๙๘
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
โรงเรียนวัดบุพนิมิต ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยมุ่งให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ได้
ฝึกปฏิบัติจริงและค้นพบความถนัดของตนเอง สามารถค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติมตามความสนใจจากแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย บําเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม มีทักษะในการดําเนินงาน ส่งเสริมให้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ สังคม
ศีลธรรม จริยธรรม ใหผ้ เู้ รียนรู้จักและเข้าใจตนเอง สามารถวางแผนชวี ติ และอาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาการเรียนรู้อย่างรอบ
ด้านเพ่ือความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม
จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังให้สร้างจิตสํานึกของการทําประโยชน์เพ่ือสังคม สามรถจักการตนเองได้และอยู่
ร่วมกับผอู้ นื่ อยา่ งมคี วามสขุ โรงเรยี นวัดบพุ นิมิต ไดจ้ ัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน โดยแบง่ ออกเปน็ ๓ ลกั ษณะ ดงั นี้
๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ส่ิงแวดล้อม สามารถ
ตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กําหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่าง
เหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ท้ังยังเป็นกิจกรรมท่ีช่วยเหลือและให้คําปรึกษาแก่
ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน โดยนักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนว ๔๐ ช่ัวโมงต่อปี
การศึกษา
๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาระเบียบวินัย ความเป็นผู้นํา ผู้ตามท่ีดี ความรับผิดชอบ
การทํางานร่วมกัน รู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจท่ีเหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันเอ้ืออาทรและ
สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเอง
ในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผนประเมินและปรับปรุงการทํางานเน้นการ
ทํางานรวมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียนและบริบทของสถานศึกษาและ
ท้องถิ่น กิจกรรมนักเรียน ประกอบด้วย กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วม กิจกรรม
ลูกเสือ เนตรนารี ๓๐ ช่ังโมงต่อปีการศึกษา กิจกรรมชุมนุม นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรม ชมรม ๔๐
ชงั่ โมงต่อปีการศึกษา
๓. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนบําเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์
ต่อสังคม ชุมชนและท้องถ่ินตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม
ความเสียสละการมีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่างๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม นักเรียนทุกคนต้อง
เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชั่วโมงต่อปกี ารศึกษา
โครงสรา้ งและอตั ราเวลาการจดั กิจกรรม
ระดับประถมศกึ ษา
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒. กิจกรรมนักเรียน
๒.๑ ลูกเสอื -เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
๒.๒ กจิ กรรมชุมนมุ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๓. กจิ กรรมเพอ่ื สังคม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
และสาธารณประโยชน์
เวลาเรยี นรวม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
หลักสตู รโรงเรียนวดั บุพนิมติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๙๙
1. กิจกรรมแนะแนว
วัตถปุ ระสงค์
1) เพ่อื ผ้เู รียนคน้ พบความถนดั ความสามารถ ความสนใจของตนเอง รกั ละเหน็ คุณคา่ ในตนเองและผูอ้ น่ื
2) เพื่อให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้จากข้อมูล ข่าวสาร แหล่งเรียนรู้ ท้ังด้านการศึกษา อาชีพส่วนตัว สังคม
เพื่อนําไปใช้ในการวางแผน เลือกแนวทางการศึกษาอาชีพได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับศักยภาพ
ของตนเอง
3) เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นได้พฒั นาบคุ ลกิ ภาพ และรบั ตวั อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ
4) เพื่อให้ผเู้ รยี นมีความรู้ มที กั ษะ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ ในงานอาชีพและมีเจตคติท่ดี ีตอ่ อาชพี สจุ รติ
5) เพ่อื ให้ผเู้ รียนมีค่านยิ มทด่ี งี ามในการดําเนนิ ชวี ิต สรา้ งเสริมวินยั คุณธรรมและจริยธรรมแก่นักเรยี น
6) เพ่ือให้ผ้เู รียนมีจิตสํานึกในการรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติ
แนวการจัดกิจกรรม โรงเรยี นวดั บุพนมิ ติ ไดจ้ ัดกิจกรรมแนะแนวเพ่อื ช่วยเหลอื และพฒั นาผู้เรยี น ดังนี้
1) จัดกิจกรรมเพื่อให้ครูได้รู้จักและช่วยเหลือผู้เรียนมากขึ้น โดยใช้กระบวนการทางจิตวิทยา
การจัดบริการสนเทศ โดยให้มีเอกสารเพื่อใช้ในการสํารวจข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน ด้วยการสังเกต
สัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การเขียนประวัติ การพบผู้ปกครองก่อนและระหว่างเรียน การ
เยี่ยมบ้านนักเรียน การให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเร่ืองสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การจัดทําระเบียน
สะสม สมุดรายงานประจาํ ตวั นกั เรียน และบัตรสุขภาพ
2) การจัดกิจกรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ โดยทําแบบทดสอบเพ่ือรู้จักและเข้าใจตนเอง มีทักษะ
ในการตัดสินใจ การปรบั ตัว การวางแผนเพอื่ เลอื กศึกษาต่อ เลือกอาชีพ
3) การจัดบริการให้คําปรึกษาแก่ผู้เรียนรายบุคคล และรายกลุ่ม ในด้านการศึกษาอาชีพ และส่วนตัว
โดยมีผู้ให้คําปรึกษาท่ีมีคุณวุฒิ และมีความเช่ียวชาญในเร่ืองการให้คําปรึกษา ตลอดจนมีห้องให้
คําปรึกษาทเ่ี หมาะสม
๓.๑ ชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นทป่ี ระสบปัญหาด้านการเงนิ โดยการใหท้ นุ การศกึ ษาแกผ่ เู้ รยี น
๓.๒ ติดตามเกบ็ ขอ้ มูลของนกั เรยี นทีส่ ําเรจ็ การศกึ ษา
๒. กจิ กรรมนักเรียน
๑. กิจกรรมลูกเสือ
กิจกรรมลูกเสอื - เนตรนารี
ผู้เรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ทุกคน ได้ฝึกอบรมวิชาลูกเสือ - เนตรนารี เพ่ือส่งเสริม
หลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ส่งเสริมความสามัคคี มีวินัย และ
