The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tom_club_za, 2022-04-26 03:10:36

9.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.3

9.ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ม.3

- ลูกเสอื คิดวา หัวใจสาํ คัญของความเปน สภุ าพบรุ ุษและความเปน สภุ าพสตรี คือ
อะไร (เชน สภุ าพบุรษุ - ความเสยี สละ เปน ผูน ํา ออนโยนแตไ มอ อนแอ /
สุภาพสตร-ี เมตตา จริงใจ สภุ าพ เรยี บรอ ย)

- ไดขอ คิดอะไรบา งและจะนาํ ไปปฏิบตั ิในชวี ิตประจําวันอยางไร
(3) ผูกาํ กบั ลูกเสอื เพ่มิ เตมิ “มีคาํ กลาววา แกน แทข องความเปน สภุ าพบรุ ษุ และ

สภุ าพสตรอี ยทู ค่ี วามภูมิใจในคุณคา ของความเปนมนุษยและเพศของตน
ซึ่งขนึ้ กบั วาตนเองไดส รางคุณคา ไวม ากนอ ยแคไหน คุณคา ท่ีสาํ คัญ
ประกอบดวย การรจู กั เอาใจเขามาใสเรา การใหเ กียรตผิ ูอืน่ และรกั ษาเกียรติ
ตนเอง ความเสียสละ ความซื่อสตั ยแ ละมคี วามรบั ผิดชอบ”
4) ผกู ํากับลกู เสือเลา เร่อื งทีเ่ ปน ประโยชน
5) พธิ ีปด ประชมุ กอง(นัดหมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชักธง เลกิ )
5. การประเมินผล
ลกู เสือเขา ใจคุณลกั ษณะของสภุ าพบรุ ุษ สภุ าพสตรที ส่ี อดคลอ งกับกฎลูกเสือ
ขอ 4 ลูกเสอื เปนมติ รของคนทกุ คน และเปน พ่นี อ งกับลูกเสอื อน่ื ทัว่ โลก
ขอ 5 ลูกเสือเปนผูสภุ าพเรยี บรอ ย
ขอ 10 ลูกเสอื ประพฤติชอบดว ยกาย วาจาใจ

6. องคประกอบทักษะชวี ติ สําคญั ทเี่ กดิ จากกิจกรรม
คอื ความคิดวเิ คราะห ความคดิ สรางสรรค เขาใจตนเอง เห็นคณุ คาและภมู ิใจตนเอง

ความรับผดิ ชอบตอตนเองและผอู ่นื

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 19
เพลง

B.P.Spirit

I’ve got that B.P. Spirit right in my head (3)
I’ve got that B.P. Spirit right in my head (2) to stay
I’ve got that B.P. Spirit deep in my heart (3)
I’ve got that B.P. Spirit deep in my heart (2) to stay
I’ve got that B.P. Spirit all round my feet (3)
I’ve got that B.P. Spirit all round my feet (2) to stay
I’ve got that B.P. Spirit all over me (3)
I’ve got that B.P. Spirit all over me (2) to stay

96 คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3

รว มใจ

(สรอย) รวมใจเราพรอมใจ (3 คร้ัง) งานนอยใหญพ รอมใจกนั ทาํ
พวกเราลูกเสอื ไทยตา งพรอ มใจสามคั คี นํ้าใจเรากลา ผจญ บากบั่นอดทนหมั่นทําความดี
ผกู มติ รและมไี มตรี เหมอื นดังนอ งพ่รี ับความช่ืนบาน (สรอ ย)
พวกเราลกู เสอื ไทย บุกปา ไปลุยน้ําเอง แมเ ราจะฝา ภยั พาล แตจ ติ เบิกบานเพราะความ
ปรองดอง ชมฟาและนา้ํ ลาํ คลอง เสียงคกึ คะนอง รองเพลงเพลินใจ (สรอ ย)

ใบงาน

ใหลูกเสือแตละหมู ไปคนหาพฤติกรรมท่ีแสดงถึงความไมเปนสุภาพบุรุษของชาย หรือ
พฤตกิ รรมท่ีแสดงถึงความไมเปนสุภาพสตรีของหญิง หมูละ 1 พฤติกรรม รวมกันอภิปรายใหได
ขอสรปุ ในประเดน็

1. ทําไมพฤตกิ รรมน้ันจึงไมเปนสุภาพบุรษุ /สภุ าพตรี
2. ถา จะใหเ ปน สภุ าพบุรษุ /สุภาพสตรี จะตอ งปรับปรุงพฤตกิ รรมอยา งไร
สรุปผลการอภิปรายเพื่อรายงาน โดยการเลนบทบาทสมมติ 2 รอบท้ังพฤติกรรมที่ไมเปน
สุภาพบุรุษ/สุภาพสตรี และพฤติกรรมท่ีปรับใหเปนสุภาพบุรุษ / สุภาพสตรี แลวเตรียมนําเสนอใน
กองลูกเสือ คาบตอไป ใชเวลานําเสนอหมูละไมเกนิ 8 นาที

เรื่องทเ่ี ปนประโยชน

หญิงชรากบั หมอรักษาตา

หญิงคนหนึ่งเปนผูมีฐานะรํ่ารวย แตเม่ือเขาสูวัยชราดวงตากลับมืดมัวจนมองอะไรไมเห็น
นางจึงจางหมอมารักษาโดยทําสัญญาไววา ถาหมอรักษาใหนางสามารถมองเห็นไดเหมือนเดิมจะ
จายคา รักษาเปนเงนิ กอนใหญ แตหากรกั ษาไมห ายหมอจะไมไ ดร ับคาตอบแทน

ทุกวันหมอจะนํายาหยอดตามาใหแกหญิงชราท่ีบาน แตขากลับหมอไดขโมยทรัพยสินมีคา
ติดมือกลับไปดวยเสมอโดยที่หญิงชราไมรู เม่ือขโมยของตาง ๆ ไปจนหมดแลวหมอก็รักษาตาของ
หญงิ ชราหายพอดี แตเมอ่ื เอยปากทวงคา รกั ษา หญงิ ชรากลบั ไมย อมจา ยให หมอจึงนําเรอ่ื งไปฟอ งศาล

“หมอทําผิดสัญญา” หญิงชราใหการตอศาลเมื่อถูกเชิญตัวมาสอบปากคํา“เพราะเมื่อกอน
ขาพเจามองเหน็ ทรพั ยสนิ ทกุ ชนิ้ ในบา น แตบดั น้ีขาพเจามองไมเ ห็นมนั เลยแมแตช ิ้นเดียว”

ดวยเหตุนี้หญิงชราจึงไดรับการตัดสินใจใหพนผิดเมื่อผูพิพากษาส่ังใหสอบสวนอยางถี่ถวน
หมอจอมขโมยไดร บั สารภาพ ยอมคนื ทรัพยส ินใหแ กห ญงิ ชรา และไดรบั การลงโทษ

เรอ่ื งนี้สอนใหรูว า ผทู ่คี ดโกงคนอ่ืน ยอมตองไดรบั ผลกรรมท่ีกระทาํ ไว

คูมอื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ติ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 97

หมาจ้ิงจอกกบั แพะ
หมาจิง้ จอกตัวหนึง่ หิวน้ํามาก มนั เดินซอกซอนหาน้ําดมื่ ไปท่ัว เมอื่ เจอบอนา้ํ บอหนึ่งจึงรบี
ตรงไปทันที โดยไมระมดั ระวงั จนลืน่ ตกลงไป ไมว า จะตะเกยี กตะกายปน ขน้ึ มาดว ยวธิ ีใดกไ็ มสาํ เร็จ
แพะตวั หน่งึ เดนิ มาทบี่ อนํ้า เห็นหมาจงิ้ จอกลอยคออยูในบอ จึงรองถามขึน้ วา “เจา ลงไป
ทําไมนะ” หมาจ้ิงจอกไดฟงดังนนั้ กค็ ิดอบุ ายข้ึน “ก็เพราะนา้ํ ในบอ นรี้ สอรอยมากนะสิ อรอยจนขาคดิ ที่
จะดม่ื ใหห มดเลย”
“อยางนนั้ เชียวร”ึ เจาแพะผโู งเขลารอ งถาม และดวยความซอื่ มันจงึ กระโดดลงไปในบอน้ัน
โดยไมยงั้ คิดอะไรเลย หมาจิง้ จอกไดโ อกาสกระโดดเหยยี บบนหลงั แพะ แลว ปนขึน้ มาจากบอนํา้ ไดใน
ท่ีสุด ปลอยใหเจาแพะโงล อยคออยูในบอนํ้านนั้
“เจา หลอกขา” แพะกลาว“เจาหวังประโยชนจ ากขาเทา นน้ั ”
“กใ็ ช” หมาจิง้ จอกโตต อบ “แตกเ็ พราะความโงของเจา เอง ขา เชอ่ื วา เคราบนคางของเจา คงมี
มากกวา มนั สมองของเจา เสียอกี
เร่อื งนี้สอนใหรูวา คนโงมักเปนเหยื่อของคนฉลาดเสมอ

98 คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสอื สามัญรนุ ใหญ เครื่องหมายลูกเสือหลวง ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 3

หนว ยที่ 7 ทกั ษะชวี ิต เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 20 เปน ลกู เสือทง้ั ตวั และหัวใจ

1. จดุ ประสงคการเรยี นรู

ลูกเสือสามัญรนุ ใหญไดแ สดงออกถึงการเปนลกู เสือรนุ พ่ที ่ี “มองไกล” และเปน ประโยชนต อ
กองลูกเสอื และชมุ ชน
2. เน้ือหา

กิจกรรมบริการทลี่ กู เสอื สามญั รุนใหญส นใจเปนพเิ ศษ
3. สือ่ การเรียนรู

3.1 แผนภมู เิ พลง
3.1 แบบรายงานผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทสี่ นใจเปน พเิ ศษ
3.3 เรือ่ งทเ่ี ปนประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 พธิ ีเปด ประชุมกอง(ชักธง สวดมนต สงบนงิ่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก ารเรยี นรู

1) ผูก าํ กบั ลกู เสืออธบิ ายใหล ูกเสือเขา ใจเกีย่ วกับกจิ กรรมทีล่ กู เสอื สนใจเปน พิเศษ และ
จะตองปฏบิ ตั พิ รอมรายงานเม่อื ครบกาํ หนดเวลา
กิจกรรมทีส่ นใจสาํ หรับลกู เสอื มีมากมายหลายประเภททล่ี ูกเสือสามารถเลอื กปฏิบัติ
ได และปฏบิ ตั อิ ยา งตอ เนอ่ื งตามความสนใจซึง่ มีอยู 3 ประเภทคอื
(1) กิจกรรมทใี่ ชกาํ ลงั กาย ไดแก กจิ กรรมกีฬาหรือกจิ กรรมผจญภัยตาง ๆ
(2) กิจกรรมท่ใี ชส ติปญ ญาหรือการใชค วามมานะอุตสาหะ เชน การเลย้ี งตนไม
การเลีย้ งสัตว ปลูกผกั ซอ มวทิ ยุ
(3) กจิ กรรมทใ่ี ชจ ติ สาํ นึก ความเสียสละ และการเผยแพรความรทู างการลูกเสือให
กวา งขวางขึน้ เชน กิจกรรมการบรกิ าร (การเกบ็ เศษวสั ดทุ ี่มีคมจากที่สาธารณะ)
การสอนลกู เสอื สาํ รอง (ทาํ แกรนดฮ าวล ระเบยี บแถว และการเลานทิ านเมาคลแี ก
ลูกเสอื สํารอง)เง่ือนไขของการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมที่ลกู เสือสนใจเปน พเิ ศษ จะตอง
บันทกึ และรายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรม

2)ลกู เสือแตล ะหมูรว มกนั คดิ สาํ รวจความสนใจเปนพเิ ศษโดยคํานึงถงึ ประโยชน
ท่ีคมุ คาและปน สิ่งบงบอกถงึ อุดมคตลิ ูกเสือแลวจงึ เลือกกิจกรรมทจี่ ะปฏบิ ตั ริ ว มกนั

3)หมูลกู เสือ/ลกู เสือแตล ะนายวางแผนการปฏิบตั กิ ิจกรรมแสดงออกถงึ การเปน ลูกเสอื
ท้งั ตัวและหวั ใจ พรอมกาํ หนดเวลาการเรมิ่ ตนและเวลาสนิ้ สุดกจิ กรรม โดยมผี กู ํากับ
ชวยใหข อเสนอแนะ และคาํ ปรกึ ษา

คูมอื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 99

4.4 ผกู ํากับลกู เสือเลา เร่ืองที่เปน ประโยชน
4.5 พธิ ีปดประชุมกอง(นัดหมาย ตรวจเครอื่ งแบบชกั ธง เลิก)

นดั หมายหมลู กู เสือทจ่ี ะชว ยบริการเปนผูชว ยผฝู กระเบยี บแถว แกรนดฮ าวล และชว ยสอน
เลานิทานเร่ืองเมาคลี แกกองลกู เสอื สํารอง

5. การประเมินผล
5.1 ลกู เสือสามัญรุน ใหญ เลอื กกจิ กรรมและปฏบิ ตั กิ ิจกรรมที่สนใจเปน พิเศษไดสาํ เร็จ
5.2 มีลูกเสือสมคั รใจฝกตนเองเปนผูฝก สอน ระเบยี บแถว และแกรนดฮาวสล กู เสอื สํารอง
5.3 มีลกู เสือสมคั รใจฝก ตนเองเปน ผชู วยสอน “เลาเรื่องนิทานเมาคล”ี ใหกับกองลกู เสือสํารอง

6.องคประกอบทักษะชวี ติ สาํ คญั ทเี่ กดิ จากกจิ กรรม
คือ ความคิดวเิ คราะห ความคดิ สรางสรรค รับผิดชอบตอ ตนเองและสวนรวม สราง

สมั พนั ธภาพและการส่อื สาร

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี20

เพลง ลกู เสอื ธีรราช

เหลาลูกเสอื ของธรี ราช ทะนงองอาจสืบชาตเิ ช้ือพงศพ นั ธ
สมัครสมานโดยมสี ามัคคีมั่น พวกเราจะรักรว มกนั จะผูกสัมพนั ธตลอดกาล
มีจรรยา รักษาชื่อ สรางเกียรติระบอื เลือ่ งลอื ตอไปชา นาน
ราเรงิ แจม ใสใฝใ จรักใหยืนนาน พวกเราลว นชนื่ บานเพราะกจิ การลูกเสอื ไทย

100 คมู อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3

แบบรายงานผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมทสี่ นใจเปน พเิ ศษ
แบบรายงานผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม

การบรกิ าร / การทํางานตามความสนใจเปน พิเศษ

ชื่อ ................................................................................................. เลขท่ี ............. หมู .................
ผลงาน .........................................................................................................................................
เริ่มปฏบิ ตั งิ าน ..............................................................................................................................
สิ้นสดุ ..........................................................................................................................................

วันที่ เดือน ป กจิ กรรมท่ปี ฏบิ ัติ หมายเหตุ

ขอรับรองวาเปนความจรงิ ทุกประการ
ลงช่อื ...................................................
ผูปฏิบัติงาน
................./............/.............

ความเห็นของผกู าํ กับลกู เสือ
.............................................................................
..............................................................................

