The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tom_club_za, 2022-04-26 03:10:36

9.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.3

9.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.3

เร่ืองที่เปน ประโยชน

สนุ ขั จิง้ จอกกบั ไก
สนุ ัขจ้งิ จอกตัวหนง่ึ คอยเดินวนเวยี นอยูใกลๆ กบั เลาไก สรา งความหวาดกลวั ใหก บั
ลูกไกม าก ไกตวั หนง่ึ จึงบนิ ข้ึนไปอยบู นร้ัวและเฝาจบั ตาดสู นุ ัขจิง้ จอกดวยความหวาดกลัว เมอื่ ใดที่
เจาสนุ ขั จ้งิ จอกขยบั ตัวเขา มาใกล มนั ก็จะบนิ หนีไปอยา งรวดเร็ว ทาํ ใหไกต วั อื่น ๆ เยาะเยย ถากถาง
ในการกระทําของมัน และดหู ม่นิ วา มันข้ีขลาด

เจา ไกไดฟง ดังนั้นก็ตอบออกไปวา “เจา จะเรยี กขาวาอยา งไรกไ็ ดแตส ําหรบั ขา เอง
รูจักพิษสงของสุนขั จงิ้ จอกดี และขาแนใ จวา ถามสี ักคร้งั หนึ่งท่ีเจา ไดเผชิญหนา กับสนุ ัขจงิ้ จอก
เชนเดียวกบั ทขี่ าเคยนนั้ พวกเจา กอ็ าจจะมีสภาพไมผดิ ไปจากขาอยา งแนน อน”
เรื่องนสี้ อนใหรวู า การยอมรับวา ตนเปน คนขลาด แตรูจกั ระวังภยั ดีกวาเสแสรงเปน คนกลาหาญ

แลว ตอ งพบจดุ จบในภายหลงั

46 คมู ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ิต ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสอื สามญั รนุ ใหญ เครือ่ งหมายลกู เสอื หลวง ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 3

หนว ยที่ 5 การสาํ รวจ เวลา 3 ชัว่ โมง
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 10 แผนทช่ี ุมชน

1. จุดประสงคก ารเรียนรู

1.1 ลกู เสือสามารถสาํ รวจทต่ี ง้ั ชมุ ชนโดยใชเ ขม็ ทศิ ได
1.2 ลูกเสือสามารถกาํ หนดสญั ลักษณท ่ตี งั้ ลงในแผนทไ่ี ด
1.3 ลูกเสอื สามารถสอบวชิ าพเิ ศษแผนที่เขม็ ทศิ ได
2. เนอ้ื หา

การสํารวจ คอื ศาสตรของการหาความสัมพนั ธข องตําแหนง ตางๆ ทงั้ ทอี่ ยบู นผวิ โลกและใต
ผวิ โลก น้ันคอื การวดั ขอ มลู สามมติ ิ (ระยะทาง ทศิ ทาง และระดบั )
3. สื่อการเรียนรู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2ใบงาน
3.3ใบความรู
3.4 เร่อื งเลา ท่เี ปนประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 กจิ กรรมครงั้ ที่ 1

1) พิธีเปด ประชุมกอง(ชักธง สวดมนต สงบนิง่ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กิจกรรมตามจุดประสงคก ารเรียนรู

(1) ผกู าํ กบั ลกู เสือนาํ ลูกเสอื ในกองสนทนา ในหวั ขอ “อาคารทีต่ ัง้ ของโรงเรยี นเรามี
การจัดวางอยางไร” และสิง่ กอสรา งอื่นมีการจดั วางอยา งไร

(2) ผกู ํากับลกู เสอื ใหล กู เสอื แตละหมูสงตวั แทนมารับใบความรู และ ใบงานและ
ใหล กู เสือปฏบิ ตั ิงานตามคาํ สงั่ ในกิจกรรม โดยใหลูกเสือประชุมภายในหมู
เพื่อเลือกสํารวจชมุ ชนของตนเอง หรือ สํารวจในโรงเรยี น โดยใชเขม็ ทิศ
ประกอบเพ่อื จัดทาํ แผนท่ตี อ ไป

(3) ผกู ํากับลกู เสือใหล ูกเสอื แจง บรเิ วณที่จะทาํ การสํารวจ แลว กลบั ไปปฏบิ ตั แิ ผนที่
ตามใบความรู และใบงานทไ่ี ดร ับ

4) ผกู าํ กบั ลกู เสอื เลา เรอื่ งทเี่ ปน ประโยชน
5) พธิ ปี ด ประชมุ กอง(นัดหมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธง เลกิ )

- ผูก ํากับลกู เสือนัดหมายใหล กู เสอื นาํ แผนที่ทจ่ี ัดทําขนึ้ มานําเสนอในสปั ดาหต อ ไป

คูมอื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 3 47

4.2 กิจกรรมครง้ั ท่ี 2
1) พิธเี ปด ประชมุ กอง (ชกั ธง สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
2) เพลงหรือเกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคการเรียนรู
(1) ลกู เสอื แตล ะหมูนําแผนทที่ ไ่ี ดจ ัดทาํ มาแสดงใหลูกเสอื ภายในกองไดดู
(2) ผกู าํ กบั ลกู เสือใหล ูกเสอื แตล ะหมรู ะดมความคิดปฏบิ ัตงิ านในใบงานท่ี 2 เร่ือง
สัญลกั ษณ ภายในเวลา 5 นาที
(3) ผูก ํากับลกู เสอื และลกู เสือรว มกันเฉลยในกจิ กรรมท่ี 2
(4) ผกู าํ กบั ลกู เสอื ใหล กู เสือแตละหมกู าํ หนดจุดท่ีตั้งและนําสญั ลกั ษณไ ปใสลงในแผนที่
ของหมตู น
4) ผูกํากบั ลกู เสอื เลา เรอ่ื งท่เี ปน ประโยชน
5) พิธปี ด ประชุมกอง(นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธง เลกิ )
- ผกู ํากับลกู เสือนัดหมายใหล กู เสอื นําดนิ สอ ไมบรรทดั ยางลบ เพอื่ ทดสอบ
วชิ าพเิ ศษชา งแผนท่ีในสปั ดาหตอ ไป

4.3 กจิ กรรมคร้ังท่ี 3
1) พธิ เี ปด ประชมุ กอง (ชักธง สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
2) เพลงหรือเกม
3) กจิ กรรมตามจุดประสงคก ารเรยี นรู
(1) ผูกาํ กบั ลกู เสอื แบงลูกเสือออกเปนกลมุ ยอยๆ กลมุ ละ 3-4 คน (ตามจํานวน
ลูกเสอื ภายในกอง) เพ่ือสอบวชิ าพิเศษชางแผนท่ี ผกู ํากบั ลูกเสอื แจก
กระดาษและเขม็ ทิศใหลูกเสือแตล ะกลมุ
(2) ผกู าํ กบั ลกู เสือใหลกู เสอื แตละกลุมยอ ยออกมาจบั สลากบรเิ วณในการสํารวจ
เพื่อจัดทาํ แผนที่
(3) ผกู าํ กบั ลกู เสือใหเวลาในการปฏบิ ัติ 30 นาทีและผกู าํ กบั ลูกเสอื เกบ็
แบบทดสอบของลกู เสือเมอื่ หมดเวลา
4) ผกู ํากบั ลูกเสือเลาเร่อื งทเี่ ปน ประโยชน
5) พิธีปดประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชักธง เลิก)

5. การประเมนิ ผล
5.1 สังเกต การมีสว นรวมทํากจิ กรรม
5.2 ความถกู ตอ งและสมบรู ณของแผนที่

48 คมู ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวิต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 10

เพลง

ทิศแปดทิศ

ทิศทั้งแปดทศิ ขอใหค ิดจาํ ใหเ คยชิน
อุดรตรงขา มทักษิณ บรู พาประจิมจาํ ไว
ทองอกี ที จาํ ใหข น้ึ ใจ
อสี านตรงหรดี ตรงขามไปคอื อาคเนย
พายพั นน้ั อยทู างไหน (ซํา้ )

งานสง่ิ ใด

งานสิง่ ใด งานสงิ่ ใด แมนใครละเลยท้ิงปลอย มวั แตค อยเฝา แตคอย หวังคอยแตเกี่ยงโยนกลอง
ไมม ีเสร็จ ไมมเี สรจ็ รบั รอง จาํ ไวท กุ คนตอ งทาํ งานเราตอ งชวยกนั ชว ยกนั …..ชวยกัน.....ชว ยกนั

เบิกบานใจ

เบกิ บานใจเมอื เราอยูพรอ มเพรียงกนั ช่ืนชีวันทุกคนเบิกบานหรรษา

ตา งคนย้ิมยอ งผองใส สุขใจเสยี เปนหนกั หนา เพม่ิ ไมตรีรอยยิม้ น้ีมคี ุณคา

หมั่นขยันทกุ วันเวลา ยมิ้ กนั ดีกวา สดชนื่ ร่ืนรมย

เกม

ตามผูนาํ
วิธีเลน

1.ใหลกู เสอื เขา แถวหนา กระดานหรือแถวตอนเรยี งหนงึ่ เลอื กหวั หนา คน
หน่ึงผเู ปน หัวหนา จะทํากรยิ าทาทางตางๆเชน วง่ิ เดิน กระโดด หวั เราะรอ งไหฯ ลฯ

2. คนอนื่ ๆจะตอ งทําตามทกุ อยา ง

การตดั สนิ

1. ผูท่ไี มส ามารถทําตามหวั หนา ไดตองออกจากการแขง ขนั
2. ผูชนะคอื ผเู ลน ที่อยใู นแถวนานทส่ี ดุ

คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3 49

ทําตรงขา ม
วิธีเลน

1. เลือกผนู าํ มา 1 คน โดยใหผนู าํ ทาํ ทา ตา งๆ
2. ผเู ลน คนอ่นื นัน้ จะตองทําตรงกันขา มกบั ท่ีผูน าํ ทํา เชน ผนู าํ หวั เราะ-ลูกเสือทกุ คน
ตอ งรอ งไหผูนาํ น่งั ลง –ลูกเสอื ตองยืนขึ้น ผูนํากาวเทาซา ย –ลกู เสอื กา วเทา ขวาฯลฯการทาํ จะเร็วขน้ึ
ไปเรอื่ ยๆ
การตดั สิน
ลกู เสือทท่ี าํ ตามผนู าํ หรอื ทําชาจะตองออกจากการแขงขัน หรอื เปลี่ยนมาเปนผูนาํ

มงั กรกนิ หาง
วธิ ีเลน

1. แบงลกู เสอื ออกเปน 3-4 แถวจับเอวตอกันเปน แถวคนทยี่ ืนอยบู นหัวแถวเปน ปาก
มังกรพยายามไลจบั คนทายแถวของมงั กรตัวอน่ื ๆ

2. ถา แถวใดถกู จับไดก ็ตองตอกนั ในท่ีสดุ จะมแี ถวเดยี วเปน มงั กรหางยาวแลว หัว
มังกรไลจ บั หางมงั กรของตวั เอง
การตัดสิน

หวั มงั กรจะตอ งไลจ บั หางมังกรของตวั เองใหไ ดการเลน เกมน้ีจงึ สิ้นสดุ ลง

50 คูม ือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 3

ใบความรู

ใบความรทู ี่ 1

เรือ่ ง การสํารวจเพือ่ การทาํ แผนที่

การสํารวจ คอื ศาสตรของการหาความสมั พันธข องตําแหนง ตา งๆ ทง้ั ท่อี ยบู นผิวโลกและใตผวิ โลก นั้นคอื การ
วัดขอ มลู สามมติ ิ (ระยะทาง ทิศทาง และระดับ) ซง่ึ วิธกี ารวดั มที ง้ั แบบโดยตรงและโดยออ ม แลว แสดงเปนแผนทีโ่ ดยใช
มาตราสวนทเ่ี หมาะสม การสาํ รวจสามารถแบง แยกประเภทไดม ากมาย แตอ ยา งไรก็ตามกย็ ังคงมีหลักการสาํ รวจ
พนื้ ฐานคลา ยคลงึ กัน หลกั การสาํ รวจดงั กลา วแบง ออกเปน 2 สว น คือ งานสนาม และงานสาํ นักงาน

1. งานสนาม เปนงานรงั วัดขอมลู ในพ้นื ทจ่ี ริงซงึ่ ตองใชประสบการณแ ละการวางแผนทด่ี ีจงึ จะทาํ ใหงานสนามมี
ประสิทธภิ าพ งานสนามมีหลายสวนดังน้ี

1.1 การสํารวจสังเขป เปน การสํารวจเบอื้ งตน เพอื่ รูจักรปู รา งและทรวดทรงของพน้ื ท่ีโดยประมาณ พิจารณา
ธรรมชาตขิ องพนื้ ท่แี ละสง่ิ ทม่ี นษุ ยส รา งขน้ึ เชน ภเู ขา แมน ํ้า ลาํ คลอง ถนนชมุ ชน และจุดสังเกต วิธกี ารสาํ รวจ คอื
การเดนิ เทาหรอื ใชพ าหนะตา งๆ ผลการสํารวจสังเขปจะไดภ าพสเกต็ ของพน้ื ที่

1.2 การวางแผนปฏิบตั งิ านสนาม
1.3 การเกบ็ ขอ มูลภาคสนาม
1.4 การบนั ทกึ ขอ มลู โดยภาคสนาม
1.5 การตรวจทานแผนท่ี
2. งานสาํ นักงาน เปน งานทีป่ ฏิบตั ติ อเนอื่ งจากงานสนามเพอื่ ใหง านรงั วดั สมบูรณ ซง่ึ มงี านตางๆ ไดแก
2.1 การคํานวณ อาจจะเปน การคาํ นวณคา มมุ ภายในการปรับแกค า มมุ ทศิ ทาง ระยะทาง พิกดั เปน ตน
2.2 การเขียนแผนที่ ใชค าพิกัด จากทค่ี าํ นวณและปรบั แกแลวนาํ มาเขยี นแผนทต่ี ามมาตรสวนทีต่ อ งการ

การทําแผนทส่ี งั เขปจากการนับกา ว

เปนวธิ ีการพืน้ ฐานทีส่ ดุ ของการทาํ แผนที่สงั เขป กอนอนื่ เราตองหาความยาว 1 กาว ของเราเม่ือเทียบกบั
หนวยมาตรฐาน เชน เซนตเิ มตรหรือเมตร ดังน้ันจํานวนก่กี าวท่เี ราเดนิ นบั ระหวา งจุด 2 จุด กท็ ราบระยะทางบน
พ้นื ดิน หนว ยเปนเมตรกไ็ ด จากน้ันสามารถแปลงเปนระยะทางบนแผนทต่ี อไป แตอ ยา งไรกต็ ามกต็ อ งมกี ารวัด
ทิศทาง โดยใชเข็มทศิ

การหาความยาวหนง่ึ กา ว เปน ความยาวหน่ึงกาวของแตละบคุ คลซง่ึ จะแตกตา งกนั โดยกาํ หนดจดุ 2 จดุ ใน
แนวราบ ใหหา งกนั 100 เมตร โดยเดินนับกาวจากจดุ ที่ 1 ไปหาจดุ ท่ี 2 จดบนั ทกึ จาํ นวนกาว ความจะเดนิ อยางนอย3
เท่ียว โดยใชส ตู รในการคํานวณคอื

สูตรคาํ นวณ ความยาว 1 กาว = ระยะทาง
จํานวนกาว

ตวั อยา ง เที่ยวท่ี 1 = = 0.72 ม.

