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น โครงการ “สพม.กาญจน์สืบ สาน รักษ์ภาษาไทย เนื่องในสัปดาห์วันภาษาไทย แห่งชาติปีพุทธศักราช 2565” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี เด็กหญิงอภิชญา ดวงจันทร์ - สอบได้คะแนนรวมสูงสุด อันดับที่1 ของภาคกลาง โครงการทดสอบและพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ ภาษาไทย TOP TEST CENTER เด็กหญิงพิชญ์นรี ศรีวลีรัตน์ - สอบได้คะแนนรวมสูงสุด อันดับที่ 1 ของจังหวัด โครงการทดสอบและพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ ภาษาไทย TOP TEST CENTER เด็กหญิงลักษมีกานต์ ภักดีกุล - ได้คะแนนสอบเป็นลำดับที่ 1 ของจังหวัดกาญจนบุรี ในโครงการทดสอบและพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ วิชาภาษาไทย TOP TEST CENTER เด็กหญิงพัชราพร เขียวลี - ได้คะแนนสอบเป็นลำดับที่ 1 ของจังหวัดกาญจนบุรี ในโครงการทดสอบและพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ วิชาภาษาไทย TOP TEST CENTER นายอาภาสาฬห์ สมทัศนกุล - ได้คะแนนสอบเป็นลำดับที่ 1 ของจังหวัดกาญจนบุรี ในโครงการทดสอบและพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ วิชาภาษาไทย TOP TEST CENTER นางสาวปวริศา อุดมสินค้า - รางวัลชมเชย การประกวดพูดสุนทรพจน์ หัวข้อ “สันติภาพโลกในมุมมองของเยาวชนคนรุ่นใหม่” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
17 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านผู้เรียน นางสาวหทัยภัทร บุญชัย นายกิตติทัต จันทะพินิจ นายธนภัทร เรือนนุช นายธีรภัทร เงินประเสริฐ นายปฐวีย์มิชา พุทธกัลยา นายภัทรชญาฎา รอดด้วง นายภาคภูมิแม้นทิม นางสาวณัฏฐ์วรินทร์ สรวญรัมย์ - รางวัลชนะเลิศระดับจังหวัด การประกวดคลิป วีดีโอสั้นในโครงการอัจฉริยะยุวชนประกันภัย ประจำปี 2565 สำนักงานคณะกรรมการกำกับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย เด็กชายเตชินท์ ตั้งสากล - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันคิดเลขเร็ว ประเภทเดี่ยว ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โครงการปิ่นมาลาวิชาการ ครั้งที่ 5 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร เด็กชายรณกร อุตสาหะ เด็กหญิงพิชญ์นรี ศรีวลีรัตน์ - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันตอบ ปัญหาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 14 ประจำปี 2565 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นายฐิตา ทิพยะวัฒน์ นายภูวเรศ นนทสุต - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันตอบ ปัญหาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ครั้งที่ 14 ประจำปี 2565 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน เด็กชายธัญพิสิษฐ์ชาติไธสง เด็กหญิงพิชญ์นรีศรีวลีรัตน์ เด็กชายรณกร อุตสาหะ เด็กชายกิจกร สมิตัย เด็กหญิงกานต์ธีรา สระศรี เด็กหญิงฉันฑ์พิชญา ตัณทวิวัฒน์ เด็กชายภูริช ศรีวลีรัตน์ - รางวัลชมเชย โครงการประเมินและพัฒนาสู่ความ เป็นเลิศทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) ประจำปี 2565 ศูนยภูมิภาควาดวยสะเต็มศึกษา ขององคการรัฐมนตรีศึกษา แหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (ศูนย์SEAMEO STEM-ED) รวมมือกับ มูลนิธิทีเด็ดเพื่อ การศึกษา นางสาวณฐนนท ตั้งบุญเกษม นางสาวชญนุตม์ พึ่งไทย นางสาวเปมิกา บัวทอง - รางวัลเหรียญเงิน ผลการนำเสนอโครงงาน ประเภท โปสเตอร์ ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ สิ่งแวดล้อม กลุ่มเครือข่ายภาค กลางตอนล่าง นายอัครวินท์ ชุมจินดา นายชยพล พลายชุมพล - รางวัลชมเชยการแข่งขันตอบปัญหาความรู้ทั่วไป ทางวิทยาศาสตร์ (ภาษาอังกฤษ) คณะวิทยาศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง นางสาวกวิสรา ศรีสมบูรณ์ นางสาวณัฐสุรางค์ หอมนาน นางสาวธีราพร นำนาผล - รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ การประกวดคลิป วิดีโอเล่านิทาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย การ แข่งขันทักษะทางวิชาการภาษาญี่ปุ่น ประจำปี การศึกษา 2565 ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียน การสอนภาษาญี่ปุ่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี
18 ประเภท เกียรติประวัติ/รางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านผู้เรียน นายพงศ์ปณต ภาคภูมิ - รางวัลเหรียญทอง การประกวดคลิปวิดีโออ่านออก เสียงภาษาญี่ปุ่น ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย การแข่งขันทักษะทางวิชาการภาษาญี่ปุ่น ประจำปี การศึกษา 2565 ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการ สอนภาษาญี่ปุ่น สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กาญจนบุรี นางสาวสิริภัศราห์ อริยมรรคปัญญา นางสาวกาญจนา ประชุมวงศ์ - รางวัลเหรียญทอง การประกวดคลิปวิดีโอเล่าข่าว ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย การแข่งขันทักษะ ทางวิชาการภาษาญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2565 ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการ สอนภาษาญี่ปุ่น สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กาญจนบุรี นางสาวกิจกาญจน์ กอสุข - รางวัลเหรียญทอง การประกวดคลิปวิดีโอร้อง เพลงสากลภาษาญี่ปุ่น ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย การแข่งขันทักษะทางวิชาการภาษาญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2565 ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการ สอนภาษาญี่ปุ่น สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กาญจนบุรี นางสาวปรินทิพย์ ดาบแก้ว นางสาวชนิดาภา มักเจียว - รางวัลระดับเหรียญทอง การแข่งขันคลิปวิดีโอ เล่านิทานภาษาเมียนมา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2565 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นายพฤฒินันท์ นาเวช นางสาวสุภัททรา สำราญวงษ์ - รางวัลระดับเหรียญเงิน การแข่งขันคลิปวีดีโอ เล่าข่าวภาษาเมียนมา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2565 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นางสาวศศิธร หงส์เวียงจันทร์ - รางวัลชมเชย การประกวดแข่งขันคลิปวิดีโอทักษะ ภาษาต่างประเทศที่สอง(ภาษาเมียนมา) ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการ สอนภาษาต่างประเทศที่สอง โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ จังหวัดกาญจนบุรี
19 1.2 ข้อมูลบุคลากร จำนวนบุคลากรจำแนกตามตำแหน่ง /อันดับ (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2566 ) ประเภทบุคลากร เพศ (คน) รวม ตำแหน่ง / อันดับ (คน) รวม ชาย หญิง ครูผู้ช่วย คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4 ผู้อำนวยการ 1 - 1 - - - - 1 1 รองผู้อำนวยการ 1 3 4 - - 3 1 - 4 ครูประจำการ 66 121 187 4 82 37 64 - 187 รวม 68 124 192 4 82 40 65 1 192 ร้อยละ 35.42 64.58 100.00 2.08 42.71 20.83 33.85 0.52 100.00 ครูผชู้ว่ย, 4, 2% คศ.1, 82, 43% คศ.2, 40, 21% คศ.3, 65, 34% คศ.4, 1, 0% แผนภูมิแสดงจ านวนบุคลากรจ าแนกตามต าแหน่ง /อันดับ
20 1.3 ข้อมูลนักเรียน 1) จำนวนนักเรียนจำแนกตามระดับชั้นเรียน เพศ (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2565) จำนวนนักเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้น เพศ รวม(คน) ชาย หญิง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 357 340 697 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 331 286 617 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 379 293 672 รวม 1,067 919 1,986 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 365 351 716 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 329 322 651 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 438 227 665 รวม 1,132 900 2,032 รวมทั้งสิ้น 2,199 1,819 4,018 357 331 379 365 329 438 340 286 293 351 322 227 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 แผนภูมิแสดงจ านวนนักเรียนชาย และหญิงในแต่ละระดับชั้น ภาคเรียนที่ 1 / 2565 ชาย หญิง
