The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by scout thai, 2020-06-16 21:54:46

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสูตรลูกเสือโท ประถมศึกษาปีที่ 5

ลูกเสือสามัญ ป5

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื สามญั ลูกเสือโท ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5

หน่วยท่ี 3 การชว่ ยเหลอื ผอู้ ่ืน

แผนการจดั กิจกรรมท่ี 7 ชุมชนของฉนั เวลา 1 ชวั่ โม

1. จุดประสงค์การเรียนรู้
1.1 บอกช่ือสถานท่ีสําคัญในชุมชนของตนเองได๎
1.2 แนะนําทางไปยังสถานทสี่ ําคญั ในชมุ ชนของตนเองได๎

2. เนื้อหา
สถานทส่ี ําคญั ในชมุ ชนของตนเองทล่ี ูกเสอื อยูํอาศัย

3. ส่อื การเรยี นรู้

3.1 แผนภมู เิ พลง
3.2 แผนทสี่ ถานท่ใี นชมุ ชน / ตําบล / อาํ เภอ
3.3 ใบกิจกรรม
3.4 เรอื่ งสนั้ ท่ีเป็นประโยชน๑

4. กิจกรรม

4.1 พธิ เี ปดิ ประชุมกอง (ชักธงขนึ้ สวดมนต๑ สงบนิง่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือ เกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคก๑ ารเรยี นร๎ู

1) ผ๎ูกาํ กบั ลูกเสือนาํ สนทนาถงึ สถานที่สําคัญ อาทิ แหลํงทํองเท่ียว โรงพยาบาล สถานีตํารวจ
สถานท่ีราชการตาํ ง ๆ ตลาด โรงเรียน ร๎านอาหาร วดั คลินกิ เปน็ ตน๎

2) ผก๎ู าํ กับลูกเสือหรือลูกเสือรุํนพี่นําลูกเสือไปสํารวจสถานที่สําคัญในชุมชน สังเกตท่ีต้ัง
ระยะทางและเส๎นทางการเดินทางไปสถานท่ีนั้น หรือนําเสนอด๎วยภาพเคล่ือนไหว
(VDO) สถานท่ีสาํ คญั ประกอบการบรรยายกไ็ ด๎ จะชํวยลดเวลาเรียนร๎ูลงและลกู เสอื เรียนรไ๎ู ด๎เรว็

3) หมํูลกู เสอื รํวมกันจดั ทาํ แผนผัง/แผนท่ี ท่ีตั้งของสถานท่ีสําคัญโดยผ๎ูกํากับชํวยเพ่ิมเติม
สถานทีท่ ีล่ กู เสอื ไมํไดร๎ ะบใุ นแผนท่ใี ห๎ครบถว๎ นตามความจําเป็นและเหมาะสม

4) ลูกเสือนํากลับไปเขียนเป็นแผนท่ีในยามวํางให๎สวยงาม ถูกต๎องตามทิศ ถนนและ
เสน๎ ทาง เพ่ือสะดวกสําหรับผ๎ูมาขอรับความชํวยเหลือสอบถามสถานท่ี นําไปติดไว๎ใน
สถานที่ที่เหมาะสม

4.4 ผู๎กาํ กบั ลูกเสอื เลาํ เร่ืองส้ันท่เี ป็นประโยชน๑

4.5 พิธปี ดิ ประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชักธงลง เลิก)

คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 49
ค่มู ือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสตู รลกู เสอื โท
42 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5

5. การประเมนิ ผล
5.1 สังเกต
5.2 ตรวจสอบผลงาน “แผนท่ี” ท่ีลูกเสอื จดั ทาํ ขึ้น

6. คณุ ธรรม
6.1 ความพอเพียง
6.2 ซอื่ สตั ยส๑ จุ รติ
6.3 รับผดิ ชอบ
6.4 ความกตญั ๒ู
6.5 อดุ มการณค๑ ุณธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 7
เพลง

เดนิ วนหาทิศ

เดนิ เอย๐ เดนิ วนสคี่ นส่ีทิศ ขอถามสกั นดิ เธออยํทู ิศอะไร
ทกุ คนโปรดไดเ๎ ขา๎ ใจ ใครอยูํทิศอะไรกจ็ งบอกมา
หนึ่งสมพรเธออยํทู ิศเหนือ
สามตะวันออกสมใจจาํ ไว๎ สองบุญเหลอื เธออยํทู ศิ ใต๎
สีบ่ ุญใหอ๎ ยทํู ศิ ตะวนั ตกเอย

เกม

ว่งิ หาทศิ

วิธีการเล่น
1. เขียนวงกลมพืน้ ที่รัศมีประมาณ 3 เมตร แล๎วลากเส๎นรัศมี 8 ทิศ
2. ให๎ลกู เสอื ยนื อยํูตรงปลายเส๎นที่ลากรศั มีเส๎นละ 1 จุด รวม 8 จุด และให๎ลูกเสือยืนตรงกลาง
จุดศนู ยก๑ ลางวงกลมอีก 1 จดุ

3. เร่ิมเลํนโดยผ๎ูกํากับลูกเสือเอํยช่ือทิศ ครั้งละ 3 ทิศ เชํน ทิศเหนือ ทิศใต๎ ทิศตะวันตก
เม่อื ผเ๎ู ลํนไดฟ๎ งั จบ ผเ๎ู ลํนตอ๎ งวิ่งสลบั ทไี่ ปยงั จดุ อื่น และผท๎ู ี่ยนื อยํูจดุ ศูนย๑กลางจะต๎องว่ิงไป

อยํูแทนท่ีคนอ่นื ใหไ๎ ดท๎ ี่จุดใดจุดหน่ึง

50 คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5

คู่มอื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสูตรลกู เสอื โท 43
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5

4. ผู๎ท่ีไมํมีจุดที่ยืนทั้ง 8 ทิศ จะเป็นผ๎ูออกจากการแขํงขันแล๎วให๎สมาชิกที่อยํูนอกวงมาอยูํ
ประจําท่ีเลนํ แทน หมนุ เวยี นไปเรอื่ ยๆ จนม่ันใจวาํ ลูกเสือจาํ ตาํ แหนํงทศิ ตามที่ผ๎กู าํ กบั เอยํ
ทัง้ 8 ทิศไดอ๎ ยาํ งถูกต๎อง

เรือ่ งส้นั ท่ีเป็นประโยชน์

อย่าลมื ขอบคุณ

อยาํ ลืมขอบคณุ คนสองคนทเี่ ขา๎ มาในชวี ิตของเรา
คนท่ี 1 คนดีดีทีช่ วํ ยใหเ๎ รามคี วามเชอื่ มันในตัวเอง

ชวํ ยใหเ๎ ราชมํุ ชนื่ ดว๎ ยคาํ ชมของเขา
คนท่ี 2 คนแยํๆ ที่ชวํ ยใหเ๎ ราเขม๎ แขง็ ขน้ึ จิตใจมนั่ คง

ร๎ูวาํ ตวั เองยังต๎องพฒั นาตอํ ไป

เรอ่ื งน้ีสอนให้รวู้ า่ จงขอบคุณคนท่ีชน่ื ชมเรา เหน็ คณุ คาํ ของตวั เรา และยงิ่ ตอ๎ งขอบคุณบุคคลที่ตติ งิ เรา
เพอ่ื ให๎เราไดพ๎ จิ ารณาตัวเอง และรู๎สง่ิ บกพรอํ งของตวั เอง นําไปพฒั นาตัวเองตอํ ไป

คมู่ อื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 51
ค่มู ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสตู รลูกเสอื โท
44 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5

ใบกิจกรรมแบบบนั ทึกกิจกรรม (สาหรับลูกเสอื )

ก. ในท้องถ่ินของข้าพเจ้ามีสถานทท่ี ี่สาคญั ดงั น้ี
1. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุุุุ
2. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุุุุ
3. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุุุุ
4. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุุุุ
5. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุุุุ
6. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุุุุ
7. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุุุุ
8. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุุุุ
9. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุุุุ
10. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุุุุ

ข. ข้าพเจ้าไดอ้ อกไปสารวจในสถานท่ีจริงแลว้ ผลจากการสารวจดังนี้

ท่ี สถานทที่ ่ีไปสารวจ มีความสาคญั อยา่ งไร
1
2
3
4
5
6
7

8
9

10

52 ค่มู ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลูกเสือโท ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5

คมู่ ือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสตู รลกู เสอื โท 45
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5

ใบความรู้

การสารวจและการเยอื นสถานท่ใี กลเ้ คียง

สงิ่ แวดล๎อมมีความสําคัญตอํ การดาํ รงชีวิตของมนุษย๑ ดังน้ันการอาศัยอยูํในแตํละท๎องถ่ิน ลูกเสือ
จําเป็นต๎องร๎ูจักท๎องถ่ินของตนเอง และสังเกตเห็นคุณคําของสิ่งเหลําน้ันได๎ โดยเฉพาะอยํางย่ิงสถานที่
สําคัญตํางๆ ซ่ึงจะใช๎บริการลูกเสือจําเป็นต๎องรู๎จักการสํารวจและการเยือนสถานท่ีเหลํานั้น เพื่อจะได๎ใช๎
บรกิ ารนั้นไดถ๎ ูกต๎องและสามารถแนะนําผ๎อู น่ื ใหใ๎ ช๎บริการได๎ด๎วย

สถานท่ที ่ีควรสารวจ
1. สถานทีป่ ระกอบพิธที างศาสนา เชํน วดั โบสถ๑ มสั ยดิ ศาลเจา๎ ศาสนสถานตาํ งๆ
2. สถานที่ราชการ เชํน โรงเรียน สถานีตํารวจ โรงพยาบาลสํงเสริมสุขภาพตําบล โรงพยาบาล
สถานีดับเพลิง การประปา การไฟฟฺา ไปรษณีย๑ โทรศัพท๑ สถานีรถไฟ เทศบาล อําเภอ ศาล
เรือนจํา ศาลากลาง
3. สถานที่ทส่ี าํ คญั ตาํ งๆ เชํน สถานทส่ี ําคญั ทางประวตั ิศาสตร๑ โบราณสถาน สถานทที่ อํ งเทย่ี ว
4. สถานที่บริการอน่ื ๆ เชํน ทาํ เรอื สถานที่จอดรถโดยสาร ทําอากาศยาน ศูนยบ๑ รกิ ารจกั รยาน
ศนู ย๑วายุภกั ด์ิ ศนู ยน๑ เรนทร
5. ท่ีพกั อาศยั บคุ คลสําคญั ของท๎องถ่นิ เชนํ บ๎านพักกาํ นนั ผูใ๎ หญํบ๎าน ประธานชุมชน อสม.
อพปร. บา๎ นพักแพทยป๑ ระจาํ ตาํ บล บ๎านพกั นายอําเภอ จวนผ๎ูวําราชการจงั หวดั

การขอความช่วยเหลือ
1. เหตุดํวนหรือเหตุร๎ายแรง เชํน การทําร๎ายรํางกาย ปล๎นทรัพย๑ อุบัติเหตุควรแจ๎งให๎เจ๎าหน๎าท่ี
ผ๎รู ับผดิ ชอบทีใ่ กล๎ท่ีสุดทราบ เชํน กํานนั ผ๎ใู หญบํ า๎ น ตํารวจ ทหาร โทร 191, 199
2. เมอ่ื มเี หตุการณเ๑ กย่ี วกบั อบุ ัตเิ หตุ เชํน ไฟไหม๎ ควรแจ๎งเทศบาล สุขาภิบาล หรือสถานีดับเพลิง
โทร 191, 199
3. ถ๎ามีความจําเป็นต๎องใช๎รถพยาบาลในการนําผู๎บาดเจ็บสํงโรงพยาบาลควรแจ๎งโรงพยาบาล
โรงพยาบาลสงํ เสรมิ สุขภาพตาํ บล หรอื ขอความชวํ ยเหลือจากบคุ คลใกล๎เคียง โทรตรง 1669 เป็น
รถกู๎ชพี ของโรงพยาบาลทุกแหงํ

คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 53
ค่มู ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสูตรลกู เสือโท
46 ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั ลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
หน่วยท่ี 3 การชว่ ยเหลือผอู้ ่นื

แผนการจัดกิจกรรมที่ 8 การบรกิ ารและช่วยเหลอื ผูอ้ ่นื เวลา 1 ช่วั โมง

1. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ลกู เสือปฏบิ ัติตามคาํ ปฏญิ าณของลูกเสอื ขอ๎ 2 และกฎของลูกเสือข๎อ 3 ได๎

2. เนื้อหา
กิจกรรมท่ีลกู เสอื สามารถปฏบิ ัติกิจกรรมตามคาํ ปฏิญาณของลกู เสอื ขอ๎ 2 และกฎของลกู เสอื ขอ๎ 3

ไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม

3. สื่อการเรยี นรู้

3.1 แผนภมู เิ พลง
3.2 ใบความร๎ู
3.3 เร่อื งส้ันท่เี ปน็ ประโยชน๑

4. กจิ กรรม

4.1 พิธีเปดิ ประชมุ กอง (ชักธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงค๑การเรียนรู๎

1) ผกู๎ าํ กบั ลูกเสือให๎ความร๎ูเร่ืองกิจกรรมท่ีลูกเสือสามารถปฏิบัติกิจกรรมตามคําปฏิญาณ

ของลกู เสือขอ๎ 2และกฎของลูกเสอื ขอ๎ 3ได๎อยาํ งเหมาะสม
2) ลูกเสือรวํ มกนั วางแผนทาํ กิจกรรมบาํ เพญ็ ประโยชนใ๑ นโรงเรยี นและชุมชนของลกู เสอื ”

เชํน
- จูงนอ๎ งเข๎าหอ๎ งเรยี น
- ชวํ ยดสู าธารณะสมบตั ใิ นโรงเรียน
- รณรงคใ๑ นเรือ่ งสิ่งแวดลอ๎ ม ความสะอาด ในบริเวณโรงเรยี น และชุมชน

- การบริการชํวยเหลอื ครู อาจารย๑ในการจัดกิจกรรมวันสําคญั หรือบรกิ ารอืน่ ๆ
3) ผูก๎ ํากับให๎ลกู เสือสรุปแผนงานบริการของลูกเสอื
4.4 ผู๎กํากับลกู เสอื เลําเร่ืองส้นั ที่เปน็ ประโยชน๑
4.5 พิธปี ิดประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธงลง เลกิ )

5. การประเมนิ ผล

54 คู่มอื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5

ค่มู ือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสตู รลกู เสือโท 47
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5

5. การประเมินผล

สงั เกตและเฝาฺ ดกู ารเปน็ นกั บริการและการมีจิตอาสา ตลอดกิจกรรม
6. คุณธรรม

6.1 ความพอเพยี ง
6.2 ซ่อื สัตยส๑ จุ ริต
6.3 ความกตญั ๒ู
6.4 รบั ผดิ ชอบ
6.5 อุดมการณค๑ ณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 8

เพลง

บรกิ าร

บรกิ าร บรกิ าร งานทพ่ี วกเราทาํ เป็นประจาํ เราทําไปไมเํ คยคิดรวนเร เฮ๎ (สรอ๎ ย) (ซ้ํา)

เก็บ กวาดเราทําทกุ สิ่ง ไมํเคยคดิ ที่จะเบื่อ
เพราะเรานี่เป็นลกู เสือ ชํวยเหลือหนา๎ ท่บี ริการ (สรอ๎ ย)
เกบ็ กวาดเราทํา ทกุ อยาํ ง สะอาดทกุ ทางท่ีผาํ น
หน๎าทที่ กุ ๆ สถาน เรานน้ั บรกิ ารท่ัวไป (สรอ๎ ย)

เรอื่ งสั้นทเ่ี ปน็ ประโยชน์

ลาใจดา
พอํ ค๎าคนหนง่ึ นําสมั ภาระบรรทกุ เกวียน แลว๎ ให๎ววั กับลาชวํ ยกันลากไปยังอกี หมบํู า๎ นหนง่ึ แม๎จะ
เทยี มแอกคกูํ ันแลว๎ แตํลาน้ันก็ไมคํ ํอยยอมออกแรงลากนัก วัวใชแ๎ รงอยฝูํ าู ยเดียวจนเหนื่อยหอบ และเอํย
ปากขอให๎ลาชํวยออกแรงลากเกวียนบา๎ ง แตํลาก็แกล๎งบํนวําตนชํวยออกแรงเต็มท่ีอยูํแล๎ว วัวออกแรง
ลากเกวยี นอนั หนกั อง้ึ ตามลาํ พังจนขาหัก และหมดแรงขาดใจตายในท่ีสดุ พํอคา๎ จึงแลํเอาเนื้อววั บรรทุก
เกวียนให๎ลาลากตํอไป ในขณะทเ่ี กวียนก็มีนํ้าหนักบรรทุกมากกวําเดิมอีกหลายเทํา ในท่ีสุดลาก็หมด
แรงขณะที่กาํ ลงั ขาดใจตาย นกฝูงหน่ึงที่บินตามมาจิกกินเน้ือวัวก็เอํยกับลาวํา “ถ๎าออกแรงชํวยวัวลาก
เกวยี นต้ังแตํแรก ก็คงไมํตอ๎ งมาตายกลางปูาอยาํ งน้ี”

เรื่องน้สี อนให้รวู้ ่า ผู๎ท่ีไมชํ ํวยเหลือเกอื้ กูล คดิ แตํจะเอาเปรียบผูอ๎ ่นื ยอํ มไดภ๎ ัยแกํตนในท่สี ดุ

ค4่มู8อื ส่งเสชครูม่นั้มิ อืปแสรลง่ะะเถสพมรัฒศิมึกแนษลาาะกปพิจีทัฒก่ี น5รารกมจิ ลกูกรรเมสลือูกทเสักือษทะักชษวี ะิตชใวี นิตสในถสาถนาศนกึศกึษษาา ลปกูระเสเภือทโลทูกเชสือ้นั สปารมะัญถมหศลักึกสษูตารปลีทูกเี่ ส5ือโท 55

ใบความรู้

หลักการใหบ้ ริการ

การรํวมกิจกรรมกลางแจ๎ง จําเป็นอยํางยิ่งที่ลูกเสือ – เนตรนารีสามัญควรร๎ูจักการให๎บริการ
แกผํ ๎อู ่นื โดยยดึ หลกั การตอํ ไปน้ี

1. เตรยี มตวั ให๎พร๎อม รกั ษาสุขภาพอนามยั ใหด๎ ี เพ่อื จะไดม๎ แี รงกายในการชวํ ยเหลอื ผูอ๎ น่ื
2. เตรียมใจให๎พรอ๎ ม เตม็ ใจทจ่ี ะปฏิบัติงานด๎วยนํา้ ใจ
3. ต๎องพรอ๎ มที่จะเสียสละเวลา ความสขุ สวํ นตัว และสงิ่ อื่นๆ
4. ตอ๎ งมกี ารเตรียมตวั หรือวางแผนเป็นอยํางดี
5. ต๎องมีใจเปน็ ธรรม ไมํลําเอียง ใหบ๎ รกิ ารอยํางยตุ ิธรรม ไมเํ ลือกที่รักมักทีช่ งั ไมํเกยี่ งงาน หรือ

เลอื กปฏิบัติแตงํ านเบา หลกี เลยี่ งไมทํ าํ งานหนัก

คณุ สมบตั ขิ องผบู้ ริการท่ดี ี
บพี ี ไดเ๎ ขียนสาสน๑ ซง่ึ เช่ือวาํ เปน็ สาสน๑ฉบับสดุ ทา๎ ย กํอนทีท่ าํ นจะถงึ แกอํ นิจกรรมมใี จความ ดังนี้
1. จงทําตวั ของเธอให๎มี สขุ ภาพดี มคี วามแขง็ แรงในขณะที่เป็นเด็ก
2. จงพอใจในสิง่ ท่เี ธอมอี ยํู และจงทําสง่ิ นั้นใหด๎ ีทสี่ ุด
3. จงมองโลกในแงํดีและสดใส แทนทจี่ ะมองในแงรํ า๎ ย
4. หนทางอันแทจ๎ ริงท่จี ะพบความสขุ คอื การให๎ความสขุ แกผํ ู๎อน่ื
5. จงพยายามสร๎างสงิ่ ท่ีดกี วาํ ส่งิ ทีเ่ คยพบเห็น
6. “จงเตรยี มความพรอ๎ ม” ตามแนวทางทกี่ ลําวมาแลว๎
7. จงยึดมัน่ ในคาํ ปฏญิ าณของลกู เสอื อยเํู สมอ

การให้บริการผ้อู ่ืนหากจะให้เกดิ ผลดีลูกเสือจะตอ้ งวางแผนกอ่ นปฏบิ ัตงิ านตามหวั ขอ้ ต่อไปนี้
1. กําหนดช่ือแผนงานที่จะให๎บริการแกํผู๎อื่นในเร่ืองใดก็ให๎ต้ังช่ือแผนงานให๎ตรง สามารถ

ส่ือความหมายได๎ชัดเจน เชํน แผนงานทําความสะอาดสนามเด็กเลํน แผนงานปลูกต๎นไม๎ริมถนนใน
หมํูบ๎าน

2. กําหนดวัตถุประสงค๑ จะตอ๎ งรํวมกันกําหนดวตั ถปุ ระสงคใ๑ นการปฏบิ ตั ิงานใหช๎ ดั เจนวําทาํ เพอ่ื
อะไร เชํน เพื่อใหส๎ นามเด็กเลํนสะอาด เพอ่ื ใหถ๎ นนในหมบํู ๎านมีความรมํ รื่น

3. กําหนดกิจกรรมทจี่ ะปฏิบตั ิ จะตอ๎ งรํวมกนั กําหนดวาํ จะต๎องทํากิจกรรมอะไรบ๎าง ทําอยํางไร
แบงํ หนา๎ ท่ีรับผิดชอบวําใครจะเปน็ คนทําอะไร จะทาํ เป็นรายบคุ คลหรือเปน็ กลุมํ

4. กาํ หนดสถานทท่ี าํ งาน จะต๎องระบุใหช๎ ดั เจนวาํ จะปฏิบตั งิ านทไ่ี หน เชนํ หน๎าโรงเรยี น

56 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5

คมู่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สูตรลกู เสือโท 49
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5

5. กําหนดระยะเวลา จะต๎องกําหนดวัน เดือน ปี และเวลา ที่จะปฏิบัติงานไว๎ให๎ชัดเจน เชํน
วันอาสาฬหบชู า วันเฉลมิ พระชนมพรรษา เวลา 9.00 – 15.00 น. เดือนสิงหาคม ทุกวันเวลา 7.00 – 8.00 น.
และ เวลา 15.30 – 16.00 น.