** ควรเดนิ อยา งนอ ย 5 เท่ยี ว แลวนําความยาวกาวทีห่ ารแลว แตละครง้ั มาหาคาเฉลีย่ 51

คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ิต ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 3

ตารางแปลระยะทาง การสรางตารางนหี้ มายถงึ การแปลงคาจาํ นวนกาวเปน ระบบมาตราวดั ทงั้ ระยะทางบนพืน้ ดิน
และระยะทางบนแผนทตี่ ามมาตราสวนทกี่ ําหนด โดยใชคา ความยาว1 กา วเฉล่ยี ซงึ่ เปนขอ มูลประจาํ ตัวของแตละคน
สมมุติวาความยาวกาวเฉลย่ี เปน 0.71 เมตร และตอ งการเขียนแผนที่มาตราสว น 1/1000 และ 1/3000

ตัวอยา ง แสดงการแปลงจาํ นวนกาวเปน ระยะทางบนแผนท่ี มาตราสวนตา งๆ กนั

จํานวนกาว ระยะทางบนพื้นดนิ (ม.) ระยะทางบนแผนท่ี 1/1000 ระยะทางบนแผนที่ 1/3000

1 0.71 0.07 0.02
2
3 1.42 0.14 0.05
4
5 2.13 0.21 0.07
6
7 2.84 0.28 0.09
8
9 3.55 0.36 0.12
10
4.28 0.43 0.14

4.97 0.50 0.17

5.68 0.57 0.18

6.39 0.64 0.21

7.10 0.71 0.24

การสรา งมาตราสว นรปู ภาพ ซ่งึ มีหนวยเปน กาว วธิ กี ารนีจ้ ะทาํ ใหการแปลงระยะทางจากจํานวนกา วไปเปนระยะทาง
บนแผนทโ่ี ดยตรง การเขียนแผนทีจ่ ึงไมตอ งคาํ นวณตามแบบตวั อยา งตาราง แตสามารถวดั จากมาตราสว นรปู ภาพซ่งึ มี
หนว ยเปน กา วแลว นําไปเขยี นเปนระยะทางบนแผนทีไ่ ดท นั ที ยกตวั อยางจากคาเฉลย่ี ความยาวกา ว 0.71 เมตร จะสรา ง
มาตราสว นรปู ภาพ 1/1000 ไดดังนค้ี ือ

1. คํานวณระยะทางใน 100 กาว
นับกาว 1 กาว เทากบั ระยะทางบนพนื้ ดนิ 71 ซม.
ถานับกา ว 100 กา ว เทากบั ระยะทางบนพนื้ ดิน 7,100 ซม.

2. คํานวณเปน ระยะทางบนแผนที่

รระะยยะะททาางงบบนนพแผนื้ นดทินี่= มาตราสว น

ระยะทางบนแผนท=ี่

ระยะทางบนแผนท่ี = 7.1 ซม.

52 คมู อื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 3

ลําดับขัน้ การสรา งมาตราสว นรูปภาพ
1) ลากเสนตรง AB ใหม คี วามยาว 7.1 ซ่ึงเทากับ 100 กาว
2) ลากเสนตรง AC ใหทํามมุ กบั AB ประมาณ 45 องศา
3) แบง AC ออกเปน 10 สว นเทา กนั โดยวดั ระยะหรือใชว งเวยี น
4) ลากเสน เชอ่ื ม BC แลว ลากชดุ ของเสน ขนานใหข นานกบั BC ไปตดั เสน ตรง AB
5) เสน ตรง AB จะถูกแบงออกเปน 10 สว นเทา กัน แตล ะสว นยาวเทา กบั 10 กา ว เขยี นจาํ นวนกา วกาํ กบั

วิธเี สนตั้งฉาก เปนการเก็บรายละเอียดในระยะใกลๆ และสามารถเขา ถึงได
1) จากจุดเรมิ่ ตนเดินนบั กาวตามแนวโครงขา ยควบคมุ ที่เรียกวาเสนฐาน (Base line)จนถึงรายละเอยี ดอนั แรก

ในการประมาณระยะต้ังฉากจากเสน ฐานไปถึงรายละเอยี ดนั้น ถาเปน อาคารใหใชช ายคา แลว บนั ทกึ ระยะกา วตามแนว
เสนฐานลงในภาพสเกต็

2) เดินนบั กา วระยะต้ังฉากจากเสนฐานถงึ รายละเอียดแลวบันทกึ จาํ นวนกา ว
3) ถา รายละเอียดมากและซอนทบั กันใหใ ชวธิ ีการนบั กา วเปนมมุ ฉากตง้ั ภาพประกอบ
4) เดินนบั กาวรอบอาคารเพ่ือหาขนาดของอาคารหรอื ทราบขนาดจากการนับกาวบนเสนฐานได
5) รูปรางของอาคารเขียนใหง ายเพราะรปู รา งไมส ําคัญเทากับตาํ แหนงถกู ตอง

คูมอื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวิต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 53

ใบความรทู ่ี 2
เรือ่ ง การยอ และขยายแผนท่ี
แผนที่ท่ีใชก ันแพรหลายทง้ั สวนบุคคลหรอื หนว ยงานสาธารณะ มมี ากมายหลายขนาดตามความตองการของ
ผูผลติ และผใู ช อาจมตี ้งั แตขนาดเลก็ ทส่ี ามารถพมิ พลงในหนังสือจนกระทงั้ ขนาดใหญม าก เชน แผนที่ผนงั (Wall
maps)ดงั นัน้ การยอ และการขยายแผนทจ่ี งึ มีความจําเปนอยา งหนงึ่ ของผใู ชแผนท่ีจะยอ -ขยายแผนท่ี ตองเขา ใจหลกั การ
และสามารถปฏิบัตกิ ารกบั แผนทีจ่ นบรรลผุ ลสาํ เร็จได
ผลกระทบจากการยอ – ขยายแผนที่
แผนท่ีทกุ แผน ไมว า จะถูกยอ ใหเ ลก็ ลงหรอื ขยายใหมขี นาดใหญข้ึน จะมีมาตราสว นเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอยาง
แนนอน ในกรณีของการยอแผนท่ีใหมขี นาดเล็กลงจากตน ฉบบั มาตราสว นของแผนทใ่ี หมจะจะเล็กลงดวย ผลกระทบ
จากการยอ-ขยายแผนทีม่ ดี ังน้ี
1. ระยะเชงิ เสน (Linear)ระยะเชิงเสน นห้ี มายถึงความกวา ง และความยาวของขอบระวางแผนท่ี หรือระยะทาง
จากจดุ หนงึ่ ไปยงั จุดหนงึ่ บนแผนทีต่ นฉบบั เมือ่ มาตราสวนเปลย่ี นแปลงขนาดขอบของระวางแผนท่จี ะมขี นาดเลก็ ลง
หรอื ใหญก วา ตน ฉบบั ฉะนนั้ ระยะทางจากวัดถงึ โรงเรยี น บนแผนท่ีใหมจ ะเปลี่ยนแปลงไปดว ย เชน แผนที่ 1 : 50,000
หรอื 2 ซม. ตอ 1 กม. ถูกยอ เปน 1 : 100,000 หรือ 1 ซม. ตอ 1 กม. จะเหน็ วา ระยะทางบนพนื้ ดนิ 1 กม. เทากนั แต
เปน ระยะทางบนแผนที่ เปน 2 ซม. และ 1 ซม. ตามลาํ ดับ ดงั นั้นแผนทฉ่ี บบั หลงั ตองมีขนาดเล็กลงกวาฉบบั แรก เพราะ
ระยะทางบนแผนทีจ่ ะถกู ลดลงจากระยะทางเดมิ เหลอื เพยี งครึ่งเดียว
2. ขนาดพ้ืนท่ี (Area)พ้นื ทข่ี องแผนที่จะเปลย่ี นแปลงสมั พนั ธก บั การเปล่ียนแปลงระยะเชิงเสนดว ยเสมอ
เพราะวา พนื้ ทมี่ ี 2 มิติ สวนระยะเชิงเสน มี 1 มติ ิ จากตัวอยา งแผนท่ีฉบบั ใหมจ ะมพี ื้นทเ่ี พียง 1 ใน 4 ของแผนท่ตี น ฉบบั
เทาน้ัน
ตวั อยา ง แผนทตี่ นฉบับ มาตราสว น 1 : 50,000 ขนาด 30 x 30 ซม. เมอื่ ตองการทําเปนแผนท่ีมาตราสวน 1 :
100,000 จะมขี นาด 15 x 15 ซม. ดังภาพ และระยะทางจากวดั ถึงโรงเรียนเปลย่ี นจาก 10 ซม. เหลอื 5 ซม.

3. รายละเอียดแผนท่ี
3.1 ระยะเชิงเสนทุกเสนจะลดลงความกา ง หรือขยายออก เชน ถนน สนามบนิ
3.2 สัญลกั ษณแ ละตวั อกั ษรอาจจะแออัดขนึ้ หรอื อาจจะขยายหางกนั ออกไป
3.3 ทว่ี า ง (Open Spade)จะลดลงหรือขยายกวางขึ้น
3.4 เสน ชนั้ ความสูง (Contour)จะแนน ประชดิ กนั มากขึน้ หรอื หา งกนั มากขึ้น
3.5 เสนลายขวานสบั (Hachure)จะชิดกนั มากข้นึ หรอื หางกนั

54 คูม ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 3

การพจิ ารณาอัตราการยอหรือขยาย

คาอัตราการยอ หรอื ขยายจะเปน คา ตวั เลขตวั หนงึ่ แตมคี วามสาํ คัญในการคํานวณและในการจติ นาการ ขนาด

หรอื พ้ืนที่ของแผนทที จ่ี ะทําขนึ้ ใหมได การพจิ ารณาอตั ราการยอหรอื ขยายแบงออกเปน 2 อยา ง คือ

1. เทยี บจากจาํ นวนเตม็ 1 หนวย เราจะกําหนดใหแผนทีต่ นฉบบั มคี าเทา กบั 1 หนวย ในกรณขี องการยอ คา

อัตราการยอจะมคี านอยกวา 1 เสมอ ในทางกลบั กนั ในกรณีขยายคา จะมากกวา 1 เสมอ

2. คา อตั ราการยอ ขยายเปนรอ ยละ วิธีน้เี ปนวิธที ี่แพรหลายในวงการถายเอกสารปจ จบุ นั ซง่ึ มักจะใชค าํ วารอ ย

ละของการยอ หรือขยายโดยกาํ หนดใหแ ผนท่ีตน ฉบับมีคาเทา กับ 100% ในกรณกี ารยอ แผนท่คี า อัตราการยอ จะมีคาตาํ่

กวา 100% เปน ตน

สตู รในการคาํ นวณการยอ และขยายแผนที่

1. เม่ือใชม าตราสวนเปนหลกั

1) จํานวนเทา = มาตราสวนใหญ
มาตราสวนเดมิ

หรอื = . ใหม
. เดมิ

เมือ่ MSR คือ สว นกลบั ของมาตราสว น เชน , มี MSR เปน 50000

2) ระยะทางใหม = ระยะทางเดมิ x จาํ นวนเทา

3) พืน้ ท่ีใหม = พ้นื ท่ีเดมิ x จํานวนเทา ยกกาํ ลงั สอง

4) มาตราสว นใหม =มาตราสวนเดิม x จํานวนเทา

หรอื = จํานวนเทา
.

2. เมอ่ื ใชระยะทางเปนหลกั

1) จํานวนเทา = ระยะทางใหม
ระยะทางเดิม

2) ระยะทางใหม = ระยะทางเดิม x จํานวนเทา
3) พืน้ ท่ใี หม = พ้ืนที่เดมิ x (จํานวนเทา )2

4) มาตราสว นใหม =มาตราสว นเดมิ x จํานวนเทา

หรือ = จาํ นวนเทา
3. เมื่อใชพ้ืนทเ่ี ปนหลัก .

1) จํานวนเทา = พ้นื ท่ใี หม
พื้นทีเ่ ดมิ

2) ระยะทางใหม = ระยะทางเดิม x √จาํ นวนเทา
3) พื้นทีใ่ หม = พน้ื ท่เี ดิม x จํานวนเทา

4) มาตราสว นใหญ = มาตราสว นเดมิ x √จํานวนเทา

คูม อื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 55

ตวั อยา ง
การคาํ นวณการยอ และการขยายแผนที่
ถา แผนทต่ี นฉบบั มาตราสว น 1 : 50,000 ตองการทําเปนแผนท่ี 1 : 100,000 จงคํานวณและตอบคาํ ถาม
ตอ ไปน้ี
1. จํานวนเทา ของการยอหรือขยาย
2. ขนาดของแผนทใ่ี หม ถา แผนที่ตน ฉบบั มขี นาด 30 x 30 ซม. และถา ระยะทางจากวัดถงึ โรงเรียน
10 ซม. จะมีระยะทางเหลอื เทา ใดบนแผนทใี่ หม
3. พ้ืนท่ขี องแผนท่ฉี บบั ใหม ถาแผนทีต่ น ฉบับมขี นาด 900 ตารางซม. (ใชม าตราสวนเปนหลัก)

1. จํานวนเทา ของการยอ หรอื ขยาย

2. ขนาดของแผนที่

สตู ร ระยะทางใหม = ระยะทางเดมิ x จํานวนเทา

= 30 x 0.5

= 15 ซม.

ขนาดแผนท่ใี หม = 15 x 15 ตารางซม.

และกรณีระยะทางจากวดั ถงึ โรงเรยี นบนตน ฉบบั วดั ได

= 10 ซม.

สูตร ระยะทางใหมต วั อยาง=แนระวยโะจททายงเใดนิมกxาจราํสนอวบนเวทชิ า าพเิ ศษชา งแผนท่ี

= 10 x 0.5

ระยะทางจากวัดถึงโรงเรียน = 5 ซม.

3. พน้ื ท่ขี องแผนท่ฉี บบั ใหม

สตู ร พื้นทใ่ี หม = พื้นท่เี ดิม x (จาํ นวนเทา )2
= 900 x (0.5)2

พืน้ ทข่ี องแผนทใี่ หม = 225 ตารางซม.

56 คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวติ ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 3

โจทยขอ ที่ 1

คาํ สงั่ ใหลกู เสอื แตละกลุมจดั ทาํ แผนทป่ี ระกอบเข็มทศิ ในบรเิ วณทก่ี าํ หนดให โดยกาํ หนดจุดสัญลกั ษณลงไปดวย
กําหนดใหมาตราทใี่ ชค อื 1/500 ภายในเวลา 35 นาที บริเวณทตี่ งั้ สํารวจเพอ่ื จัดทาํ แผนที่ คอื

“บรเิ วณตง้ั แตหนา ประตูโรงเรียน ถึง บริเวณโดยรอบหอประชุมโรงเรยี น”

โจทยข อ ที่ 2

คาํ สง่ั ใหล ูกเสือแตล ะกลมุ จัดทําแผนทีป่ ระกอบเขม็ ทศิ ในบริเวณท่กี ําหนดให โดยกาํ หนดจุดสญั ลกั ษณลงไปดว ย
กาํ หนดใหม าตราที่ใชคอื 1/500 ภายในเวลา 35 นาที บรเิ วณทตี่ งั้ สํารวจเพือ่ จดั ทาํ แผนท่ี คอื

“ตัง้ แตบรเิ วณโดยรอบหอประชมุ โรงเรียน ถงึ อาคาเรยี น 1

โจทยขอ ที่ 3

คําสั่ง ใหลูกเสือแตล ะกลมุ จดั ทาํ แผนทป่ี ระกอบเข็มทศิ ในบริเวณที่กาํ หนดให โดยกาํ หนดจุดสัญลักษณล งไปดวย
กําหนดใหม าตราทใ่ี ชคอื 1/500 ภายในเวลา 35 นาที บรเิ วณท่ตี งั้ สาํ รวจเพื่อจดั ทําแผนที่ คือ

“บริเวณอาคารเรยี น 1 ถึง บริเวณอาคารเรยี น 3”

คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวิต ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 3 57

โจทยขอที่ 4

คําสัง่ ใหลกู เสอื แตละกลุมจัดทาํ แผนท่ีประกอบเขม็ ทศิ ในบริเวณท่ีกาํ หนดให โดยกําหนดจุดสัญลักษณลงไปดวย
กําหนดใหม าตราทใ่ี ชคอื 1/500 ภายในเวลา 35 นาที บริเวณที่ตง้ั สํารวจเพ่ือจดั ทําแผนที่ คอื

“บริเวณตง้ั แตอาคารเรียน 2 ถึง บริเวณสระนา้ํ โรงเรยี น

โจทยข อที่ 5

คําสง่ั ใหลูกเสอื แตล ะกลุมจดั ทําแผนท่ีประกอบเขม็ ทศิ ในบริเวณที่กําหนดให โดยกาํ หนดจุดสัญลักษณล งไปดว ย
กําหนดใหมาตราทใี่ ชค ือ 1/500 ภายในเวลา 35 นาที บรเิ วณทต่ี งั้ สาํ รวจเพอ่ื จัดทาํ แผนท่ี คือ

