The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tom_club_za, 2022-04-26 03:10:36

9.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.3

9.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.3

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมทักษะชวี ิตของลูกเสอื สําหรับผกู าํ กบั ลูกเสอื

คาํ ชแี้ จง ใหผ ตู อบทาํ แบบประเมนิ ทุกขอ โดยแตละขอใหท าํ เครือ่ งหมาย/ ลงในชองที่ตรงกับความ
เปน จรงิ

2.1 พฤติกรรมลกู เสือสํารองท่คี าดหวัง

รายการประเมนิ ใช ไมใ ช

1. ลูกเสือมีทักษะในการสังเกตและจดจาํ
2. ลกู เสือสามารถพ่ึงตนเองและดูแลตนเองได
3. ลูกเสอื สาํ รองปฏบิ ตั กิ จิ กรรมบําเพ็ญประโยชนร ักษาส่งิ แวดลอ ม
และอนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติ
4. ลกู เสอื ไมม ปี ญ หาทนั ตสุขภาพและไมเ จบ็ ปว ยดว ยโรคตดิ ตอ
ตามฤดกู าล
5. ลูกเสอื รูจ ักรกั ษาสุขภาพและปฏเิ สธสง่ิ เสพติด
6. ลูกเสือรจู กั แกป ญ หาเฉพาะหนาหรอื ใหการชวยเหลอื / แจง เหตุเม่ือประสบเหตุ
วิกฤต
7. ลูกเสอื มสี วนสูงและนาํ้ หนกั ตามเกณฑม าตรฐาน
8. ลกู เสอื มที ักษะในการสื่อสารไดถ ูกกาลเทศะและไมกา วรา วรนุ แรง

สรุปแบบการประเมนิ ตนเอง

 

ฉนั มที กั ษะชีวติ ฉันจะมีทกั ษะชวี ติ ฉนั ตองพัฒนาตนเองอกี มาก

ถาแกไ ขปรับปรงุ พฤตกิ รรม

146 คูมอื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ิต ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 3

2.2 พฤติกรรมลูกเสอื สามญั ท่คี าดหวงั

รายการประเมิน ใช ไมใช

1. ลกู เสือมีทักษะในการปฏิบัติกจิ กรรมกลางแจง
2. ลูกเสือรว มกจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชน
3. ลกู เสือชวยตนเองและครอบครวั ได
4. ลูกเสอื ไมมีปญ หาทันตสขุ ภาพ ไมด ืม่ น้ําอดั ลมขนมกรุบกรอบ
ไมร ับประทานขนมหวานเปนประจาํ
5. ลกู เสือรูจกั ใชเ วลาวางใหเ ปนประโยชนแ ละไมติดเกม
6. ลูกเสอื ประพฤตติ นเหมาะสมกบั เพศและวยั มีทกั ษะการสราง
สมั พันธภาพและการสอื่ สารไมก าวรา วรนุ แรง
7. ลูกเสอื แสดงออกถึงความซอื่ สัตย รูจกั แกปญหา หรือใหความ
ชว ยเหลือผูอ ่ืน

8. ลกู เสอื มีนาํ้ หนักและสวนสูงตามเกณฑม าตรฐาน

สรุปแบบการประเมนิ ตนเอง



มีทักษะชวี ติ จะมที ักษะชวี ติ ตองพัฒนาตนเอง ไมแนใจชวี ิต
พรอมเผชญิ แกไขปรบั ปรงุ อีกมาก (มีปญหาแลว )
อยางรอดปลอดภัย
พฤติกรรม (เส่ยี งนะเนย่ี )

เร่อื งทีฉ่ ันจะตอ งปรบั ปรุง

1)..................................................................................................................................................
2)..................................................................................................................................................
3)..................................................................................................................................................
4)..................................................................................................................................................

คมู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 147

2.3 พฤติกรรมลกู เสอื สามญั รนุ ใหญท ค่ี าดหวงั

รายการประเมิน 12
1. ลูกเสอื พฒั นาตนเองใหมีทกั ษะในการทํากจิ กรรมลกู เสือ

ตามความสนใจและไดร ับเคร่อื งหมายวิชาพเิ ศษ
2. ลกู เสือทาํ กิจกรรมบาํ เพญ็ ประโยชนตอ ครอบครวั

สถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม

3. ลูกเสอื ใชเ วลาวางท่เี ปน ประโยชนทํากิจกรรม อนรุ ักษสง เสริมจารีตประเพณี
ศิลปวัฒนธรรมไทย

4. ลกู เสือรเู ทา ทันสื่อโฆษณาและรจู ักใชป ระโยชนจาก Internet

5. ลกู เสือเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมหรือปรบั ปรงุ และพฒั นาตนเองได
เหมาะสมกับเพศวยั ไมกา วราวรุนแรง
6. ลกู เสือทํากจิ กรรมหรอื โครงการประหยัดพลังงาน/ทรพั ยากร

7. ลกู เสือมกี ารออม หรือทําบญั ชีรายรับ รายจายอยางตอ เนอ่ื ง
8. ลูกเสอื ไมเคยประสบอบุ ตั เิ หตุจากการใชยานพาหนะ

สรุปแบบการประเมินตนเอง



มีทักษะชวี ติ จะมีทกั ษะชวี ติ ตอ งพฒั นาตนเอง ไมแนใ จชวี ิต
พรอมเผชญิ แกไขปรบั ปรงุ อกี มาก (มีปญ หาแลว)
อยา งรอดปลอดภัย
พฤติกรรม (เส่ียงนะเนีย่ )

เรอ่ื งที่ฉันจะตองปรับปรุง

1)..................................................................................................................................................
2)..................................................................................................................................................
3)..................................................................................................................................................
4)..................................................................................................................................................

148 คูม ือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 3

2.4 พฤตกิ รรมลูกเสือวสิ ามัญท่ีคาดหวงั

รายการประเมิน ใช ไมใ ช
1. ลกู เสอื ทาํ กิจกรรม/โครงการ ตามความถนดั และความสนใจ
2. ลูกเสอื บรกิ ารผอู น่ื ชว ยเหลือชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ

3. ลูกเสือรจู ักวิธปี อ งกนั ความเสีย่ งทางเพศ
4. ลูกเสือใชเวลากบั ส่ือไอทไี ดอยางเหมาะสม
5. ลูกเสอื ตระหนักถึงพิษภยั และหลีกเลยี่ งจากส่ิงยาเสพตดิ
6. ลกู เสือมคี านยิ มสขุ ภาพ ดา นอาหาร และความงามที่เหมาะสม

7. ลกู เสือทาํ งานหารายไดระหวางเรยี น

8. ลูกเสือไมม ีพฤตกิ รรมกา วราวและไมกอ เหตรุ ุนแรง

สรปุ แบบการประเมนิ ตนเอง



มที ักษะชวี ติ จะมีทักษะชวี ติ ตอ งพัฒนาตนเอง ไมแ นใ จชีวิต
พรอ มเผชิญ แกไขปรับปรงุ อีกมาก (มีปญ หาแลว)
อยา งรอดปลอดภัย
พฤตกิ รรม (เสยี่ งนะเนี่ย)

เรื่องทีฉ่ นั จะตอ งปรับปรุง

1)..................................................................................................................................................
2)..................................................................................................................................................
3)..................................................................................................................................................
4)..................................................................................................................................................

คูมอื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชีวติ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 149

ใบความรู

*การประเมินกจิ กรรมลกู เสือ

1. การประเมินผลการเรยี นรตู ามแนวทางหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กําหนดใหกิจกรรมลูกเสือเปนกิจกรรมที่มุงปลูกฝง

ระเบียบวินัยและกฎเกณฑเพ่ือการอยูรวมกัน รูจักการเสียสละ บําเพ็ญประโยชนแกสังคมและ
ดําเนินวิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตย ตลอดจนมีทักษะชีวิตเปนภูมิคุมกันปญหาสังคมตามชวงวัย
ของลูกเสอื

การจัดกิจกรรมลูกเสือยังตองเปนไปตามขอบังคับของสํานักงานลูกเสือแหงชาติและ
สอดคลอ งกบั หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐานอีกดว ย

แนวทางการประเมินผลกจิ กรรมลูกเสอื
กิจกรรมลูกเสือเปนกิจกรรมนักเรียนท่ีลูกเสือทุกคนตองเขารวมกิจกรรมลูกเสือ 40 ช่ัวโมง
ตอปการศกึ ษาในระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา
การประเมินการจัดกิจกรรมลูกเสือตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานมีประเด็น/ส่ิง
ทตี่ อ งประเมนิ ดงั น้ี
1. เวลาในการเขารวมกจิ กรรม ผูเรียนตอ งมเี วลาเขารว มกิจกรรมตามที่สถานศกึ ษากาํ หนด
2. การเรียนรูผานกิจกรรมหรือการปฏิบัติกิจกรรมอยางตอเน่ือง มุงเนนการพัฒนาศักยภาพ
ของตนและการทาํ งานกลมุ
3. ผลงาน / ช้ินงาน / พฤติกรรม / คุณลักษณะของผูเรียน ท่ีปรากฏจากการเรียนรูหรือการ
เปลี่ยนแปลงตนเอง

