แผนการจัดกิจกรรมลกู เสอื สามญั ลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5
หน่วยท่ี 7 คคณุ าปธฏริญรมาณจรแิยลธะรกรฎมของลูกเสือ
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 24 การแสดงออกทางอารมณ์อยา่ งเหมาะสม เวลา 2 ช่วั โมง
1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
ลกู เสือสามัญสามารถแสดงออกทางอารมณไ๑ ดอ๎ ยํางเหมาะสมตามวยั
2. เนอื้ หา
การแสดงออกทางอารมณอ๑ ยาํ งเหมาะสม
3. สื่อการเรยี นรู้
3.1 แผนภมู เิ พลง
3.2 ใบความรู๎ เรอื่ ง การแสดงออกทางอารมณ๑อยาํ งเหมาะสม
3.3 เรื่องส้นั ทีเ่ ป็นประโยชน๑
4. กิจกรรม
4.1 กิจกรรมคร้งั ที่ 1
1) พิธเี ปิดประชมุ กอง (ชักธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนร๎ู
(1) ผู๎กํากับลูกเสือนําสนทนาถึงการแสดงออกทางอารมณ๑ ท่ีมักกํอให๎เกิดปัญหาตามมา
เชํน การทะเลาะวิวาท การทําร๎ายรํางกาย การโกรธเคือง ซึ่งทําให๎เสียสัมพันธภาพ
เปน็ ตน๎
(2) ผู๎กํากับลูกเสือแจกใบความร๎ู เร่ืองการแสดงออกทางอารมณ๑อยํางเหมาะสม และ
มอบหมายให๎หมูํลูกเสือเตรียมการแสดงบทบาทสมมุติ หมํูละ 1 สถานการณ๑
ท่ีกําหนดให๎ (เชํน เสียใจ ดีใจ โกรธ ต่ืนเต๎น ตกใจ ผิดหวัง) โดยทําเป็น 2 รอบ
เพ่อื นําเสนอในกองลูกเสือครัง้ ตํอไป
รอบท่ี 1 เป็นการแสดงออกทางอารมณ๑ไมเํ หมาะสม
รอบที่ 2 ปรับใหเ๎ ปน็ การแสดงออกทางอารมณอ๑ ยาํ งเหมาะสม ในสถานการณ๑เดิม
4) ผู๎กํากับลูกเสอื เลําเร่ืองสนั้ ที่เป็นประโยชน๑
5) พิธปี ดิ ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธงลง เลกิ
150 คมู่ ือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
142 คู่มือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลักสูตรลกู เสอื โท
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5
4.2 กิจกรรมครั้งที่ 2
1) พธิ เี ปดิ ประชมุ กอง (ชักธง สวดมนต๑ สงบน่งิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรยี นร๎ู
(1) ลูกเสือแสดงบทบาทสมมตุ ทิ ีละหมูํ หมลํู ะ 2 รอบ หลังการแสดงของแตํละหมูํ
ผ๎กู าํ กบั ลูกเสอื ให๎ตวั แทนหมูํได๎สรุปวําในรอบที่ 2 น้นั มคี วามแตกตาํ งจากรอบแรก
อยํางไรจนครบทกุ หมูํ
(2) ผกู๎ าํ กับและลูกเสอื รวํ มกันสรุปขอ๎ คดิ ทไ่ี ด๎ และการนาํ ไปใช๎ในชวี ิตประจาํ วัน
4) ผู๎กํากับลูกเสอื เลาํ เรอื่ งส้นั ที่เปน็ ประโยชน๑
5) พิธปี ดิ ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลิก)
5. การประเมนิ ผล
สังเกต การมีสํวนรํวมในการทํากิจกรรม การแสดงออกในบทบาทสมมุติ และการแสดงความ
คดิ เหน็ ในหมูแํ ละในกองลกู เสอื
6. องค์ประกอบทักษะชวี ติ สาคญั ท่ีเกดิ จากกจิ กรรม
การจัดการกับอารมณ๑ การสรา๎ งสมั พนั ธภาพและการสอื่ สาร
7. คุณธรรม
7.1 ความพอเพยี ง
7.2 ซื่อสัตยส๑ จุ ริต
7.3 รับผดิ ชอบ
7.4 ความกตัญ๒ู
7.5 อุดมการณ๑คุณธรรม
เพลง ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 24
ตะละบุม่ บุมบมุ๋
ตะละบมํุ บมุ บุ๐ม โอแ๎ มํเนื้อนมํุ บวั บาน
พค่ี อยคะนงึ คดิ ถงึ เธอมานาน โอ๎แมตํ าหวานอยาํ ทาํ ใหฉ๎ ันยนื งง
(ดอกเอย๐ ุุุุุุุุุเจ๎าดอกุุุ.
คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 151
คู่มือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สูตรลูกเสือโท 143
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
หอมหอมเอย
หอม หอม เอย หอมเอยเจ๎าดอกไมเ๎ อย สดุ เฉลยทรามเชยของพ่ี
หอมเอย หอมดอก หอมดอกอะไรดี ขอเชญิ น๎องพีม่ าลองทายดู
(ดอกเอย๐ ุุุุุุุ..เจา๎ ดอกุุุุุ)
ใบความรู้ วธิ จี ดั การกบั อารมณ์
อารมณท๑ เี่ ป็นทุกข๑โดยเฉพาะอยํางย่งิ ความโกรธ นอ๎ ยใจ ผดิ หวัง มกั กํอพฤติกรรมทเี่ ป็นปัญหา
เชนํ การทะเลาะวิวาท ทาํ ร๎ายผูอ๎ นื่ การประชดชีวติ ด๎วยการทําร๎ายตนเอง ใชย๎ าเสพตดิ ฯลฯ
แนวทางจัดการอารมณ์ในเวลาปกติ
1. ฝกึ การรับรอู๎ ารมณ๑ เพือ่ รเ๎ู ทําทันอารมณ๑ตนเอง เชํน การถามความรู๎สึกตนเองในขณะมีการ
เปล่ียนแปลงทางอารมณ๑ เป็นการเฝฺามองตนเองเม่อื ถูกกระตุน๎ ดว๎ ยสง่ิ เรา๎ และจดบันทึกอารมณ๑ในแตํละวัน
เมือ่ ชาํ นาญแลว๎ จงึ เปลี่ยนมาฝกึ บอกตนเองในใจอยูํเสมอ
2. รบั รว๎ู าํ อารมณ๑เปล่ยี นแปลงได๎ตลอดเวลา เกิดขน้ึ แล๎วกด็ บั ไป ดังนั้นควรยอมใหอ๎ ารมณน๑ นั้ ๆ
เปลย่ี นแปลงไปตามธรรมชาติ ไมยํ ดึ ตดิ หรือดงึ กลบั มาเป็นอารมณ๑ใหมํ
3. ใสขํ อ๎ มลู ทางบวกให๎ตนเอง แทนการสะสมขยะความโกรธไวใ๎ นใจ
4. ฝกึ ยบั ยั้งตนเองอยเูํ สมอ ๆ และช่นื ชมตนเองเม่อื ทาํ ไดส๎ าํ เร็จ
5. หลกี เลี่ยงการคบเพอื่ นเจา๎ อารมณ๑ เพราะจะทาํ ใหเ๎ คยชนิ แล๎วทาํ ตาม
6. หมน่ั สะสมความสขุ ปีตจิ ากการชํวยเหลอื ผอ๎ู ่นื และทาํ ให๎อารมณอ๑ ํอนโยน
แนวทางควบคุมอารมณเ์ มอ่ื เกดิ อารมณ์ทางลบ 4 ข้นั ตอน
1. สาํ รวจอารมณ๑ขณะน้ันวาํ กําลงั มีอารมณ๑เชํนไร
2. คาดการณ๑ถึงผลดแี ละผลเสยี ของการแสดงพฤติกรรมตามอารมณ๑ท่ีเกิดขนึ้
3. ควบคุมอารมณ๑ดว๎ ยวิธีการที่เหมาะสมกับตนเอง เชํน ทําสมาธิ, นับเลขในใจ 1, 2, 3, 4 ุ,
ออกจากเหตกุ ารณช๑ ัว่ คราว ฯลฯ
4. สํารวจอารมณ๑อกี ครง้ั หนง่ึ และแสดงความชนื่ ชมตนเองเมือ่ ทาํ ไดส๎ าํ เร็จ
การควบคมุ อารมณโ์ กรธ
ในแตํละขณะคนเราจะมีอารมณ๑ได๎แบบเดียว ดังนั้นถ๎าเรานําอารมณ๑ที่สงบมาแทนท่ีอารมณ๑
โกรธได๎ ความโกรธกจ็ ะเบาบางลงข้ันตอนการควบคมุ อารมณ๑โกรธ มี 3 ขัน้ ตอน คือ
1. ตัง้ สติและควบคมุ อารมณ๑โกรธ โดยเลอื กวิธใี ดวธิ หี นึ่งทีท่ าํ ไดง๎ าํ ย ๆ ไดแ๎ กหํ ายใจเข๎าออกยาว ๆ
มีวิธีฝกึ ดังน้ี
1) สดู ลมหายใจเข๎าลึกๆ ชา๎ ๆ พร๎อมกับนบั 1 – 2 – 3 – 4 ในใจ
152 คู่มอื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5
144 คู่มือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สูตรลกู เสือโท
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5
2) กลนั้ หายใจ 1 วนิ าที
3) คอํ ยๆ หายใจออกยาวๆ ช๎าๆ พรอ๎ มกับนับ 1 – 2 – 3 – 4 ในใจ
- นบั เลขเบรกอารมณ๑ โดยนบั เลขในใจช๎า ๆ 1.....2......3.......4......5.....6.........
- หายใจเขา๎ ทางจมกู หายใจออกทางปากช๎าๆ
2. บอกความรูส๎ ึก และความตอ๎ งการ กบั คํูกรณี ดว๎ ยทาํ ทสี งบ ไมํก๎าวร๎าว เชํน กรณีโกรธเพราะ
ถูกเพ่ือนแกลง๎
- เราไมสํ นุกด๎วยเลย เลกิ แกล๎งเราไดไ๎ หม
- เราไมํชอบการเลํนแรงๆ แบบนี้ เปลี่ยนวิธเี ลํนไดไ๎ หม
3. ถา๎ ยังไมไํ ด๎ผลควรหาทางออกจากเหตุการณ๑ เชํน
- เราไมํเลํนแลว๎ นะ (แลว๎ เดินออกจากเหตุการณ)๑
เรอ่ื งสั้นท่ีเปน็ ประโยชน์
ลาอยากร้องเพลง
ลาได๎ยนิ เสยี งจักจ่ันซึ่งมักจะสงํ เสยี งรอ๎ งเพลงอยาํ งไพเราะตลอดเวลา ลาจึงถามจกั จน่ั วํา
“เพ่อื นเอย๐ เจา๎ กนิ อะไรหรือ จงึ มเี สียงที่ไพเราะนัก”จักจั่นย้ิมแล๎วตอบวํา“อ๐อ อาหารของข๎าก็คือ
น้าํ คา๎ งไงลํะ” ลาจงึ เขา๎ ใจวําเพราะจกั จัน่ กินแตํนํ้าค๎างอยํางเดียวจงึ ไดม๎ เี สยี งไพเราะ ดังนั้นถ๎าตนลองกิน
นาํ้ คา๎ งบา๎ งก็คงจะรอ๎ งเพลงไดไ๎ พเราะอยาํ งจกั จั่น ต้ังแตวํ นั นนั้ ลาก็กินแตํนํ้าค๎างไมํกินหญ๎าท่ีเป็นอาหาร
ของตน ไมํช๎าไมนํ านนกั ลากซ็ บู ผอมตายไปเพราะความหวิ โหย
เร่อื งนี้สอนให้รู้วา่ สิ่งทีด่ ที ี่สดุ สําหรับผ๎อู ่นื อาจเป็นสงิ่ ทแ่ี ยทํ ส่ี ดุ สาํ หรับเรา
สุนขั กับเงา
สนุ ขั ตัวหน่ึงขโมยเนอ้ื มาจากตลาด คาบว่งิ ข๎ามสะพานมา ขณะอยํูบนสะพานมันเหลือบเห็นเงา
ของตวั เองในนา้ํ ก็เข๎าใจวําเป็นสุนขั อกี ตัวหนึ่งซึ่งคาบเน้ือช้ินใหญํกวํามา มันจึงอ๎าปากหมายจะงับแยํง
ช้นิ เนื้อจากสุนขั ท่ีมองเหน็ ในน้าํ เน้อื ในปากของมันจงึ ตกนาํ้ จมหายไป สุนัขตัวน้ีเลยสูญเสียทั้งเน้ือท่ีตน
ขโมยมาและเนือ้ ที่ตนคิดอยากจะได๎
เร่อื งน้ีสอนใหร้ ู้ว่า ผมู๎ ีความโลภและโงเํ ขลา นอกจากจะพลาดหวังในส่งิ ที่ตนตอ๎ งการ ยงั อาจสญู เสยี
สงิ่ ท่ีตนมอี ยูํแลว๎ อกี ด๎วย
คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 153
ค่มู ือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สตู รลกู เสือโท 145
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5
แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั ลูกเสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5
หน่วยท่ี 7 คาณุ ปธฏริญรามณจแรลิยะธกรฎรขมองลูกเสือ
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 25 คนดีในอุดมคติ เวลา 1 ช่ัวโมง
1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
ลกู เสือสามารถบอกคุณสมบตั ขิ อง “คนดี” ตามอดุ มคติของลกู เสอื
2. เน้ือหา
คุณสมบัติคนดใี นอดุ มคตขิ องลูกเสอื
3. สื่อการเรยี นรู้
3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 ใบความรู๎ เร่อื ง คณุ สมบัติ คนดี ในอดุ มคตขิ องลกู เสือ
3.3 เรือ่ งสนั้ ทีเ่ ปน็ ประโยชน๑
4. กิจกรรม
4.1 พธิ เี ปิดประชุมกอง (ชกั ธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบน่งิ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงคก๑ ารเรยี นร๎ู
1) ลูกเสอื นง่ั ลอ๎ มวงตามหมูํ ใหส๎ มาชกิ แตํละคนผลดั กนั เลําถงึ “คนดี” ทตี่ นเองรจ๎ู กั ใน
3 ประเดน็ คอื
(1) บุคคลนน้ั มคี วามดอี ยํางไร
(2) ลกู เสือร๎ูไดอ๎ ยาํ งไรวําเขาเปน็ คนดี
(3) สรุปถึงคณุ สมบตั ทิ ี่คดิ วาํ ดที สี่ ดุ ของบุคคลนน้ั
2) ผ๎ูกาํ กับลูกเสอื แจกใบงานให๎ลกู เสอื ศกึ ษาและสงํ ตัวแทนนําเสนอในประเดน็ ตอํ ไปน้ี
(1) ลกู เสือคดิ วาํ การเป็น “คนดี” นน้ั เปน็ ประโยชน๑ตอํ ตนเอง และผู๎อื่นอยํางไร
(2) การเปน็ “คนดี” จะทาํ ให๎ “ลูกเสือเป็นผมู๎ ีเกยี รติ เชื่อถือได๎” ดงั นนั้ ลูกเสือคดิ วํา
จะสรา๎ งคณุ สมบัติของคนดใี ห๎เกดิ ขึ้นในตวั ของลกู เสอื ใหม๎ ากท่สี ุดอยํางไร
(3) ผู๎กาํ กบั ลกู เสือรวํ มการสรุปคนดีในอุดมคติ
4.4 ผก๎ู าํ กับลูกเสอื เลําเรอื่ งสั้นที่เป็นประโยชน๑
4.5 พิธีปดิ ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลิก)
154 คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
146 คมู่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สตู รลูกเสอื โท
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5
5. การประเมนิ ผล
สงั เกต การมีสวํ นรวํ มในการทาํ กจิ กรรม และการแสดงความคดิ เหน็ ในหมูํและในกองลกู เสอื
6. องค์ประกอบทกั ษะชวี ติ สาคัญที่เกดิ จากกจิ กรรม
คอื ความคิดวิเคราะห๑ ความคดิ สร๎างสรรค๑ และเขา๎ ใจผอู๎ นื่
7. คณุ ธรรม
7.1 ความพอเพียง
7.2 ซื่อสตั ย๑สจุ รติ
7.3 รบั ผดิ ชอบ
7.4 ความกตญั ๒ู
7.5 อุดมการณค๑ ณุ ธรรม
ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 25
เพลง
หนึ่งในรอ้ ย
พราวแพรว อันดวงแกว๎ แวววาม สดสีงามหลายหลากมากนามนิยม
นิลกาฬ มกุ ดา บุษรา ขําคม นาํ ชมวาํ งามเหมาะสมดี
เพชรน้าํ หนง่ึ งามซ้งึ พึงเป็นยอดมณี ผอํ งแผ๎วสดสี
เพชรดมี หี นึ่งในร๎อยดวง ความดคี นเรานดี่ ีใด
ดนี า้ํ ใจทใ่ี ห๎แกคํ นทง้ั ปวง อภัย รูแ๎ ตใํ ห๎ไปไมํหวง
เจ็บทรวงหนํวงใจให๎รู๎ทน ร๎ูกลนื กลาํ้ เลิศลํ้า ความเปน็ ยอดคน
ชนื่ ชอบตอบผล รอ๎ ยคนมหี น่งึ เทาํ น้นั เอย
เรือ่ งทเี่ ป็นประโยชน์ สนุ ัขผู้ซ่ือสัตย์
บา๎ นหลงั หนง่ึ เล้ยี งสุนัขไว๎เฝฺาบ๎าน สุนัขตัวนั้นซ่ือสัตย๑มาก ยามกลางคืนขณะที่มันนอนหลับ
หากได๎ยินเสียงผิดปกติ มันจะลุกข้ึนมาเหําหอน เตือนภัยแกํเจ๎าของบ๎านเสมอ คืนหน่ึงมันได๎ยินเสียง
ฝีเทา๎ คนยํา่ ใบไม๎ดงั กรอบแกรบ ใกลร๎ ั้วบ๎าน แม๎จะไมเํ ห็นวาํ เปน็ ใครมันก็สํงเสียงเหําไว๎กํอนเจ๎าหัวขโมย
จึงโยนเน้ือชุบยาเบื่อชิ้นหนึ่งเข๎ามาในร้ัว สุนัขเฝฺาบ๎านเดินเข๎าไปดมๆ ดู แตํไมํกินมันยังคงเหําตํอไป
จนกระทง่ั เจ๎าของบ๎านออกมาดู แล๎วก็ชวํ ยกนั จบั โจรไดใ๎ นทสี่ ดุ
เรอ่ื งนส้ี อนใหร้ วู้ า่ อามสิ สนิ บนนัน้ ซอื้ ความซอื่ สัตยไ๑ มํได๎
คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 155
คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสูตรลูกเสือโท 147
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5
แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญ ลูกเสือโท ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5
หน่วยท่ี 7 คาณุ ปธฏริญรามณจแรลิยะธกรฎรขมองลกู เสอื