21 จำนวนนักเรียนจำแนกตามระดับชั้นเรียน เพศ (ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565) จำนวนนักเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้น เพศ รวม(คน) ชาย หญิง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 357 340 697 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 332 286 618 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 382 291 673 รวมมัธยมศึกษาตอนต้น 1,071 917 1,988 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 368 352 720 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 330 323 653 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 453 226 679 รวมมัธยมศึกษาตอนปลาย 1,151 901 2,052 รวมทั้งสิ้น 2,222 1,818 4,040 357 332 382 368 330 453 340 286 291 352 323 226 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 แผนภูมิแสดงจ านวนนักเรียนชาย และหญิงในแต่ละระดับชั้น ภาคเรียนที่ 2 / 2565 ชาย หญิง
22 2) จำนวนนักเรียนในแต่ละระดับชั้นเรียนที่ผ่าน/ไม่ผ่าน การประเมินความสามารถด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะตามหลักสูตร ตามเกณฑ์ ที่สถานศึกษากำหนด สรุปผลการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ของนักเรียน ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้น ร้อยละ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 0 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 100.00 0.00 0.00 0.00 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 96.01 0.00 0.00 3.99 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 97.72 0.00 0.00 2.28 มัธยมศึกษาตอนต้น 97.91 0.00 0.00 2.09 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 95.34 3.76 0.00 0.90 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 98.54 0.23 0.00 1.23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 98.60 0.00 0.00 1.40 มัธยมศึกษาตอนปลาย 97.49 1.33 0.00 1.18 เฉลี่ย 97.70 0.67 0.00 1.64 0 20 40 60 80 100 120 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ร้อยละ ระดับชั้น แผนภูมิแสดงผลการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน ของนักเรียน ปีการศึกษา 2565 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 0
23 สรุปคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้น ร้อยละ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 0 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 100.00 0.00 0.00 0.00 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 97.56 0.00 0.00 2.44 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 97.42 0.00 0.00 2.58 มัธยมศึกษาตอนต้น 98.33 0.00 0.00 1.67 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 98.89 0.00 0.00 1.11 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 99.07 0.23 0.00 0.69 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 98.76 0.00 0.00 1.24 มัธยมศึกษาตอนปลาย 98.91 0.08 0.00 1.01 เฉลี่ย 98.62 0.04 0.00 1.34 0 20 40 60 80 100 120 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ร้อยละ ระดับชั้น แผนภูมิแสดงผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ปีการศึกษา 2565 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 0
24 1.4 ข้อมูลอาคารสถานที่ (ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565) ข้อมูลอาคารสถานที่ ประกอบด้วย จำนวนอาคาร จำนวนห้องประกอบ อาคารเรียน จำนวน 8 หลัง ประกอบด้วย - อาคารเรียน 1 จำนวน 1 หลัง - อาคารเรียน 2 จำนวน 1 หลัง - อาคารเรียน 3 จำนวน 1 หลัง - อาคารเรียน 4 จำนวน 1 หลัง - อาคารเรียน 5 จำนวน 1 หลัง - อาคารเรียน 6 จำนวน 1 หลัง - อาคารเรียน 7 จำนวน 1 หลัง - อาคารเรียน 100 ปี จำนวน 1 หลัง อาคารประกอบ ประกอบด้วย - โรงฝึกงาน จำนวน 5 หลัง - ศูนย์กีฬา จำนวน 1 หลัง - หอประชุม จำนวน 2 หลัง - ห้องน้ำ นักเรียน จำนวน 79 ห้อง - โรงอาหาร จำนวน 2 หลัง - สนามฟุตบอล จำนวน 1 สนาม - สนามบาสเกตบอล จำนวน 2 สนาม ห้องปฏิบัติการ / ห้องเรียน ประกอบด้วย - ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ห้อง - ห้องพยาบาล จำนวน 1 ห้อง - ห้องโสตทัศนศึกษา จำนวน 1 ห้อง - ห้องแนะแนว จำนวน 1 ห้อง - ห้องจริยธรรม จำนวน 1 ห้อง - ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จำนวน 6 ห้อง - ห้องศูนย์ปฏิบัติการสร้างต้นแบบนวัตกรรม (Fab Lab) จำนวน 1 ห้อง
25 1.5 สภาพชุมชนโดยรวม 1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน มีลักษณะเป็นบ้านและอาคารพาณิชย์ มีประชากรประมาณ 10,000 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ สถานที่ราชการ ร้านค้า และบ้านพัก อาชีพหลักของชุมชน คือ ค้าขาย ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/วัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ หมู่บ้านวัฒนธรรม เก่าแก่ ได้แก่ หมู่บ้านหนองขาว และ ประเพณีรำเหย่ย 2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อาชีพหลักคือค้าขาย ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ / รายได้เฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี 500,000 บาท จำนวนคนเฉลี่ยต่อ ครอบครัว 5 คน 3) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี ตั้งอยู่ใกล้ส่วน ราชการ สำนักงานธุรกิจชุมชน จึงมีแหล่งเรียนรู้หลากหลายทั้งภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน เช่น โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์ ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาอังกฤษ และ ศูนย์ERIC มี ทั้งห้องสมุดที่ทันสมัย มีอาคารศูนย์กีฬาและสนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐาน ซึ่งใช้แข่งขันในระดับจังหวัด และ ระดับ ภาค นอกจากนี้ยังอยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เช่น - วัดไชยชุมพลชนะสงคราม เป็นวัดที่มีชื่อเสียงได้เก็บรวบรวมและสร้างเป็นพิพิธภัณฑ์ อักษะสงคราม เป็นเรื่องราวสงครามโลกครั้งที่ 2 - สะพานข้ามแม่แคว ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 - ชีวประวัติของนายบุญผ่อง สิริเวชพันธ์ - วัดเทวสังฆาราม (วัดเหนือ) ซึ่งเป็นวัดที่สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19 ผนวช - พิพิธภัณฑ์แสดงชีวประวัติของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหา สังฆปรินายก ณ บริเวณในพื้นที่วัดถาวรวราราม โรงเรียนได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากผู้นำชุมชน ได้แก่ สถานีตำรวจภูธรท่าม่วง ส่งตำรวจจราจร มาดูแลนักเรียนข้ามถนนในช่วงเช้าวันจันทร์-วันศุกร์ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าล้อและ สำนักงานเทศบาลเมือง กาญจนบุรี ให้การสนับสนุนเครื่องมือ เครื่องจักรในการตัดแต่งกิ่งไม้ ต้นไม้ เพื่อให้มีความร่วมรื่น สวยงาม เป็นต้น