*การประเมินผลอาจเขยี นแยกการประเมินผลแตละกิจกรรม หรอื เขยี นรวมในภาพรวมของกจิ กรรมลูกเสอื ก็ได

เอกสารอางอิงกระทรวงศึกษาธิการ. หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551.กรงุ เทพมหานคร :
โรงพิมพชมุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กัด. 2551

150 คูมอื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวติ ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 3

แนวทางการประเมินผลการเรียนรูกจิ กรรมลกู เสือ

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสือ

จดั กจิ กรรมลกู เสอื เกณฑการประเมนิ
ตามคูมอื การจดั กิจการลูกเสือที่ 1. เวลาเขารว มกจิ กรรม
2. การปฏิบตั กิ จิ กรรม
เสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ 3. ผลงาน / ชิ้นงาน
4. พฤตกิ รรม/คุณลักษณะ
ประเมนิ ผลการเรียนรู ของลูกเสอื

ผลการประเมนิ ไมผ า น
ซอมเสรมิ
ผา น
ผาน
สรปุ ผลการประเมิน/
ตดั สินผลการเรยี นรู

รายงาน / สารสนเทศ

จดั พธิ ีประดับเคร่อื งหมายลกู เสอื
ตามประเภทลกู เสือ

การประเมนิ กจิ กรรมลูกเสือ มี 2 แนวทาง คือ
1. การประเมินกจิ กรรมลูกเสือรายกจิ กรรมมีแนวปฏบิ ตั ิดงั นี้
1.1 ตรวจสอบเวลาเขารวมกิจกรรมของลูกเสือใหเปนไปตามเกณฑท่ีสถานศึกษา

กาํ หนด
1.2 ประเมินกิจกรรมการเรียนรูจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน / ช้ินงาน /

คุณลักษณะของผูเรียนตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนดดวยวิธีการท่ีหลากหลาย เนนการมีสวนรวม
ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

คมู ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ิต ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 3 151

1.3 ลูกเสือที่มีเวลาการเขารวมกิจกรรม มีการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน / ชิ้นงาน /
คุณลักษณะตามเกณฑท่ีสถานศึกษากําหนดเปนผูผานการประเมินรายกิจกรรมและนําผลการ
ประเมนิ ไปบนั ทกึ ในระเบียนแสดงผลการเรยี น

1.4 ลูกเสือท่ีมีผลการประเมินไมผานในเกณฑเวลาการเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงาน / ชิ้นงาน / คุณลักษณะตามที่สถานศึกษากําหนด ผูกํากับลูกเสือตองดําเนินการ
ซอมเสริมและประเมินจนผาน ทั้งน้ีควรดําเนินการใหเสร็จส้ินในปการศึกษาน้ัน ๆ ยกเวนมีเหตุ
สดุ วสิ ัยใหอยูในดลุ พนิ จิ ของสถานศึกษา

2. การประเมินกจิ กรรมลกู เสือเพื่อการตัดสินใจ
การประเมินกิจกรรมลูกเสือเพ่ือตัดสินควรไดรับเครื่องหมายและเล่ือนระดับทาง

ลูกเสือและจบการศึกษาเปนการประเมินการผานกิจกรรมลูกเสือเปนรายป / รายภาค / เพ่ือสรุปผล
การผานในแตล ะกิจกรรม สรุปผลรวมเพ่อื สรุปผลการผา นในแตล ะกิจกรรม สรปุ ผลรวมเพือ่ เล่อื นช้ัน
ระดับลูกเสือและประมวลผลรวมในปสุดทายเพ่ือการจบแตละระดับการศึกษา โดยการดําเนินการ
ดงั กลา วมีแนวทางปฏิบัติ ดงั น้ี

2.1 กําหนดใหมีผูรับผิดชอบในการรวบรวมขอมูลเก่ียวกับการเขารวมกิจกรรม
ลกู เสอื ของลกู เสือทกุ คนตลอดระดบั การศึกษา

2.2 ผูรับผิดชอบสรุปและตัดสินใจผลการรวมกิจกรรมลูกเสือของลูกเสือเปน
รายบุคคล รายหมู ตามเกณฑท สี่ ถานศึกษากําหนด
เกณฑก ารตดั สนิ

1. กําหนดเกณฑการประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกําหนดไว
2 ระดับ คือผาน และ ไมผ า น

2. เกณฑการตัดสินผลการประเมนิ รายกจิ กรรม
ผาน หมายถงึ ลกู เสือมเี วลาเขารวมกจิ กรรมครบตามเกณฑ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมและมีผลงาน

/ ชนิ้ งาน / คณุ ลักษณะตามเกณฑท ่สี ถานศกึ ษากําหนด
ไมผาน หมายถึง ลูกเสือมีเวลาเขารวมกิจกรรมไมครบตามเกณฑ ไมผานการปฏิบัติ

กจิ กรรมหรอื มีผลงาน / ชน้ิ งาน / คณุ ลักษณะไมเ ปน ไปตามเกณฑท ีส่ ถานศึกษากําหนด
3. เกณฑก ารตัดสินผลการประเมนิ กิจกรรมลกู เสอื รายป / รายภาค
ผาน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ผาน” ในกิจกรรมสําคัญตามหลักสูตร

ลูกเสือแตล ะประเภทกาํ หนด รวมถงึ หลักสตู รลูกเสอื ทักษะชวี ิต
ไมผาน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ไมผาน” ในกิจกรรมสําคัญท่ีหลักสูตร

ลูกเสอื แตละประเภทกาํ หนดและลกู เสือทกั ษะชีวิต
4. เกณฑก ารตดั สินผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือเพ่ือจบหลักสูตรลูกเสือแตละประเภทเปน

รายชัน้ ป
ผาน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ผาน” ทุกช้ันปในระดับการศึกษานั้น
ไมผาน หมายถงึ ลูกเสือมผี ลการประเมินระดบั “ไมผา น” บางชั้นปใ นระดบั การศกึ ษาน้นั

152 คูม อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ติ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3

2. การประเมนิ พฤติกรรมทกั ษะชวี ติ และคุณลกั ษณะทางลกู เสอื
2.1 ความสามารถท่คี าดหวังใหเกิดขึ้นกบั ลกู เสือโดยรวม คอื
1) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห
2) ความสามารถในการคดิ สรางสรรค
3) ความสามารถในการเหน็ ใจผอู น่ื
4) เห็นคุณคา ตนเอง
5) รับผิดชอบตอ สังคม
6) ความสามารถในการสื่อสารเพอื่ สรา งสมั พันธภาพ
7) ความสามารถในการตดั สินใจ
8) ความสามารถในการจัดการแกไ ขปญ หา
9) ความสามารถในการจดั การกบั อารมณ
10) ความสามารถในการจดั การกับความเครยี ด
2.2 พฤตกิ รรมทค่ี าดหวงั ใหเ กิดขน้ึ กบั ลกู เสอื โดยรวม คอื
1) ลูกเสอื สาํ รอง
(1) มีทกั ษะในการสังเกตและจดจาํ
(2) พ่ึงตนเอง ดูแลตนเองได
(3) รูจกั รักษาสิ่งแวดลอม
(4) ไมเ จ็บปวยดวยโรคตดิ ตอ ตามฤดกู าล
(5) ปฏิเสธสิ่งเสพติดทุกชนดิ
(6) พดู จาส่อื สารเชิงบวก ไมก าวรา วรนุ แรง
(7) แกป ญ หาเฉพาะหนา ได
(8) ใหค วามชว ยเหลือเพ่ือนในภาวะวกิ ฤติ
2) ลูกเสอื สามัญ
(1) มที ักษะในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลางแจง
(2) รว มกจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชนดว ยจติ อาสา
(3) พึ่งตนเองและชว ยเหลอื ครอบครวั
(4) ไมดมื่ นํา้ อัดลม
(5) ไมรบั ประทานขนมหวานและขนมกรบุ กรอบ
(6) ใชเวลาวางใหเ ปน ประโยชน
(7) รูจกั พูดเชิงบวก ไมพูดกาวราวรุนแรง
(8) มีความซ่อื สตั ย ไมโกหก
(9) รูจ กั แกปญ หาดวยสนั ตวิ ิธี
(10) มีนาํ้ หนักสวนสงู ตามเกณฑมาตรฐาน

คูมือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 3 153

3) ลกู เสือสามญั รุนใหญ
(1) มีทักษะในการทํากิจกรรมตามความสนใจ
(2) มีจิตอาสาทาํ ประโยชน/ ไมกอความเดอื ดรอ น ใหก ับครอบครวั