แผนการจัดกจิ กรรมที่ 26 ส่ิงดๆี ของฉัน เวลา 1 ชัว่ โมง
1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
ลกู เสอื สามารถเขา๎ ใจและเหน็ คุณคําตนเอง
2. เนือ้ หา
ลูกเสือคุณคําตนเอง
3. ส่อื การเรยี นรู้
3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 กระดาษชาร๑ท
3.3 ปากกาเคมี
3.4 เรอื่ งสน้ั ที่เป็นประโยชน๑
4. กิจกรรม
4.1 พธิ เี ปิดประชุมกอง (ชักธงขึน้ สวดมนต๑ สงบนิง่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงค๑การเรียนร๎ู
1) ลูกเสือน่ังล๎อมวงทํากิจกรรมในหมํู ผู๎กํากับแจกกระดาษชาร๑ทและปากกาเคมี แตํละคน
พูดถึงความถนดั ของตนเอง หรอื ส่งิ ท่ตี นเองทาํ ไดด๎ ี และสามารถให๎ความชํวยเหลือเพื่อน ๆ
งานของหมลูํ ูกเสอื และกองลูกเสอื ได๎ นายหมมํู อบให๎สมาชิกคนหนึ่งเป็นคนเขียนรวบรวม
จดบันทกึ ความถนัดของสมาชกิ ของแตลํ ะคน
2) ผ๎กู าํ กับลูกเสอื เรยี กรวมกองแล๎วให๎นายหมรํู วบรวมวํา ในกองลูกเสือมีทรัพยากรบุคคล
ท่ีจะพฒั นางานของกองลกู เสอื ในเรื่องอะไรไดบ๎ ๎าง
3) ผู๎กํากบั นําอภิปรายในกองลกู เสอื ในประเดน็ ตอํ ไปนี้
- การทลี่ กู เสือไดร๎ ๎ูถงึ ความถนัด และความสามารถของตนเองน้ัน มีประโยชนต๑ อํ ตนเอง
และผู๎อน่ื อยาํ งไร ( รส๎ู กึ ภมู ิใจและเหน็ คณุ คาํ ตนเอง มีกําลงั ใจทจ่ี ะไดส๎ งํ เสรมิ และ
พฒั นาความสามารถของตนเองให๎ดียงิ่ ๆ ขนึ้ และสามารถใหค๎ วามชวํ ยเหลือแกเํ พอ่ื น
และงานของสํวนรวมได)๎
4.4 ผู๎กาํ กับเลาํ เรอ่ื งสั้นที่เป็นประโยชน๑
4.5 พธิ ีปดิ ประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชักธงลง เลกิ )
156 ค่มู อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5
148 คมู่ อื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลกั สตู รลกู เสือโท
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5
5. การประเมินผล
สังเกต การมสี ํวนรวํ มในการทาํ กจิ กรรม และการแสดงความคดิ เหน็ ในหมแูํ ละในกองลกู เสอื
6. องคป์ ระกอบทักษะชวี ิตสาคญั ท่ีเกิดจากกจิ กรรม
คอื เขา๎ ใจและเหน็ คุณคาํ ตนเอง
7. คณุ ธรรม
7.1 ความพอเพียง
7.2 ซอื่ สตั ย๑สจุ รติ
7.3 รับผิดชอบ
7.4 ความกตัญ๒ู
7.5 อุดมการณ๑คุณธรรม
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 25
เพลง เพอ่ื ความยืนยงสามัคคี
เพือ่ ความสามคั คีมีรํวมกัน
จับมือ
เปรยี บดังเปลวเพลิงร๎อนไฟนน่ั
จบั มือกนั ไว๎ใหม๎ ัน่ คง จบั มอื ยมิ้ ใหก๎ นั เปน็ สงิ่ ดี
รกั กันปรองดองเหมือนนอ๎ งพี่
โกรธกนั มนั รา๎ ยเป็นส่ิงเลว
เผาใจ ใหม๎ ีความไหวหว่นั
เร่อื งสนั้ ท่เี ปน็ ประโยชน์
วธิ เี สริมสร้างคณุ ค่าตนเอง
การเหน็ คุณคาํ ตนเอง หมายถงึ การรับรถ๎ู ึงคุณคําหรือความสามารถที่มอี ยํใู นตนเอง บนพนื้ ฐาน
ท่สี มดุลระหวาํ งความตอ๎ งการผลสําเรจ็ กบั ความมเี กยี รติและความซอ่ื สตั ย๑
กรมสขุ ภาพจติ แนะนาวิธเี สรมิ สรา้ งคณุ ค่าของตนเอง ดังน้ี
1. พิจารณาจดุ ยนื และส่งิ สาํ คัญของชวี ติ ตนเองวําคอื อะไร
คู่มอื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 157
คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลกั สตู รลูกเสอื โท 149
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5
2. จัดเวลาในการพฒั นาจิตใจและความเชอ่ื ม่ันตนเองดว๎ ยวิธีตาํ ง ๆ เชนํ การน่งั สมาธิ การอาํ น
หนังสอื ทเ่ี สรมิ สรา๎ งความเชอ่ื มน่ั จดคําขวัญท่ีประทับใจ จดบนั ทกึ สงิ่ ทดี่ ี ๆ และผลงานของตนเองท่ีชื่นชอบ
หรือประสบผลสาํ เรจ็ (ตัวอยาํ ง : ซื่อสตั ย๑ คดิ ริเรมิ่ มุํงม่นั เอ้อื อาทร เรยี นดี ได๎รางวัล ฯลฯ) เป็นตน๎
3. เลกิ บํนสิง่ ที่ไมดํ ขี องตนเอง ไมดํ ูถกู ตวั เองหรอื มองวาํ ตัวเองไรค๎ วามสามารถ การตอกยํ้าจุด
ดอ๎ ยจะทาํ ใหข๎ าดพลงั และความเช่อื ม่นั ในตนเอง
4. ไมํเปรยี บเทียบตัวเองกับผอ๎ู ืน่ เพราะทุกคนแตกตํางกัน และยอมรับวําไมํมใี ครสมบรู ณ๑ 100%
5. คบกบั คนทมี่ องโลกในแงํดี มีความเช่อื มนั่ และเห็นคณุ คาํ ตนเอง เพราะเพ่ือนจะคอยกระตุ๎นให๎
เรามคี วามมัน่ ใจและความมุํงมนั่ มากขน้ึ รวมทงั้ มองปัญหาวาํ มีทางออกและมองโลกในแงํดี
6. หาตน๎ แบบ เพอ่ื เปน็ แนวทางการดําเนนิ ชวี ติ ของตนเอง ตัง้ เปาฺ หมายทจี่ ะเป็นไปได๎และมุํงมั่น
สคํู วามสาํ เร็จ
7. หาผ๎ูชํวยเหลอื ดา๎ นทักษะและทัศนคติ ในการดาํ รงชีวิตหรอื การงาน ถา๎ หากมีคนชมหรอื
กลําวโทษใหก๎ ลาํ วคําวาํ ขอบคุณทเ่ี ขาชวํ ยบอกให๎เราร๎ู
เรอ่ื งนส้ี อนใหร้ ูว้ า่ คนทกุ คนยํอมมคี ณุ คาํ ในตนเอง
158 คูม่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5
150 คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สตู รลูกเสือโท
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั ลกู เสอื โท ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5
หน่วยท่ี 7 คาณุ ปธฏรญิ รมาณจแรลิยะธกรฎรมของลกู เสอื
แผนการจัดกจิ กรรมที่ 27 มารยาททางสงั คม เวลา 1 ชัว่ โมง
1. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
เพอ่ื ใหล๎ กู เสอื สามารถปฏิบตั ิตนถงึ มารยาททดี่ ีในสงั คมไดอ๎ ยํางเหมาะสม
2. เนอ้ื หา
การปฏบิ ัติตนเป็นผ๎มู มี ารยาทดใี นสังคม
3. สื่อการเรียนรู้
3.1 แผนภมู เิ พลง
3.2 แผนภมู ริ ูปภาพแสดง มารยาททด่ี ใี นสงั คม
3.3 เรอ่ื งสัน้ ทีเ่ ป็นประโยชน๑
4. กจิ กรรม
4.1 พิธเี ปดิ ประชุมกอง (ชกั ธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงค๑การเรยี นรู๎
1) ผู๎กาํ กับลูกเสอื กําหนดบทบาทสมมุตกิ ารจดั งานรน่ื เริง ในกองลูกเสือ ดังน้ี
- แบํงลูกเสือเปน็ 2 กลํมุ
กลุํมท่ี 1 แสดงบทบาทเป็นผูต๎ ๎อนรบั แขก ผู๎บริการอาหารนาํ้ ด่มื พิธกี รในงานรนื่ เริง
กลํุมท่ี 2 แสดงเป็นสุภาพบรุ ุษ และสภุ าพสตรี ทมี่ ารํวมงานรื่นเริงจากนนั้ ใหล๎ กู เสือ
ทั้งสองกลํมุ สลับกนั แสดงบทบาทสมมตุ ิ
2) ผูก๎ ํากับลกู เสอื สงั เกต ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติมารยาทในสงั คม และใหข๎ อ๎ เสนอแนะ
เพ่ือการปรบั ปรงุ ในเร่อื งตํอไปนี้
- การพดู จาต๎อนรับ การใหเ๎ กยี รติ และทกั ทาย
- มารยาทและการแสดงออกทส่ี ุภาพเรยี บรอ๎ ยท้งั ตอํ เพศเดียวกัน และเพศตรงกนั ข๎าม
- การแสดงบทบาททถ่ี ูกกาลเทศะ ในบทบาทตาํ ง ๆ เชํน พิธกี ร บรกิ ร เจ๎าหนา๎ ท่ี ตอ๎ นรับ
3) ลกู เสอื ทงั้ สองกลุํม รําวงในเพลงงามแสงเดอื น
4) ผู๎กาํ กบั ลกู เสอื นาํ เสนอแผนภูมิ รวํ มกนั นําอภปิ ราย สรุปข๎อคิดทไี่ ดแ๎ ละการนาํ ไปใช๎
4.4 ผก๎ู าํ กบั เลําเร่อื งสนั้ ท่ีเปน็ ประโยชน๑
4.5 พธิ ปี ิดประชุมกอง (นัดหมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชักธงลง เลิก)
คมู่ อื ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 159
ค่มู ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสตู รลกู เสอื โท 151
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5
5. การประเมินผล
สังเกตการมสี ํวนรํวมในการทํากิจกรรม การแสดงออก และการแสดงความเห็นในหมํแู ละในกองลูกเสือ
6. องคป์ ระกอบทกั ษะชีวิตสาคัญท่ีเกดิ จากกจิ กรรม
ความคดิ วเิ คราะห๑ ความคดิ สรา๎ งสรรค๑ การสรา๎ งสัมพันธภาพและการสอ่ื สาร
7. คุณธรรม
7.1 ความพอเพยี ง
7.2 ซื่อสตั ยส๑ จุ รติ
7.3 รับผิดชอบ
7.4 ความกตัญ๒ู
7.5 อุดมการณ๑คุณธรรม
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 27
เพลง
งามแสงเดือน
งามแสงเดอื นมาเยอื นสอํ งหลา๎ งามใบหนา๎ เมอื่ อยวํู งราํ ( 2 เท่ยี ว )
เราเลํนเพ่อื สนกุ เปล้อื งทุกขม๑ ิวายระกาํ
ขอให๎เลนํ ฟฺอนรํา เพ่ือสามัคคีเอย.
เรอ่ื งส้นั ทีเ่ ป็นประโยชน์
มารยาททางสงั คม
มารยาท หรือ มรรยาท หมายถึง กิริยาวาจาที่ถือวําสุภาพเรียบร๎อย ถูกกาลเทศะ สํวนคําวํา
มารยาทในสังคม จะหมายถึง กรอบหรือระเบียบแบบแผนที่ควรประพฤติหรือควรละเว๎นในสํวนที่
เก่ียวกบั ผ๎ูอื่น รวมทั้งชุมชนหรือคนหมํูมาก โดยเหตุท่ีมนุษย๑เราไมํสามารถอยํูลําพังคนเดียวในโลกได๎
ต๎องเกี่ยวข๎องสัมพันธ๑กับผ๎ูอื่นไมํมากก็น๎อย ด๎วยเหตุน้ี จึงต๎องมีกฎกติกากําหนดแบบแผนในการอยูํ
รํวมกนั ซึ่งทุกชาติทกุ ประเทศตํางก็มีแบบอยํางทางวัฒนธรรมท่ีเรียกกันวํา มารยาททางสังคมน้ีท้ังส้ิน
เพียงแตํรายละเอียดอาจจะแตกตํางกันบ๎าง อยํางไรก็ดี ด๎วยความก๎าวหน๎าทางเทคโนโลยีปัจจุบัน
160 คูม่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลูกเสอื โท ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5
152 คมู่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลักสูตรลูกเสอื โท
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5
อาจทําให๎คนสมัยน้ีหันไปพึ่งพาเคร่ืองอํานวยความสะดวกตํางๆ และมีปฏิสัมพันธ๑กับคนอ่ืนน๎อยลง
อันเป็นเหตใุ หล๎ ะเลยหรือเพกิ เฉยตํอมารยาททพี่ งึ มีตอํ กนั แตํสิ่งเหลํานี้ กย็ งั จาํ เปน็ ตํอการอยรูํ วํ มกนั ใน
ทุกสงั คม ดงั นน้ั กลํุมประชาสมั พันธ๑ สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงํ ชาติ กระทรวงวัฒนธรรม
จึงขอนําสิ่งละอันพันละน๎อยเกี่ยวกับมารยาททางสังคมมาเสนอ เพื่อเป็นเกร็ดความรู๎ และประโยชน๑
ในทางปฏิบัติ ดงั ตอํ ไปน้ี
- การกลําวคําวํา “ขอบคณุ ” เม่ือผ๎ูอื่นให๎ส่ิงของ /บริการ หรือเอื้อเฟ้ือทําส่ิงตํางๆให๎ไมํวําจะโดย
หน๎าท่ีของเขาหรือไมํก็ตาม เชํน บริกรเปิดประตูให๎ คนลุกให๎นั่งหรือชํวยถือของให๎เราในรถประจําทาง
คนชํวยกดลิฟทร๑ อเรา หรอื ชํวยหยบิ ของท่ีเราหยิบไมํถงึ ให๎ เป็นต๎น โดยปกติจะใช๎คําวํา “ขอบคุณ” กับผ๎ูที่
อาวุโสกวาํ และใช๎คาํ วาํ “ขอบใจ” กบั ผอ๎ู ายนุ อ๎ ยกวําเรา แตปํ ัจจุบันมกั ใช๎รวมๆกนั ไป
- เอํยคาํ วํา “ขอโทษ” เมื่อต๎องรบกวน /ขัดจงั หวะผอู๎ น่ื เชํน เขากําลงั พูดกันอยํู และต๎องการถาม
ธุระดวํ น กก็ ลาํ วขอโทษผ๎ูรํวมสนทนาอกี คน แตํควรเป็นเร่ืองดํวนจริงๆ หรือกลําวเม่ือทําผิดพลาด /ทําผิด
หรือทาํ สงิ่ ใดไมถํ ูก ไมเํ หมาะสมโดยไมํตงั้ ใจ เชํน เดนิ ไปชนผอ๎ู ื่น หยบิ ของขา๎ มตัวหรอื ศีรษะผอ๎ู ่ืน เป็นตน๎
สาํ หรับคนไทย เมือ่ เอํยคาํ วาํ “ขอบคุณ” หรือ “ขอโทษ” ตอํ ผูท๎ ีอ่ าวุโสกวํา เชนํ พํอแมํ ครอู าจารย๑
ผูใ๎ หญํ มักจะยกมือไหว๎พรอ๎ มกนั ไปดว๎ ย เชนํ กลําวขอบคุณพร๎อมยกมอื ไหว๎พอํ แมํทีท่ าํ นซอื้ ของให๎ เป็นต๎น
เร่อื งนสี้ อนให้รวู้ า่ บคุ คลท่มี มี ารยาทสงั คมดียอํ มเป็นทชี่ น่ื ชมแกสํ งั คม
คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5 161
ค่มู อื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสตู รลูกเสือโท 153
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5
แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสอื สามญั ลูกเสือโท ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
หน่วยที่ 7 คาณุ ปธฏริญรามณจแรลิยะธกรฎรขมองลูกเสอื
แผนการจดั กิจกรรมที่ 28 คิดเชงิ บวก เวลา 1 ชวั่ โมง
1. จุดประสงค์การเรียนรู้
ลูกเสอื สามารถคดิ เชงิ บวกในสถานการณท๑ างลบได๎
2. เนื้อหา
การทลี่ ูกเสอื มีความสามารถในการคดิ เชิงบวก จะชํวยสร๎างให๎มีมุมมองท่ีดีท้ังกับตนเองและผ๎ูอื่น
เปน็ คนมองโลกในแงํดีมีความคิดท่ีดีงามซึ่งสิ่งเหลํานี้จะทําให๎ลูกเสือมีพลังใจในการสร๎างสรรค๑สิ่งที่ดีงาม
เพอ่ื สังคมตํอไป
3. ส่ือการเรียนรู้
3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 แก๎วใสใสํน้าํ สี 2 ใบ (แก๎วขนาดเทาํ กันและใชน๎ ํา้ สแี ทนนา้ํ หวาน)
3.3 เร่อื งสั้นท่ีเปน็ ประโยชน๑
4. กิจกรรม
1) พิธเี ปดิ ประชมุ กอง (ชักธงขึ้น สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงค๑การเรยี นร๎ู
1) ผกู๎ ํากับลูกเสอื ขออาสาสมคั ร 2 คน ซ๎อมและแสดงบทบาทสมมุติคนละ 1 รอบ
รอบแรก ลกู เสอื คนท่ี 1 ถอื แก๎วนา้ํ หวานเดนิ มา แลว๎ สะดุดกอ๎ นหินลม๎ ลง น้ําหวานหก
เหลอื อยคูํ รงึ่ แกว๎ เม่ือลุกขึ้นได๎ก็ร๎องไห๎ เสียใจ แล๎วพูดวํา “แยํจัง! นํ้าหวาน
หกหายไปตัง้ คร่ึงแกว๎ ”
รอบท่ีสอง ลกู เสอื คนท่ี 2 ถือแกว๎ น้ําหวานเดนิ มา แล๎วสะดดุ ก๎อนหนิ ล๎มลง น้ําหวานหก
เหลืออยํูคร่ึงแก๎ว เมื่อลุกข้ึนได๎ก็ยิ้มและทําทําดีใจ แล๎วพูดวํา “โชคดีจัง!