26 1.6 แหล่งเรียนรู้ ปีการศึกษา 2565 1.6.1) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565) แหล่งเรียนรู้ จำนวน นักเรียน คิดเป็น ร้อยละ แหล่งเรียนรู้ จำนวน นักเรียน คิดเป็น ร้อยละ ห้องสมุดโรงเรียน 4,040 100 ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มสาระฯศิลปะ 4,040 100 ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มสาระฯภาษาไทย 4,040 100 โรงฝึกงานอุตสาหกรรม 4,040 100 ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์ 4,040 100 ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มสาระฯ ภาษาต่างประเทศ 4,040 100 ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี(ห้องปฏิบัติการ) 4,040 100 ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 4,040 100 ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มสาระฯ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4,040 100 ห้องศูนย์ปฏิบัติการสร้างต้นแบบ นวัตกรรม (Fab Lab) 498 12.33 ศูนย์การเรียนรู้กลุ่มสาระฯสุขศึกษาและ พละศึกษา 4,040 100 ห้องแนะแนว 1,352 33.47 1.6.2) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ลำดับ ว/ด/ป แหล่งเรียนรู้ จำนวน นักเรียน คิดเป็น ร้อยละ ภาคเรียนที่ 1 1 1 – 2 ก.ค.65 ฐานกิจกรรมชีววิทยา วิศวกรรม และ ธรณีวิทยา ณ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี(ม.4) 111 2.76 2 7 - 9 ส.ค. 65 เทคนิคปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี(ม.5) 56 1.39 3 26-28 ส.ค.65 ค่ายวิชาการนักเรียน IP ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา เกาะและทะเลไทย ต.แสมสาร อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี(ม.5/3 และ 6/3) 57 1.42 4 31 ส.ค.-2 ก.ย. 65 ค่ายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม อุทยานวิทยาศาสตร์ พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จ.ประจวบคีรีขันธ์(ม.2) 108 2.69 5 3 - 5 ก.ย. 65 ฐานกิจกรรมเคมี โลกดาราศาสตร์ และชีววิทยา ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ กาญจนบุรี(ม.4) 109 2.71 6 8-10 ก.ย 65 ค่ายนิติวิทยาศาสตร์ ณ โรงแรมจันทิมาบูติก อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี(ม.6) 80 1.99 7 7 – 9 ต.ค. 65 ฐานกิจกรรมเคมี โลกดาราศาสตร์และชีววิทยา ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ กาญจนบุรี(ม.4) 108 2.69 8 7 - 9 ต.ค. 65 เทคนิคปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี(ม.4) 98 2.44 9 ส.ค. - ก.ย. 65 -กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ณ อุทยานวีรชน ค่ายบางระจัน จ.สิงห์บุรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 4,018 100
27 ลำดับ ว/ด/ป แหล่งเรียนรู้ จำนวน นักเรียน คิดเป็น ร้อยละ -กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ณ สวนสนุกดรีมเวิลด์ (Dream World) อ.ธัญบุรีจ.ปทุมธานีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 10 พ.ย.-ม.ค.66 -กิจกรรมค่ายลูกเสือ เนตรนารี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ณ ค่ายสิทธิ ศึกษา อ.ด่านมะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี -กิจกรรมค่ายผู้บำเพ็ญประโยชน์ ระดับชั้น ม.4 และ 5 ณ ค่ายสิทธิศึกษา อ.ด่านมะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี -กิจกรรมค่ายผู้บำเพ็ญประโยชน์ ระดับชั้น ม.6 ณ ค่ายสมพล โตรักษา อ.ไทรโยค จ.กาญจนบรี -กิจกรรมค่ายลูกเสือวิสามัญ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ณ ค่ายทุ่งเก้าทัพ แคมป์ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี -กิจกรรมรักษาดินแดน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ณ ค่ายฝึกเขาชนไก่ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 4,040 100 11 5 ม.ค. 66 กิจกรรม "วันนักประดิษฐ์" ประจำปี2566 ณ ศูนย์นิทรรศการไบเทค บางนา กรุงเทพฯ (ม.2) 200 4.95 12 29-31 ม.ค. 66 ค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลและการอนุรักษ์ ณ ศูนย์อนุรักษ์ทางทะเล ต.แสมสาร จ.ชลบุรี (ม.6/1 และ 6/2) 53 1.31 13 7-9 ก.พ.66 ค่าย English Camp ณ นานารีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี (ม.1-6) 143 3.54 14 10-12 ก.พ.66 ค่ายวิทยาศาสตร์ณ ศูนย์อนุรักษ์ป่าชายเลนคลองโคลน จังหวัด สมุทรสงคราม (ม.4/1 และ 4/2) 60 1.49 15 11 ก.พ. 66 ศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมภายในจังหวัดกาญจนบุรีภาษาจีนและ ภาษาอังกฤษ (ม.2 และ ม.5) 70 1.73 16 20-21 มี.ค. 66 ค่ายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ณ ศูนย์อนุรักษ์ป่าชายเลนคลองโคลน จังหวัด สมุทรสงคราม (ม.2/13 - 2/15) 105 2.60 17 21-22 มี.ค. 66 ค่ายศักยภาพ ณ โยโกะ ริเวอร์แคว รีสอร์ท อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี (ม.1) 150 3.71 18 23-24 มี.ค. 66 ค่ายศักยภาพ ณ โยโกะ ริเวอร์แคว รีสอร์ท อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี (ม.5) 132 3.27 19 23-24 มี.ค. 66 กิจกรรมค่ายพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน ณ ศูนย์การเรียนรู้ พลังงานทดแทนเพื่อการศึกษาวังดุมเมาท์เทนแคมป์จ.กาญจนบุรี (ม.1/1-1/3) 106 2.62 20 3-5 เม.ย.66 ค่ายวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ณ โครงการแหลมผักเบี้ย จ.เพชรบุรี (ม.5/1 และ 5/2) 55 1.36
28 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ประเด็นหลักที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1. ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 2. กระบวนการพัฒนา จากวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา ความว่า “โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี เป็นสถานศึกษาชั้นนำ เลิศล้ำวิชาการ ตามมาตรฐานสากล เปี่ยมล้นคุณธรรม นำด้านกีฬา มีจิตอาสาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สู่ศตวรรษที่ 21” ทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องเกิดความตระหนักเห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียนในทักษะพื้นฐานต่าง ๆ เช่น การคำนวณ การอ่าน การเขียน อันเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการเรียนรู้ ในอนาคต ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 โดยหวังให้ผู้เรียนสามารถเติบโตได้ ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดอย่างรวดเร็วและตลอดเวลา จึงดำเนินการพัฒนาความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ โดยมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย และจัดให้มีโครงการ ส่งเสริมความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ โดยครูจัดการเรียนรู้ ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและสมรรถนะ ของผู้เรียนตามทักษะในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) และหลักสูตรมาตรฐานสากล มีการใช้สื่อเทคโนโลยีที่หลากหลายในการ จัดการเรียนรู้ จัดแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน มีการจัดการเรียนการสอนที่มีกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด รวมถึงมีการวัดและประเมินผล ของรายวิชาต่าง ๆ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบ การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนตลอดจนการประเมินสมรรถนะของผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ ทั้งรูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิด แก้ปัญหา แบบโครงงาน การเข้าค่าย การบูรณาการในการเรียนรู้ และมีการพัฒนาความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ผ่านการจัดทำโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ เช่น มุ่งเน้นพัฒนาความสามารถ ด้านการอ่าน ด้วยกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านภาษาอังกฤษ ภาษาพม่า ภาษาญี่ปุ่นกิจกรรมภาษาจีนวันละคำ มุ่งเน้นพัฒนาความสามารถด้านการอ่านและการเขียน การสื่อสาร ด้วยกิจกรรมบันทึกการอ่านเสริมความคิด มุ่งเน้นพัฒนาความสามารถด้านคิดคำนวณด้วยกิจกรรมการประเมินความสามารถผู้เรียนด้านการคิดคำนวณ