“บรเิ วณตง้ั แตอาคารเรียน 4 ถึง บริเวณโรงอาหาร”

โจทยข อ ที่ 6

คําส่ัง ใหลูกเสือแตล ะกลุมจัดทําแผนที่ประกอบเขม็ ทศิ ในบริเวณท่ีกาํ หนดให โดยกาํ หนดจุดสัญลักษณล งไปดว ย
กําหนดใหมาตราทใ่ี ชคอื 1/500 ภายในเวลา 35 นาที บริเวณที่ตง้ั สาํ รวจเพอื่ จดั ทําแผนที่ คอื

“บรเิ วณสนามฟุตบอล ถึง บริเวณอาคารฝก งาน”

58 คมู ือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3

ใบงาน

ใบงานท่ี 1
เรื่อง สมดุ สนาม

คําสั่ง
1. ใหลกู เสือแตล ะหมูส าํ รวจชุมชนทล่ี ูกเสอื เลือกไวโดยใชเ ขม็ ทศิ ประกอบ

2. ใหบ นั ทกึ ขอ มูลลงในสมดุ สนามทแ่ี จกให
3. นาํ ขอมูลทบี่ นั ทึกในสมดุ สนามไปจดั ทําแผนท่ี เพอ่ื นาํ เสนอในสัปดาหตอ ไป

Nots ……………………………………………………………………………………………………………..
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

คมู อื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3 59

ใบงานท่ี 2
เรือ่ ง สญั ลักษณ

คําส่ัง ใหลกู เสือแตละหมูชว ยกันคิด นาํ หวั ขอคําตอบทางขวามือใสใ น ( ) หนา สัญลักษณท าง
ซายมือ

ตามผนู ํา
วิธกี ารเลน

1.ใหลกู เสอื เขา แถวหนากระดานหรือแถวตอนเรยี งหนงึ่ เลือกหวั หนาคน
หน่งึ ผูเปนหัวหนา จะทาํ กรยิ าทา ทางตางๆเชน วง่ิ เดิน กระโดด หวั เราะรอ งไหฯลฯ

2. คนอืน่ ๆจะตองทาํ ตามทุกอยา ง

การตัดสิน

1. ผูท ไี่ มสามารถทําตามหวั หนา ไดต อ งออกจากการแขง ขนั
2. ผูชนะคอื ผูเ ลน ท่อี ยูใ นแถวนานทสี่ ุด

ทาํ ตรงขาม
วิธีเลน

1. เลอื กผนู ํามา 1 คน โดยใหผูนําทาํ ทาตา งๆ
2. ผูเลน คนอนื่ นั้นจะตอ งทาํ ตรงกันขา มกบั ทผ่ี นู าํ ทํา เชนผนู ําหวั เราะ-ลกู เสอื ทกุ คน
ตองรอ งไหผ ูนาํ น่งั ลง –ลกู เสอื ตอ งยนื ขน้ึ ผนู าํ กา วเทาซา ย –ลูกเสือกา วเทาขวาฯลฯการทาํ จะเรว็ ขน้ึ
ไปเรื่อยๆ
การตดั สนิ
ลูกเสอื ท่ีทําตามผูนาํ หรอื ทําชาจะตอ งออกจากการแขง ขัน หรอื เปลีย่ นมาเปนผนู าํ

มังกรกนิ หาง
วิธีเลน

1. แบง ลกู เสอื ออกเปน 3-4 แถวจบั เอวตอกันเปน แถวคนทีย่ นื อยูบนหัวแถวเปนปาก
มงั กรพยายามไลจ ับคนทายแถวของมงั กรตัวอ่ืนๆ

2. ถาแถวใดถกู จบั ไดกต็ อ งตอ กนั ในที่สดุ จะมแี ถวเดยี วเปนมังกรหางยาวแลว หัว
มังกรไลจ ับหางมงั กรของตวั เอง
การตดั สิน

60 คมู ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 3

เร่อื งท่ีเปน ประโยชน

ลกู สาวกบั พอ

มีพอคนหนง่ึ ไดไ ปเย่ียมลกู สาวคนโตที่เเตง งานไปกบั ชาวสวน
“ลกู สบายดีหรอื เปลา ตองการอะไรหรอื เปลา”พอ ถามอยางเปนหว งเปน ใย ลูกสาวคนโตจึงตอบวา“ลูก
สบายดีจะ พอ ลูกไมไ ดตอ งการนอกจากจะอยากใหฝ นตกลงมามากๆ เพอ่ื ท่ีจะใหพืชผลในสวนจะได
งอกงามดี”เมื่อพอ ไปเย่ียมลูกสาวคนเล็ก พอ ก็ถามเชนเดยี วกันกบั ทไ่ี ดถ ามลกู สาวคนโตไป
ลกู สาวคนเลก็ ซึง่ ไดแตง ไปเปน เมยี ชา งปน หมอ ก็ตอบวา “ลกู สบายดจี ะ พอจา แคต อ งการอยา งเดียวคอื
อยากใหฝนไมตกลงมาเลย ถา มเี เดดออกจา ตลอดเวลากค็ งจะดี เพราะหมอดนิ ทต่ี ากเอาไวก จ็ ะเเหง
เรว็ จะพอ ”
นิทานเรื่องนส้ี อนใหรูวา คนเรามกั ตองการเเตสิ่งทเี่ ปน ผลประโยชนเ เกต น

ลาหลายนาย

ลาเม่ือไดทาํ งานอยใู นสวนผลไม ลากร็ ูสกึ วาตนน้ันตองทาํ งานหนกั เเละตนน้นั กไ็ ดก ินอาหาร
ไมค ุมกบั ท่ตี นทาํ งานลาจงึ ไปกราบทลู ขอพระอศิ วรใหห าเจานายใหใหมใหต น

พระอิศวรทรงรําคาญจงึ สั่งไปอยูกบั ชา งปน หมอ ลาตองขนดนิ ท่หี นกั มากเปนระยะทางไกลๆ
ทุกวันก็ทนไมไ หว จงึ ไดข อรองใหพ ระอศิ วรชว ยตนอีกเปนครง้ั สุดทาย

ครั้งนลี้ าไปทํางานทีโ่ รงฟอกหนงั ลาตองทํางานหนักกวาเดิมอีกหลายเทานัก จนลาสํานึกได
วาอยูทส่ี วนผลไมกับเจานายคนเเรกน้ันกส็ บายหนักหนาเม่อื เทียบกับทนี่ ่ี เเละเจา ลาขีเ้ บอ่ื ก็ยังไดร อู ีก
ดวยวา อยูทน่ี ถี่ า มนั ทาํ งานจะตอ งทํางานจนตายและเมอื่ ตายแลว ก็จะตองถกู ถลกหนังไปฟอกขายตอ
เปน เเนแท
นิทานเรือ่ งนสี้ อนใหร วู า ถา รจู กั พอเพยี งเเละเจยี มตน ก็ยอ มมีความสุขตลอดไป

แพะกบั สงิ โต

สงิ โตคํารามใสเเพะวา“ขา พบนํา้ พนุ อ ยน้กี อ น ขา ตอ งไดก นิ น้ําน้กี อน”เเตเ เพะกร็ อ งวา “ขา
ตางหากทม่ี าพบกอ นเจา”เมอื่ ตกลงกันไมไ ด สงิ โตกับเเพะก็กระโจนเขาตอสูก นั พลั วนั ทามกลางเเส
งเเดดยามเทีย่ งที่รอนอาวท้ังสองฟดกันหมดเเรงนอนกลิง้ เกลือกอยดู วยกันในขณะท่ี
ฝูงอเี เรงบนิ วนเวียนไปมาอยูบนฟา เหนือน้ําพุนอยเเพะจึงเสนอวาควรจะเเบงกันกนิ ดีกวาสกู นั จนตาย
กลายเปน อาหารใหอีเเรง
นทิ านเร่อื งนส้ี อนใหรูวา สองฝา ยตกี ัน ฝา ยที่สามยอ มไดผ ลประโยชน

คูม ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ิต ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 61

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสอื สามัญรนุ ใหญ เครอื่ งหมายลกู เสือหลวง ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 3

หนวยท่ี 6 พฒั นาชมุ ชน เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจัดกจิ กรรมที่ 11 ความตอ งการของชมุ ชน

1. จุดประสงคก ารเรียนรู

เพื่อสง เสรมิ ใหลกู เสอื เหน็ ความสาํ คญั ของชุมชน และมสี วนรว มในการพัฒนาชมุ ชน
2. เน้ือหา

2.1 ชมุ ชน คอื กลมุ คนท่ีอาศยั อยูในละแวกเดยี วกัน โดยมกี ารพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกนั
2.2 สํารวจปญ หาของชมุ ชนและความตอ งการของชมุ ชน
3. ส่ือการเรียนรู

3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 ใบงาน
3.3 กระดาษ
3.4 เร่อื งทีเ่ ปนประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 พธิ ีเปด ประชมุ กอง(ชักธง สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคการเรียนรู

1) ผกู าํ กบั ลกู เสือนาํ ลูกเสือในกองสนทนาถงึ ความหมายของคาํ วา “ชมุ ชน”
2) ลกู เสือแตล ะหมรู ว มกันพิจารณาถงึ ปญ หาและความตองภายในชมุ ชนของลูกเสอื ตาม
ใบกิจกรรมที่ไดร บั
3) ลูกเสอื แตล ะหมสู ง ตัวแทนนาํ เสนอผลงานการคัดเลอื กปญ หาและความตอ งการของ
ชมุ ชนของหมูตนเอง โดยผกู ํากบั ลกู เสอื และลกู เสือในกองรว มกนั พิจารณาถึงปญหาของชุมชนอ่นื
4) ผกู าํ กับลกู เสือใหล กู เสือกลบั ไปเตรยี มคดิ โครงการพฒั นาชมุ ชนท่ีลกู เสือเลือกไว
4.4 ผกู ํากบั ลกู เสอื เลา เรอ่ื งทีเ่ ปน ประโยชน
4.5 พธิ ปี ด ประชมุ กอง(นัดหมาย ตรวจเครื่องแบบ ชกั ธง เลิก)
5. การประเมินผล

สังเกต การมีสวนรว มทาํ กจิ กรรม การแสดงออก และผลงานของลกู เสอื

62 คมู ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ติ ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 3

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 11
เพลง

สามคั คีรวมใจ

สามคั คีรว มใจ เรว็ ไวชว ยกนั ทําการงานดวยความสําราญเริงใจ
มาชวยกนั ซิเรว็ ไว จะไดเ สรจ็ ทนั ใดใครๆก็พากนั ยกยอง

เกม

ว่ิงถอยหลงั

วิธเี ลน

1. แตล ะหมูเ ขา แถวตอนลกึ ทีเ่ สนเร่มิ เสรจ็ แลว กลบั หลงั หนั ใชมอื จับเอวคนท่ีอยู
ขางหนาตนเองไวอยา ใหหลดุ
2. เม่อื ไดยินสัญญาณใหเร่มิ เลน ใหแ ตล ะหมูพ ากนั วิ่งถอยหลังไปยังทีห่ มายโดยไมใ หม ือหลดุ
3. หมูใดถงึ ทห่ี มายกอนเปนผชู นะ หมูอ น่ื กลา วคาํ ชมเชย (เยล) ให ผกู ํากับอธบิ ายถึง
ประโยชนข องเกม

คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ิต ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 3 63

ใบงาน
ใบงาน

เรื่องสํารวจปญ หาและความตอ งการของชุมชน

คาํ ส่ัง ตอนที่ 1
ใหลูกเสือแตล ะคนในหมูบอกถงึ ปญ หาและความตอ งการของชุมชนของตนเองมาอยางนอย

3 ขอ โดยใหรองนายหมูเปน ผูจดบันทกึ
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

คําสงั่ ตอนท่ี 2
ใหล กู เสือในหมรู ว มกันพิจารณาและอภปิ รายเพอื่ คัดเลือกปญ หาทส่ี มาชิกในหมูมคี วามเห็น

พอ งตองกันวา เปน ปญหาทล่ี ูกเสอื สามารถแกไขได หรอื เปนปญ หาทเ่ี รง ดว นควรไดรับการแกไข
มา 1 ปญ หา พรอ มเหตุผลประกอบ
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

64 คมู ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3

เรื่องท่เี ปนประโยชน

ลกู ชาวนากับมรดก

นานมาแลว มคี รอบครวั ชาวนาอยคู รอบครวั หนงึ่ เม่ือผูทเ่ี ปนพอ ตายไปเเลว ลกู ชาวนาทงั้ สองก็ชวน
กนั ออกไปขดุ หาสมบตั ิในสวนองนุ เพราะพอไดสง่ั เสยี เอาไวกอนท่จี ะตายวาทรัพยสมบัตขิ องพออยูใ นสวนองนุ “นอ ง
ไปขุดตรงนัน้ นะ สวนพีจ่ ะขดุ ตรงนี้เอง”ลูกชาวนาทง้ั สองชว ยกันขุดดนิ เพื่อหาสมบัตติ ามท่ตี า งๆในสวนองุนไปจนทั่ว
ทั้งสวนกย็ งั ไมส ามารถหาสมบตั ิท่ีคิดวา พอจะฝงไวใ หเจอไดเเตส วนองนุ ท่ีถูกขุดถูกพรวนดนิ จนทัว่ นั้น กลับยิ่งเจรญิ
งอกงามดี จนลูกชาวนาสองพ่ีนองสามารถท่จี ะขายองุนจนไดท รพั ยสินเงนิ ทองมากมายท้งั สองจงึ เพ่ิงรูว าทรัพย
สมบัตทิ ี่พอท้งิ ไวใ หเ ปนมรดกนั้นแทจริงไมใ ชสมบตั ิที่ถกู ฝงเอาไว แตจริงๆแลว คืออะไร

เร่ืองน้สี อนใหรูว า ความขยนั พากเพยี รสามารถกอใหเกดิ ทรัพย

คูมอื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวิต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 65

แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสอื สามัญรนุ ใหญ เครือ่ งหมายลกู เสอื หลวง ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 3

หนว ยท่ี 6 พัฒนาชมุ ชน เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 12 โครงการพฒั นาชมุ ชน

1. จดุ ประสงคก ารเรียนรู

ลูกเสอื จดั ทาํ โครงการเพื่อพฒั นาตามความตองการของชุมชนได
2. เนอ้ื หา

จดั ทาํ โครงการพฒั นาชุมชน ตามความตอ งการของชุมชน โดยใชเ วลาไมต าํ่ กวา 10 ชว่ั โมง
3. ส่ือการเรียนรู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 ใบงาน
3.3 เรื่องทเ่ี ปนประโยชน
4. กจิ กรรม

4.1 พธิ เี ปด ประชมุ กอง(ชกั ธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคก ารเรียนรู

1) ผกู าํ กบั ลูกเสอื นําลกู เสอื ในกองสนทนาถงึ ปญ หาของชมุ ชนท่ลี ูกเสอื ไดนําเสนอไว
เมอ่ื สัปดาหที่แลว

2) ใหลกู เสือแตล ะหมสู ง ตวั แทนมารบั ใบกิจกรรม แลวชว ยกนั ระดมความคิดในการ
จัดทําโครงการเพ่ือพฒั นาหรอื แกป ญ หาของชุมชนตามหวั เร่อื งทลี่ ูกเสือแตละหมูได
นําเสนอไว

3) ผกู าํ กบั ลูกงานคอยใหคาํ แนะนําและเสนอแนะแกล กู เสอื ในกอง พรอ มนัดหมาย
นาํ เสนองาน

4.4 ผูกาํ กับลกู เสือเลาเรือ่ งท่เี ปนประโยชน
4.5 พธิ ีปดประชุมกอง(นัดหมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธง เลิก)
5. การประเมนิ ผล

สังเกต การมีสว นรว มทํากจิ กรรม การแสดงออก และผลงานของลกู เสอื

66 คมู ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 12

เพลง

สามคั คีรวมใจ

สามคั ครี วมใจ เร็วไวชว ยกนั ทาํ การงานดว ยความสาํ ราญเริงใจ
มาชว ยกันซิเรว็ ไว จะไดเ สร็จทนั ใดใครๆกพ็ ากนั ยกยอง

เกม

นักโทษแหกคกุ
วธิ ีเลน

1. แบง ลูกเสอื เปน 2 ฝา ย ฝา ยหนง่ึ เปนนักโทษทห่ี ลบหนี อกี ฝายหนงึ่ เปนตํารวจ
2. ขดี วงกลมทําเปนคุก เรมิ่ เลน ตาํ รวจไลจบั นกั โทษมาเขา คกุ แลว มีคนมาเฝา
3. นกั โทษกส็ ามารถมาชวยเพอื่ นได โดยฉุดออกจากวงกลม การเลน ผลดั กนั ใครจับ

นักโทษไดมากกวาเปนฝา ยชนะ ตามกําหนดเวลา

ใบงาน

ใบงาน

คาํ ส่ัง จากปญ หาและความตอ งการของชุมชนทลี่ กู เสอื ไดน าํ เสนอไว ใหลกู เสือปฏบิ ัตกิ จิ กรรมดงั น้ี
1. ใหล ูกเสอื แตละหมรู ะดมความคดิ เพื่อจัดทําโครงการเพอ่ื พฒั นาหรือแกป ญหาของชุมชนตาม

หวั เรื่องท่ลี ูกเสือแตละหมูไดน าํ เสนอไว
2. ใชเ วลาในการออกปฏิบัตงิ านตามโครงการไมน องกวา 10 ชั่วโมง โดยมี กํานัน / ผใู หญบ า น

/ประธานหมบู า น / เจาอาวาส / ผนู ําศาสนา / ผูปกครอง / อบต. / ผูกํากับ / อ่ืนๆ บคุ คลใดบุคคลหน่ึง
เปนผูลงนามรับรองผลการปฏบิ ัติงาน

3. จัดทํารายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัติงาน พรอมภาพถาย
4. นําเสนอรายงานในกองลกู เสอื ตามเวลาทน่ี ดั หมาย

คมู อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวติ ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 3 67

หนงั สือรับรองผลการปฏบิ ัตงิ าน

โครงการ ..................................................................................................
ณ ......................................................................................