นํ้าหวานยงั เหลืออยูอํ กี ตัง้ คร่งึ แกว๎ ”
2) ผก๎ู าํ กับลูกเสอื ต้ังคาํ ถาม “ลูกเสือคิดวาํ คนไหนจะมีความสุขกวํากนั ” และลูกเสอื อยาก
เป็นเหมือนคนไหน เพราะเหตใุ ด”
3) ผกู๎ าํ กบั ลกู เสอื สรปุ ความหมายและประโยชนข๑ องการคดิ เชงิ บวก
4) ผ๎กู ํากับลูกเสอื มอบหมายใหห๎ มํลู ูกเสอื รํวมกันคิดเชงิ บวกในสถานการณ๑ “ถกู ครตู ําหนิ”
แล๎วสงํ ตวั แทนรายงานในกองลูกเสอื
162 คมู่ อื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลูกเสอื โท ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
154 คูม่ อื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลกั สตู รลูกเสอื โท
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5
5) ตัวแทนแตลํ ะหมํรู ายงาน
6) ผู๎กาํ กบั ลกู เสอื ชวนคดิ วาํ ลูกเสอื ได๎ขอ๎ คดิ อะไรบา๎ ง และจะนาํ ไปใชใ๎ นชีวติ ประจําวนั อยํางไร
4) ผู๎กํากับลกู เสอื เลาํ เรอื่ งส้ันท่ีเปน็ ประโยชน๑
5) พธิ ปี ิดประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ )
5. การประเมนิ ผล
สงั เกตการมีสวํ นรวํ มในการทาํ กจิ กรรม และการแสดงความคิดเหน็ ในหมํูและในกองลกู เสือ
6. องค์ประกอบทักษะชวี ิตสาคัญที่เกิดจากกิจกรรม
ความคดิ วเิ คราะห๑ ความคดิ สร๎างสรรค๑ และเข๎าใจตนเอง
7. คุณธรรม
7.1 ความพอเพียง
7.2 ซื่อสัตยส๑ จุ ริต
7.3 รบั ผิดชอบ
7.4 ความกตัญ๒ู
7.5 อุดมการณ๑คุณธรรม
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 28
เพลง
เรามาสนุกกัน
มาเถิดเรามา มารํวมร๎องเพลงกนั พวกเราท้ังนน้ั ลุกขนึ้ พลันทนั ที
แลว๎ เรามาหันหนา๎ มาหากัน ยกมือไหวก๎ นั แล๎วตบมือสามที (เอา๎ 1..2..3)
เสรจ็ พลนั แล๎วกห็ ันกลับมา สนกุ หนกั หนา แลว๎ สํายเอว 5 ที (เอา๎ 1..2ุ3..4..5)
เร่อื งส้ันทีเ่ ป็นประโยชน์
หมบู่ า้ นทารองเท้า
หมํูบา๎ นแหงํ หนง่ึ เป็นหมํูบา๎ นท่ีทุกครอบครัว และทุกคนในแตํละครอบครัวเป็นชํางผลิตรองเท๎า
เม่ือรองเท๎าเริ่มขายไมํได๎ แตํละครอบครัวจึงสงํ ตวั แทนออกไปสาํ รวจหมบูํ ๎านท่ีอยํูหํางไกล เพ่ือหาท่ีขาย
รองเท๎า แตํตัวแทนเหลําน้ันตอ๎ งประหลาดใจมากท่ีหมํูบ๎านเหลําน้ันไมมํ ีใครสวมรองเทา๎ แม๎แตคํ นเดียว
ค่มู ือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 163
คู่มอื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลกั สูตรลูกเสือโท 155
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ตัวแทนหมํบู ๎านทํารองเท๎ากลับมาด๎วยความผดิ หวัง ตาํ งบอกกบั ครอบครวั ของตนวํา “เราคงตอ๎ ง
อดตายแนํ ๆ เพราะคนในหมบํู ๎านไกล ๆ ไมมํ ีใครใสรํ องเทา๎ เลย สวํ นหมํบู ๎านใกล๎ ๆ ก็มรี องเทา๎ ใสํกนั หมดแล๎ว
รองเทา๎ ท่เี ราชวํ ยกันทําคงไมํมีประโยชนอ๑ กี แล๎ว เกบ็ ไวก๎ ไ็ รค๎ าํ เราเอารองเท๎าไปทง้ิ กนั ดีกวํา..”
ในขณะที่ทุกคนกําลังจะนํารองเท๎าไปท้ิง เด็กชายคนหนึ่งถามขึ้นวํา “ทําไมจึงจะทิ้งรองเท๎า
ทง้ั หมดละํ ครบั ” ทุกคนกต็ อบเป็นเสยี งเดยี วกนั วาํ “เกบ็ ไว๎ก็ขายไมํได๎ หมํูบ๎านใกล๎ ๆ ก็มีรองเท๎าใสํแล๎ว
ทอ่ี ยํไู กล ๆ ก็ไมมํ ใี ครใสรํ องเท๎า”
เด็กชายจึงขอร๎องให๎พาไปท่ีหมํูบ๎านหํางไกล และก็เห็นอยํางท่ีคนอื่นๆเลําให๎ฟังจริงๆ แตํเขา
กลบั คิดตาํ งจากคนอืน่ ๆ และพูดกับทุกคนวํา “เราลองคิดดูดี ๆ นะ ถ๎าเราสามารถแนะนําให๎ทุกคนใน
หมบํู า๎ นเหลํานรี้ ู๎จกั รองเทา๎ และหันมาใสรํ องเท๎า เราก็จะสามารถขายรองเท๎าไดเ๎ ปน็ จาํ นวนมากเลย”
ทุกคนรูส๎ ึกเหมอื นเห็นแสงสวาํ งในท่ีมืด ตาํ งพยายามทําทุกวิถีทางให๎ทุกคนในหมูํบ๎านเหลําน้ัน
ได๎รูจ๎ ักรองเทา๎ พวกเขาทดลองใสํรองเท๎าจนพอใจ เห็นประโยชน๑ของมนั และชวนกนั ซือ้ รองเท๎า
จากนั้นไมํนานคนในหมูํบ๎านชาํ งทํารองเทา๎ ก็ขายรองเท๎ามรี ายได๎ และอยูํดกี ินดกี ันทกุ ครวั เรือน
เรอ่ื งนี้สอนให้รวู้ ่า คาํ วําเปน็ ไปไมไํ ด๎ ทาํ ใหไ๎ มลํ งมือทาํ อะไรจงึ ไมมํ คี วามสาํ เร็จเกดิ ขึ้น แตํการคิดวํา
ปัญหามที างออก เรื่องท่ีไมดํ มี กั มีสง่ิ ดีแฝงอยูํ เชนํ เดียวกบั เดก็ ชายในหมํบู ๎านชํางทํา
รองเท๎า จะมีผลให๎ประสบความสาํ เรจ็ ได๎
164 คู่มือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5
156 คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสูตรลูกเสือโท
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
แผนการจัดกิจกรรมลูกเสอื สามัญ ลูกเสือโท ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5
หน่วยท่ี 7 คณาุ ปธฏรญิ รมาณจแริลยะธกรฎรมของลกู เสอื
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 29 ทกั ษะการเตอื น เวลา 1 ชัว่ โมง
1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
เพ่อื ให๎ลกู เสอื สามารถเตอื นเพอ่ื นดว๎ ยความหวํ งใยได๎
2. เนื้อหา
ทกั ษะการสื่อสารเพ่ือเตอื นเพอื่ น
3. ส่ือการเรยี นรู้
3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 ใบความร๎ู
3.3 เรื่องส้ันทเี่ ป็นประโยชน๑
4. กิจกรรม
1) พธิ ีเปิดประชุมกอง (ชักธงขึ้น สวดมนต๑ สงบนง่ิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงค๑การเรียนรู๎
1) ผกู๎ าํ กบั ลกู เสือนาํ สนทนาดว๎ ยคาํ ถาม “ลูกเสือคิดวาํ พฤตกิ รรมของเพือ่ นทลี่ ูกเสือเปน็ หวํ ง
อยากให๎เขาปรบั ปรุงเพื่อประโยชน๑ตอํ ตัวเขาเอง มอี ะไรบา๎ ง”
2) ผก๎ู าํ กับลกู เสือรวบรวม (เชนํ ขาดเรียนบํอย ไมสํ งํ การบา๎ น เลํนเกมมากจนเสยี
การเรยี น แตงํ กายไมเํ รียบรอ๎ ย พดู จาไมํสภุ าพ ชอบเลํนหวาดเสยี วเสี่ยงอันตราย
ลองสบู บหุ รี่ ฯลฯ )
3) ให๎ลูกเสือจับคูํที่นั่งใกล๎กัน ลองคิดประโยคเตอื นเพอื่ น กรณเี พอื่ นขาดเรยี นบํอย คํลู ะ 1 ประโยค
4) ผ๎กู าํ กบั ลูกเสือสมํุ ถาม 1 – 2 คูํ และใหก๎ องลูกเสอื ประเมินวํา ถ๎าเพอ่ื นเตอื นแบบนี้จะ
รสู๎ ึกอยาํ งไร และจะเชื่อเพอ่ื นไหม
5) ผู๎กาํ กับลกู เสอื แจกใบความร๎ู บรรยายขนั้ ตอนการส่อื สารเพอื่ เตอื นเพอื่ น พร๎อม
ยกตวั อยาํ ง และมอบหมายใหห๎ มลํู กู เสอื รวํ มกนั คดิ ประโยคเตอื นเพอื่ น หมูลํ ะ 1
สถานการณ๑ ทไ่ี มํซา้ํ กัน ตามทีร่ วบรวมได๎ในขอ๎ 2) และนาํ เสนอเปน็ บทบาทสมมุติใน
กองลกู เสือ
6) ตัวแทนหมูลํ กู เสอื แสดงบทบาทสมมุตทิ ลี ะหมูํ ผูก๎ าํ กับลกู เสอื และลูกเสอื หมอํู ่นื รวํ มกัน
ประเมนิ ความถกู ต๎องตามขน้ั ตอนการสอื่ สาร
7) ผ๎กู าํ กบั ลกู เสอื และลกู เสอื รวํ มกนั สรปุ ขอ๎ คิดทไี่ ด๎
คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 165
คมู่ อื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสตู รลกู เสอื โท 157
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5
4) ผูก๎ ํากบั ลูกเสอื เลาํ เรอ่ื งส้ันท่ีเปน็ ประโยชน๑
5) พิธีปดิ ประชมุ กอง (นัดหมาย ตรวจเครื่องแบบ ชกั ธงลง เลิก)
5. การประเมนิ ผลสังเกต
การมสี วํ นรํวมในการทํากจิ กรรม และการฝึกปฏิบตั ิตามขนั้ ตอนการสอื่ สารทีถ่ กู ต๎อง
6. องคป์ ระกอบทักษะชีวิตสาคัญท่เี กิดจากกจิ กรรม
ความคดิ วิเคราะห๑ ความคดิ สร๎างสรรค๑ การสรา๎ งสัมพนั ธภาพและการสอื่ สาร
7. คณุ ธรรม
7.1 ความพอเพยี ง
7.2 ซ่ือสตั ย๑สจุ ริต
7.3 รับผิดชอบ
7.4 ความกตญั ๒ู
7.5 อุดมการณค๑ ุณธรรม
ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมที่ 29
เพลง
ประกอบทา่ ทาง มาสนุกกนั หนา
มาสนกุ กันหนา มาสญั ญารํวมผูกพนั ( ทาราแรก็ แท็ก แทก็ )
มาสนกุ กับฉัน เราลูกเสอื เชอ้ื เผําไทย ( ทาราแรก็ แทก็ แทก็ )
แผํนดินถ่ินน้ี ทง้ั กลางเหนอื ใต๎อิสาน
สามัคคเี ราอยูํรํวมกนั ไมมํ เี ส่ือมคลาย ( ทาราแร็ก แทก็ แทก็ )
ทา่ ประกอบ - ยนื
1. ชํวงเนอื้ เพลงให๎ตบมอื ตามจงั หวะ
2. ชํวงสรอ๎ ยให๎ทําทําสํายสะโพกตามจงั หวะโดยแขนงอ มอื กาํ แลว๎ เหวี่ยงแขนขึ้นลงตาม
จงั หวะเพลง
166 คูม่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5
158 ค่มู ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสตู รลูกเสอื โท
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5
เรอื่ งส้ันทเ่ี ปน็ ประโยชน์ พดู ดเี ป็นศรแี กต่ น
ชายหวั ลา๎ นคนหนงึ่ มกั จะโมโหไมพํ อใจอยาํ งมากถา๎ ใครพูดถงึ เรอ่ื งหวั ลา๎ นของแก แตํถ๎าใครชม
แกวําผมชาํ งดกดําเป็นมัน แกจะถูกใจเป็นอยํางมาก จะขออะไรก็ให๎หมด
ชายคนหนึ่ง อยากจะซื้อวัวคูํงามของตาหัวล๎านมาใช๎งาน จึงเจรจาขอซ้ือวัววํา “นี่ เจ๎าหัวล๎าน
ววั คํนู ้แี กจะขายเทําไหรํ ฉันจะสรู๎ าคาไมํอน้ั เลยนะ” ตาหัวลา๎ นได๎ฟงั กโ็ มโหขึ้นมาทันที ตะโกนกลับไปวํา
"ไมํขายโว๎ย รีบออกไปจากบา๎ นกูเดีย๋ วนเี้ ลย"
มชี ายหนุมํ อกี คนหนง่ึ รอจนเหตุการณส๑ งบจึงเข๎าไปเจรจาบา๎ ง "พํอผมดกปรกไหลํ หน๎าไล๎เฉลิมทอง
ววั ของพอํ ท้ังสอง พํอจะขายเทาํ ไหร"ํ ตาหัวล๎านไดฟ๎ ัง ก็ถูกอกถูกใจ ตอบกลบั ไปวํา "ลูกเอย๐ ววั ท้งั สองนี้
พํอยกให๎เจ๎า" ชายหนํุมจึงได๎วัวกลับบ๎านโดยไมํเสียเงิน ชายคนแรกท่ีไปขอซ้ือวัวพอรู๎วําเขาได๎วัวมา
อยาํ งไรกอ็ ิจฉา จึงใสคํ วามใหล๎ ูกสาวของตาหวั ลา๎ นฟงั วํา ชายหนุมํ ท่ีได๎ววั ไปนั้นลับหลังกลับพูดจาเยาะ
เย๎ยเรอื่ งหัวล๎านให๎ผ๎ูอน่ื ฟงั
เม่ือได๎ฟังความจากลูกสาว ตาหัวล๎านโกรธมาก รีบถือปฏักไปหาชายหนํุมทันที พอพบกัน
ชายหนมุํ กถ็ ามวาํ "พอํ ผมดกปรกบํา พํอจะรบี เดินทางไปไหนกัน" ตาหวั ล๎านไดย๎ ินก็ใจอํอนจึงมอบปฏกั
ใหก๎ บั ชายหนุมํ ไปใช๎ตอ๎ นววั อีกอันหนึง่
กลบั ถึงบา๎ นลูกสาวรูเ๎ รอ่ื ง จึงขอใหพ๎ อํ ไปทวงวัวคนื มาใหไ๎ ด๎ มิฉะนน้ั นางจะฆําตัวตาย ตาหัวล๎าน
เลยชวนลูกสาวไปด๎วยเผ่อื จะไดไ๎ มใํ จอํอนอกี เมอ่ื ไปถงึ ชายหนุํมก็ถามวํา “พํอผมดกปรกหน๎า วันนี้พํอ
จะพากนั ไปไหน” ตาหัวลา๎ นได๎ฟังกเ็ อยํ ด๎วยความเอ็นดูวํา "ลูกเอ๐ยลูกแก๎ว พํอนะแกํแล๎ว เลยพาลูกสาว
มาให๎เจ๎า" ชายหนํมุ กเ็ ลยไดแ๎ ตงํ งานกับลูกสาวตาหัวล๎านอยูดํ ๎วยกนั อยาํ งมคี วามสขุ
เรอ่ื งน้ีสอนใหร้ วู้ า่ พูดดเี ปน็ ศรีแกํตน
คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 167
คมู่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สูตรลกู เสือโท 159
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 5
ใบความรู้
ทักษะการสอื่ สารเพื่อเตอื นเพ่อื น
เม่ือเพื่อนมีพฤติกรรมที่นําเป็นหํวง เชํน หนีเรียนจนเรียนไมํทัน ไมํอํานหนังสือจนจะสอบตก
ไมํสํงการบ๎านจนครูไมํให๎คะแนน หรือริท่ีจะลองสูบบุหรี่ ด่ืมสุรา เป็นต๎น ลูกเสือควรชํวยเหลือผู๎อื่น
ทุกเมื่อและเป็นมิตรกับทกุ คน หน๎าท่ีหนง่ึ ของมติ รท่ีดีหรือมิตรแท๎ คือการชํวยเพ่ือนไมํให๎มีพฤติกรรมท่ี
อาจเกิดผลเสยี ตามมา การเตอื นเพ่ือนดว๎ ยความหํวงใย จึงเป็นวิธีการสื่อสารท่ีลูกเสือควรเรียนรู๎ และ
นําไปใชเ๎ พอ่ื ชวํ ยเหลือเพ่อื นจากพฤติกรรมเสีย่ งตําง ๆ
ขั้นตอนการสอื่ สารเพือ่ เตือนเพอื่ นประกอบด๎วย 3 ข้นั ตอน ดังน้ี
สถานการณ์ : เตอื นเพ่อื นให้ส่งการบา้ น
ขน้ั ตอน ตัวอย่างประโยคคาพูด
1. บอกความรู๎สกึ หวํ งใยตํอปญั หา เราเป็นหํวงจงั นายไมํสงํ การบ๎านหลายหนแลว๎ คะแนนเยอะ
ดว๎ ย
2. บอกความตอ๎ งการให๎แกไ๎ ขหรอื อยากให๎นายเอาใจใสํเรอื่ งการบ๎านหนอํ ย
ปรบั ปรงุ
3. ถามความเหน็ เปน็ การแสดงถึงความ ได๎ไหม
เป็นมิตร /การให๎เกยี รตคิ สูํ นทนา
168 คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสอื โท ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5
160 คู่มอื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสูตรลูกเสอื โท
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5
แผนการจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั ลกู เสือโท ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5
หนว่ ยท่ี 7 คาณุ ปธฏริญรมาณจแริลยะธกรฎรมของลกู เสือ
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 30 เศรษฐกิจพอเพียงระดบั ชมุ ชนและครอบครวั เวลา 2 ชัว่ โมง
1. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
เพ่ือให๎ลูกเสือมีความรู๎ความเข๎าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนํามา
ประยกุ ต๑ใช๎ในชวี ติ ประจําวัน ครอบครวั และชุมชนได๎
2. เนือ้ หา
การประยุกตใ๑ ชห๎ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในระดบั ครอบครัว และชมุ ชน
3. สอ่ื การเรยี นรู้
3.1 แผนภมู เิ พลง เศรษฐกจิ พอเพยี ง
3.2 ใบงาน
3.3 ใบความร๎ู
3.4 กระดาษชาร๑ท
3.5 ปากกาเคมี
3.6 เรื่องสนั้ ทีเ่ ปน็ ประโยชน๑
4. กิจกรรม
4.1 กิจกรรมคร้ังที่ 1
1) พิธเี ปดิ ประชุมกอง (ชกั ธงข้นึ สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนรู๎
(1) ผูก๎ ํากบั ลูกเสอื แจกใบความรู๎ เรอ่ื ง “เศรษฐกจิ พอเพียง” ให๎ลกู เสอื แตํละหมูศํ ึกษา