สถานศกึ ษา ชุมชน สังคม
(3) ใชเวลาวา งใหเ ปน ประโยชน
(4) รว มกิจกรรมสง เสริมอนุรกั ษประเพณี ศิลปวัฒนธรรมไทย
(5) มีทกั ษะการคิดวิเคราะห การยับยง้ั ไมเปน ทาสของส่อื โฆษณา
(6) มที กั ษะการใชประโยชนจ าก Internet
(7) มผี ลงาน/ โครงการการประหยัดพลงั งาน/ ทรัพยากร
(8) มกี ารออมหรอื ทาํ บัญชีรายรบั รายจายของตนเองอยา งตอเน่ือง
(9) มที กั ษะการหลกี เลยี่ ง ลอดพน และไมเกดิ อบุ ัติเหตุจากการใช

ยานพาหนะ
(10) ไมเ ก่ยี วขอ งกบั สิ่งเสพติดทุกประเภท

4) ลกู เสือวิสามัญ
(1) มผี ลงาน/ โครงการเฉพาะทเี่ ปนประโยชนตอตวั เอง/ สังคม
(2) มจี ิตอาสาและบรกิ าร
(3) รูวิธปี องกนั / และหลีกเลย่ี งความเสี่ยงทางเพศ
(4) ใชเ วลากบั สือ่ IT อยา งเหมาะสม ไมเกิดความเสยี หายตอวถิ ีชวี ติ ปกติ

ของตนเอง
(5) ไมเกี่ยวขอ งกบั ส่ิงเสพตดิ
(6) มีคา นิยมดานสขุ ภาพอยา งเหมาะสม ไมเ กดิ ผลเสยี ตามมา
(7) มคี านยิ มดานการรบั ประทานอาหารท่เี หมาะสม ไมเ กดิ ผลเสียหาย

ตามมา
(8) มคี านิยมดานความงามที่เหมาะสมไมเ กิดผลเสียหายตามมา
(9) ไมม พี ฤตกิ รรมกาวราวและกอ เหตุรุนแรง

อางองิ จากผลลัพธก ารจดั กิจกรรมลกู เสอื คมู อื Bench Marking

154 คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 3

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญ เคร่อื งหมายลูกเสอื หลวง ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3

หนวยที่ 11 พธิ กี าร ประดับเคร่ืองหมายลูกเสอื หลวง เวลา 1 ช่ัวโมง
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 30 และเคร่อื งหมายวิชาพิเศษ

1. จดุ ประสงคการเรียนรู

เพอ่ื ใหล ูกเสอื เกดิ ความภาคภมู ิใจในตนเอง และศรทั ธาในการเปนลูกเสอื
2. เนอื้ หา

เครือ่ งหมายลกู เสือหลวง
3. ส่ือการเรียนรู

3.1 เครอ่ื งหมายลูกเสือหลวง
3.2 เครื่องหมายวชิ าพิเศษ
4. กจิ กรรม

4.1 ผูกํากับลกู เสือและลูกเสอื พรอมกันในหอ งประชมุ
4.2 ผูก ํากับลกู เสือเปน ประธานจุดธูปเทยี นบูชาพระรตั นตรัย และถวายสกั การะแดพ ระรูป

รชั กาลที่ 6 ผกู ํากับลกู เสือและลกู เสือรว มกนั ถวายราชสดดุ ี
4.3 ผกู ํากับลกู เสือกลาวถึงการไดรบั อนมุ ัติใหมีสิทธป์ิ ระดับ เครื่องหมายลกู เสอื หลวง

เครือ่ งหมายวชิ าพิเศษ พรอ มทง้ั ใหโ อวาทกับลกู เสอื
4.4 ผกู าํ กบั ลกู เสอื มอบ เครอื่ งหมายลูกเสอื หลวง เครอ่ื งหมายวิชาพิเศษใหกบั ลกู เสอื และ

แสดงความชน่ื ชมยินดกี บั ลกู เสือทุกคน
4.5 ผูกาํ กบั ลกู เสอื และลกู เสือรวมกันทบทวนคําปฏญิ าณ
5. การประเมินผล

สังเกตพฤตกิ รรมจากการเขา รว มกจิ กรรม

คูมือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 155

ภาคผนวก

คมู ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชีวิต ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 156

ภาคผนวก ก

แนวคดิ เร่ืองทักษะชีวติ

ความหมายและองคป ระกอบทักษะชีวิต

ทักษะชวี ิต เปนความสามารถของบคุ คล ทจ่ี าํ เปนตอ การปรบั ตวั ในการเผชิญปญ หาตาง ๆ
และสามารถดาํ เนินชวี ติ ทา มกลางสภาพสังคมทีม่ กี ารเปลย่ี นแปลงทงั้ ในปจจุบัน และเตรียมพรอม
สาํ หรบั การเผชิญปญหาในอนาคต

องคประกอบทักษะชีวิต มี 12 องคประกอบ จัดเปน 6 คู โดยแบงตามพฤติกรรมการเรียนรู
3 ดา น ดงั น้ี

อhงgคhjป hgรfะgjกjhอgfบf jทhhักgfษfdะsdชsdวี sติ6คู 3 ดาน

ความตระหนกั การสราง
สมั พันธภาพและ
รูในตน
การสือ่ สาร

ความเห็นใจ ความคดิ การ
ผูอ่ืน สรา งสรรค ตัดสินใจ
พุทธิพสิ ยั
จติ พสิ ัย และแกไ ข ทกั ษะพสิ ัย
ปญ หา
ความ ความคิดวเิ คราะห
วิจารณ
ภาคภมู ใิ จ

ในตัวเอง ความ การจัดการกับ
อารมณและ
รับผดิ ชอบ ความเครียด
ตอสงั คม

แผนภาพที่ 1 องคป ระกอบของทักษะชวี ติ

1. ดา นพุทธิพิสัย จดั ไวตรงกลางของแผนภาพ เพราะเปน องคประกอบรว มและเปน พน้ื ฐาน
ของทกุ องคประกอบ ไดแก

- ความคดิ วเิ คราะหว จิ ารณ เปนความสามารถทจ่ี ะวเิ คราะห สงั เคราะห ประเมนิ
ขอ มูล ขา วสาร ปญ หา และสถานการณต า ง ๆ รอบตัว

- ความคิดสรา งสรรค เปนความสามารถในการคิดออกไปอยา งกวางขวางโดยไม
ยดึ ตดิ อยูในกรอบ และการสรางสรรคส ิง่ ใหม

157 คูมือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3

2. ดา นจติ พิสัย หรอื เจตคติ มี 2 คู คือ
คทู ่ี 1 ความตระหนักรใู นตนเอง และ ความเขา ใจ/เหน็ ใจผอู ่นื
คทู ี่ 2 เหน็ คุณคา/ภมู ิใจตนเอง และ ความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม
- ความตระหนักรูในตนเอง เปนความสามารถในการคนหาและเขาใจในจุดดีจุด

ดอยของตนเอง ยอมรับความแตกตางของตนเองกับบุคคลอ่ืน ไมวาจะในแงความสามารถ เพศ วัย
อาชีพ ระดบั การศกึ ษา ฐานะทางเศรษฐกจิ ฐานะทางสังคม ศาสนา สีผวิ ทอ งถิ่น สขุ ภาพ ฯลฯ

- ความเขาใจ/เห็นใจผูอ่ืน เปนความสามารถในการเขาใจความรูสึกของผูอื่น เห็น
อกเห็นใจและยอมรับตัวตนของบุคคลอ่ืนที่แตกตางกับเรา ไมวาจะในแงความสามารถ เพศ วัย
อาชีพ ระดับการศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางสงั คม ศาสนา สผี ิว ทองถ่ิน สุขภาพ ฯลฯ

- เห็นคุณคา/ภูมิใจตนเอง เปนการคนพบ คุณสมบัติเฉพาะตัวของตนเอง รูสึกวา
ตนเองมีคุณคา เชน เปนคนมีน้ําใจ ซ่ือสัตย ยุติธรรม และภูมิใจในความสามารถดานตาง ๆ ของ
ตนเอง เชน ดานสงั คม ดนตรี กีฬา ศิลปะ การเรยี น ฯลฯ

- ความรับผิดชอบตอสังคม เปนความรูสึกวาตนเองเปนสวนหน่ึงของสังคมและมี
สว นรับผิดชอบในความเจริญหรือเส่ือมของสังคมน้ัน คนที่เห็นคุณคาตนเองจะมีแรงจูงใจที่จะทําดีกับ
ผอู ืน่ และสังคมสวนรวมมากขึ้น จึงจัดเขาคกู บั ความรับผดิ ชอบตอ สงั คม

3. ดา นทักษะพิสัยหรือทกั ษะ ประกอบดวย 3 คู คอื
คทู ี่ 1 การส่ือสารและการสรา งสมั พนั ธภาพ
คูที่ 2 การตดั สินใจและการแกไขปญหา
คทู ่ี 3 การจดั การกับอารมณและความเครียด
- ทักษะการการส่ือสารและการสรางสมั พันธภาพ เปนความสามารถในการใช