6. กาํ หนดวสั ดุอปุ กรณแ๑ ละเคร่ืองมอื หากการปฏิบัติงานนน้ั จําเปน็ ตอ๎ งใช๎เครื่องมอื วัสดุอปุ กรณ๑
ก็ใหร๎ ะบุไว๎ใหช๎ ดั เจนวาํ มีอะไรบ๎าง ใครจะเป็นผูจ๎ ดั หา

7. กาํ หนดผร๎ู ับผิดชอบ จะตอ๎ งกาํ หนดวําใครจะเป็นผู๎ปฏบิ ตั ิงานมีกี่คน
8. รายงานผล จะต๎องมีการประเมินผลเม่ือปฏิบัติงานเสร็จแล๎ว และต๎องรายงานให๎ผ๎ูกํากับ
ลกู เสือทราบด๎วย

ค่มู อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 57
คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสูตรลูกเสือโท
50 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5

แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสอื สามญั ลูกเสือโท ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5
หนว่ ยท่ี 3 การชว่ ยเหลือผู้อ่ืน

แผนการจดั กิจกรรมท่ี 9 นาทวี กิ ฤต เวลา 1 ชว่ั โมง

1. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ลกู เสอื สามารถมที กั ษะการคดิ วิเคราะห๑ และแกไ๎ ขปญั หาในนาทีวกิ ฤติได๎

2. เนอ้ื หา
การคดิ วเิ คราะห๑และแกไ๎ ขปญั หาในนาทีวกิ ฤติ

3. ส่ือการเรยี นรู้
3.1 แผนภมู ิเพลง

3.2 ใบงาน
3.3 ใบความร๎ู เรอื่ ง เรื่อง ชาวรมิ แมนํ าํ้ โก-ลก ทําอยาํ งไร เม่ือนาํ้ ทํวมบา๎ น
3.4 เร่ืองส้ันที่เป็นประโยชน๑

4. กิจกรรม
4.1 พธิ ีเปดิ ประชมุ กอง (ชกั ธงข้นึ สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคก๑ ารเรยี นรู๎
1) ผ๎กู าํ กับลกู เสอื กาํ หนดประเดน็ กรณศี ึกษาเรอื่ ง “น้ําทํวมบา๎ นในเวลากลางคืน”
2) ผูก๎ าํ กบั ลกู เสือแจกใบงานให๎ลกู เสือแตลํ ะหมรูํ ํวมกนั คิดวเิ คราะห๑ และแกไ๎ ขปัญหาตาม
ประเดน็ ในใบงาน และสงํ ตัวแทนรายงานในกองลกู เสือ
3) สมุํ ให๎ลกู เสอื นําเสนอผลการวิเคราะหแ๑ ละแกไ๎ ขปัญหาหมูลํ ะ 1 ประเด็น
4) ผ๎ูกํากับลูกเสือนําอภิปราย ให๎ลูกเสือหมํูอื่นเพ่ิมเติม และรํวมกันสรุป แนวทางการ
แก๎ปญั หาในสถานการณ๑ “นาํ้ ทํวมบ๎านในเวลากลางคืน” จดั ทาํ เป็นโปสเตอร๑ติดบอร๑ดให๎
เพือ่ น ๆ ไดศ๎ กึ ษาเพือ่ สามารถนาํ ไปปฏบิ ัตไิ ด๎
4.4 ผ๎กู ํากบั ลกู เสอื เลําเรอ่ื งส้นั ทเ่ี ป็นประโยชน๑
4.5 พธิ ีปดิ ประชมุ กอง (นัดหมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชักธงลง เลกิ )

5. การประเมินผล

58 คมู่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลูกเสอื โท ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5

คู่มอื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสตู รลกู เสอื โท 51
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5

5. การประเมินผล
สังเกต การแสดงออก และการมสี ํวนรวํ มวเิ คราะห๑ และแก๎ไขปัญหาในกลมุํ

6. องค์ประกอบทักษะชวี ิตสาคญั ท่เี กดิ จากกจิ กรรม
คอื การคดิ วเิ คราะห๑ การตดั สนิ ใจและการแก๎ไขปัญหา

7. คณุ ธรรม
7.1 ซอ่ื สัตย๑สจุ รติ
7.2 ความกตญั ๒ู
7.3 รบั ผดิ ชอบ
7.4 อดุ มการณ๑คณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมที่ 9

เพลง

รว่ มใจ

(สรอ๎ ย) รํวมใจเราพรอ๎ มใจ รวํ มใจเราพรอ๎ มใจ รํวมใจเราพร๎อมใจ
(สรอ๎ ย)
งานนอ๎ ยใหญํรวํ มใจกันทํา พวกเราลกู เสอื ไทย
ตํางพร๎อมใจสามคั คี นาํ้ ใจของเรากล๎าผจญ
บากบนั่ อดทน หมนั่ ทาํ ความดี
ผูกมิตรและมไี มตรี เหมือนดง่ั นอ๎ งพรี่ ับความชน่ื บาน
รํวมใจเราพรอ๎ มใจุุุุุุุุุ

พวกเราลูกเสอื ไทย บกุ ปาู ไปลุยนาํ้ นอง
แม๎เราจะฝาู ภยั พาล แตํจิต
เบกิ บาน เพราะความปรองดอง
ชมฟาฺ และนา้ํ ลาํ คลอง เสยี งคกึ คะนอง ร๎องเพลงเพลนิ ใจ

เรอื่ งสนั้ ทีเ่ ป็นประโยชน์

เต่ากับอินทรี

กาลครั้งหนงึ่ นานมาแลว๎ มีเตําตัวหนงึ่ รส๎ู กึ เบ่อื หนํายในถนิ่ ทอ่ี ยูํเดมิ ของตน มนั ประกาศแกํสัตว๑ปีก
ท้ังหลายวําหากผู๎ใดสามารถพาไปอยูํในสถานท่ีอุดมสมบูรณ๑จะมอบทองคําท่ีเก็บสะสมไว๎ให๎เป็นรางวัล

นกอินทรีตัวหนึ่งเห็นชํองทางท่จี ะไดก๎ นิ เนอื้ เตําจงึ รับอาสาโดยใช๎กรงเล็บจับขอบกระดองพาบนิ ขน้ึ ไปบนเวหา
แลว๎ ปลํอยใหเ๎ ตาํ ตกลงมากระแทกหนิ จนกระดองแตก นกอินทรจี งึ บินลงมากนิ เนือ้ เตําอยํางเอร็ดอรํอย

ค5ูม่2อื ส่งเสคชรมู่น้ัิมือปแสรลง่ะะเถสพมรฒัศิมึกแนษลาาะกปพจิีทฒั ก่ี น5รารกมจิ ลกกูรรเมสลอื ูกทเสักือษทะักชษีวะติ ชใีวนิตสในถสาถนาศนึกศึกษษาา ลปกูระเสเภอื ทโลทูกเชสอื้นั สปารมะัญถมหศลักกึ สษตู ารปลีทูกเี่ ส5ือโท 59

เรอ่ื งนส้ี อนใหร้ ู้วา่ ผู๎ใดไวว๎ างใจเปิดโอกาสใหศ๎ ัตรูผู๎นน้ั ยํอมพบกับความพินาศ

ใบงาน

ใหห๎ มํูลกู เสอื รํวมกนั คดิ วิเคราะหแ๑ ละแกไ๎ ขปัญหาตามประเด็นตอํ ไปนี้ เขียนขอ๎ สรุปท่ีไดล๎ งในใบงาน
และสํงตวั แทนในกองลกู เสอื

สถานการณ์ : ฝนตกหนกั เปน็ เวลานาน และเกดิ น้ําทํวมบา๎ นในเวลากลางคืน

1. เม่อื นํา้ กาํ ลงั ทวํ มบ๎านลูกเสอื คดิ วาํ เร่ืองเรงํ ดวํ นทค่ี วรต๎องจดั การทนั ทมี อี ะไรบา๎ ง ใหเ๎ ขยี น
เรียงลาํ ดบั ความเรงํ ดวํ นและความสาํ คญั ตงั้ แตมํ ากไปนอ๎ ย

1.1 .......................................................................................................................................
1.2 .......................................................................................................................................
1.3 .......................................................................................................................................
1.4 .......................................................................................................................................
1.5 .......................................................................................................................................

2. ในกรณีทมี่ ีคนปูวย เดก็ เล็ก หรอื คนชรา อยดํู ๎วยจะดําเนนิ การชวํ ยเหลอื อยํางไร
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

60 คู่มอื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5

คู่มือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลกั สตู รลูกเสือโท 53
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5

ใบความรู้

ชาวริมแม่น้า โก-ลก ทาอยา่ งไร ? เมอ่ื นา้ ท่วมบา้ น

ในฤดฝู น ส่ิงทีช่ าวรมิ ฝ่งั แมนํ ํ้าสุไหงโก-ลกกงั วลอยาํ งมาก คือระดับน้าํ ในแมนํ ้าํ สุไหงโก-ลก ซ่ึง
เพ่ิมสูงขน้ึ จนเอํอลน๎ ตลง่ิ เนอื่ งจากปริมาณน้าํ ฝนบวกกบั ปริมาณน้ําจาก อ.แว๎ง อ.สุคริ ิน และจากประเทศ
มาเลเซียไหลเข๎ามาสมทบ ชาวริมฝ่ังแมํนํ้าสุไหงโก-ลกท่ีอาศัยอยูํในพื้นท่ีราบลํุม ต๎องคอยติดตาม
สถานการณน๑ ้ําทวํ มและการพยากรณอ๑ ากาศอยํางใกล๎ชิด เพ่ือเตรียมความพร๎อมรับมือกับปัญหานํ้าทํวม

ทีต่ อ๎ งประสบอยํางหลกี เลีย่ งไมํได๎ แตสํ ง่ิ หนงึ่ ท่ีพ่นี ๎องชาวริมฝ่ังแมํน้ําสุไหงโก-ลก ถือปฏิบัติ ยามท่ีเกิด

นาํ้ ทํวมฉบั พลันและนํ้าทํวมขังคือ การรวบรวมสติสัมปชัญญะให้ม่ันคง ชาวริมฝ่ังแมํนํ้าสุไหงโก-ลก
มีลาํ ดับความสําคญั ในการถอื ปฏบิ ตั ิเมื่อเกดิ นํา้ ทวํ มดงั น้ี

อยํางแรกสุด คือ สํารวจวํา บ้านท่ีอยู่ ยังอยู่ได้หรือไม่ ? หากพบวําอยู่ไม่ได้ รีบอพยพใหมํ
ทนั ที โดยยา๎ ยไปยังศูนย๑ชวํ ยเหลือผอ๎ู พยพท่ไี ดจ๎ ัดไว๎ และปฏบิ ัติดงั นี้

1. ควบคมุ สตใิ ห๎มน่ั คง รวบรวมคนในบา๎ นให๎อยูํครบ ดแู ลผูส๎ งู อายุ คนพกิ ารและเดก็
2. เก็บสิ่งของสาํ คญั ๆ และจาํ เปน็ ตดิ ตัวไปด๎วยเทํานน้ั เชนํ ยาประจําตัว บัตรประชาชน แวํนตา

โทรศัพท๑มือถอื ทรัพย๑สินมคี ํา สมดุ เงินฝาก เสอื้ ผา๎ เทาํ ทีจ่ าํ เปน็ เป็นตน๎
3. เกบ็ ของสาํ คัญที่เหลอื ใสํกุญแจ ปดิ บา๎ นใหเ๎ รียบร๎อยปลอดภัย เก็บสง่ิ ของในบ๎านขึ้นทสี่ งู ตาม

ใหร๎ วดเรว็ ตามระยะเวลาทม่ี ี
4. ปิดนาํ้ แก๏ส ไฟฟาฺ ถอดปล๊ักอุปกรณไ๑ ฟฟฺาทุกชนดิ ไมํจับเครอ่ื งใชไ๎ ฟฟฺาในขณะตวั เปียกหรือ

เท๎าแชอํ ยใํู นนํ้า
5. ในการอพยพออกจากบา๎ นจะใช๎ไม๎เทา๎ ในการนําทาง เพ่อื ใหแ๎ นํใจวําไมํมีหลุมบํอ ในขณะเดียวกัน

หากกระแสนํา้ ไหลเชี่ยว จะใชเ๎ รือหรือรอใหม๎ ีคนมาชวํ ยในการอพยพ
6. ย๎ายรถขึน้ ไปไวท๎ ส่ี งู ไมํขบั รถหากระดบั น้ําสงู เกินสองเมตร เพราะน้ําอาจพัดตัวรถให๎ลอยไป

ตามกระแสน้ําได๎
7. คอยติดตาม สถานการณ๑น้ําทํวมอยํางตํอเน่ือง และย๎ายกลับเข๎าบ๎านเมื่อสถานการณ๑เข๎าสํู

ภาวะปกตแิ ละปลอดภัยแล๎ว

แตหํ ากพบวาํ ยังอยู่ได้ กจ็ ะถือปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
1. เคลือ่ นยา๎ ยสง่ิ ของทอ่ี ยูตํ าํ่ ขึ้นไว๎ทส่ี ูง หรอื เกบ็ ในภาชนะทก่ี นั นาํ้ ได๎
2. สํารวจนาํ้ ประปา นา้ํ ดื่ม ไฟฟาฺ ห๎องสขุ า วํายังใช๎ไดห๎ รอื ไม?ํ
3. การตัดไฟฟฺา ถอดปล๊ักอุปกรณ๑ไฟฟฺาทุกชนิด เพ่ือปฺองกันกระแสไฟฟฺากระจายไปตามน้ําไมํ

จับเคร่อื งใชไ๎ ฟฟาฺ ในขณะตวั เปียกหรือเทา๎ แชอํ ยํูในนาํ้
4. ตดิ ตามสถานการณ๑นํ้าทํวมในทกุ ชํองทางอยูเํ สมอ

ค่มู ือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 61

54 ค่มู ือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สูตรลกู เสอื โท
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5

5. ตดิ ตํอขอความชวํ ยเหลอื ในส่งิ ทข่ี าดแคลน
6. แจ๎งสถานทีท่ าํ งานหากไมสํ ามารถออกไปทาํ งานได๎
7. จัดหาน้ําไว๎อปุ โภคบริโภคไวใ๎ หเ๎ พยี งพอ โดยประมาณ 2,000 ซซี ี ตํอคนตอํ วัน
8. หากมีผท๎ู ีป่ ระสบปัญหาสุขภาพในบ๎าน รีบขอความชํวยเหลือเม่ือต๎องการไปพบแพทย๑เป็น

การเรํงดวํ น
9. เตรียมอาหารท่ีสามารถเก็บได๎นาน ไมํเนําเสีย ไมํต๎องแชํต๎ูเย็น ไมํต๎องปรุงสุกกํอน เป็น

อาหารพร๎อมทาน ผลไม๎ ผัก นมกลํอง น้ําผลไม๎กลํอง อาหารกระป๋อง เตรียมท่ีเปิดกระป๋อง
(หากไมํเป็นชนิดมี ฝากระป๋องเปิดได๎เอง) อยําเลือกอาหารที่กินแล๎วกระหายนํ้ามาก เชํน
อาหารขนมที่มีรสเค็มจัด ควรเลือกอาหารทใี่ หพ๎ ลงั งานสงู ถ๎ามีเด็กเล็กและผู๎สูงอายุ ให๎เตรียม
อาหารสาํ หรับเดก็ และผู๎สูงอายุด๎วย
10.เตเรตยี รมียไมฟไฉฟาฉยายถ่าถนําไนฟไฉฟาฉยายตะตเะกเียกงียงไมไม้ข๎ดขี ีดไฟไฟเพเพ่อื ่ือสส่อํองสงสวว่าํางงใในนยยาามมฉฉุกุกเเฉฉินิน หหาากกเกิดไม่ํมี
ไฟฟาฺ ใช๎
11. ดูแลสุขอนามัย ปฺองกันการเจ็บปูวย หากไมํมีน้ําล๎างมือ ควรใช๎แอลกอฮอล๑เช็ดกํอนทาน
อาหาร
12. หากสุขาใช๎ไมไํ ด๎ ทําสุขาเคล่ือนทช่ี ว่ั คราวหรือใชพ๎ ลาสติกถงุ ดาํ หากติดอยํนู าน
13. เม่อื มบี าดแผล เกดิ จากอบุ ัติเหตุควรทาํ แผลฆําเชอื้ ทนั ที
14. เม่อื สถานการณน๑ ํา้ ทวํ มสํงผลกระทบตํอรํางกายและจิตใจ ให๎ทํากิจกรรม พูดคุยให๎กําลังใจ
ออกกําลงั กาย เพื่อผํอนคลายความเครียด
15. หากไมจํ าํ เปน็ ห๎ามสมั ผัสนา้ํ ทวํ มขัง เพราะอาจปนเปื้อนสิ่งทีเ่ ป็นอนั ตราย สารเคมี หรือเกิด
ไฟฟาฺ ร่ัว เพอ่ื ความปลอดภยั หากตอ๎ งประสบภัย

