๔๗
ส ๑๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาฯ คาํ อธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๘๐ ชว่ั โมง
คําอธบิ ายรายวิชา
ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
ศึกษาความสําคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงออกผนวช ชื่อศาสนาศาสดา และคัมภีร์
ของศาสนาต่าง ๆ ประวัติสาวก ความหมาย และความสําคัญ ของพระรัตนตรัย โอวาท ๓ หลักธรรมของ
ศาสนา ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนา เข้าร่วมศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนา
สวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติท่ีเป็นพ้ืนฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางศาสนา ช่ืน
ชมและปฏิบัติตามแบบอย่างการดําเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก / เร่ืองเล่า และศาสนิกชน
ตัวอย่าง และการทําความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียนตามหลักศาสนา รู้จักใช้ทรัพยากรใน
ท้องถิ่นอย่างฉลาด มจี ติ สาธารณะ รว่ มกิจกรรมในหม่บู ้าน ตําบลที่ตนอยู่อาศัย อยู่อย่างพอเพยี ง
หน้าที่พลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนนิ ชวี ิตในสงั คม
ศึกษาความสัมพันธ์ของตนเอง และสมาชิกในครอบครัว ผู้มีบทบาท อํานาจในการตัดสินใจใน
โรงเรียน และชุมชน ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ และหน้าท่ีที่ต้องปฏิบัติในชีวิตประจําวัน
ยอมรับ ความคิด ความเชื่อ และการปฏิบัติของบุคคลอื่นท่ีแตกต่างกันโดยปราศจากอคติ เคารพในสิทธิเสรีภาพ
ของ ผู้อ่ืน ปฏิบัติตนตามมารยาทไทย สืบค้นประวัติบุคคลที่เป็นแบบอย่างความดีของบุคคลในท้องถ่ิน สถานที่
สาํ คญั ตา่ งในทอ้ งถ่นิ
เศรษฐศาสตร์
ศึกษาทรัพยากรท่ีนํามาผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ในชีวิตประจําวัน ท่ีมาของรายได้และรายจ่ายของ
ตนเองและครอบครัว การบันทึกรายรับรายจ่ายของตนเอง การแลกเปล่ียนสินค้าและบริการโดยวิธีต่าง ๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้และการออม บันทึก รายรับ
รายจ่ายของตนเอง และเหน็ คุณคา่ ของการใช้จา่ ยท่เี หมาะสมกับรายได้และการออม
ภูมศิ าสตร์
ระบุส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น ซ่ึงปรากฏระหว่างบ้านกับโรงเรียน ระบุตําแหน่ง
และลักษณะทางกายภาพของสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏในแผนผัง แผนที่รูปถ่าย และลูกโลก สังเกตและแสดง
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างโลกดวงอาทติ ย์และดวงจันทร์ ที่ทําใหเ้ กิดปรากฏการณ์ อธบิ ายความสาํ คัญของสง่ิ แวดลอ้ ม
ทางธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น จําแนกและใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีใช้แล้วไม่หมดไป ที่ใช้แล้วหมดไป และ
สร้างทดแทน ข้ึนใหม่ได้อย่างคุ้มค่า อธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่างฤดูกาลกับการดําเนินชีวิตของมนุษย์ มีส่วนร่วม
ในการจดั การส่งิ แวดล้อมในโรงเรยี น
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดําเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์
โดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาํ ไปประยุกต์ใช้กบั ชวี ติ ประจําวนั ไดอ้ ยา่ ง ถูกต้องเหมาะสม
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บุพนิมิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๔๘
รหัสตวั ชว้ี ัด
ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวมท้ังหมด ๒๘ ตวั ช้วี ัด
หลักสูตรโรงเรยี นวดั บุพนมิ ิต (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๙
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๒
คาํ อธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๔๐ ชวั่ โมง
คําอธิบายรายวิชา
รู้จักวันเวลาตามระบบสุริยคติและจันทรคติที่ปรากฏในปฏิทินท่ีแสดงเหตุการณ์สําคัญในอดีตและปัจจุบัน
รวมทั้ง การใช้คําที่แสดงช่วงเวลาในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต วันนี้ เมื่อวานน้ี พรุ่งนี้, เดือนน้ี เดือนก่อน เดือน
หน้า, ปีนี้ ปีก่อน ปีหน้า ในการอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน โดยใช้ทักษะการสังเกต การสอบถาม เชื่อมโยง
เรียงลําดับ การเล่าเรื่อง การรวบรวมข้อมูล การอธิบาย เพ่ือให้สามารถใช้วันเวลาเรียงลําดับเหตุการณ์สําคัญได้
ถูกต้อง วา่ เหตุการณใ์ ดเกดิ กอ่ น เหตกุ ารณ์ใดเกดิ หลัง
รู้วิธีสืบค้นเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในครอบครัวโดยใช้หลักฐานที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ภาพถ่าย สูติบัตร ทะเบียน
บ้าน เครื่องมือเครื่องใช้ มาอธิบายเรื่องราวต่าง ๆ และวิธีสืบค้นข้อมูลในชุมชนอย่างง่าย ๆ ในเรื่องเก่ียวกับการ
เปล่ียนแปลงในวิถีชีวิตของคนในชุมชนในด้านต่างๆ จากอดีตถึงปัจจุบัน ทางด้านการประกอบอาชีพ การแต่งกาย
การส่ือสาร ขนบธรรมเนียมประเพณีในชุมชน เข้าใจสาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงท่ีมีต่อวิถีชีวิตของ
คนในชุมชน สามารถเรียงลําดับเหตุการณ์ท่ีสืบค้นได้โดยใช้เส้นเวลา ฝึกทักษะการสอบถาม การสังเกต การ
วิเคราะห์ การอธิบายอย่างมีเหตุมีผล ทําผังความคิดและการจัดนิทรรศการ เพ่ือให้เข้าใจวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ใน เร่ืองเกี่ยวกับการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์สืบค้นเรื่องราวในอดีต และเข้าใจการ
เปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นตามกาลเวลา อย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจชุมชนที่มีความแตกต่างและสามารถปรับตัวอยู่
ในชีวติ ประจําวันได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ศึกษา สืบค้นประวัติและผลงานของบุคคลที่ทําประโยชน์ต่อท้องถ่ินหรือประเทศชาติ ในด้านการ
สร้างสรรค์วัฒนธรรม /การสร้างความเจริญรุ่งเรืองและความม่ันคงโดยสังเขป รวมทั้งวัฒนธรรมไทย ประเพณี
ไทย และภูมิปัญญาไทยที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ การทําความเคารพแบบไทย ประเพณีไทย ศิลปะไทย
ดนตรีไทย โดยใช้ทักษะการสืบค้นการสังเกต การอ่าน การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การใช้เหตุผล การ
อธิบาย และการนําเสนอ เพื่อให้เห็นคุณค่าและแบบอย่างการกระทําความดีของบรรพบุรุษท่ีได้สร้างประโยชน์ให้
ท้องถิ่นและประเทศ เกิดความรัก และความภาคภูมิใจในความเป็นไทย วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และธํารง
ความเปน็ ไทย
รหัสตัวช้ีวัด
ส ๔.๑ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
ส ๔.๒ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
ส ๔.๓ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
รวมทั้งหมด ๖ ตวั ช้ีวดั
หลกั สูตรโรงเรียนวดั บพุ นิมิต (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๕๐
คําอธิบายรายวิชาเพ่มิ เติม
รหัสวชิ า ส ๑๒๒๐๒ ช่ือวชิ า การปอ้ งกนั การทจุ ริต กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คําอธิบายรายวชิ า
ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ
ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทจุ ริต
โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จําแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทําโครงงานกระบวนการเรียนรู้
๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน เพ่ือให้มีความ
ตระหนกั และเหน็ ความสําคญั ของการตอ่ ต้านและการป้องกนั การทจุ รติ
ผลการเรยี นรู้
๑. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
๓. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ รติ
๔. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
๕. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๖. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทกุ รปู แบบ
๗. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ท่ี STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต
๘. ปฏิบัติตนตามหน้าทพี่ ลเมอื งและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
๙. ตระหนักและเห็นความสําคัญของการต่อต้านและป้องกนั การทจุ รติ
รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บุพนิมติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๕๑
ส ๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาฯ คําอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๘๐ ชัว่ โมง
คําอธิบายรายวชิ า
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศึกษาวิเคราะห์ถึงความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ พุทธประวัติ ตั้งแต่การบําเพ็ญ
เพียรจนถึงปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ ความหมาย ความสําคัญของ พระไตรปิฎก หรือคัมภีร์
ของศาสนาที่ตนนับถือ ช่ือและความสําคัญของศาสนวัตถุ ศาสนสถาน ศาสนบุคคล ของศาสนาอื่น ๆ แสดง
ความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือ หลักธรรมของศาสนาท่ี
ตนนับถือ แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับ ถือ ปฏิบัติตนในศาสน
พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนา และปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวก ศาสนสถาน ศาสนวัตถุของศาสนาท่ี
ตนนับถือ เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิต
ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ ช่ืนชมและบอกแบบอย่างการดําเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวกชาดก /
เรื่องเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอย่างตามท่กี ําหนดค่ านิยมและความเช่อื เรอ่ื งตา่ งของคนในทอ้ งถนิ่
หน้าทพี่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดําเนนิ ชีวิตในสงั คม
ศึกษาพฤติกรรมการดําเนินชีวิตของตนเอง และผู้อ่ืนท่ีอยู่ในกระแสวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย ประโยชน์ของ
การปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น ความสําคัญของ วันหยุดราชการท่ีสําคัญ
บุคคลซ่ึงมีผลงานท่ีเป็นประโยชน์แก่ชุมชนและท้องถิ่นของตน บทบาทหน้าที่ของ สมาชิกของชุมชนในการมีส่วน
ร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย วิเคราะห์ความแตกต่างของกระบวนการตัดสินใจในชั้น
เรียน / โรงเรียนและชุมชน โดยวิธีการออก เสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง การเปล่ียนแปลงในชั้น
เรียน / โรงเรียนชุมชน ที่เป็นผลจาก การตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม ปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมใน
ครอบครัวและท้องถ่ิน หน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวของตนเอง กฎ กติกา ระเบียบ ของครอบครัว โรงเรียน
ท่ตี นอาศัยอยู่
เศรษฐศาสตร์
ศึกษาทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดที่มีผลต่อการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการ จําแนกความต้องการ และ
ความจําเป็นในการใช้สินค้าและบริการในการดํารงชีวิต วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง ศึกษาถึงสินค้าและ
บริการท่ีรัฐจัดหาและให้บริการแก่ประชาชน ความสําคัญของภาษี และบทบาทของประชาชนในการเสียภาษี
อธิบายเหตุผลการแขง่ ขันทางการคา้ ราคาสนิ คา้ ลดลง
ภูมศิ าสตร์
สํารวจข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในโรงเรียนและชุมชนโดยใช้แผนผัง แผนท่ี และรูปถ่ายเพื่อแสดง ความสัมพันธ์
ของตําแหน่ง ระยะ ทิศทาง วาดแผนผังเพื่อแสดงตําแหน่งท่ีต้ังของสถานท่ีสําคัญในบริเวณ โรงเรียนและชุมชน
อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในการสนองความต้องการพ้ืนฐาน ของมนุษย์ และ
การประกอบอาชีพ สาเหตุที่ทําให้เกิดมลพิษโดยมนุษย์ ความแตกต่างของลักษณะเมืองและชนบท
ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับการดําเนินชีวิตของคนในชุมชน และมีส่วนร่วมใน การจัดการ
สิง่ แวดลอ้ มในชมุ ชน การใช้พลงั งานต่างๆ ในทอ้ งถน่ิ
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนําาไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถด าเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์
หลักสูตรโรงเรยี นวัดบุพนมิ ติ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๕๒
โดยใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ช้กับชวี ิตประจําวนั ไดอ้ ย่าง ถูกตอ้ งเหมาะสม
รหัสตัวชว้ี ดั
ส ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗
ส ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ส ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๕.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๕.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖
รวมทัง้ หมด ๓๑ ตัวช้ีวดั
หลักสตู รโรงเรยี นวัดบุพนิมิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๕๓
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓
คําอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
คําอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาความหมายและท่ีมาของศักราชที่ปรากฏในปฏิทิน ได้แก่ พุทธศักราช คริสต์ศักราช (ถ้าเป็นชาว
มุสลิม ให้ศึกษาฮิจเราะห์ศักราชด้วย) วิธีการเทียบคริสต์ศักราชกับพุทธศักราช และใช้ศักราชในการบันทึก
เหตุการณ์สําคัญท่ีเกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว ปีเกิดของผู้เรียน เหตุการณ์สําคัญของตนเอง และครอบครัว
โดยใช้ทักษะการเปรียบเทียบ การคํานวณ การเชื่อมโยง การอธิบาย เพ่ือให้มีพื้นฐานในการศึกษาเอกสารที่แสดง
เหตุการณ์ตามกาลเวลา สามารถเรียง ลําดับเหตุการณ์ได้ถูกต้อง ว่าเหตุการณ์ใดเกิดก่อน เหตุการณ์ใดเกิดหลังอัน
เป็นทกั ษะที่จาํ เปน็ ในการศกึ ษาประวตั ิศาสตร์
รู้วิธีสืบค้นเหตุการณ์สําคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง รูปภาพ