ลงชื่อ .................................................ผูกํากับลกู เสือ
(..........................................)
…………../………./…………

คูม ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 3 101

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญ เคร่อื งหมายลกู เสอื หลวง ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3

หนว ยท่ี 7 ทักษะชวี ิต เวลา 2 ช่ัวโมง
แผนการจดั กิจกรรมท่ี 21 รูเ ทาทันสอ่ื โฆษณา

1. จดุ ประสงคการเรยี นรู

รูเทาทันสือ่ โฆษณา ในเรอื่ งท่เี กีย่ วกบั ความสวย ความงาม และสขุ ภาพ
2. เน้ือหา

วัยรุน สว นใหญม ักนิยมใชผลติ ภณั ฑเสรมิ สุขภาพและความสวยงาม จงึ ควรรูเทา ทนั และพิจารณา
อยา งถองแทวา ผลิตภณั ฑทเี่ ลอื กใชน น้ั มคี ณุ คา สมราคา จริงหรอื ไม และไมเ กดิ ผลเสยี ใด ๆ ตามมา

(เตรียมการสอน ผกู ํากบั มอบหมายงานใหล กู เสือแตล ะหมู ทําการศกึ ษาโฆษณาทาง
โทรทัศน และเคเบล้ิ ทวี ี หมูละ 1 เรอ่ื งทเ่ี ปนผลิตภณั ฑเ กีย่ วกับความสวยความงามและสขุ ภาพ)
3. ส่อื การเรียนรู

3.1 แผนภูมิเพลง,เกม
3.2 เรอ่ื งทเ่ี ปน ประโยชน
4. กจิ กรรม

4.1 กิจกรรมครงั้ ท่ี 1

1) พิธีเปดประชุมกอง(ชกั ธง สวดมนต สงบน่งิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจุดประสงคการเรยี นรู

(1) ผกู าํ กบั ลกู เสอื ถามแตละหมวู าไดเลือกโฆษณาผลติ ภณั ฑอะไรมาบาง
(2) ใหแตละหมซู อมการแสดงละครสัน้ เลยี นแบบโฆษณาน้ัน และให สมาชิกในหมู

รวมกันวิเคราะหว า
- โฆษณาน้ัน ตอ งการบอกอะไรแกเ รา
- โฆษณานั้น มีวิธกี ารใหข อ มูลและใชเ ทคนิคเขาชว ยอยา งไรบาง
- พยายามหาขอโตแ ยงวา ส่งิ ทสี่ อ่ื บอกเรานนั้ มีความเปน ไปไดแ คไหน เพราะอะไร
(3) ผกู าํ กับลกู เสือนัดหมายใหห มลู ูกเสอื ทําการแสดงละครสัน้ และรายงานผล
การอภิปรายในคร้งั ตอ ไป
4) ผูกํากับลกู เสอื เลาเร่อื งทเ่ี ปนประโยชน
5) พิธปี ดประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเครือ่ งแบบชกั ธง เลกิ )

4.2 กจิ กรรมครง้ั ท่ี 2

1) พิธเี ปด ประชุมกอง(ชักธง สวดมนต สงบนงิ่ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม

102 คมู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3

3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคก ารเรยี นรู
(1) ลูกเสอื เลน ละครสน้ั และรายงานผลการอภิปรายทลี ะหมจู นครบ
(2) ผูก ํากบั ลกู เสือนําอภปิ รายและเพิม่ เตมิ ในประเดน็ ขอ คิดท่ไี ดจากการทํากิจกรรม
และแนวทางการรูทนั ส่ือ(1. ส่อื ทุกชนิด เชน โทรทัศน วิทยุหนังสอื พิมพ นิตยสาร
ฯลฯ เปนธรุ กจิ ทลี่ งทนุ สงู มรี ายไดจากการโฆษณา2. โฆษณาเปน ส่งิ ทท่ี าํ ข้ึน
เพื่อกระตนุ ใหค นซ้ือสินคามากๆ 3. กระบวนการผลติ โฆษณา มักใหแ ตข อ มลู
ดานดี หรือเนน ภาพลกั ษณแ ตไมใ หข อ มลู ใชเทคโนโลยีชว ยทาํ ใหดเู สมอื นจริง
แตไ มจรงิ จึงมีผลตอ พฤตกิ รรมของผูซื้ออยางมาก 4. การรทู ันส่ือก็คือการรูทันสิ่ง
ท่สี ่ือนาํ เสนอ ดังน้นั ลกู เสือควรฝกฝนการ วิพากษ วิจารณ และคดิ เชงิ วิเคราะห
หาเหตผุ ล ตงั้ ขอ สงสยั รวมทงั้ เปน ผบู ริโภคท่กี ระตือรอื รน แสวงหาขอ มลู
เพม่ิ เตมิ อยเู สมอ )

4) ผูกํากับลกู เสือเลาเรอ่ื งท่มี ีประโยชน
5) พธิ ปี ด ประชุมกอง(นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธง เลิก)

5. การประเมินผล
สงั เกต การมสี ว นรว มในการทํากจิ กรรม การแสดงออก และการใหข อ คดิ เหน็ ในหมูและ

ในกองลูกเสือ

6. องคประกอบทกั ษะชวี ติ สาํ คัญทเ่ี กดิ จากกจิ กรรม
คือ ความคิดวเิ คราะห ความคดิ สรางสรรค ตระหนักและรูเทา ทันอิทธพิ ลของสื่อโฆษณา

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 21
เพลง

โฮกก้ี โพกก้ี

ย่ืนแขนขา งซา ยเขาไป ยน่ื แขนขางซา ยออกมา

ยนื่ แขนขา งซา ยเขาไป แลว ก็สั่นใหม ันแรง ๆ

เราเตน โฮกกีโ้ พกกี้ แลวเรากห็ มนุ ตัวไปรอบ ๆ ทาํ ใหเ ราสบายใจ

ย่ืนแขนขางซา ยเขาไป ยื่นแขนขา งซา ยออกมา

ยืน่ แขนขางซา ยเขา ไป แลวก็ส่นั ใหมนั แรง ๆ

เราเตนโฮกก้โี พกกี้ แลว เรากห็ มนุ ตัวไปรอบ ๆ ทําใหเราสบายใจ

คมู อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ิต ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 103

เกม

เจาแหงสงั เวยี น
วิธเี ลน
1. ขีดวงกลมใหญ 1 วง สาํ หรบั ลกู เสอื จํานวน 2 หมู
2. ใหลกู เสือ 2 หมู เขา ไปอยใู นวงกลม จบั คกู ัน ยกเทา หน่งึ งอไวข า งหลงั สองมอื จบั เทาท่ีงอไว
3. เม่ือไดยินสัญญาณ ใหต อ สูกันโดยกระโดดชนดว ยบา จนคตู อสอู อกไปนอกวงหรือเทา ถูกพื้น
4. หมใู ดเหลือคนอยใู นวงกลมมาก เปนฝา ยชนะ

เรอ่ื งท่ีเปนประโยชน

ทม่ี าของสํานวนไทย “หมาเหา ใบตองแหง ”

หมาเหาใบตองแหง เปน สํานวน มีความหมายวา พดู เอะอะแสดงวาจาวาเปนคนเกง กลาไม
กลวั ใคร แตจ ริง ๆ แลว ขข้ี ลาดและไมกลา จรงิ

หมาเหาใบตองแหง เปนสาํ นวนท่เี ปรยี บเทยี บกับสนุ ขั ทช่ี อบเหาใบตองแหงคือเหาใบกลว ยท่ี
แหงติดอยูกับตน เวลาลมพดั ใบกลว ยแหง จะแกวงหรอื เสียดสีกัน มีเสยี งแกรกกรากสนุ ัขเหน็ อะไรไหว
ๆ หรือไดยนิ เสียงแกรกกรากก็จะเหา ข้นึ แตก เ็ หาไปอยางน้นั เอง ไมก ลา ไปกดั ใบตองแหง กริ ยิ า
ของสนุ ัขนจี้ ึงนํามาเปรียบกบั คนทชี่ อบพดู จาเอะอะในลักษณะทอ่ี วดตัววาเกงกลา แตท ีจ่ รงิ แลว ก็
ไมไดก ลาสมกบั คาํ พดู เชน พวกน้หี มาเหาใบตองแหงทง้ั นนั้ ไดแตตะโกนดาเขาลับหลังถาเขาเอาจริง
ก็ข้ีครา นจะว่ิงหนไี มท ัน

ที่มา เรือ่ งดี ๆ มีไวแบง ปน http://pbmath.exteen.com/20090325/entry-3
เร่อื งนส้ี อนใหรูวา เราไมค วรทาํ ตัวเปน หมาเหา ใบตองแหง ควรเปน ผทู ่มี คี วามกลา หาญอยา งมี

เหตผุ ล

104 คูมอื การจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 3

ชอนยาวหนง่ึ เมตร
ชายคนหน่ึงนอนหลับอยทู บ่ี านในคนื วันหน่ึง มนี างฟามาหาเขาแลว ชวนใหไ ปเทย่ี วสวรรค
กับนรกเขาไดก ็ตกลงไปดว ยนางฟา จึงพาไปยงั ที่แหง หนึง่ แลว บอกวา"ถงึ นรกแลว "
ท่ีนั้นเปนหองใหญม าก มโี ตะตวั ยาววางอาหารทสี่ ุดแสนอรอยทุกประเภทมีคนตวั ผอมเหลอื ง
นา สงสารน่ังอยรู อบโตะ หลายคนนางฟาชไ้ี ปท่คี นเหลา นน้ั แลว บอกวา "น่ีสตั วน รกที่นอ่ี นญุ าตใหกนิ
อาหารดี ๆแตม เี ง่อื นไขวา หา มใชมือหยบิ ตองใชช อนที่ยาวหนงึ่ เมตรตักอาการกนิ เทา นนั้
จงึ ผอมโซเพราะอดอาหารทั้งท่อี ยใู กลช ิดอาหารที่อรอ ยและมคี ณุ คา แตไมส ามารถเอาอาหารเขา ปาก
ของตนเองได”
นางฟาพาไปอีกหองหนง่ึ บอกวา "ถงึ สวรรคแ ลว"มีลักษณะเหมอื นกบั หองแรก นางฟา ช้มี อื ไป
ยังคนที่นั่งเกา อ้ีรอบโตะบอกวา" นเี่ ทวดาบนสวรรค" แตแ ปลกท่คี นเหลา นนั้ ย้มิ แยมแจม ใสอว นทว น
สมบรู ณส บายทงั้ ๆที่เขากต็ อ งใชชอ นยาวหน่งึ เมตรเหมือนกับทีน่ รก นางฟา อธิบายตอวา
“วิธขี องชาวสวรรคคือคนขา งหนึง่ ของโตะเขาตกั อาหารปอนใสป ากของคนตรงขา มคนอีกขา งกต็ กั
อาหารมาใสป ากของคนขา งนก้ี ็เลยไดกนิ กันทกุ คนอยอู ยางสุขสบาย”

ท่ีมา ธรรมะดลิ ิเวอรร ่ี
เร่ืองนีส้ อนใหร ูวา คนท่คี ดิ แตเ รอ่ื งความสุขของตวั เองโดยไมค ดิ ถงึ คนอน่ื จะไมมีความสุขเทาคนที่

รจู ักแบงปนชว ยเหลอื และคาํ นงึ ถึงความสขุ ของคนอ่นื ดว ยอยา ถามวาจะไดอะไร
จากสังคมแตจงถามตวั เองวาจะใหอะไรกับสงั คม

คมู อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 105

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื สามญั รนุ ใหญ เครื่องหมายลูกเสอื หลวง ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 3

หนว ยที่ 7 ทักษะชวี ิต เวลา 1 ชวั่ โมง
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 22 ลวนลามทางเพศ

1. จดุ ประสงคการเรียนรู

มีแนวทางปอ งกัน และชว ยเหลอื ผถู กู ลวนลามทางเพศ
2. เน้อื หา

การปอ งกนั และชว ยเหลือผถู ูกลวนลามทางเพศ
3. สอื่ การเรียนรู

3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 กรณีศกึ ษา
3.3 เร่ืองทีเ่ ปนประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 พธิ ีเปด (ชักธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กิจกรรมตามจดุ ประสงคก ารเรียนรู

1) ผกู ํากับลกู เสอื ตง้ั คําถามในกองลูกเสอื “ มีสถานการณใดบางท่ีมกี ารลวนลามทาง
เพศตอเดก็ ผหู ญิงเกดิ ขน้ึ ”(เชน บนรถเมล เดินเขา ซอยเปลยี่ ว อยูคนเดยี วในบาน ฯลฯ)

2) ผูกํากับลกู เสอื เลา กรณศี ึกษาการถกู ลวนลามทางเพศของเด็กหญงิ (กรณีศึกษา)
3) หมูลูกเสอื รว มกนั อภิปรายหาแนวทางปอ งกันการถูกลวนลามทางเพศในเด็กผหู ญงิ

และแสดงบทบาทสมมตุ ิกรณพี บเห็นเดก็ ผูหญงิ ถกู ลวนลามทางเพศ ในฐานะลกู เสอื
สามญั รุนใหญ คดิ วา จะตัดสนิ ใจชว ยเหลอื อยา งไร
4) รวมกอง ลูกเสอื นาํ เสนอบทบาทสมมตุ ทิ ลี ะหมู
5) ผกู าํ กับลูกเสอื และลูกเสอื รว มกนั สรุปวธิ ีการชว ยเหลอื ท่เี หมาะสม แนวทาง
การปองกนั การถกู ลวนลามทางเพศ และสรปุ ขอคิดทไ่ี ดจากกจิ กรรม
4.4 ผกู ํากับลกู เสอื เลา เร่ืองท่มี ปี ระโยชน
4.5 พธิ ีปดประชุมกอง(นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธง เลกิ )
5. การประเมนิ ผล

สังเกต การมสี ว นรว มในการทาํ กิจกรรม การแสดงออก และการใหค วามคดิ เห็นในหมแู ละใน
กองลูกเสอื
6. องคป ระกอบทกั ษะชวี ติ สาํ คัญทเ่ี กดิ จากกจิ กรรม

คอื ความคิดวเิ คราะห ความคิดสรา งสรรค การตัดสินใจและการแกไ ขปญ หา

106 คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 3

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 22
เพลง

สวรรคบนั ดาล
สวรรคบ นั ดาลดลใหเรามา ใหเราสองมาพบกนั วนั ใหม
อบรมวนั นดี้ อี กดีใจ เริงรน่ื กันไปไมรูโรยรา จะอยแู หง ไหนเตอื นใจเตอื นตา
จะอยเู มอื งฟา เตอื นตา เตือนใจ สวรรคบ นั ดาล

กรณีศกึ ษา

สมชายเปนลกู เสือสามญั รนุ ใหญ ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 3 ของโรงเรียนแหงหน่งึ ทุกวันเขาตอง
พยายามเบียดข้นึ รถเมลทแี่ นน มากไปโรงเรยี น วันนี้ขณะยนื อยบู นรถ เขามองเห็นชายคนหนง่ึ กาํ ลงั
เอาอวัยวะเพศถูไถรางกายเด็กนกั เรียนหญงิ ทยี่ นื อยตู ดิ กบั เขาสมชายคดิ วา เขาจะชวยนักเรยี นหญิง
คนนอ้ี ยางไรด.ี ......