เคล็ดลับดี ๆ ท่ีพี่น๎องชาวริมฝั่งแมํนํ้าอ.สุไหงโก-ลก ถือปฏิบัติกันตลอดมาเม่ือประสบภัยนํ้าทํวม
ทําให๎ความสญู เสียน๎อยลงกวาํ ปีทผ่ี าํ น ๆ มาลงเรอื่ ย ๆ สามารถใชเ๎ ป็นแนวทางในการปฏิบัติหากทํานต๎อง
ประสบปัญหาน้ําทํวม เพ่ือความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย๑สินของทํานและครอบครัว ขอขอบคุณข๎อมูล
จาก พี่นอ๎ งรมิ ฝัง่ แมํนํ้าสุไหงโก-ลก ทําโรงเล่ือย ทาํ ประปา

บทความโดย ซาลนี ี เจ๏ะอาแซ

62 คู่มือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5

คมู่ อื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สตู รลกู เสือโท 55
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญ ลูกเสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5

หน่วยท่ี 3 การช่วยเหลือผอู้ ่ืน
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 10 Nothing but net “ไม่เอาอะไรนอกจากมุ้ง” เวลา 1 ชั่วโมง

1. จุดประสงค์การเรียนรู้
สร๎างจิตสํานกึ ในการดูแลตนเองและผ๎อู ืน่ ให๎ปลอดภยั จากโรคภัยไขเ๎ จ็บ

2. เน้อื หา
การบริการ และชํวยเหลอื ผอู๎ ื่น

3. สื่อการเรียนรู้
3.1 แผนภมู เิ พลง
3.2 กรณศี กึ ษาเรื่อง Nothing but net “ไมเ่ อาอะไรนอกจากมุง้ ”
3.3 เรอ่ื งส้นั ทีเ่ ป็นประโยชน๑

4. กิจกรรม
4.1 พธิ เี ปดิ ประชุมกอง (ชักธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 ผ๎ูกาํ กบั ลูกเสอื ถามลกู เสือวาํ ใครเคยชวํ ยเหลอื ผูอ๎ ่ืนบา๎ ง/ชํวยแล๎วรส๎ู กึ อยาํ งไร
4.4 ผู๎กํากับลูกเสอื มอบหมายใหล๎ กู เสอื แตลํ ะหมศํู กึ ษากรณีศึกษาเรื่อง Nothing but net
“ไมเ่ อาอะไรนอกจากมุ้ง” และอภปิ รายตามประเดน็ ตํอไปนี้
1) ลกู เสือรสู๎ ึกอยํางไรตอํ แคตเธอรีน
2) ลกู เสอื คดิ วาํ อะไรเป็นแรงจูงใจทาํ ให๎แคตเธอรีนชวํ ยเด็กแอฟรกิ าใหป๎ ลอดภยั จาก
การปูวยและตายจากไขม๎ าลาเรยี
3) การบริการชํวยเหลอื ผ๎ูอืน่ เป็นผลดีตํอตนเองและผอ๎ู ื่นอยํางไร (ทําให๎เราภูมใิ จและ
ผู๎อน่ื ได๎รบั ความชํวยเหลอื )
4) ให๎ลูกเสอื คดิ แผนงานในการบริการ/ชวํ ยเหลอื ผอู๎ ่นื
4.5 ผ๎กู าํ กบั ลูกเสอื ใหล๎ กู เสอื สรุปแผนงานบรกิ ารของลกู เสอื ที่เกีย่ วกบั การปอฺ งกนั โรคภยั ไข๎เจบ็
4.6 ผ๎กู าํ กับลกู เสอื เลาํ เรอื่ งสนั้ ท่ีเป็นประโยชน๑
4.7 พิธีปิดประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชกั ธงลง เลกิ )

5. การประเมนิ ผล
5.1 สงั เกตการคดิ การวางแผน
5.2 สงั เกตกระบวนการจิตอาสา ตลอดกจิ กรรม

คูม่ อื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 63

6. องค์ประกอบทักษะชีวติ สาคัญท่เี กดิ จากกิจกรรม
คือ ความคิดวิเคราะห๑ ความคิดสร๎างสรรค๑ ความเห็นใจผ๎ูอื่น ความภาคภูมิใจในตนเองและ
คว5า6มรบั ผคชดิ ู่ม้นั ชือปอสรง่ะบเถสตมรศอํิมกึ แสษลังาะคปพมทีฒั ี่ น5ากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสูตรลูกเสือโท

7. คุณธรรม

5.2 สังเกตกระบวนการจิตอาสา ตลอดกจิ กรรม

6. องคป์ ระกอบทกั ษะชวี ติ สาคญั ท่ีเกิดจากกจิ กรรม
คือ ความคิดวิเคราะห๑ ความคิดสร๎างสรรค๑ ความเห็นใจผู๎อ่ืน ความภาคภูมิใจในตนเองและ

ความรบั ผิดชอบตํอสังคม

7. คณุ ธรรม
7.1 ซื่อสัตยส๑ จุ ริต

7.2 ควาามมกกตตญั ญั ญ๒ู ู

7.3 รบั ผิดชอบ

7.4 อดุ มการณ๑คณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมที่ 10
เพลง

เรามารกั กัน

เรามารักกนั รํวมผูกพันสามัคคี
ปรองดองเหมือนดังนอ๎ งพ่ี ปรองดองเหมอื นดังนอ๎ งพ่ี
สามคั คกี ลมเกลียวสรา๎ งสรรค๑ สามัคคกี ลมเกลียวสรา๎ งสรรค๑
รักชาติ ศาสน๑ กษัตริย๑ เปน็ คุณสมบัตขิ องชนชาวไทย
พวกเราเปน็ ลูกเสอื ไทย พวกเราเปน็ ลกู เสอื ไทย
ต๎องมนี าํ้ ใจบําเพ็ญตนเอย ตอ๎ งมีนา้ํ ใจบําเพ็ญตนเอย

64 คมู่ ือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลูกเสือโท ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

คมู่ ือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสูตรลูกเสอื โท 57
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5

กรณีศกึ ษา Nothing but net “ไมเ่ อาอะไรนอกจากมุ้ง”

เดก็ น๎อยอายุแคํ 5 ขวบ ดสู ารคดขี องทวีปแอฟริกา บอกวํา... เฉลย่ี 30 วินาที กจ็ ะมเี ด็กคนหน่ึง
ตายเพราะโรคมาลาเรีย เธอขดตัวอยูํบนโซฟา แล๎วก็เริ่มนับนิ้ว 1-2-3-4..... ตอนเธอนับถึง 30 ก็สีหน๎า
ตกใจ ตะโกนบอกแมํวาํ “แมํ ๆ เด็กแอฟรกิ าตายไปแล๎ว 1 คน เราต๎องทาํ อะไรสักอยําง” แมํเธอก็เข๎าหา
ข๎อมูลในอินเตอร๑เน็ต แล๎วบอกแคตเธอรีนวํา “มาลาเรียเป็นโรคที่นํากลัว เด็ก ๆ เมื่อเป็นโรคน้ี มักจะ
เสยี ชีวิต”

“แล๎วทาํ ไมถงึ เป็นมาลาเรีย”
“มาลาเรียติดตอํ โดยยงุ แอฟรกิ ามยี งุ เยอะมาก”
“แล๎วทาํ ไงดี”
“ตอนน้มี ีมง๎ุ ท่แี ชนํ ้าํ ยากนั ยงุ เมอื่ มสี ง่ิ นี้ กจ็ ะปอฺ งกันคนไมํโดนยงุ กัด”
“แล๎วทําไมพวกเขาไมใํ ชมํ ๎ุงแบบนลี้ ะ”
“มุ๎งน้ีแพงเกนิ ไปสําหรับพวกเขา ๆ ไมมํ ปี ัญญาซื้อ”
“ไมไํ ด๎ เราต๎องทาํ อะไรแลว๎ ”
ผาํ นไปหลายวัน แมไํ ดร๎ บั โทรศัพทจ๑ ากครทู ี่ รร. อนุบาล บอกวาํ แคตเธอรนี ไมํได๎จาํ ยคาํ ขนมแมํ
ถามแคตเธอรนี เงินไปไหน
“ถ๎าหนูอยูํ รร. ไมกํ นิ ขนมปกติ ไมกํ นิ จกุ จกิ ไมซํ ้อื ต๏ุกตาบาร๑บ้ี อยาํ งนพี้ อจะซอ้ื ม๎ุงได๎ไหมคะ”
แมํพาแคตเธอรนี ไปหา๎ ง ใชเ๎ งนิ 10 เหรียญ ซื้อมุ๎งใหญํ ๆ อันหน่ึง พอสําหรับเด็ก 4 คน แล๎วก็
โทรหาองคก๑ รการกุศลทีท่ ํางานในแอฟริกา วําจะสํงมุ๎งไปได๎ยังไง และก็บังเอิญเจอหนํวยงานหนึ่งที่ชื่อ
Nothing but net “ไมํเอาอะไรนอกจากมุ๎ง” หนํวยงานน้ี จะสํงม๎ุงไปให๎เด็กแอฟริกาโดยเฉพาะ แคตเธอรีน
จงึ จดั การสํงม๎งุ ไปใหห๎ นํวยงานนี้ด๎วยมอื ของตัวเอง
ผํานไป 1 สัปดาห๑เธอได๎รับจดหมายขอบคุณจากหนํวยงานนี้ ใน จม. บอกวําเธอเป็นผู๎บริจาคที่
อายนุ อ๎ ยทส่ี ดุ และบอกอีกวาํ ถา๎ บริจาคครบ 10 อัน จะได๎รับใบประกาศเกียรติคุณ แคตเธอรีนขอให๎แมํไป
เปดิ ท๎ายขายของกบั เธอ เอาหนังสือเกํา ของเลํน เสอ้ื ผ๎าเกาํ มาขาย ๆ ได๎เงนิ จะได๎เอาไปบริจาค แตขํ ายไมดํ ี
เลย เธอคดิ วาํ “ตอนหนบู รจิ าคมุ๎ง เขายังให๎ใบประกาศเกียรติคุณ ง้ันคนอื่นซื้อของหนู ให๎เงินหนู งั้นเขาก็
ตอ๎ งไดร๎ บั เหมือนกนั เนอะ” แล๎วเธอกเ็ รม่ิ ลงมือทาํ ใบประกาศเกยี รติคุณ แมํชํวยเธอซื้อวัสดุ พํอชวํ ยจดั ห๎อง
น๎องชายชวํ ยวาดรูปหัวใจแหงํ รัก ใบประกาศเกยี รติคุณทกุ ใบมลี ายมอื ทีเ่ ขียนโดยตัวเธอเองวํา “ในนามของ
คณุ เราไดซ๎ อื้ มง๎ุ 1 อนั สํงไปแอฟริกา” แนนํ อน มีลายเซน็ เธอดว๎ ย แคํบริจาค 10 เหรียญ ซ้อื มุ๎ง 1 อัน ก็จะ
ไดใ๎ บประกาศเกยี รตคิ ุณ
เพอ่ื นบา๎ นเหน็ ใบประกาศเกยี รติคณุ ของเธอ ร๎ูสึกวําไร๎เดียงสาอยํางนํารักมากและก็ซาบซ้ึง แคํ
ไมนํ าน ใบประกาศเกียรตคิ ุณก็ถกู แจกออกไป 10 ใบ เธอก็สํงเงินไปที่หนํวยงาน “ไมํเอาอะไรนอกจาก

ค่มู ือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 65

58 คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสตู รลกู เสือโท
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5

มงุ๎ ” หนํวยงานก็สํงใบประกาศเกยี รตคิ ณุ และตง้ั เธอเป็น “ทูตแหํงม๎ุง” คนท่ีหนํวยงานบอกแคตเธอรีนวํา
ม๎งุ ทีเ่ ธอบรจิ าคถกู สงํ ไปยังหมูํบา๎ นหนึ่งในประเทศกานํา ในหมํูบ๎านมี 550 คน “โอ๎ พระเจ๎า แล๎ว 10 อัน
พอใช๎ที่ไหน”เพื่อนบ๎านนอกจากซ้ือม๎ุงจากแคตเธอรีนยังชํวยเธอทําใบประกาศเกียรติคุณ กลายเป็น
ทมี งานแคตเธอรีนบาทหลวงในชุมชนกเ็ ชิญเธอไปพดู ในโบสถ๑ พดู แคํ 3 นาที ก็ได๎เงินบริจาคมา 800 เหรียญ
ทาํ ใหเ๎ ธอมกี ําลงั ใจเพมิ่ ขึ้นมาก เดินทางไปพูดที่โบสถอ๑ นื่ ตอนเธออายคุ รบ 6 ขวบ ได๎รับเงินบริจาคแล๎ว
6,316 เหรยี ญ

“ไมเํ อาอะไรนอกจากมง๎ุ ” เอาเรื่องของเธอลงในเวป วันหนึ่งเธอเห็นเบคแฮมปรากฏตัวทาง TV
ชํวยทําประชาสมั พนั ธก๑ ารกศุ ลให๎ “ไมเํ อาอะไรนอกจากม๎ุง” เธอรีบเขยี นจดหมายขอบคุณไปให๎เขา และ
แนนํ อน เธอไดส๎ ํงใบประกาศเกยี รตคิ ุณไปให๎เขาด๎วย 1 ใบ จากน้ันเบคแฮมเอาใบประกาศเกียรติคุณนี้
ขนึ้ เวปสํวนตวั เรอื่ งจึงแพรกํ ระจายออกไปอกี

6 ส.ค. 2007 เธอได๎รับจดหมายจากหมํูบ๎านที่รับมุ๎ง เด็กในหมูํบ๎านเขียนวํา“ขอบคุณมุ๎งของเธอ
เราเหน็ รูปเธอ เรารูส๎ ึกวําเธอสวยมาก” แคตเธอรนี ดใี จมาก ทําใหม๎ ีกําลงั ใจเพม่ิ อีก เธอและทีมงานลงมือทํา
ใบประกาศเกียรติคุณ 100 ใบ สํงให๎มหาเศรษฐีท่ีติดอันดับในนิตยสาร ฟร๏อบ ในนั้นมีอยํูใบหน่ึงเขียนวํา
“คุณบิลเกตทเ่ี คารพ ไมมํ ีมุ๎ง เด็กแอฟริกาจะตายเพราะมาลาเรยี พวกเขาตอ๎ งการเงิน แตํเงนิ อยูํทีค่ ณุ ....”

5 พ.ย.2007 มลู นธิ บิ ลิ เกตประกาศบริจาคเงิน 3 ล๎านเหรีญให๎ “ไมํเอาอะไรนอกจากม๎ุง” บิลเกต
บอกวาํ “ผมไดร๎ บั ใบประกาศเกียรติคุณพร๎อมจดหมายฉบับหนึ่ง บอกวํา เงินที่ซ้ือม๎ุงให๎เด็กแอฟริกาอยํูท่ี
ผม ถา๎ ผมไมเํ อาเงินออกมา ไมํได๎แนํ”

ปี 2008..... มูลนิธิบิลเกตออกเงินถํายทําสารคดี “เด็กชํวยเด็ก” แคตเธอรีนจึงได๎เหยียบแผํนดิน
แอฟรกิ า ตอนเธอเห็นพวกเดก็ ๆ เขียนชอื่ เธอไว๎บนม๎ุง พวกเขาเรียกมงุ๎ ชํวยชีวิตนว้ี าํ "ม๎ุงแคตเธอรนี "

Katherine Commale

66 คมู่ อื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

คูม่ ือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลักสูตรลูกเสอื โท 59
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5

เร่อื งสน้ั ที่เป็นประโยชน์ คนต่อเทียน

กาลครงั้ หนึง่ นานมาแลว๎ มีหมํบู า๎ นเลก็ ๆ แหงํ หน่ึงต้ังอยใํู นปูาลึกทีห่ าํ งไกลจากความเจริญ ผู๎คน
ในหมบํู า๎ นลว๎ นแล๎วแตเํ ป็นคนยากจนและมีชีวิตท่ีลําบาก หนําซ้ํา...หลังพระอาทิตย๑ตกดิน ชาวบ๎านทุกคน
กแ็ ทบจะไมํกลา๎ ออกจากเรอื นพัก เพราะรอบ ๆ หมูํบ๎านเปน็ ปาู ทบึ ที่แม๎แตแํ สงจนั ทร๑กย็ งั ยากทีจ่ ะสอํ งลงมาได๎
ทาํ ให๎สตั ว๑รา๎ ยตาํ ง ๆ มักแฝงตัวอยูํในความมืดแล๎วหาโอกาสทําร๎ายชาวบ๎านหรือนักเดินทางที่บังเอิญผําน
ไปผํานมาอยเูํ สมอๆ

วนั หนงึ่ ชายชราซึ่งเป็นคนเกาํ แกขํ องหมบูํ ๎านรู๎สกึ เป็นหวํ งลกู ๆ หลาน ๆ และผ๎ูคนท่ีอาจโดนสัตว๑
ปูาทํารา๎ ยไมวํ นั ใดก็วันหนง่ึ ชายชราจึงปรึกษากับภรรยาที่มีอายุไลเํ ล่ียกันเพ่ือหาวิธีปฺองกันอันตรายให๎แกํ
ทกุ ๆ คน หลังจากทีส่ องตายายปรึกษาหารือกันอยํูหลายวัน ในที่สุด ท้ังคํูก็ตัดสินใจนําเงินท่ีต้ังใจเก็บไว๎
ใช๎ในบ้ันปลายชีวิตไปซื้อเทียนไขจํานวนหนึ่งหมื่นเลํม แล๎วทําการจุดเทียน พร๎อมกับนํามันไปติดต้ังบน

ก๎อนหินทง้ั ในตัวหมํูบา๎ นและในราวปาู จนหมบํู า๎ นและปูาที่เคยมดื สนทิ ในยามคาํ่ คืนกลบั สวํางไสวด๎วยแสงเทียน
ดงู ามตานาํ พิศวง

แสงเทียนท่ีงดงามทําให๎ผู๎คนจากท่ัวทุกสารทิศอยากร๎ูวําแสงสวํางกลางปูามีที่มาอยํางไร
ชาวเมืองทีอ่ ยํหู ํางไกลบางคนเข๎าใจวํา ผู๎ท่ีนําเทียนมาติดต้ังในปูาอาจเป็นคนของพระราชาผ๎ูครองแคว๎น,
บางคนเดาวําอาจเป็นความเมตตาของเศรษฐีใจบุญที่มีเงินมหาศาล, บางคนคิดไปวําอาจเป็นฝีมือของ
เทวดาท่ีแอบมาชํวยเหลือมนุษย๑ เมื่อความสงสัยทวีมากข้ึนเรื่อย ๆ ชาวเมืองทั้งหลายจึงพากันเข๎าไปใน

ปาู เพ่ือหาคาํ ตอบ
เมื่อชาวเมืองท้ังหลายพากันเข๎ามาในปูา พวกเขาก็เห็นชายชรากับภรรยาคํอย ๆ เดินจุดเทียน

ไปทีละเลํม ๆ จนครบท้ังหน่งึ หม่นื เลํมอยํางไมํยํอท๎อตํอความเหน็ดเหนื่อย หลังจากน้นั ชาวเมืองกต็ าม
สองตายายกลับไปที่เรือนพัก ซ่ึงเพียงแคํเห็นสภาพของเรือนพัก ทุกคนก็ร๎ูในทันทีวํา ผ๎ูเฒําทั้งสองไมํ
นําจะเป็นคนที่มีเงินทองเหลือกินเหลือใช๎แตํอยํางใดเลย

ชาวเมืองทั้งหลายจึงสงสัยวํา ชายชรากับภรรยาได๎อะไรจากการจุดเทียนไปทั่วท้ังปูา (หรือมีคน