ครั้งท่ี.........
ลกู เสือ กองท่ี ......... หมูที่ ............. ชื่อหมู .........................................................
ปฏบิ ตั งิ านในวันท่ี ....... เดือน .................... พ.ศ. ............. ตง้ั แตเ วลา ...................... รวมเปน เวลา ..........ช่วั โมง

งานท่ีปฏบิ ัติ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ผลงาน / ความสาํ เรจ็ ท่ีไดรับ
............................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ความคดิ เหน็ / ขอเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงช่อื ผรู บั รองผลการปฏบิ ัตงิ าน
(.............................................)

ตําแหนง .........................................................

68 คูมอื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชีวติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 3

เร่อื งท่ีเปนประโยชน

อกี ากระหายนํ้า

ขณะทอ่ี กี าตวั หน่ึงกาํ ลังบนิ อยู มันรูสึกกระหายนํ้ามาก เม่ือมองเห็นเหยือกนํ้าต้ังอยู
ดานลางจงึ รอ นลงไปยงั จดุ หมายเมอ่ื มองเขาไปในเหยอื ก พ บ ว า มี น้ํ า อ ยู เ พี ย ง เ ล็ ก น อ ย มั น จึ ง
พยายามสอดจงอยปากเขาไปเพ่ือจะดื่มนํ้า แมไมวาพยายามเทาใดก็ไมสามารถสอดเขาไปถึงกน
เหยือกได วิธีถดั มา มันพยายามจะคว่ําเหยอื ก เพื่อใหน ํ้าไหลหกออกมา แตเหยือกน้ันหนักเกินไปใน
ที่สุด มันเหลือบไปเห็นกอนหินใกลๆ กับบริเวณน้ัน จึงคาบมาหยอนลงในเหยือกน้ําทีละกอน
จนระดบั น้าํ ทกี่ น เหยอื กคอยๆ เออ ขึ้นมา ในที่สดุ มันกด็ ม่ื นาํ้ ไดต ามทีต่ องการ

เรอื่ งนี้สอนใหรูวา ความขยันพากเพียรสามารถกอใหเ กิดทรัพย

คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 69

แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญ เครอื่ งหมายลูกเสือหลวง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี3

หนว ยที่ 6 พัฒนาชุมชน

แผนการจัดกิจกรรมที่ 13 การรายงานโครงการ เวลา 1 ช่วั โมง

1. จุดประสงคการเรยี นรู

ลกู เสือสามารถรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานได
2. เน้ือหา

ประเมินผลการปฏบิ ัติ จดั ทาํ รปู เลมพรอ มภาพประกอบ
3. สอ่ื การเรียนรู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 รายงานโครงการ
3.3 เรอ่ื งทเี่ ปนประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 พธิ ีเปด ประชุมกอง(ชักธง สวดมนต สงบนงิ่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคการเรยี นรู

1) ผกู ํากับลูกเสอื ใหลกู เสือแตล ะหมเู ตรียมนาํ เสนอรายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ าน
โดยใหต วั แทนหมูอ อกมาจับฉลากลาํ ดบั การรายงาน

2) ผูกํากบั ลูกเสอื และลกู เสือฟง การนาํ เสนองานของแตละหมู และกลาวชมเชยผล
การปฏิบัติงานของทกุ หมู

4.4 ผูกํากับลกู เสอื เลา เรอ่ื งทเ่ี ปน ประโยชน
4.5 พธิ ปี ด ประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธง เลกิ )
5. การประเมนิ ผล

สังเกต การมสี ว นรวมทาํ กจิ กรรม การแสดงออก และผลงานของลกู เสือ

70 คมู ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 3

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 13
เพลง

รอคอย

รอฉันรอเธออยแู ตไมรูเธออยหู นใด เธอจะมา ๆ เมอ่ื ใด นดั ฉนั ไวทาํ ไมไมมา
ฉันเปนหวงฉันเปน หวงตวั เธอ นัดฉันเกอชะเงอ คอยหา
นัดแลวทําไมไมม า ลกู เสอื จาอยาชาเร็วหนอย รีบหนอยๆเรง หนอยๆ

เกม

ผวู เิ ศษ
วิธเี ลน

-เลือกลูกเสือออกมา 3-4 คน สมมุตวิ า เปน ผูวเิ ศษ เมอื่ แตะถูกผใู ดแลวคนนนั้ จะตอ งกลายเปน
หนิ ยนื อยกู บั ที่ สาํ หรบั คนอน่ื ๆ ตอ งพยายามหนใี นเขตที่กาํ หนดไวอ ยา ใหถกู แตะตัวได

การตดั สิน

1. เมื่อหมดเวลาผทู ่ไี มถูกแตะใหก ลายเปน หนิ เปน ผูช นะ
2.การเลนควรแบงเปนหมูหมใู ดเหลอื ผูเลน ทไ่ี มโ ดนแตะมากเปนทีมชนะ

คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 71

ใบงาน

แบบฟอรมรายงานโครงการ
ช่ือโครงการ..................................................................................................................................
ชอ่ื ผรู ายงาน.................................................................................................................................
ระยะเวลาดาํ เนนิ การ...................................................................................................................

1. สาระสาํ คัญของโครงการ
1.1 ความเปน มาของโครงการ(สภาพปญ หาและความจาํ เปนทจี่ ะตองดําเนนิ การโครงการ)

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

1.2 วตั ถุประสงคข องโครงการ
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

1.3 ขอบขายของโครงการ (สรุปกิจกรรมสาํ คญั ๆ ของโครงการ)
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
2. การดําเนินงานโครงการ (บรรยายรายละเอยี ดของแตละกจิ กรรมตามขอบขา ยของโครงการ)
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. ผลการดําเนินงานโครงการ (ผลท่เี กดิ ขน้ึ ในแตละกิจกรรม เปนไปตามวตั ถุประสงคห รอื ไม
ปญหาอุปสรรคทเ่ี กดิ ข้นึ )
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
4. สรุปผลและขอ เสนอแนะ (สรุปประเดน็ สําคัญ และขอเสนอแนะท่เี ปน ขอ คน พบ
นอกเหนือจากวัตถุประสงค)
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
5. ภาคผนวก (ตัวโครงการ, เอกสารตา งๆ, รปู ภาพประกอบ)
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

72 คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ิต ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3

เร่อื งทเ่ี ปน ประโยชน

หมขี ี้โมโห

หมีตัวหน่ึงนึกทะนงตัวในความแข็งแรงและมีพละกําลังอันมหาศาลของมัน อยูมาวัน
หนึ่งขณะท่ีมันกําลังกินอาหารอยูนั้น เผอิญมีผึ้งตัวหน่ึงบินผานมา หมีนึกโมโหท่ีถูกกวนใจระหวาง
กิน มันเลยเอามือตะปบผึ้งตัวนั้นหวังจะบ้ีใหตาย ผ้ึงจึงตอยเขาทีหนึ่งท่ีหนาของหมีดวย
สัญชาตญาณการปองกันตัวของมัน “อุบะ เจาผึ้งนอย วอนหาที่ตายซะแลว กัดใครไมกัดมากัดขา
นีแ่ นะ” แตยังไมทันที่จะมันจะจัดการอยางไร ผ้ึงตัวนั้นก็บินหนีไปเสียแลว สรางความแคนใหกับหมี
เปน อยา งมาก มนั นกึ ในใจวา มนั จะตองแกแ คน ใหไ ด

พอกินอาหารเสรจ็ หมขี ี้โมโหกอ็ อกเดินปาตระเวนหารงั ผ้งึ ทันที พอมนั พบมนั กต็ รงร่ี
เขา ร้อื รังผ้งึ ขนาดใหญรังนั้นทันที ฝูงผึ้งจํานวนมากตกใจก็พากันบนิ ออกมาจากรงั และรุมตอยหมีตัว
นน้ั จนไดร บั บาดเจ็บแสนสาหสั

เรือ่ งนส้ี อนใหร ูวา คดิ กอ นทาํ แตอ ยา ทาํ กอนคดิ

คูม อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ิต ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 3 73

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรนุ ใหญ เคร่อื งหมายลูกเสือหลวง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3

หนวยท่ี 7 ทักษะชีวติ เวลา 1 ชวั่ โมง
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 14 สารพิษปนเปอ นในอาหาร

1. จุดประสงคก ารเรยี นรู

ตระหนักถึงอนั ตรายจากสารพิษท่ีปนเปอนในอาหาร ซึ่งกอ ใหเ กดิ ผลเสยี ตอ สุขภาพ
2. เนอื้ หา

สารพิษปนเปอ นในอาหาร (สารบอแร็กซ สารฟอรม าลนี สารฟอกขาว สารเรง เน้ือแดง
และสารเมลามนี )
3. ส่ือการเรยี นรู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 ใบงาน
3.3 ใบความรู
3.4 เรื่องที่เปน ประโยชน
4. กจิ กรรม

4.1 พธิ เี ปดประชมุ กอง(ชักธง สวดมนต สงบนงิ่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคการเรยี นรู

1) ผูก าํ กบั ลูกเสอื นาํ สนทนาเกย่ี วกับผลเสยี จากการรับประทานอาหารทม่ี ีสารพษิ
ปนเปอ น ซง่ึ เปน อนั ตรายตอ สขุ ภาพ และจดั ไดว าเปนการตายผอ นสงอยา งหนง่ึ

2) ผูก ํากับลูกเสือแจกใบความรแู ละใบงาน มอบหมายใหหมลู ูกเสอื รว มกนั ศกึ ษาใบความรู
และอภิปรายประเด็นในใบงาน และสงตัวแทนรายงานในกองลกู เสอื

3) ตัวแทนหมลู ูกเสอื รายงานทีละหมู ผกู าํ กบั ลูกเสือและลกู เสอื หมูอืน่ รว มกันซักถาม
เพื่อความเขาใจ และสรปุ (สารพษิ ท่ปี นเปอนในอาหารมีมากมายหลายชนิด สวน
ใหญเ กดิ จากผูประกอบการทีข่ าดความรบั ผดิ ชอบตอสังคม ลกู เสอื ในฐานะ
ผใู หบรกิ ารตามความหมายของ Scout และคติพจนม องไกล จงึ ควรมองไกล
ถงึ ปญ หาทแ่ี ทรกซึมในวิถีชวี ติ ของผคู นชวยเหลอื สงั คมใหรเู ขา ใจและตระหนกั
ถงึ พิษภยั “ผอ นสง ”เหลาน้ี เพื่อใหเกดิ การปองกนั ตนเองและปองกนั ผูอ่นื ไมใ ห
เกิดผลเสยี ตอ สขุ ภาพในระยะยาว)

4) ผกู ํากับลกู เสอื มอบหมายใหหมูลูกเสอื รวมกนั ดาํ เนนิ การ ตามวธิ กี ารรณรงคท ไ่ี ด
รว มกนั คดิ ไว เพ่อื ใหความรแู กลกู เสือกองอ่ืน ๆ และชมุ ชนในโอกาสวนั สาํ คญั ตาง ๆ

4.4 ผูก ํากับลกู เสือเลาเร่อื งทเี่ ปน ประโยชน
4.5 พธิ ีปด ประชุมกอง(นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชักธง เลิก)

74 คูมอื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ิต ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3

5. การประเมินผล

สังเกต การมสี วนรวมในการทํากิจกรรม การแสดงออก และการใหขอ คดิ เห็นในหมแู ละ
ในกองลกู เสือ

6. องคประกอบทักษะชวี ติ สําคัญทเี่ กดิ จากกจิ กรรม

คือ ความคดิ วเิ คราะห ความคิดสรางสรรค ตระหนกั ถึงอนั ตรายของสารพษิ ท่ปี นเปอ นใน
อาหาร

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 14

เพลง

ลกู เสอื จับมอื

จับมือกนั ไวใ หม ั่นคง เพือ่ ความยนื ยงสามัคคี

รกั กันปรองดองเหมือนนอ งพ่ี ผูกความสามคั คีรว มกัน

โกรธกนั มนั รายเปน สงิ่ เลว เปรยี บดังเปน เปลวรอนไฟนนั่

เผาใจใหมีความไหวหวน่ั จบั มือย้ิมใหก ันเปนสิง่ ดี

ใบงาน

สารพษิ ปนเปอนในอาหาร

คําชแ้ี จง

1. หมูลูกเสือเลือกหรือจับฉลากเรอ่ื งทจ่ี ะศึกษาและวเิ คราะหหมลู ะ 1 เรื่องทไ่ี มซาํ้ กนั โดย
ศกึ ษาจากใบความรู หรือคนควา จากแหลงเรยี นรอู ื่น ๆ เพมิ่ เติม

1.1 สารบอแรก็ ซ
1.2 สารฟอรมาลีน
1.3 สารเรง เนอื้ แดง
1.4 สารฟอกขาว
1.5 สารเมลามนี
2. อภปิ รายหาขอสรุปตามประเด็นตอ ไปนี้
2.1 สารพิษเหลา นีป้ นเปอนในอาหารไดอ ยางไร และอาจกอใหเกดิ ผลเสียอะไรบางตอ
สขุ ภาพ
2.2 มวี ธิ ปี องกนั และแกไขปญ หานี้อยา งไรบาง
3. รวมกันคิดวธิ ีการนาํ ความรทู ีไ่ ดรับไปรณรงคเ ผยแพรใหก ับกองลกู เสืออ่ืน และคนใน
ชมุ ชน ในโอกาสวันสําคัญตา ง ๆ เชน การทําโปสเตอร ทาํ แผนพับ หรือการทําเวป็ ไซต เปน ตน
4. สง ตัวแทนนําเสนอตอกองลูกเสือ

คมู ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 75

ใบความรู

สารพิษปนเปอนในอาหาร

1. เรอ่ื ง สารบอแร็กซ

บอแรกซแ ทจ ริงคอื อะไร

บอแรกซ เปน สารอนินทรยี ส ังเคราะหม ชี ื่อทางเคมวี า “โซเดียมบอเรท” (Sodium borate)
ลกั ษณะเปนผลึก ไมม สี ี ไมม กี ลน่ิ มีรสขมเล็กนอย ละลายน้าํ ไดดี ชาวบานเรยี กวา “นาํ้ ประสาน
ทอง” หรอื “ผงกรอบ” ภาษาจนี เรียกวา “เมงแซ”