เร่อื งทเ่ี ปนประโยชน

กบกับกระตา ย

กระตายปาฝูงหน่ึง ไมพอใจกับสภาพชีวิตท่ีตองเผชิญอยูดวยความหวาดหวัดจากอันตราย
ตาง ๆ มาตลอด เจากระตายปาตัวหน่ึงจึงเอยข้ึน “ไมวาจะเปนมนุษย หมาปา นกอินทรีย และ
สัตวทั้งปวงท่ีชอบไลล า พวกเราเปนอาหาร ขาจึงมีความเห็นวา พวกเราท้ังหมดควรตายเสียดีกวาที่
จะมีชีวิตอยดู วยความหวาดกลวั กบั ภัยทจ่ี ะมาถึงไมชาก็เร็ว”

กระตายปาท้ังฝูงจึงตัดสินใจที่จะกระโดดน้ําตายไปพรอม ๆ กัน พวกมันว่ิงกรูไปท่ีริมธาร
ซงึ่ มีกบอาศัยอยู เมอื่ ฝงู กบเห็นกระตา ยปา แหม ากนั มากมาย ก็เกดิ ความกลัวจึงกระโดดหนีไปในน้ํา
จนหมด

“ชากอน” กระตายตัวหนึ่งพูดขึ้น “ขา คิดวา พวกเราควรจะมีความอดทนใหมากกวา น้ี ชีวติ
ก็ไมไ ดเ ลวรา ยอยางท่คี ดิ กนั หรอก ดพู วกกบตวั กระจอ ยรอ ยเหลานั้นสิ พวกมนั ไมไดม ีชวี ิตทเ่ี ต็มไป
ดว ยอนั ตรายมากไปกวา พวกเราหรอกหรอื ”

เรอ่ื งน้ีสอนใหร ูวา ในโลกน้ีอาจยงั มผี ูอ่นื ทมี่ คี วามทกุ ขร อนกวาเราอยูมากมายนัก เราควรจะยนื
หยัดตอสกู ับชวี ติ อยา ไดท อ เปน อนั ขาด

คมู ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 107

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รนุ ใหญ เครือ่ งหมายลูกเสอื หลวง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 3

หนวยที่ 7 ทักษะชวี ติ

แผนการจัดกจิ กรรมที่ 23 การชวยเหลือผอู ื่น เวลา 1 ชว่ั โมง

1. จุดประสงคก ารเรียนรู

ลกู เสือไดปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเสริมสรา งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามคําปฏิญาณตน “ขา จะชว ยเหลอื
ผอู น่ื ทุกเม่อื ”
2. เนอ้ื หา

กจิ กรรมเสริมสรางคณุ ธรรมจริยธรรมตามคาํ ปฏิญาณตน “ขา จะชว ยเหลอื ผอู น่ื ทุกเม่อื ”
3. สื่อการเรียนรู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 สอ่ื เกี่ยวกบั ผูประสบภยั จากเหตกุ ารณส ําคญั (เรอ่ื งทีเ่ พิ่งเกิด เปนที่รับรูก นั ทว่ั ไป)
3.3 เรอ่ื งทเ่ี ปนประโยชน
4. กจิ กรรม

4.1 พิธเี ปด ประชุมกอง(ชักธง สวดมนต สงบนิง่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรือเกม
4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงคการเรยี นรู

1) ผกู าํ กับลูกเสอื ใหก องลกู เสือดูสื่อประกอบการเลา เรื่อง ผปู ระสบภยั จากเหตกุ ารณ.
อบุ ตั ภิ ัยสําคญั ทีเ่ พ่งิ เกิดขนึ้ และเปนท่รี บั รูกันทัว่ ไป เชน อุทกภยั ในภาคใต
แผน ดนิ ไหวในญ่ีปนุ และจนี ภยั หนาวและ ภัยแลงในภาคอีสาน เปนตน

2)ลกู เสอื รวมกนั แสดงความเหน็ ในเรื่องผลกระทบจากอุบัติภยั และปญหาทเี่ กดิ ข้ึนกบั
ผปู ระสบภัยเชน ความอดอยาก การขาดแคลนอาหาร ทอ่ี ยอู าศยั การเสียชวี ติ
โรคระบาดฯลฯ

3) ลกู เสือวางแผนรว มกัน ในการจดั ทําโครงการสรา งคณุ ธรรมจริยธรรมตาม
คําปฏญิ าณตนขอ 2“ขา จะชว ยเหลือผอู น่ื ทกุ เมอื่ ” และแบงงานกนั รับผดิ ชอบ

4)ลกู เสือดาํ เนนิ การตามโครงการ เชน การขอรับบริจาคเงนิ สิง่ ของ เพอื่ มอบใหกบั
ผูท ่ีประสบภยั การออกไปชว ยเหลือผขู าดแคลน ตามโอกาสอนั ควร เปนตน

5)ผกู าํ กบั ใหค ําแนะนําในการวางแผนโครงการเพ่อื ใหลูกเสอื ไดน าํ ไปดําเนนิ การอยา ง
รอบคอบ

4.4ผกู ํากบั ลูกเสือเลา เรอื่ งทเี่ ปนประโยชน
4.5พธิ ปี ดประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธง เลิก)

5. การประเมนิ ผล
สงั เกต การมสี ว นรว มในการทํากจิ กรรม และการแสดงความคดิ เหน็ ในกลุม

108 คูม อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ิต ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 3

6. องคป ระกอบทักษะชีวติ สําคัญทเี่ กดิ จากกิจกรรม
คือ ความคิดวเิ คราะห ความคิดสรา งสรรค ความรบั ผิดชอบตอตนเองและสงั คม

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 23

เพลง

เกดิ มาพงึ่ กัน

เกดิ เปนคนอยาเห็นแกต นแหละดี ถึงจะมี รํา่ รวยสุขสนั ต
จนหรอื มไี มเ ปน ท่สี ําคญั แมรกั กนั พ่งึ พาอยา ไปตัดไมตรี
เกดิ มาพงึ่ กันผิวพรรณ ใชแบงศกั ด์ิศรี วนั นเ้ี ราอยู คดิ ดใู หด ี
ถงึ จะจนจะมอี ยา ไปสรา งเวรกรรม ขืนทําชว่ั ไปอาจตอ งใชก รรมเวร
อยางมงายโลภหลงเพราะคงจะเกิดลาํ เคญ็ สรางบุญพระทา นคงเหน็
รมเยน็ พนความกงั วล ถงึ วิบตั ขิ ัดสน ผลบญุ นําให
ศีลธรรมมัน่ ใจไมต อ งไปกังวล ถึงจะมจี ะจนเกดิ กุศลดลใจ
อกี กุญชรอนั ปลดปลง
พฤษภเกสร สําคัญหมายในกายมี
โททนตเ สนค ง มลายสิน้ ทัง้ อินทรยี 
นรชาติวางวาย ประดับไวใ นโลกา
สถติ ทวั่ แตชว่ั ดี

คูมอื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวิต ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 3 109

เร่อื งท่ีเปนประโยชน

เทพธิดากบั ชาวประมง

หนุมชาวประมงคนหนึ่ง อาศัยอยูกับแมของเขา ท้ังสองคนแมลูกประพฤติตนเปนคนดี มีใจ
เมตตาปราณตี อ เพื่อนบานและคนท่วั ไปตลอดมา

วันหน่ึง หนุมชาวประมงผูนี้ออกไปทอดแหหาปลา แตวันน้ันไมไดปลาสักตัว กอนจะกลับ
บาน พบวามีหอยตัวหน่ึงมาติดแห เขาก็เลยนําหอยตัวนั้นใสเรือเอากลับบานดวย ในขณะท่ีเดินทาง
กลับบานนั้น หอยตัวน้ีมีขนาดใหญขึ้นทุกที ในท่ีสุดก็มีหญิงสาวสวยคนนึงออกมาจากหอย ชายหนุม
ก็พาหญิงสาวกลับบานแลวเลาเร่ืองนี้ใหแมฟง แมของเขาก็ยินดีใหหญิงสาวสวยผูนี้อาศัยอยูในบาน

มชี าวบานมากมายขอดูหญิงสาวสวยพรอมทั้งมอบเสนไหมอยางดีให หญิงสาวก็เอาเสนไหม
น้ันมาทอเปนผาไหมสวยงามมาก แลวจึงใหชายหนุมนําไปขาย แตเน่ืองจากราคาแพงมาก จึงไมมี
ใครซอ้ื ตอมาไดพ บชายชราคนหน่งึ มลี ักษณะเปนผดู ี ไดรับซื้อไหมนีไ้ วโดยไมเ กีย่ งเร่อื งราคา

เมื่อชายหนุมกลับถึงบานพรอมดวยเงินท่ีขายผาไหมได หญิงสาวก็มอบเงินท้ังหมดใหชาย
หนมุ และแมของเขาไวใ ชจ าย กอนทีห่ ญงิ สาวจะจากไปก็กลาวกบั สองคนแมลกู วา

“เทพเจาไดส่ังใหขามาเพ่ือนําความสุขและโชคลาภมาใหทานทั้งสอง เพราะทานทั้งสองเปน
คนดี มีใจโอบออมอารีเสมอมา”

เรอ่ื งน้ีสอนใหร ูว า คนดีนั้น แมจ ะไดรับความยากลําบาก ก็มักจะมคี นคอยชวยเหลือ

110 คูมือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รนุ ใหญ เคร่ืองหมายลกู เสอื หลวง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3

หนวยที่ 8 เศรษฐกจิ พอเพียง เวลา 1 ชว่ั โมง
แผนการจดั กิจกรรมที่ 24 การประหยดั

1. จุดประสงคก ารเรียนรู

ลกู เสือไดม ีโอกาสทบทวนตนเองในเร่ืองการใชเงนิ ซงึ่ นาํ ไปสกู ารวเิ คราะหและปรบั ปรงุ ตนเอง
2. เนอื้ หา

การวางแผนสรางความประหยดั
3. สอ่ื การเรียนรู

3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 ใบงาน
3.3 เรือ่ งที่เปน ประโยชน
4. กจิ กรรม

4.1 พธิ เี ปด ประชมุ กอง(ชกั ธง สวดมนต สงบน่ิง ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงคก ารเรียนรู

1) หมลู ูกเสอื นงั่ ลอมวง นายหมใู หแ ตล ะคนคิดสิ่งท่ีตนเองอยากได 3 อยาง พรอ ม
เหตุผลแลวเลา ใหเ พื่อน ๆในหมฟู ง เมือ่ เลาจบนายหมขู อใหเลอื กส่ิงทอี่ ยากไดมาก
ทีส่ ดุ เพยี งคนละ 1 อยาง พรอ มเหตผุ ล

2) นายหมูใหส มาชกิ ทุกคน แปลงสิ่งท่อี ยากไดเ ปน จาํ นวนเงนิ เพ่ือใชซ้อื ของสง่ิ นนั้
เขียนลงในใบงาน

3) ลกู เสอื ทบทวนการใชเ งินของตนเองในแตละวัน ตามตารางที่ 1 ในใบงาน
4) ลกู เสือตง้ั เปา หมายการใชเงนิ ใหมต ามตารางท่ี 2 ในใบงาน วาจะลดคา ใชจา ย

ตรงไหนไดบ างโดยกาํ หนดระยะเวลาตามความเหมาะสมเพอ่ื ใหม ีเงนิ เหลือพอท่จี ะ
ซ้อื ของทต่ี อ งการ
5) ลูกเสอื ผลดั กนั เลาใหเพ่อื นฟง ถึงผลการทบทวนรายจา ยเดมิ และการปรบั ตาราง
การใชเ งนิ ใหมโ ดยจะลดรายจา ยในเรือ่ งใดบาง ใชเ วลานานเทา ใดจึงจะมเี งนิ พอท่ี
จะนําไปซอื้ ของทตี่ องการ
6)รวมกอง ผกู ํากับนาํ อภิปราย และสรปุ ในประเด็นตอ ไปนี้
(1) อะไรบางทแ่ี ตละหมคู ดิ วา ประหยดั ไดม ากท่ีสดุ
(2) สรปุ ขอคดิ ทไ่ี ดจากการทํากิจกรรม และการนําไปใชในชวี ติ ประจําวัน
4.4 ผูกํากับเลา เร่ืองทีเ่ ปนประโยชน
4.5 พิธีปด ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธง เลกิ )

คูม ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทักษะชีวิต ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 3 111

5. การประเมินผล

สงั เกต การมีสว นรว มทํากจิ กรรม การแสดงออก และการแสดงความคิดเห็นในกลมุ รวมทัง้
พฤติกรรมการใชเงนิ ที่เปลยี่ นไป

6. องคป ระกอบทกั ษะชวี ติ สาํ คญั ทเี่ กดิ จากกิจกรรม

คอื ความคิดวเิ คาะห ความคดิ สรา งสรรค ความตระหนกั รใู นเร่ืองรายจายที่ไมจําเปน และ
เหน็ ความสาํ คญั ของการประหยดั

เพลง ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 24
ใบงาน
ลูกเสือจับมอื
จบั มือกันไวใหมนั่ คง เพือ่ ความยนื ยงสามัคคี
รกั กันปรองดองเหมือนนอ งพ่ี ผกู ความสามคั ครี ว มกัน
โกรธกันมนั รายเปนสงิ่ เลว เปรียบดังเปนเปลวรอ นไฟนั่น
เผาใจใหมีความไหวหวน่ั จับมอื ยม้ิ ใหกนั เปน สิ่งดี

ส่งิ ที่ฉันอยากไดมากทสี่ ดุ ...................................................................... ราคา.....................บาท

ตารางท่ี 1

รายจา ยใน 1 วนั จาํ นวนเงนิ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

112 คูมือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3

ตารางท่ี 2 จํานวนเงนิ
รายจายทปี่ รบั ใหมใ น 1 วัน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ฉันจะประหยดั เงินไดว ันละ .............. บาท
ใชเ วลา.................. วัน ฉนั จะซอ้ื ของทฉ่ี นั ตอ งการได

เรอ่ื งที่เปนประโยชน

ขอคดิ จากหญิงชรา........ความจริงท่อี ยูใกลๆ ตวั

กลางดึกคืนวนั หนง่ึ หญิงชราคนหน่ึงกาํ ลังคลาํ หาอะไรอยูสักอยางบรเิ วณรอบๆเสาไฟฟา ขางถนน
หนุม สาวกลุมหน่ึงเดนิ ผา นมาจงึ ถามขึ้นวา "ยาย..กาํ ลงั หาอะไรอยูเหรอ ใหพ วกเราชวยไหม?"หญิง
ชราตอบวา "ยายกาํ ลงั หาเหรยี ญ 10 บาท ยายทาํ ตกหายไป ชว ยยายหาหนอ ยซ"ิ หนุมสาวกลมุ น้นั จึง
ชว ยกันหาจนทัว่ แตก็หาไมเ จอ พวกเขาจงึ ถามอีกวา “ยาย...ยายทาํ เหรียญตกตรงไหนเหรอ"

ยายจงึ ตอบวา "ยายเปลยี่ นเส้อื ผาอยใู นหอ ง อยู ๆ เหรียญมันกห็ ลน ออกไปจากกระเปา ของ
ยาย แตใ นหอ งยายมันมืด มองไมค อ ยเห็น ก็เลยออกมาหาตรงน้แี ทนเพราะมันสวา งดี " .