แผนผังโรงเรียน แผนท่ีชุมชน ห้องสมุดโรงเรียน แหล่งโบราณคดี – ประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น สามารถใช้เส้น
เวลา (Timeline) ลําดับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในโรงเรียนและชุมชน โดยใช้ทักษะการสํารวจ การสังเกต การ
สอบถาม การอ่าน การฟัง การเล่าเร่ือง การสรุปความ เพื่อฝึกทักษะพื้นฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ใน
การสืบค้นเรื่องราวรอบตัวอย่างง่าย ๆ โดยการใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง สามารถนําเสนอเรื่องราวท่ี
คน้ พบได้ตามลําดับเวลา
ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน ปัจจัยที่ทําให้เกิดวัฒนธรรมและ
ประเพณีในชุมชน ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยทางภูมิศาสตร์( ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากร) และปัจจัยทางสังคม
(ความเจริญทางเทคโนโลยี เชื้อชาติ ศาสนา ความเชื่อ การคมนาคม ความปลอดภัย ) ศึกษาและเปรียบเทียบ
ความเหมือนและความแตกต่าง ของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนตนเอง และชุมชนใกล้เคียง
ในเรื่องความเช่ือและการนับถือศาสนา อาหาร ภาษาถ่ิน การแต่งกาย โดยใช้ทักษะการอ่าน การสอบถาม การ
สังเกต การสํารวจ การฟัง การสรุปความ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและภูมิใจในชุมชนของตนเอง ยอมรับความ
แตกต่างทางวัฒนธรรม เข้าใจพัฒนาการของชุมชน สามารถดําเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสันติสุข ร่วม
อนุรกั ษ์สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี และวฒั นธรรมไทย
ศึกษาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ โดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ผู้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ ตามลําดับ ได้แก่ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง)
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ศึกษาพระราชประวัติและ
พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าหัวอยู่ภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ
พระบรมราชินีนาถโดยสังเขป และศึกษาวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยท่ีมีส่วนปกป้องประเทศชาติ ได้แก่ สมเด็จ
พระนเรศวรมหาราช ท้าวเทพกระษัตรี – ท้าวศรีสุนทร ชาวบ้านบางระจัน พระยาพิชัยดาบหัก ท้าวสุรนารี เป็น
ต้น โดยใช้ทักษะการอ่าน และสอบถาม การฟัง การสรุปความ การเขียน การเล่าเร่ือง เพื่อให้เข้าใจความเป็นมา
ของชาติไทย เกิดความรกั ความภูมิใจและเห็นแบบอยา่ งการเสยี สละเพอ่ื ชาติ และธํารงความเป็นไทย
รหัสตวั ชีว้ ดั
ส ๔.๑ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓
ส ๔.๒ ป ๓/๑, ป ๓/๒
ส ๔.๓ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓
รวมทัง้ หมด ๘ ตวั ช้วี ดั
หลกั สูตรโรงเรียนวดั บพุ นมิ ติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๕๔
คําอธิบายรายวิชาเพ่มิ เติม
รหัสวชิ า ส ๑๓๒๐๒ ช่ือวชิ า การปอ้ งกนั การทจุ ริต กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คําอธิบายรายวชิ า
ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ
ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทจุ ริต
โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จําแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทําโครงงานกระบวนการเรียนรู้
๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน เพ่ือให้มีความ
ตระหนกั และเหน็ ความสําคญั ของการตอ่ ต้านและการป้องกนั การทจุ รติ
ผลการเรยี นรู้
๑. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
๓. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ รติ
๔. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
๕. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๖. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทกุ รปู แบบ
๗. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ท่ี STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต
๘. ปฏิบัติตนตามหน้าทพี่ ลเมอื งและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
๙. ตระหนักและเห็นความสําคัญของการต่อต้านและป้องกนั การทจุ รติ
รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บุพนิมติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาฯ ๕๕
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔
คาํ อธิบายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ
กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๘๐ ช่วั โมง
คาํ อธบิ ายรายวิชา
ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
ศึกษาถึงความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ พุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรม จนถึง
ประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาท่ีตนนับถือและศาสนาอื่น ๆ ความสําคัญ และมีส่วนร่วมใน การบํารุงรักษา
ศาสนสถานที่ตนนับถือ แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ใน
พระพุทธศาสนา ท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด สวดมนต์ อาราธนาศีล 5 อาราธนาธรรม การแผ่เมตตา การถวาย
สังฆทาน ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพ่ือการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้ อย่างสมานฉันท์ มี
มารยาทของความเป็นศาสนิกชนท่ีดี และปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญ ทางศาสนา เห็นคุณค่า
และประพฤติตนตามแบบอย่างการดําเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่อง เล่า และศาสนิกชน
ตัวอย่าง สวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง
ของศาสนาที่ตนนับถือตามท่ีก าหนด ช่ืนชมการทําความดีของตนเอง บุคคลใน ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
ตามหลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดําเนินชีวิต ประเพณีชักพระ ประเพณีวันสารท ประเพณีวันว่าง
ประเพณีรับเทวดา
หน้าทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาํ เนนิ ชีวิตในสงั คม
ศึกษาวิเคราะห์อํานาจอธิปไตยและความสําคัญของระบอบประชาธิปไตย ความสําคัญของสถาบัน
พระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิพ้ืนฐานท่ีเด็กทุกคน พึงได้รับ
ตามกฎหมาย บทบาทหน้าท่ีของพลเมืองในกระบวนการเลือกต้ังความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ กลุ่มคนใน
ท้องถิ่นและเสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิตประจําวัน ปฏิบัติตนในการเป็นผู้นําและผู้ตามท่ีดีและ
ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน การทําความดีของตนและสมาชิกใน
ครอบครัวในชุมชน การเลือกประธานนักเรียน การเลือกหัวหน้าชั้น ผู้นําในท้องถ่ิน การพัฒนาศาสนสถาน กวาด
ขยะ
เศรษฐศาสตร์
ศึกษาถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อการเลือกซ้ือสินค้าและบริการ หน้าที่เบื้องต้นของเงิน สิทธิพื้นฐานและ รักษา
ผลประโยชน์ของตนเองในฐานะผู้บริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ของคน
ในชุมชนนําหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจําวันของตนเอง สินค้าอุปโภคบริโภคในท้องถิ่น หลัก
พอเพียงในการดํารงชีวติ ของตน ของครอบครัว
ภูมิศาสตร์
สืบค้น อธิบาย ระบุแหล่งข้อมูลลักษณะทางกายภาพในจังหวัดของตน ด้วยแผนท่ีและรูปถ่าย แหล่ง
ทรัพยากรและสถานที่สําคัญในจังหวัดของตนด้วยแผนท่ีและรูปถ่าย ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่ง
ทรัพยากรและสถานที่สําคัญในจังหวัด วิเคราะห์ อธิบาย นําเสนอ ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ีส่งผลต่อการดําเนิน
ชีวิตของคนในจังหวัด การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในจังหวัดและผลท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงและนําเสนอ
แนวทางการจัดการ ส่ิงแวดล้อมในจังหวัด ทรัพยากรในท้องถิ่น ป่าไม้ แม่น้ํา ที่ดิน การเปลี่ยนแปลงของ
สภาพแวดล้อมทม่ี ีผลตอ่ การดาํ รงชีวิตในท้องถ่นิ
หลักสูตรโรงเรยี นวดั บุพนมิ ิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๕๖
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ
สามารถดําเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์โดยใช้หลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาํ ไปประยุกต์ใช้กับชวี ิตประจาํ วนั ได้อยา่ ง ถูกตอ้ งเหมาะสม
รหสั ตัวชีว้ ัด
ส ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗, ป.๔/๘
ส ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕
ส ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ส ๕.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๕.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
รวมท้งั หมด ๓๐ ตวั ชวี้ ดั
หลักสูตรโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ิต (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ส ๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕๗
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
คาํ อธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
กล่มุ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คาํ อธิบายรายวชิ า
ศึกษาความหมาย วิธีการนับ และการใช้ช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เกณฑ์การ
แบ่งยุคสมัยในทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติท่ีแบ่งเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ รวมทั้ง
ช่วงสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และสมัย
รัตนโกสินทร์ ตัวอย่างการใช้ช่วงเวลาในเอกสารต่าง ๆ โดยใช้ทักษะการอ่าน การสํารวจ การวิเคราะห์ การ
คํานวณ เพื่อให้ใช้ช่วงเวลาในการบอกเล่าเร่ืองราวได้ถูกต้อง และเข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลาท่ีปรากฏ
ในเอกสารทางประวัตศิ าสตร์
ศึกษาลักษณะสําคัญ และเกณฑ์การจําแนกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของ
ท้องถิ่น อย่างง่าย ๆ ตัวอย่างของหลักฐานท่ีพบในท้องถิ่นท้ัง หลักฐานชั้นต้นกับชั้นรอง หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์
อักษร กับไม่เป็น ลายลักษณ์อักษร โดยใช้ทักษะการสํารวจ การวิเคราะห์ การตรวจสอบข้อมูล การจําแนก
การตคี วาม เพอื่ ฝึกทกั ษะการสบื คน้ ข้อมูลดว้ ยวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์
ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปัจจัย การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของมนุษยชาติใน
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยโดยสังเขป การก่อต้ังอาณาจักรโบราณในดินแดน
ไทย ได้แก่ ทวารวดี ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ เป็นต้น โดยใช้ทักษะการสํารวจ การวิเคราะห์ การตีความ การสรุป
ความ เพอ่ื ให้เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาตทิ ีม่ ีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งต่อเน่ืองจากอดตี จนถงึ ปจั จบุ ัน
ศึกษาประวัติศาสตร์เป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทัยโดยสังเขป ในเรื่องเก่ียวกับการสถาปนาอาณาจักร
พัฒนาการทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญ ได้แก่ พ่อขุนศรีอินทรา
ทิตย์ พ่อขุนรามคําแหงมหาราช พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไทย) และภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัยที่น่า
ภาคภูมิใจ ซึ่งเป็นผลให้อุทยานประวัติศาสตร์ในสุโขทัยและศรีสัชนาลัยได้รับการยกย่องเป็นมรดกโลก โดยใช้
ทักษะการอ่าน การสํารวจ การสืบค้น การวิเคราะห์การตีความ เพื่อเข้าใจความเป็นมาของชาติไทยในสมัย
สุโขทัย รวมทั้งวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และบุคคลสําคัญในสมัยสุโขทัย เกิดความรักและความภูมิใจใน
ความเป็นไทย ตระหนักถึงความพากเพียรพยายามของบรรพบุรุษไทยท่ีได้ปกป้อง และสร้างสรรค์ความเจริญให้
บ้านเมือง ตกทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบตอ่ ถงึ ปัจจุบัน
รหสั ตวั ช้วี ดั
ส ๔.๑ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓
ส ๔.๒ ป ๔/๑, ป ๔/๒
ส ๔.๓ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓
รวมทั้งหมด ๘ ตวั ช้ีวดั
หลักสูตรโรงเรียนวัดบพุ นมิ ิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๕๘
คําอธิบายรายวิชาเพ่มิ เติม
รหัสวชิ า ส ๑๔๒๐๒ ช่ือวชิ า การปอ้ งกนั การทจุ ริต กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คําอธิบายรายวชิ า
ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ
ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทจุ ริต
โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จําแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทําโครงงานกระบวนการเรียนรู้
๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน เพ่ือให้มีความ
ตระหนกั และเหน็ ความสําคญั ของการตอ่ ต้านและการป้องกนั การทจุ รติ
ผลการเรยี นรู้
๑. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
๓. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ รติ
๔. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
๕. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๖. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทกุ รปู แบบ
๗. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ท่ี STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต
๘. ปฏิบัติตนตามหน้าทพี่ ลเมอื งและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
๙. ตระหนักและเห็นความสําคัญของการต่อต้านและป้องกนั การทจุ รติ
รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บุพนิมติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาฯ ๕๙