บอแรกซ เปน สารเคมที ม่ี กี ารนาํ มาใชประโยชนในทางอุตสาหกรรมหลายชนิด เชน ทําแกว
ภาชนะเคลือบ เครื่องสําอาง ยาชุบโลหะ เปนตน นอกจากนี้ยังใชเปนสวนประกอบในผลิตภัณฑ
ตา ง ๆ เชน ยากาํ จดั ตะไครน า้ํ ในสระวา ยนํา้ ยาฆาแมลง ยาฆาเชอื้ ราเพือ่ การดูแลรกั ษาเน้ือไม ยา
ฆาแมลงสําหรับใชตามรอยแตกและชองโหวของอาคารบานเรือน หรือโรงงานอุตสาหกรรม ตึก
สถาบันและอาคารรา นคา ตา ง ๆ เปนตน

มีอันตรายแคไ หน

บอแรกซ เปน สารทเ่ี ปนอันตรายตอสขุ ภาพ การไดร ับในปรมิ าณนอ ยๆ เปนประจํา ทําให
เกิดพษิ สะสมในรางกายและกรวยไตอักเสบ และอาจเสยี ชวี ติ ไดถ าไดร ับสารนปี้ รมิ าณมากในคราว
เดียว (เดก็ ถา กนิ เกนิ 5 กรัม และผูใหญถา กนิ เกนิ 15 กรมั ) กระทรวงสาธารณสขุ จงึ ไดอ อกประกาศ
กระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ที่ 151 (พ.ศ. 2536) กาํ หนดใหบ อแรกซเ ปน วัตถทุ ีห่ า มใชใ นอาหาร

อาการเปนอยางไร

อาการของผูท่ไี ดรบั บอแรกซ จะมีอาการคลนื่ ไส อาเจยี น ทอ งเดนิ เจ็บในชอ งทอ ง กระเพาะ
อาหารและลาํ ไส อุจจาระเปนเลอื ดในบางคร้ัง มนึ ซึม ปวดศีรษะ นอนไมห ลบั เปนผืน่ แดง พพุ อง
ตามผวิ หนงั และการทํางานของตับและไตถกู ทาํ ลาย

พบในอาหารประเภทไหน

อาหารทมี่ กั ตรวจพบบอแรกซ ไดแก แปงกรบุ ลกู ช้นิ ทอดมัน มะมว งดอง ไสกรอกหวั ไชโป
หมูยอ ผกั กาดเคม็ เนือ้ สัตวบ ดสบั ทบั ทิมกรอบ ลอดชอ ง

2. เร่อื ง สารฟอรมาลนี

“ฟอรม าลีน และ ฟอรมลั ดีไฮด”ท้งั สองตวั นใ้ี นทางเคมคี อื สารตวั เดยี วกนั เพยี งแตวา เม่อื อยู
ในรปู ของสารละลายจะเรยี กวา “ฟอรม าลีน”หรอื ช่ือเรียกท่เี ราคนุ กนั ดีกค็ ือน้าํ ยาดองศพนั่นเอง สวน
“ฟอรม ลั ดไี ฮด” มีสถานะเปน กา ซทอ่ี ณุ หภูมปิ กติ มีกลน่ิ ฉุนแสบจมกู ที่มีจาํ หนายทัว่ ไปจะอยใู นรูป
ของสารละลายชื่อน้ํายาฟอรมาลีน สารละลายน้ีไมค งสภาพ เมอ่ื เกบ็ ไวนานโดยเฉพาะทอ่ี ณุ หภูมสิ ูง
จะกลายเปนกรดฟอรม ิก จึงจาํ เปนตอ งเตมิ สารทีท่ าํ หนา ทใี่ หค งสภาพ เชน เมทานอล 5 – 15% หรือ
จาํ หนายในรูปของพาราฟอรมัลดไี ฮด

76 คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3

ฟอรมาลนิ เปน สารต้ังตนสาํ หรับผลิตภณั ฑห ลายชนดิ ที่ใชมากคอื นําไปทําเมด็ พลาสตกิ ชนดิ
ตาง ๆ ใชเ ปนกาวสาํ หรับเฟอรนเิ จอรไม ใชท ําโฟมเพือ่ เปนฉนวน เปน ตน

ในวงการแพทยใ ชใ นการฆาเช้อื โรค เชน ใชดองศพ ใชฉ ดี เพือ่ กนั ศพเนา ใชเปน สว นผสมใน
เวชภณั ฑ เชน ยาอม นํา้ ยาฆาเชอ้ื โรค เปนตน

อันตรายเกดิ จากไอของฟอรมลั ดีไฮด ทาํ ใหเกิดการระคายเคืองท่ีตา จมกู และผิวหนงั อาจ
ทาํ ใหกระจกตาเปน แผลถงึ ขน้ั ตาบอดได ถาสดู ดมเขาไปมาก ๆ จะทาํ ใหน้ําทว มปอดจนหายใจไม
ออก แนนหนา อก และเสยี ชวี ติ ในที่สดุ อาการเหลานีอ้ าจเกิดขนึ้ หลายชวั่ โมงหลงั จากไดร บั สารน้ี โดย
ไมม ีอาการเจบ็ ปวดเลยกไ็ ด หากไดรบั ปรมิ าณนอยเปน เวลานาน จะมีอาการไอและหายใจตดิ ขดั เพราะ
หลอดลมอกั เสบปอด ตบั และไตจะเสือ่ ม

อาหารที่พบการปนเปอ นสารนี้ ไดแก อาหารประเภทเน้อื สัตว เชน เนอ้ื หมู เนือ้ ววั อาหาร
ทะเล และผกั สด ซึง่ ผูคา นาํ มาใสเพื่อไมใหเกดิ การเนาเสียงาย ผูบ รโิ ภคจึงควรเลือกซื้ออาหารเหลา น้ี
อยา งระมดั ระวัง เชน ไมซ ือ้ เนอื้ หมทู ส่ี ดและแดงผิดปกติ กอ นนํามาปรงุ ควรลา งใหสะอาด

3. เรือ่ ง สารฟอกขาว
สารฟอกขาวหรอื สารโซเดียมไฮโดรซัลไฟต (Sodium hydrosulfite) หรือรูจักกันในชื่อ “ผง

ซักมงุ ” นิยมใชในอุตสาหกรรมฟอกยอมเสนใยไหม แห และอวน แตพบวาผูคาบางรายนํามาใชฟอก
อาหาร เพื่อใหอาหารมีความขาว ดสู ดใหมน ารบั ประทาน ซง่ึ เปนอันตรายอยางมากตอ สุขภาพ

อันตรายตอผบู รโิ ภค
การสัมผัสสารฟอกขาวโดยตรงจะทําใหผิวหนังอักเสบ เปนผื่นแดงถาบริโภคเขาไปจะทําให
เกดิ อาการอกั เสบในอวัยวะทสี่ ัมผัส เชน ปาก ลําคอ กระเพาะอาหาร และลําไส ทําใหเกิดอาการแนน
หนาอก หายใจไมสะดวก ความดันโลหติ ตา่ํ ปวดทอง ปวดศรี ษะ อาเจยี น อุจจาระรวง และหากแพ
สารนี้อยางรุนแรง จะทําใหถายเปนเลือด ชัก ชอก หมดสติ หายใจไมออก ไตวาย และเสียชีวิต
ในทส่ี ดุ
อาหารทีม่ กั ตรวจพบสารฟอกขาว
ถ่วั งอก ขิงฝอย ยอดมะพรา ว กระทอ น หนอไมดอง นาํ้ ตาลมะพราว ทเุ รยี นกวน

4. เรือ่ ง สารเรง เน้อื แดง (ซาลบูทามอล)
ซาลบทู ามอล เปนสารในกลุมเบตาอะโกนิสต (b-Agonist) เปนตัวยาสาํ คัญในการผลิตยา

บรรเทาโรคหอบหดื ออกฤทธใ์ิ นการขยายหลอดลม ชว ยใหกลามเนอ้ื หลอดลมคลายตัว และเพมิ่ การ
สลายไขมันทส่ี ะสมในรางกาย เกษตรกรผเู ลยี้ งหมูนยิ มนําสารชนดิ นี้ไปผสมในอาหารหมู เพอื่ ใหเนือ้ หมู
มีปริมาณเนอ้ื แดงเพ่มิ มากขนึ้ เพราะจะทาํ ใหไดร าคาดกี วาหมทู ี่มีชนั้ ไขมันหนา ๆ

คมู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชีวิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 77

อันตรายจากซาลบทู ามอล
การบริโภคเน้ือสัตวที่มีสารเรงเน้ือแดงตกคางอยู อาจทํามีอาการมือสั่น กลามเนื้อกระตุก
ปวดศีรษะ หัวใจเตนเร็วผิดปกติ กระวนกระวาย วิงเวียนศีรษะ บางรายมีอาการเปนลม คลื่นไส
อาเจียน มีอาการทางจิตประสาท และเปนอันตรายมากตอหญิงมีครรภ ผูท่ีเปนโรคหัวใจ ความดัน
โลหิตสงู เบาหวาน และโรคไธรอยดเ ปนพิษ

5. เร่ือง สารเมลามนี
เมลามนี คืออะไร
เมลามีน (Melamine) เปนสารอินทรีย มีช่ือทางเคมีวา 1,3,5-triazine-2,4,6-triamine มี

ลักษณะเปนผลึกสีขาวละลายนํ้าไดเล็กนอย มีไนโตรเจนเปนสวนประกอบสูงถึง 66 % นิยมนํามาใช
เปนสวนประกอบหลักในอุตสาหกรรมพลาสติก เชน โฟมทําความสะอาดพ้ืนผิว, แผนฟอรไมกา,
กาว, จานชาม, ไวทบอรด และวตั ถกุ ันความรอ น เปน ตน

ในธรรมชาติยังพบสารที่คลายกับเมลามีนคือ Ammeline (แอมมีลีน) Ammelide (แอมมีไลด)
และ Cyanuric acid (กรดไซยานูริก) สารเหลาน้ีเกิดจากปฏิกิริยาเคมีของเมลามีนจนไดเปนแอม
มีไลด และเมื่อแอมมีไลด ถูก oxidize ดวยสารพวก Potassiumpermanganate หรือการตมใหเดือด
จะไดกรดไซยานูริกเกิดข้ึน ซ่ึงใชเปนสารต้ังตนในการทําสารฟอกขาว, สารใหความคงตัว, สารฆา
เชือ้ โรคในสระนาํ้ วา ยน้ําและใชเ ปนสว นประกอบในวัตถุเจือปนอาหารสัตว

การปนเปอ นเมลามีนในอาหาร
ในป 2550 มีรายงานวาพบการปนเปอนของสารเมลามีนในวัตถุดิบท่ีใชในการผลิตอาหาร

สัตวที่นําเขาจากประเทศจีนซึ่งทําใหสุนัขและแมวจํานวนมากปวยและตายเน่ืองจากไตวายและป
2551 ก็มีรายงานขาววานมผงหรือนมสําเร็จรูปสําหรับทารกท่ีผลิตในประเทศจีนมีสารเมลามีน
ปนเปอนซึ่งทําใหมีทารกอยางนอย 4 รายเสียชีวิตเนื่องจากภาวะไตวาย และเจ็บปวยอีกอยางนอย
54,000 คน จากการสอบสวนพบวาสาเหตุเกิดจากเกษตรกรชาวจีนผูเล้ียงวัวนมเติมนํ้าลงในน้ํานม
ดิบเพื่อใหน้ํานมมีปริมาตรเพิ่มข้ึนซึ่งเปนผลใหนํ้านมดิบมีปริมาณโปรตีนตํ่ากวาเกณฑมาตรฐานของ
บริษัทผูรับซื้อ ทําใหขายน้ํานมดิบไมได เกษตรกรจึงเติมเมลามีนลงไปใน น้ํานมดิบเพื่อใหมีปริมาณ
ไนโตรเจนสูงขึ้นและไดมาตรฐานตามที่บริษัทกําหนดเนื่องจากการตรวจหาปริมาณโปรตีนในอาหาร
จะวัดออกมาในรปู ของไนโตรเจน

นอกจากน้ีการปลูกพืชอาหารสัตวก็มีการผสมเมลามีนลงในดินเพ่ือเพิ่มโปรตีน และเรงการ
เจริญเติบโต ผูผลิตอาหารสัตวก็ผสมเมลามีนในอาหารสัตวท่ีขายดวย นั่นหมายความวาเมลามีนได
ถูกผสมมาตั้งแตตนทางของหวงโซอาหารกอนจะมาถึงปลายทางที่ผูบริโภค ดังน้ันจึงไมใชแค
ผลิตภณั ฑนมเทานนั้ ท่ีเสยี่ งตอสารเมลามนี แตทั้งดนิ น้าํ พชื ผักหรอื เนอ้ื สตั วก ็มโี อกาสปนเปอนสารเม
ลามีนไดเ ชน กนั

78 คมู ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3

พษิ ของเมลามนี และกรดไซยานูรกิ
อาการหลักท่ีเกิดจากการไดรับสารเมลามีน คือความดันโลหิตสูง ไตอักเสบ พบผลึกเล็กๆ ที่
ไต ปสสาวะมีเลือดปนและมีอาการไตวายนอกจากนี้ยังเปนสาเหตุหนึ่งของการเกิดมะเร็งที่กระเพาะ
ปส สาวะสวนกรดไซยานูริกก็ทําใหเน้ือเยื่อของไตเสียหายเชนกัน และพบวาสารผสมระหวางเมลามีน
และกรดไซยานูริก จะกอใหเกิดผลึกตกคางที่ทอไตมากข้ึนอันเปนสาเหตุของการเกิดภาวะไตวายใน
ทีส่ ดุ
องคการอนามัยโลกไดกําหนดคาปนเปอนสูงสุดท่ีรางกายไดรับตอวันโดยไมทําใหเกิด
อันตรายตอ สขุ ภาพคือ0.20 มก./นาํ้ หนกั ตวั 1 กก./วันหมายความวา ถาเราหนัก 50 กก. ตอ งไดรับเม
ลามีนมากกวา 10 มก./วันถึงจะเปนอันตรายและสมมติวานมที่เราดื่ม 1 ลิตรมีเมลามีนปนเปอน 1
มก.ซึ่งเราตอ งดืม่ นมมากกวา 10 ลิตรถึงจะไดรับอนั ตรายจากเมลามนี
กระทรวงสาธารณสุขไดออกประกาศหามนําเขาผลิตภัณฑนมและผลิตภัณฑอาหารท่ีมีนม
เปนสวนประกอบท่ีมีการปนเปอนเมลามีนโดยกําหนดใหนมผงมีเมลามีนปนเปอนไดไมเกิน 1 สวน
ตออาหารลานสวน (ppm) หรือ 1 มิลลิกรัมตอน้ําหนักอาหาร 1 กิโลกรัม และอาหารอ่ืนที่มีนมเปน
สว นประกอบจะพบเมลามีนไดไมเกิน 2.5 สวนในอาหารลานสวน ผูฝาฝนประกาศน้ีมีบทลงโทษปรับ
5,000 บาท ถึง 20,000 บาทและมโี ทษจําคุก 6 เดอื น ถึง 2 ป

เรอื่ งท่ีเปนประโยชน

ทําไมยางลบตองอยบู นหัวดินสอ

สุวทิ ยเ ปนเดก็ ชา งสงสยั เขามกั มคี าํ ถามแปลกๆ ถามพอ แม ครู เพือ่ น และคนรจู ักเสมอ วัน
หน่ึงขณะทีเ่ รยี นในช้นั เรียน เขาถามคุณครูวา "ทาํ ไมตองมยี างลบอยบู นหวั ดนิ สอ"

“ก็เพราะวา คนเราสามารถทาํ ผิดกันได”
ลองทวนคําถามอกี ครง้ั หนึ่ง "ทําไมตอ งมียางลบอยูบนหัวดนิ สอ"
ก็เพราะคนเรามีสิทธทิ์ ําผดิ กันได
แตจงจําไวว า“เราไมค วรใชย างลบหมดกอนดินสอ เพราะน่นั อาจหมายความวาเรา
กําลงั ทาํ ผดิ ซาํ้ ๆ จนความผิดนัน้ อาจสายเกินแก” สุวิทยขอบคุณคณุ ครูและนําสงิ่ ท่ตี นได
รบั ทราบในวนั นเ้ี ปนเรื่องเลาใหผูอ น่ื ฟงตอ ไป