29 ส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา จัดเตรียมความพร้อมในการจัดหาบุคคลากร และสถานที่ อุปกรณ์ที่เหมาะสมและเพียงพอต่อการเรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรมปรับปรุงซ่อมแซมห้องปฏิบัติการ กิจกรรม ส่งเสริมการผลิตสื่อการเรียนรู้ เป็นต้น ในด้านการส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ มีการกำหนดให้ครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระฯ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน รู้จักคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ ส่งเสริมการทำงานเป็นกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนได้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาร่วมกัน โดยนำส่งกลุ่มบริหารวิชาการก่อนนำไปใช้จัดการเรียนรู้ จากการกำหนดของกลุ่มบริหารงาน วิชาการพบว่า ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ รวม 271 เล่ม โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 23 เล่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 25 เล่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์31 เล่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์71 เล่ม กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 80 เล่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 24 เล่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ 21 เล่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 29 เล่ม คิดเป็นร้อยละ 100 นอกจากนี้มีการส่งเสริมให้ครูผู้สอนจัดทำโครงการเพื่อมุ่งเน้นให้เกิดผลแก่ผู้เรียนเป็นสำคัญสอดคล้องกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 โดยโครงการจะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ ตลอดจนอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ซึ่งสถานศึกษากำหนดไว้ ในแผนปฏิบัติการ โดยภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 พบว่า มีจำนวน 17 โครงการ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 พบว่า มีจำนวน 16 โครงการ รวมตลอดปีการศึกษา 2565 มีจำนวนโครงการทั้งสิ้น 33 โครงการ ที่มุ่งเน้น ให้เกิดผลแก่ผู้เรียนเป็นสำคัญและส่งเสริมผู้เรียนตามกระบวนการที่กล่าวมาอย่างแท้จริง มีการดำเนินการ การจัดหลักสูตรให้มีรายวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Individual Study) และจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนทุกคน มีส่วนร่วม เช่น การสร้างสิ่งประดิษฐ์/นวัตกรรมในรายวิชาออกแบบเทคโนโลยี การทำโครงงานในรายวิชา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และการงานอาชีพ เป็นต้น มีรายวิชาการเขียนความเรียงขั้นสูง เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองตามความถนัดและความสนใจ จากนั้นนำความรู้ที่ได้ศึกษา มาผ่านกระบวนการต่าง ๆ แล้วจัดทำขึ้นเป็นโครงงาน ซึ่งผู้เรียนจะเกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ รวมถึงอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจ หรือปัญหาที่พบ ในชีวิตประจำวันและต้องการจะศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยนำประเด็นปัญหาที่สนใจมาพิจารณา วางแผน หาแนวทางแก้ไข และสรุปเป็นองค์ความรู้โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการวางแผนสู่การดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอน จากนั้นลงมือปฏิบัติ สรุปผลและอภิปรายผล ตลอดจนเผยแพร่องค์ความรู้นั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล อีกทั้งสถานศึกษาจัดให้มีการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนรู้จักฝึกกระบวนการคิด การแก้ปัญหา การสืบค้นข้อมูล โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองในด้านการเรียนรู้ และการทำงาน โดยจัดให้มีการนำเสนอผลงานของนักเรียนที่แสดงถึงการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน รวมถึงการ เข้าใช้ระบบ E-book และจัดการเรียนรู้ผ่านระบบ Online มีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน เป็นรายบุคคล รายกลุ่มย่อย ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ จำแนกและเปรียบเทียบระหว่างสถานศึกษา เครือข่าย สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาระดับจังหวัด ระดับสังกัดต่าง ๆ ในกระทรวงศึกษาธิการและเปรียบเทียบข้อมูล
30 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับประเทศ เพื่อวิเคราะห์ตัวชี้วัดที่ด้อยหรือควรพัฒนาในแต่ละกลุ่มวิชา (โครงการ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาให้เทียบเคียง มาตรฐานสากล โครงการพัฒนางานทะเบียนวัดผล) และหาแนวทางปรับปรุงพัฒนา เมื่อทราบจุดเด่น จุดที่ควรปรับปรุงพัฒนาเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยครูผู้สอน นำแนวทาง ซึ่งอาจเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ผสมผสานกันทั้งวิธีการและสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ แล้วออกแบบ พัฒนาผู้เรียนให้พัฒนาเต็มตามศักยภาพเป็นรายบุคคลและพัฒนาคลอบคลุมทุกคน (โครงการปรับพื้นฐาน โครงการแก้ไขข้อบกพร่องทางการเรียน โครงการสอนเสริม โครงการค่ายวิชาการ โครงการค่ายคิดวิเคราะห์ โครงการค่าบบูรณาการ โครงการพัฒนาความสามารถพิเศษตามศักยภาพของผู้เรียน) โดยการนำนวัตกรรม การพัฒนาศักยภาพผู้เรียนไปสู่การปฏิบัติกับนักเรียนในความรับผิดชอบของครู(โครงการวิจัยทางการศึกษา โครงการนิเทศภายใน โครงการส่งเสริมศักยภาพครูด้านวัดผล โครงการส่งเสริมศักยภาพด้านภาษาอังกฤษสำหรับ ครูสู่มาตรฐานสากล) และประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วตรวจสอบจุดเด่น จุดด้อยเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (โครงการแก้ไขข้อบกพร่องทางการเรียน โครงการสอนเสริม โครงการพัฒนา ความสามารถพิเศษตามศักยภาพของผู้เรียน) และมีการสะท้อนความคิดให้ครูผู้สอนได้ข้อสรุปในการพัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (โครงการนิเทศภายใน โครงการส่งเสริมศักยภาพครูด้านวัดผล โครงการส่งเสริมศักยภาพด้านภาษาอังกฤษสำหรับครูสู่มาตรฐานสากล โดยครูผู้สอนออกแบบกิจกรรมให้ผู้เรียน ได้ฝึกทักษะการปฏิบัติงานต่าง ๆ ได้แก่ ทักษะงานวิชางานบ้าน ทักษะวิชางานประดิษฐ์ ทักษะวิชางานช่าง ทักษะ วิชางานเกษตร รวมทั้งการแสดงออกด้านการนำเสนอผลงาน การแสดงความคิดเห็น ศึกษาหาความรู้จากสื่อ และเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีการจัดทำแผน การจัดการเรียนรู้ครบทุกกลุ่มสาระวิชา ทุกระดับชั้น และได้มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การจัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้โดยมีห้องปฏิบัติการครบทุกรายวิชา ที่มีการจัดการเรียนรู้ในภาคปฏิบัติ และครบทุกชั้นเรียน เช่น ห้องฝึกทักษะงานช่าง ห้องฝึกทักษะการปฏิบัติการ ทำอาหาร และแปลงฝึกทักษะการทำการเกษตร เป็นต้น
31 3. ผลการดำเนินงาน ด้านคุณภาพผู้เรียน ประเด็นเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี มีผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2565 ดังนี้ 1) ผลการพัฒนาผู้เรียนด้านความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ มีผลการพัฒนาโดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 82.53 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษากำหนด ดังเห็นได้จากผลการดำเนินงานเชิงประจักษ์จากการประเมินในด้านต่าง ๆ ดังแผนภูมิ จากแผนภูมิข้างต้น พบว่า ค่าเฉลี่ยความสำเร็จของผู้เรียนที่มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ มีค่าเท่ากับ 82.53 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด เมื่อพิจารณา ค่าเฉลี่ยความสำเร็จแบ่งตามตัวชี้วัด พบว่า ตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ ได้แก่ - ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของนักเรียนที่มีทักษะด้านการอ่าน อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป ค่าเฉลี่ยร้อยละ 88.55 - ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของนักเรียนที่มีนิสัยรักการอ่าน ค่าเฉลี่ยร้อยละ 83.27 - ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของนักเรียนที่มีทักษะด้านการเขียนอยู่ในระดับ ดีขึ้นไปค่าเฉลี่ยร้อยละ 88.55