จ๎างวานใหท๎ ําเชํนน)ี้ แตํเม่อื ชาวเมอื งไดฟ๎ ังคําตอบของผู๎เฒาํ ทัง้ สอง ชาวเมอื งก็ถึงกับพูดไมํออก เพราะท้ัง
คํตู อบวํา ส่งิ ท่ีได๎จากการจดุ เทยี นมีเพยี งอยํางเดยี ว นน่ั คอื “ความสุขใจที่ได๎ชวํ ยเหลอื ผอู๎ ่นื ”

จริง ๆ แล๎ว สองตายายผ๎ูคุ๎นเคยกับการใช๎ชีวิตในปูาไมํจําเป็นต๎องอาศัยแสงสวํางในยามคํ่าคืน
เลยแตํเพยี งเพราะผ๎ูเฒาํ ทัง้ สองอยากปฺองกนั ภยั ใหล๎ ูก ๆ หลาน ๆ ในหมูํบ๎านของตัวเองและผ๎ูคนทั้งหลาย
ท่ีอาจจําเป็นต๎องเดินทางผํานปูาในยามคํ่าคืน ชายชราและภรรยาจึงเสียสละเงินสํวนตัวก๎อนสุดท๎ายและ

เรี่ยวแรงที่มที าํ การจุดเทยี นหนงึ่ หมื่นเลมํ ทกุ วนั เพื่อให๎ทกุ ๆ คนปลอดภัยจากสัตว๑รา๎ ยในปูา
ความต้ังใจดีของสองตายายจุดประกายให๎ทุก ๆ คนนึกอยากทําความดีเพื่อผ๎ูอื่นบ๎าง ชาวเมือง

คูม่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 67

60 คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สตู รลกู เสอื โท
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5

เลยแตํเพยี งเพราะผูเ๎ ฒาํ ท้ังสองอยากปฺองกนั ภัยใหล๎ ูก ๆ หลาน ๆ ในหมูํบ๎านของตัวเองและผ๎ูคนท้ังหลาย
ท่อี าจจําเป็นต๎องเดินทางผํานปูาในยามคํ่าคืน ชายชราและภรรยาจึงเสียสละเงินสํวนตัวก๎อนสุดท๎ายและ
เร่ยี วแรงทีม่ ีทาํ การจุดเทียนหน่งึ หมน่ื เลํมทกุ วันเพื่อให๎ทกุ ๆ คนปลอดภัยจากสัตวร๑ ๎ายในปาู

ความต้ังใจดีของสองตายายจุดประกายให๎ทุก ๆ คนนึกอยากทําความดีเพื่อผ๎ูอื่นบ๎าง ชาวเมือง
ทั้งหลายจึงผลัดกนั นําเทียนเลํมใหมํมาแทนเทียนหน่ึงหม่ืนเลํมของชายชราและภรรยาที่คํอย ๆ ส้ันลงทุกวัน ๆ
รวคมูม่ ทอื สั้ง่งพเสวรกมิ เขแลายะพงั ัฒบรนจิ าากคจิ เกงรินรทมลอูกงแเสลอื ะทแักบษํงะปชันีวิตขใา๎ นวสขถอางนใศหึก๎แษกาชํ าลวกู บเส๎าอื นโใทนปชัน้าู ปทรี่มะฐีถามนศะกึ ยษาากปจีทน่ี 5กวาํ อกี ด๎วย67

สวํ นชาวบา๎ นในปาู นนั้ พวกเขากน็ ําอํางใสนํ ํ้าดม่ื มาตั้งไว๎ท่ีหน๎าบ๎าน, ทําเพิงน่ังพักให๎คนท่ีเหนื่อยอํอน
จากการเดินทางได๎ใช๎หลบแดด, ติดปฺายและกระดิ่งที่ประตูให๎คนท่ีต๎องการความชํวยเหลือเรียกหาได๎ทุก
เวลา, จัดขนมผดั ขนมต๎มและผลไม๎วางไว๎ให๎นักเดินทางได๎ใช๎รองท๎อง และพยายามเสนอตัวชํวยเหลือคน
ทกุ คนตามกาํ ลังท่มี อี ยูํ

ความดที ี่ผ๎ูสงู อายุท้ังสองไดก๎ ระทาํ ลงไปเปรียบเหมือนการเริ่มต๎นจุดเทียนให๎แสงสวํางแกํสังคมท่ี
มืดมดิ แมใ๎ นตอนแรกแสงอาจยงั น๎อย แตเํ ม่อื ผค๎ู นเห็นดเี ห็นงามกับการทาํ ความดแี ละพร๎อมใจกันตํอเทียน
แหํงความดีด๎วย ทุกหนทกุ แหํงจงึ เตม็ เปย่ี มไปด๎วยความดงี ามและความสขุ สองตายายดีใจมากที่ได๎เห็น
คนทุกคนชํวยเหลือเกือ้ กูลกัน สํวนผ๎ูคนทั้งหลายนั้น เมื่อพวกเขาเล็งเห็นถึงจิตใจอันดีงามของ ผ๎ูเฒําทั้ง
สอง ทุกคนจึงชํวยกันดูแลชายชราและภรรยาผ๎ูเป็นบุคคลต๎นแบบให๎มีความสุขสืบมา...ตลอด ชั่วชีวิต
ของทําน
เรอื่ งน้ีสอนให้รวู้ า่ การใหม๎ ีความสขุ มากกวําการรับ

68 คู่มอื สค่งมู่ เสือรสิม่งแเลสะรพมิ ัฒแนลาะกพิจัฒกรนรามกลจิกู เกสรอื รทมกั ลษูกะชเสวี อืิตใทนักสษถาะนชศวี ึกิตษใานสปถระาเนภทศลกึ กู ษเสาือลสกูามเชสัญัน้ ือปโหทรละักถชสม้ันตู ศรปึกลษรูกะาเถปสือมีทโ่ีศท5กึ ษาปีท6่ี15

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5
หนว่ ยท่ี 4 การเดนิ ทางไปยังสถานท่ีตา่ ง ๆ

แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 11 ทิศ และการใชเ้ ขม็ ทิศ เวลา 1 ชว่ั โมง

1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1.1 บอกชื่อทศิ ทัง้ 8 ไดถ๎ กู ตอ๎ ง
1.2 สามารถใชเ๎ ขม็ ทิศแบบประเภทซิลวาไดอ๎ ยํางถกู ต๎อง

2. เนื้อหา
ทศิ และการใชเ๎ ข็มทศิ

3. ส่อื การเรยี นรู้
3.1 แผนภูมทิ ศิ ท้งั 8 ทิศ
3.2 เขม็ ทศิ (แบบประเภทซิลวา)
3.3 แผนภมู ิเพลงทศิ ทง้ั 8 ทศิ
3.4 เร่ืองส้นั ทเี่ ป็นประโยชน๑

4. กิจกรรม
4.1 พิธเี ปดิ ประชมุ กอง (ชักธงขึ้น สวดมนต๑ สงบนงิ่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงค๑การเรยี นร๎ู
1) ผูก๎ าํ กบั ลูกเสอื เตรียมฐานสาธติ ใหล๎ กู เสือฝึกปฏิบัติโดยผู๎กํากบั อธบิ ายประกอบการสาธติ ดงั น้ี
ฐานที่ 1 การใชเ๎ ขม็ ทิศ

ฐานที่ 2 การหาทิศโดยอาศัยธรรมชาติ
ฐานที่ 3 ฐานรวม ทดสอบการใช๎เขม็ ทิศ
2) ผูก๎ าํ กบั ลกู เสอื สรุปลูกเสอื จดบันทกึ ความเขา๎ ใจ
4.4 ผ๎กู าํ กบั เลําเร่อื งสัน้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน๑
4.5 พธิ ีปิดประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชกั ธงลง เลิก)

5. การประเมินผล

คมู่ อื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 69

62 ค่มู ือสง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สตู รลูกเสือโท
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

5. การประเมินผล
5.1 สงั เกต
5.2 ทดสอบการหาทศิ ทางโดยใชแ๎ ผนท่ีและเขม็ ทิศ

6. คุณธรรม
6.1 ซอ่ื สัตยส๑ จุ รติ
6.2 รับผดิ ชอบ
6.3 ความกตญั ๒ู
6.4 อดุ มการณ๑คุณธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 11
เพลง

ทศิ

ทศิ ทง้ั แปดทศิ ขอใหค๎ ดิ จาํ ใหเ๎ คยชิน

อุดรตรงข๎ามทักษิณ บรู พาประจิมจาํ ไว๎
อสี านตรงหรดี ทํองอกี ทจี าํ ให๎ข้นึ ใจ
พายัพนน้ั อยํตู รงไหน ตรงข๎ามไปคืออาคเนย๑

เรื่องสั้นท่เี ปน็ ประโยชน์

แสงอาทิตย์

นายแดงเป็นคนหาของปูาอยูํในหมบูํ ๎านสมบูรณ๑ ทุกวันเขาจะออกหาของปูาโดยเดินลึกเข๎าไป
ในปูาเรอื่ ย ๆ ตามทิศทางทไ่ี มซํ ้ํากัน และนําของปูาท่ีไดไ๎ ปขายในหมบํู า๎ น

บาํ ยวันหน่งึ ขณะทน่ี ายแดงกาํ ลังหาของปูาอยํูนั้น ได๎เกิดลมพายุรุนแรง ท๎องฟฺามืดคร้ึม ทําให๎
นายแดงไมํสามารถหาทิศกลับบ๎าน เพราะมืดมากมองไมํเห็น นายแดงจําได๎แตํหมูํบ๎านอยูํทางทิศ
ตะวันออกของปาู เทาํ นนั้ นายแดงคดิ อยํใู นใจวําตอนบํายต๎นไมใ๎ หญดํ ๎านทีถ่ กู แสงแดดต๎องหันเข๎าหาทิศ
ตะวันตกสวํ นดา๎ นตรงขา๎ มน้นั จะเปน็ ทศิ ตะวนั ออก เมือ่ คิดได๎ดังน้ันเขาจึงรีบใช๎มือสัมผัสรอบ ๆ ต๎นไม๎
เพ่ือหาด๎านท่ีอุํน ๆ เม่ือหาพบแล๎วเขาจึงตัดสินใจเดินทางไปด๎านตรงกันข๎ามกับด๎านท่ีอํุนของต๎นไม๎
ไปเร่อื ย ๆ ไมนํ านเขาก็เดนิ ถึงหมํบู ๎านอยาํ งปลอดภัย

70 คู่มือคส่มู ง่ เือสสร่งมิ เแสลระิมพแฒั ลนะาพกฒัจิ กนรรามกลิจูกกเสรอืรมทกัลษูกะเชสีวอื ติ ทใกันสษถะาชนวี ศิตึกใษนาสปถราะนเภศทกึ ลษกู าเสลอื สกู าเมสชัญอื น้ั โปทหรละักชถส้นัมูตศปรึกรลษะกู าถเปสมือที ศโ่ี ท5ึกษาปีท6่ี 53

เรื่องนี้สอนใหว้ ่า การรจ๎ู กั สังเกตส่งิ แวดล๎อม ยอํ มมีประโยชน๑ตํอตนเองและนาํ ไปใชใ๎ นชวี ิตประจําวันได๎

การหาทิศโดยอาศยั ธรรมชาติ

ในกรณีที่ลูกเสือไมํมีเข็มทิศ อาจหาทิศโดยการสังเกตจากสิ่งที่มีอยูํตามธรรมชาติ หรือ

สิง่ แวดลอ๎ มทเ่ี ปน็ จดุ เดํนสังเกตไดง๎ าํ ย ดังน้ี

1. สงั เกตทิศทางลม โดยวิธงี ําย ๆ เชนํ โยนหญ๎าแห๎ง หรือฝุูนข้ึนไปบนอากาศ เมื่อคิดวําอาจ
เดินหลงทางกใ็ ห๎ตรวจสอบทศิ ทางลมอกี ครัง้ หนง่ึ

2. สงั เกตเถาวัลย์ โดยธรรมชาติยอดเถาวัลย๑จะพันต๎นไม๎ไปทางทิศตะวันออก เพ่ือหันเข๎ารับ

แสงอาทิตย๑ เม่ือทราบทิศตะวันออกก็สามารถหาทิศอ่ืน ๆ ได๎ โดนยืนกางแขนหันหน๎าไปทางทิศ
ตะวันออก ซา๎ ยมอื คอื ทศิ เหนอื ขวามือคือทิศใต๎ และข๎างหลงั คอื ทศิ ตะวนั ตก

3. สงั เกตความอุ่นของต้นไม้ หลังอาทติ ย๑ลบั ขอบฟฺาหาทิศโดยใช๎แกม๎ แนบกบั ต๎นไม๎ใหญํ ด๎าน

ที่อุํนกวําแสดงวําเป็นทิศตะวันตก เน่ืองจากเพ่ิงได๎รับแสงแดดมาไมํนานนัก เม่ือทราบทิศตะวันตกก็

สามารถหาทศิ อื่น ๆ ได๎ โดยการยืนกางแขนหันหลงั ชนตน๎ ไมข๎ า๎ งท่อี ุํน ด๎านหน๎าจะเป็นทิศตะวันตก ทิศ

เหนอื อยูํขวา ทศิ ใตอ๎ ยํูซ๎าย และด๎านหลังเปน็ ทศิ ตะวันออก

4. สังเกตดวงอาทติ ย์ ใน 1 ปีดวงอาทติ ย๑ขึ้นตรงทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดีอยูํ
2 วนั คอื 21 มีนาคม และ 22 กนั ยายน ระหวําง 22 มีนาคมถึง 21 กันยายน จะขึ้นและตกเฉียงไปทาง

ทิศเหนือ และเฉยี งเหนอื มากท่ีสดุ (23.5 องศา) ในวันที่ 21 มิถุนายน สํวนระหวําง 23 กันยายนถึง 20

มีนาคม จะขน้ึ และตกเฉียงไปทางทิศใต๎ เฉยี งมากที่สดุ (23.5 องศา) ในวันที่ 21 ธนั วาคม

ฤดูหนาว สงั เกตดวงอาทติ ยจ๑ ากเวลาดังน้ี
6.00 น. ทศิ ตะวันออกคอํ นไปทางทศิ ใตเ๎ ลก็ นอ๎ ย 9.00 น. ทิศตะวันออกเฉยี งใต๎

12.00 น. ทศิ ใต๎ 15.00 น. ทิศตะวันตกเฉยี งใต๎

18.00 น. ทศิ ตะวันตก

ฤดูรอ้ น สังเกตดวงอาทิตยจ๑ ากเวลาดงั น้ี 9.00 น. ทิศตะวันออกเฉยี งเหนอื
6.00 น. ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

12.00 น. ทศิ เหนอื 15.00 น. ทศิ ตะวันตกเฉยี งเหนือ

18.00 น. ทิศตะวันตก

5. สังเกตดวงจนั ทร์ มขี ๎อสังเกตดงั น้ี

วนั ขา้ งขึน้ ดวงจันทรจ๑ ะสวํางไมํเตม็ ที่ และขนึ้ กอํ นดวงอาทิตย๑ลับขอบฟฺา หันด๎านสวํางไปทาง
ทศิ ตะวนั ตก และหนั ด๎านแหวงํ ไปทางทศิ ตะวันออก

วันขน้ึ 15 คา่ ดวงจนั ทรส๑ วํางเตม็ ดวงเป็นวงกลมสุกใส ข้นึ กอํ นดวงอาทติ ย๑ลับขอบฟฺาเล็กน๎อย
วันขา้ งแรม ดวงจนั ทร๑จะสวํางไมเํ ต็มท่ี และขึ้นหลังจากดวงอาทิตย๑ลับขอบฟฺาไปแล๎ว หันด๎าน

สวํางไปทางทศิ ตะวันออก และหนั ด๎านแหวงํ ไปทางทิศตะวันตก

คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 71

64 คมู่ อื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สตู รลกู เสอื โท
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5

6. สังเกตดาว สังเกตจากดาวฤกษซ๑ ่ึงขึน้ ประจําที่ ได๎แกํ
1) ดาวเหนือ ขนึ้ ตรงทศิ เหนอื เสมอ มีแสงสวาํ งมองเห็นดว๎ ยตาเปลาํ ไดง๎ ําย

2) กลุม่ ดาวเตา่ หรอื กลมุ่ ดาวพราน ประกอบด๎วยดาวฤกษ๑ 7 ดวงเรียงกัน เห็นในชํวงหัวค่ํา
ตั้งแตํเดือนธันวาคมเป็นต๎นไป ขึ้นทางทิศตะวันออก ชํวงหัวค่ําจะอยูํตรงศีรษะพอดี และตกทางทิศ
ตะวันตกในเดอื นเมษายน

3) กล่มุ ดาวจระเข้หรือดาวหมีใหญ่ ดาวฤกษ๑ 7 ดวง เรียงตัวคล๎ายกระบวยตักน้ํา ข้ึนประจํา
บนท๎องฟฺาทางทิศเหนือ มองเห็นได๎ด๎วยตาเปลํา ชํวงหัวคํ่าเดือนกุมภาพันธุ๑จะเห็นข้ึนทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อข้ึนสูงสุดแล๎วจะอยูํทางทิศเหนือประมาณ 45 องศาในเวลาเท่ียงคืน และตก
ลับขอบฟาฺ ทางทศิ ตะวันตกเฉยี งเหนือในเวลาใกลส๎ วําง

4) กล่มุ ดาวแมงปอ่ ง เรียงตัวคล๎ายแมงปูอง ข้ึนทางทิศตะวันออกเฉียงใต๎ โดยเอาหัวขึ้นกํอน
และตกลับขอบฟาฺ ทางทศิ ตะวันตกเฉยี งใต๎โดยเอาข๎างลง ขนึ้ เวลาใกล๎สวาํ งชํวงต๎นเดือนกุมภาพันธ๑ และ
ข้ึนตอนหัวคํ่าในเดือนพฤษภาคม

5) กลุ่มดาวค้างคาวหรือกลุ่มดาวแคสสิโอเปีย กลํุมดาวฤกษ๑ 5 ดวง เห็นเป็นรูปตัว M
ในขณะข้นึ ทางทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และเห็นเป็นรปู W ในขณะตกทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนือ

เรื่องส้นั ทเ่ี ป็นประโยชน์ ความอดทน

นกั ลําสตั ว๑ผู๎ยิง่ ใหญคํ นหนงึ่ เปน็ ชาวแอฟริกาใต๎ ช่ือ เอฟ ซี เซลล๑ (F.C Selous) ให๎ตัวอยํางอนั ดี

ในเร่ืองของความอดทนแบบลกู เสอื ในเม่อื เขาไปลาํ สตั วท๑ บี่ ารอดเซแลนด๑ (Barotseland) ทางตอนเหนือ
ของแมนํ าํ้ ซมั เบซี (Zambesi) เมือ่ หลายปมี าแล๎ว ในตอนเทีย่ งคืนวันหน่ึง คํายของเขาได๎ถูกโจมตีอยําง
ทันทที ันใด โดยคนพน้ื เมอื งฝาู ยศตั รซู ึง่ เข๎ามายงิ ในระยะใกล๎และบกุ เขา๎ มา

เขาและคนพ้นื เมืองซงึ่ มีจาํ นวนแตกตาํ งกันตํางหนีกระจัดกระจายหลบไปในความมืด และซํอน
ตวั อยูใํ นกอหญา๎ สงู เซลูส๑ได๎ปืนยาวกระบอกหน่งึ และลกู ปนื บ๎างเล็กน๎อย เขาหลบอยํูอยาํ งปลอดภัยในกอหญ๎า
แตเํ ขาหาพรรคพวกของเขาไมพํ บ และเมื่อเห็นวําข๎าศึกได๎ยึดคํายของเขาไว๎เรียบร๎อยแล๎วท้ังยังมีความ
มดื อยขํู า๎ งหนา๎ เข๎าอีก สองสามช่วั โมงพอจะหนเี อาตวั รอด เราจึงเร่ิมออกเดินทางไปทางทิศใต๎ โดยกลํุม
ดาววําว (The Southers Cross) เป็นท่ีหมาย เขาหมอบคลานผํานยามของฝูายข๎าศึก แล๎ววํายนํ้าข๎าม
แมํนา้ํ และในทสี่ ดุ กห็ นีออกมาได๎ โยมีเครอ่ื งแตงํ ตวั แตํเพยี งเส้อื เชิ้ต กางเกงขาสนั้ และรองเทา๎ สองสาม
วันตํอมาทง้ั กลางวันและกลางคืน เขามํงุ เดนิ ไปทางทิศใต๎ และต๎องหลบซอํ นคนพ้ืนเมอื งฝาู ยขา๎ ศกึ บํอยๆ
เขาได๎ยงิ กวางเป็นอาหาร