บําเพญ็ ประโยชน์ตอ่ สงั คม โดยดําเนินการจดั กิจกรรมตามขอ้ กําหนดของคณะกรรมการลกู เสือแห่งชาติ
วตั ถุประสงค์
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๘ ได้กําหนดวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม เพ่ือพัฒนา
ลูกเสือท้ังทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรมให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และช่วยสร้างสรรค์
สังคม เพื่อให้เกิดความสามัคคี และความเจริญก้าวหน้า ทั้งนี้เพื่อความสงบสุข และความมั่งคงของประเทศชาติ
ตามแนวทางดงั ตอ่ ไปน้ี
1) ให้มนี ิสัยในการสังเกต จดจํา เช่ือฟัง และพ่ึงตนเอง
2) ให้มีความซอ่ื สตั ยส์ ุจริต มีระเบยี บวนิ ยั และเห็นอกเหน็ ใจผอู้ น่ื
3) ให้รจู้ กั บาํ เพ็ญตนเพ่ือสาธารณประโยชน์
4) ให้รจู้ ักทําการฝีมือและฝกึ ฝนการทํากิจกรรมตา่ งๆตามความเหมาะสม
5) ให้รูจ้ ักรักษาและส่งเสรมิ จารตี ประเพณี วัฒนธรรม และความมง่ั คงชองชาติ
หลักสตู รโรงเรยี นวดั บุพนิมิต (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๑๐๐
แนวการจัดกจิ กรรม
กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓
เปิดประชุมกอง ดําเนินการตามกระบานการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเน้นระบบหมู่ สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม ปิดประชุมกอง โดยให้ผู้เรียนศึกษา
และฝึกปฏิบัติดังนี้
1) เตรียมลูกเสือสํารอง นิยายเรื่อเมาคลี ประวัติการเร่ิมกิจกรรมลูกเสือสํารอง การทําความ
เคารพเป็นหมู่ (แกรนด์ฮาวล์) การทําความเคารพเป็นรายบุคคล การจับมือซ้าย ระเบียบ
แถวเบอื้ งต้น คาํ ปฏญิ าณ กฎ และคติพจน์ของลูกเสือสํารอง
2) ลูกเสือสํารองดาวดวงที่ ๑ , ๒ และ ๓ อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสํารวจ
การค้นหาธรรมชาติ ความปลอดภัย บริการ ธง และประเทศต่างๆ การฝีมือ กิจกรรม
กลางแจ้ง การบันเทิง การผูกเงื่อน คําปฏิญาณ และกฎของลูกเสือสํารองโดยใช้กระบาน
การทํางาน กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการจัดการ กระบวนการ
คิดริเร่ิม สร้างสรรค์ กระบวนการฝึกปฏิบัติ ทางลูกเสือ กระบวนการทางเทคโนโลยี
และภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ได้อย่างเหมาะสม
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของ
ลูกเสือสํารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจํา เช่ือฟัง และพึ่งตนเอง ซื่อสัตย์ สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอก
เห็นใจผู้อ่ืน บําเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน์ รู้จักทําการฝีมือ พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ท้ังนี้โดยไม่
เก่ียวข้องกับลัทธิทางการเมืองใดๆ สนใจและอนุรักษ์ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม นําไปใช้ในชีวิตประจําวันได้อย่าง
มปี ระสทิ ธิภาพ
กจิ กรรมลูกเสอื - เนตรนารี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔-๖
เปิดประชุมกอง ดําเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเน้นระบบหมู่ สรุปการปฏิบัติกิจกรรม ปิดประชุมกอง โดยให้ผู้เรียนศึกษา
และปฏบิ ัติในเร่อื ง
1) ลูกเสือตรี ความรู้เกี่ยวกับขบวนการลูกเสือ คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามัญ กิจกรรม
กลางแจง้ ระเบียบแถว
2) ลูกเสือโท การรู้จักดูแลตนเอง การช่วยเหลือผู้อ่ืน การเดินทางไปยังสถานท่ีต่างๆ ทักษะ
ทางวิชาลกู เสือ งานอดิเรกและเร่ือทน่ี ่าสนใจ คาํ ปฏิญาณ และกฎของลูกเสือ ระเบียบแถว
3) ลูกเสือเอก การพึ่งพาตนเอง การบริการ การผจญภัย วิชาการของลูกเสือ ระเบียบแถว
โดยใช้กระบวนการทํางาน กระบวนการแก้ปัญหา ระบวนการกลุ่ม กระบวนการจัดการ
กระบวนการคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ กระบวนการฝึกปฏิบัติทางลูกเสือ กระบวนการทาง
เทคโนโลยี และภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของ
ลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจํา เชื่อฟัง และพ่ึงตนเอง ซื่อสัตย์ สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอก
เห็นใจผู้อื่น บําเพ็ญตนเพ่ือสารธารณประโยชน์ รู้จักทําการฝีมือ พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ทั้งนี้โดยไม่
เกี่ยวข้องกับลัทธิทางการเมืองใดๆ สนใจและอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และนําไปใช้ในชีวิตประจําวันได้
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
หมายเหตุ ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม และผ่านการทดสอบแล้ว จะได้รับเครื่องหมายลูกเสือตรี ลูกเสือโท และ
ลูกเสอื เอก
หลกั สูตรโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ิต (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๑๐๑
๒.กิจกรรมชุมนมุ
วตั ถปุ ระสงค์
1) เพ่ือให้ผู้เรียนได้ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามความสนใจ ความถนัด และความตอ้ งการของตน
2) เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิด
ประสบการณ์ท้ังทางวชิ าการและวิชาชพี ตามศกั ยภาพ
3) เพื่อสง่ เสริมให้ผเู้ รียนใชเ้ วลาใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและสว่ นรวม
4) เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นทาํ งานร่วมกับผู้อืน่ ได้ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย
แนวการจัดกิจกรรม
การจัดกิจกรรมตามความสนใจ (ชุมนุม) ผู้เรียนสามารถเลือกเข้าเป็นสมาชิกชมรม วางแผนการดําเนิน
กิจกรรมร่วมกัน โดยมีชมรมที่หลากหลาย เหมาะสมกับเพศ วัย และความสนใจของผู้เรียน ประกอบด้วยกิจกรรม
ด้านคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมประชาธิปไตย ส่งเสริมการเรียนรู้ และค่าย
วชิ าการ การศกึ ษาดูงาน การฝึกปฏิบัติ การบรรยายพิเศษดังตัวอยา่ งพอสังเขปตอ่ ไปน้ี
๑) กิจกรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ ศีลธรรมและจริยธรรม จัดสอนจริยธรรมในห้องเรียน
จัดให้มีการปฏิบัติกิจกรรมเนื่องในวันสําคัญทั้งทางชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยผู้เรียนมี
ส่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมทงั้ ในด้านวฒั นธรรม ประเพณี กฬี า และศลี ปะ
2) กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต จัดกิจกรรมแข่งขันกีฬาสีทุกช่วงชั้น โดยผู้เรียนได้ฝึกทักษะการ
ทํางาน และการแกป้ ญั หาทุกขน้ั ตอน
3) กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการทํางาน จัดกิจกรรมวันวิชาการโดยผู้เรียนมีโอกาสปฏิบัติจริง และ
ฝกึ ทักษะการจัดการ