หนมุ สาวกลมุ น้ัน “.....?????” พากนั หัวเราะแลว เดินหนีไป

เรื่องน้ีสอนใหรูวา เม่อื ของหายกต็ องหาในท่ๆี เราทาํ หาย เชนเดยี วกันเม่อื ความสุขหายไป เราก็
ตอ งหาในจดุ ท่ีเราไดสญู เสยี ความสุขไป ความสขุ มักสญู หายไปตรงไหน? ...
คาํ ตอบก็คอื ทําหายไปจากใจของเรา ดังนนั้ เราจงึ ควรหาความสขุ ใหเ จอจากใจ
ของเรานัน่ เอง

คมู ือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 3 113

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รนุ ใหญ เคร่ืองหมายลกู เสือหลวง ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 3

หนว ยที่ 8 เศรษฐกจิ พอเพยี ง เวลา 2 ชว่ั โมง
แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 25 การจดั การกับเวลา

1. จุดประสงคก ารเรยี นรู

มีโอกาสทบทวนและปรับปรุงการใชเวลาของตนเองในแตละวันใหเกดิ ประโยชนส ูงสดุ
2. เน้อื หา

การวิเคราะหก จิ กรรมทีป่ ฏบิ ัตใิ นแตล ะวนั กับการใชเ วลาใน 24 ชวั่ โมงใหเ กดิ ประโยชนสูงสดุ
3. ส่อื การเรียนรู

3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 ใบงาน
3.3 ใบความรู
3.4 เร่ืองที่เปนประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 กิจกรรมครัง้ ที่ 1

1) พิธเี ปดประชมุ กอง(ชกั ธง สวดมนต สงบน่งิ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจุดประสงคการเรยี นรู

(1) ผูกํากับลกู เสอื นาํ สนทนาถงึ ความสาํ คัญของการใชเ วลาในแตล ะวัน และ
การจดั การเวลาท่ดี ี (เปน การใชเ วลากบั เรื่องท่ีมคี วามสาํ คญั มคี ุณคาและนําไปสู
จุดหมายสาํ คญั ของชีวติ ) ซึ่งคนสวนมากมกั ไมมกี ารทบทวนตนเองวา ให
ความสาํ คญั กบั เรื่องใดบาง จงึ ใชเ วลาหมดไปกับเรื่องทไ่ี มสําคญั เมอ่ื แยกแยะ
ดจู ะพบวา ในแตล ะวันคนเรามเี รือ่ งทจ่ี ะตอ งทําอยู 4 ประเภท
- เรือ่ งสาํ คญั และเรงดว น
-เรอื่ งสาํ คญั แตไมเ รงดว น
- เรือ่ งไมส ําคัญแตเ รงดวน
-เร่ืองไมส ําคญั และไมเรง ดว น

(2) หมลู ูกเสอื นัง่ ลอมวง แจกใบงาน ใหแตล ะคนทบทวนกิจกรรมตาง ๆ ทตี่ นเองทาํ
ตลอดวนั ในชว ง 1 สปั ดาหท่ผี า นมา เขยี นกิจกรรมของตนเองที่ทําตลอด 24
ชวั่ โมงยกเวนในเวลาเรียนลงตารางที่ 1 พรอ มทั้งลงเวลาเฉลยี่ ของแตล ะกจิ กรรม

(3) แยกประเภทของแตละกิจกรรมเขียนลงในตารางที่ 2 (ตาราง 4 ชอ ง) พรอ มลง
เวลาท่ีใชใ นแตล ะกิจกรรม
(4) ลกู เสอื แตล ะคนวเิ คราะหการใชเวลาของตนเอง และเลาใหเ พ่อื นในหมฟู ง
(5) รวมกอง ผูกาํ กับนําอภิปรายสรุปขอ คดิ ที่ได

114 คูมือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3

4) ผูกาํ กับลกู เสอื เลา เรอ่ื งท่เี ปนประโยชน
5) พธิ ปี ด ประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชกั ธง เลกิ )

4.2 กิจกรรมครัง้ ที่ 2
1) พธิ เี ปดประชุมกอง(ชกั ธง สวดมนต สงบนิง่ ตรวจ แยก)
2) เพลง หรือเกม
3) กิจกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู
(1) หมูลูกเสอื น่งั ลอ มวง แจกใบงาน ใหล กู เสอื แตค นคดิ วา สงิ่ สาํ คญั ทีค่ วรทาํ แตย ัง
ไมไดท าํ ทง้ั เรง ดว นและไมเ รงดวน มีอะไรอีกบาง เขยี นลงตารางท่ี 3
(2) นาํ สิง่ ทต่ี อ งการทําเพ่มิ (ตารางที่ 3) มาพจิ ารณารวมกับตารางท่ี 2 เดมิ ทเี่ ขยี นไว
และวางแผนจดั การเวลาใหมว าควรตัดกจิ กรรมใดออกและลดเวลากจิ กรรม
ใดบาง เขียนลงในตารางที่ 4
(3) ลกู เสอื แตล ะคนนําตารางที่ 4 มาเลา ใหเพอ่ื นในหมฟู งวา ตนเองไดวางแผน
จดั การเวลาอยางไร พรอมบอกเหตุผล
(4) รวมหมู ผูกํากบั นาํ อภปิ รายสรปุ ขอ คดิ ที่ไดจ ากกจิ กรรมทง้ั 2 คร้ัง
(5) ลกู เสือกําหนดเปน พันธสญั ญา ท่ีจะปรับปรุงและพฒั นาตนเองตามคําขวญั ของ
ลูกเสอื “เสียชีพอยาเสียสตั ย” กฎลูกเสอื “ลกู เสอื มเี กียรติเชื่อถือได” และ
คติพจน “มองไกล”
4) ผูกํากับลกู เสือเลา เรือ่ งทเี่ ปน ประโยชน
5) พิธีปดประชมุ กอง(นัดหมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชักธง เลิก)

5. การประเมนิ ผล
สงั เกต การมสี วนรว มในการทํากจิ กรรม การแสดงความคิดเห็น และการวางแผนใชเ วลาใน

ชีวติ ประจําวนั ไดอ ยา งคมุ คา

6.องคประกอบทักษะชวี ติ สาํ คญั ทเ่ี กดิ จากกจิ กรรม
คอื ความคดิ วเิ คราะห ความคิดสรา งสรรค ตระหนักถึงความสาํ คัญของการใชเ วลาใหเ กิด

ประโยชนส งู สดุ

คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ิต ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 3 115

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 25

เพลง

นกพริ าบ

พลับพรึบพลบั พรึบพลบั ขยบั บิน (ซา้ํ )
ฝงู นกพริ าบ ดําและเทานารกั จริงนา
บินวนเวยี นอยบู นหลงั คา บนิ ไปเกาะตามก่งิ พฤกษา
ไซปก หางกันอยไู ปมา พอแสงแดดจาพากนั คนื รัง

เวลานาที

วันเวลานาทมี รี าคา มากยิ่งกวาสง่ิ ใดใด
หากวาใครไมเ สียดายเวลา ปลอ ยเวลาลว งเลยไป
วนั เวลาเรยี กคนื มาไมได เวลาส้นิ ไปขอใครกัน

116 คมู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวิต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3

ใบงาน

ใหล กู เสอื แตล ะคน เขียนกจิ กรรมของตนเองทที่ ําตลอด 24 ชวั่ โมง ยกเวน ในเวลาเรียน
พรอ มทง้ั ลงเวลาเฉลย่ี ของแตล ะกิจกรรมเขยี นลงตารางท่ี 1

ตารางที่ 1

ชว งเวลา กิจกรรม เวลาทใี่ ช (นาที)

คมู ือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 117

ตารางท่ี 2
นํากิจกรรมในตารางที่ 1 มาพจิ ารณาแยกประเภทจัดเขาในตาราง 4 ชอ ง

เรื่องสาํ คญั และเรง ดว น ใชเ วลา เรอ่ื งสําคญั แตไ มเ รงดว น ใชเ วลา
(นาที) (นาท)ี

เรอ่ื งไมส าํ คญั แตเ รง ดวน ใชเ วลา เร่อื งไมสาํ คญั และไมเ รง ดวน ใชเวลา
(นาท)ี (นาที)

118 คูมอื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชีวติ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3

ตารางที่ 3
สงิ่ สาํ คญั ที่ควรทาํ แตย ังไมไ ดท ํา

เรอ่ื งสําคญั และเรงดว น ใชเ วลา เรือ่ งสําคัญแตไ มเ รงดว น ใชเ วลา
(นาที) (นาที)

คมู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชวี ิต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 3 119

ตารางท่ี 4
วางแผนจดั การเวลาใหม โดยพจิ ารณาจากตารางท่ี 2 และ ตารางที่ 3

เรอ่ื งสาํ คญั และเรงดว น ใชเ วลา เร่อื งสําคัญแตไมเรง ดว น ใชเ วลา
(นาที) (นาท)ี

เรื่องไมสําคญั แตเรง ดว น ใชเวลา เรื่องไมสาํ คญั และไมเรง ดวน ใชเวลา
(นาที) (นาที)

120 คูมอื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชวี ิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3

ใบความรู

ขอคิดในการใชเวลาใหมีประสทิ ธิภาพ

1.เรม่ิ ตน ดีมชี ยั ไปกวา ครง่ึ จากผลสํารวจพฤติกรรมนกั เรียน พบวา นกั เรยี นทเ่ี รยี นเกงมี

ผลการเรยี นดี แตกตางจากนักเรยี นท่ัว ๆ ไปตรงทม่ี คี วามสามารถในการเริม่ ตน ลงมือทาํ งานทคี่ วร
ทาํ ไดเรว็ กวา โดยไมมวั แตคิดฝน ใจลอย หรือทําอะไรอยา งเร่ือยเปอ ยไรจดุ หมาย

2. จัดระเบยี บชีวติ สรา งนิสยั ความเคยชนิ ในการจดั ระเบียบชีวติ รูจ ักใชตารางเวลาชว ย

ปลดปลอยพลงั งานทมี่ อี ยอู ยางถกู ทิศทาง เชน ฝก ใหเ ปนนสิ ัยวาหลังรับประทานอาหารเยน็ เดนิ เลน
ยอ ยอาหารสักย่ีสบิ นาที จากนัน้ น่ังลงอา นหนังสือหรือทํากจิ กรรมท่ีมคี วามสําคญั เปนประจาํ

3. คิดกอนทาํ อยา ลมื วา ทุกคร้ังทีเ่ รารบั ปากจะทาํ อะไรกบั ใครก็ตาม เรากําลงั เสียโอกาสใน

การทาํ ส่ิงทม่ี ีความสาํ คญั ในชีวติ ของเราไปดว ยเชน กนั การรับปากคนอ่ืนหมายถงึ วา เราจะตอ งตัด
กจิ กรรมบางอยางทีเ่ ราอยากทําหรือใหความสาํ คัญออกไป ดงั นัน้ คดิ ชั่งนํ้าหนกั ใหด ี กอนตัดสินใจ

4. อยา ชะลาใจ อยา รับปากทาํ สิ่งใดเพยี งเพราะเหน็ วา ยงั เปนเร่ืองในอนาคต ระยะเวลาท่ี

ไกลออกไป อาจทําใหเ รารูสกึ ชะลาใจ บางคร้งั เปน งานช้ินใหญ แตเนอ่ื งจากเห็นวามเี วลานาน จึง
รับปากไปกอ น ครั้นพอใกลเ วลาจวนเจยี น กลบั เพ่ิงพบวาเปนงานที่ตองใชเ วลามากกวา ทีค่ ดิ

5.วางแผนกอ นทํา แบงงานทตี่ อ งทําออกเปน ช้ินเลก็ ๆ ท่ีสามารถทําใหส าํ เร็จไดทลี ะข้นั
6.ทําแตพ อดี อยา เนนความสมบูรณแบบจนเกินไป งานสว นใหญตองการความละเอยี ด

ประณตี ในระดับหนงึ่ หากเราใชเวลาและพลังงานมากเกินไป ก็ไมไ ดเ พ่ิมคุณคาของงานชิ้นนัน้ หรือ
แมจะเพิม่ แตก อ็ าจจะไมค ุม เมอื่ เทียบกับการใชเ วลาไปทํางานอน่ื ที่มคี วามสําคัญเชน กนั

7.ทําใหจบในคร้ังเดียว ฝกทําอะไรใหเสร็จในครั้งเดียว อยาทําอะไรคร่ึงๆ กลางๆ แลว

กลับมาทําตอ เพราะทุกคร้ังท่ีกลับมาทําตอ ตองเสียเวลาในการคิดทบทวน ศึกษาและตัดสินใจ
ทาํ ใหเสยี เวลามากข้ึนอกี ควรฝกนสิ ยั ลงมือทําใหเ สรจ็ ในคร้ังเดียว

8.วางแผนการนัดใหดี ในการนัดหมายกับใครก็ตาม นอกจากนัดเวลาท่ีจะพบกันหรือ

เร่ิมตนทํากิจกรรมแลว ยังควรนัดเวลาเลิกหรือจบการพบปะไวดวย เพื่อจะไดวางแผนใชเวลาชวง
ตอ ไปได ขณะเดยี วกัน การรเู วลาสนิ้ สดุ จะทําใหก ารใชเวลาเปน ไปอยา งมปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน

9.มเี วลาสาํ หรบั การจดั เวลา เพอ่ื การวางแผนการใชเ วลา เชนอาจใชเวลาทกุ วนั ตอนเชา วาง

แผนการใชเวลาในวนั น้ันและใชเวลาสดุ สัปดาหวางแผนการใชเวลาทํากจิ กรรมสาํ คญั ในสปั ดาหตอ ไป

คูมอื การจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชวี ติ ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 3 121

เร่ืองทีเ่ ปนประโยชน

ทาํ ไม.....จงึ สาํ คญั ท่สี ดุ
ปราชญผ หู นึ่งเคยตัง้ คําถามเหลา นีว้ า " ใครคือคนสาํ คญั ทสี่ ดุ งานใดคืองานที่สําคัญทส่ี ดุ
และเวลาใดคอื เวลาที่ดที ส่ี ดุ "
คําเฉลยมดี ังนี้ " คนสาํ คัญทส่ี ดุ ก็คือ คนทอี่ ยูเบอื้ งหนา เรา งานสาํ คญั ทส่ี ดุ กค็ อื งานท่เี รา
กาํ ลังทําอยใู นขณะน้ี และเวลาทีด่ ที ่สี ุด กค็ อื เวลาปจจบุ ันขณะ"
ทําไม คนทีอ่ ยเู บ้ืองหนาเราจงึ สําคญั ที่สดุ คําตอบกค็ อื ในชว่ั ชวี ิตอนั แสนส้ันน้ี เรากับเขาอาจ
มีโอกาสพบกนั ไดเพียงครั้งเดียว ดังนัน้ เราจงึ ควรทําใหก ารพบกนั ทุกครัง้ เปนการสรา งความทรงจาํ
แสนงามไวใหแ กก นั และกันมนุษยน น้ั รูเกลียดยาวนานกวารูร ัก ถาการพบกันครัง้ แรกนาํ มาซ่ึงความ
รักและเปนการพบกันเพยี งคร้ังเดียวของชวี ติ กน็ ับวา คุม คา ที่สุดแลว สําหรบั การพบกันของคนสองคน
ทําไม งานทเ่ี รากําลงั ทําอยูข ณะนี้ จงึ เปนงานสําคญั ที่สดุ คําตอบกค็ อื เพราะทนั ทที ่ีคุณปลอย
ใหง านหลดุ จากมือคุณไป งานก็จะกลายเปนของสาธารณะ หากคณุ ทาํ งานดีมันก็คืออนุสาวรยี แหง
ชีวติ และหากคณุ ทํางานไมด ีมันก็คือความอัปรยี แ หงชวี ติ ตอนแรกคณุ เปน ผูสรา งงาน แตเมอื่ ปลอ ย
งานหลุดจากมือไปแลว งานมันจะเปน ผยู อนกลบั มาสรางคณุ
ทําไม เวลาทด่ี ที ่สี ุด จงึ ควรเปน ปจจบุ นั ขณะ คําตอบกค็ ือ เพราะเวลาทุกวินาทีจะไหลผา น
ชวี ติ เราเพยี งครัง้ เดียว ไมว า คณุ จะหวงแหนเวลาขนาดไหน มีเงนิ มากเพยี งไร กไ็ มม ใี ครสามารถร้อื
ฟน เวลาท่ลี ว งไปแลวใหค ืนกลับมาได ทุกครัง้ ที่เวลาไหลผานเราไป หากเราไมใ ชเ วลาใหเกิด
ประโยชนสูงสดุ ชวี ติ ของคณุ ก็พรอ งไปแลวจากประโยชนมากมายทคี่ ุณควรไดจากหวงเวลา