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕
คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๘๐ ชวั่ โมง
คาํ อธบิ ายรายวิชา
ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
ศึกษาวิเคราะห์ความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ พุทธประวัติตั้งแต่เสด็จ กรุงกบิล
พัสดุ์จนถึงพุทธกิจสําคัญ หรือประวัติศาสดาท่ีตนนับถือ องค์ประกอบ และความสําคัญของ พระไตรปิฎก หรือ
คัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนสถานในท้องถ่ิน สถานท่ีประกอบศาสนพิธีวัฒนธรรมในท้องถิ่นที่มีผลต่อการ
ดําเนินชีวิตของประชากรในท้องถ่ิน ภูมิปัญญาของท้องถ่ิน และการอนุรักษ์ ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วม
กิจกรรมของพิธีกรรมทาง ศาสนา พิธีกรรมต่างๆในชุมชน งานแต่งงาน งานบวชนาค ฯลฯ ปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม จัดพิธีกรรมตามศาสนาที่ตนนับถืออย่าง
เรียบง่าย มีประโยชน์ และปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมและวัน สําคัญทางศาสนาตามที่กําหนด แสดงความ
เคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรม โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของ
ศาสนาท่ีตนนับถือตาม มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนท่ี ดี เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างการ
ดําเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาก ชาดก /เร่ืองเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง สวดมนต์แผ่เมตตา มีสติที่เป็น
พื้นฐานของสมาธใิ นพระพทุ ธศาสนาหรอื การพฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนา
หน้าทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชวี ติ ในสงั คม
ศึกษาวิเคราะห์ ยกตัวอย่างบทบาท สิทธิเสรีภาพ และหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี โครงสร้างอํานาจ
หน้าท่ีและความสําคัญของการปกครองส่วนท้องถ่ินและระบุบทบาทหน้าท่ี และวิธีการเข้าดํารงตําแหน่งของ
ผู้บริหารท้องถิ่น วิเคราะห์ประโยชน์ท่ีชุมชน จะได้รับจากองค์ปกครองส่วนท้องถ่ิน ปฏิบัติตนตามสถานภาพ
บทบาท สิทธิเสรีภาพ และหน้าท่ีในฐานะพลเมืองดี เสนอวิธีการปกป้อง คุ้มครองตนเองหรือผู้อ่ืนจากการ
ละเมิดสิทธิเด็ก มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของ ชุมชน เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มี
ผลต่อการดําเนนิ ชีวติ ในสังคมไทย ศาสนิกชนตัวอย่างในชมุ ชน
เศรษฐศาสตร์
ศึกษาปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ หลักการสําคัญและประโยชน์ของสหกรณ์ อธิบายบทบาท หน้าที่
เบ้ืองต้นของธนาคาร จําแนกผลดีและผลเสียของการกู้ยืม ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในการทํากิจกรรมตา่ ง ๆ ในครอบครวั โรงเรียน และชุมชน
ภูมศิ าสตร์
สืบค้นและอธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพในภูมิภาคของตนด้วยแผนท่ีและรูปถ่าย และลักษณะทาง
กายภาพที่ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่สําคัญในภูมิภาคของตน วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่มี
อิทธิพลต่อลักษณะการต้ังถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของประชากร ในภูมิภาคของตน อิทธิพลของส่ิงแวดล้อมทาง
ธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีการดําเนินชีวิตในภูมิภาคของตน เสนอ ตัวอย่างท่ีสะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและ
ทําลายส่ิงแวดลอ้ ม และเสนอแนวทางในการจดั การส่ิงแวดล้อม ในภมู ิภาคของตน
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดําเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์
โดยใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนําไปประยกุ ต์ใชก้ ับชวี ติ ประจาํ วนั ได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสม
หลักสตู รโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๖๐
รหสั ตัวชี้วดั
ส ๑.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗
ส ๑.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป. ๕/๔
ส ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส.๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ส ๕.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ส ๕.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
รวมท้ังหมด ๒๗ ตัวชวี้ ดั
หลกั สตู รโรงเรียนวัดบพุ นิมติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๖๑
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕
คําอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ช่วั โมง
คําอธบิ ายรายวชิ า
สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานหลากหลาย ด้วยการตั้งประเด็นคําถามทางประวัติศาสตร์
ที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น ความเป็นมาของช่ือหมู่บ้าน ชื่อตําบล ชื่อถนน ความเป็นมาของสถานท่ีสําคัญ ความ
เป็นมาของขนบธรรมเนียมประเพณีในท้องถิ่น รู้จักแหล่งข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่อยู่ในท้องถิ่น
สามารถรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานที่เก่ียวข้อง รู้จักวิเคราะห์ตรวจสอบข้อมูลอย่างง่ายๆ เข้าใจความแตกต่าง
ระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงที่ปรากฏในข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ แยกแยะความคิดเห็นกับข้อเท็จจริงที่อยู่ใน
ข้อมูลได้ โดยใช้ทักษะการสังเกต การสอบถาม การสํารวจ การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การเชื่อมโยง และ
การสังเคราะห์อย่างง่าย ๆ เพ่ือฝึกฝนทักษะวิธีการทางประวัติศาสตร์วิเคราะห์เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในท้องถ่ินอย่าง
เป็นระบบ สามารถใชข้ ้อมลู ขา่ วสารไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
ศึกษาการเข้ามาและอิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย และจีน ในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้โดยสังเขป ได้แก่ การปกครอง การนับถือศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา อาหาร และ
การแต่งกาย ศึกษาอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ ทั้งตะวันตกและตะวันออกที่มีต่อสังคมไทยในปัจจุบัน
โดยสังเขป โดยใช้ทักษะการอ่าน การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การเช่ือมโยง
เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมไทยในสังคมปัจจุบัน และวัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้านในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ที่มีท้ังความคล้ายคลึงและความแตกต่าง เพ่ือให้เกิดการยอมรับในความแตกต่างทางวัฒนธรรม
และอยรู่ ่วมกนั ได้อย่างสันตสิ ขุ
ศึกษาพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรี ในเรื่องเกี่ยวกับการสถาปนาอาณาจักร ปัจจัยท่ี
ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พัฒนาการทางการเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจ
โดยสังเขป ประวัติและผลงานบุคคลสําคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี ได้แก่ สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ สมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ชาวบ้านบางระจัน สมเด็จพระ
เจ้าตากสินมหาราช และภูมิปัญญาไทยในสมัยอยุธยา และธนบุรี ท่ีน่าภาคภูมิใจ ควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ ซึ่ง
เป็นผลให้พระนครศรีอยุธยาได้รับการยกย่องเป็นมรดกโลก ได้แก่ ทางด้าน ศิลปกรรม วรรณกรรม และการค้า
โดยใช้ทักษะการอ่าน การสืบค้นข้อมูล การเช่ือมโยง การวิเคราะห์ การอธิบาย การสรุปความ การเรียงความ
เพื่อให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนักและเห็นความสําคัญท่ีจะธํารงรักษาความเป็น
ไทยสบื ต่อไป
รหัสตัวชวี้ ัด
ส ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ส ๔.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป ๕/๓, ป.๕/๔
รวมทัง้ หมด ๙ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรยี นวดั บุพนิมิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๖๒
คําอธิบายรายวิชาเพ่มิ เติม
รหัสวชิ า ส ๑๕๒๐๒ ช่ือวชิ า การปอ้ งกนั การทจุ ริต กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คําอธิบายรายวชิ า
ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ
ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทจุ ริต
โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จําแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทําโครงงานกระบวนการเรียนรู้
๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน เพ่ือให้มีความ
ตระหนกั และเหน็ ความสําคญั ของการตอ่ ต้านและการป้องกนั การทจุ รติ
ผลการเรยี นรู้
๑. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
๓. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ รติ
๔. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
๕. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๖. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทกุ รปู แบบ
๗. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ท่ี STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต
๘. ปฏิบัติตนตามหน้าทพี่ ลเมอื งและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
๙. ตระหนักและเห็นความสําคัญของการต่อต้านและป้องกนั การทจุ รติ
รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บุพนิมติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาฯ ๖๓
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖
คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
คาํ อธิบายรายวิชา
ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
ศึกษาวิเคราะห์ความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรือความสําคัญของศาสนาท่ีตนนับถือพุทธประวัติ
ต้ังแต่ปลงอายุสังขารจนถึงสังเวชนียสถาน หรือประวัติศาสดาท่ีตนนับถือ หลักธรรมสําคัญของพระพุทธศาสนา
ศาสนาอื่น ๆ ลักษณะสําคัญและประโยชน์ของการเข้าร่วมในศาสนพิธี และพิธีกรรมของศาสนาอื่น ๆ ความรู้
เก่ียวกับสถานท่ีต่าง ๆ ในศาสนสถานที่ตนนับถือ แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของ
ศาสนาท่ีตนนับถือ มีมรรยาทของ ความเป็นศาสนิกชนท่ีดี ประพฤติตนตามแบบอย่างการด าเนินชีวิตและข้อคิด
จากประวัติสาวก ชาดก / เร่ือง เล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง ปฏิบัติตนต่อศาสนสถานและเข้าร่วมใน ศาสนพิธีได้
อย่างเหมาะสม สวดมนต์แผ่ เมตตา และบริหารจิตเจริญปัญญา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา
หรือการพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ เห็นคุณค่า เห็นความสําคัญ และเคารพพระรัตนตรัย
ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพ่ือ
แก้ปัญหาอบายมุขและส่ิงเสพติด และช่ืน ชมการทําความดีของบุคคลในประเทศตามหลักศาสนา พร้อมทั้งบอก
แนวปฏิบัติในการดําเนินชีวิต ความรู้สถานที่ต่างในวัดเช่น โบสถ โรงธรรม โรงฉัน ความรูเกี้ยวกับการทอดกฐิน
ทอดผ้าป่า วนั เวยี นเทยี น
หน้าทีพ่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาํ เนินชีวติ ในสังคม
ศึกษาวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลา คุณค่าทางวัฒนธรรมท่ีแตกต่างกันระหว่าง
กลุ่มคนในสังคมไทย เปรียบเทียบบทบาท หน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและรัฐบาล บทบาท
ความสําคัญในการใช้สิทธิออกเสียงเลือกต้ังตามระบอบประชาธิปไตย ตัวอย่างการกระทําความดีของคนในท้องถิ่น
ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันของครอบครัวและชุมชน ติดตามข้อมูลข่าวสาร เหตุการณ์ต่าง
ๆ ในชีวิตประจําวัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสมมีส่วนร่วมใน กิจกรรมต่าง ๆ ที่
ส่งเสริมประชาธิปไตยในท้องถิ่นและประเทศ รวมถึงการแสดงออกทางมารยาทไทยได้อย่าง เหมาะสมถูก
กาลเทศะและธํารงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม กฎกติกาของบ้าน โรงเรียน ชุมชน และกฎต่างๆทางสังคม ที่
กาํ หนดมาในแตล่ ะ องค์กร ท้องท่ี
เศรษฐศาสตร์
ศึกษาบทบาทของผู้ผลิตและผู้บริโภค ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตผู้บริโภค ธนาคาร และรัฐบาล
วิธีการ ประโยชนข์ องการใช้ทรัพยากรอย่างย่งั ยืน และ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ภายในท้องถ่ิน
ภมู ิศาสตร์
สืบค้นและอธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย ด้วยแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศ และ ภาพ
จากดาวเทียม ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับภัยพิบัติในประเทศไทยเพื่อเตรียมพร้อม รับมือภัย
พิบัติ วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมใน
ประเทศไทย การเปล่ียนแปลงทางกายภาพของประเทศไทยในอดีตกับปัจจุบัน และผลท่ีเกิดขึ้นจากการ
เปลี่ยนแปลงและนําเสนอตัวอย่างท่ีสะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและทําลายทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม และ
เสนอแนวทางในการจดั การทย่ี ่งั ยืนในประเทศไทย
หลกั สูตรโรงเรียนวดั บพุ นมิ ติ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๖๔
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดําเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์
โดยใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนําไปประยกุ ตใ์ ช้กับชีวติ ประจําวันไดอ้ ย่าง ถูกตอ้ งเหมาะสม
มีความสามารถในการแก้ปัญหา ได้แก่ ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยวิเคราะห์ปัญหา วางแผนในการแก้ปัญหา
ตรวจสอบและสรุปผล ผลลัพธ์ของการแก้ปัญหา มีความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ได้แก่ เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้