รวํ มกนั ในเรอื่ งของ สามหวํ งสองเงอ่ื นไข
(2) วางแผนจดั ทาํ โครงการประยุกต๑ใชห๎ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมลูํ ะ 1กจิ กรรม
(3) ผก๎ู ํากบั ลูกเสือเดนิ ดตู ามหมํลู กู เสอื ใหข๎ ๎อมลู และคําแนะนํา
4) ผกู๎ าํ กบั ลูกเสอื เลําเรอ่ื งสัน้ ทีเ่ ป็นประโยชน๑
5) พธิ ีปดิ ประชมุ กอง (นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ )
4.2 กิจกรรมครงั้ ที่ 2
1) พธิ เี ปิดประชุมกอง (ชักธงขน้ึ สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงค๑การเรยี นรู๎
คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 169
คู่มอื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สตู รลูกเสือโท 161
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5
(1) ลกู เสอื แตํละหมูํ นําเสนอโครงการของตนเอง ผกู๎ าํ กบั ลกู เสอื และลกู เสอื หมูํอื่น
รํวมกันซกั ถามเพือ่ ความเข๎าใจ จนครบทกุ หมูํ
(2) ผ๎กู าํ กับลูกเสอื นําอภิปราย สรุปข๎อคิดทไี่ ด๎ และขอให๎ลกู เสอื แตลํ ะหมํู รํวมกนั
วางแผน แบงํ งานและจัดผ๎รู ับผิดชอบ ในการปฏบิ ตั ิตามโครงการ โดยดาํ เนนิ การ
นอกเวลา และจดั ทาํ รายงานสํงผูก๎ ํากบั ลกู เสอื ตามระยะเวลาที่เหมาะสม
(3) ผก๎ู าํ กับลกู เสอื เดินดูตามหมลํู กู เสือ ใหค๎ ําแนะนาํ ปรกึ ษา
4) ผ๎กู ํากับลกู เสอื เลาํ เร่อื งสั้นที่เป็นประโยชน๑
5) พธิ ปี ดิ ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชักธงลง เลกิ )
5. การประเมินผล
สังเกต การใสํใจในการทาํ กิจกรรม การแสดงความคดิ เห็นในหมแูํ ละในกองลูกเสือ และประเมิน
การปฏบิ ตั จิ ริง
6. คณุ ธรรม
6.1 ความพอเพียง
6.2 ซื่อสตั ย๑สจุ รติ
6.3 รบั ผดิ ชอบ
6.4 ความกตญั ๒ู
6.5 อดุ มการณค๑ ุณธรรม
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 30
เพลงเศรษฐกจิ พอเพียง
คาํ ร๎อง กติ ตพิ งษ๑ จุโลทก ทาํ นองปไู ขํไกหํ ลง ดนตรี ไพรัช แดงเพช็ ร/เตา๐ ธนัชพร ขบั ร๎อง
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ในหลวงทาํ นทรงประทาน เปน็ ทกี่ ลาํ วขานเลอื่ งลอื ไปทัว่ โลกา พอกนิ พอใช๎
สขุ ใจเหลอื จะคณา สามหํวงคอื สัญญา พัฒนาชาตไิ ทยมงั่ มี (สร๎อย...พอเพียงๆๆๆๆๆๆๆ)
หํวงหนึง่ พอประมาณ หวํ งสองนัน้ คอื มีเหตผุ ล กอํ นจาํ ยกลวั จน เจียมใจยามเราไมํมี
สรา๎ งภูมคิ ม๎ุ กนั หํวงสามนน้ั พาสขุ ขี อยูํในความพอดี เพราะเรามสี ามหวํ งค๎มุ กัน
(สรอ๎ ย...พอเพยี งๆๆๆๆๆๆๆ)
170 คูม่ อื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5
162 คมู่ ือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสูตรลูกเสอื โท
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
เพลง
แห่พวงมาลยั
โอ๎เจ๎าพวงมาลัย เจา้ จะลอเยจไา๎ ปจคะลอ้ งยใไคปรคกลนั อ๎ แงนใ่(คซร้ำ� ก)นั แนํ(ซา้ํ )
จะรักใครชอบใครใหจ๎ ริงแท๎ เอาใหแ้๎แนน่สสํ กักรราายย
อยํามัวลอยตามลมใหเ๎ ขาดมดอม สน้ิ กลน่ินหหออมมแแลลว้ ๎วหหนน่าํายย(ซ(ซ้ำ� ํ้า))
ยามนน้ั เจ๎าจะอายเขาไมอํ ยากชม เหยยี บเจเา้หจยมียทบง้ิ เไจปา๎ จมทง้ิ ไป
อยากเปน็ หงส๑เหริ หาว อยากเปน็ ดาวเลศิ ลอยวไิ ล(ซาํ้ )
อยูํท่ีบ๎านไมชํ อบใจ หนีมาอยคํู าํ ยสบายเลย
เอ๐ยโอละหนาํ ย โอละหนาํ ยหนํอยเอยุุุุ
พวงมาลัยเจา้ เอ๋ย
พวงมาลัยเจ๎าเอย๐ กํอนเคยได๎สวมคอ
เดีย๋ วนีซ้ ิหนอ ฉันมารอมาลยั
มาลยั ลอยวน ลอยวนอยูบํ นนํา้ ใส(ซ้ํา) จะสวมคอใครนะพวงมาลยั เจา๎ เอย
เรื่องส้นั ที่เปน็ ประโยชน์
ของใชพ้ อเพียงแหง่ “สมเด็จพระเทพฯ"
ภาพพระจรยิ วตั รท่ีพสกนกิ รชาวไทยเหน็ จนชนิ ตา ยามท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยาม
บรมราชกุมารี เสด็จไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจยังสถานที่ตํางๆ ทั้งในและตํางประเทศน้ัน พระองค๑
มักจะบันทึกทุกเรื่องราวลงในสมุดบันทึกสํวนพระองค๑ จนได๎รับการยกยํองให๎เป็น “เจ้าฟ้านัก
สะสม” องคต๑ น๎ แบบทีท่ รงสะสมทกุ เรือ่ งราวและประสบการณท๑ ไ่ี ดพ๎ บเจอลงในสมดุ บันทึกสํวนพระองค๑
คมู่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 171
คมู่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสตู รลกู เสือโท 163
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5
ในงานสัปดาห๑สากลแหํงการเขียนจดหมาย “ครบรอบ 50 ปี การจัดงานรณรงค์ให้คนไทย
เหน็ คุณคา่ ของการเขียนจดหมายด้วยลายมือ” ไปรษณีย๑ไทย ได๎อัญเชิญสิ่งสะสมสํวนพระองค๑ของ
สมเด็จพระเทพฯ มาจัดแสดงนิทรรศการ ประกอบด๎วย สมุดบันทึกสํวนพระองค๑ ไปรษณียบัตรสํวน
พระองค๑ท่ีทรงสํงมาจากหลายประเทศทั่วโลก รวมไปถึงจดหมายจากพสกนิกรท่ีเลําเร่ืองราวตํางๆ
ทลู เกล๎าฯ ถวายแดพํ ระองค๑
ที่สาํ คัญสิ่งพิเศษที่จะหาชมไมํได๎ ก็คือเครื่องเขียนท่ีสมเด็จพระเทพฯ ทรงใช๎ในการจดบันทึก
เร่ืองราวตํางๆ โดยเฉพาะอยํางย่งิ พระองคท๑ รงเป็นแบบอยาํ งทีด่ ีในการดําเนินตามรอยพระราชจริยวัตร
แหํงองคพ๑ ระบาทสมเดจ็ พระเจา๎ อยํูหัว ในเรื่องของความพอเพยี งได๎อยาํ งงดงาม ดังจะเห็นได๎จากดินสอ
สํวนพระองคท๑ ่ที รงใช๎นั้นเหลือเพยี งแทงํ ส้ันๆ เกือบตดิ กบั แทํงยางลบ หรือทรงใช๎กระดาษตํอแทํงดินสอ
ให๎มดี า๎ มยาวขึ้นเพอ่ื ทพี่ ระองค๑จะทรงใช๎เขียนได๎อีก ซึ่งนอกจากจะเป็นตัวอยํางแหํงความพอเพียงแล๎ว
ยังทรงเป็นตวั อยํางในการลดภาวะโลกรอ๎ นโดยการลดการตัดไมท๎ าํ ลายปูาเพอ่ื มาทําดนิ สอไดอ๎ กี ด๎วย
เรือ่ งนสี้ อนให้รู้วา่ การใชส๎ ิง่ ของอยํางพอเพยี ง ชํวยอนรุ ักษส๑ ง่ิ แวดล๎อมได๎
เขาทาดินสอกันอยา่ งไร
บริษัทผลิตดินสอเริ่มกรรมวิธีทําดินสอ โดยนําไม๎สน (cedar) มาตัดเป็นแผํนบาง ๆ กว๎างยาว
ประมาณ 2¾ นิ้ว คูณ 7¼ น้ิว และหนาไมํเกิน ¼ นิ้ว แล๎วนําไม๎แผํนไปเข๎าเคร่ืองเซาะรํองตามความ
ยาวไม๎ แผนํ หนึง่ เซาะไดป๎ ระมาณส่ีถึงเก๎ารอํ ง ขึน้ อยกํู บั ขนาดของดินสอท่ีจะทํา
จากนน้ั นําไส๎ดนิ สอ ความยาว 7 นิ้ว วางลงไปในแตํละรํอง ไสด๎ ินสอนที้ าํ จากกราไฟต๑ ดินเหนียว
และนํ้าเลก็ น๎อย จํมุ ในขีผ้ ง้ึ เพอื่ เพ่ิมความแขง็ แกรํงทนทาน
ขั้นตอนตอํ ไป คอื นําไม๎ขนาดเทํากันอีกแผํน ที่เซาะรํองแล๎วมาประกบทับลงไป โดยยึดติดกันด๎วยกาว
อุตสาหกรรมคุณภาพสูง จะได๎แผํนไม๎ที่มีไส๎ดินสอเรียงแถวเป็นไส๎ในอยูํตรงกลางจากนั้นใช๎เครื่องตัด
ตดั แผนํ ไมอ๎ อกมาเป็นดนิ สอจํานวนเทาํ กบั ไส๎
ข้ันตอนสุดท๎ายคือทาสี และนํายางลบมาติดกาว เข๎ากับก๎นดินสอ เป็นอันเสร็จกระบวนการ
ตามสถิติบอกวาํ บริษัทผลิตดนิ สอแหํงหน่ึงในอเมรกิ า ทําดินสอได๎ 576,000 แทงํ ในเวลาเพยี ง 8 ชวั่ โมง
ทีม่ า 108 ซองคาํ ถาม
เรื่องนี้สอนใหร้ ู้ว่า เราควรใชว๎ สั ดทุ ีท่ าํ จากธรรมชาตอิ ยาํ งประหยดั จะชวํ ยใหเ๎ ราไดอ๎ นุรักษธ๑ รรมชาติ
ไดด๎ ๎วย
172 คมู่ ือสง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5
164 คู่มอื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สตู รลูกเสือโท
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5
ใบงาน
ให๎ลูกเสือแตํละหมูํรํวมกันศึกษาใบความรู๎ เร่ือง “เศรษฐกิจพอเพียง” และวางแผนรํวมกันเพื่อ
จัดทําโครงการประยุกต๑ใช๎หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับครอบครัวและชุมชน หมํูละ 1 โครงการ
และนาํ เสนอโครงการในกองลูกเสอื ครง้ั ตํอไป ตามหัวขอ๎ ตอํ ไปน้ี
1. ช่ือโครงการ
2. เหตุผลท่ีจัดทําโครงการนี้
3. วตั ถปุ ระสงคข๑ องโครงการ
4. วิธดี าํ เนนิ การเปน็ ขนั้ ตอน การแบํงงานและผูร๎ บั ผิดชอบ
5. ระยะเวลาในการดาํ เนินโครงการ
6. งบประมาณและทรพั ยากรทต่ี อ๎ งใช๎
7. ผลประโยชนท๑ คี่ าดวาํ จะไดร๎ บั
8. ช่ือหมูํลูกเสือผู๎รับผดิ ชอบ โครงการ
ใบความรู้
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยํูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ
ตงั้ แตํระดับครอบครัว ระดับชมุ ชน จนถงึ ระดบั รฐั
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได๎รับการเชิดชูสูงสุดจากองค๑การสหประชาชาติ โดยเลขาธิการ
องค๑การสหประชาชาติได๎ทูลเกล๎าฯถวายรางวัล แกํพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยํูหัวฯ เม่ือ 26 พฤษภาคม
2549 และยกยํองวําเป็นปรัชญาที่มีประโยชน๑ตํอประเทศไทยและนานาประเทศ โดยองค๑การ
สหประชาชาตไิ ด๎สนับสนนุ ให๎ประเทศสมาชกิ 166 ประเทศ ได๎ยดึ เป็นแนวทางสํูการพัฒนาประเทศแบบ
ย่งั ยนื ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มีหลักพิจารณาอยูํ 5 สํวน ดังนี้
1. กรอบแนวคดิ เปน็ ปรชั ญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยํูและการปฏบิ ัติตนในทางทีค่ วรจะเปน็
โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย ซ่ึงสามารถนํามาประยุกต๑ใช๎ได๎ตลอดเวลา และเป็น
การมองโลกเชิงระบบท่ีมีการเปลย่ี นแปลงอยูํตลอดเวลา มุํงเนน๎ การรอดพน๎ จากภยั และวิกฤต เพื่อความ
ม่ันคง และความยั่งยืนของการพฒั นา
2. คณุ ลักษณะ สามารถประยกุ ตใ๑ ช๎กับการปฏบิ ัติตนได๎ในทุกระดับ โดยเน๎นการปฏิบัติบนทาง
สายกลาง และการพัฒนาอยํางเป็นขนั้ ตอน เป็นปรัชญาท่ีสามารถเรม่ิ ไดต๎ งั้ แตกํ ารสร๎างภมู คิ ม๎ุ กนั ในตนเอง
ขยายไปยังครอบครัว หมํูบ๎าน และสเํู ศรษฐกจิ ในวงกว๎างขึ้นในที่สดุ
3. คานยิ าม ความพอเพยี งจะต๎องประกอบด๎วย 3 คุณลักษณะ พร๎อม ๆ กนั ดังนี้
คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 173
คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสูตรลูกเสอื โท 165
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5
3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมํน๎อยเกินไป และไมํมากเกินไปโดย
ไมํเบยี ดเบียนตนเอง และผอู๎ นื่ เชํน การผลติ และการบริโภคทอี่ ยํใู นระดบั พอประมาณ
3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงน้ัน จะต๎อง
เป็นไปอยํางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เก่ียวข๎องตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวําจะเกิดขึ้น
จากการกระทํานน้ั ๆ อยาํ งรอบคอบ
3.3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให๎พร๎อมรับผลกระทบ และการ
เปล่ยี นแปลงด๎านตาํ งๆ ท่จี ะเกิดขนึ้ โดยคํานึงถงึ ความเป็นไปได๎ของสถานการณ๑ ตํางๆ ที่คาดวําจะเกิดข้ึนใน
อนาคตทัง้ ใกล๎ และไกล
4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตํางๆ ให๎อยูํในระดับพอเพียงน้ัน ต๎องอาศัย
ท้งั ความร๎ู และคุณธรรมเป็นพืน้ ฐาน กลําวคือ
1) เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบด๎วย ความรอบรู๎เก่ียวกับวิชาการตําง ๆ ที่เกี่ยวข๎องอยํางรอบ
ดา๎ น ความรอบคอบที่จะนําความรู๎เหลํานั้นมาพิจารณาให๎เช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และ
ความระมัดระวังในข้นั ปฏิบัติ
2) เงอ่ื นไขคุณธรรม ทจ่ี ะต๎องเสรมิ สรา๎ งประกอบด๎วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ
ซอ่ื สตั ยส๑ จุ ริต และมีความอดทน มีความเพยี ร ใช๎สตปิ ญั ญาในการดําเนินชีวิต
5. แนวทางปฏบิ ตั ิ / ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ คือการพฒั นาทสี่ มดลุ และยัง่ ยนื พร๎อมทีจ่ ะรับมือตอํ
การเปล่ียนแปลงในทุกด๎าน ทัง้ ดา๎ นเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอ๎ ม ความร๎ู และเทคโนโลยี ความพอเพียง
ในระดบั ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม
ความพอเพียงในระดับครอบครัว คือ การที่สมาชิกในครอบครัวมีความเป็นอยูํในลักษณะท่ี
พ่งึ พาตนเองได๎อยํางมีความสุขทั้งทางกายและทางใจ สามารถดําเนินชีวิตได๎โดยไมํเบียดเบียนตนเอง
และผ๎อู ื่น รวมทัง้ สามารถหาปจั จัย 4 มาเล้ยี งตนเองได๎โดยทย่ี งั มเี หลอื เปน็ สํวนออมของครอบครัวด๎วย
ความพอเพียงในระดับชุมชน เกิดขึ้นจากการที่สมาชิกจากแตํละครอบครัวในชุมชนมีความ
พอเพียงในระดับครอบครัวกํอนที่จะรู๎จักรวมกลํุมกันทําประโยชน๑เพ่ือสํวนรวม เชํน บริหารจัดการปัจจัย
ตํางๆ เชํน ทรัพยากร ภูมิปัญญา หรือศักยภาพของสมาชิกในท๎องถ่ิน ท่ีมีอยํูให๎สามารถนําไปใช๎ดําเนิน
ชวี ิตได๎อยาํ งถูกตอ๎ งและสมดลุ เพ่ือให๎เกิดความเปน็ อยํทู พ่ี อเพียงของชุมชนโดยรวมในท่สี ุด
ความพอเพียงในระดับสังคม เกิดขึ้นจากการรวมกลุํมของชุมชนหลายๆแหํงท่ีมีความพอเพียง
มารํวมกันแลกเปลี่ยนความรู๎ สืบทอดภูมิปัญญาและรํวมกันพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
เพ่ือสรา๎ งเปน็ เครอื ขาํ ยเช่ือมโยงระหวํางชมุ ชนใหเ๎ กดิ เปน็ สงั คมแหํงความพอเพยี งในท่ีสุด
ตวั อยา่ งกจิ กรรมในชมุ ชนทส่ี อดคลอ้ งกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