4) กิจกรรมเพ่ืออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม โดยจัดกิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมไทย เช่น
ประเพณไี หว้ครู ประเพณีลอยกระทง
5) กิจกรรมส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย จัดให้มีการเลือกคณะกรรมการนักเรียน
โดยให้นํากระบวนการประชาธิปไตยไปใชใ้ นการร่วมวางแผนดําเนนิ งานพฒั นาโรงเรยี น
๖) กิจกรรมคนดีของสังคม จัดให้มีการบรรยายให้ความรู้ เพ่ือป้องกันปัญหาโรคติดต่อร้ายแรง
ปญั หายาเสพติด ปัญหาวัยรนุ่ ใหค้ วามร้เู พอ่ื ปลกู ฝงั ใหเ้ ปน็ สุภาพบุรุษ สภุ าพสตรี
๗) กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ โดยจัดแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการทางภาษา
ห้องปฏบิ ัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ ห้องเทคโนโลยสี ารสนเทศ
๘) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัย ให้บริการห้องพยาบาล มีบริการให้ความรู้แก่ผู้เรียน เพ่ือ
ป้องกนั โรคระบาดอย่างทนั เหตุการณ์
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บพุ นมิ ติ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๑๐๒
๓. กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์
วตั ถปุ ระสงค์
1) เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นบาํ เพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ครอบครวั โรงเรยี น ชุมชน และประเทศชาติ
2) เพื่อให้ผู้เรียนออกแบบกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ตามความถนัด
และความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร
3) เพ่ือให้ผู้เรียนพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
4) เพ่ือให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จนเกิดคุณธรรม จริยธรรมตาม
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
5) เพ่ือให้ผู้เรยี นมีจติ สาธารณะและใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์
แนวการจดั กิจกรรม
การจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทําประโยชน์
ตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม
ความเสียสละต่อสังคม มีจิตใจมุ่งทําประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชนและสังคมกิจกรรมสําคัญ ได้แก่ กิจกรรม
บําเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม กิจกรรมดํารงรักษา สืบสาน ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กิจกรรม
พัฒนานวตั กรรมและเทคโนโลยี
เวลาเรียนสําหรับกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ รวม ๖ ปี จํานวน ๖๐ ชั่วโมง(เฉล่ียปีละ ๑๐
ชวั่ โมง)
การจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ในระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ เป็นการจัดกิจกรรม
ภายในเวลาเรียน โดยให้ผู้เรียนรายงานแสดงกรเข้าร่วมกิจกรรมลงในสมุดบันทึก และมีผู้รับรองผลการเข้าร่วม
กิจกรรมทกุ ครงั้
แนวทางการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
โรงเรยี นวดั บุพนมิ ติ กาํ หนดแนวทางในการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนดังน้ี
๑. การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนรายกจิ กรรม มแี นวทางปฏิบตั ิดังนี้
๑.๑ การตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียน
ตลอดปีการศกึ ษา
๑.๒ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิ้นงานของผู้เรียน
ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกผลการเรียนรู้ และผ่านทุกผลการเรียนรู้ โดยแต่ละผลการเรียนรู้
ผ่านไมน่ อ้ ยกล่าร้อยละ ๕๐ หรือมคี ณุ ภาพในระดบั ๑ ข้นึ ไป
๑.๓ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ช้ินงานของผู้เรียนตาม
เกณฑ์ ข้อ ๑.๑ และข้อ ๑.๒ ถือว่าผู้เรียนมีผลการเรียน “ผ” ผ่านการประเมินกิจกรรมและนํา
ผลการประเมนิ ไปบนั ทึกในระเบยี นแสดงผลการเรียน
๑.๔ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานไม่เป็นไปตาม
เกณฑ์ ข้อ ๑.๑ และข้อ ๑.๒ ถือว่าผู้เรียนมีผลการเรียน “มผ” โรงเรียนต้องจัดซ่อมเสริมให้
ผู้เรียนทํากิจกรรมในส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วมหรือไม่ได้ทําจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลการเรียน
จาก “มผ” เป็น “ผ” และนาํ ผลการประเมินไปบันทึกในระเบยี นแสดงผลการเรียน
หลักสตู รโรงเรียนวัดบุพนมิ ิต (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑๐๓
๒. การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนเพอ่ื การตัดสนิ มแี นวปฏิบตั ดิ ังนี้
๒.๑ กําหนดให้ผู้รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของ
ผ้เู รยี นทุกคนตลอดระดับการศกึ ษา
๒.๒ ผู้รับผิดชอบสรุปและตัดสินการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียนเป็นรายบุคคลตาม
เกณฑท์ ่โี รงเรียนกําหนด ผเู้ รยี นจะตอ้ งผา่ นกิจกรรม ๓ กจิ กรรมสําคญั ดังนี้
๒.๒.๑ กจิ กรรมแนะแนว
๒.๒.๒ กจิ กรรมนกั เรยี น ไดแ้ ก่
๑. กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี
๒. กจิ กรรมชมุ นุม
๒.๒.๓ กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์
๒.๓ การนําเสนอผลการประเมินต่อคณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนา
ผเู้ รยี น
๒.๔ เสนอผู้บริหารโรงเรียนพิจารณาอนุมัติผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์การ
จบแต่ละระดบั การศกึ ษา
หลักสตู รโรงเรียนวัดบุพนิมติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๑๐๔
เกณฑ์การจบการศึกษา
หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมิต พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กําหนดเกณฑ์สาํ หรบั การจบการศกึ ษา ดังนี้
เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
๑. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติมตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนด และมีผลการ
ประเมินรายวิชาพื้นฐานผา่ นทกุ รายวชิ า
๒. ผเู้ รยี นต้องมผี ลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ระดบั “ผา่ น” ข้ึนไป
๓. ผ้เู รยี นมผี ลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั “ผ่าน” ขน้ึ ไป
๔. ผเู้ รียนต้องเขา้ ร่วมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นและได้รับการตดั สินผลการเรียน “ผา่ น” ทุกกจิ กรรม