เร่ืองนี้สอนใหรูวา จงกลาเผชญิ หนา กับความผดิ พลาดและไมป ระมาทในการใชช วี ิต

คมู อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 79

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสอื สามญั รุน ใหญ เครอื่ งหมายลกู เสอื หลวง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 3

หนวยที่ 7 ทักษะชวี ิต เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดกิจกรรมท่ี 15 คิดเชงิ บวก

1. จดุ ประสงคก ารเรียนรู
มคี วามสามารถในการคดิ เชงิ บวก

2. เน้อื หา

การคิดเชงิ บวกเปนการวิเคราะหหาสิ่งดี ๆ ที่มอี ยูใ นสถานการณทเี่ กดิ ข้ึนในชวี ิตประจาํ วัน การ
ฝกคิดเชงิ บวกจะชว ยใหม องโลกในแงด ี มีความหวัง และหาทางออกจากปญหาไดง ายข้นึ

3. ส่ือการเรียนรู

3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 เรอ่ื งทเ่ี ปนประโยชน

4. กจิ กรรม

4.1 พธิ ีเปด ประชุมกอง(ชกั ธง สวดมนต สงบน่งิ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจุดประสงคก ารเรียนรู

1) ผูกํากบั ลกู เสอื เตรยี มการใหอ าสาสมัครลกู เสอื แสดงบทบาทสมมุตใิ นกองลกู เสอื
ตามสถานการณตอ ไปน้ี
“ผกู ํากับลูกเสอื มอบหมายงานใหห มลู กู เสอื ปฏิบตั กิ จิ กรรมวาดภาพฐานผจญภัย
แตมีลกู เสือวงิ่ เลน กนั แลว ไปชนเพอื่ นท่กี ําลงั ทาํ งานอยู ทาํ ใหง านทีท่ าํ อยเู กดิ ความ
เสียหายขึ้น”

2) ผกู ํากับลูกเสอื นําอภปิ รายและเพิม่ เติม ใหไดข อ สรุปในประเดน็
(1) คดิ วา ลกู เสอื ทถ่ี กู ชนจะรูส กึ อยา งไร
(2) ความรสู กึ เชนนี้เกดิ มาจากความคิดอยา งไร(เกิดจากความคิดทางลบ เชน ทําไม
จงึ ซวยอยา งนี้ เพ่อื นนี่แยจริงรูวา คนทํางานอยยู งั จะมาวิง่ แถวน้อี ีก ทําตงั้ นาน
กวาจะไดแคน น้ี ่ไี มร ูจ ะตองทําอกี นานแคไหน ฯลฯ เพราะอารมณและความคดิ
โนมนาํ กันได ในทางกลบั กนั อารมณท างลบก็โนมนาํ ใหเ กิดความคดิ ทางลบ
ตามมาไดเ ชนกนั )

80 คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3

3) ผูกํากับลกู เสอื มอบหมายใหห มูลกู เสอื รว มกันปรบั ความคิดใหม ใหเปนความคิด
ทางบวกที่หลากหลายมากท่สี ดุ แลวนําเสนอในกองลูกเสอื (เชน ดีจะไดทําใหมให
สวยกวา เดิม ทีหลังเราตอ งระวังใหมากกวา นฯ้ี ลฯ)

4) สมุ ใหหมูลกู เสือนาํ เสนอ 1 หมู หมทู ี่เหลือใหชว ยกนั เพ่มิ เติมในสว นท่ไี มซ ้ํากนั
5) ผกู าํ กบั ลกู เสอื นําอภปิ รายและเพิม่ เติม ในประเด็น

(1) ความคิดทางบวกทําใหผลอยา งไรตอ ตัวลูกเสือ(ทาํ ใหเกดิ อารมณทางบวก
ไมโ กรธ สามารถแกปญ หาดว ยเหตผุ ล จงึ ไมเกิดความขดั แยง และความรุนแรง
ตามมา)

(2) ไดข อ คิดอะไรบางจากกจิ กรรม และจะนําไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ไดอยา งไร
4.4 ผูกํากับลกู เสอื เลา เรอื่ งทเ่ี ปน ประโยชน
4.5 พธิ ีปด ประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบชักธง เลิก)
5.การประเมนิ ผล
สงั เกต การมสี ว นรว มในการทํากจิ กรรม และการแสดงความคิดเห็นในหมู และในกองลูกเสอื
6. องคป ระกอบทักษะชวี ิตสําคญั ทเ่ี กิดจากกจิ กรรม
คอื ความคดิ วเิ คราะห ความคดิ สรางสรรค เขา ใจตนเอง เขาใจผอู ื่น ความรบั ผดิ ชอบตอ
ตนเองและสว นรวม

คูมอื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชีวติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3 81

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 15

เพลง

ยิ้ม

ยิม้ ยิม้ ยม้ิ ยมิ้ มานยั นต าหวานชื่น
ย้มิ นดิ ชีวติ ย่งั ยนื สดชืน่ อรุ าอยามัวรอ
สดชืน่ อรุ าอยาหนา งอ มายม้ิ กนั หนอเพอื่ นเอย

เรอื่ งทีเ่ ปนประโยชน

ลุงมากับมา

ชายคนหน่งึ ชอ่ื ลงุ มา เลี้ยงมา ไวต วั หน่งึ ลุงมามลี ูกชายคนหน่ึงอายุครบเกณฑทหารพอดี ลูก
ชายมหี นา ท่เี ลี้ยงมาตัวนี้

วนั หนง่ึ ปรากฎวา มา ตวั นห้ี ายไป ทาํ ใหลงุ มาเศรา โศกเสียใจมาก เพราะกวาจะซอ้ื มา ตวั น้ไี ด
ตองใชเ วลานานในการสะสมเงิน แมวาชาวบา นจะชว ยกนั ปลอบใจใหคลายทกุ ข แตลงุ มาก็ยงั ทําใจ
ไมไ ด...ยงั คงเสยี ใจเหมือนเดิม

แตแลว รุง ข้ึนอีกวันหนง่ึ กป็ รากฏวามา ตวั ทห่ี ายไปไดกลบั มา แถมยังพามา ปา มาอกี 4 ตัว
ดว ย ทําใหล ุงมาดใี จมาก นอกจากจะไดมาคนื มาแลวยงั ไดม า มาเปลา ๆ โดยไมตองซอื้ ถงึ 4 ตวั

ลุงมาดใี จอยูไมน าน กป็ รากฏวม าปา ตวั หน่ึงท่ีลงุ มาไดม าเปลา ๆน้ีไดเ ตะลูกชายของลงุ มาจน
ลูกชายขาเปท ําใหลงุ มาตองเสยี ใจมากอกี คร้งั หนึง่ ชาวบานกเ็ ขามาชวยกนั ปลอบใจอกี

หลายวันตอมา มกี ารเกณฑทหาร ชายหนุมท่อี ยูห มูบานเดยี วกบั ลุงมาถูกเกณฑท หารหมด
ทกุ คน ยกเวน ลกู ชายของลุงมาเน่ืองจากขาเป และภายหลงั ชายหนุม ที่ถกู เกณฑทหารไดต ายใน
สนามรบหมดทกุ คน ถอื วาเปน โชคดขี องลงุ มาที่ลกู ชายแมจ ะขาเปแตก ย็ งั มชี ีวติ อยู ชาวบา นตา งก็มา
แสดงความดใี จกับลุงมา

เร่ืองน้ีสอนใหร วู า เมื่อยงั มลี มหายใจก็จงอยาทอ แทใ นชีวติ จงใชส ติกําหนดรูไวเสมอวา “เม่ือเรา
ประสบโชครา ย ก็ไมควรเสียใจมากนกั เพราะโชคดอี าจตามมาในไมช า
จงสูต อไป”

82 คูม ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวิต ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 3

แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญ เครื่องหมายลกู เสอื หลวง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3

หนว ยท่ี 7 ทักษะชีวติ

แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 16 การแสดงความช่นื ชมและการใหกําลังใจ เวลา 1 ช่วั โมง

1. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู

มีความสามารถในการสอ่ื สาร เพือ่ แสดงความชื่นชมและใหกําลงั ใจเพื่อน
2. เนือ้ หา

การส่อื สารเปน เครอ่ื งมือสําคญั ทส่ี ุด ในการสรางและรกั ษาสมั พนั ธภาพกบั ผูอ่นื ทกั ษะการ
ส่ือสารเพื่อแสดงความช่ืนชมและใหกําลังใจผอู ่ืน จึงเปนทกั ษะจาํ เปน อีกอยา งหนึ่งทีล่ ูกเสอื ควรฝกฝน
3. ส่ือการเรียนรู

3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 ใบความรู เร่อื ง ทกั ษะการแสดงความช่ืนชม และใหก ําลงั ใจ
3.3 เรือ่ งทเี่ ปน ประโยชน
4. กิจกรรม

4.1พิธีเปด ประชุมกอง(ชักธง สวดมนต สงบนงิ่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก ารเรียนรู

1) ผูก าํ กบั ลูกเสือนําสนทนาในกองลูกเสอื ถึงความหมายของ “การแสดงความชน่ื ชม
และการใหก าํ ลงั ใจ” (การแสดงความช่ืนชมในส่ิงดี ๆ ของเพื่อน แมเพียงเล็กนอย
เปนการเสริมความเชื่อม่นั และสรา งแรงบนั ดาลใจใหก บั เพอ่ื นทเี่ ขาจะมุงม่ันรักษา
ส่ิงดีๆน้ันไว และพยายามทําใหดียิ่งข้ึนไปอีก ขณะท่ีการใหกําลังใจเมื่อเพื่อนเกิด
ความทอก็จะชว ยเสริมแรงใหเ ขามีพลังที่จะสูก บั อปุ สรรคตอไปเชนกัน)

2) ผูก าํ กบั ลูกเสอื แจกใบความรูเรอ่ื ง“ทักษะการแสดงความชนื่ ชม และใหกําลังใจ” ให
ลูกเสือแตล ะหมูรวมกนั คิดประโยคคําพูด เพ่ือใหก ําลงั ใจเพอ่ื น ในสถานการณ
“เพ่อื นประสบอบุ ัตเิ หตขุ าหกั นอนปวยอยโู รงพยาบาล และลูกเสือไปเย่ียม”

3) ลูกเสอื แสดงบทบาทสมมตุ ทิ ลี ะหมู ผูกาํ กับและลูกเสือหมูอื่นรว มกนั วเิ คราะห
ความถกู ตอ ง ของขน้ั ตอนทักษะการใหก ําลังใจ และชวยเสนอแนะการแกไ ข จนครบ
ทกุ หมู

4) ผูกาํ กบั ลกู เสอื และลูกเสือ รว มกันสรุปขอ คดิ ที่ไดแ ละการนาํ ไปใช
4.4 ผกู ํากับลกู เสอื เลา เร่ืองทเ่ี ปนประโยชน
4.5 พธิ ปี ดประชุมกอง(นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบชกั ธง เลกิ )
5. การประเมินผล

สังเกตการมีสว นรวมในการทํากจิ กรรม การแสดงออก และการแสดงความคดิ เห็นในหมู และ
กองลกู เสอื

คมู ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 83

6. องคประกอบทักษะชวี ติ สาํ คญั ทเี่ กดิ จากกจิ กรรม
คอื เขาใจตนเอง เขาใจเห็นใจผูอ่ืน การสรา งสัมพันธภาพและการสอื่ สาร

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 16

เพลง

กาํ ลงั ใจ

ในยามทีท่ อแท ขอเพียงแคค นหนงึ่ จะคิดถึงและคอยหว งใย
ในยามท่ชี วี ติ หมน หมองรองใหข อเพียงมีใครปลอบใจสกั คน
ในวนั ทโ่ี ลกรา ง ความหวังใหว าดมันขาดมนั หาย ใครจะชว ยเติม
เพม่ิ พลงั ใจ ใหฉ ันไดเรม่ิ ตอ สอู กี ครง้ั บนหนทางไกล
กําลงั ใจจากใครหนอขอเปนทานใหฝ น ใหใ ฝ
ใหช วี ติ ไดม ีแรงใจ ใหด วงใจลกุ โชนความหวงั
กาํ ลังใจจากใครหนอขอเปน ทานใหฉ นั ไดไหม
ดั่งหยาดฝนบนฟากฟาไกลที่หยาดรนิ สผู นื ดินแหง ผาก

ใบความรู

ทักษะการแสดงความชนื่ ชมและใหก าํ ลงั ใจ

การแสดงความชื่นชม และใหก ําลังใจ เปนการสื่อสารทางบวกอยางหนึ่ง การแสดงความช่ืนชม
ในส่ิงดีของเพ่ือน แมเพียงเล็กนอย จะชวยเสริมความเช่ือมั่นใหแกเพื่อน และสรางแรงบันดาลใจใหเขา
มุง ม่นั ที่จะรักษาส่งิ ดี ๆน้นั ไว และพยายามทาํ ใหด ีย่ิงขนึ้ ไปอีก ขณะท่ีการใหกําลังใจเม่ือเพื่อนเกิดความ
ทอแท กจ็ ะชวยเสรมิ แรงใหเ ขามีพลังท่ีจะสูกับอุปสรรคตอไปเชนกนั

ทบทวนองคป ระกอบของการส่อื สารทางบวก

1. เปน การสื่อสารซึง่ เร่มิ ตน จากตัวเราโดยสื่อความคดิ ความรสู ึก และความตอ งการของตนเอง
2. ใชภ าษาพดู น้ําเสยี ง ไพเราะ พดู ดว ยเหตุผล และถกู กาลเทศะ
3. แสดงออกทางอารมณอ ยา งเหมาะสม
4. สรางความรูสึกทด่ี ีตอ อกี ฝา ยเชน การใหเกียรติ ใหค วามสาํ คัญ แสดงความเปน หว ง ให
กําลงั ใจ ถามความคิดเห็น ฯลฯ
ผลของการสอื่ สารทางบวก จะทาํ ใหเ กิดความเขา ใจกันมากย่งิ ขึน้ เกิดความรูสึกดๆี ตอ กนั
ทาํ ใหม องอะไรเปน บวกไปหมด อยากทําดีตอกนั มากย่งิ ข้นึ ละทฐิ ิและใหอภยั กนั งา ยข้นึ

84 คมู ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3

ข้ันตอนการแสดงความชนื่ ชม
1. บอกความรสู กึ ของตนเองอยางจริงใจ ท้ังคาํ พูด ทา ทางและน้ําเสยี ง
2. ระบุส่งิ ดี ๆ ของเพอื่ นที่เราสังเกตได ตามความเปน จริง
ตัวอยา งการชน่ื ชมเพ่อื นในเรือ่ งตางๆ
@ ช่นื ชมความตรงตอเวลา : มนี ดั กับนายนี่ ไมเ คยผิดหวังเลย ตรงเวลาเปะ ทกุ ครงั้
@ชน่ื ชมในการเปนคนทีม่ ีความรบั ผดิ ชอบในการทํางาน: นายเปน คนรบั ผดิ ชอบดีมาก ๆ
ตองยกนิว้ ใหเลย
@ ชื่นชมท่ีเขาเปนคนมีอธั ยาศัยดี: ทําไมนายชา งดีอยางนี้
@ชน่ื ชมที่เขาชอบชว ยเหลอื เพือ่ นฝงู : พวกเราโชคดที มี่ เี พอื่ นอยางนาย
@ชื่นชมที่เขาทเ่ี รียนดี ไดรางวลั รองเพลงเพราะ ฯลฯ : ยินดดี วย นายเกง มาก

ขัน้ ตอนการใหก าํ ลังใจ
1. สะทอ นความรูสึกของเพอ่ื นที่เราสังเกตไดในขณะนนั้ เพอ่ื ใหเ ขารูวา เราเขาใจและเห็นใจเขา
ดูเธอ/เธอคง ------(ความรูสกึ ท่เี ราสงั เกตเหน็ ) +/- ท่-ี --(ปญ หาท่ีเกิดขนึ้ )
2. สํารวจสงิ่ ดีท่ีเขามีอยู ทจี่ ะชว ยใหเขารสู กึ มคี วามหวงั และกําลงั ใจมากขึ้น
3. เสรมิ ความเชื่อม่ันในความสามารถของเขา เชน แสดงความช่นื ชมทเ่ี ขาเขม แขง็ ตอ สู
อปุ สรรค แกปญ หา ฯลฯ

ตัวอยาง
สถานการณ : เพื่อนสอบไมผ าน
1. เธอคงเสียใจ ทีผ่ ลสอบออกมาอยา งน้ี
2. แลว เธอคิดจะทาํ อยางไรตอ ไป.... / มีอะไรทจ่ี ะชว ยเธอไดบาง.......
3. ฉนั ดใี จที่เธอเขมแขง็ หาทางออกไดแลว สตู อ นะเพ่อื น ฉันจะคอยเอาใจชว ย

คูมอื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 85

เรอื่ งทีเ่ ปน ประโยชน

ชวี ติ ทห่ี ายไป

เดก็ หนุม คนหนึง่ เปนคนเรียนเกงมากไดท ุนไปเรียนทอี่ เมริกาจนจบดอ็ กเตอรจึงกลับมาเยยี่ ม
บา นบา นของเขาอยอู ีกฟากหน่งึ ของทะเลสาบตองนัง่ เรอื แจวขามไปใชเวลาประมาณหนึ่งชั่วโมง...
ระหวางอยใู นเรอื กพ็ ดู คยุ กคั นแจวเรอื จาง

ชายหนมุ : เรอื ที่ติดเครอ่ื งยนต. ..ไมม เี หรอ...ลงุ ... ?
คนแจวเรอื จาง : ไมม หี รอกหลาน...ที่นี่มนั บา นนอก...มนั หา งไกลความเจรญิ ...มีแตเรือแจว...
ชายหนมุ : โอ...ลาสมยั มากเลยนะลุงท่ีอเมรกิ าเขาใชเคร่อื งบนิ กนั แลวลงุ ...ลงุ ยังมานง่ั แจวเรอื อยูอกี
ไปสงผมฝง โนน ...เอาเทาไร...ลงุ ... ?
คนแจวเรอื จา ง : 80 บาท...
ชายหนมุ : OK ... ไปเลยลงุ ...