การเกษตร ทีไ่ ม่ทาลายส่ิงแวดลอ้ มแต่ใชท้ รพั ยากรท่มี ใี นชมุ ชนอย่างคุม้ ค่า เชํน กจิ กรรม
การทาํ ปุ๋ยชีวภาพ การปลกู ผกั และข๎าวท่ีปลอดสารพษิ การทาํ สวนสมนุ ไพรของชมุ ชน การคิดค๎นสาร
174 คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลูกเสอื โท ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5
166 คูม่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสูตรลูกเสือโท
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5
ไลํแมลงสมนุ ไพร การทาํ ถํานชวี ภาพ การรวมกลุํมขยายพันธ๑ุปลา การแปรรูปผลผลิตและการทาํ
การเกษตรผสมผสาน เป็นต๎น
การรวมกลุ่มเพื่อทากิจกรรมที่เกิดจากความรักและความเอ้ืออาทรของสมาชิกในชุมชน
เชํน กิจกรรมตํอต๎านยาเสพติด การนมัสการพระให๎มาชํวยสอนจริยธรรมและศีลธรรมในโรงเรียนของ
ชมุ ชน กิจกรรมการเรียนร๎ูรํวมกัน ผํานศูนย๑การเรียนร๎ูหรือโรงเรียนเกษตรกรในหมํูบ๎าน การทํากิจกรรม
ตํางๆภายในวดั จดั ตัง้ ร๎านคา๎ ของชมุ ชน การจัดทําแผนแมํบทชุมชน การจัดตั้งกลุํมออมทรัพย๑ การจัดตั้ง
กองทุนสวัสดิการ การรวมกลุํมอนุรักษ๑ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล๎อม และกิจกรรมการผลิตของกลุํม
ตาํ งๆ เชนํ การรวมกลํมุ ทําขนมของแมํบา๎ น หรือรวมกลํุมเพื่อปลูกพืชผักสวนครัว นอกจากน้ีชุมชนยังได๎
ต้ังกองทุนข๎าวสารรํวมกับชุมชนอ่ืนๆในตํางภูมิภาค เพื่อค๎าขายหรือผลิตระหวํางกัน รวมท้ังเพ่ือการ
เรยี นร๎แู ละแลกเปลี่ยนประสบการณ๑ และขยายผลการพัฒนาไปยังเครอื ขํายชุมชนอน่ื ๆ ดว๎ ย
กิจกรรมท่ีส่งเสริมคุณธรรม จิตสานึกท้องถ่ิน ส่งเสริมวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของ
เศรษฐกิจพอเพียง เชํน ปลูกฝังความเอื้ออาทรตํอกัน ทําบัญชีอยํางโปรํงใสและสุจริต พัฒนาครูใน
ชุมชนให๎มีคุณภาพและมีจิตผูกพันกับท๎องถิ่น สํงเสริมให๎สมาชิกในชุมชนพ่ึงตนเองกํอนที่จะพึ่งหรือ
ขอความชํวยเหลือจากคนอื่น
ประการทส่ี าคัญของเศรษฐกิจพอเพียง
1. พอมพี อกนิ ปลกู พชื สวนครัวไวก๎ นิ เองบา๎ ง ปลูกไมผ๎ ลไว๎หลังบ๎าน 2-3 ต๎น พอที่จะมีไว๎กินเอง
ในครัวเรอื น เหลอื จงึ ขายไป
2. พออยํูพอใช๎ ทําให๎บ๎านนําอยูํ ปราศจากสารเคมี กล่ินเหม็น ใช๎แตํของท่ีเป็นธรรมชาติ
(ใช๎จุลินทรีย๑ผสมนํ้าถูพื้นบ๎านจะสะอาดกวําใช๎นํ้ายาเคมี) รายจํายลดลง สุขภาพจะดีขึ้น (ประหยัด
คาํ รกั ษาพยาบาล)
3. พออกพอใจ เราต๎องรู๎จักพอ ร๎จู กั ประมาณตน ไมใํ ครํอยากใครํมเี ชํนผ๎ูอื่น เพราะเราจะหลงติด
กบั วัตถุ ปญั ญาจะไมเํ กดิ
"การจะเป็นเสือนั้นมันไมํสําคัญ สําคัญอยูํที่เราพออยํูพอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยํูแบบ
พอมพี อกนิ แบบพอมีพอกนิ หมายความวาํ อุ๎มชตู ัวเองได๎ ใหม๎ พี อเพยี งกบั ตวั เอง"
คมู่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 175
ค่มู อื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สูตรลูกเสือโท 167
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5
แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญ ลูกเสือโท ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5
หน่วยท่ี 8 ระเบียบแถว
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 31 ทบทวนระเบยี บแถว เวลา 2 ช่วั โมง
1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
เพอื่ ให๎ลกู เสือปฏบิ ตั ติ นตามคาํ สัง่ การจดั ระเบยี บแถวและสัญญาณมอื
2. เนือ้ หา
การฝึกระเบียบแถวทนี่ ําไปสกูํ ารสวนสนาม
3. สอื่ การเรยี นรู้
3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 ใบความร๎ู / แผนภูมิรปู ภาพระเบียบ
3.3 อปุ กรณ๑ในการฝกึ ระเบยี บแถว
3.4 เร่ืองส้ันทเ่ี ป็นประโยชน๑
4. กิจกรรม
4.1 กิจกรรมครั้งท่ี 1
1) พิธีเปดิ ประชุมกอง (ชกั ธงขึ้น สวดมนต๑ สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนร๎ู
(1) ผกู๎ ํากับลูกเสอื ทบทวนระเบียบแถว ทาํ ถอดหมวก - สวมหมวก
ทําแบกอาวุธ - เรยี บอาวธุ สญั ญาณมอื และ สัญญาณนกหวดี
(2) แบงํ หมูํลกู เสอื ฝกึ ปฏิบัติระเบยี บแถวจนคลอํ ง
(3) ผ๎กู าํ กับลกู เสอื และลูกเสอื รวํ มกันอภปิ รายสรุปถงึ การปฏบิ ตั ิกิจกรรม
4) ผู๎กาํ กบั ลูกเสอื เลําเรอื่ งสน้ั ที่เปน็ ประโยชน๑
5) พิธีปิดประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธงลง เลิก)
4.2 กจิ กรรมครงั้ ที่ 2
1) พธิ เี ปดิ ประชุมกอง (ชักธงข้ึน สวดมนต๑ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก๑ ารเรียนร๎ู
(1) ผ๎กู ํากบั ลูกเสอื จดั แถวกองลกู เสอื ตามรูปขบวนการสวนสนาม
(2) กองลกู เสอื ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสวนสนาม
176 คู่มือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5
168 คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สตู รลูกเสอื โท
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5
(3) ผก๎ู าํ กับลกู เสอื และลกู เสอื รํวมกันอภิปรายสรปุ ถงึ การปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
4) ผ๎กู าํ กบั ลกู เสอื เลําเร่ืองสนั้ ท่เี ปน็ ประโยชน๑
5) พิธปี ดิ ประชมุ กอง (นัดหมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธงลง เลกิ )
5. การประเมินผล
ทดสอบในการปฏิบตั จิ รงิ
6. คุณธรรม
6.1 ความพอเพยี ง
6.2 ซอ่ื สัตยส๑ จุ รติ
6.3 รบั ผดิ ชอบ
6.4 ความกตญั ๒ู
6.5 อดุ มการณค๑ ุณธรรม
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 31
เพลง วนั นย้ี นิ ดี ท่ีเราได๎มาพบกนั
ปลดเปลอื้ งความทกุ ข๑ ให๎มนั สนิ้ ไป
วันนี้ยนิ ดี
ชํวยกันคิดทาํ ใหก๎ ารลูกเสือเจรญิ
วันน้ยี ินดี ที่เราได๎มาพบกนั
ยินดี ยนิ ดี ยนิ ดี มาเถดิ มา เรามารวํ มสนกุ
มาเถดิ มา เรามารวํ มจติ
ลกู เสอื บาเพ็ญตน
เรามาบาํ เพ็ญตนใหค๎ นได๎เหน็ วาํ พวกเราเป็นลูกเสือไทย ลกู เสอื ไทยทีด่ ี
จะอยไูํ หนนาํ้ ใจมไี มตรี มเี มตตาปรานที ุกคน
สรา๎ งศรัทธารกั ไว๎ในใจตน เพื่อมุงํ ผลชาตไิ ทยพฒั นา
ในหมู่ลูกเสอื
ในหมํูลกู เสอื เมือ่ เข๎ามารวํ มอยูํ ตาํ งคนตํางรกู๎ ันดีวาํ หนา๎ ทีท่ ุกอยําง
ตอ๎ งชํวยกนั ทาํ ทําไมเํ ว๎นวําง งานทุกอยาํ ง งานทกุ อยาํ ง จะเสร็จโดยงํายดาย
ค่มู อื ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 177
คมู่ อื ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลักสตู รลูกเสือโท 169
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
เร่อื งสั้นท่ีเปน็ ประโยชน์
แมห่ มูและหมาป่า
หมาปูาตัวหน่ึงได๎ขําววําแมํหมูปูาออกลูกคอกใหญํจึงแวะไปเยี่ยม ครั้นเห็นลูกหมูปูาอวบอ๎วน
นาํ กนิ กค็ ิดหาอบุ ายลวงให๎แมํหมไู ปทอ่ี ื่น มันจะได๎จบั ลกู หมูกินไดส๎ ะดวก หมาปูาจงึ เริม่ เกล้ยี กลํอมแมํหมูวาํ
“เจ๎าเพง่ิ ออกลกู ใหมๆํ ควรออกไปสดู อากาศบรสิ ุทธแ์ิ ละหาอาหารดๆี กินให๎อิ่มหนําสําราญเพื่อจะ
ได๎มีนาํ้ นมให๎ลกู ของเจา๎ อยาํ งเพยี งพอ สวํ นลูกๆทน่ี าํ รกั ของเจ๎าท้ังหมดไมตํ อ๎ งเปน็ หํวงหรอก ข๎าจะชํวยดแู ล
ให๎เอง”
แตํแมํหมูปูาร๎ูทันจึงตอบวํา “ขอบใจมาก แตํเจ๎าคงไมํต๎องเหน็ดเหน่ือยวุํนวายมากขนาดน้ันหรอก
ขอเพียงแตํเจ๎าออกไปพ๎นจากที่อยูํของข๎า ก็นับวําเป็นการชํวยเหลืออยํางดีที่สุด และข๎าก็คงจะอด
ขอบใจเจ๎าไมํได๎แนํ”
เรอ่ื งนส้ี อนใหร้ ูว้ ่า อยําประมาทไว๎ใจอะไรงาํ ย ๆ ต๎องคดิ ใหร๎ อบคอบเสมอ
ราชสหี ก์ บั วัวส่ตี ัว
วัวสี่ตวั เป็นเพ่ือนรักกัน ท้ัง 4 ตัวไมํกลัวราชสีห๑ผู๎เป็นเจ๎าปูา เพราะเมื่อใดที่ราชสีห๑จะจูํโจมเข๎า
สังหาร วัวทั้งส่ีตัวจะรีบหันหลังชนกัน หันหัวซ่ึงมีเขาอันแหลมคมออกเผชิญหน๎ากับเจ๎าปูา ไมํเปิด
ชํองวาํ งใหร๎ าชสหี ก๑ ระโจนเขา๎ เลนํ งานได๎ไมํวําจะมาจากทศิ ทางใด
ราชสีหจ๑ งึ เริ่มยแุ หยวํ ัวทีละตวั ใหแ๎ ตกคอกนั ตาํ งถกเถยี งกนั วาํ ตนเองมเี ขาอนั แข็งแกรงํ กวําจึงทาํ
ให๎ราชสีห๑จูํโจมไมํได๎ ในที่สุดวัวท้ัง 4 ตัวก็หมางใจกันแยกกันออกหากินไมํรวมกลุํมเ หมือนแตํกํอน
เปน็ เหตุใหถ๎ กู ราชสหี จ๑ บั กินเปน็ อาหารทลี ะตวั จนหมด
เรื่องนีส้ อนใหร้ ู้ว่า เม่อื ความขาดสามัคคเี กิดขนึ้ ในหมํคู ณะใด หมคํู ณะนน้ั ยอํ มพบกบั ภัยพิบตั ิ
178 คมู่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5
170 คู่มือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สูตรลกู เสือโท
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5
ใบความรู้
ระเบียบแถว
การปฏบิ ตั ิตามสัญญาณมอื สญั ญาณมอื ลูกเสือสากล และสญั ญาณนกหวดี
สัญญาณมือ
ใช๎แทนคําบอกขณะท่ีอยํูหํางไกลจากลูกเสือ หรือไมํสามารถใช๎คําบอกให๎ลูกเสือได๎ยินทั่วถึง
หรอื ในกรณที ีต่ ๎องการความสงบเงียบ
1. เตรยี ม คอย ฟังคาสง่ั หรอื หยุด เหยยี ดแขนขวาข้ึนตรงเหนอื ศรี ษะ มือแบหนั ฝาู มือไปข๎างหนา๎ ห๎านิ้วชิดกัน
การปฏิบตั ิ : ลูกเสอื นง่ิ คอยฟังคําสงั่ โดยหันหนา๎ ไปทางผู๎บงั คบั บัญชา ถา๎ อยใูํ นแถวให๎ยืนทาํ ตรง
2. รวม หรือกลบั มา เหยียดแขนขวา แบมือแลว๎ หมนุ เปน็ วงกลมเหนือศรี ษะจากซ๎ายไปขวา
การปฏิบตั ิ : ลูกเสือรวมกองรีบมาเขา๎ แถวรวมกัน
3. จดั แถวหนา้ กระดาน เหยียดแขนท้ังสองไปด๎านข๎างเสมอแนวไหลํ ฝูามือแบไปด๎านหน๎า
การปฏบิ ัติ : ลูกเสือจัดแถวหน๎ากระดานหนั หนา๎ เขา๎ หาผ๎ใู ห๎สัญญาณ
4. จดั แถวตอน เหยียดแขนท้งั สองไปขา๎ งหนา๎ เสมอแนวไหลํ แขนขนานหันฝูามอื แบเขา๎ หากนั
การปฏบิ ตั ิ : ลกู เสอื เข๎าแถวตอน หันหนา๎ ไปหาผูใ๎ หส๎ ญั ญาณ
5. เคลอื่ นทไ่ี ปยงั ทศิ ทางท่ีตอ้ งการ หันหนา๎ ไปยังทิศทางทตี่ อ๎ งการ ชูแขนขวาขึ้นเหนือศีรษะ ฝูามือแบ
ไปขา๎ งหนา๎ น้วิ ชิดกนั แล๎วลดแขนลงขา๎ งหน๎าเสมอแนวไหลํ
การปฏบิ ัติ : ลูกเสอื วงิ่ ไปยงั ทศิ ทางท่มี อื ผใ๎ู ห๎สญั ญาณชี้ไป
6. นอนลง หรือเข้าที่กาบัง แขนขวาเหยียดตรงไปข๎างหน๎าเสมอแนวไหลํ ฝูามือแบคว่ําลงน้ิวชิดกัน
พรอ๎ มกับลดแขนลงขา๎ งหน๎า แล๎วยกข้นึ กลับท่เี ดิม ทาํ ซ้ําหลาย ๆ คร้งั
การปฏิบัติ : ลูกเสือรีบนอนหรอื เขา๎ ทก่ี าํ บังทันที
7. เร่งจังหวะ หรอื เรว็ ขนึ้ งอศอกขวาให๎มอื มากาํ อยเูํ สมอบํา แลว๎ ชขู นึ้ เหนือศรี ษะ ลดลง ชูขน้ึ หลาย ๆ คร้งั
การปฏบิ ัติ : ลกู เสอื รีบวิง่ หรอื เรํงจงั หวะสงิ่ ที่ทาํ อยูํให๎เรว็ ขน้ึ
หมายเหตุ เมื่อจะใชส๎ ญั ญาณ 2 – 7 ใหใ๎ ช๎สญั ญาณ 1 นาํ กอํ นทกุ ครงั้
การใชส้ ญั ญาณมือในการเรยี กแถวของลูกเสอื สากล
1. ท่าพักตามระเบียบ ขณะทลี่ กู เสอื อยใํู นแถว ผู๎เรียกแถวทําสัญญาณมือเปน็ 2
จังหวะ
จงั หวะท่ี 1 กํามือขวา งอขอ๎ ศอกใหม๎ อื ทก่ี าํ อยปูํ ระมาณหัวเขม็
ขัด หนั ฝูามอื ทก่ี าํ เข๎าหาหัวเข็มขดั
จังหวะท่ี 2 สลัดมือท่ีกําและหน๎าแขนออกไปทางขวา เป็นมุม 180 องศา ประมาณแนว
เดยี วกบั เข็มขัดเป็นสัญญาณใหล๎ กู เสือ “พัก” ตามระเบียบ
คูม่ อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 179
คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสูตรลูกเสอื โท 171
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5
2. ท่าตรง ขณะลกู เสอื กาํ ลงั พกั ตามระเบียบ ผูเ๎ รียกแถวจะทาํ สญั ญาณมอื เป็น 2
จังหวะดงั น้ี
จังหวะท่ี 1 กํามือขวา แขนเหยียดตรงไปทางขวา ให๎มือกําอยูํในระดับเดียวกับ
เข็มขัด (เหมอื นกับการสลดั แขนสงั่ “พกั ” ในจังหวะท่ี 2)
จังหวะที่ 2 กระตุกหน๎าแขนเข๎าหาตัว ให๎มือท่ีกํากลับมาอยํูตรงหัวเข็มขัด
(เหมอื นจงั หวะท่ี 1 ของสญั ญาณสั่ง พกั ”) เมือ่ เห็นสัญญาณน้ี ให๎ลูกเสือชักเท๎าซ๎ายมาชิด
เทา๎ ขวา ลดแขนท่ไี ขว๎หลงั มาอยใํู นทําตรง
3. แถวหน้ากระดานแถวเด่ยี ว
ผ๎เู รียกแถวอยใํู นทาํ ตรงเหยยี ดแขนทั้งสองไปดา๎ นขา๎ งเสมอแนวไหลํ มือแบ หนั ฝูามอื ไปขา๎ งหน๎า
นว้ิ มือเรยี งชิดตดิ กัน
ลูกเสือเข๎าแถวหน๎ากระดานแถวเด่ยี ว หนั หน๎าเข๎าหาผูเ๎ รียก นายหมํูยืนทางซ๎ายมือของผ๎ูเรียก
กะใหผ๎ ๎ูเรียกอยกํู ่งึ กลางแถวและหํางจากแถวประมาณ 6 ก๎าว ลูกหมํูยืนตํอกันไปทางซ๎ายมือของนายหมูํ
จนถึงคนสดุ ท๎ายคอื รองนายหมูํ
การจัดระยะเคยี งแบบปดิ ระยะ (1 ชวํ งศอก) ให๎ลูกเสอื ยกมอื ซ๎ายเทา๎ สะโพก นวิ้ เหยยี ดชดิ ตดิ กนั อยํู
ประมาณแนวตะเข็บกางเกง แขนขวาแนบลําตัวและจดปลายศอกซ๎ายของคนท่ีอยูํด๎านขวา จัดแถวให๎ตรง
โดยสะบัดหน๎าแลขวาให๎เห็นหน๎าอกคนท่ี 4 นับจากตัวลูกเสือเอง เมื่อผ๎ูเรียกตรวจแถวส่ังวํา “นิ่ง”
ใหล๎ ดมอื ลงพร๎อมกับสะบัดหนา๎ มาอยใํู นทําตรงและนง่ิ
การจัดระยะเคียงแบบเปิดระยะ (1 ชํวงแขน) ให๎ทุกคน (เว๎นคนท๎ายแถว) ยกแขนซ๎ายข้ึนเสมอไหลํ
เหยียดแขนตรงออกไปทางข๎าง ควํ่าฝูามือลง น้ิวชิดติดกัน ให๎ปลายนิ้วซ๎ายจดไหลํขวาของคนตํอไป