การจดั การเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสําคัญในการนําหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน เป็นหลักสูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็น
เป้าหมายสาํ หรบั พฒั นาเดก็ และเยาวชน
ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระท่ีกําหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมท้ังปลูกฝัง
เสริมสร้างคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ พฒั นาทักษะต่างๆ อันเป็นสมรรถนะสาํ คัญใหผ้ ู้เรยี นบรรลตุ ามเปา้ หมาย
๑. หลักการจดั การเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสําคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กําหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมี
ความสําคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คํานึงถึงความ
แตกตา่ งระหว่างบุคคลและพฒั นาการทางสมองเน้นใหค้ วามสาํ คัญท้ังความรู้ และคุณธรรม
๒. กระบวนการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เป็น
เคร่ืองมือท่ีจะนําพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ท่ีจําเป็นสําหรับผู้เรียน อาทิ
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการ
เผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทําจริง
กระบวนการจดั การ กระบวนการวิจยั กระบวนการเรยี นรกู้ ารเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลกั ษณะนสิ ยั
กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะ
สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอน จึงจําเป็นต้องศึกษาทําความ
เข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อใหส้ ามารถเลือกใช้ในการจดั กระบวนการเรียนร้ไู ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓. การออกแบบการจดั การเรียนรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สมรรถนะสําคัญของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการ
จัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพ่ือให้ผู้เรียนได้
พัฒนาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลุตามเป้าหมายท่กี าํ หนด
หลักสูตรโรงเรยี นวดั บพุ นิมิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๑๐๕
๔. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียนควรมีบทบาท
ดงั นี้
๔.๑ บทบาทของผูส้ อน
๑) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนําข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ที่
ท้าทายความสามารถของผู้เรยี น
๒) กําหนดเป้าหมายท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่เป็น
ความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพนั ธ์ รวมท้ังคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ
พฒั นาการทางสมอง เพือ่ นาํ ผู้เรียนไปสเู่ ปา้ หมาย
๔) จดั บรรยากาศท่ีเออื้ ต่อการเรยี นรู้ และดูแลช่วยเหลือผเู้ รียนให้เกดิ การเรียนรู้
๕) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นําภูมิปัญญาท้องถ่ิน เทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมมาประยุกตใ์ ช้ในการจัดการเรยี นการสอน
๖) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชา
และระดบั พัฒนาการของผเู้ รยี น
๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังปรับปรุงการจัดการ
เรยี นการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบาทของผู้เรยี น
๑) กาํ หนดเปา้ หมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรยี นรขู้ องตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตั้งคําถาม คิดหา
คําตอบหรือหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธกี ารต่างๆ
๓) ลงมือปฏบิ ัติจรงิ สรุปสิ่งทไี่ ด้เรียนรดู้ ้วยตนเอง และนําความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นสถานการณ์ตา่ งๆ
๔) มีปฏิสัมพันธ์ ทาํ งาน ทํากจิ กรรมรว่ มกับกลมุ่ และครู
๕) ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอยา่ งต่อเนื่อง
สอ่ื การเรยี นรู้
สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้
ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่ือการเรียนรู้มี
หลากหลายประเภท ทั้งส่ือธรรมชาติ สื่อส่ิงพิมพ์ ส่ือเทคโนโลยี และเครือข่าย การเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น การ
เลือกใชส้ ่ือควรเลือกให้มคี วามเหมาะสมกบั ระดับพฒั นาการ และลลี าการเรยี นรทู้ ่หี ลากหลายของผู้เรียน
การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทําและพัฒนาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมี
คุณภาพจากส่ือต่างๆ ท่ีมีอยู่รอบตัวเพื่อนํามาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
สถานศกึ ษา เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งและผู้มหี น้าที่จดั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ควรดําเนินการดังนี้
๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์ส่ือการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย
การเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปล่ียนประสบการณ์
การเรียนรู้ ระหว่างสถานศกึ ษา ท้องถิน่ ชุมชน สังคมโลก
๒. จัดทําและจัดหาส่ือการเรียนรู้สําหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมท้ังจัดหา
สิง่ ท่ีมีอยูใ่ นท้องถิน่ มาประยุกต์ใชเ้ ป็นส่อื การเรียนรู้
หลักสตู รโรงเรียนวัดบุพนมิ ติ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๑๐๖
๓. เลือกและใช้ส่ือการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวิธีการ
เรยี นรู้ ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกตา่ งระหว่างบุคคลของผูเ้ รยี น
๔. ประเมินคุณภาพของส่อื การเรียนรูท้ ่ีเลอื กใชอ้ ย่างเป็นระบบ
๕. ศึกษาคน้ คว้า วิจยั เพอ่ื พฒั นาส่ือการเรยี นรใู้ ห้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน
๖. จัดให้มีการกํากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้ส่ือ
การเรียนรเู้ ป็นระยะๆ และสมํ่าเสมอ
ในการจัดทํา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพส่ือการเรียนรู้ท่ีใช้ในสถานศึกษา ควรคํานึงถึงหลักการ
สําคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เน้ือหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความม่ันคงของชาติ ไม่ขัดต่อ
ศลี ธรรม มกี ารใช้ภาษาทีถ่ ูกต้อง รปู แบบการนาํ เสนอทเี่ ขา้ ใจง่าย และนา่ สนใจ
