หลกั สูตรโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ิต (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ประกาศโรงเรียนวัดบุพนิมิต
เรือ่ ง ใหใ้ ชห้ ลักสูตรโรงเรียนวดั บุพนิมติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๓ (ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๕)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
……………………………….
ตามที่โรงเรียนวัดบุพนิมิต ได้ประกาศใช้หลักสูตร โรงเรียนวัดบุพนิมิต พุทธศักราช ๒๕๕๓ โดยเริ่มใช้
หลักสูตรดังกล่าวกับนักเรียนทุกระดับช้ันในปีการศึกษา ๒๕๖๓ เพื่อให้สอดคล้องรับกับนโยบายเร่งด่วนของ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ มีเวลาในการทํา
กิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะ การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การสร้างวินัย การมีจิตสํานึก
รับผิดชอบต่อสังคม ยึดม่ัน ในสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ และมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
ตลอดจนการเรียนการสอนในวิชาประวัติศาสตร์ และหน้าท่ีพลเมือง รวมถึงการสอนศีลธรรมแก่นักเรียน โรงเรียน
วัดบุพนิมิตได้ดําเนินการจัดทําหลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมิต พุทธศักราช ๒๕๕๓ สอดคล้องตามประกาศกระทรวง
ศึกษาธิการ เรื่อง การบริหารจัดการเวลาเรียน และปรับมาตรฐานและตัวช้ีวัด สอดคล้องกับ คําสั่ง สพฐ. ที่
๑๒๓๙/๖๐ และประกาศ สพฐ.ลงวนั ที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๑ เปน็ ทีเ่ รียบร้อยแลว้
ทั้งน้ีหลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมิตได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เมื่อ
วันท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๕ จึงประกาศให้ใช้หลกั สตู ร โรงเรยี นวดั บพุ นมิ ิตตั้งแตบ่ ดั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๖ เดอื น มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕
ลงชอื่
(นางรุจจิรา แสงทอง)
ผู้อํานวยการโรงเรียนวัดบุพนิมิต
หลกั สูตรโรงเรียนวัดบุพนมิ ิต (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ก
คํานํา
กระทรวงศึกษาธิการประกาศให้โรงเรียนทุกโรง (โรงเรียนชุมชนวัดอัมพวนาราม/บ้านควนแปลงงู
เป็นโรงเรียนนําร่องการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังน้ันโรงเรียนชุมชนวัด
อัมพวนาราม/บ้านควนแปลงงู จึงจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดอัมพวนาราม/ บ้านควน
แปลงงู พุทธศักราช 2552 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ) ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังน้ันโรงเรียนวัดบุพนิมิตจึง
จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมิต พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นแนวทางของการจัดการศึกษาของโรงเรียน
วัดบุพนิมิต ที่จะใช้ในการจัดการเรียนการสอน พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนดมุ่งพัฒนาผู้เรียน
ให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ โดยมุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์ท้ัง
ด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกทั้งมีความรู้และทักษะท่ีจําเป็นสําหรับ การดํารงชีวิต และมีคุณภาพได้
มาตรฐานสากลเพื่อการแข่งขันในยุคปัจจุบัน ดังนั้นหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมิต จึง
ประกอบด้วยวิสัยทัศน์ สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นในจังหวัดปัตตานีและจังหวัดใกล้เคียง และสาระการเรียนรู้ท่ี
โรงเรียนวัดบุพนิมิต เพิ่มเติม โดยจัดเป็นรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพ่ิมเติม จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เกณฑ์
การจบการศึกษา และการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ตามองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา ของ
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
งานวชิ าการ
โรงเรียนวดั บพุ นิมิต
หลกั สูตรโรงเรียนวัดบพุ นิมิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
สารบัญ ข
เร่ือง หน้า
ประกาศโรงเรยี น ก
คํานํา ข
สารบัญ ๑
สว่ นที่ ๑ ความนํา ๒
๒
วิสัยทศั นโ์ รงเรียน ๒
พันธกจิ โรงเรียน ๓
เป้าประสงค์โรงเรยี น ๔
สมรรถนะสาํ คัญของผ้เู รียน ๕
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๖
สว่ นที่ ๒ โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นวดั บพุ นิมิต ๑๒
โครงสร้างเวลาเรยี น ๒๐
โครงสรา้ งหลกั สตู รช้นั ปี ๒๗
ส่วนท่ี ๓ คาํ อธิบายรายวชิ า ๔๒
กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ๖๗
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ๗๔
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๒
กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๙
กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๙๘
กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ
กลุ่มสาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี ๑๐๔
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
- กิจกรรมแนะแนว
- กิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี
- กจิ กรรมชุมนมุ
- กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
สว่ นที่ ๔ เกณฑก์ ารจบการศึกษา
ภาคผนวก
หลกั สตู รโรงเรยี นวัดบพุ นมิ ติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๑
ความนาํ
กระทรวงศึกษาธิการประกาศให้โรงเรียนทุกโรง (โรงเรียนชุมชนวัดอัมพวนาราม/บ้านควนแปลงงู
เป็นโรงเรียนนําร่องการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ดังน้ันโรงเรียนชุมชนวัด
อัมพวนาราม/บ้านควนแปลงงู จึงจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนชุมชนวัดอัมพวนาราม/ บ้านควน
แปลงงู พุทธศักราช 2552 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ) ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนั้นโรงเรียนวัดบุพนิมิตจึง
จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมิต พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นแนวทางของการจัดการศึกษาของโรงเรียน
วัดบุพนิมิต ที่จะใช้ในการจัดการเรียนการสอน พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนดมุ่งพัฒนาผู้เรียน
ให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ โดยมุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์ทั้ง
ด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกท้ังมีความรู้และทักษะท่ีจําเป็นสําหรับ การดํารงชีวิต และมีคุณภาพได้
มาตรฐานสากลเพื่อการแข่งขันในยุคปัจจุบัน ดังนั้นหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมิต จึง
ประกอบด้วยวิสัยทัศน์ สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถ่ินในจังหวัดปัตตานีและจังหวัดใกล้เคียง และสาระการเรียนรู้ที่
โรงเรียนวัดบุพนิมิต เพ่ิมเติม โดยจัดเป็นรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เกณฑ์
การจบการศึกษา และการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ตามองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา ของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
หลักสูตรโรงเรียนวดั บุพนมิ ติ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๒
วิสัยทัศน์โรงเรียนวดั บพุ นมิ ิต
คุณธรรมนําความรู้เพิ่มทักษะชีวิต ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสู่คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
ผู้เรียนอ่านออกเขียนได้ บุคลากรพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามาตรฐานวิชาชีพ บริหารจัดการยึดหลักธรรมาภิบาล
เน้นการมีสว่ นรว่ มตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
พันธกิจ
๑. สง่ เสริมให้โอกาสให้ผูเ้ รียนไดร้ ับการศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถงึ
๒. จดั การศึกษาใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาโดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรมนําความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและได้รับการศึกษาที่มี
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
๔. สง่ เสรมิ พฒั นาผู้เรียนให้มที ักษะชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๕. ส่งเสริมพัฒนาครูให้มีความสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพและ
จรรยาบรรณของความเปน็ ครู
๖. ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนใช้แหล่งเรียนรู้ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคโนโลยีให้
สอดคล้องกับการเรยี นรูอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
๗. พัฒนาระบบบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพโดยยึด
หลักธรรมมาภิบาลโดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง
เป้าประสงค์
๑. ผ้เู รยี นไดร้ บั การศึกษาอยา่ งท่ัวถึงและมคี วามเสมอภาคในการได้รับการศกึ ษาภาคบงั คบั
๒. ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาผู้เรียน มีความรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสําคัญ
และทกั ษะทจี่ ําเป็นตามหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
๓. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผู้เรยี นสงู ข้ึน
๔. ผู้เรียนอ่านออกเขียนได้ตามศกั ยภาพและระดบั การศกึ ษา
๕. ผเู้ รยี นทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีคณุ ธรรมจริยธรรมตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๖. ผู้เรยี นไดร้ บั การส่งเสริมและพัฒนาให้มที กั ษะชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๗. ครูปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งมีคณุ ภาพตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
๘. โรงเรยี นใชแ้ หล่งเรยี นรู้ วฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ในการจดั การศึกษาได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ
๙. โรงเรยี นมีระบบการบริหารทเ่ี ขม้ แข็งและมีประสทิ ธิภาพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลกั สูตรโรงเรยี นวดั บพุ นิมติ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๓
กลยุทธก์ ารพัฒนา
กลยุทธ์ท่ี ๑ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาสร้างความเสมอภาคและเปิดโอกาส
ใหผ้ ู้เรยี นได้รับการศึกษาขั้นพน้ื ฐานอย่างท่วั ถงึ
กลยุทธ์ที่ ๒ ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์และเพิ่มทักษะ
ชีวิตบนพน้ื ฐานของความเป็นไทยตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ สื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาให้มี
คุณภาพเอื้อต่อการเรียนร้ขู องผ้เู รียนและนําแหลง่ เรยี นรู้ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ มาใช้ในการจัดการศึกษา
กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะตามสมรรถนะได้
ตามมาตรฐานวชิ าชพี
กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยใช้กระบวนการมีสว่ นร่วมและยดึ หลักธรรมาภบิ าล
อตั ลักษณ์ของโรงเรียน
“ ยิม้ ง่าย ไหว้สวย”
เอกลกั ษณข์ องโรงเรยี น
“โรงเรียนวถิ ีพุทธ“
สมรรถนะสําคญั ของผ้เู รยี น และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมิต พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ี
กําหนด ซึ่งจะชว่ ยให้ผเู้ รยี นเกิดสมรรถนะสําคญั และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ดงั น้ี
สมรรถนะสาํ คัญของผู้เรยี น
หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมิต พทุ ธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ
สาํ คญั ๕ ประการ ดงั นี้
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก
เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเอง
และสงั คม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อ
การตัดสินใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีกาตดั สนิ ใจท่มี ีประสิทธภิ าพโดยคํานงึ ถงึ ผลกระทบที่เกดิ ขนึ้ ตอ่ ตนเอง สังคมและสงิ่ แวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดําเนิน
ชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทํางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ
หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๔
สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้
ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ี่ส่งผลกระทบ
ต่อตนเองและผู้อน่ื
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทํางาน การ
แก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์
หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมิต พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้
อยา่ งมีความสุข ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้
๑. รักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอื่ สตั ย์สุจรติ
๓. มวี ินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
๖. มงุ่ มน่ั ในการทํางาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มจี ิตเป็นสาธารณะ
หลักสตู รโรงเรยี นวัดบพุ นิมิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๕
โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมิต พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๕) ประกอบด้วย
โครงสร้างเวลาเรียน และโครงสร้างหลักสูตรชนั้ ปี ดังน้ี
โครงสร้างเวลาเรียน
หลักสตู รโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๓ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๕)
กล่มุ สาระการเรยี นรู้/ กิจกรรม เวลาเรยี น(ชั่วโมง/ปี)
กลุ่มสาระการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐาน) ระดบั ประถมศกึ ษา
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐
สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
- ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
- หนา้ ทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนนิ ชีวติ ในสังคม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
- เศรษฐศาสตร์
- ภมู ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
การงานอาชีพ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
ภาษาตา่ งประเทศ ๙๒๐ ๙๒๐ ๙๒๐ ๙๒๐ ๙๒๐ ๙๒๐
รวมเวลาเรยี น (รายวิชาพื้นฐาน)
รายวิชาเพม่ิ เตมิ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
วทิ ยาการคาํ นวณ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
การป้องกันการทุจรติ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรียน (รายวชิ าเพิ่มเติม)
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กจิ กรรมแนะแนว
กจิ กรรมนักเรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
- ชมุ นมุ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๑,๑๒๐ ๑,๑๒๐ ๑,๑๒๐ ๑,๑๒๐ ๑,๑๒๐ ๑,๑๒๐
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด
หลกั สูตรโรงเรยี นวดั บพุ นิมิต (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
โครงสรา้ งหลกั สตู รช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ ๖
รหัส กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรยี น
ท ๑๑๑๐๑ (ชม./ปี)
ค ๑๑๑๐๑ รายวชิ าพ้นื ฐาน (๙๒๐)
ว ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ส ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ส ๑๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๑๒๐
พ ๑๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ศ ๑๑๑๐๑ ประวัติศาสตร์ ๘๐
ง ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐
อ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ว ๑๑๒๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
ส ๑๑๒๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔๐
๑๖๐
รายวิชาเพิ่มเตมิ ๘๐
วทิ ยาการคํานวณ ๔๐
การป้องกนั การทุจรติ ๔๐
(๑๒๐)
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๔๐
แนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนกั เรียน ๓๐
๑๐
ลูกเสอื เนตรนารี ๑,๑๒๐
ชุมนุม
กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด
หลักสูตรโรงเรยี นวัดบพุ นมิ ิต (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
โครงสรา้ งหลกั สตู รชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒ ๗
รหสั กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม เวลาเรียน
ท ๑๒๑๐๑ (ชม./ปี)
ค ๑๒๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน (๙๒๐)
ว ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ส ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ส ๑๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๑๒๐
พ ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ศ ๑๒๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ ๘๐
ง ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐
อ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ว ๑๒๒๐๑ การงานอาชพี ๔๐
ส ๑๑๒๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔๐
๑๖๐
รายวชิ าเพิ่มเตมิ ๘๐
วิทยาการคาํ นวณ ๔๐
การป้องกนั การทจุ ริต ๔๐
(๑๒๐)
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๔๐
แนะแนว ๔๐
กิจกรรมนักเรยี น ๓๐
๑๐
ลกู เสอื เนตรนารี ๑,๑๒๐
ชุมนุม
กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑
รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด
หลกั สตู รโรงเรยี นวัดบุพนิมติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
โครงสรา้ งหลกั สตู รช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๓ ๘
รหสั กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรยี น
ท ๑๓๑๐๑ (ชม./ปี)
ค ๑๓๑๐๑ รายวชิ าพ้นื ฐาน (๙๒๐)
ว ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ส ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐
ส ๑๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๑๒๐
พ ๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ศ ๑๓๑๐๑ ประวัติศาสตร์ ๘๐
ง ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐
อ ๑๓๑๐๓ ศิลปะ ๔๐
ว ๑๓๒๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
ส ๑๓๒๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔๐
๑๖๐
รายวิชาเพิ่มเตมิ ๘๐
วิทยาการคํานวณ ๔๐
การป้องกนั การทุจรติ ๔๐
(๑๒๐)
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๔๐
แนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนกั เรียน ๓๐
๑๐
ลูกเสอื เนตรนารี ๑,๑๒๐
ชุมนุม
กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด
หลักสูตรโรงเรยี นวัดบพุ นมิ ิต (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
โครงสรา้ งหลักสตู รชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ ๙
รหสั กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรยี น
ท ๑๔๑๐๑ (ชม./ปี)
ค ๑๔๑๐๑ รายวชิ าพ้นื ฐาน (๙๒๐)
ว ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ส ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐
ส ๑๔๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๑๒๐
พ ๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ศ ๑๔๑๐๑ ประวัติศาสตร์ ๘๐
ง ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐
อ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ว ๑๔๒๐๑ การงานอาชีพ ๘๐
ส ๑๔๒๐๓ ภาษาอังกฤษ ๔๐
๑๒๐
รายวิชาเพ่มิ เตมิ ๘๐
วิทยาการคํานวณ ๔๐
การป้องกนั การทุจรติ ๔๐
(๑๒๐)
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๔๐
แนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนกั เรียน ๓๐
๑๐
ลูกเสอื เนตรนารี ๑,๑๒๐
ชุมนุม
กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด
หลักสูตรโรงเรยี นวัดบพุ นมิ ิต (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
โครงสรา้ งหลกั สตู รช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๕ ๑๐
รหัส กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรียน
ท ๑๕๑๐๑ (ชม./ปี)
ค ๑๕๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน (๙๒๐)
ว ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ส ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐
ส ๑๕๑๐๒ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๑๒๐
พ ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ศ ๑๕๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ ๘๐
ง ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
อ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ว ๑๕๒๐๑ การงานอาชพี ๘๐
ส ๑๕๒๐๒ ภาษาองั กฤษ ๔๐
๑๒๐
รายวิชาเพิ่มเติม ๘๐
วทิ ยาการคํานวณ ๔๐
การป้องกันการทุจรติ ๔๐
(๑๒๐)
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๔๐
แนะแนว ๔๐
กิจกรรมนักเรียน ๓๐
๑๐
ลูกเสือ เนตรนารี ๑,๑๒๐
ชุมนุม
กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรียนทั้งหมด
หลกั สูตรโรงเรยี นวัดบุพนมิ ิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
โครงสร้างหลักสตู รช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๑๑
รหัส กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรยี น
ท ๑๖๑๐๑ (ชม./ปี)
ค ๑๖๑๐๑ รายวชิ าพนื้ ฐาน (๙๒๐)
ว ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ส ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐
ส ๑๖๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๑๒๐
พ ๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ศ ๑๖๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๘๐
ว ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐
อ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ว ๑๖๒๐๑ การงานอาชพี ๘๐
ส ๑๖๒๐๒ ภาษาองั กฤษ ๔๐
๑๒๐
รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ๘๐
วิทยาการคาํ นวณ ๔๐
การปอ้ งกนั การทุจริต ๔๐
(๑๒๐)
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๔๐
แนะแนว ๔๐
กิจกรรมนกั เรียน ๓๐
๑๐
ลกู เสือ เนตรนารี ๑,๑๒๐
ชุมนุม
กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑
รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด
หลกั สูตรโรงเรยี นวดั บุพนมิ ติ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๑๒
คําอธบิ ายรายวชิ า
หลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมติ พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) มคี ําอธิบาย
รายวิชา ในรายวิชาพืน้ ฐาน และรายวิชาเพิม่ เตมิ ดังนี้
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย รายวชิ าพ้ืนฐาน
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จาํ นวน ๒๐๐ ช่วั โมง
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จาํ นวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย จํานวน ๒๐๐ ช่ัวโมง
จาํ นวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
จาํ นวน ๑๖๐ ชั่วโมง
จาํ นวน ๑๖๐ ช่วั โมง
หลกั สูตรโรงเรียนวดั บพุ นิมิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑๓
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย คําอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง
คําอธิบายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง และข้อความสั้นๆ บอกความหมายของคําและข้อความ ตอบคําถาม เล่าเรื่อง
ย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอ นําเสนอเร่ืองท่ีอ่าน บอกความหมายของ
เคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์สําคัญท่ีมักพบเห็นในชีวิตประจําวัน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็ม
บรรทัด เขียนสอ่ื สารดว้ ยคาํ และประโยคง่ายๆ มีมารยาทในการเขียน
ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคําแนะนํา คําสั่งง่ายๆและปฏิบัติตาม ตอบคําถาม เล่าเร่ือง พูดแสดงความคิดเห็นและ
ความรสู้ กึ จากเรอ่ื งท่ฟี งั และดู พูดส่ือสารได้ตามวตั ถุประสงค์ เน้นมารยาทในการฟัง การดแู ละการพดู
ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา เรียบ
เรยี งคําเปน็ ประโยคง่ายๆ ตอ่ คําคล้องจองง่ายๆ
บอกข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับเด็ก ฝึกท่องจําบทอาขยาน
ตามท่ีกําหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและ
การพูด พูดแสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์
ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
นาํ ไปประยกุ ต์ใชก้ ับชีวิตประจาํ วันไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม
ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ในการดําเนินชีวิต และมี
นิสัยรักการอ่านใช้กระบวนการอ่านใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใน
รูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกฟัง
และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษา การเปลี่ยนแปลงภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษา
ไว้เป็นสมบัติของชาติ สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้างลักษณะนิสัย บุคลิกภาพและความสัมพันธ์ระหว่างภาษา
กับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจําวัน เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็น
คุณค่า และนาํ มาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ
รหสั ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวมทั้งหมด ๒๒ ตัวชี้วัด
หลกั สตู รโรงเรียนวัดบพุ นมิ ติ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑๔
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย คาํ อธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง
คําอธิบายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคําและข้อความ
ท่ีอ่าน ตั้งคําถาม ตอบคําถาม ระบุใจความสําคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์ เลือก
อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและนําเสนอเร่ืองที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่งหรือ
ขอ้ แนะนาํ มีมารยาทในการอา่ น
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเร่ืองส้ันๆ เก่ียวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการ
มีมารยาทในการเขียน
ฝึกทักษะการฟัง ฟังคําแนะนํา คําส่ังที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเร่ือง บอกสาระสําคัญของเร่ือง ตั้งคําถาม
ตอบคําถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดู
และการพดู
ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา เรียบ
เรียงคําเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลักษณะคําคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษา
ถ่นิ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
ฝึกจับใจความสําคัญจากเร่ือง ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสําหรับเด็ก เพ่ือนําไปใช้ใน
ชีวิตประจําวัน ร้องบทร้องเล่นสําหรับเด็กในท้องถิ่น ท่องจําบทอาขยานตามท่ีกําหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตาม
ความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ
คิดวิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคําถาม ตอบคําถาม
ใชท้ ักษะการฟงั การดูและการพูด พดู แสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์
ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
นาํ ไปประยกุ ตใ์ ช้กับชวี ติ ประจําวันไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม
ฝึกจับใจความสําคัญจากเร่ือง ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสําหรับเด็ก เพ่ือนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน
รอ้ งบทร้องเลน่ สําหรบั เดก็ ในท้องถ่นิ ท่องจาํ บทอาขยานตามท่กี าํ หนดและบทรอ้ ยกรองท่มี ีคุณคา่ ตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด
วิเคราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคําถาม ตอบคําถาม ใช้
ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนํา
ความรู้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชีวิตประจาํ วันไดอ้ ย่างถกู ต้อง เหมาะสม
รหสั ตวั ช้วี ดั
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวมท้ังหมด ๒๗ ตัวชว้ี ัด
หลักสูตรโรงเรยี นวัดบุพนิมติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๑๕
คาํ อธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
คําอธิบายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงคํา ข้อความ เร่ืองสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคําและ
ข้อความท่ีอ่าน ตั้งคําถาม ตอบคําถามเชิงเหตุผล ลําดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิด
จากเร่ืองที่อ่าน เพื่อนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและนําเสนอเรื่องท่ี
อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําส่ังหรือข้อแนะนํา อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ
แผนที่ และแผนภูมิ มีมารยาทในการอ่าน
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจําวัน เขียนเรื่องตามจินตนาการ
มีมารยาทในการเขียน
ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด บอกสาระสําคัญ ต้ังคําถาม ตอบคําถาม พูด
แสดงความคิดเห็น ความรู้สกึ พดู ส่อื สารไดช้ ัดเจนตรงตามวัตถปุ ระสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด
ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา ระบุชนิด หน้าที่ของคํา ใช้
พจนานุกรมค้นหาความหมายของคํา แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคําคล้องจองและคําขวัญ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถ่นิ ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ
ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน การรู้จักเพลงพ้ืนบ้าน เรื่องเล่า
นิทานท้องถ่ินและเพลงกล่อมเด็กในท้องถิ่นท่ีโรงเรียนต้ังอยู่ ชีวิตประจําวันในท้องถิ่น อาชีพ ความเป็นอยู่อาหาร
การกิน งานประเพณี วันสําคัญ เพ่ือปลูกฝังความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถ่ิน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
วรรณคดีที่อ่าน ท่องจําบทอาขยานตามท่ีกําหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการ
อ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการ
สื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทักษะการฟัง การดู
และการพูด พูดแสดงความคดิ เห็น กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถนําไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจําวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและเพื่อให้ตระหนักและเห็น
คุณค่าในการอ่านคํา ข้อความ ข้อเขียนเชิงอธิบายเร่ืองส้ัน บทร้อยกรอง และสรุปเป็นความรู้ ความคิด และมี
มารยาทในการอ่าน สามารถเขียนลายมือตัวบรรจง เขียนบรรยายลักษณะของคน สัตว์ สิ่งของ สถานท่ีต่าง ๆ ได้
ถูกต้อง เขียนบันทึกประจําวัน และเขียนเรื่องตามจินตนาการของตนเอง ได้อย่างสม่ําเสมอ สามารถเขียนจดหมาย
ลาครูได้ถูกต้องและมีมารยาทในการเขียน เล่ารายละเอียด เหตุการณ์ วัตถุประสงค์และมีมารยาทในการฟัง การดู
และการพูด และสามารถนําไปใช้ในชวี ติ ประจาํ วนั ได้
รหสั ตวั ช้วี ัด
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
รวมทัง้ หมด ๓๑ ตวั ช้วี
หลักสตู รโรงเรียนวัดบพุ นมิ ติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑๖
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย คาํ อธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
คําอธิบายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคํา ประโยคและสํานวนจากเร่ืองที่
อ่าน อ่านเรื่องส้ัน ๆ ตามเวลาท่ีกําหนดและตอบคําถามจากเรื่องส้ันๆจากนิทานเรื่องชายผู้ถูกเหยียดหยาม แยก
ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีอ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุป
ความรู้และข้อคิดจากเร่ืองท่ีอ่าน เพ่ือนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน เลือกอ่านหนังสือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจและมี
มารยาทในการอา่ น
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คําได้ถูกต้อง ชัดเจนและ
เหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนางานเขียน เขียนย่อความจากเรื่องสั้น ๆ
เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนเรื่องตาม
จินตนาการ มมี ารยาทในการเขียน
ฝกึ ทักษะการฟงั การดแู ละการพูด จําแนกข้อเท็จจริงและขอ้ คดิ เห็นเรอ่ื งที่ฟังและดู พูดสรปุ จากการฟัง
และดู พดู แสดงความรู้ ความคิดเห็นและความร้สู ึกเก่ียวกบั เรือ่ งทฟี่ ังและดู ต้ังคาํ ถามและตอบคาํ ถามเชิงเหตผุ ล
จากเรือ่ งที่ฟังและดู พูดรายงานเรอื่ งหรือประเด็นทศี่ กึ ษาค้นคว้าจากการฟงั การดแู ละการสนทนา มีมารยาทใน
การฟัง การดแู ละการพดู ฝกึ เขยี นตามหลักการเขยี น เขยี นสะกดคาํ และบอกความหมายของคาํ ในบรบิ ทตา่ ง ๆ
ระบุชนดิ และหนา้ ทข่ี องคาํ ในประโยค ใชพ้ จนานกุ รมคน้ หาความหมายของคาํ แต่งประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั
ภาษา แตง่ บทรอ้ ยกรองและคาํ ขวญั บอกความหมายของสํานวน เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ได้
ระบุข้อคิดจากนิทานพ้ืนบ้านหรือนิทานคติธรรมอธิบายข้อคิดจากการอ่านเพ่ือนําไปใช้ในชีวิตจริง ร้อง
เพลงพ้ืนบ้านท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน
กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติอธิบาย บันทึก
การตั้งคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูดพูดแสดงความคิดเห็นกระบวนการสร้างความคิดรวบ
ยอด
เพ่ือให้เกิดความรู้และความคิดไปใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ในการดําเนินชีวิต และมี
นิสัยรักการอ่าน ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสารเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถเลือกฟังและดูอย่ามี
วิจารณญาณและสร้างสรรค์ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษา สามารถใช้ภาษาในการแสวงหาความรู้
เสริมสร้างลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับประเพณี วัฒนธรรม อาชีพ สังคม และ
ชีวติ ประจําวนั
รหสั ตวั ชีว้ ัด
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
รวมท้ังหมด ๓๓ ตัวช้ีวัด
หลักสูตรโรงเรียนวัดบพุ นิมติ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๑๗
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย คาํ อธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
คาํ อธบิ ายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อ่านออกเสียงนิทานพื้นบ้าน เร่ืองธรรมชาติของสัตว์
อธิบายความหมายของคํา ประโยคและข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย
แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คําส่ัง ข้อแนะนํา และ
ปฏบิ ัติตาม เลือกอา่ นหนงั สอื ที่มคี ุณคา่ ตามความสนใจ มมี ารยาทในการอ่าน
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
แผนภาพความคิด เขียนย่อความ ชุมชนแม่ลาน เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและ
ความคิดเห็น กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขยี นเรื่องตามจินตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น
ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ตั้งคําถาม ตอบ
คําถาม วิเคราะห์ความ การเปรียบเทียบภาษาไทยกับภาษาถ่ินใต้ พูดรายงาน มีมารยาทในการฟัง การดูและ
การพดู
ระบุชนิดและหน้าท่ีของคําในประโยค จําแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถน่ิ ใชค้ าํ ราชาศัพท์ บอกคําภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย แต่งบท
รอ้ ยกรอง ใชส้ ํานวนได้ถูกต้อง
สรุปเร่ืองจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมท่ี
สามารถนําไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม เรื่องธรรมชาติของสัตว์ เพลงกล่อมเด็ก
ไก่เถือน ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน
กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย
บันทึก การต้ังคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการ
สร้างความคิดรวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนาํ ไปประยกุ ต์ใชก้ บั ชวี ิตประจาํ วนั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม
รหสั ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวมท้งั หมด ๓๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนวดั บพุ นิมติ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย คาํ อธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ๑๘
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง
คาํ อธิบายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ตํานานเพลงกล่อมเด็กไก่เถือน อธิบายความหมายของคํา
ประโยคและข้อความที่เป็นโวหาร อ่านเรื่องสั้น ๆอย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ี
อ่าน วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่อ่านเพื่อนําไปใช้ในการดําเนินชีวิต อ่านงานเขียน เชิง
อธิบาย คําส่ัง ข้อแนะนํา และปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิ
และกราฟ เลอื กอ่านหนงั สือตามความสนใจและอธิบายคณุ ค่าทไ่ี ด้รับ มมี ารยาทในการอา่ น
ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คําได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดการเขียนข้อตกลงร่วมกันในโรงเรียน ข้อตกลงในการใช้
สถานท่ีสาธารณ ชุมชนและท้องถิ่น การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์ เขียนย่อความจากเรื่องอ่าน เขียนจดส่วนตัว
กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์ มีมารยาทในการเขียน
ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเร่ืองที่ฟังและดู ตั้ง
คําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องท่ีฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูสื่อโฆษณา
อย่างมีเหตุผล พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นทศ่ี กึ ษาคน้ ควา้ จากการฟงั การดูและการสนทนา พดู โนม้ นา้ วอยา่ งมี
เหตผุ ลและนา่ เช่ือถือ มมี ารยาทในการฟัง การดูและการพูด
ฝึกวิเคราะห์ชนิดของคําและหน้าท่ีของคํา คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ์ คําบุพบท คําเชื่อม
คําอุทาน คําราชาศัพท์ ภาษาในท้องถ่ิน ระดับของภาษา คําท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ คําที่มีความหมาย
โดยนัย คํา กลุ่มคํา/วลี และประโยค ประโยคสามัญ ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน กลอนสุภาพ กาพย์
ยานี ๑๑ บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง นิทานในท้องถิ่น เรื่องสั้น เพลงพื้นบ้าน ปริศนาคําทาย บทร้อยกรองท่ีมี
คุณคา่ บทอาขยาน วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน
ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพ้ืนบ้านท้องถิ่นตนเองและนิทาน
พ้ืนบ้านของท้องถ่ินอ่ืน อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านและนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจํา
บทอาขยานตามท่ีกําหนดและบทร้อย โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือ
ความ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสังเกต กระบวนกรแยกข้อเท็จจริง กระบวนการค้นคว้า กระบวนการ
ใช้เทคโนโลยีในการส่ือสาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคําถาม ตอบ
คําถาม ใช้ทักษะการฟงั การดูและการพดู พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ ส่อื สารไดถ้ ูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคณุ ค่าของการ
อนุรกั ษภ์ าษาไทย มมี ารยาทในการอา่ น การเขยี น มมี ารยาทในการฟงั การดูและการพูด ใช้ภาษาในการสอื่ สารได้
ถกู ตอ้ ง ตามกาลเทศะ เหน็ คณุ ค่าความงามของวรรณคดี วรรณกรรม นําขอ้ คดิ คติธรรมจากเรอ่ื งทอ่ี ่านไป
ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาํ วัน มีความสนใจใฝร่ ้ใู ฝ่เรียน และมีนิสัยรกั การอ่านและอนุรกั ษภ์ าษาไทยไว้เป็นสมบตั ิ
ของชาติ
มีความสามารถในการส่ือสารใชภ้ าษาถ่ายทอดความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิด ความรู้สกึ และทศั นะของ
ตนเองด้วยการพดู และการเขียน พดู เจรจาต่อรอง เลือกรับหรือไมร่ ับข้อมลู ขา่ วสาร
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บพุ นมิ ติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๑๙
รหสั ตัวชวี้ ัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวมทง้ั หมด ๓๔ ตัวช้ีวดั
หลกั สตู รโรงเรยี นวัดบพุ นมิ ติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๒๐
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
หลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมติ พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) มคี ําอธิบาย
รายวิชา ในรายวชิ าพน้ื ฐาน และรายวชิ าเพิ่มเติม ดังนี้
รายวชิ าพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ จาํ นวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จาํ นวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จํานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ จาํ นวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จาํ นวน ๒๐๐ ช่ัวโมง
ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จํานวน ๒๐๐ ชัว่ โมง
-
หลกั สูตรโรงเรยี นวัดบุพนมิ ิต (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๒๑
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
บอกจํานวนของส่ิงต่างๆ แสดงสิ่งต่างๆตามจํานวนที่กําหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
แสดงจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ ><
เรียงลําดับจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จํานวน หาค่าของตัวไม่ทราบในประโยคสัญลักษณ์แสดง
การบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์
ปัญหาการบวกและโจทยป์ ัญหาการลบของจํานวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐
ระบุจํานวนที่หายไปในแบบรูปของจํานวนท่ีเพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ ๑ และทีละ ๑๐ และระบุรูปที่หายไป
ในแบบรปู ซํา้ ของรปู เรขาคณิตและรปู อ่ืนๆ ทส่ี มาชิกในแตล่ ะชดุ ที่ซ้ํามี ๒ รูป
วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร วัดและเปรียบเทียบน้ําหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด
และใชห้ นว่ ยทีไ่ มใ่ ช่หน่วยมาตรฐาน
จาํ แนกรปู สามเหลี่ยม รูปส่เี หลยี่ ม วงกลม วงรี ทรงสเ่ี หล่ยี มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย
ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการคาํ ตอบของโจทยป์ ัญหา เมอ่ื กาํ หนดรปู ๑ รูป แทน ๑ หนว่ ย
รหัสตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑
รวมทง้ั หมด ๑๐ ตวั ชวี้ ัด
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บพุ นมิ ติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๒๒
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ คําอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง
คําอธิบายรายวิชา
บอกจํานวนของส่ิงต่างๆ แสดงสิ่งต่างๆ ตามจํานวนที่กําหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลข
ไทย ตัวหนังสือแสดงจํานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบจํานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้
เคร่ืองหมาย = ≠ >< เรียงลําดับจํานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จํานวนจากสถานการณ์ต่างๆหา
ค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจํานวน ๑ หลัก
กับจํานวนไม่เกิน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวต้ังไม่เกิน ๒ หลัก
ตัวหาร ๑ หลัก โดยท่ีผลหารมี ๑ หลัก ทั้งหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน ของ
จํานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอน ของจํานวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐
และ ๐
แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลาท่ีมีหน่วยเด่ียวและเป็นหน่วยเดียวกัน วัดและ
เปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมทั้งแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ
เกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบน้ําหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัม
และขีด พร้อมท้ังแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบเก่ียวกับน้ําหนักท่ีมีหน่วยเป็นกิโลกรัมและ
กรัม กิโลกรมั และขดี วัดและเปรียบเทยี บปริมาตรและความจุเป็นลิตร
จําแนกและบอกลกั ษณะของรปู หลายเหลย่ี มและวงกลม
ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเม่ือกําหนรูป ๑ รูป แทน ๒ หน่วย ๕
หนว่ ย หรอื ๑๐ หนว่ ย
รหสั ตวั ชว้ี ัด
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวมท้งั หมด ๑๖ ตวั ช้ีวัด
หลกั สูตรโรงเรียนวัดบพุ นมิ ิต (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๒๓
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ คําอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
คําอธิบายรายวชิ า
อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ
๐ เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่างๆ บอก อ่าน และเขียน
เศษส่วนท่ีแสดงปริมาณส่ิงต่างๆ และแสดงส่ิงต่างๆ ตามเศษส่วนที่กําหนด เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากัน
โดยท่ีตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ
ของจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจํานวน
๑ หลักกับจํานวนไม่เกิน ๔ หลัก และจํานวน ๒ หลักกับจํานวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
สัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวตั้งไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน และ
แสดงวิธีการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอน ของจํานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดง
วิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันแลผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบพร้อมทั้ง
แสดงวธิ ีหาคําตอบของโจทย์ปญั หาการลบของเศษสว่ นทมี่ ตี ัวสว่ นเทา่ กัน
ระบุจํานวนทห่ี ายไปในแบบรูปของจํานวนทีเ่ พิ่มขึน้ หรอื ลดลงทลี่ ะเท่าๆกัน
แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน เวลา และระยะเวลา เลือกใช้เคร่ืองมือความยาวท่ี
เหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งต่างๆ ที่เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความ
ยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวระหว่างเซนติเมตรกับมิลลิลิตร เมตรกับเซนติเมตร
กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่างๆ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็น
เซนติเมตรและมิลลิลิตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร เลือกใช้เครื่องชั่งท่ีเหมาะสม วัดและบอกน้ําหนัก
เป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนนํ้าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบนํ้าหนักและแสดงวิธี
หาคําตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับนํ้าหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์
ต่างๆเลือกใช้เครื่องตวงท่ีเหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตรความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนปริมาตร
และความจุเป็นลิตร และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุท่ีมีหน่วยเป็นลิตรและ
มลิ ลิลิตร
ระบุรปู เรขาคณติ สองมิติที่มีแกนสมมาตรและจํานวนแกนสมมาตร
เขียนแผนภูมิรูปภาพและใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา เขียนตารางทาง
เดยี วจากขอ้ มูลทเ่ี ปน็ จาํ นวนนบั และใช้ขอ้ มลู จากตารางทางเดยี วในการหาคําตอบของโจทย์ปญั หา
รหัสตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑,
ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวมทง้ั หมด ๒๘ ตัวชว้ี ดั