คดั ยอจากเรอ่ื ง มายาแหงเสนดาย..... โดย ว. วชริ เมธี

เรอ่ื งนส้ี อนใหรูวา ควรทาํ ปจจบุ นั ใหดีท่สี ุด

ชา งไม
ชา งไมฝ มอื ดีตอ งการเกษียณเพราะอายมุ ากแลว นายจา งมีความเสียดายความสามารถของ
เขามาก จึงขอรอ งใหช างไมส รางบานหลงั สุดทา ยกอนเกษยี ณ
เม่ือบา นหลังสดุ ทา ยสรา งเสรจ็ ปรากฎวาบานหลงั นขี้ าดความปราณตี และใชว สั ดุท่ดี อ ย
คณุ ภาพ เพราะชางไมรบี ทาํ เพือ่ ใหง านผา นไปอยา งเรว็ เทา นน้ั เองนายจา งมาเห็นบานดงั กลาวก็รสู กึ
เศรา ใจเขาบอกกบั ชา งไมว า "นี่คอื บา นของคุณ ผมขอมอบใหเ ปน ของขวัญตอนเกษยี ณอายุ"
ชางไมไดย ินถงึ กับตกใจและอุทานวา “เสียดายจรงิ ๆถารวู ากําลงั สรางบา นของตัวเอง เราคง
จะทาํ ดวยความตัง้ ใจมากกวา น้ี”

เรอื่ งนส้ี อนใหรวู า "ชีวติ คอื สง่ิ ทีเ่ ราสรา งดวยตวั เราเอง"เราทุกคนกาํ ลงั สรา งชวี ติ ของเราอยแู ละ
เราก็ไมไดพยายามอยางถงึ ที่สดุ ในการสรางสรรคสิง่ ตา ง ๆในชีวติ ของเรา
เมื่อเวลาผา นไปแลว เราจึงมกั เสียดายและอยากยอนเวลากลับซึ่งเปน สงิ่ ท่เี ปนไป
ไมได จึงควรใชเ วลาแตละวันทาํ ทกุ อยางใหดีทีส่ ุด

122 คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสือสามญั รนุ ใหญ เครื่องหมายลูกเสือหลวง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3

หนวยที่ 8 เศรษฐกิจพอเพยี ง เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 26 วยั รุนไทยหวั ใจเกาหลี

1. จุดประสงคการเรียนรู

เหน็ คุณคาของความเปนไทย
2. เน้ือหา

คุณคา ของความเปนไทย
3. ส่ือการเรียนรู

3.1 แผนภมู ิเพลง
3.2 เรอ่ื งทีเ่ ปน ประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 พธิ ีเปด ประชมุ กอง(ชักธง สวดมนต สงบนงิ่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงคการเรยี นรู

1) ผกู ํากับลกู เสอื นําสนทนาถงึ คานิยมของวยั รนุ ในสงั คมไทย ทีน่ ยิ มไวท รงผมแบบ
เกาหลี แฟชน่ั เส้ือผา แบบเกาหลี อาหารเกาหลีและหนา ตา สวย หลอ ตี๋
แบบเกาหลี ทเี่ รียกวา “เกาหลีฟเ วอร” แลวตัง้ คําถาม
(1) คนเกาหลี ตางจากคนไทยอยา งไร ในดานวฒั นธรรม(ภาษา ความเปน อยู
ศิลปวฒั นธรรม คณุ ลักษณะนิสัย ความอดทน ความมีวนิ ัย)
(2) เพราะเหตใุ ด วัยรนุ ไทยจงึ นยิ มชมชอบ “ความเปน เกาหล”ี

2) มอบหมายใหก องลกู เสือจัดกิจกรรมโตวาทใี นญัติ “วัยรนุ ไทยหัวใจเกาหลี
เสียศักดศิ์ รีวัยรนุ ไทย”ประเด็นสนบั สนนุ หรือคัดคา นในเรือ่ ง “การหมกมุนเลียน
แบบวฒั นธรรมเกาหลขี องวยั รนุ ไทย” โดยจัดทมี โตวาทเี ปน 2ฝา ยคอื ฝา ยสนบั สนุน
และฝา ยคา น
(1) ฝา ยเสนอและฝา ยคานตา งมหี วั หนา 1 คน และมีผูสนบั สนนุ 3 คน
(2)ลกู เสอื เลือกผดู าํ เนนิ รายการ 1 คน
(3) หวั หนาฝา ยเสนอนําเสนอขอมูล 3 นาที และหัวหนาฝา ยคานนาํ เสนอขอ มูล 3 นาที
(4) ผสู นับสนนุ แตล ะฝายคนละ 2 นาที
(5) หวั หนา ฝายเสนอและฝา ยคานสรปุ คนละ1 นาที

3) เมอ่ื โตว าทจี บลกู เสือรวมกัน วเิ คราะหผลสรปุ จากการโตว าที
4) ผูกาํ กบั ใหข อ เสนอแนะและกลา วคําชมเชยลูกเสอื
5) ผูกาํ กบั มอบหมายใหจัดทําโปสเตอรร ณรงคส รางจิตสํานกึ รักความเปน ไทย

“เปน ไทยทง้ั ตวั และหวั ใจ” ทาํ อยางไรคอื ไทยแท

คมู อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 123

4.4 ผูกํากบั เลา เรอ่ื งทม่ี ปี ระโยชน
4.5 พิธปี ด (นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธง เลกิ )

5. การประเมนิ ผล
ลูกเสือสามารถโตว าที ดวยเหตผุ ลคดั คา นโตแยง ทีช่ วนเช่ือใหเห็นคุณคาความเปนไทย

6. องคป ระกอบทกั ษะชวี ติ สาํ คัญทเ่ี กดิ จากกจิ กรรม
คือ ความคดิ วเิ คราะห ความคดิ สรางสรรค เขาใจ เห็นคุณคา และภมู ใิ จในความเปน ไทยของ

ตนเอง

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 26

เพลง

เมดอนิ ไทยแลนด

เมดอินไทยแลนด แดนดนิ ไทยเรา เก็บกันจนเกาเรามแี ตข องดีดี

มาตัง้ แตก อ นสุโขทยั มาลพบุรี อยธุ ยา ธนบุรี ยคุ สมยั นี้ เปน กทม.

เมืองทค่ี นตกทอ (ไมเ อาอยาไปวา เขานา ) เมดอินไทยแลนดแดนไทยทาํ เอง

จะรอ งรําทาํ เพลงก็ล้ําลึกลลี า ฝร่งั แอบชอบใจแตค นไทยไมเห็นคา

กลัวนอ ยหนา วาคณุ คานิยมไมทนั สมยั เมดอินเมอื งไทยแลว ใครจะรับประกนั ฮะ

(ฉันวา มันนาจะมคี นรบั ผิดชอบบา ง) เมดอินไทยแลนดแ ฟนแฟนเขา ใจ

ผลติ ผลคนไทยใชเ องทาํ เอง ตดั เย็บเสอ้ื ผา กางโกงกางเกง

กางเกงยนี ส (ชะหนอยแน) แลวขนึ้ เครือ่ งบนิ ไปสงเขา มา

คนไทยไดหนา (ฝรงั่ มังคา ไดเงิน) เมดอนิ ไทยแลนดพ อแขวนตามรานคา

มาติดปา ยติดตราวาเมดอินเจแปน กข็ ายดบิ ขายดมี รี าคา

คุยกันไดว ามนั มาตา งแดน ทงั้ ทันสมัยมาจากแม็กกาซีน

เขาไมไ ดหลอกเรากนิ หลอกเรานั่นหลอกตัวเอง...เอย

124 คูม ือการจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3

เรอื่ งทเ่ี ปนประโยชน

โหรคนหนง่ึ

โหรคนหน่ึงหมกมุนในเรื่องการดูดวงดาวจนไมเปนอันทําอะไร วันๆเอาแตศึกษาความ
เปนไปของดวงดาวบนทองฟา จนรูวาดวงดาวดวงใดโคจรไปทางไหน คํ่าวันหน่ึงขณะท่ีโหรเดิน
แหงนหนามองดูดวงดาวไปตามถนนนอกเมือง จนเผลอพลัดตกไปในบอขางทาง เนื่องจากไดรับ
บาดเจ็บจึงไมสามารถปนขึ้นมาไดเอง ตองนอนรองครวญครางอยูตามลําพัง จนมีผูมาพบและให
ความชว ยเหลอื พรอ มสอบถามถึงเรือ่ งราวความเปนมา

“เออหนอพอโหรผรู อบร”ู ผูใหความชว ยเหลือรําพึงออกมาดัง ๆ “ทา นศกึ ษาจนรวู า ดาวดวง
ไหนบนทองฟาโคจรไปทางใด แตตวั เองจะเดนิ ตกบอหารูไม”

เรอ่ื งนีส้ อนใหรูวา ความรทู วมหวั แตเ อาตัวไมร อด(เปนผูทม่ี สี ติปญ ญาดี แตกลบั ชวยตนเองไมได)

คูม อื การจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทกั ษะชีวติ ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 3 125

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรนุ ใหญ เครอ่ื งหมายลูกเสอื หลวง ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 3

หนว ยท่ี 8 เศรษฐกจิ พอเพียง เวลา 2 ชวั่ โมง
แผนการจดั กจิ กรรมที่ 27 ชุมชนเรานี้ดจี งั

1. จดุ ประสงคก ารเรียนรู

เพ่ือใหล กู เสอื นําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาใชในการพัฒนาชุมชนได
2. เน้อื หา

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง เปน ปรชั ญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั ทรงมีพระราชดํารสั

ชแ้ี นะแนวทาง การดาํ เนนิ ชวี ติ แกพสกนกิ รชาวไทย เปนปรชั ญาช้ถี งึ แนวการดํารงอยู และปฏบิ ตั ติ น
ของประชาชนในทกุ ระดับตั้งแตระดับครอบครวั ระดบั ชุมชนจนถงึ ระดับรฐั ทงั้ ในการพัฒนา และ
บริหารประเทศใหด ําเนนิ ไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพือ่ ใหกา วทนั ตอ โลก
ยคุ โลกาภวิ ฒั น ชแ้ี นะแนวทางการดํารงอยแู ละปฏิบตั ติ นในทางทค่ี วรจะเปน โดยมพี น้ื ฐานมาจากวิถี
ชวี ติ ดั้งเดิมของสงั คมไทย สามารถนํามาประยกุ ตใ ชไดต ลอดเวลา
3. สือ่ การเรียนรู

3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 ใบงาน
3.3 ใบความรู
3.4 กระดาษ
3.5 เร่อื งที่เปน ประโยชน
4. กิจกรรม

4.1 กจิ กรรมครั้งท่ี 1

1) พธิ เี ปด ประชุมกอง(ชักธง สวดมนต สงบนง่ิ ตรวจ แยก)
2)เพลง หรอื เกม
3) กิจกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู

(1) ผูก าํ กับลกู เสอื นําลูกเสอื ในกองสนทนาถงึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั
(2) ลกู เสือแตล ะหมสู ง ตวั แทนมารับใบความรูไปศกึ ษา และใหล ูกเสอื แตล ะหมรู ะดม
ความคิดในการจัดทาํ โครงการเพ่ือพฒั นา บา น / โรงเรยี น / ชุมชน ตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตามใบงานทีไ่ ดร บั
(3) ผกู าํ กับลกู เสือใหล ูกเสอื ไปดําเนินการตามโครงการทลี่ กู เสอื ไดค ดิ ไว
4) ผูกํากับลูกเสือเลา เรอื่ งทเ่ี ปน ประโยชน
5) พธิ ีปดประชุมกอง(นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธง เลิก)
- ผกู าํ กับลกู เสอื นัดหมายใหลกู เสอื นาํ เสนอผลการปฏิบตั งิ านตามโครงการใน

รปู แบบของการจัดบอรด ในอกี 1 เดือนขางหนา

126 คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ิต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 3

4.2 กิจกรรมครงั้ ที่ 2
1) พธิ เี ปด ประชุมกอง (ชกั ธง สวดมนต สงบน่งิ ตรวจ แยก)
2) เพลงหรือเกม
3) กจิ กรรมตามจุดประสงคก ารเรยี นรู
(1) ใหลูกเสือแตล ะหมูนําบอรด มาจัดแสดงผลการปฏิบตั ติ ามโครงการพัฒนาบาน /
โรงเรยี น/ชุมชน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยหู วั
(2) ใหล ูกเสือทุกคนไดเยย่ี มชม พูดคุยแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และขอ เสนอแนะ
4) ผูกาํ กบั ลกู เสอื เลาเรอ่ื งทเี่ ปนประโยชน
5) พิธีปด ประชุมกอง(นัดหมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชักธง เลิก)

5. การประเมินผล
สงั เกต การมสี วนรวมทํากจิ กรรม การแสดงออก และผลงานของลกู เสอื

คูมือการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 127

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 27

เพลง

เกียรตศิ กั ดล์ิ กู เสอื
ลูกเสอื ลกู เสอื ไวเ กียรตซิ ลิ ูกเสือชาย ลกู เสอื ลกู เสือ ไวล ายซลิ ูกเสอื ไทย
รักเกยี รติ รกั วินัย แข็งแรง และอดทน เราจะบําเพญ็ ตน ใหเ ปน ประโยชนตอผูอืน่

รวม

มาเถิดเร็วไว รว มใจสนกุ เฮฮา อยามัวเศรา เลยหนา รีบมาเรงิ รา รวมกัน รว มกนิ รวมนอน
รวมพักผอ น รว มทาํ พักผอ นสุขสันต รว มคิดจงชวยกนั รว มเรียนสรางสรรค รว มกนั เฮฮา

เกม

ข่มี า โยนบอล
วธิ เี ลน

1. แบง ผเู ลน ออกเปน 2 พวก จดั ใหเปนคมู ขี นาดไลเลี่ยกนั พวกหนึ่งเปนมา อกี พวกหน่ึงเปน
คนขี่ ใหย นื เปน รปู วงกลม สว นใครจะเปน คนขีก่ อนนั้นจะทําไดโ ดยการเสีย่ งหวั -กอย
2. เรม่ิ เลนโดยใหคนข่คี นหนึ่งรบั ลกู บอล ใหสง ตอๆ ไปตามลาํ ดับจะโยนขามไมได ระวังอยา
ใหลูกบอลตกพื้น มาตองพยายามใหค นขร่ี บั ลกู บอลพลาด ดว ยการพยศ เชน ยอตวั ลงต่ํา
เอยี งซาย ขาว กระโดด หรอื หมนุ ไปรอบๆ แตไ มใชประสงคจ ะใหคนขตี่ ก แตต องการใหคน
บนหลงั รับลกู บอลไมไ ด
3. หากลกู บอลตกดนิ คนข่ีทกุ คนตอ งรบี เปลี่ยนมาเปนมา ใหคนเปน มา ขึ้นบนหลังสลบั กันไป

วิง่ กระโดดเทา เดยี ว
วิธีเลน

ใหผ เู ลน วงิ่ ไปออมเครอื่ งหมายดวยการกระโดยเทา เดยี ว เมอ่ื ถึงเครื่องหมายกลบั ตวั ใหวิง่
กลับดวย
การเปล่ียนเทา อกี ขางหนึ่ง แถวใดหมดกอ นเปนแถวชนะ

128 คมู ือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวติ ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 3

ใบงาน

โครงการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

คาํ ส่ัง ตอนท1ี่
ใหล ูกเสอื แตล ะคนในหมูเ สนอแนวคดิ ในการพัฒนา บาน / โรงเรียน / ชุมชน เลือกอยา งใดอยาง

หน่งึ มาอยางนอ ยคนละ 1 เรือ่ ง โดยใหร องนายหมเู ปนผูจ ดบันทกึ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

คําส่ัง ตอนท่ี 2
ใหลูกเสือในหมรู วมกันพจิ ารณาและอภปิ รายเพอื่ คดั เลือกแนวทางในการพฒั นา บา น / โรงเรียน /

ชมุ ชน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

คาํ สงั่ ตอนที่ 3
ใหล ูกเสือแตล ะหมูนาํ แนวทางในพัฒนาท่ไี ดค ัดเลอื กแลว (จากตอนท2่ี ) มาจดั ทําโครงการใน

การพฒั นา โดยตอ งปฏิบตั ิอยา งนอ ย 3 ครัง้ ภายในระยะเวลา 30 วนั

ใบความรู

คูม อื การจดั กจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ิต ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 3 129