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมินเพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสําเร็จนั้น
ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ
สําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซ่ึงเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุก
ระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผ
ลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศท่ีแสดง
พัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสําเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการ
ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกดิ การพัฒนาและเรยี นรู้อย่างเต็มตามศกั ยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับ
เขตพนื้ ท่กี ารศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอยี ด ดงั น้ี
๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน
ดําเนินการเป็นปกติและสมํ่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การ
ซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินช้ินงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การ
ใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพ่ือน
ผปู้ กครองร่วมประเมนิ ในกรณที ีไ่ มผ่ า่ นตัวชว้ี ดั ให้มกี ารสอนซอ่ มเสริม
การประเมินระดับช้ันเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อัน
เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีส่ิงท่ีจะต้องได้รับการพัฒนา
ปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งน้ีโดย
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชีว้ ดั
๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินท่ีสถานศึกษาดําเนินการเพื่อตัดสินผล การเรียนของ
ผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากน้ีเพ่ือให้ได้ข้อมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมท้ังสามารถนําผลการเรียนของผู้เรียนใน
สถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ
การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการจัดทําแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัด
การศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พน้ื ฐาน ผปู้ กครองและชมุ ชน
หลักสตู รโรงเรยี นวดั บุพนมิ ติ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๑๐๗
๓. การประเมินระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดําเนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทําและดําเนินการโดยเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือด้วยความร่วมมือ
กับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดําเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมิน
ระดับสถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
๔. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนท่ีเรียน ในชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาใน
ระดับต่าง ๆ เพื่อนําไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการ
ตัดสนิ ใจในระดบั นโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข
ส่งเสริมสนับสนุนเพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จําแนกตาม
สภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนท่ีมี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตํ่า กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนท่ีปฏิเสธโรงเรียน กลุ่ม
ผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึง
เป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดําเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปดิ โอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและ
ประสบความสําเร็จในการเรียน
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทําระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีเป็นข้อกําหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เพื่อให้บุคลากรทเี่ กีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายถอื ปฏิบตั ริ ่วมกัน
เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรยี น
๑. การตดั สนิ การให้ระดบั และการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตัดสนิ ผลการเรียน
ในการตัดสนิ ผลการเรยี นของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ การอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลกั ษณะ
อันพงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นน้ัน ผูส้ อนต้องคาํ นงึ ถึงการพฒั นาผูเ้ รยี นแตล่ ะคนเป็นหลกั และต้องเก็บ
ข้อมลู ของผู้เรยี นทุกด้านอย่างสม่าํ เสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมท้ังสอนซ่อมเสริมผเู้ รียนให้พัฒนาจนเต็ม
ตามศกั ยภาพ
ระดบั ประถมศึกษา
(๑) ผเู้ รียนต้องมเี วลาเรียนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้ังหมด
(๒) ผ้เู รียนตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ ทุกตัวช้วี ดั และผา่ นตามเกณฑท์ ่โี รงเรยี นกําหนด
(๓) ผเู้ รียนตอ้ งได้รับการตัดสินผลการเรยี นทุกรายวชิ า
(๔) ผูเ้ รียนต้องได้รับการประเมนิ และมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑ์ทโี่ รงเรยี นกาํ หนด ในการ
อา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การพิจารณาเล่ือนช้ัน ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า
สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนช้ันได้ แต่หากผู้เรียนไม่
ผ่านรายวิชาจํานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นท่ีสูงข้ึน สถานศึกษาอาจตั้ง
คณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซาํ้ ชัน้ ได้ ท้ังน้ใี ห้คาํ นึงถงึ วฒุ ภิ าวะและความร้คู วามสามารถของผู้เรยี นเป็นสําคัญ
หลกั สูตรโรงเรยี นวดั บุพนมิ ิต (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑๐๘
๑.๒ การให้ระดบั ผลการเรียน
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้ระดับผ
ลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ และระบบท่ี
ใช้คาํ สาํ คัญสะท้อนมาตรฐาน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ัน ให้ระดับผล การ
ประเมินเปน็ ดีเยีย่ ม ดี และผา่ น
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม
และผลงานของผูเ้ รียน ตามเกณฑ์ทีส่ ถานศกึ ษากาํ หนด และใหผ้ ลการเขา้ รว่ มกิจกรรมเปน็ ผ่าน และไมผ่ า่ น