คําพูดและภาษาทา ทาง เพื่อสอื่ สารความรสู กึ นึกคดิ ของตนเอง และสามารถรบั รคู วามรูส ึกนึกคดิ
ความตอ งการ ของอกี ฝายหน่งึ มกี ารตอบสนองอยางเหมาะสมและเกดิ สมั พันธภาพที่ดีตอ กัน

- ทักษะการตัดสินใจและการแกไ ขปญ หา การตัดสินใจใชในกรณที ี่มีทางเลอื กอยู
แลว จงึ เร่ิมตน ดวยการวิเคราะหข อ ดีขอเสียของแตล ะทางเลอื กเพือ่ หาทางเลือกทด่ี ีท่ีสดุ และนาํ ไป
ปฏบิ ตั ิ สว นการแกไขปญหาเปนความสามารถในการรบั รูปญ หาและสาเหตุของปญ หา หาทางเลือก
ไดห ลากหลาย วิเคราะหข อดขี อ เสียของแตล ะทางเลอื ก ตดั สินใจเลือกทางเลอื กในการแกปญ หาท่ี
เหมาะสมที่สดุ และนําไปปฏิบตั ิ

- ทกั ษะการจัดการกับอารมณแ ละความเครียด เปน ความสามารถในการรับรู
อารมณตนเอง ประเมินและรเู ทาทนั วา อารมณจ ะมีอทิ ธพิ ลตอ พฤตกิ รรมของตนอยา งไร และเลอื กใช
วธิ จี ัดการกบั อารมณท ่ีเกดิ ข้ึนไดอ ยางเหมาะสม สว นการจดั การความเครียดเปน ความสามารถในการ
รบั รูระดับความเครยี ดของตนเอง รสู าเหตุ หาทางแกไ ข และมีวธิ ผี อนคลายความเครยี ดของตนเอง
อยางเหมาะสม

คูมอื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 158

ความแตกตา งระหวา งทักษะชวี ิตทว่ั ไปและทกั ษะชีวิตเฉพาะ

ทักษะชีวิตท่ัวไป เปนการสรางภูมิคุมกันทางสังคม สําหรับปญหาท่ัว ๆ ไปใน
ชวี ิตประจาํ วัน ดว ยทกั ษะชีวติ 12 องคประกอบ ใหกบั เด็กทกุ คน

ทักษะชีวิตเฉพาะ เปนการประยุกตใชทักษะชีวิต 12 องคประกอบ ท่ีมีเนื้อหา
เก่ียวกับการปองกันปญหาเฉพาะเร่ืองสําหรับเด็กกลุมเส่ียง โดยมีครูท่ีปรึกษาและระบบดูแล
ชว ยเหลอื นักเรยี นรองรับ

ทักษะชวี ติ กับการพัฒนาเยาวชน

เม่ือแบงเยาวชนออกเปน 3 กลุม คือเด็กปกติ เด็กกลุมเส่ียง และเด็กท่ีมีปญหา
ทักษะชีวิตจะเปนกลยุทธสําคัญในการสงเสริมภูมิคุมกันทางสังคม ใหกับเด็กปกติ และเด็กทุกคน
สําหรับเด็กกลุมเส่ียงตองมีการสอนทักษะชีวิตเฉพาะในแตละปญหา มีครูท่ีปรึกษาและระบบดูแล
ชวยเหลือนักเรียนรองรับ สวนเด็กท่ีมีปญหาแลวใชการดูแลใกลชิดเพื่อหาทางแกปญหาท่ีเหมาะสม
เปนรายบคุ คล และมรี ะบบสงตอยังวิชาชพี เฉพาะทเ่ี กยี่ วขอ ง

159 คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ิต ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3

ตวั อยา งทักษะชวี ิตเฉพาะ
คูม ือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 160

ความแตกตา งระหวางทักษะชีวิต และทกั ษะการดาํ รงชวี ติ

ทักษะชวี ติ (Life Skills) เปนความสามารถทางจิตสงั คม อันประกอบ ดวย ความรู เจตคติ
และทักษะ ทจ่ี ําเปน ในการดําเนินชวี ิตทามกลางสภาพสังคมทเ่ี ปลีย่ นแปลงอยา งรวดเร็วในปจ จุบนั
และเตรียมพรอ มสาํ หรับการเผชญิ ปญหาในอนาคต มี 6 คู 12 องคป ระกอบ

ทักษะการดํารงชวี ติ (Living Skills) เปน ทกั ษะทใ่ี ชใ นกิจวัตรประจําวนั ในเรอ่ื งพ้ืนฐาน
ของชวี ิต มักเปน ทักษะทางกายภาพ เชน อาบนํ้า แตงตวั ซักเสอื้ ผา ปรุงอาหาร
ข่ีจักรยาน วา ยนาํ้ ผูกเงอื่ นเชอื ก การจดั กระเปา เดนิ ทาง การใชแผนทเ่ี ข็มทศิ ฯลฯ

ความเชือ่ มโยงระหวา งทกั ษะชีวติ และทกั ษะการดาํ รงชีวติ
ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะการดํารงชวี ติ มักถกู ใชผ สมผสาน เช่อื มโยงกัน ทั้งในกิจวตั รประจาํ วนั
ปกติ และในสถานการณต า ง ๆ ท่เี กิดขน้ึ ไมแยกสวน โดยทกั ษะชวี ติ จะเปนตัวชวยในการเลอื กและ
ใชท กั ษะการดาํ รงชีวิตไดอยางเหมาะสม ถูกที่ ถกู เวลา และเกิดผลลพั ธท ด่ี ี
สถานการณทางจติ สงั คม มักใชท กั ษะชวี ติ เปน หลัก ตัวอยา ง เชน
การจดั การกับอารมณโกรธ ความขดั แยง และ ความรนุ แรง
ตระหนกั รแู ละหลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมเส่ียงตา ง ๆ รวมถึงการปองกันอุบตั ิเหตุ
การชว ยเหลือผูอน่ื และรบั ผดิ ชอบตอ สวนรวม
การสือ่ สารเชงิ บวกและสรางสัมพนั ธภาพทีด่ ี
กจิ วัตรทท่ี าํ เปน ประจาํ ใชท กั ษะการดํารงชีวติ เปน หลกั เชน อาบนา้ํ แตง ตวั แปรงฟน ซัก
เส้ือผา ปรุงอาหาร ขีจ่ กั รยาน วา ยนา้ํ ผกู เงือ่ นเชือก ใชแ ผนทีเ่ ข็มทศิ ฯลฯ

161 คูมอื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ิต ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 3

ทกั ษะชีวิตสรา งไดอ ยา งไร

สรางดวย 2 วธิ กี ารใหญ ๆ คอื
1. เรยี นรเู องตามธรรมชาติ ซ่งึ ข้ึนกบั ประสบการณแ ละการมีแบบอยางทดี่ ี จึงไมมที ศิ ทางท่ี
แนน อน และกวาจะเรียนรกู ็อาจชาเกินไป
2. สรางโดยกระบวนการเรยี นการสอนทยี่ ดึ ผเู รยี นเปน ศูนยกลาง ใหเด็กเรียนรรู วมกันใน
กลมุ ผา นกิจกรรมรูปแบบตา ง ๆ ทเี่ ด็กตอ งมสี ว นรวมทัง้ ทางรางกายคือลงมอื ปฏิบัติ และทาง
ความคดิ คอื การอภปิ รายแลกเปล่ยี นความคดิ และประสบการณ เพือ่ สรา งองคค วามรูใหมรว มกัน

การสอนทยี่ ดึ ผูเรยี นเปนศูนยก ลาง

• สรา งความรู (Construction) กิจกรรมที่ใหผ ูเรยี นมีสวนรว มทาง
สติปญญา คนพบความรดู วยตนเอง

• ปฏสิ มั พันธ (Interaction) กิจกรรมตองสง เสริมปฏสิ มั พันธก บั
ผูอื่นและแหลง ความรูท่หี ลากหลาย

• เปนกระบวนการ (Process Learning)
• มสี วนรวม (Physical Participation) มีสวนรวมดา นรา งกาย ลง

มือกระทาํ กจิ กรรมในลักษณะตาง ๆ
• มกี ารประยกุ ตใ ช (Application)

การมีสว นรว มทางสติปญ ญาทาํ ใหเ กดิ ทกั ษะชีวติ 2 องคประกอบแกนหลกั คือความคดิ วเิ คราะห
และความคิดวจิ ารณ

ปฏิสมั พนั ธใ นกลุมเพ่อื ทาํ กิจกรรมรวมกนั ทาํ ใหเดก็ ไดฝ ก องคประกอบทกั ษะชวี ติ ดา นทกั ษะทั้ง
3 คู คอื การสรางสัมพันธภาพและการสอื่ สาร การตัดสินใจและการแกไ ขปญ หา การจัดการอารมณและ
ความเครยี ด