จัดแถวให๎ตรงโดยนายหมูํยืนแลตรงเป็นหลัก ลูกหมํูสะบัดหน๎าแลขวาให๎เห็นหน๎าอกคนที่ 4 เมื่อได๎ยิน
คาํ สงั่ วํา “นงิ่ ” จึงลดมอื ลง สะบดั หน๎ากลบั มาอยใํู นทาํ ตรงและนง่ิ
4. แถวตอนเรยี งหนึ่ง (กรณีมีหลายหมํจู ะเรยี กวาํ “แถวตอนหมูํ”)
ผ๎ูเรียกแถวอยํูในทําตรงเหยียดแขนทั้งสองไปข๎างหน๎าเสมอแนวไหลํ มือแบหันฝูามือเข๎าหากัน นิ้ว
เรียงชิดติดกันลูกเสือเข๎าแถวตอนเรียงหน่ึงโดยนายหมูํยืนตรงเป็นหลักข๎างหน๎าผ๎ูเรียก กะให๎หํางจาก
180 คู่มือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5
172 คูม่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลกั สตู รลูกเสือโท
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5
ผู๎เรียกประมาณ 6 ก๎าว ลูกหมํูเข๎าแถวตํอหลังนายหมํูตํอ ๆ กันไปจัดแถวให๎ตรงคอคนหน๎า ระยะตํอ
ระหวํางบุคคล 1 ชํวงแขน และปดิ ท๎ายดว๎ ยรองนายหมูํ
5. แถวตอนหมู่
แถวตอนเรียงหน่ึงหลายหมูํเรยี กวํา “แถวตอนหม”ูํ สมมุติวํามี 5 หมํู ให๎หมํูท่อี ยูํตรงกลางคือหมูํท่ี 3
6. แถวหน้ากระดานหมู่ ปิดระยะ
ผ๎เู รียกแถวยนื ในทาํ ตรง กาํ มอื ทั้ง 2 ขา๎ ง เหยียดแขนตรงไปข๎างหน๎าขนานกบั พื้น งอข๎อศอกขึ้น
เปน็ มมุ ฉาก หันหนา๎ มือเขา๎ หากนั
ลูกเสือหมูํแรกเข๎าแถวตรงหนา๎ ผู๎เรียก อยูํหํางจากผ๎ูเรียกประมาณ 6 ก๎าว นายหมูอํ ยํูทางซา๎ ยมอื
ของผเู๎ รียก กะให๎กึ่งกลางของหมํูอยํูตรงหน๎าผู๎เรียก ลูกหมูํยืนตํอ ๆ ไปทางซ๎ายของนายหมํู เว๎นระยะ
เคยี ง 1 ชํวงศอก หมํูอนื่ ๆ เขา๎ แถวหน๎ากระดานข๎างหลงั หมูแํ รก ซอ๎ น ๆ กนั ไปตามลําดับ เว๎นระยะตํอ
ระหวาํ งหมปํู ระมาณ 1 ชวํ งแขน
การจัดแถว เมื่อผู๎สั่งวํา “จัดแถว” ให๎ทุกคน (ยกเว๎นคนสุดท๎าย) ยกมือซ๎ายข้ึนเท๎าสะโพก
น้ิวเหยียดชิดกัน นิ้วกลางอยํูในแนวตะเข็บกางเกง แขนขวาแนบลําตัว จัดแถวให๎ตรงโดยนา ยหมํู
ยืนแลตรงเปน็ หลัก ลกู หมสํู ะบัดหน๎าแลขวาให๎เหน็ หน๎าอกคนที่ 4
คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 181
คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสูตรลกู เสือโท 173
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5
การตรวจแถว ผ๎เู รียกแถวตรวจการจัดแถวแล๎ว จงึ สัง่ “น่ิง” ลูกเสือทุกคนลดแขนลงพร๎อมสะบัด
หนา๎ กลบั มาอยใํู นทาํ ตรงและนงิ่
7. แถวหนา้ กระดานหมู่ เปิดระยะ
ผ๎เู รยี กยืนในทําตรง กํามือทั้ง 2 ข๎าง งอข๎อศอกเป็นมุมฉาก แขนทํอนบนแบะออกจนเป็นแนว
เดยี วกับไหลํ หันหนา๎ มอื ไปขา๎ งหน๎า ใหล๎ ูกเสอื เข๎าแถวเชํนเดียวกับแถวหน๎ากระดานหมปูํ ิดระยะ แตํเว๎น
ระยะตอํ ระหวํางหมขูํ ยายออกไปทางด๎านหลัง หาํ งกนั หมูลํ ะประมาณ 3 ชวํ งแขน หรอื 3 กา๎ ว
การจัดแถว และตรวจแถว ใหป๎ ฏิบัตเิ ชํนเดียวกบั แถวหน๎ากระดานหมํปู ดิ ระยะ
8. แถวรูปคร่ึงวงกลม
ผ๎เู รยี กแถวยนื ในทาํ ตรง แบมือทั้ง 2 ข๎าง แขนเหยียดตรงด๎านหน๎าและลงขา๎ งลาํ ง คว่ําฝูามือเขาหาตัว
ขอ๎ มือขวาไขวท๎ ับข๎อมอื ซา๎ ย แลว๎ โบกผํานลาํ ตวั ช๎า ๆ เป็นรปู คร่ึงวงกลม 3 ครั้ง
นายหมลํู กู เสือหมูํแรกยืนอยใํู นแนวเดยี วกบั ผ๎ูเรยี กทางดา๎ นซ๎าย หาํ งจากผ๎เู รียกพอสมควร
ลกู หมํยู ืนตํอ ๆ กนั ไปทางซา๎ ยมอื ของนายหมํู เว๎นระยะเคยี ง 1 ชํวงศอก (มือเท๎าสะโพก) สะบัดหน๎าไป
ทางขวารอคําส่งั “นิง่ ”
182 คูม่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสือโท ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5
174 ค่มู ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลักสูตรลกู เสอื โท
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5
หมํูที่ 2 และหมูํอ่ืน ๆ เข๎าแถวตํอจากด๎านซ๎ายของหมูํแรก ตามลําดับ เว๎นระยะระหวํางหมํู
1 ชวํ งศอก รองนายหมํูสดุ ท๎าย จะยืนตรงด๎านขวาของผูเ๎ รียก ในแนวเดียวกนั กบั นายหมํู หมํแู รก
การจัดแถว ยกมือซา๎ ยขนึ้ ทาบสะโพก สะบดั หน๎าไปทางขวา (ยกเว๎นนายหมูํ หมูแํ รก) จดั แถวให๎
เป็นรปู คร่ึงวงกลม
การตรวจแถว ผ๎ูเรียกแถวตรวจการจัดแถวแล๎ว จึงส่ัง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดแขนลงพร๎อมกับ
สะบัดหนา๎ กลบั มาอยูํในทาํ ตรง
9. แถวรปู วงกลม มี 2 แบบ
การเรียกแถวแบบผเู้ รยี กยนื อย่ทู ่จี ุดศูนยก์ ลาง
ผ๎เู รียกแถวยืนในทาํ ตรง แขนทงั้ 2 เหยียดตรงลงข๎างลําง มือแบคว่ําฝูามือเข๎าหาตัว ข๎อมือขวา
ไขวท๎ ับขอ๎ มอื ซา๎ ย แล๎วโบกผํานลาํ ตวั ประสานกันจากดา๎ นหน๎าจดด๎านหลัง 3 คร้ัง
ลูกเสือหมูํแรกยืนด๎านซ๎ายมือของผู๎เรียก สํวนหมูํตํอ ๆ ไปอยํูทางด๎านซ๎ายของหมํูที่อยูํกํอน
ตามลาํ ดบั จนรองนายหมขํู องหมสํู ุดท๎ายไปจดกบั นายหมูขํ องหมแํู รก ถือผ๎ูเรียกเปน็ ศูนยก๑ ลาง
การจัดแถว ลูกเสือยกมือซ๎ายข้ึนเท๎าสะโพก สะบัดหน๎าไปทางขวา (ยกเว๎นนายหมํู หมํูแรก)
จัดแถวให๎เปน็ รปู วงกลม
การตรวจแถว ผู๎เรียกแถวตรวจการจัดแถวแล๎ว จึงสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคนลดแขนลงพร๎อมกับ
สะบัดหนา๎ กลับมาอยํใู นทาํ ตรง และน่งิ
การเรยี กแถวแบบผ้เู รยี กอยู่ที่เสน้ รอบวง
ค่มู ือส่งเสรมิ แคลมู่ อืะพสง่ ฒั เสนริมากแลจิ ะกพรฒั รมนลากกู จิ เกสรอื รทมลกั ูกษเสะชือทวี ติกั ษในะชสวี ถิตาในนสศถึกาษนาศกึ ลษกู าเปสรือะโเทภทชล้นักู เปสรอื ะสถามมัญศึกหษลาักปสูตีทร่ี ล5ูกเสือโท 118735
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
การเรียกแถวแบบผเู้ รียกอย่ทู ี่เส้นรอบวง
ผู๎เรียกแถวยืนในทําตรง กํามือขวา เหยียดแขนขวาตรงไปข๎างหน๎า ยกข้ึนบน และเลยไปข๎างหลัง
หมนุ กลบั มาดา๎ นหน๎า ทาํ 3 ครัง้
ลูกเสือหมํูแรกยนื ชดิ ด๎านซ๎ายมือของผเ๎ู รยี ก หมูํที่ 2 และหมํตู อํ ๆ ไปอยทํู างซ๎ายมอื ของหมทํู อี่ ยํู
กํอนตามลาํ ดับ จนรองนายหมขูํ องหมสํู ุดท๎ายไปจดขวามอื ของผเ๎ู รยี กใหผ๎ ๎เู รียกอยใูํ นเส๎นรอบวง
การจดั แถวและการตรวจแถว กระทาํ เชนํ เดียวกบั แบบแรก
สญั ญาณนกหวีด
1. หวีดยาว 1 ครั้ง ( -------) ถา๎ เคลอื่ นท่ี ให๎หยดุ ถา๎ หยดุ อยูํ เตือน เตรยี มตวั หรอื คอยฟงั คาํ สงั่
2. หวีดยาว ๆ 2 ครั้ง (-------- ------- ) เดินตอํ ไป เคลอ่ื นทตี่ อํ ไป ทาํ งานตอํ ไป
3. หวีดสั้น 1 คร้ัง และยาว 1 คร้งั สลบั กนั ไป (--- -------- --- --------- ) เกดิ เหตุ
4. หวีด สั้น 3 ครัง้ ยาว 1 ครัง้ สลบั กันไป ( --- --- --- --------- --- --- --- -------) เรียกนาย
หมูมํ ารับคาํ สั่ง
5. หวดี สั้นตดิ ตอํ กันหลาย ๆ คร้ัง (--- --- --- --- ---) ประชมุ รวม
หมายเหตุ เม่ือจะใช๎สัญญาณ 2 – 5 ใหใ๎ ชส๎ ญั ญาณ 1 นาํ กอํ นทกุ ครง้ั
ระเบียบแถวเบ้อื งต้น
1. ทา่ เคารพ
117864 คมู่ อื สง่ เคสู่มริมอื แสล่งะเพสฒัรมิ นแากลิจะกพรัฒรมนลาูกกเสิจอื กทรักรษมะลชูกีวิตเสในือสทถกั าษนศะชึกษีวติา ใปนรสะเถภาทนลศูกเึกสษือสาาลมกูัญเสหือลโกั ทสูตชรัน้ลกูปเรสะอื ถโทมศกึ ษาปที ่ี 5
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5
ระเบยี บแถวเบอื้ งต้น
1. ท่าเคารพ
1.1 วนั ทยหตั ถ์ เปน็ ทําแสดงการเคารพเมอื่ ยลํู าํ พังนอกแถวของลกู เสอื ทุกประเภท โดยปฏิบัติตํอจากทําตรง
แบํงออกเปน็ การฝึกขน้ั ต๎น และเม่ือมผี ู๎รบั การเคารพ
1) การฝึกข้ันตน้
คาบอก "วันทยหัตถ"๑ และ “มือลง”
การปฏิบัติ
ยกมอื ขวาข้ึนโดยเรว็ และแขง็ แรง จดั นวิ้ แบบเดียวกับทํารหัสของลูกเสือ ปลายน้ิวช้ีแตะขอบลําง
ของหมวกคอํ นไปข๎างหน๎าเล็กน๎อยในแนวหางตาขวา (ถ๎าไมํสวมหมวกให๎ปลายนิ้วชี้แตะท่ีหางตาขวา)
เหยยี ดมือตามแนวแขนขวาทํอนลําง แขนขวาทํอนบนย่ืนไปทางข๎างประมาณแนวไหลํ น้ิวเหยียดตรง
เรียงชิดติดกัน ข๎อมือไมํหัก และเปิดฝูามือขึ้นประมาณ 30 องศา ถ๎าอยูํในที่แคบให๎ลดศอกลงได๎ตาม
ความเหมาะสม แตํรํางกายสํวนอ่ืนต๎องไมเํ สยี ลักษณะทาํ ตรง
เมอื่ ได๎ยนิ คาํ บอกวาํ “มอื ลง” ให๎ลดมอื ขวาลงอยใูํ นทาํ ตรงโดยเร็วและแขง็ แรง
2) เมือ่ มีผู้รบั การเคารพ
คาบอก "ทางขวา (ทางซา๎ ย, ตรงหน๎า) – วนั ทยหตั ถ"๑
การปฏบิ ัติ
สะบดั หน๎าไปยังผู๎รับการเคารพ พร๎อมกบั ยกมอื ขวาทําวันทยหัตถ๑กํอนถึงผู๎รบั การเคารพ 3 ก๎าว
ตามองจับไปทผ่ี ๎ูรับการเคารพ และหนั หน๎าตาม จนกวาํ ผ๎รู ับการเคารพจะผาํ นพ๎นไปแล๎ว 2 ก๎าว จากนั้น
สะบัดหนา๎ กลับพรอ๎ มกับลดมอื ลง
ถา๎ ผูร๎ ับการเคารพไมไํ ด๎เคลื่อนท่ีผาํ น ให๎สะบัดหนา๎ กลับพรอ๎ มกับลดมอื ลงตามคาํ บอกวํา “มือลง”
ถ๎าผูร๎ บั การเคารพอยตูํ รงหนา๎ ก็ปฏบิ ัตไิ ด๎โดยไมตํ อ๎ งสะบัดหน๎า
1.2 การแสดงความเคารพท่าถือไม้พลองหรือไมพ้ ลอง
คาบอก “วันทยา – วุธ” และ “เรียบ – อาวธุ ”
การปฏิบัติ
เมื่อไดย๎ นิ คําสง่ั วาํ “วันทยา – วุธ” ใหล๎ กู เสอื ปฏบิ ัติ ดังนี้
1) อยใูํ นทาํ ตรง มอื ขวาถือไม๎พลอง ให๎โคนพลองอยูํประมาณโคนน้ิวก๎อยเท๎าขวา ปลายพลอง
อยํใู นรํองไหลแํ นบชิดตดิ กบั ลําตัว ยกแขนซา๎ ยขนึ้ มาเสมอแนวไหลํ ศอกงอไปข๎างหน๎าให๎ตั้งฉากกับลําตัว
ฝาู มือแบควํ่า รวบนิว้ หัวแมมํ ือกบั นว้ิ กอ๎ ยจรดกนั นวิ้ ช้ี น้วิ กลาง นิว้ นางเหยียดชิดติดกัน ใหข๎ ๎อแรกปลาย
นิว้ ชแี้ ตะไม๎พลองไว๎
2) เม่อื ไดย๎ นิ คาํ ส่ัง “เรยี บ – อาวธุ ” ให๎ลดแขนซา๎ ยลงมาอยูทํ ีเ่ ดมิ โดยเร็ว
3) ถา๎ ผรู๎ ับการเคารพมาทางขวา(ซ๎าย หรือตรงหน๎า) อาจใช๎คําบอก “ขวา (ซ๎าย หรือตรงหน๎า)
ระวัง - วนั ทยา - วธุ ” ให๎ลูกเสือทาํ วันทยาวุธ พร๎อมกับหันหน๎าไปยังผ๎ูรับการเคารพ ตาแลจับผู๎รับการ
เคารพ หันศีรษะตามจนผู๎รับการเคารพผํานหน๎าลูกเสือไปแล๎ว 2 ก๎าว จึงหันกลับมาอยูํในทําตรง
เม่อื ผ๎ูรับการเคารพผํานพ๎นแถว ให๎ผ๎คู วบคุมแถวบอกเลิกทาํ ความเคารพ
คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสูตรลูกเสือโท 177
คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือโท ชัน้ ประถมชศนั้ กึปรษะาถปมทีศกึี่ 5ษาปีที่ 5 185
1.3 แลขวา (ซ้าย) – ทา เป็นทําแสดงการเคารพ เมื่อลูกเสืออยํูในแถวมือเปลําหรือถืออาวุธที่
ทําทําวนั ทยาวธุ ไมํได๎ และเป็นทําแสดงการเคารพตามลําพังนอกแถวของลูกเสือ ในกรณีที่ไมํสามารถ
แสดงการเคารพด๎วยทําวนั ทยหตั ถ๑
คาบอก "แลขวา (ซ๎าย) – ทาํ "
การปฏิบตั ิ
สะบัดหนา๎ ไปทางขวา(ซา๎ ย) ประมาณกึ่งขวา(ซา๎ ย) กํอนถึงผร๎ู ับการเคารพ 3 ก๎าว ตามองจับไป
ทีผ่ ร๎ู บั การเคารพ พร๎อมกับหนั หนา๎ ตามจนกวําผู๎รบั การเคารพจะผํานพ๎นไปแล๎ว 2 ก๎าว แล๎วสะบัดหน๎า
กลบั ที่เดมิ
ถ๎าผ๎ูรับการเคารพไมํได๎เคลอ่ื นทผี่ ําน ให๎สะบดั หนา๎ กลบั ท่เี ดิมตามคาํ บอกวํา “แล – ตรง”
2. ทา่ ถอดหมวก สวมหมวก
ใช๎ในโอกาสเกี่ยวกับพิธีสงฆ๑ หรือพิธีทางศาสนา เชํน พิธีสวนสนามที่มีการประพรม นํ้า
พระพุทธมนต๑ เป็นต๎น
คาบอก “ถอดหมวก”
การปฏิบตั ิ
1) แบมือซ๎ายและงอศอกจนแขนทํอนลํางและทํอนบนตั้งฉากกัน นิ้วหัวแมํมือตั้งขึ้นข๎างบน
พร๎อมกันน้ันใช๎มือขวาจับที่กะบังหน๎าหมวก (หมวกทรงกลมที่มีกะบังหน๎าหมวก,หมวกทรงหม๎อตาล)
หรือจับที่ปกี หมวกดา๎ นหนา๎ (หมวกปีกกวา๎ งพบั ขา๎ ง และไมํพบั ขา๎ ง) หรือจับท่ีหมวกด๎านขวา(หมวกทรงอํอน)
หรือจับที่ขอบหมวกบนด๎านหน๎า(หมวกกะลาส)ี
2) ถอดหมวกออกจากศีรษะ วางครอบหัวแมํมือซ๎าย ให๎หน๎าหมวกหันไปทางขวา ขอบหมวก
ดา๎ นนอกอยูํระหวํางน้ิวหวั แมมํ ือกับน้ิวชี้
3) ลดมือขวาลงมาอยํใู นทําตรง พรอ๎ มกับมอื ซ๎ายจบั หมวกดว๎ ยนวิ้ หัวแมํมือกบั น้วิ อ่ืนท้งั สี่
คาบอก “สวมหมวก”
การปฏบิ ตั ิ
1) ใช๎มอื ขวาจับหมวกทอี่ ยูํในมือซา๎ ย เชนํ เดยี วกับการถอดหมวก
2) ยกหมวกข้นึ สวมศรี ษะ มือซ๎ายชวํ ยจดั หมวก
3) ลดมอื ทัง้ สองลงมาอยูใํ นทาํ ตรงอยาํ งแขง็ แรง
การฝึกในข้ันแรก ควรกระทําเป็นตอน ๆ เม่ือลูกเสือมีความเข๎าใจดีแล๎วจึงฝึกโดยเปิดตอนถ๎า
ลกู เสอื ถือไม๎พลองหรอื ไมพ๎ ลอง กํอนทาํ ทาํ ถอดหมวก และสวมหมวก ใหน๎ ําอาวุธมาไว๎ระหวํางปลายเท๎า
ทั้งสอง แล๎วพงิ ทอํ นบนไว๎กบั แขนซา๎ ย แลว๎ จึงปฏิบัติตามข้ันตอนตําง ๆ ตํอไป เม่ือถอดหมวกหรือสวม
หมวกเรยี บร๎อยแล๎ว จึงนาํ ไม๎พลองหรือไม๎พลองไปอยูํในทําเรียบอาวุธตามเดมิ
186 ค่มู อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5
178 คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลกั สตู รลูกเสอื โท
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5
3. ทา่ แบกอาวธุ – เรียบอาวุธ
คาบอก “แบก – อาวธุ ”
การปฏิบัติ ลกู เสอื ปฏิบตั เิ ป็น 2 จังหวะ
จงั หวะที่ 1 ยกไม๎พลองหรือไมพ๎ ลองดว๎ ยมอื ขวาผํานหน๎าเฉียดลาํ ตัวไปขา๎ งซา๎ ย ให๎โคนไมพ๎ ลอง
หรอื ไม๎พลองอยูํในองุ๎ มือซา๎ ย ลาํ ไมพ๎ ลองหรือไม๎พลองตง้ั อยํูตรงรํองไหลํซ๎าย มือขวาจับไม๎พลองหรือไม๎
พลองอยํูที่เดิมศอกงอไปขา๎ งหนา๎ แนวเดียวกบั ไหลํ
จงั หวะที่ 2 ดนั ไมพ๎ ลองหรือไมพ๎ ลองดว๎ ยมอื ซา๎ ย พรอ๎ มกบั สํงไม๎พลองหรือไมพ๎ ลองด๎วยมือขวา