๑.๓ การรายงานผลการเรยี น
การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้
ของผู้เรียน ซ่ึงสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทําเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะๆ หรือ
อย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ คร้งั
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดบั คุณภาพการปฏิบตั ิของผู้เรยี นทส่ี ะท้อนมาตรฐาน
การเรยี นรกู้ ลุม่ สาระการเรียนรู้
๒. เกณฑ์การจบการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กําหนดเกณฑ์กลางสําหรับการจบการศึกษาเป็น ๑ ระดับ คือ
ระดบั ประถมศกึ ษา
๒.๑ เกณฑก์ ารจบระดับประถมศึกษา
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ี
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐานกําหนด
(๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพ้ืนฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษา
กาํ หนด
(๓) ผเู้ รียนมผี ลการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี นในระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ
ตามท่สี ถานศึกษากําหนด
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากาํ หนด
(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากาํ หนด
สําหรับการจบการศึกษาสําหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสําหรับผู้มี
ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสําหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้คณะกรรมการ
ของสถานศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ดําเนินการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ใน
แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับกลุ่มเป้าหมาย
เฉพาะ
เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสําคัญท่ีบันทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศที่เก่ียวข้องกับ
พัฒนาการของผเู้ รียนในด้านตา่ ง ๆ แบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท ดังน้ี
๑. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาที่กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกําหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ
ผู้เรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
หลกั สูตรโรงเรยี นวัดบพุ นมิ ติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑๐๙
สถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารนี้ให้
ผูเ้ รียนเปน็ รายบคุ คล เมือ่ ผู้เรยี นจบการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา (ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖)
๑.2 แบบรายงานผู้สําเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อและ
ข้อมลู ของผจู้ บการศกึ ษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖)
๒. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาทส่ี ถานศึกษากาํ หนด
เป็นเอกสารท่ีสถานศึกษาจัดทําขึ้นเพ่ือบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสําคัญ เกี่ยวกับผู้เรียน
เช่น แบบรายงานประจําตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจํารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรียน
และ เอกสารอนื่ ๆ ตามวัตถุประสงคข์ องการนําเอกสารไปใช้
การเทียบโอนผลการเรยี น
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่างๆได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปล่ียน
รูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศ
และขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้
อืน่ ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝึกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษาโดยครอบครวั
การเทียบโอนผลการเรียนควรดําเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก ท่ี
สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ท้ังนี้ ผู้เรียนท่ีได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องใน
สถานศึกษาท่ีรับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกําหนด
รายวิชา/จํานวนหนว่ ยกิตที่จะรบั เทยี บโอนตามความเหมาะสม
การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดําเนินการได้ ดังนี้
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่นๆ ท่ีให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของ
ผู้เรยี น
๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผูเ้ รียนโดยการทดสอบดว้ ยวิธีการต่างๆ ทง้ั ภาคความรู้
และภาคปฏิบัติ
๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏบิ ตั ิในสภาพจริง
การเทียบโอนผลการเรียนให้เปน็ ไปตาม ประกาศ หรอื แนวปฏบิ ัติ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
การบรหิ ารจดั การหลักสตู ร
ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอํานาจให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรน้ัน
หน่วยงานต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับท้องถ่ิน จนถึงระดับสถานศึกษา มีบทบาทหน้าที่
และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริม การใช้และพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้การดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ
สงู สดุ อันจะส่งผลใหก้ ารพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาํ หนดไวใ้ นระดบั ชาติ
ระดับท้องถิ่น ได้แก่ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอื่น ๆ เป็นหน่วยงานท่ีมีบทบาทใน
การขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางท่ีจะเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานที่
กําหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น เพ่ือนําไปสู่การจัดทําหลักสูตรของ
สถานศึกษา ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความสําเร็จ โดยมีภารกิจสําคัญ
คือ กําหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในระดับท้องถ่ินโดยพิจารณาให้สอดคล้องกับส่ิงที่
เป็นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระ การเรียนรู้ท้องถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับท้องถ่ิน
รวมทั้งเพ่ิมพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน ส่งเสริม ติดตามผล
ประเมนิ ผล วเิ คราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผู้เรียน