การรับฟง ความคดิ เห็นของคนอนื่ ทาํ ใหเกดิ ความเขาใจคนอ่ืนมากขึ้น ขณะเดียวกนั ก็เกิดการ
ไตรตรองทาํ ความเขาใจและตรวจสอบตนเอง จัดเปนองคประกอบทกั ษะชวี ติ ดานเจตคตคิ ือ การเขาใจ
ตนเอง และเขา ใจ/เห็นใจผอู ่ืน

การไดรับการยอมรับจากกลุม การทํางานสําเร็จไดรับคําชม ทําใหเกิดความภูมิใจและเห็น
คณุ คาตนเอง นาํ ไปสูค วามรับผดิ ชอบมากข้นึ ทง้ั ตอ ตนเองและสังคม

กระบวนการและการมีสวนรวม ชวยใหกิจกรรมสนุกสนานนาสนใจ และนําไปสูจุดประสงค
ทตี่ ้ังไว รวมทั้งการประยุกตใ ชเ ปนการเปดโอกาสใหผูเรียนไดเช่ือมองคความรูใหมท่ีเกิดข้ึนเขาสูชีวิต
จริง วาไดเกิดการเรียนรูอ ะไรและนําไปใชใ นชีวิตประจําวันอยางไร

คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวิต ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 162

การสอนทกั ษะชวี ติ

8 กลมุ สาระ กจิ กรรมพฒั นา
การเรยี นรู ผเู รยี น

กจิ กรรม กจิ กรรมเพอ่ื สงั คม
แนะแนว และ

สาธารณประโยชน

กจิ กรรม
นกั เรยี น

กจิ กรรม ลกู เสอื / เนตรนารี /
ชุมนมุ บาํ เพ็ญประโยชน /
ชมรม
นศ.วชิ าทหาร

ความหมายของกระบวนการลูกเสือ (Scout movement)

ตามคํานิยามของลูกเสือโลก หมายถึง กระบวนการเรียนรูและพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง
สําหรับเยาวชน เพื่อสรางเยาวชนที่มีจิตใจเสียสละ รับผิดชอบ และอุทิศตนแกสังคม ดวยวิธีการ
ลูกเสอื

ตามแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 2522 (สพฐ.) หมายถึงกระบวนการทาง
การศึกษาสวนหนึ่ง ซึ่งมุงพัฒนาสมรรถภาพของบุคคล ท้ังทางสมอง รางกาย จิตใจ และศีลธรรม
เพื่อใหเปนบุคคลที่มีความประพฤติดีงาม ไมกระทําตนเปนปญหาสังคม และดํารงชีวิตอยางมี
ความหมาย และสุขสบาย

หลักการลูกเสือ (Scout principle)

หลกั การลูกเสอื โลกเนนทีห่ นา ทีห่ ลัก 3 ประการ คือ

1.หนาท่ีตอพระเจา/ศาสนา ไดแก การแสวงหาและดําเนินชีวิตอยางมีคุณคาและ
ความหมาย

2.หนาท่ีตอผูอื่น ไดแก การเคารพ ใหเกียรติ ชวยเหลือผูอ่ืน รวมถึงการดูแลสังคมและ
สง่ิ แวดลอ ม

3.หนาท่ีตอตนเอง ไดแก พัฒนาตนเองท้ังดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และ
จิตวญิ ญาณ

163 คูมอื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ิต ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3

หลักการลูกเสือไทย มี 5 ขอ คือ
1. มีศาสนาเปนหลักยดึ ทางใจ
2. จงรกั ภักดีตอ พระมหากษัตรยิ แ ละประเทศชาติ
3. เขารวมพัฒนาสังคม ยอมรับ เคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีผูอ่ืนและเพื่อนมนุษยทุกคน
รวมท้งั ธรรมชาติ และสรรพสิ่งทง้ั หลายในโลก
4. รบั ผิดชอบตอการพฒั นาตนเองอยา งตอ เนือ่ ง
5. ยดึ มน่ั ในคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสือ

วิธีการลูกเสอื (Scout method)

วิธีการลกู เสอื โลก มี 8 องคประกอบ โดยแบง ออกเปน 3 กลมุ คือ
กลมุ ท่ี 1 ผใู หญม หี นาท่ชี วยเหลอื และสง เสริมเยาวชนใหเ กดิ การเรยี นรูในกลุม
กลมุ ท่ี 2 มกี จิ กรรมที่บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคในการพัฒนาเยาวชนอยางตอ เนื่องและเปน ระบบ
กลุมที่ 3 เปนลกั ษณะกิจกรรมท่ีใช มี 6 องคป ระกอบ
1. ยดึ มั่นในคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสือ
2. ใชระบบสญั ลกั ษณเปนแรงกระตนุ ไปสเู ปาหมายในการพฒั นาตนเอง
3. ระบบหมู (กลุมเรยี นรรู ว มกนั )
4. เรียนรใู กลช ิดธรรมชาติ
5. เรยี นรจู ากการลงมือปฏิบตั ิ / เกม
6. เรยี นรจู ากการบริการผูอื่น
วธิ กี ารลูกเสอื ไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 2551 มี 7 องคประกอบ
คือ
1. ความกาวหนา ในการเขา รวมกจิ กรรม
2. การสนับสนุนโดยผใู หญ
3. ยดึ มัน่ ในคาํ ปฏิญาณและกฎ
4. การใชสัญลักษณรว มกนั
5. ระบบหมู
6. การศกึ ษาธรรมชาติ
7. เรยี นรจู ากการกระทํา

คมู ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ 3 164

วิธกี ารลกู เสอื สรา งทักษะชวี ิตไดอ ยางไร

วิธีการลูกเสือ มีองคประกอบครบทั้ง 5 ประการ ของกระบวนการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียน
เปน ศูนยกลาง การสรา งทกั ษะชีวติ ทงั้ 12 องคป ระกอบ เกิดขนึ้ ดว ยกิจกรรมดงั ตารางตอไปนี้

วธิ กี ารลูกเสือสรา งทกั ษะชวี ิตไดอยางไร

องคประกอบ กิจกรรม

คิดวิเคราะห อภปิ รายแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นที่ตอ ง
คิดสรา งสรรค คิดวิเคราะห/สงั เคราะห ตลอดเวลา
จดั กจิ กรรมใหค ิดนอกกรอบ งานศิลป การแสดง
ตระหนักรูใ นตน งานฝมอื ฯลฯ
เขา ใจ/เหน็ ใจผอู ่นื การเรยี นรูทพี่ ัฒนาขึน้ จากภายในตวั เด็ก เปนผล
จากปฏสิ มั พันธ แลกเปลี่ยนความคิด ความเชื่อ
เห็นคณุ คา ตนเอง/ ในกลมุ ไดท าํ ความเขา ใจตนเองและผอู น่ื ฝก ทจี่ ะ
รับผดิ ชอบสงั คม ยอมรับและเคารพในสทิ ธิและความคิดเหน็ ของผอู นื่
การยอมรับจากเพ่ือน ทาํ ชน้ิ งานสําเรจ็ คําชมเชย
สอื่ สารและสราง จากเพ่ือนและผใู หญ การเคารพใหเ กยี รตซิ ึ่งกันและ
สมั พันธภาพ กันสงผลใหมวี นิ ยั และความรับผดิ ชอบตอตนเอง
ตดั สินใจและแกไขปญหา และสว นรวมมากขึ้น
จัดการอารมณ
และความเครยี ด ประสบการณ ปฏสิ มั พนั ธใ นกลมุ การทาํ งานรว มกัน
การเรยี นรแู ละการฝกฝน

วตั ถปุ ระสงคคณะลกู เสอื แหง ชาติ (พระราชบญั ญตั ิลกู เสือ พ.ศ. 2551 มาตรา 8)

เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรม ใหเปนพลเมืองดี มีความ
รับผิดชอบ และชวยสรางสรรคสังคมใหเกิดความสามัคคี และมีความเจริญกาวหนา ท้ังน้ีเพื่อความ
สงบสขุ และความมั่นคงของประเทศชาติ ตามแนวทางดังตอไปน้ี

1. ใหมีนิสยั ชางสังเกต จดจาํ เช่อื ฟง และพึ่งตนเอง

2. ใหซ อื่ สัตยสุจริต มรี ะเบยี บวนิ ัยและเหน็ อกเหน็ ใจผอู ื่น

3. ใหรจู กั บําเพ็ญตนเพอื่ สาธารณประโยชน

4. ใหรูจ กั ทาํ การฝมือ และฝก ฝนใหทํากจิ การตา ง ๆ ตามความเหมาะสม

5. ใหร ูจ กั รกั ษาและสง เสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม และความมน่ั คงของประเทศชาติ

หลักสูตรลูกเสอื เสริมสรางทกั ษะชีวิต

หลกั สูตรลกู เสอื เสริมสรางทกั ษะชวี ิตไดใ ชขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง
หลักสูตรและวชิ าชีพพิเศษลูกเสือสํารอง สามัญ สามัญรุนใหญ และวิสามัญ เปนหลัก และเพ่ิมเนื้อหา
ที่สอดคลองกับปญหาตามวัยและพัฒนาการดานตาง ๆ ของลูกเสือ โดยจัดหนวยกิจกรรมตามที่ระบุ