ในขณะทลี่ งุ แจวเรอื หนุมนกั เรียนนอกกเ็ ลาเรอ่ื งความทนั สมัยความกา วหนาของอเมริกาให
ลุงฟง ...เมืองไทย...เมือ่ เทียบกับอเมริกาแลว...ลาสมยั มากไมร คู นไทยอยูกนั ไดยงั ไง... ?
ชายหนมุ : ลุง...ลงุ ใชค อมพิวเตอร. ..ใชอินเตอรเน็ต...เปน ไหม... ?
คนแจวเรือจาง : ลุงไมรูจ ักหรอก...ใชไ มเ ปน...
ชายหนุม : โอโฮ. ..ลงุ ไมร ูเร่อื งนีน้ ะ....ชีวิตลุงหายไปแลว ... 25 %... รูม๊ัย แลว ลงุ รไู หมวา...เศรษฐกิจ
ของโลก...ตอนนเ้ี ปนยังไง... ?
คนแจวเรือจาง : ลุงไมรูห รอก...
ชายหนมุ : ลงุ ไมรูเรือ่ งน้ีนะ...ชวี ติ ของลงุ หายไป... 50 % แลว แลว รเู รือ่ งนโยบายการคาโลกไหม...
ลุง... ? ลงุ ...ลงุ รเู ร่อื งดาวเทียมไหม...ลงุ ... ?
คนแจวเรือจาง : ลงุ ไมร หู รอก...หลานเอย...ชีวติ ของลงุ ...ลงุ รูอยอู ยางเดียว...วาจะทาํ ยงั ไง...ถึงจะ
แจวเรอื ใหถ ึงฝง โนน...
ชายหนุม : ถา ลุงไมร เู ร่อื งนี.้ ..ชีวติ ของลงุ ...หายไปแลว... 75 %
ขณะน้นั เกดิ ลมพายพุ ัดมาอยางแรง...คล่ืนลกู ใหญม าก...ทอ งฟามืดครมึ้ ...
คนแจวเรือจาง : นีพ่ อ หนุม...เรยี นหนังสือมาเยอะ...จบดอกเตอรจ ากตา งประเทศ...ลงุ อยากถาม
อะไรสักหนอ ยไดไหม
ชายหนุม : ได. ..จะถามอะไรหรอื ลุง... ?
คนแจวเรือจาง : เอ็งวายน้ําเปน ไหม... ?
ชายหนมุ : ไมเปนจะ ...ลงุ ....
คนแจวเรอื จาง : ชวี ติ ของเอง็ ...กาํ ลังจะหายไป 100 % ... แลว พอหนมุ ...

เรอื่ งนี้สอนใหรูวา ความรูท ว มหัวแตเอาตวั ไมรอด

86 คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 3

แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสอื สามญั รนุ ใหญ เคร่ืองหมายลกู เสือหลวง ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 3

หนวยท่ี 7 ทกั ษะชวี ติ เวลา 2 ชว่ั โมง
แผนการจัดกจิ กรรมที่ 17 คนดรี อบตัวฉนั

1. จดุ ประสงคก ารเรียนรู

รูจักและเหน็ คณุ คาตนเอง
2. เนื้อหา

การรูจกั ตนเอง มองเห็นคุณคาของความดใี นตนเอง เพื่อเสริมสรา งกาํ ลังใจในการทําความดี
และสง เสิมใหม คี วามรับผดิ ชอบมากยงิ่ ขนึ้
3. สอ่ื การเรยี นรู

3.1 แผนภมู ิเพลง, เกม
3.2 เรือ่ งที่เปน ประโยชน
4. กจิ กรรม

4.1 กจิ กรรมคร้ังท่ี 1

1) พิธเี ปด ประชุมกอง(ชักธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กจิ กรรมตามจุดประสงคการเรียนรู

(1) หมลู กู เสอื นง่ั ลอ มวง ผลดั กันเลา เรื่องคนใกลชิดทต่ี นเองรัก เคารพ และผูกพนั
คนละ 1 เรื่องพรอมกบั บอกวา ตนเองไดร บั แบบอยา งหรือเรยี นรูส ิง่ ดี ๆ อะไรบา ง
จากคนผนู น้ั

(2) นายหมู ใหท กุ คนโหวตวาเรือ่ งของใครทนี่ า จะใชเ ปน ตัวแทนของหมไู ด
แลว นําไปเลาในกองลกู เสือในครง้ั ตอไป

4) ผูกํากบั ลกู เสือเลาเรอ่ื งทเ่ี ปน ประโยชน
5) พธิ ีปดประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชักธง เลกิ )

4.2 กิจกรรมคร้ังที่ 2

1) พิธีเปด ประชมุ กอง(ชกั ธง สวดมนต สงบนง่ิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคการเรยี นรู

(1) ตวั แทนหมลู กู เสือ เลา ใหก องลูกเสอื ฟง ทลี ะหมู
(2) ผูก ํากบั ลกู เสอื นาํ อภปิ รายและเพ่มิ เตมิ ในประเดน็

- ลูกเสือไดข อ คดิ อะไรบา งจากกิจกรรม (ทุกคนลว นมคี วามดีอยใู นตวั เพราะ
ไดร ับแบบอยา งและเรียนรสู ิง่ ดี ๆ จากคนท่ีเรารัก เคารพ และผกู พนั )

คูมือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 87

- ในทางกลับกนั สําหรับแบบอยา งทไี่ มด ใี นสงั คม ลกู เสอื คดิ วา ควรทาํ อยางไร
(ไมย อมรบั ไมยกยอง และไมเอาแบบอยา ง)
(3) ลูกเสือจะนําไปปฏบิ ตั ใิ นชวี ติ ประจาํ วันอยา งไร
4) ผูกาํ กบั ลกู เสอื เลาเร่ืองทเี่ ปนประโยชน
5) พธิ ีปดประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชักธง เลิก)

5. การประเมินผล
สงั เกตการมสี ว นรว มในการทาํ กจิ กรรม และการแสดงความคดิ เหน็ ในหมู และในกองลกู เสื

6.องคประกอบทักษะชวี ติ สําคัญทเี่ กดิ จากกิจกรรม
คือ ความคดิ วเิ คราะห ความคดิ สรา งสรรค เขาใจและเห็นคุณคา ของตนเองและผูอ น่ื

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมที่ 17
เพลง

ศกึ บางระจนั

ศึกบางระจนั จาํ ใหม น่ั พน่ี องชาตไิ ทย เกียรตปิ ระวตั ิสรา งไวแ ดชนชาตไิ ทยรนุ หลงั
แมชีวิตยอมอทุ ศิ คราชาตอิ บั ปาง เลอื ดไทยตอ งมาไหลหล่งั ทาทว่ั พ้ืนแผนดนิ ไทย
ไทยคงเปน ไทยมิใชช าตเิ ปน เชลย ไทยมิเคยถอยรนชนชาตศิ ตั รู
บางระจันแมสน้ิ อาวุธจะสู สองดาบฟาดฟน ศัตรสู จู นชพี ตนมลาย
ตวั ตายดกี วา ชาติตาย เพียงเลอื ดหยาดสดุ ทา ยขอใหไทยคงอยู
แดนทองของไทยมใิ ชศ ัตรู แมใ ครรกุ รานตองสู เพื่อกูแ หลมถิ่นไทยงาม

เกม

หาคู

วิธีเลน 1. ลกู เสอื เขา แถวเปน วงกลม 2 วงซอ นกัน หันหนา เขาหากันแลวจําไวว า คขู องตนคอื ใคร

2. วงกลมทั้งสองทําขวาหนั แลวเดนิ สวนกนั ในวงกลมตามเพลง ( เปดเพลงวทิ ยหุ รือให
ลูกเสือรองเพลงงายๆ ตามทผี่ กู ํากบั กาํ หนด )

3. เม่อื ผูกาํ กับเปา นกหวีด ใหล กู เสอื เขาหาคขู องตนเองเมอ่ื เจอแลวใหจ ับมือนง่ั ลงคทู หี่ าคไู ด
ชา ทสี่ ุดจะตองออกจากการแขงขันเสร็จแลว เริ่มใหม
การตัดสิน คทู ่ีเหลือเปนคูสุดทา ยจะเปน ผชู นะ

88 คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวติ ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 3

เรอื่ งท่เี ปน ประโยชน

ลกู นก

ลูกนกอยคู ูห นง่ึ อาศัยอยใู นรงั บนตน ไม ซึ่งอยูต รงกลางระหวางสาํ นกั พระฤๅษีกบั หมูบ า นโจร
พอ แมนกตองคอยหาอาหารมาปอนทุกวนั

คืนหน่ึงมีพายุแรงพัดเอาลูกนกท้ังสองตองพลัดพรากจากกัน นกตัวหน่ึงตกลงไปอยูในสํานัก
พระฤๅษีก็ไดรับการอบรม สั่งสอนฝกฝนแตในทางดี พูดจาไพเราะ มีจิตใจม่ันคง โอบออมอารีตอ
เพื่อนบาน สวนลูกนกอีกตัวหนึ่งถูกพายุพัดตกลงไปในบานโจร ก็ไดรับการอบรมแนะนําตัวในทาง
โจร เชน ลกั ขโมย พูดจาหยาบคาย ปากจดั มจี ติ ใจดรุ า ย อาฆาตพยาบาท เปน ตน

วันหน่ึง พระราชาองคหนึ่งเดินหลงทางเขามานอนหลับอยูใตตนไมในแดนโจร นกตัวท่ีอยู
กบั โจรกพ็ ดู ข้นึ วา “เออ! ดีแลว วนั น้มี ีคนมานอนหลบั อยใู นถิ่นเรา เราตองฆา เสยี ใหตาย” พระราชาได
ยินก็ตกใจ รีบหนีผานไปทางสํานักพระฤๅษี นกตัวท่ีอยูกับพระฤๅษีก็ออกมาทักทายวา “เชิญ
พักผอน ดืม่ น้ําและหลบั นอนที่น่ีได ยนิ ดีตอนรับเจา คะ”

พระราชาจึงเขาไปนอนหลับใตตนไมใกลๆกับสํานักพระฤๅษี เม่ือต่ืนข้ึนมาก็คิดในใจวา “นก
สองตัวน้ีมีนิสัยแตกตางกันมากจริงๆ ตัวหนึ่งใจราย แตอีกตัวหนึ่งใจดี” แลวพระราชาก็เขาไปหาพระ
ฤๅษี เพอ่ื ขอนกทีพ่ ระฤๅษีเลย้ี งไว พระราชาไดน าํ นกผมู ีอัธยาศยั ดีตวั น้ไี ปเลยี้ งไวในพระราชวัง

เรอื่ งนีส้ อนใหรูว า สิ่งแวดลอ มดจี ะทําใหชวี ิตรงุ โรจน สวนสิ่งแวดลอ มเลวจะทําใหช ีวติ อับเฉา

ชีวติ ตองฝกฝนและพัฒนาอยเู สมอ

ในประวตั ิบคุ คลสาํ คญั และประวตั ศิ าสตรข องชาติทเ่ี จรญิ ทัง้ หลาย จะเห็นวามนุษยพ ัฒนาขน้ึ
จากการแกป ญ หา และเขมแข็งขึน้ จากการเผชญิ ความทุกขย ากทั้งนน้ั

คนทีอ่ ยสู ุขสบาย ไมเ คยตองสู หรือแกปญหา ไมไดใชความคดิ หลงอยูใ นความเพลิดเพลนิ
ไมมีคนสอนท่ีดี ไมม กี ลั ยาณมติ รคอยเตอื น ไมมีแบบฝก หดั ชีวติ ใหท าํ จึงเจรญิ ไดย าก

ดังนั้น เม่ือเจออะไรท่ไี มพ ึงปราถนาบอกตัวเองวา น่คี อื เครือ่ งมือฝก ฝนพัฒนาตัวเรา เราจะใช
มนั ใหเ ปนประโยชน คนใดเอาชนะ ผา นอุปสรรค ผานเหตุการณ ผา นมรสุมชีวติ ไปไดด ว ยดี คนนน้ั จะ
เปน ผแู กรง กลา และมชี ีวติ ทพี่ ัฒนา

ปญ หาน้นั เปลย่ี นพยญั ชนะตัวเดยี วก็กลายเปน ปญญา คนฉลาดจงึ เปลี่ยนปญหาใหเ ปน
ปญ ญา คนทป่ี ญญางอกงามลวนพฒั นามาจากการคิดแกป ญหาท้ังสิน้

เรือ่ งนสี้ อนใหรูว า ปญหากเ็ ปน ทมี่ าของปญญา ความทุกขและอปุ สรรคเปน เครอื่ งมอื พฒั นาชีวติ
ใหกาวหนา

คูมอื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3 89

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสอื สามญั รนุ ใหญ เครื่องหมายลูกเสือหลวง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3

หนวยที่ 6 ทกั ษะชวี ติ

แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 18 เปาหมายชวี ติ เวลา 2 ชัว่ โมง

1. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู

มีแนวทางในการตงั้ เปา หมายในชวี ติ
2. เนื้อหา

เปาหมายในชีวิตเปรียบเหมือนภาพของความสําเร็จของตนเองท่ีไดวางไว และหาทางทําให
ไดตามเปาหมายดวยวิริยะอุตสาหะและความถูกตอง เปาหมายในชีวิตมักไดแรงบันดาลใจมาจาก
บุคคลทีเ่ รารกั เคารพ และศรทั ธา
3. สอื่ การเรียนรู

3.1 แผนภมู ิเพลง, เกม
3.2 ใบความรู
3.3 เรื่องท่ีเปน ประโยชน
4. กจิ กรรม

4.1 กจิ กรรมครง้ั ที่ 1

1) พิธเี ปด ประชุมกอง(ชักธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจุดประสงคก ารเรยี นรู

(1) ผกู าํ กับลกู เสือนําสนทนาในกองลกู เสอื ถงึ ความหมายของ “เปาหมายชีวติ ”
(2) ผูกาํ กับลกู เสือใหหมลู ูกเสือน่ังลอมวง ผลัดกนั เลาเรอื่ ง “บคุ คลในอุดมคต”ิ