72 คู่มอื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5

คู่มอื สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลกั สูตรลกู เสอื โท 65
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5

คืนวันหน่ึงเขาได๎เขา๎ ไปในหมํูบ๎านซ่ึงคิดวําเป็นมิตร แตํแล๎วปืนของเขาก็ถูกลักขโมยไป เขาจึง
ต๎องกลับเปน็ ผ๎ูหลบหนอี ีกครง้ั หนึง่ โดยไมมํ อี าวุธสําหรับปอฺ งกนั ตนเอง หรือยงิ สตั วเ๑ ปน็ อาหาร อยํางไรก็
ดี เขาไมํใชคํ นทยี่ อมแพ๎ในเม่อื โอกาสแหํงชวี ิตเหลืออยูํ จึงไดพ๎ ยายามเดนิ ตอํ ไป จนกระท่งั ในทีส่ ดุ ไดไ๎ ป
ถึงสสุ านที่แหํงหนึ่ง ณ ท่นี นั่ เขาไดพ๎ บพรรคพวกของเขาบางคนซง่ึ หลบหนมี าไดเ๎ ชํนกัน หลังจากนั้นก็
รอนแรมตอํ มาจนถึงทอ๎ งถิ่นทเ่ี ป็นมติ รด๎วยความปลอดภัย แตํคนพวกน้ีคงต๎องประสบความยากลําบาก
อยํางมหันต๑ สามสัปดาห๑ได๎ผํานพ๎นไปนับตั้งแตํถูกโจมตี และสํวนใหญํเซลูส๑ต๎องอยูํคนเดียว ถูกไลํ
ติดตาม อดอาหาร หนาวอยํางสาหสั ในตอนกลางคนื และร๎อนเหง่อื หยดในตอนกลางวัน

ไมํมีคนใดท่ีจะผํานความยากลําบากอยํางนี้มาได๎ เว๎นเสียแตํวําจะมีความอดทนเป็นพิเศษ
แตเํ ซลสู เ๑ ป็นคนท่ีไดบ๎ าํ รงุ ตนเองให๎แข็งแรงมาต้ังแตํเด็ก ด๎วยการรักษาตัวและออกกําลังกาย และเขาก็
ต้ังใจบากบั่นอยํูตลอดเวลา

เรอื่ งนสี้ อนใหร้ ้วู ่า ถา๎ ทํานต๎องการผาํ นพน๎ การผจญภยั เชนํ นีด้ ๎วยความปลอดภยั ในเมื่อทาํ นเป็น
ลูกเสือเตรยี มเป็นผใู๎ หญแํ ละมิใชดํ แี ตํปาก ทาํ นจะตอ๎ งฝกึ อบรมตนเองใหแ๎ ขง็ แรง
มีอนามัยดีและคลอํ งแคลวํ วํองไว ต้ังแตํเด็ก

ค6ู่ม6อื ส่งเสชครมู่้ันมิ ือปแสรลง่ะะเถสพมรฒัศมิ กึ แนษลาาะกปพิจีทฒั ก่ี น5รารกมจิ ลกูกรรเมสลือกู ทเสักอื ษทะักชษีวะิตชใีวนิตสในถสาถนาศนกึศกึษษาา ลปกูระเสเภอื ทโลทกู เชสอืน้ั สปารมะญั ถมหศลกักึ สษูตารปลทีกู เี่ ส5ือโท 73

ใบความรู้

เข็มทิศ

เป็นเคร่ืองมือท่ีใช๎ในการหาทิศ ทําข้ึนจากแมํเหล็กแทํงเล็ก ๆ ติดกับแกนให๎หมุนไปโดยรอบ
อยาํ งอสิ ระ โดยอาศัยคุณสมบัตขิ องแมํเหล็กท่วี าํ เมอ่ื แขวนให๎หมนุ อยํางอิสระแล๎วปลายข๎างหนึ่งจะช้ีไป
ทางทิศเหนือเสมอ บนหนา๎ ปดั ของเข็มทศิ จะมีเครอ่ื งหมายแสดงทศิ และเลขบอกองศาของทิศตาํ ง ๆ

ชนิดของเข็มทิศ
เขม็ ทิศมหี ลายชนดิ เชํน
- เข็มทศิ ตลับ เปน็ เขม็ ทิศแมเํ หลก็ เลก็ ๆ หาแนวทิศเหนอื ไดอ๎ ยํางเดยี ว
- เข็มทศิ แบบเลนซาติก ฝาตลับมชี อํ งเล็ง ขงึ เสน๎ ลวดไว๎ตรงกลางเพื่อชํวยในการเล็งทห่ี มาย
- เข็มทิศขอ๎ มือ
- เข็มทิศซิลวา (Silva) เป็นเข็มทิศท่นี ิยมใช๎ในวงการลูกเสอื

เขม็ ทศิ ซิลวา (Silva)
เป็นเขม็ ทิศทีท่ ําในประเทศสวเี ดน มีไม๎โปรแทรกเตอร๑รวมอยดํู ว๎ ยกนั นยิ มใชก๎ นั ทวั่ โลก1

เนื่องจากใช๎ทาํ แผนท่แี ละหาทิศไดด๎ ี นอกจากใช๎งาํ ยแลว๎ ยงั พกพาสะดวกและราคาถกู ดว๎ ย

ส่วนประกอบของเข็มทิศซิลวา
1. แผํนฐานเปน็ ตวั วัตถุโปรํงใส
2. ท่ขี อบมีมาตราสวํ นเปน็ นิ้วและ/หรือเซนตเิ มตร
3. มีลกู ศรช้ีทิศทางที่จะไป

74 ค่มู อื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลูกเสอื โท ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5

คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สูตรลูกเสอื โท 67
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5

4. เลนส๑ขยาย
5. ตลับเขม็ ทิศเป็นวงกลมหมุนได๎ บนกรอบหนา๎ ปดั ของตลับเขม็ ทิศแบงํ ออกเปน็ 360 องศา
6. ปลายเขม็ ทิศเป็นแมเํ หลก็ สีแดง ซงึ่ จะชไ้ี ปทางทศิ เหนือเสมอ
7. ขดี ตําแหนงํ สําหรับตงั้ มมุ และอํานคํามมุ อยบํู นหน๎าปดั ตรงโคนลูกศรชท้ี ิศทาง

วธิ ีใชเ้ ขม็ ทศิ ซิลวา
ควรใช๎เขม็ ทิศหาํ งจากสง่ิ ที่เปน็ เหล็กหรอื วงจรไฟฟฺา ระยะปลอดภยั โดยประมาณมดี ังน้ี
หมวกเหลก็ 1 หลา โทรศัพท๑,ลวดหนาม 10 หลา รถยนต๑ 20 หลา สายไฟฟฺาแรงสงู 60 หลา

การหาทศิ
วางเขม็ ทศิ ในแนวระนาบ ปลายเข็มทิศข๎างหน่ึงจะช้ีไปทางทิศเหนือ คํอย ๆ หมุนหน๎าปัดของ

เข็มทศิ ให๎ตําแหนงํ ตวั เลขหรืออักษรที่บอกทิศเหนือบนหน๎าปัดตรงกับปลายเหนือของเข็มทิศ เมื่อปรับ
เขม็ ตรงกับทศิ เหนอื แล๎ว จะสามารถอาํ นทศิ ตํางๆไดอ๎ ยาํ งถกู ต๎องจากหน๎าปัดเขม็ ทศิ

ลูกเสือสามารถนําเข็มทิศไปใช๎ในกิจกรรมตํางๆได๎ เชํน การเดินทางไกล การสํารวจปูา
การผจญภยั การสํารวจและการเยือนสถานที่ เปน็ ตน๎ เมอ่ื เรม่ิ ออกเดนิ ทางลูกเสือควรหาทิศที่จะมุํงหน๎า
ไปให๎ทราบกอํ นวําเปน็ ทิศใด เม่ือเกดิ หลงทิศหรอื หลงทางจะสามารถหาทิศทางตําง ๆ จากเขม็ ทิศได๎
กรณีบอกมุมอะซมิ ุทมาให้และต้องการรวู้ า่ จะต้องเดินทางไปในทิศทางใด

สมมุตวิ ํามุมอะซมิ ทุ 60 องศา
1) วางเขม็ ทิศในแนวระดับให๎เขม็ แมํเหลก็ หมุนไปมาไดอ๎ ิสระ
2) หมนุ กรอบหน๎าปัดของตลบั เข็มทศิ ให๎เลข 60 อยูํตรงขีดตาํ แหนํงตัง้ มุม
3) หันตัวเข็มทิศท้ังฐานไปจนกวําเข็มแมํเหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศชี้ตรงกับอักษร N
บนกรอบหน๎าปดั ทับสนิทกบั เคร่ืองหมายหัวลูกศรที่พมิ พ๑ไว๎
4) เมอ่ื ลกู ศรช้ที ิศทางช้ไี ปทิศใด ให๎เดินไปตามทศิ ทางนั้น โดยเล็งหาจุดเดํนท่ีอยูํในแนวลูกศรช้ี
ทศิ ทางเปน็ หลัก แลว๎ เดินตรงไปยังส่งิ นัน้
กรณที จี่ ะหาค่าของมุมอะซมิ ทุ จากตาบลทีเ่ รายนื อยู่ ไปยงั ตาบลท่เี ราจะเดนิ ทางไป
1) วางเขม็ ทิศในแนวระดับใหเ๎ ข็มแมเํ หล็กหมนุ ไปมาไดอ๎ สิ ระ
2) หนั ลูกศรช้ีทศิ ทางไปยงั จุดหรอื ตาํ แหนํงทเ่ี ราจะเดินทางไป

คูม่ ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 75
คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลักสตู รลกู เสือโท
68 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5

3) หมุนกรอบหน๎าปัดเข็มทิศไปจนกวําอักษร N บนกรอบหน๎าปัด อยูํตรงปลายเข็มแมํเหล็กสี
แดงในตลบั เข็มทิศ

4) ตวั เลขบนกรอบหน๎าปัดจะอยูํตรงขีดตําแหนงํ สาํ หรบั ต้ังมมุ และอํานคาํ มุม คือคําของมุมที่เรา
ต๎องการทราบ

การใชเ้ ข็มทศิ หาพิกัดตาแหนง่ ในแผนท่ี

กํอนอนื่ จะตอ๎ งร๎วู าํ ตนเองอยํู ณ ท่ีใดของแผนที่ โดยใช๎เข็มทิศชํวยในการวางแผนท่ีให๎ถูกทิศทาง
หรอื วางแผนท่ใี หข๎ นานกับเส๎นทางหรือถนนพ้นื ท่ีจริงการวางขนานกับเส๎นทางต๎องระวังไมํให๎กลับทางทิศ
เหนือ – ใต๎ โดยตรวจสอบสิง่ อื่นบนแผนทีป่ ระกอบอยํางนอ๎ ย 2 แหํง

วางเ ข็มทิ ศบน แผน ท่ีให๎ เคร่ื องหม ายศรชี้ทิ ศเห นือ ท างแนวทิศเหนื อใน แผน ท่ีจา กน้ัน ก็หมุ น
กระดาษแผนท่ี (อยําให๎เข็มทิศเคล่ือน) ไปจนเข็มแดงศรชี้ทิศเหนือแล๎วจึงกดเข็มทิศติดกับแผนท่ีแล๎ว
หมนุ แปนฺ บอกองศาใหต๎ รงทิศ

จากนนั้ ให๎มองหาทห่ี มายจริงบนภมู ิประเทศกบั บนแผนทีส่ ัก 2 แหํงเชํนบนภูมปิ ระเทศ A และ a
บนแผนที่กับ B บนภมู ิประเทศและ b บนแผนที่ใช๎บรรทัดลากเส๎นจาก A a และ B b และตํอเส๎นให๎ตัด
กันจะไดต๎ าํ แหนงํ c บนแผนท่ีคือทท่ี เี่ รายืนอยํู

76 คูม่ อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

คู่มือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลกั สตู รลกู เสือโท 69
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ขนั้ ตํอไปจะหาตาํ แหนํงใดๆบนแผนที่วาํ ของจรงิ บนภูมปิ ระเทศอยทูํ ีใ่ ดกห็ าไดจ๎ ากแผนที่และตง้ั
มมุ เขม็ ทศิ ไปไดต๎ ลอดจนสามารถจะทราบระยะทางจรงิ บนภมู ปิ ระเทศไดโ๎ ดยเทียบมาตราสํวนบนแผนที่

ข้อควรระวงั ในการใชเ้ ข็มทศิ
1. จับถือด๎วยความระมดั ระวังเพราะหนา๎ ปัดและเขม็ ทศิ บอบบางออํ นไหวงําย
2. อยําใหต๎ ก แรงกระเทอื นอาจทาํ ใหเ๎ สยี หายได๎
3. ไมํควรอาํ นเขม็ ทิศใกลส๎ ่ิงทเ่ี ป็นแมํเหลก็ หรอื วงจรไฟฟฺา
4. อยาํ ใหเ๎ ขม็ ทศิ เปียกนํ้าจนขึ้นสนมิ
5. อยาํ ให๎ใกล๎ความรอ๎ นเพราะเขม็ ทิศจะบิดงอ

คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 77
คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลักสตู รลูกเสอื โท
70 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญ ลกู เสอื โท ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
หน่วยท่ี 4 การเดนิ ทางไปยังสถานที่ตา่ ง ๆ

แผนการจดั กจิ กรรมที่ 12 แผนท่ี เวลา 1 ช่ัวโมง

1. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1.1 บอกเครอ่ื งหมายตาํ งๆ ในแผนทไี่ ด๎
1.2 สามารถใช๎มาตราสวํ นในการเขยี นแผนทไี่ ด๎
1.3 บอกเส๎นทางระยะส้นั ๆ ทก่ี าํ หนดใหต๎ ามแผนท่ี

2. เนอ้ื หา
2.1 แผนท่ชี นดิ ตาํ งๆ
2.2 ระยะทางในแผนท่ี/มาตราสํวนของแผนที่
2.3 การอํานแผนท่ี

3. สอ่ื การเรียนรู้
3.1 แผนภูมเิ พลง-เกม
3.2 แผนํ ภาพแผนที่
3.3 ไมบ๎ รรทัด สายวัด
3.4 ใบความรู๎เรือ่ งแผนที่
3.5 เรื่องสั้นท่ีเป็นประโยชน๑

4. กิจกรรม
1) พิธีเปิด (ชักธงข้ึน สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนร๎ู
1) ผู๎กาํ กับลกู เสอื ให๎ลกู เสือเรียนรู๎ตามฐาน โดยมีผ๎ูกาํ กบั ลูกเสอื และลูกเสือรํนุ พเี่ ป็นวทิ ยากรดงั น้ี
ฐานท่ี 1 ความร๎เู รอื่ งแผนท่ี
ฐานท่ี 2 การอาํ นแผนที่

78 คูม่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5

ค่มู อื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสตู รลูกเสอื โท 71
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5

ฐานที่ 3 การวัดระยะทาง/มาตราสํวนของแผนท่ี
ฐานท่ี 4 การหาทิศในแผนที่
2) ลูกเสอื กลับมารวมกอง ผู๎กาํ กบั ลกู เสอื มอบหมายให๎ลูกเสอื จดั ทาํ แผนท่หี มํูบ๎านทตี่ นเอง
อาศัยอยํูโดยใหแ๎ สดงเครอ่ื งหมาย สญั ลกั ษณแ๑ ละสีในแผนที่ดว๎ ย
4) ผ๎ูกํากบั ลูกเสอื เลําเร่อื งส้ันที่เป็นประโยชน๑
5) พธิ ีปดิ ประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธงลง เลิก)
5. การประเมินผล
5.1 สังเกตการมสี ํวนรํวมในกิจกรรมและการปฏิบตั ิ
5.2 สอบถามความเขา๎ ใจในเรอื่ งการใชแ๎ ผนที่และการอาํ นแผนท่ี

6. คณุ ธรรม
6.1 ความพอเพยี ง
6.2 ซือ่ สตั ยส๑ จุ ริต
6.3 รับผดิ ชอบ
6.4 ความกตัญ๒ู
6.5 อดุ มการณ๑คณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 12

เพลง

เดนิ วน

เดินเอยเดินวน สี่คนสคี่ น
ขอถามสกั นดิ อยูํทิศอะไร
ทิศเหนือหรอื ทศิ ใต๎ ทศิ ไหนบอกมา

เกม

ทศิ ทัง้ ส่ี

1. ผกู๎ ํากับลูกเสอื กําหนดทิศใหส๎ ีท่ ศิ คือ ทศิ เหนอื ทศิ ใต๎ ทศิ ตะวนั ออก และทิศตะวันตก
2. การเลนํ

2.1 ให๎ลูกเสือมายนื รวมกันตามสบาย จะหนั หน๎าหนั หลังไปทางทศิ ใดกไ็ ด๎
2.2 ช้ีแจงกตกิ า

คมู่ ือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 79
คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สูตรลกู เสอื โท
72 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5

- เมื่อผู๎กํากบั ลูกเสอื บอกทิศ โดยคําพดู สน้ั ๆ วาํ เหนอื ใต๎ ออก ตก ลกู เสอื ทกุ คน
จะต๎องหันหนา๎ ไปทางทิศนน้ั ทนั ที

กตกิ า ใครหนั หนา๎ ผิดทิศ คนนน้ั ออกจากการเลํน ผูก๎ ํากับลกู เสือจะเริ่มบอกทิศตอํ ไป และ
ใหผ๎ ู๎ทห่ี นั หนา๎ ไมถํ ูกทิศตามช่อื ทิศจะตอ๎ งออกจากการเลนํ จนกวําจะเหลอื ลูกเสอื คนสุดทา๎ ย ผน๎ู ั้นคือผู๎
ชนะ

ใบความรู้

แผนท่ี

แผนที่ คือ ส่งิ แสดงรายละเอยี ดของภูมิประเทศบนพน้ื ผวิ โลก ทั้งทีม่ อี ยูตํ ามธรรมชาติและที่มนุษย๑
สร๎างขึ้น โดยจําลองไวบ๎ นวตั ถพุ ้ืนระนาบมาตราสํวน ซึง่ รายละเอียดเหลําน้ี แสดงด๎วยเสน๎ สี และสญั ลักษณ๑
ตาํ งๆ เชนํ

สนี า้ํ เงนิ แกํ แสดงถึง ทะเล มหาสมทุ รท่ลี กึ มาก
สฟี ฺาออํ น แสดงถงึ เขตนาํ้ ต้ืน หรอื ไหลทํ วีป
สีเขียว แสดงถงึ ท่รี าบระดบั ตาํ่
สเี หลือง แสดงถงึ ท่ีราบระดับสงู
สีแสด แสดงถึง ภเู ขาท่ีสงู ปานกลาง
สีแดง แสดงถึง ภเู ขาทสี่ งู มาก
สีน้ําตาล แสดงถงึ ยอดเขาทีส่ งู มากๆ
สขี าว แสดงถงึ ยอดเขาทส่ี ูงจนมหี ิมะปกคลุม
ประเทศไทย เรม่ิ ทาํ แผนทใี่ นสมัยรชั กาลที่ 4 พ.ศ. 2418
การปรับปรุงแผนท่ีของไทย เรมิ่ ใน พ.ศ.2491 โดยความชํวยเหลอื จากรฐั บาลสหรัฐ สํงหนํวยทํา
แผนทีท่ างอากาศมาทําการสํารวจและจดั ทําแผนท่ี มาตราสวํ น 1 ตอํ 50,000 (2 ซ.ม. ตอํ กม.) และกรม
แผนที่ทหารได๎ดาํ เนนิ การตํอมาจนปัจจบุ นั