ให๎ไม๎พลองหรือไม๎พลองพาดขึ้นไปบนไหลํซ๎าย แขนซ๎ายทํอนบนชิดลําตัว ศอกซ๎ายงอ แขนทํามุม
100 องศา กบั ลําตวั ขณะเดยี วกันลดมอื ขวาลงในทาํ ตรงโดยเรว็
ข้อควรระวงั ขณะลูกเสอื ทําทําแบกอาวธุ จังหวะ 2 ระวงั อยาํ ให๎ศรี ษะเคลื่อนหลบไม๎พลองหรือ
ไมพ๎ ลอง ทรงศีรษะใหค๎ งท่เี หมือนอยใูํ นทาํ ตรงเสมอ แขนซา๎ ยอยํูในลักษณะที่ถกู ตอ๎ งและนิ่ง ปลายไมพ๎ ลอง
จงึ จะได๎ระดบั ไมํเฉไปมา
คาบอก “เรยี บ – อาวธุ ”
การปฏิบัติ ลูกเสอื ปฏบิ ัตเิ ป็น 3 จงั หวะ
จังหวะที่ 1 ยกมือขวาข้ึนจับไม๎พลองหรือไม๎พลอง ศอกงอไปข๎างหน๎าในแนวเดียวกับไหลํ
พร๎อมกบั เหยียดแขนซา๎ ย โดยลดไม๎พลองหรอื ไมพ๎ ลองลงชิดกบั ลาํ ตัว
จังหวะที่ 2 จับไม๎พลองหรือไม๎พลองด๎วยมือขวานํามาไว๎ข๎างลําตัวในรํองไหลํขวา (แขนขวา
เหยียดเกือบสุดระยะที่มือจับไม๎พลองหรือไม๎พลองในทําเรียบอาวุธ) ขณะเดียวกันยกมือซ๎ายข้ึนกันไม๎
พลองหรอื ไมพ๎ ลองทรี่ ํองไหลขํ วา ศอกงอไปขา๎ งหน๎าในแนวเดยี วกบั ไหลํ
จงั หวะท่ี 3 ลดแขนซ๎ายอยูใํ นทาํ เรยี บอาวุธตามเดมิ (ในจังหวะน้ีเหยยี ดแขนขวาลงสุดระยะท่มี ือ
ขวาจับไมพ๎ ลองหรือไม๎พลองอยํูในทาํ เรียบอาวุธ โดยไมพ๎ ลองหรือไมพ๎ ลองจดพน้ื )
ข้อสังเกต ตอนเหยยี ดแขนขวาจากจงั หวะ 2 ลงสดุ ระยะท่ีมือขวาจับไม๎พลองในทําเรียบอาวุธ
ในจงั หวะท่ี 3 จะร๎ูสกึ วาํ ต๎นไม๎พลองหรือไม๎พลองจดพ้ืน
ระเบียบแถวทา่ เคลอื่ นที่
1. ท่าเดนิ ท่าหยุด
คาบอก "หน๎า – เดิน" และ “แถว – หยดุ ”
การปฏิบัติ
เม่ือได๎ยินคําสั่งวาํ “ หนา๎ – เดนิ ” ให๎ลกู เสอื ปฏิบัติ ดังน้ี
โน๎มน้ําหนักตวั ไปข๎างหนา๎ พรอ๎ มกบั ก๎าวเท๎าซ๎ายออกเดิน ขาเหยียดตึง ปลายเท๎าง๎ุม ส๎นเท๎าสูง
จากพ้ืนประมาณ 1 คบื เมอื่ จะวางเทา๎ และก๎าวเทา๎ ตํอไปใหโ๎ นม๎ นาํ้ หนกั ตัวไปข๎างหน๎า ตบเท๎าเต็มฝูาเท๎า
อยาํ งแข็งแรง ตัวและศรี ษะอยูใํ นทําตรง เมื่อแกวํงแขนไปข๎างหน๎าให๎งอศอกเล็กน๎อย เมื่อแกวํงแขนไป
คมู่ ือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือโท ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 187
คูม่ อื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลักสตู รลกู เสือโท 179
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
ขา๎ งหลังให๎เหยยี ดแขนตรงตามธรรมชาติ หนั หลังมอื ออกนอกตัว แบมือน้ิวเรียงชิดติดกันความยาวก๎าว
จากสน๎ เท๎าถงึ ส๎นเท๎า 40 – 60 เซนตเิ มตร
เมื่อได๎ยินคําสั่งวํา “แถว – หยุด” ให๎ปฏิบัติเป็น 2 จังหวะติดตํอกัน คือ ก๎าวตํอไปอีก 1 ก๎าว
และชกั เทา๎ หลังไปชิดเท๎าหน๎าในลักษณะทาํ ตรงอยํางแขง็ แรง
2. ทา่ หันในเวลาเดนิ
2.1 ท่าขวาหัน
คาบอก "ขวา – หนั "
การปฏิบตั ิ ใชค๎ าํ บอกในจังหวะทเี่ ทา๎ ขวาจดถงึ พื้นในลําดบั ติดตํอกัน ปฏบิ ัตเิ ป็น 2 จังหวะ
จงั หวะท่ี 1 กา๎ วเท๎าซา๎ ยไปข๎างหน๎าในแนวปลายเท๎าขวาประมาณคร่ึงก๎าว พร๎อมกับบิดปลาย
เท๎าให๎ไปทางก่ึงขวาดว๎ ย ขณะเดียวกนั ให๎ยกส๎นเท๎าขวาและหมนุ ตัวด๎วยสะโพก โดยใช๎ปลายเท๎าท้ังสอง
เปน็ หลกั หันไปทางขวาจนได๎ 90 องศา
จังหวะท่ี 2 กา๎ วเทา๎ ขวาตอํ ไปตามจงั หวะการเดนิ แบบเดมิ ในทิศทางใหมํ
2.2 ทา่ ซ้ายหนั
คาบอก "ซา๎ ย – หัน"
การปฏิบัติ ใช๎คําบอกในจังหวะท่ีเท๎าซ๎ายจดถึงพื้นในลําดับติดตํอกัน ปฏิบัติเป็น 2 จังหวะ
เชํนเดียวกบั ทําขวาหนั โดยเปล่ียนคาํ บอกวําขวามาเปน็ ซา๎ ยแทน
2.3 ท่ากลับหลังหัน
คาบอก "กลับหลัง – หัน"
การปฏิบัติ ใชค๎ ําบอกในจังหวะที่เท๎าซ๎ายจดถงึ พืน้ ในลําดับตดิ ตอํ กัน ปฏิบตั เิ ป็น 3 จงั หวะ
จงั หวะท่ี 1 กา๎ วเทา๎ ขวาไปข๎างหนา๎ 1 ก๎าว
จงั หวะท่ี 2 ชกั เทา๎ ซา๎ ยไปขา๎ งหนา๎ เฉียงขวา และตบลงกับพืน้ ด๎วยปลายเท๎าในแนวทางขวาของ
ปลายเทา๎ ขวาเลก็ น๎อยพอเขําซา๎ ยตึง ทนั ใดน้ันยกส๎นเทา๎ ขวาและหมนุ ตัวด๎วยสะโพก โดยใช๎ปลายเท๎าทั้ง
สองเป็นหลัก ไปขา๎ งหลงั จนได๎ 180 องศา ขณะหมุนตัวนวิ้ มือทงั้ สองตดิ อยํกู ับข๎างขา
จงั หวะท่ี 3 ก๎าวเท๎าซ๎ายออกเดิน พรอ๎ มยกมือและแกวงํ แขนตามจงั หวะของทําเดินครงั้ นั้นตํอไป
การหดั ในขนั้ แรก ๆ ควรใหล๎ กู เสอื นบั จงั หวะด๎วยเสยี งดงั กอํ น จนทาํ ได๎คลอํ งแล๎วจงึ นบั ในใจ
180 คู่มอื สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสูตรลูกเสือโท
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5
ตวั อย่างแถวสวนสนาม หมแู่ ถวตอน 5 กา้ ว
5 ก้าว
ป้ายชื่อกองลูกเสอื 5 กา้ ว
ธงประจากองลูกเสือ
ผูก้ ากับลกู เสอื 3 ก้าว
รองผกู้ ากบั ลูกเสือลกู เสือ
ลกู เสือกองท่ี 1
แผนการจัดกิจกรรมลูกเสอื สามญั ลูกเสอื โท ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5
หนว่ ยที่ 9 ประเมินผล
แผนการจดั กิจกรรมที่ 32 การประเมนิ ผล เวลา 2 ชั่วโมง
คู่มอื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 189
คมู่ อื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสตู รลกู เสือโท 181
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5
แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสอื สามัญ ลูกเสือโท ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
หน่วยท่ี 9 ประเมนิ ผล
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 32 การประเมินผล เวลา 2 ชว่ั โมง
1.คมู่ จอื ุดสป่งเรสะรสมิ แงลคะ์กพาฒั รนเรากียจินกรรู้รมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 189
1.1 เพอ่ื ใหล๎ กู เสอื เขา๎ ใจการประเมนิ ผลเพ่ือการตดั สินผลการผําน ไมํผาํ นกิจกรรม
1.2 เพ่ือให๎ลกู เสือเขา๎ ใจการประเมนิ พฤติกรรมทกั ษะชีวติ ที่ลูกเสอื ได๎รบั การพฒั นา
1.3 เพ่อื ใหล๎ กู เสือเตรยี มความพรอ๎ มรบั การประเมนิ ตามวิธกี ารของผูก๎ าํ กบั กองลูกเสอื
2. เนอื้ หา
2.1 เกณฑ๑การตดั สนิ กจิ กรรมพฒั นาผู๎เรียนตามหลกั สตู รการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. 2551
2.2 การประเมนิ พฤตกิ รรมทักษะชีวติ
3. สอ่ื การเรียนรู้
3.1 แผนภูมิ Flow Chart การประเมินเพ่อื ตดั สนิ ผลการเล่อื นชนั้ ของลกู เสอื และจบการศกึ ษา
3.2 แบบประเมินทกั ษะชวี ติ ของลกู เสือรายบุคคล / หรือรายหมํลู กู เสือ
3.3 แบบประเมินตนเองของลูกเสอื ประจําปีการศกึ ษา
43.43 ใบความร๎ู
4. กจิ กรรม
4.1 ผ๎ูกํากับลูกเสอื อธิบายหลกั เกณฑ๑ วธิ ีการประเมนิ ผลการเรียนรตู๎ ามท่หี ลกั สูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 กําหนดเพอ่ื ตัดสนิ การจบการศึกษา
4.2 ผก๎ู ํากบั ลูกเสืออธิบายถงึ พฤตกิ รรมของลูกเสือท่ีได๎รับการเสริมสร๎างทักษะชีวิตผํานกิจกรรม
ลูกเสือ
4.3 ลูกเสอื ประเมินความพรอ๎ มของตนเองเพอื่ รับการประเมินและวางแผนพัฒนาตนเองในสํวนท่ีไมํ
ม่นั ใจ
4.4 ผ๎กู าํ กับลกู เสอื และลกู เสือกําหนดขอ๎ ตกลงรํวมกนั ถึงชํวงเวลาการประเมนิ
4.5 ผู๎กํากับลกู เสอื นัดหมายและดาํ เนนิ การประเมิน
5. การประเมนิ ผล
5.1 สังเกตจากผลการประเมินตนเองของลกู เสอื
5.2 สงั เกตความมั่นใจและการยนื ยันความพรอ๎ มของลกู เสอื
6. คณุ ธรรม
6.1 ความพอเพยี ง
182 6.ค2ูม่ อื ซส่ง่อื เสสรัตมิ แยลส๑ ะจุ พรฒั ติ นากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลกั สูตรลกู เสือโท
6.ช3ั้นปรรับะถผมิดศกึชษอาบปีท่ี 5
คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือโท ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5
5. การประเมนิ ผล
5.1 สังเกตจากผลการประเมนิ ตนเองของลกู เสอื
5.2 สังเกตความม่นั ใจและการยนื ยันความพรอ๎ มของลกู เสอื
6. คณุ ธรรม
6.1 ความพอเพียง
6.2 ซ่ือสตั ยส๑ จุ ริต
6.3 รับผิดชอบ
6.4 คอดุวคามมู่ มกือกาสตรง่ ณเญั สค๑ร๒ิมณุ ู แธลระพรมฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลูกเสือโท
190 6.5 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5
ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 32
1. แนวทางการประเมนิ ผลตามเกณฑ์ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
Flow Chart กระบวนการประเมนิ ผลลกู เสอื
ลูกเสือเรยี นร้จู ากกิจกรรม เกณฑ์การประเมิน
ลูกเสือทกั ษะชีวิต 1. เวลาเข้ารว่ มกจิ กรรม
2. การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม
ผู้กากับประเมนิ ผลเรียน 3. ผลงาน / ชน้ิ งาน
ของลูกเสือที่ร่วมกจิ กรรม 4. พฤตกิ รรมคณุ ลกั ษณะที่พงึ
ประสงค์
ผลการประเมิน ไม่ผา่ น - ซ่อมเสริม
ผา่ น - พฒั นาซา้
ตดั สินผลการเรยี นรผู้ า่ นเกณฑ์ ผ่าน
รบั เครือ่ งหมายชัน้ ลกู เสอื
ตามประเภทลกู เสอื
แบบประเมินตนเองของลกู เสือ ประจาปกี ารศึกษา......................................
ช่อื .......................................................ช้นั .........................ลูกเสือประเภท........................................
คมู่ อื ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สูตรลูกเสอื โท
เกณฑท์ ่ี การประชเัน้มปินระตถนมศเึกอษงาปที ่ี 5 183
ที่ รายการท่ีรับการประเมิน ขอ้ คดิ เหน็
รบั เครอ่ื งหมายชนั้ ลูกเสอื
ตามประเภทลูกเสือ
แบบประเมินตนเองของลกู เสือ ประจาปกี ารศกึ ษา......................................
ชอื่ .......................................................ชน้ั .........................ลูกเสือประเภท........................................
132123คทูม่ ี่ อื ส่งข331ชช2ร1รข2เสับบั......ออิ้ินน้ รมมเเมมเเงง2323113133221312333231ิมขขคคลลคีคีีีผผ......................แ๎๎าารร4311312331332242211255กููกววลลลรร่ื่ืออร..........เเ..........าา--------------เผชชอเอผงงรรรรํํววะงง..........สสาดดผมม..........าาวํววํวํํพ่นืนื่มม้นิิน้ววววววกกววกกววลลหห..........ยือือนิินนน่า..........มมมมพพัฒนััันันนนนัันนัันันังงกกๆๆจจิิจิิจงง..........มมกน..........ททททกกกกาาาากกกก..........ถพตตสพแถแสรรจจิินาาา..........นนนนแเเออาาิจจิิจิจ๎๎าา..........มมกกถถรรรรา๎๎าววายยอํอํชชร..........งงงงกกกกกก..........มม//รรรรลกนนาารรแํแําาวว..........แแทนํนํไไกกมมมม..........าารรรรจิยยงงรรเเปปะยยหหิชิช..........กกหหขขี่ราา........รรร..รรรกาามมบวบวรรพนน........าา..รราาํํงงลลรรงํํงมมมมับบบา๎า๎นน..........รัฒฒัาาลลาําําาเเพพ..........ชชราาลลชช//รรร..........สสววชชกกรรททกยยเเกูกู..........ลลนนาา้อมบับัูกูกเเิิาาออพพ..........ิกิกันนัพพาาสสงงศศค่ีค่ีา..........เเตตกููกลตตธธม........เเ..กกยยสสรราาญ็ญ็สสาาดด........รตต..ษษสสดดิิิิูกเเรร........ิิ..ฝฝคคํูํูรราาอือืนนาาํํ..........ดดุุสสปออดดิิืืสสเปปรรตต..........รรึกกึําาํคคส..........ฯฯออืืีีมมออรรรทท..........รราายยอืออ..........ญััญา๎๎ายยะ//..........ะะมมดดพพท..........บบงงโโเาําํ..........ปปปปสส..........ักมสสยยักักรรงง..........รรรร..........ออษมมรรชชนนแแิน..........ะะะะ..........รรบบะนนรร..........ออ๎๎เเเเช..........คคพพมมเเภภ..........ยยอ๑อ๑วีพพ..........๑๑ ..........ณณททื่ื่นนิต่ืืออ่11ใๆๆีี นสถาสสน33ศ00ถถเ1111111111111111111111กกกึกาาชชาาษคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคนนณ่่วัวัหหารรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรศศโโฑนนง้ง้ัังัั้ังง้ั้ง้งัง้้ัั้้ง้้ัง้ัง้ัง้ัง้ััง้ง้ััง้ัังงง้ั้ั้ังงงมมลกึกึ//////////////////////ดดปปปปปปปปปปปปปปปปปปปปปป์ทงงกู ษษ//ีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีเี่ปปสาาีีือโท กคคผารรรา่ บบปน//ระเมินไไไมมมต่คค่่ผนรรา่เบบอนง// กขาอ้ รคพิดฒั เหน็นา
ชผ้ันป่ารนะถมศกึ ไษมาป่ผที ่าี่ น5 กา1ร9พ1ฒั นา
ผา่ นและพรอ้ ม
สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ฉันพอจะมีความพรอ๎ มรับประเมนิ
สรปุ ผลการฉฉฉปันนนััระยมมเังัน่นั่ มไใใมนิจจพํววตําาํ รนผผอ๎ เาาํํมอนนรงแแบั นนกนํนํารออปนนระเมนิ ตฉอ๎นั งพกอาจระคมวคีามวาชมวํ พยเรหอ๎ ลมอื รจับาปกรผะกู๎เมํานิกับลกู เสือ
118924 คมู่ ฉอื ันส่งยเสังรไมิ มแํพละรพอ๎ ัฒมนราบั กจิกการรรปมลรกู ะเเสมือนิทกั ษะชีวติ ในสถาตน๎อศึกงษกาาปรคระวเภาทมลชกู ํวเสยอื เสหามลญัอื จหาลกักสผูต๎กู รําลกูกเับสือลโกูทเสอื
ชัน้ ประคถ่มู มือศสึกษ่งเาสปรที ิมี่ 5และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลูกเสือโท ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
แบบประเมนิ พฤตกิ รรมทกั ษะชวี ิตของลูกเสอื สาหรบั ผู้กากับลกู เสือสามญั
ชื่อลูกเสือ................................................... ลูกเสอื ................. ช้ัน................. ปกี ารศึกษา................