165 คูมือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 3

ในหลักสูตรของลูกเสือแตละประเภท ดังน้ัน ชื่อหนวยกิจกรรม และจํานวนหนวยกิจกรรมของลูกเสือ
แตละประเภทจงึ แตกตา งกัน

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิตในคูมือชุดนี้ ไดออกแบบโดยบูรณาการ
กิจกรรมที่เสริมสรางทักษะชีวิตเขากับวิธีการลูกเสือ คือการใชระบบหมูหรือกลุมยอย โดยใหเด็กเปน
ศูนยกลาง และมีผูใหญทําหนาท่ีชวยเหลือและสงเสริมใหเกิดกระบวนการเรียนรูในกลุม แนะนํา สั่ง
สอน และฝกอบรมใหสามารถพ่ึงตนเองได มีจิตอาสา รับผิดชอบตอสวนรวม ยึดม่ันในคําปฏิญาณ
และกฎของลูกเสือ เสริมสรางคุณคาในตนเอง รวมทั้งใชระบบเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณทางลูกเสือ
และเคร่อื งหมายวิชาพเิ ศษ เปนแรงกระตนุ ไปสูเ ปาหมายในการพฒั นาตนเอง

องคประกอบในการประชุมกอง เนนการใชชีวิตกลางแจง นอกหองเรียน ใกลชิดธรรมชาติ
เรียนรูจากการลงมือปฏิบัติดวยตนเอง เกม และการบริการผูอ่ืน ซึ่งถือเปนหัวใจของกิจกรรมลูกเสือ
ทุกประเภท โดยกิจกรรมท่ีใช แบงออกเปน 5 ประเภท คอื การแสดงออก การรายงานและการสํารวจ
การวิเคราะหและการประเมิน เกมและการแขงขัน การบําเพ็ญประโยชน การออกแบบกิจกรรม
เพ่ือใหลูกเสือใชกระบวนการกลุมในการแลกเปล่ียนประสบการณ แลกเปล่ียนความคิดความเช่ือ
สรางองคความรูและสรุปความคิดรวบยอด รวมท้ังเปดโอกาสใหลูกเสือไดประยุกตใชส่ิงที่ไดเรียนรู
อีกดวย

เนอื้ หาสาระในแผนการจดั กิจกรรมแบง ออกไดเปน 3 กลมุ ประกอบดว ย

1.กิจกรรมตามขอบังคับของคณะลูกเสือแหงชาติ (ไมรวมกิจกรรมทดสอบเพ่ือรับ
เครอื่ งหมายหรอื สญั ลักษณท างลูกเสอื และเครื่องหมายวิชาพิเศษ)

2. กิจกรรมตามขอบังคับของคณะลูกเสือแหงชาติที่ชวยเสริมสรางทักษะชีวิตดานคุณธรรม
จรยิ ธรรม ความภาคภมู ใิ จในตนเอง ความรับผดิ ชอบตอ สวนรวม

3.กิจกรรมเสริมสรางทักษะชีวิต เพื่อสรางภูมิคุมกันทางสังคมตอเหตุการณและสภาพ
ปญ หาของเดก็ แตล ะวยั

สําหรับกิจกรรมลูกเสือตามขอบังคับ เพื่อการขอรับเครื่องหมายลูกเสือช้ันพิเศษ และ
เคร่อื งหมายลูกเสอื หลวง ไมไ ดน าํ มารวบรวมไวในคมู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือชดุ นี้

คูมือมีจํานวน 11 เลม ตามชั้นปของลูกเสือ 4 ประเภท แตละเลม ไดจัดทําตารางหนวย
กิจกรรม และแผนการจัดกิจกรรมครบ 40 ชั่วโมง เพื่อใหเห็นภาพรวมของการจัดกิจกรรมลูกเสือ
เสริมสรา งทักษะชีวติ ของลกู เสอื ในแตล ะระดบั ช้ัน และมีหมายเหตุบอกไวในตารางชองขวาสุด วาเปน
แผนการจดั กิจกรรมเสรมิ สรางทกั ษะชวี ิต

แผนการจัดกิจกรรมประกอบดวย จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา สื่อการเรียนรู กิจกรรม
การประเมินผล องคประกอบทักษะชีวิตสําคัญท่ีเกิดจากกิจกรรม และภาคผนวกประกอบแผนการจัด
กิจกรรม (เพลง เกม ใบงาน ใบความรู เรื่องท่เี ปนประโยชน)

คมู อื การจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวติ ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 3 166

ภาพรวมการพฒั นาหลกั สูตรลูกเสือเสรมิ สรางทักษะชวี ติ

1. เริ่มจากการศึกษาเอกสาร งานวิจัย หลักสูตรลูกเสือไทยและตางประเทศ รวมท้ัง
สมั ภาษณ ผูเชยี่ วชาญดา นลกู เสือ

2. สัมนาครู ผูปกครอง นักพัฒนาเยาวชน และผูเชี่ยวชาญดานกิจกรรมเด็กและเยาวชน
เพอ่ื รว มกนั คน หาปญ หาจริงของเด็กแตละวยั และออกแบบกจิ กรรมท่ีเหมาะสม

3. จัดทําคูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิต 4 ประเภท ไดแก ลูกเสือสํารอง
ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญและลูกเสือวิสามัญ รวมทั้งสิ้น 11 เลม โดยผานการประเมิน
ปรบั ปรุงและพัฒนา จนเปน ทย่ี อมรบั และนาํ ไปใชใ นสถานศึกษาจํานวนมาก

4. จดั ทําหลักสตู รการฝก อบรมผูกํากับลกู เสือสาํ รอง ลูกเสอื สามญั ลูกเสอื สามญั รนุ ใหญแ ละ
ลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรูเบื้องตน และข้ันความรูช้ันสูง รวม 8 ประเภท โดยไดรับการอนุมัติจาก
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ ในการประชุม ครั้งที่ 2/2557 เมื่อวันท่ี 22 กันยายน 2557 ให
ใชเปนหลกั สูตรการฝก อบรมผกู ํากับลูกเสือของสํานักงานลูกเสอื แหง ชาติ

5. จัดทํา คูมือฝกอบรมวิทยากรลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิต เพื่อขยายผลในการสราง
วทิ ยากรและฝกอบรมผูกํากบั ลูกเสอื ในสถานศึกษาท่ัวประเทศ

167 คมู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3

ภาคผนวก ข

กิจกรรมลูกเสอื เสริมสรา งทักษะชวี ิต

การจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสรางทักษะชีวิตน้ัน ยังคงหลักการ และวิธีการของลูกเสือไว ทุก
ประการ แตเนนการสอดแทรกการเรียนรูทักษะชีวิตเพ่ิมเขาไปดวยเพื่อตอบสนองวัตถุประสงคที่รอบ
ดา น และครอบคลมุ การดาํ รงชวี ิตในปจ จุบัน

คุณคาของส่ือการเรียนการสอนประเภทกจิ กรรม

สื่อการเรียนการสอนประเภทกิจกรรม เปนกระบวนการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนได มีโอกาส
เรียนรูประสบการณตางๆ ดวยตนเอง ผานการทํากิจกรรมรวมกัน ผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณ
ของเพื่อนในกลุม ทําใหสามารถเรียนรูไดมากขึ้นโดยใชเวลานอยลง การออกแบบกิจกรรมจะตอง
กระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจ และรวมมือในการทํากิจกรรมที่กําหนดใหอยางเต็มที่ จึงจะ เกิดการ
เรยี นรูไ ดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ ผลท่เี กดิ ขนึ้ ตอผูเ รยี นมีดังนี้

1. สงเสรมิ ใหผ ูเรยี นกลาแสดงออกและทํางานรวมกบั ผอู ืน่ ได
2. เกิดความสนกุ สนานเพลิดเพลิน ซึง่ เปน ลักษณะเฉพาะของสอ่ื การสอนประเภทกิจกรรม
3. เปด โอกาสใหผเู รียนมีสว นรว มในการกําหนดขอบขา ย เนอ้ื หา และวตั ถปุ ระสงค
4. ผเู รียนไดฝ ก ฝน พฤตกิ รรมการเรียนรูทัง้ ทางดา นความรู เจตคติ และทักษะ รวมทั้งความคิด
สรางสรรค และจนิ ตนาการดวย