ทตี่ นเองเคารพ ศรทั ธา และอยากจะดาํ เนินชวี ติ ตามแบบอยา งคนผนู ั้น
พรอ มบอกวา ทีช่ อบเพราะคณุ สมบตั ิอะไรบา ง และไดต ้งั เปา หมายชวี ติ ของ
ตนเองอยางไร
(3) นายหมูใ หทกุ คนโหวตวา เรอื่ งของใครทค่ี วรจะใชเ ปน ตัวแทนของหมู ใหเ จา ของ
เรอ่ื งเปนตวั แทนหมนู าํ ไปเลาในกองลกู เสือในครั้งตอ ไป
4) ผูก ํากบั ลกู เสอื เลา เรือ่ งที่เปน ประโยชน
5) พธิ ปี ด ประชมุ กอง(นัดหมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชักธง เลกิ )

4.2 กิจกรรมคร้ังท่ี 2

1) พิธเี ปด ประชุมกอง(ชักธง สวดมนต สงบนิง่ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคก ารเรียนรู

(1) ตวั แทนหมเู ลาใหก องลกู เสือฟง ทลี ะหมู

90 คมู อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3

(2) ผกู าํ กับนําอภปิ รายและเพม่ิ เตมิ ในประเด็น
-คนทเ่ี ราเคารพ ศรทั ธาสว นใหญแลว เปน คนอยางไร (ใจดมี เี มตตา เสียสละ
รบั ผิดชอบ เกง ฯลฯ)
- การมเี ปา หมายชีวิตเปนประโยชนตอลูกเสอื อยา งไร
- ไดขอ คดิ อะไรบางจากกจิ กรรม และจะนําไปปฏิบตั ิในชวี ติ ประจาํ วันอยางไร

4) ผกู าํ กับลกู เสอื เลา เร่ืองท่มี ปี ระโยชน
5) พิธปี ด ประชมุ กอง(นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธง เลกิ )

5. การประเมินผล
สงั เกต การมสี ว นรวมในการทาํ กิจกรรม และการแสดงความคิดเหน็ ในหมู และในกองลกู เสือ

6. องคป ระกอบทกั ษะชวี ติ สาํ คญั ทเี่ กดิ จากกจิ กรรม
คอื ความคิดวเิ คราะห ความคดิ สรา งสรรค เขา ใจตนเอง เขา ใจผูอื่น ความรับผดิ ชอบตอ

ตนเอง

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 18
เพลง

ใกลเ ขา ไปอีกนดิ

ใกลเขา ไปอกี นิด ชิดๆเขา ไปอกี หนอย สวรรคนอ ยๆอยมู ในวงฟอ นราํ
รปู หลอ ขอเชญิ มาเลน เนือ้ เย็นขอเชญิ มาราํ มองมานัยตาหวานฉํ่า(ซํา้ )
โคงแลว ไมราํ เสียแลว นเี่ อย สขุ สราญนานมาเจอ
พบเธอในวงฟอ นราํ ไดแตแ ลมอง นวลนอ งนยั ตาหวานฉ่ํา
วนั น้ีมาพบงามงอน พ่อี ยากจะตอ นออกไปฟอนราํ (ซาํ้ )

เกม

วง่ิ อลวน
วธิ เี ลน ลูกเสอื ทุกคนนั่งเปน วงกลมมือกอดอก แตละคนหางกัน 1 ชวงแขน เลือกลกู เสือ
ออกมาสองคน คนหนง่ึ เปน คนไล อีกคนหน่ึงเปนคนหนเี รม่ิ การเลน คนไลต อ งวงิ่ ไลจ บั คนหนใี ห
ได การหนจี ะอยภู ายในวงกลมหรอื วง่ิ หลบหลีกในระหวางผูท นี่ ่งั อยู เมือ่ ไมตอ งการหนใี หว งิ่ ไปน่งั
ขางหนาผทู ่ีนัง่ อยูรอบวงกลมคนใดคนหนงึ่ ผูท ่ีถูกคนหนนี ัง่ ขา งหนา จะกลายเปน ผูไลท ันที คนไลเ ดมิ
จะกลายเปนคนหนีตอ ไป
การตัดสนิ ลกู เสอื ท่ีเปน คนหนคี นใด ถกู จบั ไดตองออกจากการแขงขนั เลือกลกู เสอื คนใหม
ขึ้นมาแทนคนหนีตอ ไป

คูมือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวิต ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 3 91

ใบความรู

เปา หมายชีวติ

เปาหมายในชีวิตเปรียบเหมือนภาพของความสําเร็จของตนเองท่ีไดวางไว และหาทางทําให
ไดตามเปาหมายดวยวริ ยิ ะอุตสาหะและความถกู ตอง คลา ยกบั การเห็นภาพจ๊ิกซอท่ีเสรจ็ สมบูรณแลว
ทีนี้ก็ขึ้นกับวิธีการของแตละคนวาจะทําอยางไรใหจ๊ิกซอแตละตัวมาตอกันใหเกิดเปนภาพน้ันขึ้นมา
เปาหมายในชวี ิตมักไดแ รงบนั ดาลใจมาจากบุคคลท่เี รารัก เคารพ และศรัทธา

แตถาเราไมมีภาพหรือไมมีเปาหมายอะไรจะเกิดขึ้น? บางคนอาจจะคิดวาฉันก็มีชีวิตของฉัน
ไปเร่อื ยๆไมไ ดร บกวนใครไมท าํ ใหใครเดอื ดรอนฉันกม็ ีความสุขดแี ลวคุณคาของคณุ จะอยูท ไ่ี หน?

การมีเปาหมายในชีวิตคือคําตอบวาเรามีชีวิตอยูเพ่ืออะไรเพื่อใครและอยูอยางไรชีวิตเปรียบ
เหมือนกับการเดินทางและนักเดินทางท่ีชาญฉลาดยอมมีเปาหมายในการเดินทางเสมอเขาจะไม
สูญเสียเวลาขางทางเพราะจะทําใหเขาไปถึงจุดหมายชาลงการเดินทางของชีวิตไมไดราบเรียบและ
สวยงาม เหมือนโรยดวยกลีบกุหลาบเสมอไปในระหวางทางส่ิงที่ไมคาดคิดอาจเกิดขึ้นไดเสมอปญหา
และอุปสรรคเปนแขกท่ีไมไดรับเชิญใหมาเยี่ยมเยียนเรามาเพ่ือทดสอบเรามาทําใหเราเหนื่อยลาทอแท
สิ้นหวงั หมดแรงหมดกาํ ลงั ใจทีจ่ ะเดนิ ตอไปและทาํ ใหจดุ หมายปลายทางนนั้ ยาวไกลออกไป อะไรคือ
สิ่งจําเปนสําหรับนักเดินทางท่ีจะเอาชนะแขกที่ไมไดรับเชิญเหลานี้คําตอบคือความมุงมั่นและความ
สมา่ํ เสมอแมว าเราจะเจอกับอุปสรรคขวากหนามและปญหามากมายเปนมรสุมของชีวิตก็วาได เราก็
สามารถที่จะไปถึงเปาหมายไดในท่ีสุดซึ่งมันอาจจะลาชาไปบางก็ไมใชสิ่งสําคัญเพราะเราทําดีที่สุด
แลว

การพักผอนเหมือนกับการชารตแบตเตอรี่ใหเต็มเปนการชารตทั้งพลังกายและพลังใจใน
ระหวางทางที่เดินเราพบปะคนมากมายบางคนก็เดินไปทางเดียวกับเราบางคนก็เดินสวนทางกับเรา
ถาการเดินทางของเราเต็มไปดวยความสนุกสนานและรอยย้ิมแมวาจะมีอุปสรรคมากมายก็ตามเราจะ
เปนผูสรางแรงบันดาลใจใหคนอื่นเดินตามโดยไมรูตัวบางคนอาจจะยึดเอาคติประจําใจของเราไปใชใน
การดําเนินชีวิตหรือใหเราเปนแมแบบเพราะพวกเขาไดเห็นแลววาความสําเร็จจะมาอยูเบ้ืองหนาได
อยางไร?

ความมงุ มัน่ และความสมา่ํ เสมอคอื หวั ใจทจี่ ะนาํ ไปสคู วามสาํ เร็จ

ที่มา : http://www.iamspiritual.com/chai/pp/success.html

92 คมู ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3

เรื่องท่ีเปน ประโยชน

ขอ คิดจากถงั นํ้าสองใบ

ชายจีนคนหน่ึงแบกถังน้ําสองใบไวบนบาเพ่ือไปตักนํ้าที่ริมลําธารถังน้ําใบหน่ึงมีรอยแตก
ในขณะที่อีกใบหนึ่งไรรอยตําหนิและสามารถบรรจุนํ้ากลับมาไดเต็มถัง...แตดวยระยะทางอันยาวไกล
จากลาํ ธารกลับสบู า น....จงึ ทาํ ใหนาํ้ ที่อยใู นถังใบท่มี ีรอยแตกเหลืออยเู พยี งครึ่งเดยี ว

เหตุการณทั้งหมดน้ีดําเนินมาเปนเวลา 2 ปเต็มที่คนตักน้ําสามารถตักนํ้ากลับมาบานไดหนึ่ง
ถงั ครึง่ ซึ่งแนน อนวาถังน้ําใบท่ีไมมีตําหนิจะรูสึกภาคภูมิใจในผลงานเปนอยางย่ิงขณะเดียวกันถังน้ําท่ี
มรี อยแตกกร็ ูสึกอบั อายตอความบกพรอ งของตวั เองมันรสู ึกโศกเศรากับการท่ีมันสามารถทําหนาท่ีได
เพียงครึ่งเดียวของจุดประสงคที่มันถูกสรางข้ึนมา2 ปกับความลมเหลวอันขมขื่นของถังน้ําท่ีมีรอย
แตก!!

วันหนึ่งท่ีขางลําธาร มันจึงพูดกับคนตักนํ้าวา "ขารูสึกอับอายท่ีรอยแตกของขาที่ทําใหน้ําที่
อยูขางในไหลออกมาตลอดเสนทางทก่ี ลบั ไปยงั บานของทาน"คนตักนํ้าตอบวา "เจาเคยสังเกตหรือไม
วามีดอกไมเบงบานอยูตลอดเสนทางที่ตัวเจาผานไป แตกลับไมมีดอกไมอยูเลยในอีกดานหนึ่งเพราะ
ขา รูว า เจามีรอยแตกอยูขา จงึ ไดหวา นเมลด็ พันธุดอกไมล งขา งทางเดินดานของเจาและทกุ วนั ทีเ่ ราเดิน
กลับเจาก็เปนผูรดนํ้าใหกับเมล็ดพันธุเหลาน้ันเปนเวลา 2 ป ท่ีขาสามารถที่จะเก็บดอกไมสวย ๆ
เหลาน้ันกลับมาแตงโตะกินขาวถาหากปราศจากเจาที่เปนเจาแบบนี้แลวเราก็คงไมมีดอกไมท่ี
สวยงามเชน นี้"

เรอื่ งนี้สอนใหร ูวา คนเรายอ มมีขอ บกพรองที่เปน เอกลกั ษณของตนเอง ซึ่งอาจชวยทาํ ใหการอยู

รวมกันของเรานาสนใจ และกลายเปนบําเหนจ็ รางวลั ของชวี ิตไดส ง่ิ ทต่ี อ งทําก็
เพียงแคย อมรับคนแตล ะคนในแบบทเี่ ขาเปน และมองหาส่ิงทดี่ ที ่ีสดุ ในตัวเขา
เทานน้ั

คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชีวิต ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 93

ขาวราย-ขา วดี
บรษิ ทั ผลิตรองเทาทป่ี ระสบความสําเร็จมากบริษทั หนง่ึ ฝายบริหารไดประชุมกันและพิจารณา
ที่จะเปดตลาดในทวีปแอฟริกา จึงสงพนักงานขายอันดับ 1ไปยังแอฟริกาเพ่ือทําการศึกษาศักยภาพ
ของตลาด เม่ือไปถึงแอฟริกาเซลลแมนสังเกตวาชาวแอฟริกัน สวนมากเดินดวยเทาเปลาเขาจึงสง
ขา วกลบั ไปวา “ขาวราย ทนี่ ไี่ มมีใครสวมรองเทาเลย”และก็สงรายงานตามไปอีกวา ไมมีตลาดรองเทา
ในทวีปแอฟรกิ านี้
ฝายบริหารพิจารณาวา ควรจะหาขอมูลเปนคร้ังท่ี 2 เพื่อใหแนใจ จึงตัดสินใจที่จะสงเซลล
แมนอีกคนหนึ่งไปเพ่ือประเมินตลาดแหงนี้ พนักงานขายคนที่ 2 เม่ือไปถึงแอฟริกาก็มีความต่ืนเตน
มาก และสงขาวกลับมาทันทีดวยขอความวา “ขาวดีไมมีใครท่ีนี่ใสรองเทาเลย” เขารีบเดินทางกลับ
และรายงานแกฝายบริหารวา “สุภาพบุรุษท้ังหลาย เรากําลังจะรวยเพราะมีตลาดใหญมากใน
แอฟริกา และส่ิงสําคัญท่ีเราตองทําคือใหการศึกษาแกชาวแอฟริกันวาประโยชนและความสําคัญของ
การใสร องเทาคืออะไร”
เรื่องน้ีสอนใหรูวา ในทุกๆเรื่องราว และทกุ ๆเหตุการณจะมที ้ังดา นบวกและดานลบเราสามารถ

จะมองวา แกวใบหนึง่ มนี าํ้ อยคู รึง่ หนง่ึ หรือวางเปลาอยคู ร่ึงหน่ึงและมองเหน็
รูโดนัทหรอื ตวั โดนัทเราเลอื กไดท่ีจะมองแบบใด แตท ส่ี าํ คัญก็คือทางเลือกทเ่ี รา
เลือกจะเปน ตวั กาํ หนดความสาํ เรจ็ หรอื ความลม เหลวของเรา

94 คมู ือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทกั ษะชีวิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รนุ ใหญ เครอ่ื งหมายลกู เสือหลวง ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 3

หนวยท่ี 7 ทกั ษะชวี ติ เวลา 2 ช่ัวโมง
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 19 สุภาพบรุ ษุ และสภุ าพสตรีในดวงใจ

1. จดุ ประสงคการเรียนรู
เห็นความสาํ คญั ของการแสดงออก ถงึ พฤตกิ รรมความเปน สภุ าพบรุ ุษและสภุ าพสตรี

2. เน้อื หา
ความเปนสุภาพบุรษุ และสภุ าพสตรี ตองมีพน้ื ฐานมาจากคณุ ธรรมจริยธรรมและการ

แสดงออกอยางเหมาะสม
3. ส่อื การเรียนรู

3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 ใบงาน
3.3 เรอ่ื งทีเ่ ปน ประโยชน
4. กจิ กรรม
4.1 กจิ กรรมครง้ั ท่ี 1

1) พิธีเปด ประชมุ กอง(ชักธง สวดมนต สงบน่งิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคการเรยี นรู

(1) แจกใบงาน มอบหมายงานใหหมลู กู เสือ ระดมความคดิ เห็น และสรปุ พฤตกิ รรมท่ี
แสดงถงึ ความไมเ ปนสุภาพบุรุษของชาย หรอื พฤตกิ รรมท่แี สดงถงึ ความไม
เปน สุภาพสตรขี องหญงิ หมลู ะ 1 พฤตกิ รรม

(2) ใหห มูลูกเสอื รว มกันวิเคราะหป ระเด็นตามใบงาน และนําเสนอในกองลูกเสอื ครัง้
ตอ ไป ในรูปแบบบทบาทสมมุติ

4) ผกู ํากบั ลกู เสอื เลาเรื่องทเ่ี ปนประโยชน
5) พิธีปดประชุมกอง(นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธง เลิก)

4.2 กจิ กรรมครงั้ ที่ 2
1) พิธีเปดประชุมกอง(ชกั ธง สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กิจกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู
(1) ลกู เสอื นําเสนอบทบาทสมมติพรอ มคาํ อธบิ าย ทีละหมูจนครบ
(2) ผกู าํ กบั ลกู เสอื นาํ อภิปรายสรุปและเพมิ่ เตมิ ในประเดน็

คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 3 95


Click to View FlipBook Version