อย่างต่อเน่ือง ทํางานและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข จัดการกับปัญหาและความขัดแย้งในสถานการณ์ต่างๆ ได้
อยา่ งเหมาะสม ปรบั ตัวต่อการเปลย่ี นแปลง ทางสังคมและสภาพแวดล้อม
รหสั ตัวชี้วดั
ส ๑.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ , ป.๖/๙
ส ๑.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔
ส ๒.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕
ส ๒.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ส ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ส ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
ส ๕.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
ส ๕.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
รวมทง้ั หมด ๓๑ ตวั ชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนวดั บุพนมิ ิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๖๕
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖
คําอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาความหมายและความสําคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ และใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราว หรือเหตุการณ์สําคัญตามลําดับขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ได้แก่ การต้ัง
ประเด็นศึกษาเร่ืองราวที่ตนสนใจ การสํารวจแหล่งข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง การรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานที่
หลากหลาย การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูล การตีความ การเรียบเรียงและนําเสนอความรู้ท่ีค้นพบได้
อย่างน่าสนใจ โดยใช้ทักษะ การสํารวจ การอ่าน การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การอธิบาย
การสรุปความ การเขียนเรียงความ การจัดทําโครงงานและการจัดนิทรรศการ เพ่ือฝึกทักษะการสืบค้นเหตุการณ์
สําคญั ด้วยวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์
ศึกษาสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของประเทศเพ่ือนบ้านในปัจจุบันโดยสังเขป เชื่อมโยง และ
เปรียบเทียบกับประเทศไทย ศึกษาความเป็นมา และความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนโดยสังเขป โดยใช้ทักษะการ
อ่าน การสํารวจ การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ เพ่ือให้เข้าใจพัฒนาการของประเทศเพื่อนบ้านท่ีมี
ความสัมพันธ์กับประเทศไทย เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม และ
อยรู่ ว่ มกันได้อย่างสันติสุข
ศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชาติไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ ในเรื่องเกี่ยวกับการสถาปนา
อาณาจักร ปัจจัยท่ีส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พัฒนาการทางด้านต่าง ๆ
โดยสังเขป ผลงานของบุคคลสําคัญ ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบวร
ราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และภูมิปัญญาไทยท่ีสําคัญที่น่าภาคภูมิใจ
ควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ โดยใช้ทักษะการอ่าน การสืบค้นข้อมูล การเชื่อมโยง การวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดความ
รักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนักถึงความพากเพียรพยายามของบรรพบุรุษที่ได้ปกป้อง และ
สร้างสรรค์ความเจริญใหบ้ า้ นเมอื งตกทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบต่อถงึ ปจั จุบนั
รหสั ตัวชีว้ ดั
ส ๔.๑ ป ๖/๑, ป ๖/๒
ส ๔.๒ ป ๖/๑, ป ๖/๒
ส ๔.๓ ป ๖/๑, ป ๖/๒, ป ๖/๓, ป ๖/๔
รวมทั้งหมด ๘ ตัวช้ีวดั
หลกั สตู รโรงเรียนวัดบพุ นิมิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๖๖
คําอธิบายรายวิชาเพ่มิ เติม
รหัสวชิ า ส ๑๖๒๐๒ ช่ือวชิ า การปอ้ งกนั การทจุ ริต กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คําอธิบายรายวชิ า
ศึกษาเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและความ
ไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าท่ีของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการ
ต่อต้านการทจุ ริต
โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จําแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทําโครงงานกระบวนการเรียนรู้
๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่านและการเขียน เพ่ือให้มีความ
ตระหนกั และเหน็ ความสําคญั ของการตอ่ ต้านและการป้องกนั การทจุ รติ
ผลการเรยี นรู้
๑. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
๓. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ รติ
๔. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
๕. สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๖. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผลู้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทกุ รปู แบบ
๗. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ท่ี STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต
๘. ปฏิบัติตนตามหน้าทพี่ ลเมอื งและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
๙. ตระหนักและเห็นความสําคัญของการต่อต้านและป้องกนั การทจุ รติ
รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บุพนิมติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๖๗
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
หลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมติ พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) มคี ําอธิบาย
รายวิชา ในรายวชิ าพน้ื ฐาน และรายวิชาเพิม่ เตมิ ดงั น้ี
รายวชิ าพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ จาํ นวน ๔๐ ช่ัวโมง
พ ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาฯ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
พ ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ จาํ นวน ๔๐ ช่ัวโมง
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาฯ จาํ นวน ๘๐ ช่ัวโมง
พ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาฯ จํานวน ๘๐ ชว่ั โมง
พ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาฯ จาํ นวน ๘๐ ชว่ั โมง
หลกั สตู รโรงเรียนวัดบุพนิมติ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๖๘
พ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาฯ คําอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
เวลา ๔๐ ช่วั โมง
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
รู้เข้าใจธรรมชาติการเจริญเติบโต การพัฒนาการของมนุษย์ อธิบายหน้าท่ีของอวัยวะภายนอกดูแลรักษา
เห็นคุณค่าความรักความผูกพัน ช่ืนชอบภูมิใจในตนเอง ทั้งสมาชิกในครอบครัว รู้เข้าใจความแตกต่างระหว่างเพศ
หญิง-ชาย มีทักษะในการดําเนินชีวิต การเคลื่อนไหวทางกายสอดคล้องกับอุปกรณ์ประกอบกิจกรรม การเล่น
เกมกีฬา มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจ จิตวิญญาณ เสริมสร้างสุขภาพ สมรรถภาพ มีความสามารถปฏิบัติ
ตามสุขบัญญัติ ปฏิบัติตนตามคําแนะนํา การเจ็บป่วยของตนเอง หลีกเลี่ยงพฤติกรรมปัจจัยเส่ียง ต่อสุขภาพ
อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด ความรุนแรง การพูด ท่าทาง ขอความช่วยเหลือ การเกิดเหตุร้าย ท่ีจะเกิดขึ้น ทั้ง
ท่ีบ้านท่ีโรงเรยี น
มีความสามารถในการป้องกันดูแล รักษา การตัดสินใจ และการแก้ปัญหาง่ายๆ ของตนเอง และ
ครอบครัว มีความนิยมท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึก ต่อการดําเนินชีวิตตามธรรมชาติสอดคล้องกับ
ชีวิตประจําวัน
รู้เข้าใจเห็นคุณค่าของการเล่นเกมกิจกรรมกีฬาพ้ืนบ้าน นันทนาการ การท่องเที่ยว อาหารพ้ืนบ้าน ปฏิบัติ
ตนเก่ียวกับการเจ็บป่วยโรคในหมู่บ้านนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนําไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั ชีวิตประจําวันได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม
รหัสตัวช้ีวัด
พ ๑.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒
พ ๒.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓
พ ๓.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒
พ ๓.๒ ป๑/๑ , ป๑/๒
พ ๔.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓
พ ๕.๑ ป๑/๑ , ป๑/๒ , ป๑/๓
รวมทัง้ หมด ๑๕ ตัวช้ีวดั
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บุพนมิ ติ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
พ ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาฯ ๖๙
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๒
คําอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
เวลา ๔๐ ชัว่ โมง
คาํ อธิบายรายวิชา
รู้เข้าใจธรรมชาติการเจริญเติบโต เห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา มีทักษะในการดําเนินชีวิต
การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเล่มเกมกีฬาไทยสากล มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ การสร้างสุขภาพ
สมรรถภาพ การป้องกันโรค หลีกเล่ียงสารเสพติด การใช้ยา การเกิดอุบัติเหตุ ความรุนแรง มีความปลอดภัยใน
ชีวิต ดูแลรักษาอวัยวะภายใน รู้หน้าที่บทบาทของตนเอง สมาชิกในครอบครัว เพ่ือน เข้าใจความแตกต่างเพศหญิง
เพศชาย มีความภูมิใจในเพศตนท้ังหญิงชาย การเล่นเกม กีฬา การเคลื่อนไหวร่างกายอาศัยอุปกรณ์ได้ด้วยตนเอง
กลุ่มอย่างสนุกสนาน ตามกฎ กติกา มีวินัยในการเลือกอาหารท่ีมีประโยชน์ การมีสุขภาพดี การดูแลการเกิด
อุบัติเหตุ การเจ็บป่วย บาดเจ็บ การใช้ยา เล่ียงสารเสพติด ความรุนแรง ปฏิบัติตนตามสัญลักษณ์ พฤติกรรมเสี่ยง
ไดอ้ ย่างปลอดภัย
รู้เข้าใจหน้าท่ี การดูแล เสริมคุณค่าตนเอง สังคม ครอบครัว เพื่อน การมีพฤติกรรมก่อให้เกิดความมี
สุขภาพกาย การอยู่ร่วมกัน การเสริมสร้างสุขภาพดี การดูแล เกิดการเจ็บป่วย อุบัติเหตุเบื้องต้น มีค่านิยมมี
คุณธรรม ในการดาํ เนนิ ชวี ติ สอดคล้องกบั ธรรมชาติ ชว่ ยให้มคี วามปลอดภยั ในชีวติ
รู้เข้าใจเห็นคุณค่าของการเล่นเกมกิจกรรมกีฬาพื้นบ้าน นันทนาการ มีกฎระเบียบกติกา มีความรู้ ความ
เข้าใจการท่องเที่ยว อาหารพ้ืนบ้าน ปฏิบัติตนเก่ียวกับการเจ็บป่วยโรคในหมู่บ้านรู้จักชื่อและอาการของโรค
นําไปใช้ในชีวิตประจําวัน สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนําไปประยกุ ต์ใชก้ ับชีวิตประจาํ วันไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
รหสั ตัวชีว้ ัด
พ ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓
พ ๒.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔
พ ๓.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒
พ ๓.๒ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒
พ ๔.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕
พ ๕.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕
รวมทง้ั หมด ๒๑ ตวั ชวี้ ดั
หลกั สตู รโรงเรยี นวัดบุพนมิ ิต (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๗๐
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓
คําอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คาํ อธิบายรายวชิ า
เข้าใจลักษณะการเจริญเติบโต ความแตกต่าง สัมพันธ์ ภาพในครอบครัว กลุ่มเพื่อน สร้างสัมพันธภาพ
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมนําไปส่า การล่วงละเมิดทางเพศ มีการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย ทําอยู่กับท่ี และ
รอบทิศทาง การใช้อุปกรณ์ในการออกกําลังกาย การเล่นเกม กีฬา ปฏิบัติตนอย่างสม่ําเสมอ มีวินัย มีความถนัด
รู้จักจุดเด่นจุดด้อยของตนเอง รู้เข้าใจการละเล่นกีฬาพ้ืนเมือง อธิบายการป้องกันการแพร่กระจายของโรค การ
เลือกอาหารตามสัดส่วนรู้วิธีป้องกันโรค เข้าใจวิธีการแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิต ทั้งการขอ
ความช่วยเหลือจากบุคคล เม่ือเกิดเหตุร้าย อุบัติเหตุ ท้ังการใช้ยา เว้นสารเสพติด ลดความรุนแรง ท้ังที่บ้านและที่
โรงเรยี น
ปฏิบัติตนในการรู้เข้าใจอธิบาย การเปล่ียนแปลงของมนุษย์ ความแตกต่างทั้งร่างกาย อารมณ์ให้
เหมาะสมกับวัย การตัดสินใจ แก้ปัญหาง่ายๆ จากใกล้ตัว บ้าน โรงเรียน มีเจตคติที่ดี มีคุณธรรม จิตสํานึก ความ
รับผดิ ชอบต่อตนเอง และผูอ้ น่ื
รู้เข้าใจวิธีการกิจกรรมการเล่นกีฬาพ้ืนบ้าน นันทนาการ การท่องเท่ียว อาหารพื้นบ้าน รู้วิธีรักษาการ
เจ็บป่วยของโรคในตําบล ปฏิบัติตามกฎระเบียบ กติกาของการเล่นเกมนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน สามารถนํา
ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนําไปประยุกต์ใช้กับ
ชีวติ ประจาํ วนั ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
รหัสตวั ชี้วัด
พ ๑.๑ ป. ๓/๑, ป.๓/๒, ป. ๓/๓
พ ๒.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓
พ ๓.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒
พ ๓.๒ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒
พ ๔.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓, ป. ๓/๔, ป. ๓/๕
พ ๕.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓
รวมทง้ั หมด ๑๘ ตัวชว้ี ดั
หลกั สตู รโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ิต (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๗๑
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
คาํ อธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา
เวลา ๘๐ ชั่วโมง
คําอธิบายรายวิชา
รู้เข้าใจหน้าท่ีของอวัยวะต่างๆ เห็นความสําคัญของการทํางานของอวัยวะ สามารถป้องกันดูแลอวัยวะ
การเจริญเติบโต การเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจอารมณ์ สังคม และสติปัญญา รู้วิธีการแก้ไขปัญหาและ
การป้องกันปัญหาที่เกิดข้ึน เข้าในบทบาทหน้าท่ีของตนเองต่อครอบครัว เห็นคุณค่าและความสําคัญของเพศชาย