หลักสูตรโรงเรียนวดั บุพนิมติ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๑๑๐
สถานศึกษามีหน้าท่ีสําคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดําเนินการใช้หลักสูตร
การเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรจัดทําระเบียบการวัด
และประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้อง กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน และรายละเอียดท่ีเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือหน่วยงาน สังกัดอื่นๆ ในระดับท้องถิ่นได้จัดทําเพิ่มเติม
รวมท้ัง สถานศึกษาสามารถเพ่ิมเติมในส่วนที่เก่ียวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ
ความตอ้ งการของผเู้ รียน โดยทุกภาคส่วนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ภาคผนวก
หลกั สตู รโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ติ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
สมรรถนะสาํ คัญของผเู้ รียนและตวั ชี้วัด
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
.........................
สมรรถนะท่ี 1 ความสามารถในการส่อื สาร มี 4 ตัวชี้วดั ดังนี้
ตวั ชว้ี ดั ที่ 1 ใชภ้ าษาถา่ ยทอดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด ความรูส้ ึก และทัศนะของตนเอง
ด้วยการพูดและการเขียน
พฤตกิ รรมบ่งชี้ 1 พูดถา่ ยทอดความรู้ ความเข้าใจจากสารทอ่ี ่าน ฟงั หรอื ดตู ามที่กาํ หนดได้
พฤติกรรมบ่งช้ี 2 พูดถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกและทัศนะของตนเองจากสาร ที่อ่าน ฟังหรือดู
ตามทก่ี าํ หนดได้
พฤติกรรมบ่งช้ี 3 เขียนถ่ายถอดความรู้ความเข้าใจจากสารท่ีอ่าน ฟังหรือดูตามจากเร่ืองที่
กําหนดใด้
พฤติกรรมบ่งช้ี 4 เขียนถ่ายทอดความคิดความรู้สึกและทัศนะของตนเองจากสารที่อ่าน ฟังหรือ
ดจู าก ทกี่ ําหนดได้
ตวั ชี้วดั ที่ 2 พดู เจรจาต่อรอง
พฤติกรรมบ่งชี้ 1 พูดเจรจา โน้มน้าวได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์เพ่ือขจัดและลดปัญหา
ความขัดแยง้ ตา่ งๆ
พฤติกรรมบ่งชี้ 2 พูดเจรจาต่อรองได้อย่างเหมะสมตามสถานการณ์เพ่ือขจัดและลดปัญหาความ
ขดั แย้งตา่ งๆ
ตัวชี้วดั ท่ี 3 เลอื กรบั หรือไมร่ บั ขอ้ มูลข่าวสาร
พฤตกิ รรมบง่ ช้ี 1 รับรู้ขอ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี ปน็ ประโยชน์
พฤตกิ รรมบง่ ช้ี 2 ตดั สินใจเลอื กรับหรอื ไม่รบั ขอ้ มูลข่าวสารไดอ้ ย่างมเี หตุผล
ตัวชีว้ ดั ที่ 4 เลอื กใช้วิธกี ารส่ือสาร
พฤติกรรมบ่งช้ี 1 เลือกใช้วิธีการสือสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง
และสงั คม
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถในการคิด มี 2 ตัวชว้ี ดั ดงั น้ี
ตัวชวี้ ัดที่ 1 คดิ พ้ืนฐาน (การคดิ วิเคราะห์)
พฤตกิ รรมบง่ ช้ี 1 จําแนกขอ้ มูล จดั หมวดหมจู่ ัดลําดับ ความสาํ คญั ของข้อมูล และ
เปรยี บเทยี บข้อมูลในบริบทท่เี ปน็ สงิ่ ใกลต้ วั
พฤติกรรมบง่ ชี้ 2 เชอื่ มโยงความสมั พันธข์ องข้อมลู ที่พบเหน็ ในบรบิ ทท่เี ปน็ ส่ิงใกล้ตวั
พฤตกิ รรมบ่งช้ี 3 ระบุรายละเอยี ดคณุ ลักษณะ และความคดิ รวบยอดของข้อมูลตา่ งๆ ท่ีพบ
เห็นในบริบทที่เปน็ สง่ิ ใกลต้ ัว
ตัวช้ีวดั ท่ี 2 คิดข้นั สูง (การคดิ สงั เคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ)
พฤติกรรมบ่งช้ี 1 คิดสังเคราะห์ เพื่อนําไปใช้สู่ การสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศ
ประกอบการตัดสนิ ใจเกี่ยวกับ ตนเอง และสังคมได้ อย่างเหมาะสม
พฤติกรรมบง่ ช้ี 2 คดิ อย่างสรา้ งสรรค์ เพอ่ื นาํ ไปสู่การสร้างองคค์ วามรใู้ หม่ หรือสารสนเทศ
ประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับ ตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม
พฤติกรรมบ่งชี้ 3 คิดอย่างมวี ิจารณญาณเพอื่ นําไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศ
ประกอบการตดั สินใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
หลกั สูตรโรงเรียนวดั บุพนมิ ติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สมรรถนะท่ี 3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา มี 2 ตวั ชี้วัด ดังน้ี
ตัวชี้วัดที่ 1 ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยวิเคราะห์ปัญหา วางแผนในการแก้ปัญหา ตรวจสอบและ
สรุปผล
พฤตกิ รรมบ่งช้ี 1 วิเคราะห์ปัญหา
1.1ระบปุ ัญหาที่เกดิ ข้นึ กบั ตนเอง
1.2ระบุปัญหาที่เกดิ ขึ้นกบั บคุ คลใกล้ตัว
1.3ระบุสาเหตขุ องปญั หา
1.4จัดระบบข้อมูล
1.4.1 การจําแนก
1.4.2 การจดั ลาํ ดบั
1.4.3 การเช่อื มโยง
1.5 กําหนดทางเลือก
1.6 การตดั สนิ ใจเลือกวธิ กี าร
2. การวางแผนในการแกป้ ญั หา
3. การดาํ เนินการในแก้ปญั หา
3.1 การปฏิบัตติ ามแผน
3.2 การตรวจสอบทบทวนแผน
3.3 การบนั ทึกผลการปฏบิ ัติ
4. สรปุ ผลและรายงาน
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 2 ผลลัพธข์ องการแกป้ ญั หา
พฤติกรรมบ่งช้ี 1 ผลลัพธ์ของการแก้ปญั หา
สมรรถนะที่ 4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ มี 6 ตวั ชี้วัด ดังนี้
ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 นาํ กระบวนการเรียนรูท้ ่หี ลากหลายไปใช้ในชวี ติ ประจําวนั
พฤติกรรมบ่งช้ี 1 นําความรู้ ทักษะ และกระบวนการท่ีหลากหลายมาสร้างช้ินงาน/ส่ิงของ/
เครื่องใช้ และสามารถนาํ มาแกป้ ัญหา ในการดําเนินชีวิตประจําวัน ไดอ้ ย่างเหมาะสม
ตัวช้ีวัดท่ี 2 เรียนรดู้ ้วยตนเองและเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เนอื่ ง
พฤตกิ รรมบง่ ชี้ 1 มที กั ษะในการแสวงหาความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสาร
พฤติกรรมบง่ ช้ี 2 เชื่อมโยงความรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ 3 มีวิธีการในการศึกษาความรู้เพิ่มเติมเพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่การเรียนรู้ส่ิง
ใหม่ตามความสนใจ
ตวั ช้ีวัดที่ 3 ทํางานและอยรู่ ่วมกันในสงั คมอยา่ งมีความสขุ
พฤตกิ รรมบง่ ช้ี 1 ทํางานดว้ ยตนเอง ไดส้ าํ เร็จ
พฤตกิ รรมบง่ ชี้ 2 ทํางานร่วมกับผ้อู ่นื สามารถแสดงความคดิ เห็นและยอมรับความคดิ เหน็ ผอู้ ่นื
พฤติกรรมบง่ ช้ี 3 เห็นคุณค่าของการมีชีวิตและครอบครวั ท่อี บอนุ่ เป็นสขุ
ตวั ช้วี ัดที่ 4 จดั การกบั ปญั หาและความขัดแยง้ ในสถานการณ์ต่างๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
พฤตกิ รรมบง่ ชี้ 1 รับร้สู าเหตแุ ละจัดการปญั หา/ความขัดแยง้ ไดป้ ระสบความสําเร็จ
ตวั ชี้วัดท่ี 5 ปรบั ตัวต่อการเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและสภาพแวดล้อม