32 - ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาต่างประเทศ ผ่านเกณฑ์ค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษากำหนด ค่าเฉลี่ยร้อยละ 84.79 - ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาต่างประเทศ ผ่านเกณฑ์ค่าเป้าหมายที่ สถานศึกษากำหนด ค่าเฉลี่ยร้อยละ 82.87 - ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของนักเรียนมีทักษะการคิดคำนวณอยู่ในระดับ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ค่าเฉลี่ย ร้อยละ 84.22 - ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละ 30 ของนักเรียนที่มีความสามารถได้รับการส่งเสริมและพัฒนาทักษะด้านการอ่าน เขียน สื่อสารและการคิดคำนวณ ค่าเฉลี่ยร้อยละ 87.01 ตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ ได้แก่ - ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ผ่านเกณฑ์ค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษากำหนด ค่าเฉลี่ยร้อยละ 74.94 ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของนักเรียนมีทักษะการสืบค้นข้อมูล ค่าเฉลี่ยร้อยละ 78.19 ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละ 20 ของนักเรียนกลุ่มอ่อนที่ได้รับการพัฒนาปรับปรุงทักษะด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ ค่าเฉลี่ยร้อยละ 72.93 2) ผลการดำเนินงานพัฒนาผู้เรียนด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา มีผลการดำเนินงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม โดยเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 90.31 ซึ่งเป็นไปตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด คือ ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 87.50 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยใช้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาได้โดยพิจารณาจากผลการดำเนินงานพัฒนา ผู้เรียนด้านการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ซึ่งสอดคล้องกับประกาศค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ดังนี้ - นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีผลการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนอยู่ในระดับ 3 คิดเป็น ร้อยละ 92.78 อยู่ในระดับ 2 คิดเป็นร้อยละ 6.27 และอยู่ในระดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 0.85 อยู่ในระดับ 0 คิดเป็น ร้อยละ 0.01 และนักเรียนที่ไม่มีผลการเรียน คิดเป็นร้อยละ 0.09 - นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีผลการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนอยู่ในระดับ 3 คิดเป็น ร้อยละ 87.83 อยู่ในระดับ 2 คิดเป็นร้อยละ 10.85 และอยู่ในระดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 1.18 อยู่ในระดับ 0 คิดเป็น ร้อยละ 0.11 และนักเรียนที่ไม่มีผลการเรียน คิดเป็นร้อยละ 0.04 เมื่อนำค่าร้อยละของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายมาอธิบายเป็นความหมาย พบว่า มีผลการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนอยู่ในระดับ 3 หมายถึง ดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 90.31 อยู่ในระดับ 2 หมายถึง ดี คิดเป็นร้อยละ 8.56 ซึ่งจากค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด นักเรียนที่มีผลการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 98.87
33 3) ผลการดำเนินงานพัฒนาผู้เรียนด้านมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มีผลการดำเนินงาน ในภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ค่าความสำเร็จโดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 89.74 โดยการส่งเสริม และพัฒนาในการสร้างนวัตกรรม มีค่าความสำเร็จร้อยละ 95.02 สูงกว่าค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้คือ ร้อยละ 90.00 และผู้เรียนมีความสามารถสร้างนวัตกรรมได้ในระดับ ดีขึ้นไป มีค่าความสำเร็จร้อยละ 84.45 สูงกว่าค่าเป้าหมาย ที่ตั้งไว้ คือ ร้อยละ 75.00 ดังนั้น จากตัวชี้วัดค่าเป้าหมายดังกล่าว สามารถสรุปได้ว่าผู้เรียนมีผลการประเมินสูงกว่า ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยผลการประเมินอ้างอิงมาจากการประเมินของผู้สอน และการประเมินจากการจัดโครงการ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีผลงานดีเด่นที่สนับสนุนค่าความสำเร็จ อาทิเช่น 1. รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2. รางวัลชนะเลิศ การนำเสนอผลงานโครงการ Envi Mission ภารกิจรักษ์สิ่งแวดล้อม รุ่นที่ 3 Make It Balance : มั่นคงรอบด้าน อาหาร น้ำ พลังงาน โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. รางวัลจากศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 4. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับเหรียญทอง การแข่งขันการสร้างเกมสร้างสรรค์ จากคอมพิวเตอร์ม.4 - ม.6 - รางวัลระดับเหรียญทอง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ม.4-ม.6 - รางวัลระดับเหรียญทองแดง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ม.1-ม.3 - รางวัลระดับเหรียญเงิน การประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ม.4-ม.6 - รางวัลระดับเหรียญทอง การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ ม.1-ม.3 - รางวัลระดับเหรียญเงิน การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคำอธิบาย ทางคณิตศาสตร์ ม.4-ม.6 - รางวัลระดับเหรียญทองแดง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎี หรือคำอธิบายทางคณิตศาสตร์ ม.1-ม.3 5. รางวัลเหรียญทองชนะเลิศอันดับ 1 โครงงานประเภททดลอง จากการประชุมวิชาการกลุ่ม เครือข่ายภาคกลางตอนล่าง ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯ
34 4) ผลการดำเนินงานพัฒนาผู้เรียนด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีผลการดำเนินงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม โดยเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 96.95 ซึ่งเป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด โดยพิจารณาจากผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีผ่านเกณฑ์ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา, ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร, ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่างสร้างสรรค์ ปลอดภัย และมีคุณธรรม รวมถึงการที่ผู้เรียนได้รับการส่งเสริม พัฒนาและปรับปรุงทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสน เทศ และการสื่อสาร ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการคิด การแก้ปัญหา การสืบค้นข้อมูล มีความสามารถ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน และการนำเสนอผลงานอย่างสร้างสรรค์ 5) ผลการดำเนินงานพัฒนาผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีจำนวนนักเรียน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ซึ่งมีผลการดำเนินงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับ คุณภาพ ยอดเยี่ยม คิดเป็น ร้อยละเฉลี่ย 86.24 คือผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษากำหนดเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยผู้เรียนที่มีผลการเรียนในรายวิชาต่าง ๆ ที่ลงทะเบียนเรียน ในภาคเรียนที่ 1 และ ภาคเรียนที่ 2 (คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ ผลการเรียน 2.5 ขึ้นไป, ภาษาไทย สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ผลการเรียน 3 ขึ้นไป, สุขศึกษาและพลศึกษา ผลการเรียน 3.5 ขึ้นไป) ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 มีค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า ค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนดจำนวนเฉลี่ยร้อยละ 86.22 โดยมีค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนดเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ ภาษาไทย คิดเป็น ร้อยละ 83.40, คณิตศาสตร์คิดเป็นร้อยละ 75.34, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคิดเป็นร้อยละ 84.64, สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม คิดเป็นร้อยละ 85.71, สุขศึกษาและพลศึกษา คิดเป็นร้อยละ 95.97, ศิลปะ คิดเป็น ร้อยละ 90.64, การงานอาชีพ คิดเป็นร้อยละ 93.63 และภาษาต่างประเทศ คิดเป็นร้อยละ 80.41 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มีค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า ค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนดจำนวนเฉลี่ยร้อยละ 86.26 โดยมีค่าร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนดเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ ภาษาไทย = 85.00, คณิตศาสตร์ = 77.45, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี = 87.03, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม = 86.36, สุขศึกษาและพลศึกษา = 94.88, ศิลปะ = 90.42, การงานอาชีพ = 87.45 และภาษาต่างประเทศ = 81.51 เฉลี่ยรวมจำนวนผู้เรียนที่มีผลการเรียนตามค่าเป้าหมายของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในปีการศึกษา 2565 เท่ากับ 86.24 เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2564 ที่มีค่า 84.83 ร้อยละ 1.41
35 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน 4 วิชามีผลการทดสอบเป็นดังนี้ วิชาภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนเท่ากับ 45.99 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศเท่ากับ 36.95 ความ ต่างระดับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ +9.04 วิชาคณิตศาสตร์คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนเท่ากับ 24.39 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศเท่ากับ 32.98 ความต่างระดับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ +8.59 วิชาวิทยาศาสตร์คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนเท่ากับ 38.91 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศเท่ากับ 33.32 ความต่างระดับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ +5.59 วิชาภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนเท่ากับ 44.89 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศเท่ากับ 32.05 ความต่างระดับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ +12.84 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ใน 5 วิชามีผลการทดสอบเป็นดังนี้ วิชาภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนเท่ากับ 51.11 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศเท่ากับ 44.09 ความ ต่างระดับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ +7.02 วิชาคณิตศาสตร์คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนเท่ากับ 32.98 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศเท่ากับ 21.61 ความต่างระดับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ +11.37 วิชาวิทยาศาสตร์คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนเท่ากับ 29.30 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศเท่ากับ 28.08 ความต่างระดับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ +1.22 วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนเท่ากับ 35.35 คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศเท่ากับ 33.00 ความต่างระดับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ +2.35 วิชาภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนเท่ากับ 28.48 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศเท่ากับ 23.44 ความต่างระดับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ +5.04 ตารางการเข้าศึกษาต่อของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 661 คน สถาบันที่ศึกษาต่อ จำนวน/คน คิดเป็นร้อยละ 1. ศึกษาต่อโรงเรียนวิสุทธรังษีจังหวัดกาญจนบุรี 515 77.91 2. ศึกษาต่อสถาบันอื่น ๆ 55 8.32 3. ศึกษาต่อสายอาชีพ 26 3.93 4. ประกอบอาชีพ 2 0.30 5. ยังไม่จบการศึกษา/ดำเนินการแก้ผลการเรียน 63 9.53 รวม 661 100 ***ข้อมูลติดตามผู้เรียน ณ วันที่ 11 เมษายน 2565
36 ตารางการเข้าศึกษาต่อของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 646 คน สถาบันที่ศึกษาต่อ จำนวน/คน คิดเป็นร้อยละ 1. ศึกษาต่อ 583 90.25 1.1 สถาบันการศึกษาของรัฐบาล 525 81.27 1.2 สถาบันการศึกษาของเอกชน 50 7.74 1.3 สถาบันการศึกษาต่างประเทศ 1 0.15 1.4 ศึกษาต่อสายอาชีพ 7 1.08 2. ไม่ศึกษาต่อ/ประกอบอาชีพ 7 1.08 3. กำลังติดตาม/รอผลสอบ 56 8.67 รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด 646 100 ***ข้อมูลติดตามผู้เรียน ณ วันที่ 11 เมษายน 2565 6) ผลการดำเนินงานพัฒนาผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ รวมถึง กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการดำเนินงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละเฉลี่ย 96.49 ซึ่งพิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ของผู้เรียนที่เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด โดยผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด จากการปฏิบัติจริง ด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี ยกตัวอย่างเช่น จากสถานการณ์ปัจจุบัน การปลูกผักด้วยตนเอง แล้วนำมาประกอบอาหารภายในครัวเรือน นอกจากประหยัดค่าใช้จ่าย ปลอดสารเคมี ยังสามารถนำความรู้จากการเรียนและฝึกปฏิบัติทักษะงานต่าง ๆ ไปสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัวได้ และมีการประเมินผลจากชิ้นงานที่ผู้เรียนได้จัดทำขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ซึ่งช่วยให้เกิดการเรียนรู้การแก้ปัญหาด้วยความรู้ มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และผู้เรียนได้ฝึกการทำงานเป็นทีม มีการเชื่อมโยงองค์ความรู้และเกิดแรงบันดาลใจ ในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สามารถลงมือปฏิบัติจริง ทำให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ เมื่อรวมผลจากการพัฒนาผู้เรียนในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ประเด็นหลักที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ ทางวิชาการของผู้เรียน ทั้ง 6 ตัวบ่งชี้ มีผลการดำเนินงานโดยเฉลี่ย อยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ เฉลี่ยเท่ากับ ร้อยละ 90.37 เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ผลจากการพัฒนาผู้เรียนในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ในประเด็นหลักที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ของผู้เรียน ซึ่งเกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และส่งผลให้ผู้เรียนมีความสำเร็จ มีผลงานและรางวัลสนับสนุน ผลการพัฒนา ยกตัวอย่างดังนี้