เพศหญิง สามารถควบคุมตนเองและขณะปฏิบัติการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การกีฬา เล่มเกม มีส่วนร่วมใน
กิจกรรมกีฬากับชุมชน ปฏิบัติตามกฎกติกา รู้และเข้าใจการมีสุขภาพท่ีดี การป้องกันโรค การเลือกบริโภคอาหาร
อารมณ์และความเครียด รู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ รู้และเข้าใจในเร่ืองการเสริมสร้างสมรรถภาพทาง
กายเพื่อสุขภาพ การป้องกันหลีกเล่ียงปัจจัยเส่ียงที่เกิดจากอุบัติเหตุ สิ่งเสพติด การปฐมพยาบาล จัดหมวดหมู่
อวัยวะของร่างกายปฏิบัติกิจกรรมการเล่นเกม กีฬาพ้ืนบ้าน ฝึกทดสอบกิจกรรมยืดหยุ่นพื้นฐาน หลีกเลี่ยงปัจจัย
เส่ียงตอ่ สขุ ภาพ อบุ ัตภิ ยั
รู้ปฏิบัติตนการเล่นเกมกีฬาพื้นบ้านในระดับอําเภอ การทําอาหารพื้นบ้าน รู้วิธีรักษาและปฏิบัติตน การ
เจ็บป่วยตามคําแนะนํา เลือกแหล่งบริการสุขภาพที่เหมาะสม มีความรู้ในการบริโภคอาหาร เลือกซื้อ เลือกบริโภค
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนําไปประยกุ ตใ์ ช้กับชวี ิตประจาํ วันไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
รหัสตัวชี้วัด
พ ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
พ ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
พ ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ป.๔/๓, ป.๔/๔
พ ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
พ ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
พ ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
รวมทัง้ หมด ๑๙ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนวดั บพุ นมิ ิต (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๗๒
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๕
คําอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ุขศกึ ษาและพลศึกษา
เวลา ๘๐ ชั่วโมง
คําอธิบายรายวิชา
รู้เข้าใจในการทํางานของอวัยวะต่างๆ สุขอนามัยทางเพศ การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ สติปัญญา รู้และเข้าใจเห็นคุณค่าของชีวิตครอบครัว มีทักษะในการดําเนินชีวิต หลักการเคลื่อนไหว การ
ออกกําลังกาย เกมกีฬาไทยและกีฬาสากล รู้และเข้าใจกลวิธีการรุกและการป้องกันการส่งเสริมสุขภาพของตน
การบริโภคอาหารเพ่ือสุขภาพและความปลอดภัยจากปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพต่างๆ ศึกษาค้นคว้าการทํางานของ
ระบบอวัยวะสุขภาพทางเพศ การเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา หลักของการเคล่ือนไหว
การกีฬา การมีสุขภาพดี การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ การปฏิบัติควบคุมจนเองในการเคล่ือนไหว การเข้าร่วม
กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม ออกกําลังกาย การเการพกฎ กติกา ความมีน้ําใจเป็นนักกีฬา การอภิปรายและการ
รายงานผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมวดั ประเมนิ ผลโดยการสังเกตพฤตกิ รรมทดสอบความรู้ ทดสอบการเล่นกีฬา
เข้าใจกฎ กติกา กีฬาพ้ืนบ้านในระดับจังหวัดเห็นประโยชน์ของการเล่นเกม รู้อนุรักษ์การทําอาหาร
พื้นบ้านป้องกันการเจ็บป่วย เลือกแหล่งบริการสุขภาพ เลือกกิจกรรมทัศนศึกษาการพักผ่อนเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ
ปฏิบัติตนให้มีความรู้ความเข้าใจนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาํ ไปประยุกต์ใช้กับชวี ติ ประจําวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
รหสั ตวั ชีว้ ัด
พ ๑.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒
พ ๒.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓
พ ๓.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕, ป. ๕/๖
พ ๓.๒ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔
พ ๔.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕
พ ๕.๑ ป.๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕
รวมท้ังหมด ๒๕ ตัวช้ีวัด
หลักสูตรโรงเรียนวัดบพุ นิมิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
พ ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ ๗๓
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖
คาํ อธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา
เวลา ๘๐ ชวั่ โมง
คาํ อธิบายรายวิชา
รู้เข้าใจในการทํางานของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย สุขอนามัยทางเพศ การพัฒนาการ ของวัยแรกรุ่น การ
เปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และจิตวิญญาณในวัยแรกรุ่น ชีวิตครอบครัว หลักการ
เคล่ือนไหว การออกกําลังกาย เกมกีฬาไทย กีฬาสากล กลวิธีการรุก การป้องกัน และเสริมสร้างสุขภาพท่ีดี
สมรรถภาพ การป้องกันการเกิดโรค การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุศึกษาค้นคว้าการทํางานของระบบ
อวัยวะ การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา จิตวิญญาณในวัยแรกรุ่นหลักของการ
เคลื่อนไหว ความมีสุขภาพดี ปฏิบัติการเคลื่อนไหว ความมีสุขภาพดี การปฏิบัติการเคล่ือนไหวอยู่กับที่ เคลื่อนท่ี
การบังคับสิ่งของ การเข้าร่วมเล่นกิจกรรมทางกาย เกมกีฬา การเการพกฎกติกา ท่ายืดหยุ่นพ้ืนฐาน ปฏิบัติท่า
ทดสอบสมรรถภาพทางกาย อภิปรายรายงานผล การฝึกปฏิบัติกิจกรรมสังเกตพฤติการณ์และความสนใจในการ
ฝึก ปฏิบัติกิจกรรม ทดสอบความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับระบบการทํางานของอวัยวะ การพัฒนาการของวัยรุ่น การ
เปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมวัยรุ่น ชีวิตครอบครัว สังเกตการเคล่ือนไหวการออกกําลังกาย
การเลน่ กีฬา
เข้าใจการเล่นเกมกีฬาพ้ืนบ้าน กฎกติการะดับจังหวัด รู้ประโยชน์ของการเล่น ปฏิบัติตนในการอนุรักษ์
อาหารพื้นบ้าน วิธีการทํา ปฏิบัติตนป้องกันการเจ็บป่วย การรักษา การแนะนํา การป้องกันโรค เลือกแหล่งบริการ
สุขภาพในท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม เลือกปฏิบัติกิจกรรมในการบริโภคอาหาร สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนําไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจําวันได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
มคี วามสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ได้แก่ หลกี เลี่ยงพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงคท์ ีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและ
ผอู้ ืน่
รหัสตัวช้ีวัด
พ ๑.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒
พ ๒.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒
พ ๓.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป.๖/๔, ป. ๖/๕
พ ๓.๒ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป. ๖/๔, ป. ๖/๕, ป. ๖/๖
พ ๔.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป.๖/๔
พ ๕.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓
รวมท้งั หมด ๒๒ ตวั ช้ีวัด
หลกั สูตรโรงเรียนวดั บพุ นมิ ิต (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๗๔
คําอธบิ ายรายวชิ า
หลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมติ พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) มคี ําอธิบาย
รายวชิ า ในรายวชิ าพ้นื ฐาน และรายวิชาเพม่ิ เติม ดงั นี้
รายวชิ าพ้ืนฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ จํานวน ๔๐ ช่ัวโมง
ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ จาํ นวน ๔๐ ชั่วโมง
ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ จํานวน ๘๐ ชั่วโมง
ศ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ จาํ นวน ๘๐ ชั่วโมง
ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ จาํ นวน ๘๐ ชั่วโมง
หลักสตู รโรงเรยี นวดั บพุ นิมิต (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๗๕
ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ คาํ อธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
คําอธิบายรายวชิ า
ศึกษา สังเกต อภิปราย และฝึกปฎิบัติเก่ียวกับงานศิลปะส่ิงท่ีอยู่รอบตัว รูปร่าง ธรรมชาติและความ
งามของสิ่งแวดล้อม การกําเนิดเสียงจากธรรมชาติ, แหล่งกําเนิดเสียง, สีสันของเสียงระดับเสียงดัง เบา
(dynamic), อัตราความเร็วของจังหวะเพลงท่ีใช้ในชีวิตประจําวัน (Tempo) การเลียนแบบ คน สัตว์ ส่ิงของ
การใช้ภาษาท่าทาง การประดิษฐ์ท่าประกอบเพลงการแสดงประกอบเพลงที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติสัตว์ การเป็น
ผู้ชมทด่ี ี การละเล่นของเดก็ ไทยและท้องถิ่นวธิ ีการเล่น กตกิ า การแสดงนาฏศลิ ป์
โดยใช้ทักษะการฝึกปฏิบัติ สังเกต ถ่ายทอดงานศิลปะละเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ วาดภาพธรรมชาติ
ผลไม้ในท้องถ่ินแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับผลงานทางศิลปะ ทักษะทางดนตรี อ่านบทกลอนประกอบจังหวะ
ร้องเพลงประกอบจังหวะ ร้องเพลงกล่อมเด็ก ฝึกร้องเพลง เคาะประกอบจังหวะ เคลื่อนไหวประกอบบทเพลง
เพลงประกอบการละเล่น เพลงชาติ เพลงสรรเสริญพระบารมี ท่ีมาของเพลงในท้องถ่ิน ความน่าสนใจของบท
เพลงท้องถ่ินฝึกปฏิบัติทักษะทางนาฏศิลป์ การเคลื่อนไหวลักษณะต่างๆ การเลียนแบบธรรมชาติ ในท้องถ่ินของ
ตน ทักษะเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบธรรมชาติ คน สัตว์ สิ่งของ ฝึกปฏิบัติภาษาท่า ประดิษฐ์ท่าทาง
ประกอบเพลงไทยสั้นๆและเพลงพ้ืนเมืองปฏิบัติตามได้ เพ่ือให้มีความสนุกสนานเพลิดเพลินในการทํากิจกรรม
ทางศิลปะ ปฏิบัติตนเป็นผู้ชมท่ีดี เห็นคุณค่าของดนตรี นาฏศิลป์ไทยและท้องถ่ิน มีความช่ืนชอบเห็นความสําคัญ
และประโยชน์ของดนตรีนาฏศิลป์ต่อการดําเนินชีวิตของคนในท้องถิ่น ช่ืนชมการแสดงพ้ืนเมืองมีความกล้า
แสดงออก
รหัสตวั ช้ีวดั
ศ ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ศ ๑.๒ ป.๑/๑
ศ ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ศ ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ศ ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ศ ๓.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวมทัง้ หมด ๑๘ ตัวชว้ี ดั
หลกั สตู รโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๗๖
ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ คาํ อธิบายรายวิชาพื้นฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
คําอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษา รูปร่าง รูปทรง ตามทัศนธาตุของสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ ทักษะพ้ืนฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์
ในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ การวาดภาพ ระบายสีเก่ียวกับศาสนสถานวัดนางโอ วาดภาพเก่ียวกับ
ธรรมชาติผลไม้ในท้องถิ่น งานป้ัน และงานพิมพ์ภาพ งานปะติด ความสําคัญและการสร้างงานทัศนศิลป์ใน
ท้องถ่ิน ศึกษาแหล่งกําเนิดของเสียงท่ีได้ยิน เสียงเคร่ืองดนตรี เสียงมนุษย์ ฝึกจําแนกสียง สูง- ต่ํา ดัง – เบา
ยาว - สั้น การเคลื่อนไหวประกอบเน้ือหาในบทเพลง การเล่นเคร่ืองดนตรีประกอบเพลง การขับร้องเพลงง่ายๆ
ความหมายและความสําคัญของเพลงปลุกใจ เพลงสอนใจ เพลงท่ีเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมท่ีมาของบทเพลงท้องถิ่น
และความน่าสนใจของบทเพลงในท้องถิ่น ลักษณะของเสียงร้องในบทเพลงลักษณะของเสียงดนตรีท่ีใช้ในบทเพลง
ศึกษาฝึกปฏิบัติการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ การน่ัง,การยืน,การเดิน การประดิษฐ์ท่า จากการเคล่ือนไหวอย่างมี
รูปแบบ หลกั วธิ กี ารปฏบิ ัตนิ าฏศิลป์ การฝกึ ภาษาทา่ สอ่ื ความหมายแทนอากปั กริ ิยา การฝึก
นาฏศัพท์ในส่วนลําตัว การใช้ภาษาท่าและนาฏศัพท์ประกอบจังหวะ มารยาทในการชมการแสดงการ
เข้าชมหรือมีส่วนร่วมในการแสดง ที่มา วิธีการกติกาของการละเล่นพ้ืนบ้าน ระบุการเล่นพ้ืนบ้านที่ชอบ มโนราห์
หนังตะลงุ และภาคภมู ใิ จ
ฝึกสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้ทัศนธาตุจากสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ ฝึกทักษะทางดนตรี เล่นเคร่ือง
ดนตรีประกอบเพลง การขับร้องเพลงง่ายๆ ความหมายและความสําคัญของเพลงปลุกใจ เพลงสอนใจ เพลงที่
เกี่ยวกับส่ิงแวดล้อม ที่มาของบทเพลงท้องถ่ิน และความน่าสนใจของบทเพลงในท้องถิ่น ลักษณะของเสียงร้องใน
บทเพลงลักษณะของเสียงดนตรีท่ีใช้ในบทเพลง ฝึกปฏิบัติการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ การนั่ง,การยืน,การเดิน
การประดิษฐ์ท่า จากการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ หลักวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์ การฝึกภาษาท่าสื่อความหมาย
แทนอากัปกิริยา การฝึกนาฏศัพท์ในส่วนลําตัว การใช้ภาษาท่าและนาฏศัพท์ประกอบจังหวะมารยาทในการชม
การแสดงการเข้าชมหรือมีส่วนร่วมในการแสดง ที่มา วิธีการกติกาของการละเล่นพื้นบ้าน ระบุการละเล่นพ้ืนบ้าน
เพลงกล่อมเด็ก การแสดงพื้นบ้าน ท่ีชอบและภาคภูมิใจ หนังตะลุง มโนราห์ เพื่อให้เกิดความช่ืนชมและเห็นคุณค่า
ของงานศิลปะ และการใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่างประหยัด พอเพียง และคุ้มค่าปฏิบัติตนเป็นผู้ชมที่ดี ช่ืนชมเห็น
คณุ คา่ ของการแสดงนาฏศิลปไ์ ทย
รหัสตวั ชีว้ ดั
ศ ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ศ ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ศ ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ศ ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ศ ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ศ ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวมทั้งหมด ๒๕ ตวั ชวี้ ัด
หลกั สูตรโรงเรยี นวดั บพุ นิมติ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๗๗
ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ คําอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คาํ อธิบายรายวิชา
ศึกษา รูปร่าง รูปทรง จําแนกและจัดกลุ่มภาพตามทัศนธาตุของส่ิงต่างๆ ในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