ชนิดของแผนท่ี
แผนทโ่ี ดยทวั่ ไป แบํงออกเปน็ 3 ชนดิ
- แผนทแี่ บนราบ แสดงพน้ื ผวิ โลกความสงู ตาํ่ ใช๎แสดงตําแหนงํ ระยะทาง และเส๎นทาง
- แผนท่ีภูมปิ ระเทศ แสดงพ้ืนผวิ โลกในทางราบ ไมํแสดงความสงู ตาํ่ ละเอียดกวาํ และใช๎

ประโยชน๑ไดม๎ ากกวาํ แผนทแ่ี บนราบ
- แผนทภ่ี าพถําย ทาํ ข้ึนจากภาพถาํ ยทางอากาศ มีความละเอยี ดและความถกู ตอ๎ งมากกวาํ แผน

ทีช่ นิดอืน่ มาก สามารถมองเห็นสิง่ ตาํ งๆ ตามธรรมชาติ และสิ่งทม่ี นุษย๑สร๎างข้ึนอยํางชัดเจน
นอกจากนย้ี งั แบงํ ชนดิ ของแผนทต่ี ามลักษณะการใช๎งาน ตวั อยําง เชํน
- แผนทีท่ ั่วไป เชนํ แผนท่โี ลก แผนที่ประเทศตําง ๆ
- แผนที่ทรวดทรงหรือแผนทนี่ นู แสดงความสงู ตาํ่ ของภมู ปิ ระเทศ

80 คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5

คู่มอื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สูตรลกู เสือโท 73
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5

- แผนทที่ หาร เป็นแผนทย่ี ุทธศาสตร๑ ยทุ ธวิธี
- แผนท่ีเดินอากาศ ใชส๎ ําหรบั การบิน เพื่อบอกตาํ แหนงํ และทศิ ทางของเครอ่ื งบนิ
- แผนทเี่ ดนิ เรือ ใชใ๎ นการเดินเรอื แสดงสันดอน ความลกึ แนวปะการัง
- แผนทป่ี ระวัติศาสตร๑ แสดงอาณาเขตยคุ และสมัยตาํ ง ๆ
- แผนทก่ี ารขนสงํ แสดงการคมนาคมทางบก เรือ อากาศ

ฯลฯ
สีทีใ่ ช้ในแผนท่ี

สดี า ใช๎แทนรายละเอียดท่ีเกดิ จากแรงงานมนุษย๑ ยกเวน๎ ถนน
สแี ดง ใช๎แทนรายละเอยี ดที่เป็นถนน
สนี ้าเงนิ ใชแ๎ ทนรายละเอยี ดทเ่ี ป็นนาํ้ หรือทางนาํ้ เชนํ ทะเล แมํนา้ํ บึง ฯลฯ
สเี ขียว ใช๎แทนรายละเอยี ดที่เป็นปาู ไม๎ และบรเิ วณท่ที าํ การเพาะปลกู
สีน้าตาล ใชแ๎ ทนลกั ษณะทรวดทรงความสงู

เสน้ ความสูงในแผนที่
บริเวณภเู ขา จะมเี สน๎ สนี ้าํ ตาลเปน็ วงรอบภูเขาเปน็ วงๆ แตลํ ะวงน้ันจะหาํ งไมํเทาํ กัน บางวงใกลช๎ ดิ

กัน บางวงหาํ งกัน เปน็ เส๎นแสดงความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง (วัดที่เกาะหลัก จ.ประจวบคีรีขันธ๑)
เราจะทราบวาํ ภเู ขานี้สงู เทาํ ใด ลักษณะชนั หรือลาดได๎จากเส๎นน้ี โดยระยะแตํละวงนั้นสูงตํางกัน 500 ฟุต
ถ๎าวงอยํชู ิดกันกจ็ ะชนั วงหํางกนั กจ็ ะลาด

การอา่ นแผนที่
วางแผนท่ีในแนวราบ บนพื้นที่ได๎ระดับ ทิศเหนือของแผนที่ช้ีไปทางทิศเหนือ จัดให๎แนวตําง ๆ

ในแผนท่ีขนานกบั แนวที่เป็นจริงในภูมิประเทศทกุ แนว

โดยท่ัวไปแผนท่ีจะบอกท่ีต้ังของส่ิงตําง ๆ ระบบท่ีใช๎ในการหาท่ีตั้งของส่ิงตําง ๆ ที่นิยมใช๎กันมี
2 ระบบ คอื ระบบพกิ ัดภมู ิศาสตร๑ และระบบพกิ ดั ตาราง

คมู่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 81
คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลกั สตู รลูกเสอื โท
74 ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5

1. ระบบพกิ ัดภูมิศาสตร์
ใชค๎ ําละติจดู หรอื เส๎นรุ๎ง และลองติจูดหรือเสน๎ แวง เปน็ ตัวกาํ หนดท่ีตั้งของสิง่ ตาํ ง ๆ
ละติจูด เป็นเส๎นท่ีขีดรอบโลกตามแนวนอนขนานกัน โดยมีเส๎นศูนย๑สูตร (อิเควเตอร๑) เป็นเส๎น

กําหนดเขตแบํงโลกเป็นซีกโลกเหนือและซีกโลกใต๎ เส๎นละติจูดที่อยูํเหนือและใต๎เส๎นศูนย๑สูตรเรียกวํา
ละติจูดเหนือและละติจูดใต๎ มีจํานวนซีกโลกละ 90 เส๎น มีหนํวยเป็นองศา ที่ขอบแผนที่จะมีเลขกํากับวํา
10, 20, 30 เราก็ทราบวาํ 10 องศา, 20 องศา, 30 องศา

ลองติจูด เป็นเสน๎ ที่ลากจากจากขวั้ โลกเหนอื มายงั ขว้ั โลกใต๎ โดยเรม่ิ จากเสน๎ ท่ีลากผํานเมืองกรีนิช
ประเทศอังกฤษ เป็นเส๎นลองติจูดที่ 0 องศา ถ๎าวัดไปทางขวามือจะเป็นซีกโลกตะวันออก มี 180 เส๎น
ถา๎ วดั ไปทางซา๎ ยมอื จะเป็นซีกโลกตะวันตก มี 180 เส๎น มหี นวํ ยเป็นองศาเชํนกนั

ในแผนท่ี จะมีตัวเลขกาํ กับที่ขอบบน เชํน 20 , 30 , 40 , 50 เราก็ทราบวาํ 20 องศา, 30 องศา
, 40 องศา และก็ทราบวาํ บริเวณนัน้ อยํซู กี โลกตะวันออกหรือตะวันตก

2. ระบบพกิ ดั ตาราง
อาศัยเสน๎ ตรง 2 ชุด เป็นตัวกาํ หนดท่ีต้ังของส่ิงตําง ๆ เส๎นคูํขนานในแนวต้ังเรียกวํา เส๎นพิกัด

ตั้ง เส๎นคูํขนานในแนวนอนเรียกวํา เส๎นพิกัดราบหรือนอน เส๎นคูํขนานทั้ง 2 ชุดจะตัดกันเป็นรูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัสเรียกวํา พิกัดกริด ระหวํางเส๎นคูํขนานแตํละคูํทั้งแนวตั้ง และแนวนอนยังแบํงยํอย
ออกเป็น 10 ชํองเทํา ๆ กัน

ระบบนีจ้ ะมีในแผนทที่ ี่ละเอยี ดมาก คือ มาตราสํวน 1 ตํอ 50,000 ข้นึ ไป (1 ซ.ม.ตํอครง่ึ กม.)

ตวั อยา่ งการหาพิกดั จดุ A ในระบบตาราง
(1) ดตู ารางสี่เหลีย่ มจตรุ สั ท่ลี อ๎ มรอบจดุ A
(2) อาํ นเสน๎ พิกดั ในแนวนอน โดยอาํ นตวั เลขทกี่ าํ กับเสน๎ แนวนอนจากซ๎ายไปขวาทผี่ าํ นจุด A
(3) อํานเสน๎ พิกดั ในแนวตัง้ โดยอํานตัวเลขทกี่ าํ กับเสน๎ แนวนอนจากลํางขน้ึ บนทีผ่ าํ นจุด A

82 คูม่ ือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

คมู่ อื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสูตรลูกเสือโท 75
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5

(4) นําเลขชดุ ท่อี าํ นได๎ในขอ๎ (2) และ (3) มาเรยี งตํอกันตามลาํ ดับ ตัวเลขนี้จะเปน็ พิกดั ของจดุ A

จุด A = 937604
จุด B = 920585
จดุ C = ุุุุ..
จุด X = ุุุุ.
จุด Y = ุุุุ.

จากตารางนี้ตําแหนํงของจุด A จะอยูํที่เส๎น 93.7 ตัดกับเส๎น 60.4 จึงเขียนและอํานเป็น
937604 เรียงกัน โดยไมํเขียนและไมํอํานวําจุด ตําแหนํงจุด B ก็เชํนเดียวกันอยูํที่เส๎น 92 พอดีก็คือ
92.0 ตัดกับเส๎นที่ 58.5 ก็อําน 920585

ระยะทางในแผนท่ี
เปน็ มาตราสํวนที่ยอํ ขนาดลง คอื อัตราสํวนระหวาํ งระยะทางในแผนท่กี บั ระยะทางในภมู ิประเทศ

เชํน 1: 50,000 หมายความวํา 1 หนํวยของระยะในแผนทเ่ี ทาํ กบั 50,000 หนวํ ยของระยะในภมู ปิ ระเทศ
(ตอ๎ งเปน็ หนวํ ยเดยี วกัน ตวั อยาํ ง: 1 เซนติเมตรในแผนทเ่ี ทํากบั ระยะทาง 500 เมตรในพน้ื ท)่ี
การหาทิศในแผนท่ี

ปกติหัวกระดาษแผนทจี่ ะเปน็ ทิศเหนอื มีลูกศรชอี้ ยํู วางแผนทใี่ ห๎หวั ลูกศรในแผนท่ชี ้ไี ปทางทิศ
เหนือตามเขม็ ทิศ

คู่มอื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 83
คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สูตรลกู เสอื โท
76 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5

เรอื่ งสน้ั ท่เี ป็นประโยชน์ ลูกสาวกับพ่อ

พอํ คนหน่ึงไปเย่ียมลกู สาวคนโตที่แตํงงานกับชาวสวน “ลูกสาวสบายดหี รอื ไมํ ต๎องการอะไรหรอื
เปลํา” พอํ ถามอยาํ งหํวงใย ลกู สาวคนโตจงึ ตอบวาํ “สบายดีจ๎ะพอํ ลกู ไมเํ ลยตอ๎ งการอะไรอกี นอกจาก

อยากให๎ฝนตกมามากๆ พชื ผลในสวนจะไดง๎ อกงามดี”
ตํอมาพอํ กไ็ ปเย่ียมลูกสาวคนเลก็ ท่เี ปน็ ภรรยาของชํางป้นั หม๎อ พอํ ก็ถามเชนํ เดยี วกับท่ถี ามลกู

สาวคนโต “ลูกสาวสบายดหี รอื ไมํ ต๎องการอะไรหรือเปลาํ ” ลูกสาวท่เี ปน็ ภรรยาชาํ งปน้ั หมอ๎ กต็ อบวาํ

“สบายดจี ๎ะพอํ ลกู ตอ๎ งการเพียงอยํางเดียวคอื ไมใํ ห๎ฝนตก ตอ๎ งการมแี ดดจา๎ ๆ หมอ๎ ดนิ ท่ตี ากไว๎ก็จะแหง๎
เร็วจะ๎ พอํ ”

เรื่องนสี้ อนให้ร้วู ่า คนเรามกั ตอ๎ งการแตํสิ่งทีเ่ ป็นผลประโยชนก๑ บั ตนเองเปน็ อนั ดบั แรก ทิศทางการ

แสวงหาความตอ๎ งการจึงมคี วามแตกตํางกนั แตํหากมที ิศทาง เปาฺ หมายดงั เข็มทศิ ก็
จะนาํ พาไปสูํเปาฺ หมายชีวิตได๎อยาํ งมน่ั คง

84 คูม่ อื สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลูกเสอื โท ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5

คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลกั สตู รลูกเสอื โท 77
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5

แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสอื สามญั ลูกเสอื โท ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5
หน่วยท่ี 4 การเดนิ ทางไปยังสถานทตี่ า่ ง ๆ

แผนการจดั กจิ กรรมที่ 13 นักเดนิ ทาง เวลา 2 ชว่ั โมง

1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1.1 สามารถบอกเครอื่ งหมายจราจรและสญั ลักษณ๑ในกิจกรรมการเดนิ ทางไกล
1.2 เดินทางไกล ไป – กลบั รวมระยะทาง 10 กิโลเมตรได๎

2. เน้อื หา

2.1 กฎและเคร่ืองหมายจราจรและสัญลกั ษณใ๑ นกิจกรรมการเดินทางไกล
2.2 การเดนิ ทางไกล

3. สื่อการเรยี นรู้
3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 ใบความรู๎

3.3 ภาพเคร่ืองหมายจราจร
3.4 เร่ืองสนั้ ทีเ่ ป็นประโยชน๑

4. กิจกรรม
4.1 กิจกรรมครัง้ ท่ี 1

1) พธิ ีเปดิ ประชุมกอง (ชกั ธงขึน้ สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือ เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรยี นรู๎

(1) ผ๎กู าํ กับลูกเสอื และลกู เสอื รํวมกันสนทนาอภิปรายในประเดน็ ตอํ ไปน้ี
- กฎและเครื่องหมายจราจร
- การปฏบิ ตั ิตามกฎจราจร

- การปฏบิ ัติตนในการเดินทางไกล

คูม่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5 85

78 คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สตู รลกู เสอื โท
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5

(2) หมลํู กู เสือรํวมกับเพอื่ นวางแผนการเดินทาง และการเกบ็ ขอ๎ มลู หลักฐานการ
เดินทาง

(3) ผ๎กู าํ กับลกู เสอื มอบหมายให๎ลูกเสือเดนิ ทางไกล ไป – กลับ ในระยะทางประมาณ10
กิโลเมตร กับเพื่อน กับหมูํลูกเสือ อาจโดยรถจักรยาน การเดินเท๎า โดยการขึ้น
รถยนต๑ ในขณะเดนิ ทางไกลให๎ลูกเสือไดว๎ าดภาพ สเก็ตภาพ ถาํ ยภาพสง่ิ ประทับใจ

หรือสถานท่ี ท่ีประทับใจ หรอื ถาํ ยภาพเป็นความทรงจาํ เมอื่ กลับมาแล๎วให๎รายงาน
ตอํ ผ๎กู ํากบั ลูกเสอื ดว๎ ยวาจาและนาํ ผลงานมาแสดงให๎ผอ๎ู ่ืนได๎ชมพร๎อมอธบิ ายผลงาน
นัน้ ดว๎ ย (นทิ รรศการผลงานการเดนิ ทางไกล)
4) ผ๎กู าํ กับลูกเสอื เลําเรือ่ งส้ันที่เป็นประโยชน๑
5) พิธีปดิ ประชมุ กอง (นัดหมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธงลง เลกิ )

(นัดหมายการรายงานการเดนิ ทางไกล)

4.2 กจิ กรรมครงั้ ที่ 2
1) พธิ ีเปดิ ประชมุ กอง (ชกั ธงขนึ้ สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรยี นร๎ู
(1) หมูํลกู เสือนําเสนอผลงานการไปเดนิ ทางไกล ดงั นี้

- รายงานตอํ ผู๎กํากับลกู เสอื ด๎วยวาจา
- นําหลกั การการบนั ทกึ รูปภาพ หรอื อนื่ ๆ ตามทวี่ างแผนไวม๎ านาํ เสนอใหล๎ ูกเสือ
อนื่ ๆ ได๎รบั รู๎
- หรอื จดั นทิ รรศการผลการเดนิ ทางไกล
(2) หมลํู ูกเสอื อ่นื ๆ รํวมกนั ชน่ื ชม ซักถาม
(3) ผูก๎ าํ กบั ลูกเสอื แสดงความชน่ื ชม และเพมิ่ เตมิ แนวคดิ ทเี่ หมาะสม

4) ผกู๎ ํากับลูกเสอื เลําเร่อื งสัน้ ทเี่ ป็นประโยชน๑
5) พธิ ีปดิ ประชมุ กอง (นัดหมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธงลง เลกิ )

5. การประเมนิ ผล
สงั เกต และศึกษาผลงานการแสดงถึงการเดินทางไกลทมี่ คี ุณภาพ ปลอดภยั และได๎ประโยชน๑

6. คณุ ธรรม
6.1 ความพอเพยี ง
6.2 ซ่อื สตั ย๑สจุ ริต
6.3 รบั ผิดชอบ
6.4 ความกตญั ๒ู

6.5 อดุ มการณค๑ ณุ ธรรม

86 คู่มือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลูกเสอื โท ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5

คู่มอื สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลกั สตู รลูกเสือโท 79
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5

ภาคผนวกประกอบแผนกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี 13

เพลง

ข้ามถนน

อยาํ มองเหมํอตอ๎ งดขู า๎ งหน๎า อกี ซ๎ายและขวาเมอื่ จะขา๎ มถนน

หากยวดยานหลายก็ตอ๎ งอดใจทน อยําตัดหน๎ารถยนต๑ ทกุ ๆ คนจงระวงั เอย

เดินทางไกล

เดินทางไกล เดนิ ทางไกล ไปไปซไิ ปไปซไิ ปดว๎ ยกนั
เหน่อื ยอยาํ งไรไมเํ คยหวน่ั รวํ มใจกันและสามคั คี
เดินทางไปในกลางดง ใจนึกทะนงหลงเพลนิ เขาดอย
มงํุ หนา๎ ไปไมยํ ํอหยอํ น ลมื ทุกข๑ร๎อนมงุํ สูํปลายทาง

เรือ่ งสัน้ ที่เป็นประโยชน์

ไม่เอาไฟแดง

ณ เมืองแหํงหนึ่งซ่ึงรถติดเป็นประจํา มีชายคนหนึ่ง เบ่ือรถติดมาก แตํก็ไมํร๎ูจะทําอยํางไรดี
ไดแ๎ ตํบํนและดําไปวันๆ จนวันหน่ึง เทวดาทนเสียงบํนของชายคนนี้ไมํไหว จึงได๎ลงจากสวรรค๑มาหา
ชายคนนีแ้ ล๎วถามวาํ "ข๎าทนฟงั เจา๎ บนํ ทกุ วนั จนเบอ่ื แล๎ว เจ๎ามีปัญหาอะไรไหนลองเลํามาซิ" ชายคนนั้น
เหน็ เทวดากต็ กใจ แตํกไ็ มรํ ๎จู ะทํายังไง ได๎ตอบวํา "ที่ผมบํนก็เพราะเมืองน้ีรถติดมาก ผํานไปท่ีไหนรถก็
ตดิ กันยาวเหยยี ด" เทวดาถามชายคนนั้นวาํ "แล๎วเจา๎ ต๎องการอะไรละํ จะให๎ข๎าทําให๎รถทั้งหมดหายไป
จากโลกน้ีเลยก็ได๎นะ แตํรถของเจ๎าก็ต๎องหายไปด๎วยนะ เพ่ือความยุติธรรม" ชายคนนั้นก็ค๎านขึ้นวํา
"ไมเํ อาหรอก แบบนัน้ ผมจะไปทํางานยงั ไงละํ ทาํ น เอางี้กแ็ ล๎วกัน ผมขอใหต๎ อํ จากน้ไี ปเมืองนีไ้ มํมีไฟแดง
อกี ตํอไป" เทวดาจงึ ตอบวาํ "เอาง้นั กไ็ ด"๎ แล๎วหลังจากน้ันมา เมืองนี้ก็ไมํมีไฟแดงอีกเลย ไมํวําจะขับ

คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5 87

80 คู่มอื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสูตรลูกเสอื โท
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5

รถผํานไปแยกไหน ไฟจราจรทุกด๎านก็กลายเป็นไฟเขียวหมดตลอดเวลา ทําให๎เกิดอุบัติเหตุมากมาย
ในทีส่ ุดชายคนเดมิ จงึ ต๎องขอรอ๎ งใหเ๎ ทวดาเปล่ียนกลับไปเป็นไฟ 3 สี เหมอื นเดิม

เร่อื งนี้สอนใหร้ ้วู ่า การปฏิบตั ติ ามกฎชํวยใหเ๎ กิดความปลอดภยั

ฝึกตนให้เป็นคนมปี ัญญา

วิธฝี ึกตนให๎เป็นคนมปี ญั ญา ประการหนง่ึ คือ หยุดพดู ในสง่ิ ทีไ่ มดํ ี เพราะคําพูดคอื ประตูดํานแรก
ท่ีสํงผลตํอชีวิต คนพูดจาแงํร๎าย พูดมากเกินไป ชอบบํน หรือวิจารณ๑ต ลอดเวลายํอมเกิดภาวะ
ความเครียดตามมาเสมอ เป็นบํอเกิดแหํงการทะเลาะววิ าททํารา๎ ยรํางกายตามมา

ลูกเสือจึงควรคิดวํา คาํ พดู เป็นเพียงลมปาก ชีวิตเราดี หรือไมํดี ข้ึนอยูํกับการกระทํา สํวนชีวิต
คนอ่ืนจะดหี รือไมกํ ็เป็นเรอ่ื งของเขา ไมํไดข๎ ึ้นอยูกํ บั คาํ พดู ของเรา

เราจึงควรน่ิงสงบไวบ๎ ๎าง ควบคุมตนเอง ควบคุมคําพูดของเราให๎ได๎ อยํางน้ีเรียกวํา เอาชนะใจ
ตนเอง เปน็ การเกดิ ปัญญา แตํหากเรายงั เอาชนะใจตนเองไมํได๎ ควบคุมไมํได๎แม๎แตํการพูดของตนเอง
เรายํอมเป็นทาสของสิ่งอ่นื ๆ ตํอไปไมํหยุดย้งั

เรอื่ งนีส้ อนให้รู้ว่า “การควบคุมตนเอง ต๎องใชป๎ ัญญา ใช๎สมองคดิ และระงบั ท่ีใจ” จงึ จะเรียกไดว๎ ําเปน็
คนมปี ัญญา

88 คู่มอื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลูกเสือโท ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5

คูม่ อื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลกั สตู รลกู เสอื โท 81
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5

ใบความรู้

เครอ่ื งหมายจราจรและการข้ามถนนอย่างปลอดภัย

เครือ่ งหมายจราจร
เป็นสัญลักษณ๑ทใี่ ช๎ในการควบคมุ การจราจร มกั เป็นสญั ญาณไฟหรอื ปาฺ ย
สญั ญาณไฟจราจร
สัญญาณไฟจราจรโดยท่ัวไปประกอบด๎วยสัญญาณไฟสามสี ติดตั้งตามทางแยกตํางเพื่อควบคุม

การจราจรตามทางแยก โดยทัง้ สามสี ได๎แกํ สีแดงใหร๎ ถหยุด สเี หลืองให๎รถระวัง เตรยี มหยดุ และสีเขียวคือ
ให๎รถไปได๎

สําหรับสัญญาณไฟจราจรพิเศษ เชํน มีสีเหลืองเพียงสีเดียวกระพริบอยูํ ใช๎สําหรับทางแยกท่ีไมํ
พลุกพลํานหมายถึง ให๎ระมัดระวังวํามีทางแยก และดูความเหมาะสมในการออกรถได๎เอง, สัญญาณไฟ
จราจรสาํ หรับการขา๎ มถนน เป็นตน๎

สญั ญาณไฟจราจรสาหรับการเดนิ รถ มี 3 สี คอื สแี ดง สีเหลอื ง และสีเขยี ว

สแี ดง หมายถึง ให๎รถทุกคนั หยดุ หลงั แนวเสน๎ ทีก่ าํ หนดไว๎
สเี หลอื ง หมายถงึ ให๎รถทีแ่ ลํนอยํูเตรียมหยุด หรอื ใหร๎ ถทีจ่ อดอยูเํ ตรียมแลํน
สีเขียว หมายถงึ ใหร๎ ถแลํนผาํ นไปได๎

คูม่ อื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 89

82 คู่มือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสูตรลูกเสือโท
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5

สญั ญาณไฟสาหรับคนขา้ มถนน
สัญญาณไฟสาํ หรับคนข๎ามถนนจะมีรปู คนในสญั ญาณไฟ มี 2 สี คือ สแี ดง และสเี ขียว

สแี ดง หมายถึง หา๎ มขา๎ มถนน
สเี ขียว หมายถงึ ขา๎ มถนนได๎

ปา้ ยจราจร เป็นป้ายควบคมุ การจราจร แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
- ปา้ ยบังคับ มกั จะมพี น้ื สขี าว ขอบสีแดง เปน็ ปฺายกําหนด ตอ๎ งทําตาม เชนํ ห๎ามเลีย้ วขวา
- ปา้ ยเตือน มกั จะมีพน้ื สขี าว ขอบสดี ํา จะเปน็ ปฺายแจ๎งเตือนวํามอี ะไรอยํขู ๎างหน๎า
- ป้ายแนะนา เปน็ ปฺายท่แี นะนําการเดินทางตาํ งๆ อาทิ ทางลดั ปาฺ ยบอกระยะทาง เปน็ ต๎น

ปา้ ยจราจร ความหมาย
แสดงตําแหนงํ ทางขา๎ มถนน

เครื่องหมายทางขา๎ มถนน

โรงเรียน ระวังเดก็ : ทาง ขา๎ งหนา๎ มโี รงเรยี นต้ังอยขูํ ๎างทาง ใหข๎ ับรถ
ให๎ช๎าลงและระมัดระวงั อุบัติเหตุ ซึ่งอาจจะเกิดขน้ึ แกเํ ดก็ นกั เรยี น ถา๎
เด็กนกั เรยี นกําลังเดนิ ข๎ามถนน ให๎หยุดรถใหเ๎ ดก็ นักเรยี นข๎ามถนนไป
ไดโ๎ ดยปลอดภยั ถ๎าเป็นเวลาทโ่ี รงเรียนกาํ ลังสอน ใหง๎ ดใชเ๎ สยี ง
สัญญาณและหา๎ มใหเ๎ กิดเสยี งรบกวนด๎วยประการใดๆ
ระวงั คนข๎ามถนน : ทาง ขา๎ งหน๎ามที างสาํ หรับคนขา๎ มถนน หรือมี
หมบํู ๎านราษฎรอยขูํ ๎างทาง ซึง่ มคี นเดนิ ข๎ามไปมาอยํูเสมอ ให๎ขับรถให๎
ชา๎ ลงพอสมควร และระมดั ระวังคนขา๎ มถนน ถา๎ มีคนกาํ ลงั เดินขา๎ ม
ถนนใหห๎ ยุดใหค๎ นเดนิ ขา๎ มถนนไปไดโ๎ ดยปลอดภยั

เฉพาะคนเดนิ : บริเวณท่ตี ดิ ต้ังปาฺ ยเปน็ บริเวณที่กําหนดให๎เฉพาะคน
เดินเทาํ น้นั

90 คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลูกเสือโท ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

คู่มอื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลกั สตู รลกู เสอื โท 83
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5

หยดุ : รถทกุ ชนิดต๎องหยุดเม่ือเหน็ วาํ ปลอดภัยแลว๎ จงึ ให๎เคลอ่ื นรถ
ตํอไปไดด๎ ว๎ ยระมดั ระวัง

ให๎ทาง : รถทกุ ชนดิ ตอ๎ งระมดั ระวงั และใหท๎ างแกรํ ถ และคนเดนิ เท๎า
ในทางขวางหนา๎ ผํานไปกอํ น เมอ่ื เห็นวําปลอดภัยและไมํเปน็ การกดี
ขวางการจราจรทีบ่ ริเวณทางแยกนั้นแลว๎ จึงใหเ๎ คลอ่ื นตอํ ไปไดด๎ ว๎ ย
ความระมดั ระวัง

ความปลอดภัยในการเดินถนน และข้ามถนน
เพอ่ื ความปลอดภยั ของตนเอง ผ๎ูอน่ื และเป็นตวั อยํางทีด่ ี ควรปฏิบตั ใิ นการเดินถนน ดงั นี้
1. ถนนทีม่ ที างเท๎า เดินบนทางเท๎าและเดินชดิ ดา๎ นซา๎ ยของทางเท๎า
2. ถนนทไี่ มมํ ีทางเท๎า เดนิ ชดิ ขอบดา๎ นขวาของถนน เมอ่ื มรี ถแลํนสวนมาจะไดร๎ ะมดั ระวัง
3. เดินถนนตอนกลางคนื ควรถือไฟฉายสํองทาง และควรสวมเสอ้ื ผ๎าสขี าวหรือสอี อํ น
4. เดก็ ทยี่ งั ขา๎ มถนนไมเํ ปน็ ตอ๎ งมผี ู๎ใหญดํ ูแลโดยจูงเดก็ ใหเ๎ ดก็ เดินด๎านในหาํ งขอบถนน

การเดนิ ข้ามถนน เพ่ือความปลอดภัยให๎ปฏิบตั ิ ดงั นี้
1. ข๎ามสะพานลอย ทางข๎ามท่ีมีสัญญาณไฟสําหรับคนข๎าม ทางม๎าลาย หรือบริเวณจุดที่มี

ตํารวจอาํ นวยความสะดวก รอให๎รถจอดสนิทกํอนจึงข๎ามได๎ และระมัดระวังรถท่ีขบั แซงข้ึนมา
2. ถ๎าไมํมีสะพานลอย หรือทางข๎ามท่ีมีสัญญาณไฟ หรือทางม๎าลาย ให๎ข๎ามถนนด๎วยความ

ระมัดระวัง หยดุ ที่ขอบทางกอํ น มองดูรถทางขวา หันกลับมาดูรถทางซ๎าย แล๎วหันกลับไปดูรถทางขวา
อีกครั้ง เม่ือไมมํ ีรถหรอื รถอยํูไกลจึงข๎ามถนนอยาํ งระมดั ระวัง โดยเดินทางตรง

3. ไมํควรว่งิ ไมคํ วรเดนิ ยอ๎ นกลับกลางทาง และไมคํ วรหยุดเก็บของท่ตี กหลํนอยํูกลางถนน ไมํวิ่ง
เลํนหยอกล๎อ คยุ โทรศัพท๑ หาของในกระเป๋าหรือก๎มเก็บของท่ีตกหลํนขณะข๎ามถนนเด็ดขาด เพราะอาจ
เสยี หลัก หกล๎มจนโดนรถเฉย่ี วชนได๎

4. เพิ่มความระมดั ระวงั การข๎ามถนนบริเวณทางแยก และบริเวณที่มีสิ่งบดบัง เชํน ท๎ายรถประจํา
ทาง ซอยท่ีมรี ถจอด

5. การข๎ามถนนท่ีมีรถเดินทางเดียว ควรหยุดดูวํารถวิ่งมาจากทางใด และระมัดระวังรถที่วิ่ง
ย๎อนศร หากเป็นถนนที่มีเกาะกลาง ควรข๎ามทีละครึ่งถนน และหยุดพักที่เกาะกลาง หากไมํมีรถคํอย
ข๎ามคร่ึงหลัง

คมู่ อื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5 91
คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามญั หลักสูตรลูกเสอื โท
84 ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสอื สามญั ลกู เสือโท ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5
หนว่ ยท่ี 4 การเดนิ ทางไปยังสถานที่ตา่ ง ๆ
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 14 ประเทศอาเซยี น เวลา 1 ชั่วโมง

1. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1.1 บอกชอื่ ประเทศและเมืองหลวงของประเทศในกลุํมประชาคมอาเซยี นได๎
1.2 กลําวคําทกั ทายด๎วยภาษาของประเทศในกลุมํ ประชาคมอาเซยี นได๎ทกุ ประเทศ

2. เน้ือหา

2.1 ชอื่ ประเทศในอาเซียน
2.2 เมอื งหลวงประเทศอาเซยี น
2.3 การแตงํ กาย / วัฒนธรรม (อาหาร การแสดงการทกั ทาย)
2.4 ความประทับใจ / จดุ เดํนของประเทศในอาเซียน

3. สื่อการเรียนรู้

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 แผนภมู ริ ูปภาพแสดงชนชาติอาเซยี น 10 ประเทศ
3.3 แผนภมู ริ ูปภาพแสดงสถานท่ี / สญั ลกั ษณ๑ของประเทศอาเซยี น
3.4 หนงั สือ / Power point ประเทศอาเซยี น 10 ประเทศ
3.5 เรื่องสั้นทเ่ี ปน็ ประโยชน๑

4. กิจกรรม
4.1 พธิ ีเปิดประชุมกอง (ชักธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามวัตถปุ ระสงค๑การเรียนรู๎
1) ผู๎กํากบั ลูกเสอื มอบหมายงานลํวงหน๎าใหก๎ ลมุํ หมูํลกู เสอื ไปสืบคน๎ เรือ่ งราวของประเทศ

ในอาเซยี น 10 ประเทศ ในประเด็นตํอไปนี้
92 ค(มู่ 1อื)สเง่ ลเสอื รกิมปแลระะพเทัฒศนทาี่ปกจิรกะทรรับมใลจูกแเลสือะตท๎อักษงกะชาวีริตไปในเยสถอื านนมศากึ หษมาลูํ ละกู เส1ือปโทระชเ้ันทปศระถมศึกษาปีท่ี 5

(2) สบื ค๎นเกี่ยวกับชอื่ ประเทศ ธงประจําประเทศ ดอกไม๎ การแตํงกาย อาหาร

สถานทส่ี าํ คัญ และการทักทาย สวสั ดี ของประเทศน้นั

2) หมูลํ กู เสอื เลาํ เรอื่ งประเทศที่ชอบและตอ๎ งการไปเยือนใหท๎ ป่ี ระชมุ กองฟงั

โดยอาจมภี าพเพลงการทกั ทายด๎วยภาษาของประเทศนนั้ ด๎วย

4.4 ผ๎ูกาํ กบั เลาํ เร่ืองทเี่ ปน็ ประโยชน๑

4.5 พธิ ีปิดประชมุ กอง (นัดหมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธงลง เลิก)

5. การประเมินผล
5.1 คกสู่มงัาือเรสกร่งตเวํ สมครมิมวแาือลมกะรพาับฒัรผเนปาิด็นกชิจหอกมรบรูํพกมลวากู รกเรสใับนอื ทมกักอลษมบุํะชหีวมติ ใานยสงถาานนศกึ ษา
5.2 ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสตู รลกู เสือโท 85
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5
5.3 การเลําเรื่องประเทศที่ประทับใจและต๎องการไปเยอื นวาํ มกี ารเตรียมพรอ๎ มหรือไมํ

โดยอาจมภี าพเพลงการทกั ทายด๎วยภาษาของประเทศน้ันด๎วย
4.4 ผ๎ูกาํ กับเลําเร่อื งที่เป็นประโยชน๑
4.5 พธิ ปี ดิ ประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ )
5. การประเมนิ ผล
5.1 สังเกตความรับผิดชอบการรบั มอบหมายงาน
5.2 การรํวมมือการเปน็ หมูํพวกในกลมุํ
5.3 การเลาํ เรื่องประเทศที่ประทบั ใจและต๎องการไปเยือนวาํ มีการเตรยี มพรอ๎ มหรอื ไมํ
(หมายเหตุ : กจิ กรรมนี้ใชจ๎ ดั กิจกรรมบรู ณาการกับรายวิชา อาเซียนศึกษา)

6. คณุ ธรรม
6.1 ความพอเพยี ง
6.2 ซือ่ สัตย๑สจุ รติ
6.3 รบั ผิดชอบ
6.4 ความกตญั ๒ู
6.5 อดุ มการณค๑ ณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 14

เพลง
บหุ ลงกากา

บุหลงกา กา๎ ตอู า แมนซอก ดเี จ มลู า
เมเน ซดู า ตอู า คคิ ินยา ติงกา ดูวา

เรซมุ เรซมุ เรซมุ มลู าลา เรซุม เรซมุ เรซมุ มูลาลา
เรซมุ เรซมุ เรซมุ มลู าลา บหุ ลงกา กา๎ ตูอา

เรื่องส้ันท่เี ปน็ ประโยชน์

เวลากับนาฬิกา แตกตา่ งแตเ่ ตมิ เต็ม
เวลา... เดินไปขา๎ งหน๎า แตํนาฬกิ า.... เดนิ อยทํู เ่ี กาํ
เวลา... ไมํอาจย๎อนกลบั แตนํ าฬกิ า... เราหมนุ ย๎อนมนั ได๎
เวลา... เมอ่ื สญู เสียไปแล๎วไมอํ าจเรียกร๎องคนได๎ แตํนาฬิกา... เสียก็ซํอมหรือซอ้ื ใหมไํ ด๎
คมู่ ือส่งเเสวรลมิ าแ..ล.ะไพดฒั ม๎ นาาฟกริจีๆกรไรมมตํลูกอ๎ เงสแอื รทกักกษับะอชวีะิตไรในสแถตานํ นาศฬึกิกษาา..ล. กู ยเงิ่สสือวโทยยชิง่ น้ั แปพรงะถใชม๎เศงึกินษซาอื้ปมีทาี่ 5กเทาํ นนั้ 93
แลว๎ อยาํ งน้มี นั จะคกูํ นั ได๎อยํางไร ในเมอื่ มนั แตกตํางกนั มาก แตํถ๎าไมํมีนาฬกิ าจะรูเ๎ วลาไหม หรือ
ถา๎ มีนาฬกิ าแตํไมรํ จู๎ กั เวลาจะมปี ระโยชน๑อะไร
ถึงสองสิ่งนี้จะแตกตํางกัน แตํถ๎ามนั จะคํกู นั แลว๎ ยอํ มมีจดุ รํวมกนั เสมอเพยี งแตํจะมองเหน็ หรือไมํ

เรอื่ งนี้สอนให้รู้วา่ คนทีม่ วี ิธีแตกตาํ ง ยอํ มชวํ ยเหลือและเติมเตม็ กันได๎เสมอ เราต๎องมองข๎ามสิง่ ดๆี
ของกันและกนั เสมอ

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื สามญั ลูกเสือโท ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5

หนว่ ยท่ี 5 ทักษะในทางวิชาลูกเสอื
แผ86นการจคชูม่ัด้ันอืปกสริจ่งะเถกสมรรศมิ รึกแษมลาะทปพที่ีฒั 1่ี น55ากจิกการรรมเลกกู ็บเสรือักทักษษาะอชีวุปติ กในรสณถา์ทนศ่ีมึกคีษามประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สูตรเลวูกลเสาือโท1 ชัว่ โมง

1. จุดประสงค์การเรยี นรู้

ถึงสองส่ิงนี้จะแตกตํางกัน แตํถา๎ มันจะคกํู นั แล๎ว ยอํ มมจี ดุ รํวมกนั เสมอเพยี งแตํจะมองเหน็ หรอื ไมํ

เร่อื งนสี้ อนให้รู้วา่ คนท่ีมวี ิธแี ตกตําง ยอํ มชวํ ยเหลือและเตมิ เตม็ กันได๎เสมอ เราตอ๎ งมองข๎ามสงิ่ ดีๆ
ของกันและกันเสมอ