37 1. ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง การแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 ณ ศูนย์โอลิมปิก วิชาการ สอวน. มหาวิทยาลัยศิลปากร ดังนี้ - เด็กชายรณกร อุตสาหะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/15 2. ผ่านการสอบแข่งขันการคัดเลือก เข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ สอวน. ค่าย 2 ปีการศึกษา 2565 ศูนย์โอลิมปิกวิชาการ สอวน. มหาวิทยาลัยศิลปากร ดังนี้ ค่ายเคมี - นายจารุวิทย์ คำมูล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 - นางสาวพลอยชมพู แกมไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 - นายวิชญ์ ศรีวัฒนชัย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 - นางสาวหทัยภัทร ชโลธร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 - นายอาทินันท์ แก้วเกตุ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ค่ายชีววิทยา - นายชยพล พลายชุมพล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 - เด็กชายรณกร อุตสาหะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/15 - นายศุภฤกษ์ วศินนิติวงศ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/6 ค่ายฟิสิกส์ - นายฉันทพณธ์ เอี่ยมโชติชวลิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 3. มีสิทธิ์สอบคัดเลือกโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กลุ่มเครือข่ายภาคกลางตอนล่าง ในการเข้าร่วมโครงการไปศึกษาดูงานที่เซิร์น ประจำปี 2566 ดังนี้ - นายสรชัช อุ่นอร่ามวัฒน์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 4. การแข่งขันตอบปัญหาคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 14 โดย สาขาคณิตศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์และ พัฒนาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น รางวัลรองชนะอันดับ 2 ได้แก่ - เด็กชายรณกร อุตสาหะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/15 - เด็กหญิงพิชญ์นรี ศรีวลีรัตน์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/15
38 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ - นายฐิตา ทิพยะวัฒน์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 - นายชูโชค จรูญศักดิ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 5. ได้รับรางวัลรางวัลชนะเลิศระดับประเทศ การแข่งขันนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรีได้แก่ - นางสาวสิริอาภา พงศ์รัตนมงคล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 - นายสุชาครีย์ สระศรีสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/10 6. ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 4 ระดับประเทศ จากการแข่งขันตอบปัญหากฎหมาย ชิงโล่พระราชทานสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดย คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้แก่ - นางสาววัชรภรณ์ ประกอบแก้ว ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 - นายทรรศนพล บุญญาลัย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 7. ได้รับรางวัล “ชนะเลิศอันดับ 1” การแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์ของโรงเรียนห้องเรียนพิเศษ SMTE ภาคกลางตอนล่าง ได้เป็นตัวแทนแข่งขันต่อระดับประเทศ และได้รางวัล “เหรีญทอง” การแข่งขันฟิสิกส์สัประยุทธ์ ระดับชาติ ปีการศึกษา 2565 จากการแข่งขันร่วมกับทีมตัวแทนจากภูมิภาคทั่วประเทศ ของกลุ่มห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ ESMTE ร่วมกับตัวแทนจากกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ได้แก่ - นายสรชัช อุ่นอร่ามวัฒน์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 - นายภรภัทร เสือดาว ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 - นายฉันทพณธ์ เอี่ยมโชติชวลิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 - นางสาวเขมจิรา ชูนำชัย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 - นายปวรุต ศรีเสริฐ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 8. ได้คัดเลือกเป็นตัวแทน ศูนย์โอลิมปิกวิชาการ สอวน. มหาวิทยาลัยศิลปากร (ค่ายฟิสิกส์) เพื่อเข้า แข่งขันโอลิมปิกวิชาการ ระดับประเทศ - นายสรชัช อุ่นอร่ามวัฒน์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 9. ได้รับรางวัล “เหรียญทองแดง” จากการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิก ระดับชาติครั้งที่ 20 - นายชยพล พลายชุมพล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4
39 10. นักเรียนโรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี ได้รับรางวัลจากการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากาญจนบุรี โดยได้รับรางวัล ดังนี้ - รางวัลระดับเหรียญทอง จำนวน 132 รายการ - รางวัลระดับเหรียญเงิน จำนวน 12 รายการ - รางวัลระดับเหรียญทองแดง จำนวน 3 รายการ - รางวัลเข้าร่วมการแข่งขัน จำนวน 3 รายการ 11. นักเรียนโรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี ได้รับรางวัลจากการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ระดับชาติ (ภาคกลางและภาคตะวันออก) โดยได้รับรางวัล ดังนี้ - รางวัลระดับเหรียญทอง จำนวน 25 รายการ - รางวัลระดับเหรียญเงิน จำนวน 21 รายการ - รางวัลระดับเหรียญทองแดง จำนวน 11 รายการ - รางวัลเข้าร่วมการแข่งขัน จำนวน 6 รายการ 12. รางวัลเหรียญทองชนะเลิศอันดับ 1 โครงงานประเภททดลอง จากการประชุมวิชาการกลุ่มเครือข่าย ภาคกลางตอนล่าง ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯ - นางสาวนางสาวณภาภัช ชัยวันดี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 - นางสาวมัตติกาล์ งาหอม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 - นายสุทธวิชญ์ แก้วเมืองฝาง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 4. จุดเด่น 1) สถานศึกษาจัดทำโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในด้านความสามารถ ในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ อย่างหลากหลาย สามารถตอบสนองต่อความต้องการ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนได้เป็นอย่างดีส่งผลให้พัฒนาผู้เรียนได้ตามศักยภาพได้อย่างเหมาะสม และผู้เรียนทุกคนได้รับการประเมินความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ในแต่ละระดับชั้น ตามเกณฑ์การประเมินและตัวชี้วัดที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน 2) มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถตรงตามสาขาวิชาที่จัดการเรียนรู้โดยสามารถมุ่งเน้นและส่งเสริม ให้ผู้เรียนร่วมกันคิด วิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ รวมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และหาทางแก้ปัญหา ร่วมกัน ส่งผลให้สถานศึกษามีผลงานเป็นที่ประจักษ์ โดยสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีโครงการต่าง ๆ รองรับ และมุ่งเน้นผู้เรียน ตลอดจนการส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดและดำเนินงานโครงงานของตนเอง ทำให้ผู้เรียนมีทักษะ ด้านการคิด วิเคราะห์ และทักษะการคิดขั้นสูง