พฤตกิ รรมบ่งช้ี 1 ตดิ ตามข่าวสารเหตกุ ารณ์ปจั จบุ นั ของสงั คม
พฤติกรรมบ่งชี้ 2 เข้าใจ ยอมรับ และปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมสภาพแวดล้อมอย่าง
หลักสตู รโรงเรยี นวดั บุพนมิ ติ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
เหมาะสม
ตัวชีว้ ดั ที่ 6 หลกี เลย่ี งพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
พฤติกรรมบ่งช้ี 1 รู้จักป้องกัน หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเส่ียงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพ การล่วงละเมิด
ทางเพศ อบุ ตั ิเหตุ สารเสพตดิ และความรุนแรง
พฤตกิ รรมบง่ ช้ี 2 จัดการกบั อารมณ์และความเครียดไดด้ ว้ ยวธิ กี ารท่ีเหมาะสม
สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี 2 ตัวชี้วัด ดงั น้ี
ตัวช้วี ดั ท่ี 1 เลอื กและใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ พฒั นาตนเองและสังคม
พฤติกรรมบ่งชี้ 1 เลือกและใช้เทคโนโลยีในการเรียนรอู้ ย่างสรา้ งสรรค์และมีคุณธรรม
พฤติกรรมบง่ ช้ี 2 เลอื กและใช้เทคโนโลยีในการส่อื สารอย่างสรา้ งสรรค์และมคี ุณธรรม
พฤติกรรมบ่งชี้ 3 เลือกและใช้เทคโนโลยีในการทํางานและนําเสนอผลงานอย่างสร้างสรรค์และมี
คณุ ธรรม
พฤตกิ รรมบ่งชี้ 4 การเลือกและใช้เทคโนโลยใี นการแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรคแ์ ละมีคณุ ธรรม
ตวั ชวี้ ัดท่ี 2 มที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
พฤตกิ รรมบ่งชี้ 1 กําหนดปัญหา หรือความตอ้ งการ
พฤตกิ รรมบง่ ช้ี 2 รวบรวมขอ้ มูล
พฤตกิ รรมบง่ ช้ี 3 ออกแบบและปฏิบัตกิ าร
พฤตกิ รรมบ่งชี้ 4 ประเมนิ ผล
หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนมิ ิต (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
คณะผู้จัดทําหลกั สตู รโรงเรยี นวดั บพุ นิมิต
พุทธศกั ราช ๒๕๕๓ ( ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๕ )
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๑. นางรจุ จริ า แสงทอง ผอู้ ํานวยการโรงเรียน ชํานาญการพิเศษ
๒. นายสทุ ธิศักดิ์ มะลสิ ุวรรณ ครู ชํานาญการ
๓. นางพิมลนาฎ มุกดาหาร ครู ชาํ นาญการพิเศษ
๔. นางถนอม อ้นยะลา ครู ชํานาญการ
๕. นางสาวณฐั ณชิ า ขําจติ ครู ชํานาญการ
๖. นางสาวประทมุ พศิ แก้วทองออ่ น ครู ชํานาญการ
๗. นางสาวณศั รินทร์ อามะ ครผู ู้สอน
๘. นายนพดล สลี าภเก้อื ครผู ูส้ อน
๙. นางสาวดวงกมล แกว้ ประเสรฐิ ครผู ู้สอน
หลกั สูตรโรงเรียนวดั บุพนิมิต (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
คําสั่งโรงเรยี นวัดบุพนมิ ติ
ที่ ๑๙ / ๒๕๖๕
เรือ่ ง แต่งตง้ั คณะกรรมการจัดทําหลักสตู รสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
และหลักสตู รสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕)
……………………………………………………
ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้ออกคําส่ังท่ี สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรื่องการใช้มาตรฐานการเรียนรู้ และ
ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อให้การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทาง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมสภาพแวดล้อมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นการเสริมสร้าง
ศักยภาพคนของชาติ ยกระดับคุณภาพการศึกษาในระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ โลกในศตวรรษท่ี
๒๑ และทัดเทียมกับนานาชาติผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดํารงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลกตาม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กําหนดให้ทุกโรงเรียนเร่ิมใช้หลักสูตรนี้ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑,ช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี ๔ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ และให้ครบทุกระดับชั้นในปีการศึกษา
๒๕๖๓ นั้น เพื่อให้โรงเรียนวัดบุพนิมิต สามารถใช้หลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรสูตรแกนกลาง
ดังกล่าว จึงแต่งต้ังคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๕) ของโรงเรียนวัดบพุ นมิ ิต ดงั ตอ่ ไปนี้
๑. คณะกรรมการอํานวยการ ประกอบด้วย ประธานกรรมการ
๑.๑ นางรจุ จิรา แสงทอง กรรมการ
๑.๒ นายสทุ ธิศกั ดิ์ มะลิสุวรรณ กรรมการ
๑.๓ นางถนอม อ้นยะลา กรรมการและเลขานุการ
๑.๕ นางสาวณฐั ณชิ า ขําจติ
มีหนา้ ท่ี อํานวยการ เสนอแนะและแกป้ ญั หาต่างๆ ท่ีอาจเกิดขึน้
๒. คณะกรรมการปรบั ปรงุ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย
๒.๑ นางสาวณศั รินทร์ อามะ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
๒.๒ นายสุทธิศักดิ์ มะลสิ ุวรรณ กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
๒.๓ นายนพดล สีลาภเกอ้ื กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๒.๔ นางสาวประทมุ พศิ แกว้ ทองอ่อน กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๒.๕ นางสาวณฐั ณิชา ขําจติ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๒.๖ นางสาวประทุมพิศ แกว้ ทองออ่ น กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา
๒.๗ นางสาวณฐั ณชิ า ขําจติ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
๒.๘ นางถนอม อ้นยะลา กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
หลักสตู รโรงเรยี นวัดบพุ นมิ ิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๒.๙ นางสาวดวงกมล แกว้ ประเสริฐ กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพ
๒.๑๐ นางพิมลนาฎ มกุ ดาหาร หลักสตู รปฐมวยั
๒.๑๑ นายไพศาล สขุ โอ หลักสตู รปฐมวยั
มีหน้าที่ ปรับปรุงหลักสูตรของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้สอดคล้อง
กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
๒๕๖๐ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๕)
ขอให้ผทู้ ่ีไดร้ บั การแต่งตัง้ ปฏบิ ตั ิหน้าท่อี ยา่ งเต็มความสามารถ ก่อประโยชน์สูงสุดต่อราชการสืบไป
สัง่ ณ วันท่ี ๙ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕
ลงชอื่
(นางรจุ จิรา แสงทอง)
ผู้อาํ นวยการโรงเรียนวัดบุพนมิ ติ
หลกั สตู รโรงเรยี นวัดบุพนมิ ติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
หลกั สูตรโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ิต (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