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสอื สามัญ ลกู เสอื โท ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5
หน่วยท่ี 5 ทกั ษะในทางวิชาลูกเสอื

แผนการจัดกิจกรรมที่ 15 การเกบ็ รกั ษาอุปกรณ์ท่ีมคี ม เวลา 1 ช่วั โมง

1. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1.1 บอกวิธกี ารเก็บรกั ษาของมคี ม ไดอ๎ ยาํ งถูกตอ๎ ง
1.2 ปฏบิ ัติการใช๎เลอื่ ย และมีดเหลาไดอ๎ ยาํ งถกู ตอ๎ ง
1.3 ลูกเสอื สามารถจัดทาํ สมอบก และผาํ ฟนื ได๎

2. เนอื้ หา
2.1 วธิ ีใช๎มีด ขวาน เล่ือยและมดี เหลาไม๎
2.2 วิธเี กบ็ รกั ษามดี ขวาน เลอ่ื ยและมดี เหลาไม๎
2.3 การนาํ ไมม๎ าทาํ เป็นสมอบก สาํ หรบั ขึงเต็นท๑

3. สื่อการเรยี นรู้
3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 ฐานสาธติ การเกบ็ มดี ขวาน เลือ่ ยและมดี เหลา
3.3 ไม๎สําหรบั ทําสมอบก และฟนื
3.4 ใบความรู๎
3.5 เร่อื งสนั้ ทีเ่ ป็นประโยชน๑

4. กจิ กรรม
4.1 พธิ เี ปดิ ประชมุ กอง (ชักธงขนึ้ สวดมนต๑ สงบนงิ่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนรู๎
หมํูลกู เสือเรยี นรจ๎ู ากฐานสาธติ และฝึกปฏิบัติ ดงั น้ี

94 ฐฐาาคนน่มู ททอื ่ี่ี ส12่งเสรวกมิ ธิาแีใรลชพะ๎แพกลัฒะนนเาํกาพกบ็ าจิ รกักแรษลรมะาสมลงํูกดี มเสขีดือวทขาักวนษาแะนชลีวเะลติ เอ่ืลในยอ่ื สใยหถา๎ผนอู๎ ศ่ืนกึ ษา ลูกเสือโท ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5
ฐานท่ี 3 การใช๎มีดเหลาไมท๎ ําสมอบก
ฐานที่ 4 การใช๎ขวานตดั และผําไม๎เพือ่ ทาํ ฟนื กอํ กองไฟ

4.4 ผกู๎ าํ กับลกู เสอื เลําเร่อื งส้ันท่เี ป็นประโยชน๑
4.5 พธิ ปี ดิ ประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธงลงลง เลกิ )

5. การประเมินผล
5.1 คสมู่ ังอื เสก่งตเสครมิวแาลมะถพฒัูกนตา๎อกงจิ จการรกมกลกูาเรสปอื ทฏกั บิ ษัตะชขิ ีวณิตใะนสสาถธานติ ศใึกนษฐาาปนรกะเจิภกทลรูกรเมสอื สามญั หลักสตู รลกู เสอื โท
5.2 ซกั ถามให๎อธิบายวิธีการใชแ๎ ละเก็บรักษาของมคี ม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 87

4.5 พิธปี ดิ ประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลงลง เลิก)

5. การประเมนิ ผล
5.1 สงั เกตความถูกตอ๎ งจากการปฏิบัตขิ ณะสาธติ ในฐานกิจกรรม
5.2 ซกั ถามให๎อธบิ ายวิธีการใช๎และเกบ็ รักษาของมีคม

6. คุณธรรม
6.1 ความพอเพยี ง
6.2 ซอ่ื สัตย๑สุจริต
6.3 รบั ผดิ ชอบ
6.4 ความกตญั ๒ู
6.5 อุดมการณ๑คณุ ธรรม

ภาคผนวกประกอบแผนกิจกรรมที่ 15

เพลง

ชมปา่

ปาู น้เี ขาวาํ มีวหิ ก หมูํนกนบั รอ๎ ยพนั
มาดว๎ ยกนั ๆ ชมไพร นะเพอ่ื นเอยให๎เพลดิ เพลิน
ปูานเี้ ขาวํามีความสขุ ส นกุ ดงั เชสอนื้ เุกชดญิ งั เชอ้ื เชญิ
มาก๎าวเดิน ๆ ชมไพร นะเพอื่ นเอยวิไลตา

เร่ืองสนั้ ทเ่ี ป็นประโยชน์ ชีวิตและธรรมชาติ

ชีวิตจะมีพลัง ถ๎าลูกเสือทุกนาย ตื่นเช๎าและนอนแตํหัวคํ่า เพราะชีวิตของเราจะเป็นนายของ

เวคลมู่ าอื สห่งรเสือรเิมปแ็นลทะพาสัฒขนอางกเิจวกลรารมกล็ขูกึ้นเสออืยทํูกกั ับษเะรชาวี มิตีวใินนสัยถใานนกศากึ รษใาช๎เลวกูลเาสใือหโท๎เปช็นั้นปปรระะโถยมชศนึกษ๑อายปําีทง่ีไ5ร เราไม9ํม5ีวัน
เวลาต่ืนนอนเปน็ หัวใจของชวี ิต เปน็ จุดเรม่ิ ตน๎ ของการใชช๎ วี ิตทส่ี อดคลอ๎ งกับธรรมชาติ

เอาชนะธรรมชาติได๎ เราจึงต๎องเรียนร๎ูที่จะอยูํรํวมกับธรรมชาติอยํางกลมกลืน เม่ือคนเราควบคุมเวลาตื่น

นอนได๎ ยํอมควบคมุ เวลาในการใชช๎ วี ติ ได๎ หากเราควบคุมเวลาในการใช๎ชีวิตไมํได๎ ชีวิตเราก็จะรวนไปท้ัง

วัน เวลาจะหดลงภาระจะเพ่ิมขึ้น อะไรที่คนทําจะไมํได๎ทํา ชีวิตท่ีควรจะเรียบงําย ก็จะยุํงเหยิงท้ังวันเป็น

ทวีคูณ

เรื่องน้สี อนใหร้ ้วู า่ การบรหิ ารเวลาอยาํ งมปี ระสิทธภิ าพจะชํวยใหส๎ ุขภาพจติ ดี พลังชวี ิตกจ็ ะเกิดข้นึ การ
ดาํ เนนิ ชีวติ จะเป็นไปอยาํ งราบรื่น

ใบความรู้
คูม่ อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสกือทาักรษเะกชบ็ีวติ รใกันสษถานมศดี กึ ษ-าขปวระาเนภทลกู เสือสามัญ หลกั สูตรลูกเสือโท
88
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5

การใชแ้ ละการเกบ็ รกั ษามดี และขวาน

ทวคี ณู
เรอื่ งนสี้ อนให้รู้วา่ การบรหิ ารเวลาอยํางมปี ระสิทธภิ าพจะชวํ ยใหส๎ ขุ ภาพจติ ดี พลังชวี ติ กจ็ ะเกิดขึ้นการ

ดาํ เนนิ ชวี ติ จะเปน็ ไปอยํางราบร่ืน

ใบความรู้

การเก็บรักษามีด - ขวาน

การใช้และการเก็บรักษามดี และขวาน
มีดและขวานเปน็ เครอ่ื งมือจาํ เป็นทล่ี ูกเสือต๎องใชใ๎ นการอยูํคาํ ย เพอ่ื ตัด ทอน เส้ียมไม๎ แตกํ ารใช๎

ตอ๎ งใหถ๎ ูกวิธีและระวงั มใิ หเ๎ กดิ อนั ตราย ดังนี้
มีด

มีดเป็นเคร่ืองมือท่ีใช๎สําหรับฟัน จัก เหลา ผํา ตัด ลิดหรือถางวัสดุตํางๆ เชํน ต๎นไม๎ ก่ิงไม๎
ต๎นหญา๎ เนอื้ ผัก เปน็ ต๎น มดี มรี ูปราํ งและขนาดแตกตํางกันตามความเหมาะสมของการใช๎งาน เราอาจ
จาํ แนกมีดตามขนาดได๎เป็น 2 ประเภท คอื

1. มีดเล็ก ได๎แกํ มีดพกประจําตวั และมีดทีใ่ ช๎ในการทาํ ครวั
(1) มดี พกประจําตัว เปน็ มดี ใชพ๎ กพาตดิ ตัวอยูเํ สมอในขณะอยูํคํายพักแรม หรือเดินทางไกล

ตวั มีดประกอบไปด๎วยสวํ นใบมีดและด๎าม มดี พกประจาํ ตวั มไี วเ๎ พ่ือตัดเชอื ก ลิดก่ิงไม๎ขนาดเล็ก หรืออาจ
ใช๎ในการประกอบอาหาร เป็นต๎น หลงั จากใชแ๎ ล๎วตอ๎ งเก็บรกั ษาและซํอมแซม ตอ๎ งหมนั่ ลับใหค๎ มอยํูเสมอ
และชโลมนาํ้ มันเพื่อปฺองกันสนมิ หมน่ั ตรวจดอู ยําใหใ๎ บมดี โยกคลอนหรือด๎ามมดี แตกหกั

(2) มีดทใี่ ชใ๎ นการทาํ ครวั เป็นมีดบางขนาดเลก็ สําหรับการประกอบอาหาร อาจไมํจําเป็นใน
การอยูํคํายพักแรม เพราะอาจใช๎มีดพกประจําตัวแทนก็ได๎ วิธีการบํารุงรักษาเชํนเดียวกับมีดพก
ประจําตัว

2. มีดใหญ่ ไดแ๎ กํ มดี โต๎ มดี ดายหญ๎า มีดพรา๎ ถางเปน็ มดี ทมี่ ีความจาํ เป็นในการอยูํคํายพักแรม
เป็นอยาํ งมาก มสี ํวนประกอบ 2 สํวน คอื สวํ นใบมีดและสํวนดา๎ ม สํวนใบมดี จะต๎องลับให๎คม เช็ดให๎แห๎ง
ทานํ้ามนั ทกุ ครงั้ ทีใ่ ช๎งานเสร็จแล๎ว การบํารุงรักษาและซํอมแซมต๎องหม่ันตรวจดูวําด๎ามมีดอยํูในสภาพ
สมบูรณ๑ดีหรอื ไมํ ใบมดี โยกคลอนหรือไมํ และถ๎าใบมีดโยกคลอนควรเปลี่ยนด๎านมีดเสียใหมํเพ่ือความ
แข็งแรง วธิ ีใช๎ควรให๎หาํ งจากผ๎ูอน่ื และใช๎งานด๎วยความระมัดระวัง ไมปํ ระมาทหรือคึกคะนอง

96 ค่มู ือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กมรีดรพมกลปกูระเสจอืาตทัวกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5

มดี ทาครัว มีดโต้ มดี พรา้ ถาง มดี ดายหญ้า

มีดชนิดตา่ งๆ

ขวาน
ขวานเป็นเครื่องมือที่ทําด๎วยเหล็กมีสันหนาใหญํใช๎สําหรับตัด ฟัน ผํา ตอก ทุบ และถากไม๎

อาจจาํ แน1ก. ขขววคาาู่มนนือสอไ่งทอเสกยรไมิ เดแปล๎เป็นะพน็ขัฒว2นาานปกพิจรกน้ืะรเเรภมมทลือูกงเคสเอือืหทมักาษะะสชวีําติหใรนับสถคานนศไทึกษยา แปลระะเมภทีขลนูกาเสดือแสตามกชัญัน้ตปําหรงละกักถสัมนูตศรกึ2ลษกู ชาเปสนือที ิดโ่ี ท5คือ ข8ว9าน
ไทยขนาดเล็ก ทําด๎วยเหล็กหน๎าตรง ด๎านคมคํอนข๎างบาง กว๎างประมาณ 3 นิ้ว และสํวนสันหนาประมาณ

มดี ชนิดต่างๆ

ขวาน
ขวานเป็นเครื่องมือที่ทําด๎วยเหล็กมีสันหนาใหญํใช๎สําหรับตัด ฟัน ผํา ตอก ทุบ และถากไม๎

อาจจาํ แนกขวานออกได๎เป็น 2 ประเภท คอื

1. ขวานไทย เปน็ ขวานพ้นื เมือง เหมาะสาํ หรบั คนไทย และมีขนาดแตกตํางกัน 2 ชนิด คือ ขวาน
ไทยขนาดเลก็ ทําด๎วยเหลก็ หนา๎ ตรง ดา๎ นคมคอํ นข๎างบาง กว๎างประมาณ 3 น้ิว และสํวนสันหนาประมาณ
2 – 2½ น้ิว ซ่ึงมีรูตรงกลางสําหรับสอดใสํด๎าม ซึ่งทําด๎วยไม๎ยาวประมาณ 12-14 นิ้ว ขวานชนิดน้ีมี
นํา้ หนกั คอํ นข๎างเบา ขวานไทยขนาดใหญํ มีลักษณะรูปรํางคล๎ายกับขวานไทยขนาดเล็ก แตํมีขนาดใหญํ
กวําและมีด๎านยาวประมาณ 2 เทํา จึงเหมาะที่จะใช๎ในงานหนัก เชํน การโคํนและการผําไม๎ขนาดใหญํ
เป็นตน๎

2. ขวานฝร่ัง เป็นขวานจากตํางประเทศ ที่นิยมใช๎กันมี 2 ชนิด คือ ขวานฝรั่งขนาดเล็ก ทําด๎วย
เหล็กกล๎า ด๎านคมคํอนข๎างบาง กว๎างประมาณ 4½ น้ิว สํวนสันกว๎างประมาณ 2½ นิ้วมีชํองเป็นวงรี
สําหรับใสํด๎ามไม๎เนื้อแข็งซึ่งมีความยาวประมาณ 14 นิ้ว สํวนขวานฝร่ังขนาดใหญํ มีรูปรํางเหมือนกับ
ขวานฝรัง่ ขนาดเล็ก แตํมีขนาดโตข้นึ เลก็ นอ๎ ย และมีดา๎ มยาวประมาณ 2 เทํา

ขวานมีส่วนประกอบที่สาคัญ 2 สํวน คือ หวั ขวาน
สํวนตัวขวาน ซ่งึ ทําด๎วยเหล็ก และสวํ นด๎ามท่ที ําด๎วยไม๎ บา่ ขวาน

ด้ามขวาน

ปลายด้าม สันขวาน
คมมีด ใบมดี

การใชแ้ ละเกบ็ รกั ษามีดและขวานภาพสว่ นตา่ งๆ ของขวาน

มดี และขวานเปน็ เครือ่ งมอื ที่เปน็ ประโยชน๑ตํอการอยํูคํายพักแรมของลูกเสือมาก เน่ืองจากการ

พักแรมมักนิยมเลือกสถานที่เป็นสนาม ปูาไม๎ หรือแถวภูเขา ซึ่งมีธรรมชาติท่ีเป็นต๎นไม๎ ต๎นหญ๎า

จงึ จาํ เป็นตอ๎ ง ตัด ลิด ถาก หรอื ถางใหม๎ ีสถานทเี่ หมาะแกกํ ารพักแรมค๎างคนื และแมล๎ กู เสอื พกั อาศัยอยูทํ ่ี

บคา๎ นู่มือกสต็ ่งอ๎ เสงรมมิ ีกแาลระใพชัฒ๎มนีดาแกลจิ ะกขรวรมานลูกดเสงั ือนทน้ั ักจษึงะจชําวี เิตปใ็นนตสถอ๎ างนรศู๎จกึักษวาิธกี ลากู รเใสชอื ๎แโทละชกั้นาปรรเกะถบ็ มรศักกึ ษษาามปดีีทแี่ 5ละขวาน เพ9ื่อ7จะ
ใชไ๎ ดอ๎ ยํางทนทานและปลอดภัย ควรปฏิบัตดิ ังน้ี

1. อยําวางมีดหรือขวานไว๎บนพ้ืน เพราะจะเป็นอันตรายตํอตนเองและผู๎อ่ืนท่ีเผลอไปเตะหรือ

เหยยี บเขา๎ นอกจากน้ันการวางมีดและขวานไวบ๎ นพน้ื จะทาํ ให๎เกดิ มสี นิมได๎

2. อยาํ ใช๎มีดหรอื ขวาน หน่ั ถาก ตัด ฟัน วตั ถุท่ีแขง็ เกินไป เพราะจะทําให๎บิ่นหรือหมดคม ต๎องใช๎

มดี หรอื ขวานใหเ๎ หมาะกับงาน

3. อยาํ เอามีดหรือขวานไปห่ัน เชอื ด ตัดของรอ๎ น หรือลนไฟเพราะจะทาํ ใหค๎ มมีดหรอื ขวนท่ือได๎

4. การถือมีดและขวานต๎องหันคมให๎ออกนอกตัว ท้ังน้ีเพื่อปฺองกันการพลั้งเผลอ หรือเกิดหกล๎ม

คมมดี และขวานอาจบาดหรือเฉอื นเราได๎

5. การสงํ มดี และขวานให๎แกํกัน อยํางใช๎วิธีโยนหรือขว๎าง แตํผ๎ูสํงจะต๎องจับสันมีดหรือขวาน หัน
คมมดี ออกนอกตวั หรอื หันดา๎ มคมลงบนพืน้ สํงด๎ามมีดหรอื ขวานใหผ๎ ู๎รับจับ เมื่อผู๎รับจบั ด๎ามมีดหรือขวาน
แน9นํ0แล๎ว ผชค่มูัน้ส๎ู ือปงํ สรจ่งะึงเถสปมรศิมลกึ แํอษลยาะปมพีทัฒอื ี่ น5ากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สตู รลูกเสอื โท

เหยยี บเข๎า นอกจากน้นั การวางมีดและขวานไว๎บนพน้ื จะทาํ ให๎เกดิ มสี นิมได๎

2. อยําใช๎มดี หรือขวาน ห่นั ถาก ตัด ฟัน วตั ถทุ ี่แขง็ เกนิ ไป เพราะจะทําให๎บ่ินหรือหมดคม ต๎องใช๎
มดี หรือขวานให๎เหมาะกับงาน

3. อยําเอามีดหรอื ขวานไปห่ัน เชอื ด ตัดของรอ๎ น หรือลนไฟเพราะจะทําใหค๎ มมีดหรอื ขวนทือ่ ได๎
4. การถือมีดและขวานต๎องหันคมให๎ออกนอกตัว ทั้งน้ีเพ่ือปฺองกันการพล้ังเผลอ หรือเกิดหกล๎ม
คมมดี และขวานอาจบาดหรือเฉอื นเราได๎

5. การสงํ มดี และขวานให๎แกํกัน อยํางใช๎วิธีโยนหรือขว๎าง แตํผู๎สํงจะต๎องจับสันมีดหรือขวาน หัน
คมมดี ออกนอกตวั หรือหนั ด๎ามคมลงบนพน้ื สํงดา๎ มมดี หรือขวานใหผ๎ ู๎รบั จบั เมอ่ื ผูร๎ ับจบั ดา๎ มมดี หรือขวาน
แนํนแลว๎ ผู๎สํงจงึ ปลํอยมอื

การนามดี และขวานไปใช้อย่างถกู วธิ ี

6. หลังจากใช๎มีดและขวานแล๎วทุกครั้ง ต๎องล๎างให๎สะอาด เช็ดให๎แห๎ง ทาน้ํามันแล๎วเก็บเข๎าที่ให๎
เรียบรอ๎ ย

7. ถ๎าเป็นมีดหรือขวานที่มีปลอก มีหน๎ากาก ควรสวมปลอกหรือหน๎ากากกํอนแล๎วจึงเก็บหรือ
พกพาไป

8. เมอื่ ความคมของมดี หรอื ขวานหมดไป ต๎องนําไปลับ
กับหินลบั มดี หรือหนิ กากเพชรให๎คม

คูม่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สตู รลูกเสอื โท 91
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5


Click to View FlipBook Version