และงานทัศนศลิ ป์ มีทกั ษะพน้ื ฐานการใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ในการสร้างงาน การวาดภาพระบายสี
วาดภาพธรรมชาติเก่ียวกับผลไม้ในท้องถ่ิน งานปั้น การพิมพ์ภาพ ภาพปะติด และการสร้างงานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่น แสดงความคิดเห็น เหตุผลวิธีการในการปรับปรุงผลงาน รู้ประวัติความเป็นมาของงานทัศนศิลป์ใน
ท้องถิ่น ศึกษาลักษณะของเครื่องดนตรีท่ีเห็นและได้ยินในชีวิตประจําวัน ลักษณะเสียงสูง- ต่ําดัง-เบา ที่มีความ
เก่ียวข้องกับชีวิตประจําวันและบทบาทหน้าท่ีของบทเพลงที่ใช้ในชีวิตประจําวันศึกษาความเป็นมาความสําคัญของ
การแสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน ประเภทลักษณะและเอกลักษณ์ของการแสดงนาฏศิลป์ หลักการชม
การแสดง และเขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์กบั การบรู ณาการกลุม่ สาระการเรยี นรตู้ ่างๆ
โดยฝึกสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ฝึกใช้ทัศนธาตุจากธรรมชาติส่ิงแวดล้อมเพื่อถ่ายทอดความรู้สึก
ความคิด จินตนาการ เหตุการณ์ ประสบการณ์ในชีวิตจริงและวัฒนธรรมประเพณีในท้องถิ่น มีส่วนร่วมใน
กิจกรรมดนตรีและบทเพลงสามารถเคล่ือนไหวท่าทางอารมณ์ ให้สอดคล้องกับบทเพลง ร้องเพลงพ้ืนบ้าน เพลง
กล่อมเด็กในต.แม่ลาน สามารถนําไปใช้ในชีวิตประจําวันและโอกาสพิเศษได้ มีความชื่นชมและสนุกสนานใน
กิจกรรมดนตรีฝึกปฏิบัติและแสดงนาฏศิลป์ไทย พื้นบ้าน ฝึกเคลื่อนไหวแสดงท่าทางประกอบเพลงตามรูปแบบ
ทางนาฏศิลป์ ปฏบิ ัติตนเปน็ ผ้ชู มและผแู้ สดงท่ดี ี
เพื่อให้เกิดความตระหนัก ชื่นชม เห็นคุณค่าของงานศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ มีความรู้ ความเข้าใจ มี
ทักษะในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์และการละเล่นพ้ืนบ้านการแสดงพ้ืนบ้าน สามารถนํา
กจิ กรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ไปใชใ้ นโอกาสตา่ งๆ เพอ่ื ความเพลดิ เพลินแกต่ นเองและผอู้ น่ื ได้
รหสั ตัวชี้วดั
ศ ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒,ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐
ศ ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ศ ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗
ศ ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ศ ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
ศ ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
รวมทั้งหมด ๒๙ ตัวช้ีวดั
หลกั สตู รโรงเรยี นวัดบุพนมิ ิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๗๘
ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ คําอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาเปรียบเทียบรูปลักษณะของรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ถ่ายทอด
ความคิดความรู้สึก ความประทับใจผ่านงานทัศนศิลป์ของตนเองและบุคคลอื่นการอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสี
วรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็นท่ีมีต่ออารมณ์ของมนุษย์เหตุการณ์และงานเฉลิมฉลองของวัฒนธรรมในท้องถ่ินจําแนก
ทัศนธาตุของสิ่งต่างๆในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์โดยเน้นเร่ืองเส้นสีรูปร่างรูปทรงพ้ืนผิวและพ้ืนที่
ว่างฝึกทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพงานวาดภาพระบายสีเก่ียวกับบรรยายลักษณะ
ของภาพโดยเน้นเรื่องการจัดระยะความลึกน้ําหนักแสงเงาในภาพและงานทัศนศิลป์ท่ีมาจากวัฒนธรรมต่างๆ วาด
ภาพระบายสีโดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็นถ่ายทอดความรู้ สึและจินตนาการการเลือกใช้สี วรรณะ เพื่อ
ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในการสร้างงานทัศนศิลป์ ศึกษาโครงสร้างของบทเพลง ความหมาย จําแนกประเภท
ของเคร่ืองดนตรี ระบุทิศทางการเคลื่อนที่ขึ้นลงง่ายๆ ของทํานองรูปแบบจังหวะและความเร็วของจังหวะในเพลงที่
ฟัง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี การสืบทอดงานทางดนตรี ท่ีเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตไทยที่
สะท้อนในดนตรีและเพลงท้องถิ่น การอนุรักษ์ส่งเสริมวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
ท้องถิน่ ร้องเพลงพื้นบา้ น
ศึกษาทักษะพ้ืนฐานทางนาฏศิลป์และการละครท่ีใช้สื่อความหมาย อารมณ์ หลักและวิธีการปฏิบัติ การ
เคล่ือนไหวในจังหวะต่างๆ ตามความคิดของตน การแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่ รําวงมาตรฐานระบําเล่าสิ่งท่ีช่ืน
ชอบในการแสดงโดยเน้นจุดสําคัญของเร่ืองและลักษณะเด่นของตัวละครอธิบายประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์
หรอื ชดุ การแสดงอยา่ งงา่ ยๆ ใชภ้ าษาทา่ และนาฏยศัพทถ์ า่ ยทอดเรอ่ื งราวอธิบายประวตั คิ วามเป็นมาของนาฏศิลป์
โดยใช้ทักษะทางศิลปะ เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์ได้อย่างเหมาะสม ฝึกปฏิบัติอ่าน เขียนโน้ต
ดนตรีไทยและสากล ร้องเพลง ใช้ช่วงเสียงที่เหมาะสมกับตนเอง บอกความหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี
โครงสร้างโน้ตเพลงไทย ใช้และเก็บเครื่องดนตรีอย่างถูกต้องและปลอดภัย ระบุว่าดนตรีสามารถใช้ในการส่ือ
เร่ืองราวบอกแหล่งท่ีมาและความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตไทยความสําคัญในการอนุรักษ์ส่งเสริมวัฒนธรรมทางดนตรีที่
สะท้อนในดนตรีเพลงท้องถิ่นและโอกาสในการบรรเลงดนตรี ฝึกปฏิบัติภาษาท่าและนาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการ
ละครง่ายๆในการถ่ายทอดเร่ืองราว ประดิษฐ์ท่าทางหรือท่ารําประกอบจังหวะพื้นเมืองชุดการแสดงอย่างง่ายๆ
เปรียบเทยี บการแสดงนาฏศลิ ป์กับการแสดงทม่ี าจากวฒั นธรรมอน่ื หนงั ตะลุง มโนราห์
เพ่ือสามารถบอกความรู้สึกในการรับรู้ความงามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับความงามของทัศนธาตุ
ทางทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์ นําเสนอผลงานของตนเองและกลุ่ม อภิปราย เปรียบเทียบผลงาน นําความรู้
และวิธีการทางทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์ไปใช้ในชีวิตประจําวัน สืบทอดงานเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี ท่ีเป็น
ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น วาดภาพเก่ยี วกบั ประเพณีวนั สารท ประเพณีการรับเทวดา
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บพุ นมิ ติ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๗๙
รหัสตัวชี้วัด
ศ ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗ , ป.๔/๘ , ป.๔/๙
ศ ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ศ ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗
ศ ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ศ ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕
ศ ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔
รวมท้ังหมด ๒๙ ตวั ช้วี ดั
หลกั สูตรโรงเรยี นวัดบุพนมิ ติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๘๐
ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๘๐ ชวั่ โมง
คําอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษา เก่ียวกับท่ีปรากฏในส่ิงแวดล้อมและสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ส่ือความคิด จินตนาการ
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ท่ีสร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน ใช้ความรู้
เทคนิค วิธีการ และวัสดุอุปกรณ์ประเภทต่างๆ จากแหล่งการเรียนรู้หรือนิทรรศการ แสดงออกถึงความรู้สึก
ความคิดเห็น ประโยชน์และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม สร้างสรรค์งานปั้นจากดินน้ํามัน
หรอื ดนิ เหนียวงานพิมพภ์ าพ โดยเน้นการถ่ายทอดจนิ ตนาการศลิ ปะและการจดั วางตาํ แหนง่ ของสิง่ ต่างๆในภาพ
ศึกษาจังหวะ ทํานอง องค์ประกอบดนตรีในเพลงที่ใช้ในการสื่ออารมณ์ จําแนกลักษณะของเสียงขับร้อง
และเคร่ืองดนตรี ท่ีอยู่ในวงดนตรีประเภทต่างๆ การอ่าน เขียนโน้ตดนตรีไทย ดนตรีสากล ๕ ระดับเสียง ร้องเพลง
ไทยร้อง เพลงในงานประเพณีท้องถ่ิน เพลงกล่อมเด็กหรือเพลงสากลหรือเพลงไทยสากลท่ีเหมาะสมกับวัย ด้นสด
ง่ายๆโดยใช้ประโยคเพลงแบบถามตอบใช้เคร่ืองดนตรีบรรเลงจังหวะและทํานองร่วมกับกิจกรรมในการแสดงออก
ตามจนิ ตนาการ
ศึกษาความรู้พ้ืนฐานทางนาฏศิลป์ การบรรยายองค์ประกอบของนาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่าทางประกอบ
เพลงหรือเรื่องราวตามความคิด องค์ประกอบของละคร บอกที่มาของการแสดงนาฏศิลป์ ประโยชน์ท่ีได้รับจาก
การชมการแสดง การแสดงพืน้ บา้ นมโนราห์ หนังตะลุง
โดยใช้ทักษะทางศิลปะ เลือกเทคนิค วิธีการ วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม
ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย การฝึกปฏิบัติ การแสดงออกตามจินตนาการเพ่ือส่ือความคิด
จินตนาการ ความรู้สึกประทับใจและเห็นคุณค่า อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี นาฏศิลป์
กับประเพณีในวัฒนธรรมต่างๆ ให้สัมพันธ์กัน เพ่ือนําไปสร้างสรรค์ระหว่างดนตรี นาฏศิลป์กับประเพณีใน
วัฒนธรรมท้องถ่ิน เห็นคุณค่าของดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน วาดภาพประเพณีชักพระ ประเพณีวันสารท
ประเพณกี ารรบั เทวดา
เ พ่ื อ นํ า ค ว า ม รู้ แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ท า ง ด้ า น น า ฏ ศิ ล ป์ ม า ใ ช้ บู ร ณ า ก า ร กั บ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ อ่ื น ๆ
และชวี ิตประจําวันสมั พันธก์ ับการแสดงนาฏศิลปพ์ นื้ บ้านทส่ี ะทอ้ นถงึ วัฒนธรรมและประเพณี ภูมปิ ัญญา
ท้องถน่ิ ภมู ิปญั ญาไทยและสากล
รหสั ตวั ชี้วดั
ศ ๑.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗
ศ ๑.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ศ ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗
ศ ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ศ ๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖
ศ ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
รวมทง้ั หมด ๒๖ ตวั ชีว้ ัด
หลักสตู รโรงเรียนวัดบุพนิมิต (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๘๑
ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษา สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ส่ือความคิด ถ่ายทอดจินตนาการ ใช้สีคู่ตรงข้าม แสงเงา นํ้าหนักงานป้ัน
รูปแบบ เทคนิค และวิธีการต่างๆ แสดงเป็นแผนภาพ แผนผัง ภาพประกอบ อธิบายหลักการจัดขนาด สัดส่วน
ความสมดุลในการสร้างงานทัศนศิลป์ จากรูปแบบ ๒ มิติ เป็น ๓ มิติ บทบาทของงานทัศนศิลป์ท่ีสะท้อนชีวิตและ
สังคม อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของความเช่ือ ความศรัทธาในศาสนาที่มีผลต่องานทัศนศิลป์ในท้องถิ่นอันเป็น
มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี เพลงที่ฟัง
และศัพท์สังคีต จําแนกประเภทเครื่องดนตรี ใช้เคร่ืองดนตรีและเคร่ืองดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ อ่าน เขียน
โน้ตไทยและโน้ตสากล ร้องเพลง ด้นสด สร้างสรรค์รูปแบบจังหวะและทํานองด้วยเครื่องดนตรีไทยหรือเคร่ือง
ดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างๆ สืบทอดดนตรีไทย จําแนกดนตรีที่มาจากยุคสมัยที่ต่างกัน อิทธิพลของวัฒนธรรม
ต่อดนตรีในท้องถ่ิน บรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นที่มีต่อบทเพลง ความไพเราะของเสียงดนตรี ศึกษา
พื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ นาฏศิลป์เบ้ืองต้น แสดงออกอย่างอิสระในการประดิษฐ์ท่าทางประกอบเพลงปลุกใจ
หรือเพลงพื้นเมืองหรือท้องถ่ิน การแสดงนาฏศิลป์และละครสร้างสรรค์ การใช้เรื่องแต่ง จินตนาการ
ประสบการณ์ ละครสร้างสรรค์ ระบํา ฟ้อน รําวงมาตรฐาน การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์และการ
ละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิตประจําวัน ใช้หลักสุนทรีทางนาฏศิลป์ การบอกความหมาย ความเป็นมา ความสําคัญ
พร้อมท้ังระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือการชมการแสดงนาฏศิลป์สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวและการ
ถ่ายทอดลีลา อารมณ์ส่ิงท่ีมีความสําคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์และละครระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือ
การชมการแสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางศิลปะดนตรี นาฏศิลป์ สังเกต ทดลอง ฝึกปฏิบัติโดยเลียนแบบตาม
รูปแบบท่ีกําหนดให้และฝึกเปล่ียนรูปแบบ คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์งาน กระบวนการกลุ่มและรายบุคคล
บอกความรสู้ กึ ที่เกดิ จากจัดการแสดงทางศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์
เพ่ือถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เพ่ือให้เห็นคุณค่า
ของการนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดําเนินชีวิตประจําวันสัมพันธ์กับวิถีชีวิตพ้ืนบ้าน ศิลปะ ดนตรีและ
การแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้านท่ีสะท้อนถึงวัฒนธรรมและประเพณี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทแลยะสากลสากล
วาดภาพการละเล่นมโนราห์ กีฬาพื้นบ้าน อาหารประจําถิ่น ขนมลา ขนมเจาะหู ร้องเพลงพ้ืนบ้าน เพลงกล่อม
เด็กในต.แม่ลาน การแสดงพ้ืนบ้านมโนราห์ หนังตะลุง
มคี วามสามารถในการคิด คิดข้ันสงู ไดแ้ ก่ คิดสร้างสรรค์
รหัสตัวชว้ี ดั
ศ ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗
ศ ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ศ ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ศ ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ศ ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ศ ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒
รวมทง้ั หมด ๒๗ ตัวชว้ี ัด
หลกั สูตรโรงเรยี นวดั บุพนมิ ิต (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๘๒
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
หลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมติ พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) มคี ําอธิบาย
รายวชิ า ในรายวชิ าพื้นฐาน และรายวชิ าเพมิ่ เติม ดงั นี้
รายวชิ าพ้ืนฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ จาํ นวน ๔๐ ชวั่ โมง
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี จาํ นวน ๔๐ ชว่ั โมง
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ จํานวน ๔๐ ชว่ั โมง
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ จาํ นวน ๔๐ ชัว่ โมง
หลักสูตรโรงเรียนวัดบพุ นมิ ิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๘๓
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ คําอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
บอกวิธีการทํางานเพ่ือตนเอง เช่น การแต่งกาย การเก็บของใช้ การหยิบจับและใช้ของใช้ส่วนตัว การจัด
โต๊ะ ตู้ ช้ัน ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือง่ายๆ ในการทํางานอย่างปลอดภัย เช่น การทําความคุ้นเคยกับการใช้
เคร่ืองมือ การรดนา้ํ ต้นไม้ การถอนและเก็บวชั พืช การพับกระดาษเปน็ ของเลน่
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการ
ทํางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม มีลักษณะนิสัยในการทํางาน กระตือรือร้น ตรงเวลา
ประหยัด สะอาดและปลอดภยั
รหัสตัวชวี้ ดั
ง ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๑, ป.๑/๓
รวมทั้งหมด ๓ ตวั ช้วี ดั
หลักสตู รโรงเรียนวัดบุพนมิ ติ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๘๔
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี คําอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒ กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี
เวลา ๔๐ ช่วั โมง
คําอธบิ ายรายวิชา
บอกวิธีการและประโยชน์การทํางานเพ่ือตนเองและครอบครัว เช่นบทบาทและหน้าที่สมาชิกในบ้าน
การจัดวาง เก็บเสื้อผ้า รองเท้า การช่วยเหลือครอบครัว เตรียมประกอบอาหาร การกวาดบ้าน การล้างจาน ใช้
วัสดุอุปกรณ์และเคร่ืองมือให้เหมาะสมกับงาน ช่วยให้ประหยัดและปลอดภัย เช่น การเพาะเมล็ด การดูแปลงเพาะ
กล้า การทาํ ของเลน่ การประดิษฐ์ของใชส้ ่วนตวั
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการ
แก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม มีลักษณะนิสัยในการทํางาน
กระตอื รอื รน้ ตรงเวลา ประหยัด สะอาดและปลอดภยั
รหสั ตัวชว้ี ัด
ง ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวมท้งั หมด ๓ ตวั ชี้วัด
หลักสตู รโรงเรียนวัดบพุ นิมิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๘๕
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ คาํ อธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ
เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
คําอธบิ ายรายวิชา
อธิบายวิธีการและประโยชน์การทํางานเพ่ือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม เช่น การเลือกใช้เส้ือผ้า การ
จัดเตรียมอุปกรณ์การเรียน การทําความสะอาดรองเท้า กระเป๋านักเรียน การกวาด ถู ปัดกวาด เช็ดถูบ้านเรือน
การทําความสะอาดห้องเรียน ใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมืออย่างเหมาะสม ประหยัดและปลอดภัย เช่น การปลูก
ผักสวนครัว การบํารุงรักษาของเล่น การซ่อนแซมของใช้ส่วนตัว การประดิษฐ์ของใช้ในโอกาสต่างๆ โดยใช้วัสดุใน
ทอ้ งถิน่
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการ
แก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม มีลักษณะนิสัยในการทํางาน มี
จติ สํานกึ ในการใช้พลังงานและอนุรกั ษส์ ิ่งแวดล้อม
รหสั ตัวชีว้ ดั
ง ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
รวมทงั้ หมด ๓ ตวั ชี้วดั
หลกั สตู รโรงเรียนวัดบุพนิมิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๘๖
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี คําอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
คําอธิบายรายวิชา
อธิบายเหตุผลในการทํางาน ให้บรรลุเป้าหมายในการทํางานตามลําดับอย่างเป็นขั้นตอนตาม
กระบวนการทํางาน เช่น การดูแลรักษาของใช้ส่วนตัว การจัดตู้เสื้อผ้า โต๊ะเขียนหนังสือและกระเป๋านักเรียน การ
ปลูกไม้ดอก หรือไม้ประดับ การซ่อมแซมอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครื่องใช้ ของตกแต่งจากใบตอง และกระดาษ ฝึก
ปฏิบัติมารยาทในการปฏิบัติตน เช่น การต้อนรับบิดามารดา หรือผู้ปกครอง ในโอกาสต่าง ๆ การรับประทาน
อาหาร การใช้ห้องเรียน ห้องนํ้าและห้องส้วม อธิบายความหมายและความสําคัญของอาชีพ ใช้พลังงานและ
ทรัพยากรในการทํางานอย่างประหยัดและคุ้มค่า เช่น การทําสวนยางพารา การทํานา การทําอาหาร การปลูกผัก
ปลอดสารพิษ รา้ นเสริมสวย การทําจักสาน
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการในการทํางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม มีลักษณะนิสัย
ในการทํางาน เช่น ความขยัน อดทน ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ มีจิตสํานึกในการใช้พลังงาน และทรัพยากร
ในการทาํ งานอยา่ งประหยัดและคุ้มคา่ เนน้ คุณธรรมในการทาํ งาน มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ่ อาชพี
รหสั ตวั ชวี้ ดั
ง ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ง ๒.๑ ป.๔/๑
รวมท้ังหมด ๕ ตัวชีว้ ัด
หลกั สตู รโรงเรียนวัดบพุ นมิ ิต (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๘๗
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี คําอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
คําอธบิ ายรายวิชา
อธิบายเหตุผลข้ันตอนการทํางานแต่ละข้ันตอนถูกต้องตามกระบวนการทํางาน เช่น การซ่อมแซม ซัก
ตาก เก็บรีด การพับเส้ือผ้า การปลูกพืช การทําบัญชีครัวเรือน ฝึกปฏิบัติทักษะ การจัดการในการทํางานอย่างเป็น
ระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์ เช่น การจัดโต๊ะอาหาร ตู้อาหาร ตู้เย็นและห้องครัว การทําความสะอาด
ห้องน้ําและห้องส้วม การซ่อมแซมอุปกรณ์ของใช้ในบ้าน การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากวัสดุเหลือใช้ท่ีมีอยู่ใน
ท้องถ่ิน การจัดเก็บเอกสารสําคัญ การดูแลรักษาและใช้สมบัติส่วนตัว สํารวจข้อมูลท่ีเก่ียวกับอาชีพต่างๆ ใน
ชุมชนเพื่อระบุความแตกต่างและข้อควรคํานึงเกี่ยวกับอาชีพ เช่น การปลูกผักปลอดสารพิษ การทําสวนยางพารา
การทําสวนผลไม้ การตดั ผม การทํากรงนก การตัดเยบ็ เสือ้ ผ้าและเครอ่ื งแต่งกาย การทําจกั สาน
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการในการทํางาน ทักษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่วมกัน ทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทํางาน มจี ิตสํานกึ ในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อมในการดาํ รงชีวิตและครอบครัว
รหัสตัวชี้วัด
ง ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ง ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวมทง้ั หมด ๖ ตัวชว้ี ดั
หลักสูตรโรงเรียนวดั บุพนิมติ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
๘๘
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี คําอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
อภิปรายแนวทางในการทํางานและปรับปรุงการทํางานแต่ละข้ันตอน มีการแก้ไขปรับปรุงผลงาน เช่น
การดูแลรักษาสมบัติภายในบ้าน การปลูกไม้ดอก หรือไม้ประดับ หรือปลูกผัก หรือเล้ียงปลาสวยงาม การบันทึก
รายรับ รายจ่ายของห้องเรียน การจัดเก็บเอกสารการเงิน ฝึกทักษะการจัดการในการทํางาน และมีทักษะการ
ทํางานร่วมกัน เช่น การเตรียม ประกอบ จัดอาหารให้สมาชิกในครอบครัว การติดต้ัง ประกอบ ของใช้ในบ้าน
การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งให้สมาชิกในครอบครัว หรือเพ่ือนในโอกาสต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติมารยาทในการ
ทํางานกับสมาชิกในครอบครัวและผู้อื่น สํารวจตนเพื่อวางแผนในการเลือกอาชีพตามความสนใจ ความสามารถ และ
ทักษะ เช่น การปลูกผักปลอดสารพิษ การทําสวนยางพารา การทําสวนผลไม้ การตัดผม การตัดเย็บเส้ือผ้าและ
เคร่ืองแต่งกาย การทําอาหาร การทําจักสาน มีคุณธรรมในการประกอบอาชีพ เช่น ความซื่อสัตย์ ความขยัน อดทน
และความความรบั ผดิ ชอบ
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการในการทํางาน
ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มี
คุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการดํารงชีวิต
และครอบครัว
มีความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ ไดแ้ ก่ นาํ กระบวนการเรียนร้ทู ห่ี ลากหลายไปใช้ในชีวิตประจาํ วัน
รหสั ตัวชีว้ ัด
ง ๑.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ง ๒.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
รวมทัง้ หมด ๕ ตวั ชี้วัด
หลกั สูตรโรงเรียนวดั บพุ นิมิต (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๘๙
คําอธบิ ายรายวชิ า
หลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนวัดบุพนิมติ พุทธศกั ราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565) มคี ําอธิบาย
รายวชิ า ในรายวชิ าพน้ื ฐาน และรายวชิ าเพิม่ เตมิ ดงั นี้
รายวชิ าพ้ืนฐาน
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จาํ นวน ๑๖๐ ชั่วโมง
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จํานวน ๑๖๐ ชวั่ โมง
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จาํ นวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จาํ นวน ๑๒๐ ช่วั โมง
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จาํ นวน ๑๒๐ ชว่ั โมง
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ จํานวน ๑๒๐ ชั่วโมง
หลกั สตู รโรงเรียนวดั บุพนิมติ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๙๐
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ คาํ อธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ
เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
คําอธบิ ายรายวิชา
ปฏิบัติตาม คําส่ังง่ายๆ ที่ฟัง ตัวอักษรและเสียง และสะกดคําง่าย ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ภาพตรง
ตามความหมายของคําและกลุ่มคําที่ฟัง เร่ืองใกล้ตัว คําสั้น ๆ ง่าย ๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบท่ีฟัง
คําสั่งง่าย ๆ ตามแบบที่ฟัง ความต้องการง่ายๆของตนเองตามแบบที่ฟัง การขอและให้ข้อมูลง่ายๆ เก่ียวกับ
ตนเองตามแบบท่ีฟัง ข้อมูลง่ายๆ เก่ียวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว ตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ชื่อและคําศัพท์
เก่ียวกับเทศกาลสําคัญของเจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย การระบุ
ตัวอักษรและเสียงอักษรของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย คําศัพท์ท่ีเก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อ่ืน การฟัง/พูดในสถานการณ์ง่ายๆที่เกิดข้ึนในห้องเรียน การใช้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)เพ่ือรวบรวม
คําศัพท์ที่เกย่ี วขอ้ งใกลต้ ัว
โดยการปฏิบัติตาม ระบุ อ่านออกเสียง เลือกภาพ ตอบคําถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก พูดขอ ให้ข้อมูล
ทําท่าประกอบ เข้าร่วม ฟัง/พูด เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน เกิด
สมรรถนะตามความต้องการของหลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้ึนในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนําไปประยุกต์ใช้กับชวี ิตประจาํ วันไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
รหัสตวั ชวี้ ัด
ต ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๓ ป.๑/๑
ต ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ต ๒.๒ ป.๑/๑
ต ๓.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๒ ป.๑/๑
รวมทงั้ หมด ๑๖ ตัวชี้วัด
หลักสตู รโรงเรียนวดั บุพนิมิต (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๙๑
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ คําอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๒ กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ
เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
คาํ อธบิ ายรายวิชา
ปฏิบัติตามคําสั่งง่ายๆ และคําขอร้องง่ายๆ ท่ีฟัง ระบุตัวอักษรและเสียง อ่านออกเสียงคํา สะกดคํา และ
อ่านประโยคง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือกภาพตรงตามความหมายของคําและกลุ่มคําที่ฟัง ตอบคําถาม
จากการฟังประโยค บทสนทนาหรือนิทานง่าย ๆ ท่ีมีภาพประกอบ พูดโต้ตอบด้วยคําส้ันๆ ง่าย ๆในการสื่อสาร
ระหว่างบุคคลตามแบบท่ีฟัง ใช้คําสั่งและคําขอร้องง่าย ๆ ตามแบบท่ีฟัง บอกความต้องการง่ายๆของตนเองตาม
แบบท่ีฟัง พูดขอและให้ข้อมูลง่ายๆ เก่ียวกับตนเองตามแบบที่ฟัง พูดให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเองและเร่ืองใกล้ตัว
พูดและทําท่าทางประกอบตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกช่ือและคําศัพท์เก่ียวกับเทศกาลสําคัญของ
เจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย ระบุตัวอักษรและเสียงอักษรของ
ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกคําศัพท์ที่เก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ฟัง/พูดใน
สถานการณง์ ่ายๆท่ีเกดิ ขน้ึ ในห้องเรยี น ใช้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ)เพอ่ื รวบรวมคําศัพทท์ ี่เกย่ี วข้องใกลต้ ัว
โดยการระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคําถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก ทําท่าทาง เข้าร่วม ฟัง เพ่ือให้
ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน เกิดสมรรถนะตามความต้องการของหลักสูตร
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้ึนในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนําไปประยุกต์ใช้กับ
ชีวิตประจําวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
รหสั ตวั ชว้ี ดั
ต ๑.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ต ๑.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ต ๑.๓ ป.๒/๑ , ป.๒/๑
ต ๒.๑ ป.๒/๒ , ป.๒/๓
ต ๒.๒ ป.๒/๑
ต ๓.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๒ ป.๒/๑
รวมทงั้ หมด ๑๖ ตัวชว้ี ดั
หลกั สตู รโรงเรยี นวดั บพุ นิมติ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๙๒
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
คาํ อธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
ปฏิบัติตามคําสั่งและคําขอร้องที่ฟังหรืออ่าน คํา สะกดคํา อ่านกลุ่มคําประโยค และบทพูดเข้าจังหวะ
(chant)ง่าย ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ภาพหรือสัญลักษณ์ตรงตามความหมายของคํากลุ่มคําและประโยคท่ีฟัง
จากการฟังหรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆ คําสั้นๆ ง่าย ๆในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่
ฟัง คําส่ังและคําขอร้องง่าย ๆ ตามแบบท่ีฟัง ความต้องการง่ายๆของตนเองตามแบบท่ีฟัง ขอและให้ข้อมูลง่ายๆ
เกี่ยวกับตนเองและเพ่ือนตามแบบท่ีฟัง ความรู้สึกของตนเองเก่ียวกับส่ิงต่างๆ ใกล้ตัว หรือกิจกรรมต่างๆ ตามแบบ
ท่ีฟัง ให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกับตนเองและเร่ืองใกล้ตัว คําตามประเภทของ บุคคล สัตว์ และส่ิงของตามท่ีฟังหรือ
อ่าน มารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ชื่อและคําศัพท์ง่ายๆเกี่ยวกับเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลองและ
ชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะสมกับวัย ความแตกต่างของเสียง
ตัว อักษร คํา กลุ่มคํา และประโยคง่ายๆ ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย คําศัพท์ท่ีเกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน สถานการณ์ง่ายๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)เพื่อ
รวบรวมคําศัพท์ท่เี กย่ี วขอ้ งใกล้ตัว
โดยการอ่านออกเสียง สะกดคํา ฟัง พูด เลือก/ระบุ ตอบคําถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก จัดหมวดหมู่
ทําท่าประกอบ เข้าร่วมกิจกรรม เพ่ือให้มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนําความรู้ไปปฏิบัติให้เกิด
ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ช้กบั ชวี ิตประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
รหัสตวั ช้วี ัด
ต ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ต ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕
ต ๑.๓ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ต ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ต ๒.๒ ป.๓/๑
ต ๓.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๒ ป.๓/๑
รวมท้งั หมด ๑๘ ตัวชีว้ ดั
หลักสตู รโรงเรยี นวัดบพุ นิมิต (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๙๓
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
คําอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง
คาํ อธบิ ายรายวิชา
ปฏิบัติตามคําสั่ง คําขอร้อง และคําแนะนํา (instructions)ง่าย ๆที่ฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียงคํา สะกด
คํา อ่านกลุ่มคํา ประโยค ข้อความง่ายๆ และบทพูดเข้าจังหวะ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือก/ระบุภาพหรือ
สัญลักษณ์ หรือเคร่ืองหมายตรงตามความหมายของประโยคและข้อความส้ันๆท่ีฟังหรืออ่าน ตอบคําถามจากการ
ฟังหรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆ พูด/เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คําสั่ง คํา
ขอร้อง และคําขออนุญาตง่าย ๆ พูด/เขียนแสดงความต้องการของตนเองตามและขอความช่วยเหลือใน
สถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเองเพ่ือน และครอบครัว พูดแสดงความรู้สึกของ
ตนเองเก่ียวกับเร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว หรือกิจกรรมต่างๆ ตามแบบที่ฟัง พูด/เขียนให้ข้อมูลง่ายๆ เก่ียวกับตนเองและ
เร่ืองใกล้ตัว พูด/วาดภาพแสดงความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆใกล้ตัวท่ีฟังหรืออ่าน พูดแสดงความคิดเห็นง่ายๆ
เกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว พูดและทําท่าประกอบอย่างสุภาพตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษา ตอบคําถามเก่ียวกับเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่ง่ายๆของเจ้าของภาษา การเข้า
ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะสมกับวัย บอกความแตกต่างของเสียงตัว อักษร คํา กลุ่มคํา
ประโยค และข้อความ ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกความเหมือน/ความแตกต่าง
ระหว่างเทศกาลและงานฉลองตามวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คําศัพท์ท่ีเกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน และนําเสนอด้วยการพูด/การเขียน ฟัง/พูดในสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียนและ
สถานศกึ ษา ใชภ้ าษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ)ในการสืบคน้ และรวบรวมข้อมลู ต่างๆ
โดยการฟัง พูด อ่าน เขียน ระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคําถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก ทําท่าทาง เข้า
ร่วม เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน เกิดสมรรถนะตามความต้องการ
ของหลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้ึนในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมี
ความสุข สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนําไป
ประยุกตใ์ ช้กับชวี ิตประจําวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
รหัสตวั ช้ีวัด
ต ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป๔/๔
ต ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป๔/๔ , ป๔/๕
ต ๑.๓ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ต ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ต ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ต ๓.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๒ ป.๔/๑
รวมทั้งหมด ๒๐ ตวั ช้วี ัด
หลกั สตู รโรงเรยี นวดั บพุ นมิ ิต (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๙๔
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ คาํ อธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ
เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง
คาํ อธบิ ายรายวชิ า
ปฏิบัติตามคําส่ัง คําขอร้อง และคําแนะนํา ท่ีฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียง ประโยค ข้อความ และบท
กลอนส้ันๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/วาดภาพสัญลักษณ์ หรือเคร่ืองหมายตรงตามความหมายของประโยค
และข้อความสั้นๆท่ีฟังหรืออ่าน บอกใจความสําคัญและตอบคําถามจากการฟังหรืออ่านบทสนทนา และนิทาน
ง่ายๆหรือเรื่องส้ันๆ พูด/เขียนโต้ตอบในการส่ือสารระหว่างบุคคล ใช้คําสั่ง คําขอร้อง คําขออนุญาตและให้
คําแนะนําง่าย ๆ พูด/เขียนแสดงความต้องการของตนเองตาม ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความ
ช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเองเพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัว
พูดแสดงความรู้สึกของตนเองเก่ียวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว หรือกิจกรรมต่างๆพร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆประกอบ พูด/
เขียนให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกับตนเองและเร่ืองใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมิแสดงข้อมูลต่างๆตามที่ฟัง
หรืออ่าน พูดแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องต่างๆใกล้ตัว ใช้ถ้อยคํา น้ําเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพตาม
มารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ตอบคําถาม/บอกความสําคัญของเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลองและ
ชีวิตความเป็นอยู่ง่ายๆของเจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความ
เหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลําดับคํา
(order)ตามโครงสร้างของประโยคของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกความเหมือน/ความ
แตกต่างระหว่างเทศกาลและงานฉลองตามวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คําศัพท์ที่
เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และนําเสนอด้วยการพูด/การเขียน ฟัง พูด และอ่าน/เขียนในสถานการณ์
ต่างๆท่ีเกิดข้ึนในห้องเรียนและสถานศึกษา ใช้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)ในการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล
ต่างๆ
โดยการฟัง พูด อ่าน เขียน ระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคําถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก ทําท่าทาง เข้า
ร่วม เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน เกิดสมรรถนะตามความต้องการของ
หลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้ึนในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข
สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนําไปประยุกต์ใช้กับ
ชีวติ ประจาํ วันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
รหัสตัวชีว้ ดั
ต ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ต ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ต ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ต ๓.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๒ ป.๕/๑
รวมทัง้ หมด ๒๐ ตวั ช้ีวดั
หลกั สูตรโรงเรียนวดั บพุ นมิ ิต (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๙๕
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖
คาํ อธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง
คาํ อธบิ ายรายวิชา
ปฏิบัติตามคําส่ัง คําขอร้อง และคําแนะนํา ท่ีฟังและอ่าน อ่านออกเสียง ข้อความ นิทาน และบทกลอน
ส้ันๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือก/ระบุประโยค หรือ ข้อความส้ันๆ ตรงตามภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย
ที่อ่าน บอกใจความสําคัญ และตอบคําถามจากการฟังหรืออ่าน บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆและเร่ืองเล่า พูด/
เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คําสั่ง คําขอร้อง และคําขออนุญาตและให้คําแนะนํา พูด/เขียน
แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียน
เพ่ือขอและให้ข้อมูล เก่ียวกับตนเอง เพ่ือน ครอบครัว และเร่ืองใกล้ตัว พูด/เขียนแสดงความรู้สึกของตนเอง
เกี่ยวกับเร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว หรือกิจกรรมต่างๆ พร้อมท้ังให้เหตุผลสั้นๆประกอบ พูด/เขียนให้ข้อมูล เก่ียวกับตนเอง
เพ่ือน และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมิแสดงข้อมูลต่างๆตามท่ีฟังหรืออ่าน พูดเขียนแสดง
ความคิดเห็น เก่ียวกับเร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว ใช้ถ้อยคํา น้ําเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพ เหมาะสมตามมารยาท
สังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความเป็นอยู่ของ
เจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความเหมือน/ความแตกต่าง
ระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน และการลําดับคํา ตามโครงสร้าง ประโยค
ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย เปรียบเทียบความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างเทศกาลงาน
ฉลอง และประเพณีของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คําศัพท์ท่ีเก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน
จากแหล่งการเรียนรู้ และนําเสนอด้วยการพูด/การเขียน ใช้ภาษาส่ือสารในสถานการณ์ต่างๆท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียน
และสถานศึกษา ใชภ้ าษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)ในการสบื คน้ และรวบรวมขอ้ มูลตา่ งๆ
โดยการฟัง พูด อ่าน เขียน ระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคําถาม พูดโต้ตอบ เข้าร่วม เปรียบเทียบ
ค้นคว้า ใช้ บอก เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน เกิดสมรรถนะตามความ
ต้องการของหลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ขึ้นในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
อย่างมีความสุข สามารถนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
นําไปประยุกตใ์ ชก้ ับชีวติ ประจาํ วันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
มีความสามารถในการสื่อสารใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด ความรู้สึก และทัศนะของ
ตนเองดว้ ยการพูดและการเขยี น พูดเจรจาตอ่ รอง เลอื กรับหรือไม่รบั ข้อมลู ข่าวสาร
รหัสตัวชวี้ ดั
ต ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ต ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ต ๑.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ต ๓.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๒ ป.๖/๑
รวมท้งั หมด ๒๐ ตวั ชว้ี ัด
หลกั สตู รโรงเรยี นวดั บุพนิมิต (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
หลักสตู รโรงเรียนวดั บพุ นิมิต (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