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บพุ นิมติ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๒๔
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ คําอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง
คาํ อธิบายรายวิชา
อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐
เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่างๆ บอก อ่าน และเขียนเศษส่วน
จํานวนคละแสดงปริมาณสิ่งต่างๆ และแสดงสิ่งต่างๆ ตามเศษส่วน จํานวนคละที่กําหนด เปรียบเทียบ เรียงลําดับ
เศษส่วนและจํานวนคละท่ีตัวส่วนตัวหนึ่ง เป็นพหุคูณของอีกตัวหน่ึง อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง
แสดง ปริมาณของส่ิงต่าง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามทศนิยมท่ีกําหนด เปรียบเทียบและเรียงลําดับทศนิยมไม่เกิน
๓ ตําแหน่งจากสถานการณ์ต่าง ๆ ประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ
อย่างสมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบของจํานวนนับท่ีมากก
ว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจํานวนหลายหลัก ๒
จํานวน ท่ีมีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารท่ีตัวตั้งไม่เกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒
หลัก หาผลลัพธ์ การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจํานวนนับ และ ๐ แสดงวิธหี าคําตอบของโจทย์ปัญหา ๒
ข้ันตอนของจํานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจํานวนนับ และ ๐ พร้อม
ทั้งหาคําตอบ หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจํานวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตัวหน่ึง แสดงวิธี
หาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วนและจํานวนคละท่ีตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตัวหนึ่ง
หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง และแสดงวิธหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ๒
ขั้นตอนของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลา วัดและสร้างมุมโดยใช้โ
พรแทรกเตรอร์ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูป พื้นท่ีของรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก
จําแนกชนิดของมุม บอกชื่อมุม ส่วนประกอบ ของมุมและเขียนสัญลักษณ์ แสดงมมุ สร้างรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก เมื่อ
กาํ หนดความยาวของด้านใชข้ อ้ มลู จากแผนภูมแิ ทง่ ตารางสองทางในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา
รหัสตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑,
ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวมทั้งหมด ๒๒ ตัวชี้วัด
หลักสตู รโรงเรยี นวดั บุพนิมิต (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๒๕
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ คาํ อธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
คาํ อธบิ ายรายวิชา
เขียนเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหา
คําตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจํานวนคละ
แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขั้นตอน หาผลคูณของทศนิยม ท่ี
ผลคูณเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง หาผลหารที่ตัวตั้งเป็นจํานวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง และตัวหาร
เป็นจํานวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การ
คูณ การหารทศนิยม ๒ ข้ันตอน และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไม่เกิน ๒ ข้ันตอน แสดงวิธีหา
คําตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว นํ้าหนัก ที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูปทศนิยม แสดงวิธีหา
คําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก
ความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหล่ียมและพ้ืนที่ของรูปส่ีเหล่ียมด้านขนานและรูปส่ีเหล่ียมขนมเปียกปูน สร้างเส้นตรง
หรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กําหนดให้ จําแนกรูปสี่เหล่ียมโดยพิจารณาจาก
สมบัติของรูป สร้างรูปส่ีเหล่ียมต่าง ๆ เม่ือกําหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือเม่ือกําหนดความยาว
ของเส้นทแยงมุม และบอกลักษณะของปริซึม ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคําตอบของโจทย์ปัญหา และเขียน
แผนภมู ิแทง่ จากข้อมลู ทีเ่ ปน็ จาํ นวนนบั
ในการจัดการเรียนรู้ได้กําหนดสถานการณ์เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะโดยการปฏิบัติจริง
สรุปเน้ือหา มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ของผูเ้ รยี น และนาํ ไปใช้ในชวี ติ ประจําวนั ได้
รหสั ตัวช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวมทัง้ หมด ๑๙ ตัวชว้ี ัด
หลกั สูตรโรงเรียนวดั บุพนมิ ติ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๒๖
ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ คําอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง
คําอธบิ ายรายวิชา
เปรียบเทียบ เรียงลําดับ เศษส่วนและจํานวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ
เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณ จากข้อความหรือสถานการณ์ โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจํานวนนับ หา
อัตราส่วนท่ีเท่ากับอัตราส่วนที่กําหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น.ของจํานวนนับไม่เกิน ๓ จํานวน แสดงวิธีหา
คําตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เก่ียวกับห.ร.ม.และค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของ
เศษส่วนและจํานวนคละ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจํานวนคละ ๒-๓ ขั้นตอน หาผลหารของ
ทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตําแหน่ง แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ
การคูณ การหารทศนิยม ๓ ข้ันตอน แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาอัตราส่วนและโจทย์ปัญหาร้อยละ ๒-๓
ข้ันตอน แสดงวิธีคิดและหาคําตอบของปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับ
ความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของรูปหลายเหลี่ยม ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม จําแนกรูปสามเหลี่ยมโดย
พิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสามเหลี่ยมเม่ือกําหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของ
รูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบจากรูปคล่ี และระบุรูปคลี่ของรูปเรขาคณิต
สามมติ ิ ใช้ข้อมลู จากแผนภูมิรูปวงกลมในการหาคําตอบของโจทยป์ ัญหา
ในการจัดการเรียนรู้ได้กําหนดสถานการณ์เพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะโดยการปฏิบัติจริง
สรุปเน้ือหา มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ของผู้เรียน และนาํ ไปใช้ในชีวติ ประจาํ วันได้
มคี วามสามารถในการคิด คิดพ้นื ฐาน คิดข้ันสูง ได้แก่ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
รหสั ตวั ชว้ี ดั
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ , ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑, ป.
๖/๑๒
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓,ป.๖/๔ ,
ค ๓.๑ ป.๖/๑ ,ป.๖/๒, ป.๖/๓
รวมทั้งหมด ๒๑ ตัวชีว้ ัด
หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมติ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๒๗
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
หลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมติ พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) มคี ําอธิบาย
รายวชิ า ในรายวชิ าพ้ืนฐาน และรายวิชาเพม่ิ เตมิ ดังน้ี
รายวชิ าพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จาํ นวน ๑๒๐ ชว่ั โมง
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จํานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จํานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จํานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง
ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จํานวน ๑๒๐ ชั่วโมง
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จํานวน ๑๒๐ ชัว่ โมง
ว ๑๑๒๐๑ วทิ ยาการคํานวณ รายวชิ าเพิม่ เติม จาํ นวน ๔๐ ช่วั โมง
ว ๑๒๒๐๑ วทิ ยาการคํานวณ จาํ นวน ๔๐ ชั่วโมง
ว ๑๓๒๐๑ วิทยาการคาํ นวณ จํานวน ๔๐ ชวั่ โมง
ว ๑๔๒๐๑ วทิ ยาการคาํ นวณ จาํ นวน ๔๐ ชวั่ โมง
ว ๑๕๒๐๑ วทิ ยาการคํานวณ จาํ นวน ๔๐ ชั่วโมง
ว ๑๖๒๐๑ วทิ ยาการคํานวณ จํานวน ๔๐ ชัว่ โมง
หลักสูตรโรงเรยี นวดั บพุ นิมติ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๒๘
ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ คาํ อธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษา วิเคราะห์ พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่างๆ สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับการดํารงชีวิตของ
สัตว์ในบริเวณท่ีอาศัยอยู่ ระบุลักษณะและหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์และพืช รวมท้ังการทํา
หน้าที่ร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ อธิบายสมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุที่ใช้ทําวัตถุซึ่งทําจากวัสดุชนิด
เดียวหรือหลายชนิดประกอบกัน ชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุตามสมบัติที่สังเกต การเกิดเสียงและทิศทางการ
เคลื่อนท่ีของเสียง ดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน และสาเหตุที่มองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ใน
เวลากลางวัน ลักษณะภายนอกของหินจากลักษณะเฉพาะตัวท่ีสังเกต โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การ
สืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ การ
อธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจําลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมท่เี หมาะสม
แสดงลําดับข้ันตอนการทํางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ การเขียน
โปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ การใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดหมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้
ข้อมลู การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั และดูแลรักษาอปุ กรณ์เบ้อื งต้น ใชง้ านงานอย่างเหมาะสม
ศึกษาพืชและสัตว์ท่ีอาศัยอยู่บริเวณต่าง ๆ ในท้องถิ่นของตน เช่น สนามหญ้า ใต้ต้นไม้สวนหย่อม แหล่ง
นํ้า ทุ่งนา สวนยางสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ค้นคว้าส่วนประกอบ และหน้าท่ีของอวัยวะภายนอกของสัตว์และพืช
ท่ีพบบริเวณต่าง ๆ สืบค้นวัสดุที่ใช้ทําอุปกรณ์และเคร่ืองมือที่ใช้ในชีวิตประจําวัน ตรวจสอบระบบดวงดาวจาก
หลักฐานเชิงประจักษ์ในท้องถิ่นและชุมชนของตนหรือจากแหล่งเรียนรู้ท่ีมีในท้องถิ่น ศึกษาลักษณะของหินท่ีพบ
บริเวณโรงเรียน ในชุมชน และแหล่งตา่ ง ๆ ในทอ้ งถน่ิ
รหสั ตวั ช้ีวดั
ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
รวมทงั้ หมด ๑๕ ตวั ช้ีวัด
หลักสตู รโรงเรียนวัดบพุ นิมิต (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๒๙
ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ คําอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง
คําอธบิ ายรายวิชา
ศึกษา วิเคราะห์ ความต้องการแสงและน้ําเพ่ือการเจริญเติบโตของพืช วัฏจักรชีวิตของพืชดอก ลักษณะ
ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สมบัติของวัสดุ สมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนําวัสดุมาผสมกัน และการนํา
สมบัติของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทําวัตถุในชีวิตประจําวัน ประโยชน์ของการนําวัสดุท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ การ
เคลื่อนท่ีของแสงจากแหล่งกําเนิดแสง การมองเห็นวัตถุ อันตรายจากการมองวัตถุที่อยู่ในบริเวณที่มีแสงสว่างไม่