40 3) สถานศึกษาเปิดกว้างให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบใหม่ ๆ มีการส่งเสริมให้ครูพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง และมีการจัดการความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ เช่น PLC เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน หาแนวทางการแก้ไขปัญหา และเทคนิควิธีการในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้าน 4) ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านระบบออนไลน์ (online) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน และส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันทางวิชาการ 5) ร้อยละของจำนวนผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด มีค่าเฉลี่ยเป็นร้อยละ 86.24 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 1.41 (ปีการศึกษา 2564 เท่ากับ 84.83) 6) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ทั้งระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษา ปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุกวิชา 7) สถานศึกษามีการจัดการเรียนรู้แบบเน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน โดยการนำ วิธีการสอน เทคนิคการสอนที่หลากหลาย มาออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะงาน วิชางานบ้าน ทักษะวิชางานประดิษฐ์ ทักษะวิชางานช่าง ทักษะวิชางานเกษตร รวมทั้งการแสดงออก ด้านการนำเสนอผลงาน การแสดงความคิดเห็น ศึกษาหาความรู้จากสื่อและเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างเป็นรูปธรรม และต่อเนื่อง กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ทักษะและเชื่อมโยงองค์ความรู้ นำไปปฏิบัติ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือสามารถนำไปประกอบอาชีพได้ในอนาคต 6. จุดที่ควรพัฒนา 1) การจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูล การเลือกใช้ข้อมูล แหล่งข้อมูล และกิจกรรม ที่ส่งเสริมทักษะนักเรียนกลุ่มอ่อนให้ได้รับการพัฒนาปรับปรุงทักษะด้านการอ่าน เขียน สื่อสารและการคิดคำนวณ อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 2) การสร้างกลุ่มเครือข่ายระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีเนื้อหาความรู้สัมพันธ์กัน เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ และกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หรือกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้ง มีการบูรณาการกับกลุ่มสาระอื่น ๆ เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ เพื่อตอบสนองการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของผู้เรียน จึงจะเป็นการ พัฒนาการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ รวมถึงอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาได้อย่าง เหมาะสม 3) สถานศึกษาควรส่งเสริมกิจกรรมบูรณาการ ที่ก่อให้เกิดทักษะการคิด แก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์พัฒนา ผู้เรียนตามความสนใจและความถนัด โดยมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เหมาะสมกับผู้เรียนตามกลุ่ม ความถนัด และจัดให้มีการประกวดนวัตกรรมภายในสถานศึกษา เพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน
41 4) ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดการสร้าง นวัตกรรมสำหรับนักเรียน 5) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ เมื่อพิจารณาในบางกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า มีร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนผ่านค่าเป้าหมายลดลงในภาคเรียนที่ 2 เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน ที่มีผลการเรียนผ่านค่าเป้าหมายในภาคเรียนที่ 1 ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะ และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ซึ่งอาจเป็นผลจากในภาคเรียนที่ 2 มีกิจกรรมการเรียนรู้ นอกเหนือจากการเรียนการสอนในห้องเรียน เช่น การแข่งขันกีฬาสี, กิจกรรมการเข้าค่ายต่าง ๆ, กิจกรรมเปิดบ้าน วิสุทธรังษี, และกิจกรรมทัศนศึกษาฯ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อรายวิชาที่ต้องการเวลาในการเรียนรู้จากครูผู้สอน และการฝึกฝนทักษะในการสร้างชิ้นงานและผลงานที่เกิดจาการเรียนรู้ในชั่วโมงเรียนทั้ง 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 6) เนื่องจากการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นรากฐานการสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้จากข้อมูลที่ได้รับมาใหม่ ประกอบกับประสบการณ์ส่วนตัวของผู้เรียน การนำไปใช้ อาจมีความคลาดเคลื่อน และจะนำไปประยุกต์ใช้แบบผิด ๆ ดังนั้นครูผู้สอนควรต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่หลากหลายและถ่ายทอดความรู้อย่างถูกต้อง 7) ควรจัดสรรงบประมาณในการซื้ออุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการฝึกวิชาชีพให้แก่ผู้เรียน ให้เพียงพอและทันสมัย ทันเหตุการณ์ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบันที่จะส่งผลต่อการเรียนรู้
42 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ประเด็นหลักที่ 2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1. ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 2. กระบวนการพัฒนา มาตรฐานการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ได้กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียนให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติตนเองตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ ด้วยเหตุผลดังกล่าว ทางโรงเรียน วิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี จึงได้มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ซึ่งผลจากการประเมิน มีทั้งผู้เรียนที่ผ่านและไม่ผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยผู้เรียนที่มีการประเมิน ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ทางสถานศึกษาจัดให้มีกิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การสร้างวินัย แก้ไขคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียน โดยสถานศึกษาได้มีการดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ร่วมกัน ในสังคมได้อย่างมีความสุข เน้นการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และตามค่านิยม หลักของคนไทย 12 ประการ อีกทั้งได้มีการจัดโครงการและกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม อันพึงประสงค์ ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนดโดยไม่ขัดกับกฎหมาย มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม มีวัฒนธรรมอันดีของสังคม เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย เกิดการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายโดยมีหลักฐานและร่องรอย ดังนี้ การจัดการเรียนรู้ที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ โดยบูรณาการ ในแผนการจัดการเรียนรู้ทุกรายวิชา, โครงการพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน, โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม, โครงการส่งเสริมกิจกรรมกิจการนักเรียน, โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย, โครงการเศรษฐกิจพอเพียง, โครงการ พัฒนาค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ, โครงการสถานศึกษาสีขาว, โครงการวิถีพุทธ, แบบสรุปผลการ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ, โครงการวิถีพุทธส่งเสริมจิตอาสาและสร้างสรรค์รักการอ่าน และโรงเรียนคุณธรรม ระดับ 3 ดาว ของสำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี, กิจกรรมวันสำคัญ ของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์, กลุ่มสัมพันธ์ปฐมนิเทศนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 และการตอบปัญหาธรรมะในวันสำคัญทางศาสนาและสถาบัน ในการดำเนินงานมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงานกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน (ตามคำสั่งที่ 89/2565 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่มบริหารกิจการ นักเรียน โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี) ในการดำเนินกิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะและจิตสาธารณะผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด นอกจากนี้กลุ่มบริหารวิชาการกำหนดให้ ครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระฯ จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์