ประเภทของกจิ กรรมลกู เสือเสริมสรา งทกั ษะชีวติ

เม่อื จัดประเภทตามทักษะ/ความสามารถ ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม แบงออกไดเปน 5 ประเภท คอื
1. กิจกรรมการแสดงออก เปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหลูกเสือไดใชความสามารถในการ
แสดงออก แสดงความคิดสรางสรรค จินตนาการในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งมักจะเปนการจําลองประสบการณ
ตาง ๆ มาเพื่อการเรียนรูไดงายและสะดวกขึ้น หรือเปนส่ิงท่ีใชแทนประสบการณจริง เพราะศาสตร
ตางๆ ในโลก มีมากเกินกวาที่จะเรียนรูไดหมดสิ้นจากประสบการณตรงในชีวิต และบางกรณีก็อยูใน
อดตี หรือซับซอนเรนลบั หรือเปนอนั ตราย ไมส ะดวกตอการเรยี นรจู ากประสบการณจ ริง
ตัวอยา งกจิ กรรม เชน
1.1 สถานการณจําลอง เปนการจัดสภาพแวดลอมใหใกลเคียงกับสภาพความเปนจริงมากท่ีสุด
เพ่อื ใหผูเรยี นไดฝก ฝน แกปญหาและตัดสินใจจากสภาพการณที่กําลังเผชิญอยูน้ันแลวนําประสบการณ
แหง ความสาํ เรจ็ ไปเปนแนวทางในการแกป ญ หา
1.2 การสาธิต กระบวนการที่ผูสอนชวยใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงค โดยการ
แสดงหรือกระทําใหดูเปนตัวอยาง ใหความสําคัญกับกระบวนการท้ังหมดท่ีผูเรียนจะตองเฝาสังเกตอยู
โดยตลอด
1.3 เลา นิทาน

คมู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ติ ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 168

1.4 ละคร หุน จําลอง
1.5 เพลง ดนตรี การเคลื่อนไหวตามจังหวะดนตรี หมายถึง กิจกรรมที่เนนการใชดนตรีเปนสื่อ
ในการเรยี นรูท ั้งในแงเน้ือหาและความบนั เทิง ผอ นคลาย และเขา ถึงวฒั นธรรมตา ง ๆ
1.6 ศิลปะ แขนงอน่ื ๆ เชน การวาดรปู การปน ดนิ เหนียว งานหัตถกรรม การรอ ยดอกไม
1.7 การโตว าที

ฯลฯ
2. กจิ กรรมการการสาํ รวจและการรายงาน เปนกิจกรรมที่เนนใหลูกเสือไดเรียนรูจากความเปน
จริง /เหตุการณจริง ในชีวิตประจําวัน ผานประสบการณตรงดวยตนเอง ซ่ึงเปนรากฐานสําคัญของ
การศึกษา เชน การทําแผนที่ การสํารวจ หมายถึง การเรียนรูผานสถานการณจริงดวยการลงพ้ืนที่
สํารวจ และจําลองสิ่งท่ีไดเรียนรูสูแผนที่ ภาพ หรือสัญลักษณ เพื่อแสดงความคิดรวบยอดของส่ิงท่ีได
เรียนรนู ั้น
ตัวอยา งกิจกรรม เชน
การสัมภาษณ การเปนผูสื่อขาว การทาํ สารคดี การศึกษานอกสถานท่ี ชุมชนศึกษา การผลิตส่ือ การทํา
ปูมชีวิตบุคคลตัวอยาง การจัดนิทรรศการ การสอดแนม การสํารวจ การทําแผนที่ การเขียนเรียงความ
การเลา เรอื่ ง ฯลฯ
3. กจิ กรรมการวเิ คราะหแ ละการประเมิน เปนการเรียนรูที่เกิดจากการแลกเปล่ียนความคิดเห็น
และรวมกันวิเคราะห/ประเมิน สิ่งตา งๆที่เกิดข้ึน
ตัวอยางกจิ กรรม เชน
การเปรยี บเทียบคุณคา การประเมินความเส่ยี ง การทําแผนทคี่ วามคดิ ฯลฯ
4. การเลน เกมและการแขงขัน

4.1 เกม เปน กิจกรรมท่ีมีกฎกติกา และลําดับขั้นตอน ท่ีเอ้ือใหลูกเสือเกิดการเรียนรู
ผา นการเลน เกม ใหข อคดิ ทส่ี อดคลองกบั ผลการเรยี นรทู ีต่ อ งการ เชน เกมกระซบิ เปน ตน

4.2 การแขงขัน เปนกิจกรรมที่มีกติกาในการแขงขัน และมีการตัดสินหาผูชนะ เชน
การตอบปญหาในเรอื่ งตา ง ๆ เพอ่ื กระตนุ ใหเ กิดความสนใจใฝรมู ากข้ึน ฯลฯ

5. กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน เปนกิจกรรมสรางสรรคท่ีเนนการฝกความเสียสละของลูกเสือ
ไดแก การจัดกิจกรรมการกุศล การซอมของเลนใหนอง การดูแลทําความสะอาดสถานท่ี การปลูกและ
ดแู ลตนไม การเกบ็ ผักจากแปลงไปประกอบอาหารเลย้ี งนอง ฯลฯ

หลักการออกแบบกจิ กรรม

1. การเลือกประเภทของกิจกรรม ตอ งสอดคลองกบั ผลการเรยี นรทู ตี่ อ งการ เชน
ผลการเรียนรูดานพุทธิพิสัย มักเลือกใช กิจกรรมการวิเคราะหและการประเมิน การรายงาน
และการแขง ขันตอบปญ หาในเร่ืองเน้อื หาที่ตอ งการใหเรียนรู เปนตน
ผลการเรียนรูดานจิตพิสัย มักเลือกกิจกรรมท่ีสรางความรูสึกท่ีสอดคลองกับผลการเรียนรูท่ี
ตองการ เชน กจิ กรรมการแสดงออก เกม กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน เปน ตน

169 คูมือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ติ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3

ผลการเรียนรูดานทักษะพิสัย ถาเปนทักษะทางสติปญญานิยมใชกิจกรรมการวิเคราะห และ
ประเมินสว นทกั ษะทางกายภาพ เลอื กไดเกือบทุกประเภท

2. การตั้งประเด็นอภิปราย เพื่อใหลูกเสือไดรวมอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในเร่ืองที่
สอดคลองกบั ผลการเรยี นรูทต่ี อ งการ เชน

ผลการเรียนรูดานพทุ ธิพสิ ยั ตงั้ ประเดน็ ให วเิ คราะห /สังเคราะห /ประเมิน เนื้อหาท่ีตองการ
ใหผูเรียนเกิดความเขาใจอยางถองแท เกิดความคิดรวบยอดที่ชัดเจน และสามารถนําไปประยุกตใชได
จรงิ

ผลการเรยี นรดู านจิตพิสัย ตง้ั ประเด็นใหเกดิ การโตแยง กนั ดว ยเหตผุ ลในเรือ่ งความคดิ ความ
เชื่อ ทเี่ กย่ี วของกับเจตคตทิ ต่ี องการ เพอ่ื ใหส มาชิกแตละคนไดมีโอกาสตรวจสอบความคดิ ความเช่อื ของ
ตนเอง ท่ีแตกตางจากคนอ่ืน ทําใหเกิดการปรับเปล่ียนความคิดความเชื่อจากการโตแยงกันดวยเหตุผล
ในกระบวนการกลุม

ผลการเรียนรูดานทักษะพิสัย ตั้งประเด็นใหเกิดความเขาใจอยางถองแทในข้ันตอนการทํา
ทักษะ น้ัน ๆ เชนการวิเคราะหความครบถวนในการทําตามข้ันตอนของทักษะ การวิเคราะหจุดออน
ทีม่ กั จะทาํ ทกั ษะนั้น ๆ ไมสาํ เรจ็ เปน ตน

3. การสรุปความคิดรวบยอดและประยุกตใช ทุกกิจกรรมควรมีการสรุปความคิดรวบยอดท่ี
เกิดข้ึนใหช ดั เจน และเปด โอกาสใหไดลองประยุกตใ ช ไดแ ก

ผลการเรียนรูดานพุทธิพิสัย ความคิดรวบยอดคือเน้ือหา องคความรูท่ีตองการใหเกิดข้ึน
ประยกุ ตใชโดยผลิตซา้ํ ความคดิ รวบยอดในรูปแบบทตี่ างจากเดมิ เชน การทาํ รายงาน ทาํ สรุปยอ ฯลฯ

ผลการเรียนรูดานจิตพิสัย ความคิดรวบยอดไมมีเน้ือหา แตเปนความรูสึกและความคิด
ความเชื่อที่เกิดข้ึนภายในตัวผูเรียน ประยุกตโดยการแสดงออกที่สอดคลองกับเจตคติที่เกิด เชน การ
กระทําที่แสดงออกถงึ ความซอ่ื สตั ย การกระทําทแ่ี สดงออกถงึ ความเปนสภุ าพบรุ ษุ สุภาพสตรี เปนตน

ผลการเรียนรูดานทักษะพิสัย ความคิดรวบยอดท่ีเกิดคือ ความเขาใจขั้นตอนและทําทักษะ
นนั้ ๆ ได ประยกุ ตโดยการฝก ฝนทกั ษะนั้นจนชํานาญ

คูม ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชวี ติ ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 170

บรรณานุกรม

สาํ นกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหงชาติ. ขอบังคบั คณะลกู เสอื แหงชาติ วาดวยการ
ปกครอง หลกั สตู รและวชิ าพิเศษลูกเสอื สาํ รอง (ฉบบั ท่ี 10). โรงพมิ พ คุรสุ ภาลาดพรา ว,
2522.

สํานักงานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหงชาติ. ขอบงั คับคณะลกู เสอื แหงชาติ วา ดว ยการ
ปกครอง หลักสตู รและวิชาพิเศษลกู เสอื สามัญ (ฉบบั ท่ี 13). โรงพิมพ คุรสุ ภาลาดพรา ว,
2525.

สาํ นกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง ชาติ. ขอ บังคับคณะลกู เสือแหง ชาติ วา ดว ยการ
ปกครอง หลักสูตรและวชิ าพิเศษลูกเสอื สามญั รนุ ใหญ (ฉบบั ท่ี 14). โรงพมิ พ คุรุสภา
ลาดพราว, 2528.

สํานกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหงชาต.ิ ขอบงั คับคณะลกู เสอื แหงชาติ วา ดวยการ
ปกครอง หลกั สตู รและวชิ าพเิ ศษลูกเสอื วสิ ามัญ (ฉบับท่ี 15). โรงพิมพ สกสค.ลาดพรา ว
, 2529.

กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ. คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่
1 - 3 (ลูกเสือสาํ รอง). โรงพมิ พ ครุ สุ ภาลาดพราว, 2533.

กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. คมู อื การจัดกิจกรรมลกู เสอื – เนตรนารี ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี
4 – 6 (ลกู เสอื สามัญ) , 2533.

กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ. คูมอื การจัดกจิ กรรมลูกเสอื – เนตรนารี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่
1 – 3 (ลกู เสอื สามญั รนุ ใหญ), (เอกสารอัดสาํ เนา)

กรมพลศกึ ษาประจาํ เขตการศึกษา 8. นทิ านทเ่ี ปนคตสิ อนใจ. (เอกสารอัดสําเนา) : มปท.,2537.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธรณสุข. คมู อื วทิ ยากรฝก อบรมทกั ษะชวี ติ เพือ่ การปอ งกนั เอดส

ดว ยการเรยี นรูแบบมีสว นรวม, ม.ป.ท.: พมิ พค รง้ั ท่ี 1 สงิ หาคม 2541.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธรณสุข. คูมอื การจดั กจิ กรรมเพอื่ พัฒนาเดก็ ดอ ยโอกาส. น.พ.อนันต

อนุ แกว บรรณาธกิ าร ม.ป.ท. : พมิ พคร้งั ที่ 1 มถิ ุนายน 2544
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หลกั สตู รแกนกลาง. การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551.

โรงพิมพ ชมุ นมุ สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551.
คณะกรรมการลกู เสือฝา ยพฒั นาบคุ ลากร สาํ นกั งานลูกเสอื แหง ชาต.ิ คมู อื การฝกอบรม

ผูบังคับบญั ชา ลกู เสือข้นั ผูชว ยผูใ หฝก อบรมวชิ าผใู หการฝกอบรมผูก ํากับลกู เสอื
(Assistant Leader Trainers course) (A .L.T.C). โรงพิมพ สกสค. : ลาดพรา ว, 2551.
จริ าวุช คุมจันทร. เกม/นนั ทนาการกลมุ สมั พันธ. เอกสารอดั สําเนา : มปท., 2547.
มณฑานี ตันติสุข, หนงั สอื ผหู ญิงอศั จรรย. http://www.nantbook.com/webboard/detail.php?qID=116.

คมู ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 171

เปนแมเ หล็กดึงดดู ความรกั ดดี งี ายนดิ เดยี ว แคร จู กั ตัวเองดดี ,ี สืบคนเมอ่ื วันท่ี 24
มนี าคม 2553
มลู นิธิคณะลกู เสือแหงชาติ. กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น กิจกรรมลกู เสอื – เนตรนารี ชวงชนั้ ที่ 3 ช้นั
มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 ตามหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544, กรงุ เทพฯ :
อักษรเจริญทศั น, 2550.
มลู นธิ คิ ณะลกู เสือแหง ชาต.ิ กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี ชว งชน้ั ท่ี 3 ชนั้
มธั ยมศึกษาปที่ 2 ตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544, กรงุ เทพฯ :
อักษรเจรญิ ทศั น, 2551.
มูลนิธิคณะลกู เสือแหง ชาต.ิ กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี ชว งชน้ั ที่ 3 ชนั้
มธั ยมศกึ ษาปที่ 3 ตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544,
อกั ษรเจรญิ ทศั น : กรุงเทพฯ, 2550.
สมาคมวางแผนครอบครวั แหงประเทศไทย. คมู อื อบรมวิทยากร การจัดกจิ กรรมลกู เสือทเี่ นน
ทักษะชวี ิต. สมาคมวางแผนครอบครัวแหง ประเทศไทย, 2553.
สํานักการลูกเสอื ยวุ กาชาด และกิจการนกั เรียน สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ.
แนวทางการจดั กิจกรรมลูกเสือใหสอดคลอ งกับหลักสูตร การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2544. โรงพิมพครุ สุ ภาลาดพราว, 2549.
สาํ นักการลกู เสอื ยุวกาชาด และกจิ การนักเรียน สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ.
แนวทางการพัฒนาหลักสตู ร การจัดกิจกรรมลกู เสอื ในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2552.
องคก ารคาของ สกสค., 2552.
สาํ นักงานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแหงชาติ. ขอบังคับคณะลูกเสือแหง ชาตวิ าดว ยการ
ปกครอง หลกั สตู ร และวชิ าพเิ ศษลูกเสอื สามญั (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2525.
โรงพิมพค รุ สุ ภา : ลาดพรา ว, 2534.
สํานักงานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหง ชาติ. ขอบังคับคณะลกู เสอื แหง ชาตวิ าดวยการ
ปกครอง หลกั สตู รและวชิ าพิเศษลกู เสอื สามัญรนุ ใหญ(ฉบบั ท่ี 14) พ.ศ. 2528
องคก ารคาของคุรสุ ภา : กรุงเทพฯ, 2537.
สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน. แนวทางการจัดกิจกรรมพฒั นาผเู รียน.
โรงพิมพครุ ุสภาลาดพรา ว, 2534.
อบุ ลวรรณ แสนมหายกั ษ. เพลงลูกเสอื . เอกสารประกอบการฝกอบรมผูบ งั คบั บญั ชาลกู เสอื
สํารอง สามญั สามัญรนุ ใหญ ขั้นความรูช ัน้ สูง : (เอกสารอดั สําเนา), 2539.

http://en.wikipedia.org/wiki/World_Scout_Jamboree

http://en.wikipedia.org/wiki/World_Organization_of_the_Scout_Movement

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0db802ca17a2e96f&clk=wttpcts

172 คูมอื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 3

http://www.inspect2.moe.go.th/3%20SS.ATC/index.html
http://www.lovesquare.com http://mathafaps.tripod.com/gentleman.htm , อยางไรจึงเรยี กวา

เปน "สภุ าพบรุ ษุ ”, สืบคนเมื่อวนั ท่ี 23 มนี าคม 2553
http://www.navyscoutclub.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=538687830
http://www.rdpb.go.th/RDPB/Front/Projects/RDPBImportantProject.aspx
http://www.scoutthailand.org/main/show_page.php?topic_id=56&auto_id=13&TopicPk=19
http://122.155.0.105/~scout/modules/news/article.php?storyid=7

คูมือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 3 173

โครงการลูกเสือเสริมสรางทักษะชวี ติ

ดาํ เนินการโดย

สํานกั งานลกู เสอื แหง ชาติ
154 ศาลาวชริ าวธุ แขวงวังใหม เขตปทุมวนั กรงุ เทพฯ 10330
โทรศพั ท 0-2219-2731 โทรสาร 0-2219-2108
website : http://www.scoutthailand.org

สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ถนนราชดําเนนิ นอก เขตดุสติ
กรุงเทพฯ 10300 โทรศพั ท 0-2288-5511
website : http://www.obec.go.th

สาํ นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรา งเสรมิ สขุ ภาพ
อาคารศูนยเรยี นรสู ขุ ภาวะ 99/8 ซอยงามดพู ลี แขวงทงุ มหาเมฆ
เขตสาทร กรงุ เทพฯ 10120 โทรศพั ท 0-2343-1500
โทรสาร 0-2343-1501 website : http://www.thaihealth.or.th

สมาคมวางแผนครอบครวั แหง ประเทศไทย
ในพระราชปู ถัมภสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี
8 ซอยวิภาวดรี งั สติ 44 ถนนวภิ าวดีรงั สติ แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร
กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท 0-941-2320 โทรสาร 0-2561-5130
website : http://www.ppat.or.th E-mail : [email protected]


Click to View FlipBook Version