เหมาะสม โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตราย ส่วนประกอบของดิน ชนิดของดินโดยใช้ลักษณะเน้ือดินและ
การจับตัวเป็นเกณฑ์ การใช้ประโยชน์จากดิน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สํารวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ การอธิบาย อภิปราย และ
การสร้างแบบจําลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และ
คา่ นิยมทเ่ี หมาะสม
แสดงลําดับขั้นตอนการทํางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ การเขียน
โปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ การใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดหมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้
ข้อมูล การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั และดูแลรกั ษาอปุ กรณเ์ บ้อื งตน้ ใช้งานงานอยา่ งเหมาะสม
ศึกษาสิ่งมีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิตในบริเวณโรงเรียน วัด และชุมชน สํารวจวัสดุในท้องถิ่นท่ีสามารถนํามาใช้
ประโยชน์ได้ เช่น ไม้ ดิน ศึกษาลักษณะของดินจากแหล่งต่าง ๆ เช่นดินบนภูเขา ในนา บริเวณบ้าน และการ
นาํ ไปใชป้ ระโยชน์
รหสั ตัวชี้วดั
ว ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวมท้งั หมด ๑๖ ตัวช้ีวดั
หลกั สูตรโรงเรยี นวัดบพุ นมิ ิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๓๐
ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง
คําอธิบายรายวิชา
ศกึ ษา วิเคราะห์ สิ่งทจ่ี าํ เป็นตอ่ การดํารงชวี ติ การเจรญิ เติบโตของมนุษย์และสตั ว์ ประโยชน์
ของอาหาร น้ํา และอากาศ การดูแลตนเองและสัตว์อย่างเหมาะสม วัฏจักรชีวิตของสัตว์และคุณค่าของสัตว์
ส่วนประกอบของวัตถุ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเม่ือทําให้ร้อนข้ึนหรือทําให้เย็นลง แรงที่มีต่อการเปล่ียนแปลงการ
เคล่ือนที่ของวัตถุ แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัส แรงกับการเคล่ือนท่ีของวัตถุ การดึงดูดระหว่างแม่เหล็กกับวัตถุ
ขั้วแม่เหล็ก การเปล่ียนพลังงาน การทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟ้า และแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า ประโยชน์
และโทษของไฟฟ้า วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย เส้นทางการข้ึนและตกของดวงอาทิตย์ การเกิด
กลางวันกลางคืน การกําหนดทิศ ความสําคัญของดวงอาทิตย์ต่อส่ิงมีชีวิต ส่วนประกอบของอากาศ ความสําคัญ
ของอากาศ ผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อส่ิงมีชีวิต การปฏิบัติตนในการลดมลพิษทางอากาศ การเกิดลม
ประโยชน์และโทษของลม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การ
สืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ การอธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจําลอง
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้
ในชีวติ ประจําวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา แสดงอัลกอริทึมในการทํางาน แก้ปัญหาอย่างง่าย โดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้
อนิ เทอรเ์ นต็ คน้ หาความรู้ รวบรวม ประเมนิ นาํ เสนอขอ้ มูลและสารสนเทศ
ศึกษาการดํารงชีวิตและการเจริญเติบโตของส่ิงมีชีวิตในท้องถิ่น สืบค้นข้อมูลปัญหามลพิษทางอากาศ
ในชุมชน และแนวทางแก้ปัญหา สํารวจทิศทางลมในเวลาต่าง ๆ บริเวณที่แตกต่างกัน ท้ังท่ีโรงเรียน ทุ่งนา บน
ภเู ขา
รหัสตวั ชี้วดั
ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
รวมทง้ั หมด ๒๕ ตวั ชีว้ ดั
หลกั สตู รโรงเรยี นวัดบพุ นิมิต (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๓๑
ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ คาํ อธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ช่วั โมง
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษา วิเคราะห์ หน้าท่ีของราก ลําต้น ใบ และดอกของพืชดอก ส่วนประกอบของพืชดอก ความ
แตกต่างชองลักษณะส่ิงมีชีวิตกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ จําแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่
มีดอก จําแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะของสัตว์มีกระดูกสัน
หลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ําสะเทินบก กลุ่มสัตว์เล้ือยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม
ตัวอย่างของสัตว์ในแต่ละกลุ่ม สมบัติทางกายภาพของวัสดุ การนําสมบัติของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจําวันสมบัติทาง
กายภาพของวัสดุ ด้านความแข็ง ความยืดหยุ่น การนําความร้อน การนําไฟฟ้า สมบัติของสสาร มวล และ
ปริมาตรของสสาร เคร่ืองมือที่ใช้วัดมวลและปริมาตรของสสาร ผลของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อวัตถุ การใช้เครื่องชั่ง
สปริง มวลของวัตถุกับการเคล่ือนท่ีของวัตถุ วัตถุท่ีเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง วัตถุทึบแสง และ
ลักษณะการมองเห็นผ่านวัตถุ แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์ การเปล่ียนแปลงและการพยากรณ์
รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ องค์ประกอบของระบบสุริยะ และการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ โดยใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล เปรียบเทียบ
ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ การอธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจําลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน มีจิต
วิทยาศาสตร์ มีจริยธรรม คณุ ธรรมและค่านยิ มทเี่ หมาะสม
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การทํางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย การ
ออกแบบ การอธิบาย และเขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ หรอื ส่อื และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข
ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม ประเมิน นําเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ท่ีหลากหลาย เพื่อ
แก้ปัญหาในชีวิตประจําวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิของ
ผอู้ ืน่
ศึกษาพืชที่พบในบริเวณโรงเรียน วัด ริมคลองชลประทาน และรอบๆชุมชน เก็บข้อมูลพืช และสัตว์ ท่ี
พบในบรเิ วณต่างๆ สํารวจวัสดุอุปกรณ์ เครอื่ งมือที่ใชใ้ นชวี ติ ประจําวัน
รหัสตัวชวี้ ัด
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวมท้งั หมด ๒๑ ตัวช้ีวัด
หลกั สูตรโรงเรยี นวัดบุพนมิ ติ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๓๒
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ คําอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษา วิเคราะห์ โครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิต การดํารงชีวิต ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตกับการ
ดํารงชีวิต การปรับตัวของส่ิงมีชีวิตในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต โซ่อาหาร หน้าที่ของสิ่งมีชีวิตท่ีเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภค คุณค่าของ
ส่ิงแวดล้อมท่ีมีต่อการดํารงชีวิต การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูก
ลักษณะท่ีคล้ายคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่ การเปล่ียนสถานะของสสาร การละลายของสารในนํ้าการ
เปลี่ยนแปลงของสารเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปล่ียนแปลงที่ผันกลับได้และการเปลี่ยนแปลงท่ีผัน
กลับไม่ได้ แรงท่ีกระทําต่อวัตถุ แรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกัน การใช้เครื่องช่ังสปริงวัดแรงที่กระทําต่อ
วัตถุ แรงเสียดทาน แรงเสียดทานและแรงที่กระทําต่อวัตถุในแนวเดียวกัน เสียงและการได้ยินเสียง การเกิดเสียง
สูง เสียงตํ่า เสียงค่อย การวัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดับเสียง การหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสียง ดาว
เคราะห์และดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว ตําแหน่งและเส้นทางการข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ แบบรูปเส้นทางการ
ขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี ปริมาณนํ้าในแต่ละแหล่งน้ํา คุณค่าของน้ํา การใช้น้ําอย่าง
ประหยัดและการอนุรักษ์นํ้า วัฏจักรนํ้า กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ําค้าง และนํ้าค้างแข็ง การเกิดฝน หิมะ และ
ลูกเห็บ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ
เปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ การอธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจําลอง เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน
มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การทํางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่ายการ
ออกแบบ อธิบาย และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้
อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสารและทํางานร่วมกัน ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล รวบรวม นําเสนอ
ข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเตอร์เน็ต เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจําวัน ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบ
ข้อมลู หรือบคุ คลทไี่ มเ่ หมาะสม
ศึกษาลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของตนเองและครอบครัว สํารวจแหล่งน้ําต่าง ๆ ในท้องถ่ินเก็บ
ขอ้ มูลแหล่งนํ้าในท้องถ่นิ ในจังหวัด และจังหวัดใกล้เคยี ง เช่นคลองชลประทาน แมน่ ํ้าปัตตานี
หลกั สูตรโรงเรียนวัดบพุ นิมิต (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๓๓
รหสั ตวั ชวี้ ัด
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
รวมทงั้ หมด ๓๒ ตวั ชว้ี ดั
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บุพนิมติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๓๔
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
คําอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษา วิเคราะห์ สารอาหาร ประโยชน์ของสารอาหาร การเลือกรับประทานอาหารท่ีเหมาะสมกับ
เพศและวัย และความปลอดภัยต่อสุขภาพ ระบบย่อยอาหาร หน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร การย่อย
อาหารและการดูดซึมสารอาหาร ความสําคัญของระบบย่อยอาหาร การดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหาร การ
แยกสารผสม การหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน การแยกสาร
ในชีวิตประจําวัน การเกิดแรงไฟฟ้าจากการขัดถูของวัตถุ ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย การต่อวงจรไฟฟ้า
อนุกรมและแบบขนาน การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและขนาน การเกิดเงามืด เงามัว สุริยุปราคา และ
จันทรุปราคา พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศและการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน การเกิดหินอัคนี หินตะกอน
และหินแปร วัฏจักรหิน ประโยชน์ของหินและแร่ในชีวิตประจําวัน การเกิดซากดึกดําบรรพ์ สภาพแวดล้อมในอดีต
การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม ผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย ลักษณะและผลกระทบของนํ้า
ท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม สึนามิ แผ่นดินไหว ผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย การปฏิบัติตน
ให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ การเกิดแก๊สเรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจก ผลกระทบจากปรากฏการณ์
เรือนกระจก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ การอธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจําลอง เพ่ือให้เกิด
ความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรู้ไปใช้ใน
ชวี ิตประจําวัน มจี ิตวทิ ยาศาสตร์มีจริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมท่เี หมาะสม
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การทํางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย ออกแบบ
และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหา
ความรู้ รวบรวม ประเมิน นําเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ท่ีหลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจาํ วัน ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เข้าใจสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของตน เคารพในสทิ ธิของผอู้ ่นื
สํารวจอาหารทน่ี กั เรียนรบั ประทานทโี่ รงเรียน ทบ่ี า้ น รา้ นค้าในทอ้ งถน่ิ วา่ มสี ารอาหารประเภทใดเปน็
ส่วนประกอบ ศึกษาหินท่ีพบในบริเวณต่างๆ เช่นบนภูเขา ริมถนน ริมคลองชลประทานในท้องถ่ิน และในเขต
จังหวัดใกล้เคียง สํารวจถ้ําที่วัดถ้ําคูหาภิมุข ที่จังหวัดยะลาตรวจสอบซากดึกดําบรรพ์ท่ี เก็บข้อมูลภัยธรรมชาติและ
ธรณีพิบัติภัยที่อาจเกิดในท้องถ่ิน หรือจังหวัดใกล้เคียง เช่นพายุ น้ําท่วม ตรวจสภาพหรือเหตุการณ์ในท้องถ่ินที่
เกิดจากผลผลกระทบของปรากฏการณเ์ รอื นกระจก
มีความสามารถในการคิด คิดพื้นฐาน คิดขั้นสูง ได้แก่ คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และมี
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ได้แก่ เลือกและใช้เทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาตนเองและสังคม และมีทักษะกระบวนการ
ทางเทคโนโลยี
หลักสตู รโรงเรยี นวัดบุพนิมิต (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๓๕
รหสั ตวั ชว้ี ัด
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวมท้งั หมด ๓๐ ตัวชีว้ ัด
หลักสตู รโรงเรียนวดั บุพนมิ ติ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๓๖
คําอธิบายรายวิชาเพมิ่ เตมิ
รหสั วชิ า ว ๑๑๒๐๑ ชื่อรายวิชา วิทยาการคํานวณ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
คําอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและฝึกทักษะในการแก้ปัญหาโดยใช้ข้ันตอนการแก้ปัญหาอย่างง่าย การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา
โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์ การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ การใช้
งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบื้องต้น การใช้งานซอฟต์แวร์เบ้ืองต้นการสร้าง จัดเก็บ และเรียกใช้ไฟล์ตามวัตถุประสงค์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์ การใช้งานเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างเหมาะสม
ผลการเรยี นรู้
๑. แกป้ ญั หาอย่างงา่ ยโดยใชก้ ารลองผดิ ลองถูก การเปรยี บเทียบ
2. แสดงลําดบั ขัน้ ตอนการทํางานหรอื การแก้ปญั หาอย่างง่ายโดยใชภ้ าพ สัญลกั ษณ์ หรอื ข้อความ
3. เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ยโดยใช้ซอฟตแ์ วร์หรือสือ่
4. ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ ง จัดเก็บ เรียกใชข้ อ้ มลู ตามวตั ถปุ ระสงค์
5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันดูแลรักษา
อปุ กรณเ์ บือ้ งตน้ ใชง้ านอย่างเหมาะสม
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนวดั บพุ นมิ ติ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๓๗
คําอธบิ ายรายวิชาเพ่มิ เตมิ
รหสั วิชา ว ๑๒๒๐๑ ชอื่ รายวชิ า วทิ ยาการคาํ นวณ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาและฝึกทักษะในการแก้ปัญหาโดยใช้การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหาทําได้โดยการเขียน บอกเล่า
วาดภาพ หรอื ใชส้ ัญลกั ษณ์ ปญั หาอยา่ งง่าย เช่น เกมตัวตอ่ 6 - 12 ช้ิน การแต่งตัวมาโรงเรียน เขียนโปรแกรมส่ัง
ให้ตัวละคร ทํางานตามที่ต้องการ และตรวจสอบข้อผิดพลาดปรับแก้ไขให้ได้ผลลัพธ์ตามที่กําหนด การตรวจหา
ข้อผิดพลาดทําได้โดยตรวจสอบคําส่ังที่แจ้ง ข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่ต้องการ ให้ตรวจสอบ
การทํางานทีละคําสั่ง ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่นใช้บัตรคําส่ังแสดงการเขียนโปรแกรม
Code.org
การใช้งานซอฟต์แวร์เบ้ืองต้น การสร้าง คัดลอก ย้าย ลบ เปลี่ยนช่ือ จัดหมวดหมู่ไฟล์ และโฟลเดอร์อย่าง
เป็นระบบจะทําให้เรียกใช้ ค้นหาข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว การการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติ
ในการใชง้ านและการดแู ลรักษาอุปกรณ์
ผลการเรียนรู้
1. แสดงลําดบั ขน้ั ตอนตอนการทํางาน หรือการแกป้ ญั หาอย่างงา่ ย โดยใชภ้ าพ สญั ลักษณ์หรอื ข้อความ
๒. เขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รอื สอื่ และตรวจหาข้อผดิ พลาด ของโปรแกรม
๓. ใช้เทคโนโลยใี นการสร้าง จัดหมวดหมู่ คน้ หาจัดเกบ็ เรยี กใชข้ อ้ มลู ตามวตั ถปุ ระสงค์
๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัย ปฏิบัติตาม ข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกัน ดูแลรักษา
อุปกรณ์ เบอื้ งตน้ ใช้งานอย่าง เหมาะสม
รวมทงั้ หมด 4 ผลการเรียนรู้
หลักสตู รโรงเรียนวดั บุพนมิ ติ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๓๘
คําอธบิ ายรายวิชาเพม่ิ เตมิ
รหัสวชิ า ว ๑๓๒๐๑ ช่ือรายวชิ า วิทยาการคํานวณ กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๔๐ ช่วั โมง
คาํ อธบิ ายรายวิชา
ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกับการใช้อัลกอริทึมเป็นขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหา การแสดงอัลกอริทึมทําได้
โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพหรือใช้สัญลักษณ์ การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลําดับของคําส่ังให้
คอมพิวเตอร์ทํางาน การตรวจหาข้อผิดพลาดทําได้โดยตรวจสอบคําส่ังท่ีแจ้ง ข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่
เป็นไปตามท่ตี ้องการให้ ตรวจสอบการทํางานทีละคาํ สง่ั ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียน เว็บเบราว์เซอร์
เป็นโปรแกรมสําหรับอ่านเอกสารบนเว็บเพจ การสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตทําได้โดยใช้เว็บไซต์สําหรับสืบค้น
และต้องกําหนดคําค้นท่ีเหมาะสมจึงจะได้ข้อมูลตามต้องการ การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ในการดูแล
ของครู หรือผู้ปกครอง การรวบรวมข้อมูลทําได้โดยกําหนดหัวข้อที่ต้องการ เตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก การ
ประมวลผลอย่างง่าย การนําเสนอข้อมูลทําได้หลายลักษณะตามความเหมาะสม การใช้ซอฟต์แวร์ทํางานตา
วัตถุประสงค์ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครองเม่ือเกิดปัญหา
จาก การใช้งาน เม่ือพบข้อมูลหรือบุคคลท่ีทําให้ไม่สบายใจ การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตจะทําให้
ไม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผอู้ นื่ ข้อดแี ละขอ้ เสยี ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลการเรียนรู้
1. แสดงอลั กอริทมึ ในการทํางาน หรอื การแก้ปญั หาอย่างงา่ ย โดยใชภ้ าพ สัญลักษณห์ รอื ข้อความ
2. เขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรอื สือ่ และตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม
3. ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ คน้ หาความรู้
4. รวบรวม ประมวลผลและนาํ เสนอขอ้ มลู โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ตามวตั ถุประสงค์
5. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลงในการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรยี นรู้
หลกั สูตรโรงเรียนวดั บุพนิมิต (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๓๙
คาํ อธบิ ายรายวิชาเพิ่มเตมิ
รหสั วิชา ว ๑๔๒๐๑ ชอ่ื รายวิชา วทิ ยาการคาํ นวณ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คาํ อธบิ ายรายวิชา
ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกับการใช้อัลกอริทึมเป็นข้ันตอนท่ีใช้ในการแก้ปัญหา การแสดงอัลกอริทึมทําได้
โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพหรือใช้สัญลักษณ์ การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลําดับของคําสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทํางาน การตรวจหาข้อผิดพลาดทําได้โดยตรวจสอบคําส่ังที่แจ้ง ข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่
เปน็ ไปตามทตี่ ้องการให้ ตรวจสอบการทํางานทีละคาํ ส่ัง ซอฟต์แวร์หรือส่ือท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรม
อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ ช่วยให้การติดต่อสื่อสารทําได้สะดวกและรวดเร็ว เป็นแหล่งข้อมูลความรู้ที่
ช่วย ในการเรียนและการดําเนินชีวิต เว็บเบราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสําหรับอ่านเอกสารบนเว็บเพจ การสืบค้น
ข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตทําได้โดยใช้เว็บไซต์สําหรับสืบค้นและต้องกําหนดคําค้นที่เหมาะสมจึงจะได้ข้อมูลตาม
ต้องการ การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ในการดูแลของครู หรือผู้ปกครอง การรวบรวมข้อมูลทําได้โดย
กําหนดหัวข้อที่ต้องการ เตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก การประมวลผลอย่างง่าย การนําเสนอข้อมูลทําได้หลาย
ลักษณะตามความเหมาะสม การใช้ซ้อฟแวร์ทํางานตามวัตถุประสงค์ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครองเมื่อเกิดปัญหาจาก การใช้งาน เม่ือพบข้อมูลหรือบุคคลท่ีทําให้ไม่สบายใจ
การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตจะทําให้ ไม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผู้อ่ืน ข้อดีและข้อเสียใน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
ผลการเรยี นรู้
๑. แสดงอัลกอรทิ มึ ในการทํางาน หรอื การแกป้ ัญหาอย่างงา่ ย โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรอื ขอ้ ความ
2. เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใช้ซอฟตแ์ วร์หรอื สอื่ และตรวจหาข้อผิดพลาด ของโปรแกรม
3. ใชอ้ ินเทอร์เน็ตคน้ หาความรู้
4. รวบรวม ประมวลผล และนําเสนอข้อมูล โดยใช้ซอฟต์แวร์ท่ีหลากหลายเพื่อแก้ปัญหาใน
ชวี ิตประจาํ วัน
5. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ อยา่ งปลอดภยั ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลงในการใช้อนิ เทอรเ์ นต็
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู้
หลักสตู รโรงเรยี นวัดบุพนมิ ิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๔๐
คําอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม
รหัสวิชา ว ๑๕๒๐๑ ช่อื รายวิชา วทิ ยาการคาํ นวณ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
คาํ อธิบายรายวิชา
ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทํางานหรือการคาด
การผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย การตรวจหาข้อผิดพลาดในโปรแกรม
การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตและการใช้คําค้น การประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การ
ประมวลผลอย่างง่าย การวิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกการนําเสนอข้อมูล การส่ือสารอย่างมีมารยาทและรู้
กาลเทศะ การปกป้องข้อมูลสว่ นตัว
ผลการเรยี นรู้
1. ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปญั หา การอธิบายการทาํ งาน การคาดการณผ์ ลลพั ธ์จากปญั หาอยา่ งงา่ ย
2. ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรือสือ่ และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดและแกไ้ ข
3. ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ คน้ หาความรู้ และประเมนิ ความนา่ เชื่อถอื ของข้อมลู
4. รวบรวม ประเมิน นําเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ท่ีหลากหลายเพื่อแก้ปัญหาใน
ชวี ติ ประจาํ วนั
5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่นแจ้งผู้เก่ียวข้อง
เมื่อพบขอ้ มูลหรอื บุคคลทีไ่ มเ่ หมาะสม
รวมท้งั หมด ๕ ผลการเรยี นรู้
หลกั สูตรโรงเรยี นวดั บุพนิมิต (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๔๑
คาํ อธิบายรายวิชาเพมิ่ เตมิ
รหัสวชิ า ว ๑๖๒๐๑ ชอื่ รายวชิ า วิทยาการคาํ นวณ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๔๐ ช่วั โมง
คาํ อธิบายรายวชิ า
ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกับการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทํางานหรือการคาด
การผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย การตรวจหาข้อผิดพลาดในโปรแกรม
การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตและการใช้คําค้น การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การ
ประมวลผลอย่างง่าย การวิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือก การนําเสนอข้อมูล การส่ือสารอย่างมีมารยาทและรู้
กาลเทศะ การปกปอ้ งข้อมลู ส่วนตวั
ผลการเรยี นรู้
๑. ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หาทพี่ บในชวี ิตประจําวัน
๒. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจําวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม
และแกไ้ ข
๓. ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ในการค้นหาขอ้ มูลอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทํางานร่วมกันอย่างปลอดภัยเข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิของ
ผ้อู ่ืน แจ้งผทู้ เ่ี กีย่ วข้องเมอ่ื พบข้อมลู หรอื บคุ คลท่ีไม่เหมาะสม
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้
หลักสตู รโรงเรยี นวัดบพุ นิมิต (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๔๒
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
หลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมติ พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) มคี ําอธิบาย
รายวชิ า ในรายวิชาพืน้ ฐาน และรายวชิ าเพิม่ เตมิ ดงั น้ี
รายวชิ าพ้ืนฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ จํานวน ๘๐ ช่ัวโมง
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จาํ นวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ จาํ นวน ๘๐ ช่ัวโมง
ส ๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จาํ นวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ จํานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษาฯ จาํ นวน ๘๐ ชว่ั โมง
ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จํานวน ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ จํานวน ๘๐ ชัว่ โมง
ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จาํ นวน ๔๐ ชวั่ โมง
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษาฯ จํานวน ๘๐ ชั่วโมง
ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จํานวน ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๑๒๐๒ การป้องกนั การทจุ รติ รายวิชาเพม่ิ เติม จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๒๒๐๒ การปอ้ งกนั การทุจรติ จํานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๓๒๐๒ การป้องกนั การทุจริต จาํ นวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๔๒๐๒ การปอ้ งกนั การทจุ รติ จาํ นวน ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๕๒๐๒ การปอ้ งกนั การทุจรติ จํานวน ๔๐ ชวั่ โมง
ส ๑๖๒๐๒ การปอ้ งกนั การทจุ ริต จาํ นวน ๔๐ ชัว่ โมง
หลักสูตรโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ิต (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๔๓
ส ๑๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาฯ คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๘๐ ช่วั โมง
คาํ อธิบายรายวิชา
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศึกษาพุทธประวัติ หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ ประวัติสาวก ชาดก / เร่ืองเล่าและศาสนิกชน
ตัวอย่าง ความสําคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือ หลักธรรม
ของศาสนาที่ตนนับถือ แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนา บําเพ็ญประโยชน์ต่อวัด
หรือศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนาตามที่กําหนด
การประกอบศาสนพิธีในท้องถิ่นท่ีตนนับถือ เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพ้ืนฐานของสมาธิใน
พระพุทธศาสนาหรือการพัฒนา จิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด ชื่นชมและปฏิบัติตนตาม
แบบอยา่ งการดาํ เนนิ ชวี ิตและ ขอ้ คดิ จากประวัติสาวก ชาดก / เรอ่ื งเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อย่างตามทีก่ ําหนด
หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดําเนนิ ชีวติ ในสังคม
ศึกษาโครงสร้าง บทบาท สิทธิและหน้าท่ีของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรียน ประโยชน์ของการ ปฏิบัติ
ตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน ความสามารถและความดีของตนเอง ผู้อื่น และบอกผล จากการกระ
ทํานั้น ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและโรงเรียน ร่วมในการตัดสินใจและทํากิจกรรมในครอบครัวและ
โรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย ปฏิบัติตนตามแบบอย่างที่ดีตามกฎกติกา หรือระเบียบ ของท้องถิ่น
ตาํ บล หมูบ่ ้าน หรอื สถานที่ตา่ ง ได้อย่างเหมาะสม
เศรษฐศาสตร์
ศึกษาถึงสินค้าและบริการท่ีใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจําวันท่ีไม่เกินตัว
เหตุผลความจําเป็นที่คนต้องทํางานอย่างสุจริต ใช้ทรัพยากรในชีวิตประจําวันอย่างประหยัดและเห็นประโยชน์ของ
การออม รู้จักใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างฉลาด มีจิตสาธารณะ ร่วมกิจกรรมในหมู่บ้าน ตําบลที่ตนอยู่อาศัย
อยูอ่ ย่าพอเพยี ง
ภมู ิศาสตร์
จําแนกสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ระบุความสัมพันธ์ของตําแหน่ง
ระยะ ทิศของส่ิงต่าง ๆ ใช้แผนผังแสดงตําแหน่งของสิ่งต่างๆ ในห้องเรียน สังเกตและบอกการ เปล่ียนแปลงของ
สภาพอากาศในรอบวนั
บอกส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ สังเกตและเปรียบเทียบการ
เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมเพื่อการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมที่บ้านและ
ห้องเรียน
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต สาธารณะ สามารถ
ดําเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ช้กบั ชีวิตประจําวนั ได้อย่าง ถกู ตอ้ งเหมาะสม
หลักสูตรโรงเรยี นวัดบุพนิมติ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๔๔
รหัสตวั ชี้วัด
ส๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ส๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ส๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส๓.๒ ป.๑/๑ ส๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ส๕.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
รวมทงั้ หมด ๒๔ ตัวช้ีวัด
หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนมิ ติ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๔๕
ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ คาํ อธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ชัว่ โมง
คําอธิบายรายวชิ า
ศึกษาและใช้ปฏิทินในการบอกวัน เดือน ปี ท่ีใช้ในชีวิตประจําวัน ซ่ึงมีทั้งระบบสุริยคติและจันทรคติ คําท่ี
แสดงช่วงเวลาเพื่อใช้เล่าเหตุการณ์ปัจจุบัน วันนี้ เดือนน้ี ตอนเช้า ตอนกลางวัน ตอนเย็น ตอนค่ํา และเรียงลําดับ
เหตุการณ์ในชีวิตประจําวันตามวันเวลาท่ีเกิดขึ้น โดยใช้ทักษะการสังเกต การบอกเล่า การเช่ือมโยง เพ่ือให้
สามารถใช้เวลาตามปฏทิ นิ แสดงเหตกุ ารณ์ในปจั จบุ ันและใช้คําแสดงชว่ งเวลาเรียงลําดับเหตกุ ารณท์ ี่เกิดข้นึ ได้
รู้วิธีสืบค้นประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัวอย่างง่ายๆโดยสอบถามผู้เกี่ยวข้องและการบอก
เล่าเรื่องราวท่ีสืบค้นได้ โดยใช้ทักษะการสอบถาม การรวบรวมข้อมูล การสรุปความ การเล่าเรื่อง เพื่อฝึกทักษะ
พื้นฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นเรื่องราวจากแหล่งข้อมูล(เช่นบุคคล)และบอกเล่า ข้อเท็จจริงที่
ค้นพบได้อย่างนา่ สนใจ
ศึกษาการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมส่ิงของเครื่องใช้หรือการดําเนินชีวิตของตนเองในสมัย
ปัจจุบัน กับสมัยของพ่อแม่ ปู่ย่า ตายายที่เป็นรูปธรรมและใกล้ตัวผู้เรียน เตารีด (การรีดผ้าด้วยเตาถ่านกับเตา
ไฟฟ้า) หม้อหุงข้าว (การหุงข้าวที่เช็ดนํ้าด้วยฟืนหรือถ่านกับหม้อหุงข้าวไฟฟ้า) เกวียนกับรถยนต์ (การเดินทาง)
ถนน บ้านเรือน การใช้ควายไถนากับรถไถนา รวมทั้งเหตุการณ์สําคัญของครอบครัวที่เกิดข้ึนในอดีตท่ีมีผลกระทบ
ต่อตนเองในปัจจุบัน ( การย้ายบ้าน การย้ายโรงเรียน การเล่ือนชั้นเรียน การได้รับรางวัล การสูญเสียบุคคลสําคัญ
ของครอบครัว) โดยใช้ทักษะการสังเกต การใช้เหตุผล การเปรียบเทียบ การแยกแยะ การยกตัวอย่าง และการ
บอกเล่า เพื่อให้เข้าใจการเปล่ียนแปลงตามกาลเวลาและความสําคัญของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคต สามารถ
ปรบั ตัวใหเ้ ข้ากบั วิถชี วี ติ ปจั จบุ นั ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ศึกษาความหมายและความสําคัญของสัญลักษณ์ของชาติไทย ได้แก่ ธงชาติ เพลงชาติ เพลงสรรเสริญพระ
บารมี ภาษาไทย อักษรไทย มารยาทไทย อาหารไทย การแต่งกายแบบไทย วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม
ประเพณีไทย และการปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกาลเทศะ รวมทั้งรู้จักสถานท่ีสําคัญซ่ึงเป็นแหล่งวัฒนธรรมในชุมชน
ศาสนสถาน ตลาด พิพิธภัณฑ์ และสิ่งท่ีเป็นความภาคภูมิใจในท้องถ่ิน ท่ีใกล้ตัวผู้เรียนและเห็นเป็นรูปธรรม โดยใช้
ทักษะการสังเกต การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล การอธิบาย การปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง เพ่ือก่อให้เกิดความ
รักและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ท้องถิ่น และประเทศชาติ ภูมิใจในสถาบันชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตรยิ ์ ตระหนักและเหน็ คณุ คา่ ทจี่ ะธาํ รงรกั ษาและสืบทอดต่อไป
รหสั ตวั ช้วี ัด
ส ๔.๑ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓
ส ๔.๒ ป ๑/๑ , ป ๑/๒
ส ๔.๓ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓
รวมท้งั หมด ๘ ตวั ชี้วัด
หลกั สตู รโรงเรยี นวดั บพุ นิมิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๔๖
คาํ อธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
รหัสวชิ า ส ๑๑๒๐๒ ช่ือวชิ า การปอ้ งกันการทุจรติ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คําอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ
ไมท่ นตอ่ การทุจรติ STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทจุ ริต รหู้ นา้ ทข่ี องพลเมืองและรับผดิ ชอบต่อสงั คมในการ
ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ
โดยใชก้ ระบวนการคดิ วเิ คราะห์ จําแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏิบัติจรงิ การทาํ โครงงานกระบวนการเรียนรู้
๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแกป้ ญั หา ทกั ษะการอา่ นและการเขยี น เพอื่ ให้มีความ
ตระหนกั และเห็นความสําคญั ของการตอ่ ต้านและการป้องกนั การทจุ รติ
ผลการเรียนรู้
๑. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. มีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ
๓. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั STRONG / จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต
๔. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั พลเมอื งและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
๕. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน กับผลประโยชน์สว่ นรวมได้
๖. ปฏิบัติตนเป็นผลู้ ะอายและไมท่ นตอ่ การทุจรติ ทุกรูปแบบ
๗. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผ้ทู ่ี STRONG / จติ พอเพียงต่อต้านการทจุ รติ
๘. ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าท่ีพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม
๙. ตระหนักและเห็นความสาํ คัญของการตอ่ ต้านและปอ้ งกันการทจุ ริต
รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้
หลักสตู รโรงเรียนวัดบุพนิมติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