พฤติกรรมลกู เสือสามญั ทีค่ าดหวงั
รายการประเมนิ ใช่ ไมใ่ ช่
1. ลกู เสอื มที กั ษะในการปฏิบตั ิกิจกรรมกลางแจ๎ง
2. เสือรํวมกิจกรรมบาํ เพ็ญประโยชน๑
3. ลกู เสอื ชํวยตนเองและครอบครวั ได๎
4. ลูกเสือไมมํ ปี ัญหาทนั ตสขุ ภาพ ไมํดมื่ น้ําอดั ลม ขนมกรุบกรอบ
ไมรํ ับประทานขนมหวานเป็นประจํา
5. ลกู เสอื ร๎ูจกั ใชเ๎ วลาวาํ งใหเ๎ ปน็ ประโยชนแ๑ ละไมํตดิ เกม
6. ลกู เสือประพฤตติ นเหมาะสมกบั เพศและวัยมที ักษะการสรา๎ ง
สมั พนั ธภาพและการสอ่ื สารไมํกา๎ วร๎าวรนุ แรง
7. ลกู เสือแสดงออกถงึ ความซื่อสัตย๑ รูจ๎ ักแก๎ปัญหา หรอื ใหค๎ วาม
ชวํ ยเหลือผอ๎ู ่ืน
8. ลูกเสือมีนา้ํ หนกั และสวํ นสูงตามเกณฑม๑ าตรฐาน
สรปุ แบบการประเมนิ ตนเอง
มีทกั ษะชีวิต จะมีทกั ษะชีวติ ดี ต๎องพฒั นาตนเอง ไมํแนํใจชีวติ
พร๎อมเผชญิ อยํางอยูํ แกไ๎ ขปรบั ปรงุ บางเรอ่ื ง (มีปัญหาแลว๎ นะ)
รอดปลอดภัย พฤตกิ รรม จงึ จะมีทกั ษะชวี ิตท่ดี ี (เส่ยี งนะเนี่ย)
เร่อื งท่ฉี ันจะต้องปรับปรงุ
1)........................................................................................................................................................
2)........................................................................................................................................................
3)........................................................................................................................................................
4)ค..มู่ ..อื ..ส..่ง.เ.ส..ร..ิม..แ..ล..ะ..พ..ัฒ...น..า..ก..ิจ..ก..ร.ร..ม..ล..ูก..เ.ส..อื..ท...ัก..ษ..ะ.ช..ีว..ิต..ใ..น..ส..ถ..า..น..ศ..กึ..ษ..า....ล..กู ..เ.ส..ือ..โ.ท....ช..ัน้ ..ป..ร..ะ.ถ..ม..ศ...กึ ..ษ..า..ป..ีท..่ี .5................1..9..3....
คูม่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลกั สูตรลกู เสือโท
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 185
ใบความรู้
4)........................................................................................................................................................
ใบความรู้
ผลการผ่านเกณฑ์
การประเมนิ กิจกรรมลกู เสอื
1. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามแนวทางหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กําหนดให๎กิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรมท่ีมํุงปลูกฝัง
ระเบียบวินยั และกฎเกณฑเ๑ พ่ือการอยํูรํวมกัน ร๎ูจักการเสียสละ บําเพ็ญประโยชน๑แกํสังคมและดําเนิน
วถิ ชี วี ิตในระบอบประชาธปิ ไตย ตลอดจนมีทกั ษะชวี ติ เปน็ ภูมิค๎ุมกนั ปญั หาสังคมตามชวํ งวัยของลูกเสือ
การจดั กิจกรรมลูกเสือยงั ต๎องเป็นไปตามข๎อบังคับของสํานักงานลูกเสือแหํงชาติและสอดคล๎อง
กับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐานอกี ดว๎ ย
2. การประเมินผลการตัดสนิ การผ่านกิจกรรมลกู เสือ
กจิ กรรมลูกเสือเป็นกิจกรรมนักเรียนท่ลี ูกเสือทุกคนตอ๎ งเข๎ารวํ มกิจกรรมลูกเสอื 40 ชั่วโมงตํอปี
การศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา
การประเมินการจัดกจิ กรรมลกู เสือตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีประเด็น/สิ่งท่ี
ตอ๎ งประเมินดงั นี้
2.1 เวลาในการเขา๎ รํวมกิจกรรม ผเู๎ รียนตอ๎ งมเี วลาเขา๎ รํวมกิจกรรมตามท่ีสถานศึกษากําหนด
2.2 การเรียนร๎ูผํานกิจกรรมหรือการปฏิบัติกิจกรรมอยํางตํอเนื่อง มํุงเน๎นการพัฒนาศักยภาพ
ของตนและการทาํ งานกลมํุ
2.3 ผลงาน / ชิ้นงาน / พฤติกรรม / คุณลักษณะของผู๎เรียน ท่ีปรากฎจากการเรียนร๎ูหรือการ
เปลย่ี นแปลงตนเอง
194 ค่มู อื สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื โท ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5
186 คู่มอื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สตู รลูกเสอื โท
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5
Flow chart ขน้ั ตอน
แนวทางการประเมินผลการเรยี นรูก้ จิ กรรมลกู เสอื
แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือ เกณฑ์การประเมนิ
1. เวลาเข้ารว่ มกจิ กรรม
จดั กจิ กรรมลูกเสือ 2. การปฏิบัตกิ จิ กรรม
ตามค่มู ือการจัดกิจการลูกเสอื ที่ 3. ผลงาน / ช้ินงาน
4. พฤตกิ รรม/คุณลักษณะของ
เสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวติ
ลกู เสอื
ประเมินผลการเรียนรู้
ผลการประเมนิ ซอ่ มเสรมิ
ผ่าน ผา่ น
สรุปผลการประเมนิ /
ตดั สนิ ผลการเรียนรู้
รายงาน / สารสนเทศ
จดั พธิ ีประดบั เครื่องหมายลูกเสอื
ตามประเภทลกู เสอื
3. การประเมินกิจกรรมลูกเสอื มี 2 แนวทาง คอื
1) การประเมนิ กจิ กรรมลกู เสอื รายกิจกรรมมีแนวปฏบิ ัติ ดงั น้ี
(1.1) ตรวจสอบเวลาเขา๎ รวํ มกจิ กรรมของลกู เสอื ให๎เป็นไปตามเกณฑท๑ ี่สถานศึกษากาํ หนด
(1.2) ประเมินกิจกรรมการเรยี นรจู๎ ากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน ช้นิ งาน คณุ ลักษณะ
ของผ๎เู รียนตามเกณฑท๑ ส่ี ถานศึกษากาํ หนดด๎วยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย เนน๎ การมสี วํ นรวํ มในการปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรม
(1.3) ลกู เสือทม่ี ีเวลาการเข๎ารวํ มกิจกรรม มกี ารปฏบิ ัติกิจกรรมและผลงาน ชิน้ งาน
คุณลกั ษณะตามเกณฑ๑ท่ีสถานศึกษากาํ หนดเปน็ ผผู๎ าํ นการประเมนิ รายกจิ กรรมและนาํ ผลการประเมินไป
บันทึกในระเบียนแสดงผลการเรยี น
คู่มอื ส่งเสรมิ แคลูม่ะือพสฒั ง่ เนสาริมกแิจลกะรพรฒั มนลาูกกเิจสกอื รทรมกั ลษกู ะเชสอืีวทติ กั ใษนะสชถวี าติ นในศสึกถษาานศลึกกูษเาสปือรโะทเภชทลัน้ ูกปเสระอื ถสามมศชญั ้นักึ ปษหรลาะปักถสทีมูตศ่ี ร5ึกลษกู าเปสอืที โี่ ท5 191587
(1.4) ลกู เสอื ทม่ี ผี ลการประเมนิ ไมผํ ํานในเกณฑเ๑ วลาการเขา๎ รํวมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงาน ชนิ้ งาน คณุ ลักษณะตามทสี่ ถานศกึ ษากําหนด ผู๎กาํ กับลกู เสอื ต๎องดําเนนิ การซํอม
เสริมและประเมนิ จนผาํ น ทง้ั น้คี วรดาํ เนินการให๎เสรจ็ ส้นิ ในปกี ารศกึ ษาน้ัน ๆ ยกเว๎นมเี หตุสุดวสิ ยั ใหอ๎ ยูํ
ในดลุ พินจิ ของสถานศกึ ษา
2) การประเมนิ กจิ กรรมลกู เสอื เพ่อื การตัดสนิ ใจ
การประเมนิ กจิ กรรมลกู เสือเพอ่ื ตดั สนิ ควรได๎รับเครื่องหมายและเล่ือนระดับทางลูกเสือและ
จบการศึกษาเปน็ การประเมินการผํานกิจกรรมลูกเสือเป็นรายปี/รายภาค เพ่ือสรุปผลการผํานในแตํละ
กิจกรรม สรุปผลรวมเพ่ือสรุปผลการผํานในแตํละกิจกรรม สรุปผลรวมเพ่ือเล่ือนชั้นระดับลูกเสือและ
ประมวลผลรวมในปีสุดท๎ายเพื่อการจบแตํละระดับการศึกษา โดยการดําเนินการดังกลําวมีแนวทาง
ปฏิบัติ ดังน้ี
2.1) กําหนดให๎มีผู๎รับผิดชอบในการรวบรวมข๎อมูลเกี่ยวกับการเข๎ารํวมกิจกรรมลูกเสือ
ของลกู เสอื ทุกคนตลอดระดับการศกึ ษา
2.2) ผ๎ูรับผิดชอบสรุปและตัดสินใจผลการรํวมกิจกรรมลูกเสือของลูกเสือเป็นรายบุคคล
รายหมํู ตามเกณฑท๑ สี่ ถานศึกษากําหนด
4. เกณฑก์ ารตดั สนิ
1) กําหนดเกณฑ๑การประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกําหนดไว๎ 2 ระดับ
คือผาํ น และ ไมผํ าํ น
2) เกณฑก๑ ารตดั สนิ ผลการประเมินรายกจิ กรรม
ผําน หมายถึง ลูกเสือมีเวลาเข๎ารํวมกิจกรรมครบตามเกณฑ๑ ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน
ชิ้นงาน คุณลักษณะตามเกณฑท๑ ี่สถานศึกษากําหนด
ไมํผาํ น หมายถึง ลูกเสอื มเี วลาเข๎ารวํ มกิจกรรมไมํครบตามเกณฑ๑ ไมํผํานการปฏิบัติกิจกรรม
หรอื มผี ลงาน ชนิ้ งาน คณุ ลักษณะไมํเป็นไปตามเกณฑท๑ ่สี ถานศึกษากาํ หนด
3) เกณฑ๑การตดั สนิ ผลการประเมินกจิ กรรมลูกเสือรายปี / รายภาค
ผําน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ผําน” ในกิจกรรมสําคัญตามหลักสูตรลูกเสือ
แตํละประเภทกาํ หนด รวมถงึ หลกั สตู รลูกเสอื ทกั ษะชีวิต
ไมํผําน หมายถงึ ลกู เสือมีผลการประเมนิ ระดบั “ไมํผําน” ในกิจกรรมสําคัญท่ีหลักสูตรลูกเสือ
แตํละประเภทกําหนดและลกู เสอื ทักษะชวี ิต
4) เกณฑ๑การตัดสนิ ผลการประเมนิ กจิ กรรมลูกเสอื เพือ่ จบหลักสูตรลกู เสือแตํละประเภทเป็นรายช้ันปี
ผา่ น หมายถงึ ลูกเสอื มีผลการประเมนิ ระดบั “ผําน” ทกุ ชั้นปใี นระดบั การศกึ ษานนั้
ไมผ่ ่าน หมายถงึ ลูกเสือมผี ลการประเมนิ ระดบั “ไมํผาํ น” บางช้นั ปใี นระดับการศกึ ษานนั้
เอกสารอ้างอิง
196 คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลูกเสอื โท ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5
188 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลักสูตรลกู เสือโท
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ๑ชมุ นุมสหกรณ๑การเกษตรแหํงประเทศไทย จาํ กดั . 2551.
2. การประเมินพฤติกรรมทักษะชีวิตและคณุ ลกั ษณะทางลกู เสือ
2.1 ความสามารถที่คาดหวงั ใหเ้ กิดขน้ึ กับลกู เสือโดยรวม คอื
1) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห๑
2) ความสามารถในการคดิ สร๎างสรรค๑
3) ความสามารถในการเหน็ ใจผู๎อืน่
4) เหน็ คุณคาํ ตนเอง
5) รบั ผดิ ชอบตํอสงั คม
6) ความสามารถในการสอื่ สารเพอื่ สร๎างสัมพนั ธภาพ
7) ความสามารถในการตดั สนิ ใจ
8) ความสามารถในการจัดการแกไ๎ ขปญั หา
9) ความสามารถในการจัดการกบั อารมณ๑
10) ความสามารถในการจัดการกบั ความเครียด
2.2 พฤติกรรมทคี่ าดหวงั ให้เกิดขึน้ กบั ลูกเสือแตล่ ะชนั้ ปี
1) ลูกเสอื สารอง
(1) มที กั ษะในการสังเกตและจดจาํ
(2) พง่ึ ตนเอง ดูแลตนเองได๎
(3) รู๎จักรักษาสิ่งแวดล๎อม
(4) ไมเํ จ็บปวู ยด๎วยโรคตดิ ตอํ ตามฤดกู าล
(5) ปฏเิ สธสิ่งเสพติดทกุ ชนดิ
(6) พดู จาสื่อสารเชงิ บวก ไมํกา๎ วรา๎ วรุนแรง
(7) แกป๎ ญั หาเฉพาะหนา๎ ได๎
(8) ให๎ความชวํ ยเหลอื เพือ่ นในภาวะวกิ ฤติ
2) ลูกเสอื สามัญ
(1) มีทกั ษะในการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลางแจง๎
(2) รํวมกจิ กรรมบําเพ็ญประโยชนด๑ ๎วยจติ อาสา
(3) พง่ึ ตนเองและชวํ ยเหลือครอบครวั
(4) ไมดํ ม่ื นา้ํ อดั ลม
(5) ไมรํ ับประทานขนมหวานและขนมกรุบกรอบ
(6) ใชเ๎ วลาวํางให๎เป็นประโยชน๑
(7) รู๎จกั พดู เชิงบวก ไมพํ ูดก๎าวรา๎ วรนุ แรง
คู่มือส่งเสริมแคลมู่ อืะพสง่ ฒั เสนริมากแลจิ ะกพรฒั รมนลากูกิจเกสรอื รทมลักกูษเสะชือทวี ติกั ษในะชสีวถติ าในนสศถึกาษนาศกึ ลษกู าเปสรอื ะโเทภทชล้ันกู เปสรือะสถามมชัญศัน้ กึปหรษละากั ถปสมตูทีศรกึ่ี ล5ษูกาเปสือที โี่ ท5 119879
(8) มีความซื่อสัตย๑ ไมโํ กหก
(9) รจ๎ู ักแกป๎ ญั หาด๎วยสนั ตวิ ิธี
(10) มนี ํา้ หนักสวํ นสูงตามเกณฑ๑มาตรฐาน
3) ลูกเสือสามญั รุ่นใหญ่
(1) มที กั ษะในการทํากจิ กรรมตามความสนใจ
(2) มจี ติ อาสาทาํ ประโยชน๑/ ไมกํ อํ ความเดอื ดรอ๎ น ใหก๎ บั ครอบครัว สถานศกึ ษา
ชมุ ชน สังคม
(3) ใชเ๎ วลาวํางให๎เปน็ ประโยชน๑
(4) รํวมกจิ กรรมสํงเสรมิ อนรุ ักษ๑ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมไทย
(5) มีทกั ษะการคดิ วิเคราะห๑ การยับยง้ั ไมํเป็นทาสของสอื่ โฆษณา
(6) มที กั ษะการใช๎ประโยชนจ๑ าก Internet
(7) มีผลงาน/ โครงการการประหยดั พลังงาน/ ทรัพยากร
(8) มกี ารออมหรอื ทาํ บญั ชรี ายรับ รายจํายของตนเองอยาํ งตํอเน่อื ง
(9) มีทกั ษะการหลีกเล่ยี ง รอดพน๎ และไมเํ กิดอบุ ัตเิ หตุจากการใช๎ยานพาหนะ
(10) ไมํเก่ยี วขอ๎ งกบั สง่ิ เสพตดิ ทุกประเภท
4) ลกู เสอื วิสามัญ
(1) มผี ลงาน/ โครงการเฉพาะทเ่ี ปน็ ประโยชนต๑ อํ ตวั เอง/ สงั คม
(2) มีจติ อาสาและบรกิ าร
(3) รว๎ู ิธปี ฺองกัน/ และหลกี เล่ยี งความเสย่ี งทางเพศ
(4) ใชเ๎ วลากับสอื่ IT อยาํ งเหมาะสม ไมเํ กิดความเสยี หายตอํ วถิ ชี วี ติ ปกตขิ องตนเอง
(5) ไมํเกีย่ วขอ๎ งกบั ส่งิ เสพตดิ
(6) มคี าํ นิยมด๎านสขุ ภาพอยาํ งเหมาะสม ไมํเกดิ ผลเสียตามมา
(7) มีคาํ นยิ มดา๎ นการรบั ประทานอาหารท่ีเหมาะสม ไมํเกดิ ผลเสยี หายตามมา
(8) มคี ํานยิ มด๎านความงามทเ่ี หมาะสมไมํเกิดผลเสียหายตามมา
(9) ไมํมีพฤตกิ รรมก๎าวรา๎ วและกอํ เหตรุ นุ แรง
อา้ งองิ จาก คํมู อื การเทียบระดบั (Benchmarking) กิจกรรมลกู เสือเสรมิ สร๎างทกั ษะชวี ิต 2558
198 คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลูกเสอื โท ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5
190 ค่มู ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สตู รลูกเสอื โท
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญ ลูกเสือโท ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5
หนว่ ยที่ 10 พธิ ีการ
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 33 พิธีประดบั เคร่อื งหมายลูกเสอื โท (ความภาคภูมิใจ) เวลา 1 ช่วั โมง
1. จุดประสงค์
เพ่อื ให๎ลกู เสอื มคี วามภาคภมู ใิ จในความสาํ เร็จ เกิดความรกั และเหน็ คณุ คาํ ในตนเอง
2. เน้อื หา
พธิ ีการประดับเครอ่ื งหมายลกู เสอื โท
3. สือ่ การเรียนรู้
เครอื่ งหมายลกู เสอื โท
4. กิจกรรม
1) ผ๎กู ํากบั ลกู เสอื และลูกเสอื พรอ๎ มกนั ในทีป่ ระชมุ
2) ผก๎ู ํากับลูกเสอื เป็นประธานจดุ ธูปเทียนบชู าพระรัตนตรยั และถวายสักการะแดพํ ระรูปรัชกาลที่ 6
3) ผ๎ูกํากับลกู เสอื และลูกเสอื รํวมกนั ถวายราชสดดุ ี
4) ผ๎กู าํ กับลกู เสอื กลาํ วถงึ การไดร๎ บั อนุญาตให๎มีสิทธิประดับเครอื่ งหมายลูกเสอื โท พรอ๎ มทั้งให๎
โอวาทแกลํ กู เสอื
5) ผูก๎ ํากบั ลกู เสอื มอบเครอื่ งหมายลกู เสือโทใหก๎ บั ลกู เสือทกุ คน และแสดงความชืน่ ชมยินดกี ับ
ลูกเสอื ทกุ คน
6) ผ๎ูกํากบั ลูกเสอื และลกู เสอื รํวมกนั ทบทวนคําปฏญิ าณ
5. การประเมนิ ผล
สงั เกตพฤตกิ รรมความยินดขี องลกู เสอื ท่เี ขา๎ รํวมกจิ กรรม
6. คุณธรรม
6.1 ความพอเพียง
6.2 ซื่อสัตย๑สจุ ริต
6.3 รบั ผิดชอบ
6.4 ความกตัญ๒ู
6.5 อดุ มการณค๑ ุณธรรม
คู่มอื ส่งเสริมแคล่มู อืะพส่งฒั เสนริมากแลจิ ะกพรฒั รมนลากูกิจเกสรอื รทมลกั กูษเสะชือทีวติักษในะชสีวถิตาในนสศถกึ าษนาศึกลษกู าเปสรือะโเทภทชลนัู้กเปสรอื ะสถามมญั ศึกหษลากั ปสูตที ร่ี ล5ูกเสอื โท 119991
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5