ใบความรู

หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง เปนปรชั ญาทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั ทรงมพี ระราชดํารัสช้ีแนะแนวทาง
การดเํารเอ่ืนงินนชีส้วติอแนกใพหสร กูวานิกรชาวไทย เปน ปรชั ญาชี้ถึงแนวการดํารงอยู และปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทกุ ระดับต้งั แต
ระดับคควราอมบขคยรันวพราะกดเับพชยี ุมรชสนามจนารถถงึ กระอ ดใหับเรกฐั ิดทท้งั รใพั นยก ารพัฒนา และบรหิ ารประเทศใหด าํ เนินไปใน ทางสาย
กลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจเพอื่ ใหกาวทันตอ โลกยคุ โลกาภวิ ฒั น ช้แี นะแนวทางการดาํ รงอยูและปฏบิ ตั ติ น
ในทางทีค่ วรจะเปน โดยมพี ื้นฐานมาจากวถิ ีชวี ติ ดง้ั เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนาํ มาประยุกตใ ชไ ดต ลอดเวลา และเปน
การมองโลกเชงิ ระบบท่มี กี ารเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา มงุ เนนการรอดพน จากภยั และวกิ ฤติ เพอื่ ความมนั่ คงและ
ความยงั่ ยืนของการพฒั นา ความพอเพียงหมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาํ เปนท่จี ะตองมี
ระบบภูมิคุมกนั ในตวั ท่ดี ี และตองประกอบไปดว ยสองเงือ่ นไข คือ เง่ือนไขความรู เง่ือนไขคณุ ธรรม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปดวย 5 สว น ดงั นี้

ขอ ท่ี 1. กรอบแนวคดิ เปน ปรัชญาทีช่ ี้แนะแนวทางการดาํ รงอยู และปฏบิ ัตติ นในทางทค่ี วรจะเปน โดยมีพ้นื ฐาน
มาจากวถิ ชี ีวติ ดัง้ เดมิ ของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไ ดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชงิ ระบบที่มกี าร
เปลี่ยนแปลงอยตู ลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบท่ีมกี ารเปลีย่ นแปลงอยูต ลอดเวลา มงุ เนน การรอดพนจากภัย
และวิกฤต เพอื่ ความมัน่ คง และความย่งั ยนื ของการพฒั นา

ขอท่ี 2. คณุ ลักษณะ เศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถนาํ มาประยกุ ตใชก ับการปฏบิ ตั ติ นไดใ นทุกระดบั โดยเนน การ
ปฏิบตั บิ นทางสายกลาง และการพฒั นาอยา งเปน ขน้ั ตอน

ขอ ท่ี 3. คํานิยาม ความพอเพียงจะตอ งประกอบดว ย 3 คุณลักษณะ ดังนี้
1. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีท่ไี มน อยเกินไป และไมม ากเกนิ ไปโดยไมเ บยี ดเบียนตนเอง และ

ผูอ ืน่ เชนการผลติ และการบรโิ ภคทอ่ี ยูในระดบั พอประมาณ
2. ความมเี หตุผล หมายถงึ การตัดสินใจเก่ยี วกบั ระดบั ของความพอเพียงนัน้ จะตอ งเปน ไปอยา งมีเหตุผล

โดยพิจารณาจากเหตปุ จ จยั ท่เี กี่ยวของตลอดจนคาํ นงึ ถึงผลทค่ี าดวา จะเกดิ ข้นึ จากการกระทํานน้ั ๆ อยางรอบคอบ
3. การมีภูมิคุมกันทดี่ ใี นตวั หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ รอ มรบั ผลกระทบ และการเปลย่ี นแปลงดา นตางๆ

ทีจ่ ะเกดิ ข้นึ โดยคาํ นงึ ถึงความเปนไปไดข องสถานการณ ตาง ๆ ทค่ี าดวาจะเกิดขนึ้ ในอนาคตทง้ั ใกล และไกล
ขอที่ 4. เงื่อนไข การตดั สนิ ใจและการดําเนินกิจกรรมตา ง ๆ ใหอ ยูในระดับพอเพยี งนัน้ ตอ งอาศยั ท้งั ความรู และ

คุณธรรมเปน พืน้ ฐาน 2 เงอื่ นไข ดังน้ี
1. เง่อื นไขความรู ประกอบดว ย ความรอบรเู กี่ยวกับวชิ าการตาง ๆ ท่เี กีย่ วขอ งอยา งรอบดาน ความ

รอบคอบทจี่ ะนําความรูเหลา นน้ั มาพจิ ารณาใหเชือ่ มโยงกนั เพอ่ื ประกอบการวางแผน และความระมัดระวงั ในขั้นปฏิบตั ิ
2. เง่ือนไขคุณธรรม ที่จะตอ งเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักในคณุ ธรรม มีความซ่ือสัตยสจุ ริต

และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชสตปิ ญ ญาในการดาํ เนินชีวติ
ขอท่ี 5. แนวทางปฏิบตั ิ / ผลทค่ี าดวาจะไดร บั จากการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยกุ ตใ ช คอื

การพฒั นาทส่ี มดลุ และยง่ั ยนื พรอมรบั ตอ การเปล่ียนแปลงในทกุ ดา น ทั้งดา นเศรษฐกจิ สงั คม สิ่งแวดลอ ม ความรู
และเทค1โ3น0โลยนี คั่นูมคอื อื กาหรลจักดั แกนิจกวครรดิ มแลลูกะเสแือนสวาทมาญั งเรพุนือ่ใหกญารเปสรฏิมิบสตั ริาตงาทมักหษละักชีวปิตรัชญชาั้นเมศธั รยษมฐศกึกจิ ษพาอปเพที่ยี 3ง ซ่งึ ไมว า จะเปน
บุคคล หรอื องคกรตางๆ สามารถปฏิบตั ติ ามได

ตัวอยา ง โครงการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๑.ชือ่ โครงการสง เสรมิ การพฒั นาเศรษฐกิจเพอื่ ความมั่นคงของครอบครวั และพัฒนาอาชีพครอบครวั ตาม
หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงเครอื ขายองคก รสตรหี มบู า น (กสพม.) ตําบลหนองโพ

๒. หลกั การและเหตุผล

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชีถ้ งึ แนวการดํารงอยู และปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทกุ ระดับต้งั แตร ะดับ
ครอบครัว ระดบั ชุมชนจนถงึ ระดับรัฐ ทั้งในการพฒั นา และบรหิ ารประเทศใหดาํ เนนิ ไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะ
การพัฒนาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก าวทันตอโลกยุคโลกาภวิ ฒั น ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งน้ี เปนกรอบแนวความคดิ และทศิ
ทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย เพื่อมงุ สกู ารพฒั นาทส่ี มดลุ ยง่ั ยืน และมีภูมคิ ุมกนั เพื่อความอยดู ีมีสุข
มงุ สูสงั คมทีม่ ีความสุขอยางยง่ั ยนื หลักแนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี งการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ
การพฒั นาทตี่ งั้ อยบู นพนื้ ฐานของทางสายกลาง และความไมป ระมาท โดยคํานงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล
การสรา งภมู คิ มุ กันทีด่ ีในตวั ตลอดจนใชค วามรคู วามรอบคอบ และคณุ ธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สนิ ใจ
ประกอบกบั การดําเนนิ ชวี ิตประจําวัน ยอมมรี ายรับ และรายจา ยตา ง ๆ ท่เี กดิ ขน้ึ รายรับไดมาจากการทาํ มาหาเลยี้ งชีพ
ทัง้ จากอาชพี หลัก และอาชพี รอง สว นรายจา ยก็ไดแ ก คาใชจ ายตาง ๆ ไดแกคา อปุ โภค และบรโิ ภคทจี่ าํ เปนตอการ
ดาํ รงชีวติ ซ่ึงคาใชจา ยเหลา นม้ี จี าํ นวนเพิม่ สงู ขน้ึ มาโดยตลอด และไมมแี นวโนมทีจ่ ะลดลง การทาํ บัญชีครัวเรือนเปน
บัญชีทใี่ ช สาํ หรับบันทึกรายได และรายจายท่ีเกดิ ขน้ึ ในชีวติ ประจําวนั ของเรา วา ในแตล ะวันเรามีรายไดเ ขามาแลวจาย
คาใชจ ายออกไปเทา ไร ปจ จบุ นั ยอดเงนิ คงเหลอื มีเทาไร ทาํ ใหเ กดิ การวางแผนการใชจ า ยตอไปอยางรอบคอบ ใชจ า ย
อยา งพอเพียงเทา ทมี่ ี อยางระมัดระวงั จึงสามารถลดคาใชจา ยที่ไมจ ําเปนทาํ ใหเ กดิ การประหยดั และการออม และหากมี
การใชจ ายเทา ท่มี กี ็จะไมกอ ใหเ กิดหนสี้ นิ จงึ สามารถแกไขปญหาหน้ีสนิ ไดอ ยา งยัง่ ยนื เปน ผลใหเ กดิ ภมู คิ ุม กนั ท่ดี ีใน
การรับการเปลี่ยนแปลงทางการเงนิ ท่อี าจเกดิ ขึ้นในอนาคต หากเกดิ การตกงานหรอื อบุ ตั ิเหตทุ ่ีทาํ ใหไ มส ามารถหา
รายไดมาเลย้ี งชพี ตนเองและครอบครวั ได

ตามพระราชบัญญตั กิ าํ หนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแ กองคกรปกครองสว นทองถน่ิ
พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหอ งคการบริหารสว นตําบลมีอาํ นาจและหนาทีใ่ นการจัดระบบการบรกิ ารสาธารณะเพือ่ ประโยชนข อง
ประชาชนในทองถิน่ ของตนเองดังน้ี (๖) การสง เสรมิ การฝกและการประกอบอาชีพ (๑๖) การสงเสรมิ การมีสว นรว ม
ของราษฎรในการพฒั นาทอ งถิ่น องคก ารบริหารสว นตาํ บลหนองโพจึงจดั โครงการกิจกรรมสง เสรมิ การพัฒนา
เศรษฐกจิ เพือ่ ความม่นั คงของครอบครวั เก่ียวกับการสง เสรมิ และพฒั นาอาชีพครอบครัวตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพียงเครอื ขา ยองคกรสตรหี มูบา น (กสพม) ตําบลหนองโพ ขึ้น

๓. วัตถปุ ระสงค

๑.เพื่อใหเครือขา ยองคกรสตรหี มบู าน(กสพม.) ตําบลหนองโพเปนแกนนาํ แนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งมา

ประยกุ ตใ ช เพ่อื การพฒั นาท่ีสมดลุ และยงั่ ยืน

๒.เพื่อใหร าษฎรรจู กั การทําบัญชคี รวั เรอื น ทําใหเกิดการวางแผนการใชจายอยา งรอบคอบ

๓. เพ่อื เปน ศูนยการเรยี นรเู ศรษฐกิจพอเพียง

๔. เพอ่ื เปนการสง เสริมอาชีพใหกับราษฎร เพ่อื เพม่ิ พูนรายได

๕. สง เสรมิ การมสี ว นรว มของราษฎรในการพฒั นาทอ งถ่นิ

๔. เปา หมาย คูมอื การจัดกิจกรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชีวติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 ๕๐131คน
เครือขายองคก รสตรหี มบู า นตาํ บลหนองโพ และประชาชนผูส นใจ หมทู ี่ ๑ – ๓, ๕ – ๑๐ จํานวน

ตวั อยา ง โครงการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

1. ชอื่ โครงการเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. หลกั การและเหตุผล

จากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 11 ( พ.ศ. 2555- 2559 ) ยังคงอญั เชิญ ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาเปนแนวทางปฎิบัตคิ วบคูไปกบั การพัฒนาแบบรู ณาการเปน องคร วมทม่ี คี นเปน
ศนู ยก ลางพฒั นาอยา งจรงิ จัง เพอ่ื ใชเปนแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศใหเ กิดความสมดลุ เปนธรรม
และยงั่ ยืนมงุ สู สงั คมอยูเย็นเปนสุขรว มกัน อนั จะเปน การเสรมิ สรา งประโยชนส ูงสดุ ใหแ กประชาชนโดยถว นหนา
สมดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั ภาวะการเจรญิ เติบโตทางดานเศรษฐกจิ ของประเทศไทยทํา
ใหก ารดํารงชีวิตของคน ในสงั คมไทยไดนําเอาสิง่ อํานวยความสะดวกในทกุ ๆดานเขา มาใชใ นชวี ิตประจาํ วัน
แมกระทงั่ สง่ิ อุปโภคและบรโิ ภคตางๆลว นอํานวยความสะดวกตอ คนไทยในสงั คมทั้งสน้ิ ดวยเหตผุ ลขา งตน
ทาํ ใหก ารใชชวี ติ ของคนไทยท่ีผานมาน้นั ถึงแมจะไดรบั ความสะดวกสบายในเบอื้ งตน แตส ่งิ ทตี่ ามมาโดยไมร ตู วั คือ
การดํารงชวี ติ ประจําวันที่ฟมุ เฟอยทําใหค นในสังคมตอ งประสบกบั ปญ หาการดาํ รงชวี ติ ตามมา ฉะนน้ั สิง่ ท่จี ะสามารถ
แกป ญหาการดํารงชวี ิตของคนในสังคมไทย เร่ืองการใชจ ายฟุมเฟอย โดยเฉพาะรายจายในครอบครัวใหม ีรายจาย
นอยลงได คอื การดาํ รงชวี ิตอยางพอเพยี งตามแนวพระราชดําริ

ดังน้นั โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ เปน โครงการหนึง่ ทีเ่ ปน ประโยชนตอ นักเรียนโดยตรงเพราะไดฝ ก
ปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนาํ ไปประกอบอาชีพแบบยัง่ ยนื ได อนั จะเปนประโยชนตอ ครอบครัว และชมุ ชน โรงเรยี น
บา นปา บงจงึ ไดจดั กจิ กรรมปลกู พชื ผกั สวนครวั และผกั พืน้ บา น การเพาะเหด็ ฟาง การทําไมก วาดทางมะพรา ว
การทาํ งานใบตองโดยการจัดทาํ โครงการนี้ขึ้น
3. วัตถุประสงค

3.1 เพื่อตองการศกึ ษากระบวนการพัฒนาตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3.2 เพ่ือฝกทกั ษะอาชพี และมีรายไดร ะหวางเรยี น
3.3 เพ่อื นําผลผลติ มาประกอบเปนอาหารกลางวนั ใหน ักเรยี น
3.4 เพ่อื ใหน ักเรียน รจู ักการใชช วี ติ ท่พี อเพยี งมีความรคู วามสามารถในกิจกรรมท่ตี นเองสนใจ
3. เปาหมาย
ดา นปริมาณ
- บุคลากรในโรงเรียนทกุ คนมีความรูค วามสามารถในการใชชวี ิตอยา งพอเพยี ง
- นักเรียนทกุ คนกลา แสดงออกตลอดจนไดฝ ก ทักษะอาชีพและมีรายไดระหวา งเรยี น
ดา นคุณภาพ
นกั เรยี นรูจกั การใชชวี ิตท่พี อเพยี งนาํ หลกั การไปปฏบิ ตั ิสามารถลดรายจา ยในครวั เรอื น
ไดร บั การฝก ทักษะอาชีพและกลาแสดงออก

132 คมู อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทกั ษะชีวิต ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 3

เรอื่ งทเ่ี ปน ประโยชน

นกกระเรียนกบั หมาปา

นกกระเรยี นมองไปเห็นหมาปา นอนด้นิ อยางทุรนทุรายอยูทีก่ ลางปา จงึ เดินเขาไปถามไถ
อยางเวทนาวา
“เจาเปน อะไรหรือ”

“ขา กลนื ชิ้นเนอื้ เขาไป แลวกระดกู ติดคอของขา ขา จะทําอยา งไรกไ็ มออก”
หมาปา บอกเเลวกข็ อรอ งใหน กกระเรยี นชว ยตนเเลว ตน จะใหรางวลั เปน การตอบเเทน
นกกระเรยี นจงึ ยนื่ มดุ หัวของมนั เขา ไปในปากหมาปา เเละสามารถลว งเอากระดกู ออกมาไดสาํ เรจ็
เมอ่ื นกกระเรยี นทวงถามถงึ รางวัลของตน หมาปา กค็ าํ รามวา
“ขาไมงบั คอเจาก็ดีเเลว ยังจะมาเอาอะไรจากขา อีก เลา”

เร่ืองนีส้ อนใหรวู า คนเลวมักไมเ ห็นความดขี องผอู น่ื

นางแมวมีรัก

นางเเมววงิ วอนขอรอ งตอพระพรหมวา
“ขอใหท านชว ยเมตตา เสกใหหมอมฉนั กลายเปนหญิงสาวดวยเถดิ เพคะ หมอมฉนั หลงรักชายหนมุ ผู
น้นั เสียเหลือเกนิ ”
พระพรหมเกดิ ความสงสารเวทนาจึงเสกใหนางเเมวกลายเปนคน
“ถา อยากเปน คน กต็ องเปน ใหต ลอดนะ”
พระพรหมตรสั เเลว กค็ อยสอดสอ งทิพยเนตรดนู างเเมวตอไป
วนั หน่งึ นางเเมวในรางของหญิงสาวกาํ ลงั พรอดรักกบั ชายหนมุ อยางหวานชื่น คร้นั มหี นตู ัวหนง่ึ วิ่ง
ผา นเขา มา หญิงสาวกก็ ระโดดออกไปแลว ตะครบุ หนตู วั นนั้ มากนิ ในทนั ใด
พระพรหมจงึ ทรงใหห ญิงสาวกลับเปนนางเเมวดงั เดิม

เรอื่ งน้ีสอนใหรูวา ยากทผ่ี ูใดจะละทงิ้ สนั ดานเดมิ เปน เรือ่ งยาก

คูม ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 133

แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญ เครอ่ื งหมายลกู เสือหลวง ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 3

หนวยที่ 9 การฝก เปนผนู าํ เวลา 1 ช่วั โมง
แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 28 ผนู ําทดี่ ี

1. จดุ ประสงคการเรียนรู

ลูกเสือสามารถบอกความหมายและคณุ สมบตั ขิ องผนู ําได
2. เนือ้ หา

ผูนาํ (Leader)หมายถึง บุคคลทีม่ ีความสามารถในการทจ่ี ะทาํ ใหอ งคการดําเนนิ ไปอยา ง

กาวหนา และบรรลเุ ปา หมาย โดยการใชอิทธิพลเหนอื ทศั คตแิ ละการกระทาํ ของผอู ืน่
ภาวะผูนํา (Leadership) หมายถงึ กระบวนการในการแนะแนวและนําทางพฤติกรรมของ

คนในสภาพของการทํางาน ผูนาํ อาจจะเปนบคุ คลทมี่ ตี าํ แหนงอยา งเปนทางการหรือไมเปนทางการก็
ได ซงึ่ เรามักจะรับรูเกีย่ วกบั ผูนําท่ไี มเปน ทางการอยูเสมอ เนื่องจากบคุ คลนั้นมลี กั ษณะเดนเปนที่
ยอมรบั ของสมาชกิ ในกลมุ ทาํ ใหสมาชิกแสดงพฤติกรรมท่มี นี ้ําหนักและเปน เอกภาพ โดยเขาจะใช
ภาวะผนู าํ ในการปฏบิ ตั กิ ารและอํานวยการโดยใชกระบวนการตดิ ตอสัมพนั ธกัน เพือ่ มุงบรรลุ
เปา หมายของกลุม
3. ส่อื การเรียนรู

3.1 แผนภมู เิ พลง
3.2 ใบความรู
3.3 แบบทดสอบภาวะความเปน ผูนาํ
3.4 เร่อื งทีเ่ ปน ประโยชน
4. กจิ กรรม

4.1 พธิ เี ปด ประชุมกอง(ชกั ธง สวดมนต สงบน่งิ ตรวจ แยก)
4.2 เพลง หรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงคก ารเรยี นรู

1) ผูกาํ กบั ลกู เสอื ใหลูกเสอื แตล ะคนในกองทําแบบทดสอบภาวะความเปนผนู ํา ภายใน
เวลา 10 นาที

2) ผูกํากบั ลูกเสอื ใหลกู เสอื สาํ รวจคําตอบของตนเอง จากน้ันผกู ํากบั แปลคา ใหล กู เสอื ทราบ
3) ผูกาํ กบั ลกู เสอื ใหตวั แทนแตละหมมู ารับใบความรูเรอื่ ง ลกั ษณะของผนู าํ ทด่ี ี
4) ผกู าํ กบั ลูกเสอื นาํ ลกู เสอื สนทนา และสรปุ ในหวั เรอ่ื งของลักษณะของผูน าํ ทด่ี ี มีอยางไรบา ง
4.4 ผูก าํ กับลกู เสอื เลาเรอื่ งทเ่ี ปนประโยชน
4.5 พิธีปด ประชุมกอง(นัดหมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธง เลกิ )
5. การประเมนิ ผล

สังเกต การมีสวนรว มทํากจิ กรรม และการแสดงออก

134 คมู อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ติ ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 3

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 28
เพลง

จบั มอื
จับ มือกนั ไวใ หม ่นั คง เพื่อความยนื ยงสามคั คี รกั กนั ปรองดองเหมือนนองพี่
เพือ่ ความสามคั คมี รี วมกัน โกรธกนั มนั รายเปนสิ่งเลวเปรยี บดังเปลวเพลงิ รอ นไฟนั่น
เผาใจใหม คี วามไหวหวัน่ จับมอื ย้ิมใหกนั เปนส่ิงดี

เกม

นําทาง
วธิ ีเลน

1. ใหลูกเสอื คนหนึ่งปด ตาไวจ ากนั้นใหล กู เสอื อีกคนนาํ ของท่ีเตรยี มไวไ ปซอ นยังจุดๆหน่ึง
2. จากน้ันใหค นที่ปด ตานน้ั เปด ตาและออกคน หาวา ของนนั้ ซอนอยูท่ีไหน ลกู เสือคนอืน่ จะ
บอกทิศทางของสงิ่ ของนัน้ ไดโดยพูดเพียงวา ซา ยขวา หันหลัง บอกสง่ิ ของนนั้ ใหก ับผูคนหา
การตัดสนิ ผูคนหาจะตอ งเดนิ ไปตามทศิ ทางทีล่ กู เสือบอกจนกวาจะคนพบสงิ่ ของนนั้ แลวกเ็ ปลีย่ น
คนอืน่ เขา มาหาของบาง

คมู อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ิต ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 135

ใบความรู

ลักษณะของผนู าํ ทด่ี ี

ผนู ํา (Leader)หมายถึง บุคคลท่มี คี วามสามารถในการทจ่ี ะทาํ ใหอ งคการดําเนนิ ไปอยางกาวหนาและบรรลุเปาหมาย
โดยการใชอทิ ธพิ ลเหนือทศั คตแิ ละการกระทาํ ของผอู น่ื
ภาวะผูนํา (Leadership) หมายถึง กระบวนการในการแนะแนวและนําทางพฤตกิ รรมของคนในสภาพของการทํางาน
ผนู ําอาจจะเปนบุคคลทม่ี ีตาํ แหนงอยางเปน ทางการหรือไมเปนทางการกไ็ ด ซึง่ เรามักจะรับรูเ กี่ยวกับผูน าํ ท่ีไมเปน
ทางการอยูเสมอ เนอื่ งจากบคุ คลนน้ั มลี กั ษณะเดนเปน ทยี่ อมรบั ของสมาชิกในกลมุ ทาํ ใหส มาชิกแสดงพฤตกิ รรมทม่ี ี
นํ้าหนักและเปนเอกภาพ โดยเขาจะใชภ าวะผูน าํ ในการปฏิบตั กิ ารและอํานวยการโดยใชก ระบวนการตดิ ตอ สมั พันธกนั
เพ่อื มุงบรรลเุ ปาหมายของกลมุ

คุณลักษณะของผนู ํา 10 ประการ
1. กลาเปล่ยี นแปลง
2.มีจิตวทิ ยา มมี นษุ ยสมั พนั ธ
3. จูงใจคนไดดี

4.มคี วามรับผดิ ชอบสูง
5. มีทั้งความยืดหยุนและเดด็ ขาด
6. มีทงั้ ความรอบรู มสี ังคม
7.เปน นกั ประสานงานท่ดี ี
8.มคี วามกระตือรอื รน
9.ทํางานเคยี งขางลูกนอ ง
10. มคี วามนานบั ถือ
ตอ ง สงั เกตการณทาํ งานของลูกนอ งแตละคนในทมี งานดว ยวามีใครกําลังเอาเปรียบเพอื่ นอยหู รอื ไม เพราะ

บางคนอาจชอบอู ทํางานนอยปลอยใหเ พ่อื นคนอ่ืนเหนือ่ ยมากกวา ซงึ่ กรณีอยา งน้ีหัวหนางานตองสงั เกตดว ย
ตนเองดว ย คนทํางานหนกั บางคนอาจจะไมใ ชค นทช่ี อบฟอ งแมเ มือ่ ถูกเอาเปรยี บ

อยา ใสใ จ ความผดิ เลก็ ๆ นอ ย ทเ่ี รารูดีวาเปน เรือ่ งการเมอื ง เชน ลูกนองลาปวยทงั้ ๆ ทีไ่ มไ ดปว ยจริง
เราก็ไมจ าํ เปน ตองไปสบื คน วา ทําไมเขาตอ งโกหกตราบใดท่เี ขายังคงต้งั ใจทาํ งาน เวนแตว า บคุ คลนนั้ มที าจะขายไอเดยี
ภายในองคกรใหบรษิ ทั อ่นื ๆ หรือมีพฤตกิ รรมสอใหเห็นมากอ นวาไมเอาใจใสใ นงาน กรณเี ชน น้นั จึงคอยตรวจสอบ
เขาอยางจรงิ จงั

พยายาม วางแผนงานลวงหนา เพอื่ จะไดม องเห็นแนวโนม ของการตดั สนิ ใจได เลย่ี งการตดั สนิ ใจอยา ง
เรง ดวนสําหรบั อุปสรรคท่ีเกดิ ข้ึนเพราะวางแผนงานผดิ พลาด

อยามงุ เนน แตก ารสรา งงาน ตอ งเรียนรเู รอ่ื งของกระแสความตอ งการของหนว ยงานอื่นและบรรดาคแู ขง อน่ื ๆ
ดวย โดยไมนกึ ถึงผลกระทบทจี่ ะตามมาวาจะเกิดผลอยางไร

136 คูมือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรางทักษะชีวิต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3

หวั หนา คอื ผูจบั ผิดแทนองคก รวาบุคลากรคนใดทํางานดวยความรกั องคกร คนใดทาํ งานดว ยเพราะมีไฟ
แหงการสรางสรรค คนใดมงุ ม่ันเพ่ือผลประโยชนข ององคกร และคนใดทํางานเพียงเพือ่ ใหม งี านทํา

พิจารณา สงเสรมิ ลกู นอ งท่ีมคี วามขยัน และมีอุปนิสัยใจคอดี แมว า ฝมือการทํางานอาจจะไมโดดเดน
นกั ควรหาทางสง เขาไปฝก อบรมการสนบั สนุน คนนสิ ยั ดียอมเปนประโยชนแกองคกรมากกวาสนบั สนนุ คนที่ทาํ งาน
ไดดีแตม ไิ ดเ ปน ที่ชื่นชมของของทกุ คนนัก

ความโกรธ ความเสยี ใจ คนเปนหวั หนาทีมตอ งแสดงออกแตน อยหากอยูในทที่ ํางาน ไมมีลูกนอ งคนใดจะ
นบั ถือศรัทธาผูจดั การที่ออ นแอและออนไหวจนเกินไป

อยาปกปดความผิด ของลกู นอง เมือ่ งานผิดพลาดกต็ องชว ยกันรบั ผดิ ชอบและแกไ ข แตไ มใ ชชว ยกนั ปด ไว
ไมใหผ ูบรหิ ารระดับสูงรับรวู า เกดิ การผดิ พลาดในผลงาน ตอ งกลา จะรบั ผดิ ขณะเดียวกนั กต็ องแจงใหผ บู ริหาร ทราบถึง
แนวทางการปองกนั การเกิดปญหาเชนนที้ ไี่ ดวางแผนไวแลว

เปน หวั หนา งาน ที่เท่ยี งธรรมอยามอี คติกบั ลกู นอ งเพราะมันจะนําไปสูการตัดสินใจดวยอคติเมอ่ื มีปญหา
เกิดขนึ้ อยาลมุ หลงในการการยกยอปอปน หวั หนาทห่ี เู บายอมกํากับควบคมุ ทมี ใหส รางผลงานทดี่ ีไดยาก

แนะนํา ลูกนองคนใหมใหทกุ คนในทีมงานไดร จู ัก แลว ใหค นพาเขาไปดูสวนตางๆ ของบริษทั ใหท วั่ ถงึ มิวา
จะเปนหอ งน้าํ มมุ กาแฟ หรอื ทจี่ อดรถ ควรตอ นรับและดแู ลคนใหมอยางดี แมว า เขาจะอยใู นฐานะลกู จา งชวั่ คราว
หรอื เดก็ ฝกงานกต็ าม

พาทีมงาน ไปเล้ียงอาหารกลางวันหรืออาหารเยน็ “ เลี้ยงสง ” หรือ “ เล้ียงอาํ ลา ” ในยามทคี่ นในทมี งาน
ลาออก อยา ลมื รว มกันเขยี นอวยพร ในการด ใบเดยี วกัน หรือาจรวมกนั ซอื้ ของขวัญพเิ ศษสกั ชิน้ ใหเ ขา เพอ่ื ทกุ คน
จะไดส นทิ สนมรกั ใครก ันดี

ทําตวั เปนตวั อยาง ทดี่ ีกับลูกนองในทุกๆ ดา น ไมวาจะเปนการแตง ตวั การวางตวั ความเอาใจใสใน
การทาํ งาน ความมอี ารมณขนั การสรางสรรคบรรยากาศการทาํ งานใหมสี ีสนั และการทาํ งานโดยมุง หวงั ความ
เปนเลศิ ในผลของงาน

คนทาํ งาน ยอ มรถู ึงขน้ั ตอนการทํางานและปญหาตางๆ ไดเ ปน อยา งดผี ูเปน หวั หนา ควรหาโอกาสลงไป
รว มชวยงานของลูกนอ ง แตละคนบา งหากมีโอกาส เพื่อจะไดม องเหน็ ปญหาวาควรจะบรหิ ารงานน้ันอยา งไรใหถ กู
ทาง และควรเปดโอกาสใหพ วกเขาไดรว มเสนอแนะการปรบั ปรงุ แกไ ขวธิ กี ารทาํ งานบางประการที่พวกเขายอ มเขาใจ
ในสภาวะตา ง ๆ ไดด กี วา เรา

หัวหนางาน มหี นาทโ่ี ดยตรงที่จะคอยไกลเ กลยี่ ประนปี ระนอม คนในทมี งานทมี่ ีความขดั แยง กัน อยาปลอ ย
ใหเ ขาไมพอใจกันในขณะทตี่ อ งทํางานรว มกนั ถา มปี ญ หาของความขัดแยงคอนขางจะรนุ แรงเกินความสามรถของคุณ
กใ็ หนาํ ความไปปรึกษาผบู รหิ ารระดบั สูงเพ่อื ใหเ กิดการพจิ ารณานาหนทางแกไ ขอยางยุตธิ รรม ตอคกู รณีทัง้ สอง

เขา รว ม รบั การอบรมทักษะผูนาํ และศลิ ปะของการบรหิ ารงาน เพ่ือเพิม่ ศักยภาพใหกบั ตนเอง อยาคดิ วา
เวลามีนอ ยถาคณุ ไมส ามรถบรหิ ารเวลาของตนเองไดและไมเ หน็ ความสาํ คญั ของการพฒั นาตนเอง ก็แสดงวา คุณยงั
ไมใชผ ูนาํ ที่ดนี ัก

สรุปไดวา การที่จะเปน ผนู ําที่ดี จะตอ งยดึ ใน หลัก 10 ประการนี้ เพื่อการบรหิ ารในแตล ะหนว ยงาน แต
ละองคกรใหเกิดประสทิ ธภิ าพ พรอมทง้ั การไดร ับความรัก และความไวเน้อื เช่อื ใจจากผรู วมงาน และหวังเปน อยางยงิ่
วา จะเปน แนวทางดที ี่สาํ หรบั ผทู จ่ี ะกา วเปน ผบู ริหาร หรือผทู ี่เปน อยแู ลว นําไปปฏบิ ัตหิ รอื นําไปปรบั ใช เพื่อการ
บรหิ ารงานในหนวยงานใหป ระสบความสําเรจ็ ในอนาคต

คมู อื การจดั กจิ กรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวิต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 137

แบบทดสอบ ภาวะความเปน ผนู าํ

คําสั่ง ใหล กู เสอื เลอื กคําตอบเพยี งขอเดยี วทตี่ รงกับความคดิ ของลูกเสือทส่ี ดุ

1. “สถานภาพ”มีความสําคญั กับคุณอยา งไร?
a. สาํ คญั มาก คณุ ชอบทจ่ี ะรสู ึกวาตนเองอยูใ นลําดับสูงสุดของสงั คม
b. คอ นขา งสําคัญ คุณรูสกึ ดที ี่ไดอ ยูทามกลางฝูงชน
c. เปนเร่อื งคณุ ภาพของความสัมพันธมากกวาวา คุณอยูตรงไหนของความสมั พันธน ้ัน
d. ไมสําคญั เลย คุณแคตองการความกาวหนาและประสบความสําเรจ็

2. ในวยั เด็กคุณอยูลําดบั ไหนของกลุมเพอื่ น ?
a. ผูนํากลมุ ท่ีทกุ คนตา งกลวั
b. ผูม คี วามสนุกสนาน เปน ทีช่ น่ื ชอบของทุกคน
c. นักคดิ ที่ทกุ คนรบั ฟง
d. เงยี บขรึม ไมมใี ครสังเกตเห็นเลย

3. เมอ่ื อยูที่สาํ นักงาน คณุ เปน คนท่ีเสนอแนวคิดหรือคาํ แนะนาํ ใหมๆ หรือไม ?
a. ตลอดเวลา คุณตองการใหท ุกคนรูวา คณุ คดิ อยางไร
b. คอ นขางจะบอ ยครั้ง แตไ มไดต ลอดเวลาเพราะอาจทําใหใ ครบางคนไมพอใจ
c. บอ ยครง้ั แตมีความระมดั ระวังในบางประเด็นเรื่องความเปนสว นบุคคลและการเมอื ง
d. นาน ๆ ครง้ั เน่อื งจาก “หากสิง่ นน้ั เปน ส่งิ ผดิ หละ ?”

4. หากเพอ่ื รวมงานของคณุ โดนตําหนเิ รือ่ งรายงานทีไ่ มม ีคณุ ภาพ คุณจะทําอยา งไร ?
a. บอกพวกเขาในสงิ่ ทพ่ี วกเขาควรจะรมู ากขนึ้
b. พาพวกเขาออกไปสงั สรรคห ลงั เลกิ งาน
c. เสนอตวั ชว ยตรวจรายงานใหใ นครง้ั ตอ ไป
d. หลีกเลยี่ งพวกเขา เพราะคุณมีสง่ิ ท่ีตอ งทาํ มากอยูแลว

5. คุณไดร บั ความเห็นท่ีไมด กี ลบั มา คณุ จะตอบสนองอยา งไร ?
a. รสู ึกโกรธและปกปองตวั เอง
b. รับฟงอยา งต้ังใจแตม ีความรสู กึ ผดิ หวังออกมา
c. พจิ ารณาถงึ ส่งิ ท่ีคณุ จะตอ งเปลย่ี นแปลง และวธิ ีในการปรับปรุง
d. ถอนหายใจแลว คิดวา “นแี้ หละตวั คุณ”

138 คมู อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทกั ษะชีวติ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 3

6. “อีควิ ” หมายความอะไรกบั คุณ ?
a. ไมม ี เพราะเปนแคค วามนยิ มในการบริหารจดั การ และจะหายไปเม่อื ไมไ ดรับความนิยม
b. จะถือเปนความผิดหากมกี ารอนุญาตใหห ัวเราะไดในเวลาทาํ งาน
c. เปน ความใสใจถงึ ความรสู กึ ของเพอ่ื นรวมงาน
d. เปนส่ิงท่คี ณุ พยายามจะเขา ใจในอารมณของเจา นายคณุ
7. เมอื่ คณุ เผชิญหนากบั ปญ หาทีต่ องไดรับการแกไขคณุ จะทําอยางไร ?
a. เสนอวิธีแกไ ขวธิ ีเดียวและบอกวา เปนวธิ ีท่ถี ูกตองแลว
b. เสนอหากวธิ ีการแกไ ขทม่ี คี วามเปน ไปไดแ ละขอใหค นอ่นื ออกความคิดเห็น
c. ทําการระดมสมองกับเพอ่ื รวมงาน
d. ขอคาํ แนะนาํ จากผจู ัดการหรอื หวั หนา
8. หากเจา นายขอใหคุณทาํ บางสงิ่ ที่เกนิ ความสามารถคณุ จําทําอยางไร ?
a. รับมาดว ยความเต็มใจ เพราะคุณสามารถทาํ ไดทุกอยา ง
b. ทาํ อยางเตม็ ความสามารถ และไมตาํ หนิตวั เองหากเกิดผิดพลาด
c. รบั มา แตถามถึงวิธกี ารและความชวยเหลือที่มากกวา น้นั
d. รับมาและทาํ เงียบเฉย สดุ ทา ยถงึ สารภาพออกมาวาคุณไมค ิดวา จะสามารถจัดการได
9. การกระจายอาํ นาจหรือการแบง งานกนั ทาํ คืออะไร ?
a. การเสยี เวลา ไมมีใครสามารถทาํ ไดดีเทาคณุ ดงั นน้ั คณุ ตอ งทําดวยตวั คุณเอง
b. เปนวิธีที่งา ยในการแบงภาระงาน
c. เปน วธิ ีท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพในการสรา งโอกาสในการเรยี นรใู หมสาํ หรับคนอ่ืน
d. เปน บางส่ิงท่คี ณุ ตอ งรบั เปน คนสดุ ทายเสมอ
10. “การเปล่ียนแปลง” มคี วามหมายอะไรกบั คณุ ?
a. บางส่งิ บางอยางที่สามารถควบคุมได
b. เปนโอกาสท่ีทุกส่งิ ทกุ อยา งสามารถเกิดข้นึ ได
c. เปน โอกาสในการสรา งความกา วหนา
d. บางสิ่งบางอยางที่จะตอ งไปกับมัน

คูมือการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทักษะชีวติ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 139

เฉลยคาํ ตอบ
หากคาํ ตอบสวนใหญค อื ขอ a
คุณมีความเปน ผนู าํ โดยกาํ เนิด เพยี งแตรอใหถงึ งานที่เหมาะสมกบั คณุ เสยี กอน คุณมคี วามแขง็ แกรง กลา ตดั สินใจ
และเปน นกั ปกครองท่ีดี ทกุ คนท่ีอยรู อบตัวคณุ ใหค วามเคารพนบั ถอื คุณ หรอื อยางนอยนัน้ เปน สิง่ ทีค่ ณุ คิดอยูเสมอ
แตในโลกแหง ความเปนจรงิ สถานการณอาจแตกตางออกไป ความเยอ หย่ิง ความมุทะลดุ ดุ ันและความเปน
เอกาธิปไตยทค่ี ุณมี มนั เปน รูปแบบทลี่ าสมยั ไปแลว คณุ ควรฉลาดทจี่ ะไมล งโทษผคู นท่ไี มไดเ หน็ เหมือนกบั คณุ และ
ควรเป ดโอกาสใหก ับคนทม่ี คี วามรคู วามสามารถท่ีอยูรอบตวั คุณ

หากคําตอบสวนใหญคือ ขอ b
คุณมีศักยภาพที่ดีในการเปนผูนาํ คุณสนบั สนุนและรบั ฟง คนรอบขา ง คณุ เปน คนท่อี ยเู คียงขา งและมคี วามคดิ รเิ รม่ิ
สิง่ เหลานี้เปน สิง่ ทดี่ สี าํ หรับคณุ ในอนาคต แตค ณุ เอาชนะส่งิ ทอ่ี าจเปน ขอบกพรองหรือขอผดิ พลาดรา ยแรงในหนาที่
การทาํ งานเพยี งเพอ่ื ตอ งการเปน ทีช่ นื่ ชอบน้นั ก็ไมถ อื วาผิด แตหากคณุ ทาํ เพยี งเพือ่ ใหไดช อ่ื วาเปน เพอื่ นทด่ี ที สี่ ดุ
สําหรบั ทุกคน คุณกอ็ าจไดร ับความยากลาํ บาก ลองพยายามเผชิญหนาความขดั แยงดว ยความออ นไหวและซื่อสัตย
ผูคนรอบขางอาจนับถือและเคารพคุณมากขน้ึ

หากคําตอบสว นใหญคือ ขอ c
คุณเปน นักบรหิ ารจดั การ และคุณตองการขึ้นไปใหสงู กวาน้กี ็ตอ งมีความสามารถใหมากกวานี้ คณุ เปนคนทมี่ ี
ความคดิ สรา งสรรค เดด็ ขาด และใสใจ คณุ สามารถรวมกลมุ เขาดว ยกนั และสนกุ กบั การเปน หวั หนาพวกเขา คํามั่น
สัญญาสว นใหญเ ปนสง่ิ ทส่ี ําคญั สาํ หรบั คณุ ในการใชความสามารถของคนอนื่ คณุ มีความคาดหวงั ที่สงู กบั พวกเขา
และเปนไปไดวาสูงกวาทีพ่ วกเขาคิดถึงตวั คณุ เสยี อกี และดูเหมอื นวาคุณเตรียมตวั พรอมทีจ่ ะทาํ ในสิง่ ทค่ี ุณสามารถ
ชวยใหพ วกเขารถู งึ ศักยภาพของพวกเขาเอง ทกั ษะดา นการบรหิ ารจดั การทคี่ ณุ มที ้ังหมดนเ้ี ปนส่ิงที่องคกรสมยั ใหม
กาํ ลงั มองหามากท่สี ดุ

หากคําตอบสว นใหญคอื ขอ d
คณุ มีความฉลาดเพียงพอที่จะรวู า คณุ เหมาะกบั การเปน สมาชิกในทมี มากกวา การเปนผนู าํ หรอื หวั หนา ทีม คณุ ชอบ
ท่จี ะฟง แนวความคิดมากกวา การสั่ง และคณุ ชอบที่จะลงมอื ทํามากกวา ทําหารตดั สนิ ใจ สิ่งตา ง ๆ เหลานไ้ี มไ ดเปน
ส่ิงทีไ่ มดี เพราะในโลกแหงความเปน จริงแลวคงเปนไปไมไดท จ่ี ะมีแตผ ูนาํ และไมม ผี ูตามเลยนอกจากนีค้ ุณยงั เปน
สมาชกิ ในทมี ท่ีมคี วามหนกั แนน นาเชอื่ ถือ และซอื่ สัตย แตพ ึงระวงั ถงึ ความยินยอมของคณุ ตอผูอน่ื คณุ ไมไ ดเ ปน
คนท่ีชอบประจบสอพลอ และในตอนนค้ี ณุ ควรเตรียมพรอ มที่จะทาํ ในสิง่ ท่ีคุณตองการ

140 คมู อื การจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสริมสรางทักษะชวี ติ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 3

เรือ่ งทเี่ ปน ประโยชน

นกขม้ินนอยผอู ารี

คร้งั หนึ่งนานมาแลว ในเมอื งพาราณสี มนี กขมน้ิ ตัวหนง่ึ อาศยั อยใู นปา ทํารงั อยบู นตนไม
ตน หนึ่ง โดยเลอื กเอาตรงงา มไมสูงๆ คุมแดดคมุ ฝนและคอ นขา งปลอดภัยจากอนั ตรายทจ่ี ะมาจาก
สัตวร า ยและคนรา ยเจา นกขมน้ิ เหลอื งออนนอนอยูบนรังอยางสงบสขุ เรือ่ ยมา

คราวหนง่ึ เกิดฝนตกชกุ ติดตอ กันมาหลายวัน จนนํา้ ฉาํ่ ฟา ชุมแผนดนิ ไมว าฝนจะตก
หนักหนาขนาดไหน กไ็ มทําใหเ จา นกขมนิ้ เดือดรอ นอะไรเลยเพราะรังของมัน คมุ ครอง ปอ งกันลม
และฝนไดเ ปน อยางดที ใี่ กล ๆ รังของนกขม้ิน มลี งิ ตัวหนงึ่ นง่ั หลบฝนอยแู ตกห็ ลบไมพ น มนั เปย ก
ปอนไปท้งั ตัว นงั่ สัน่ งันงกจนนกขม้ินอดสงสารไมไ ด จึงรอ งถามวา“พ่ีลิงจา.. ทา นพี่มลี กั ษณะเหมอื น
อยางมนุษยแตทาํ ไมจึงไมสรางบา นอยอู ยา งมนุษยล ะจะ มาทนตากฝนอยูทาํ ไม”ลิงตอบนกขมิ้นนอย
วา”เม่อื กอนนี้ฉันอาศัยอยใู นถ้ํา ซึง่ มีท้งั อาหารและน้ําอยูรอบ ๆ บริเวณถํ้า…แตตอนนี้ไดมลี งิ แมล ูก
ออนหลายตัวมาอาศัยอยู..ฉันสงสารแมล กู ออ นเหลา น้ันไมอ ยากแยง อาหาร…ฉนั กต็ อ งออกมาหาที่
อยใู หม แตยงั ไมท ันไดทําทอี่ ยูอาศยั เลย…ฝนกต็ กหนกั มาหลายวันแลว แตถ าฝนหยดุ …ฉนั อยากจะ
ทาํ ที่อยูใกลๆ กับเจา ไดไ หม!”นกขมิ้นนอ ยตอบวา
“ไดซ ิจะพี่ลงิ เพราะฉันกอ็ ยตู วั เดยี ว..จะไดมีเพือ่ น..พอกบั แมของฉันตายหมดแลว”ลงิ ดใี จ และลงมอื
ทําที่อยอู าศัยใกลก บั รงั ของนกขมิน้ จากนั้นมา ลิงกบั นกขมน้ิ กเ็ ปนเพอ่ื นที่ดีตอ กันชว ยกันคิด
แกปญหาหรือเม่อื มคี วามทกุ ข…ก็ปรกึ ษารวมกนั คิดแกปญ หา

นทิ านเรื่องนสี้ อนใหรวู า การมปี ญญาและมเี พ่ือนทดี่ ี สามารถแกป ญ หา…หรอื ทุกขท่ีเกดิ ขึ้นได

คมู ือการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวิต ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3 141

แผนการจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรุนใหญ เครอ่ื งหมายลูกเสอื หลวง ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 3

หนว ยที่ 10 ประเมินผล

แผนการจดั กิจกรรมท่ี 29 การประเมินผล เวลา 1 ช่วั โมง

1. จดุ ประสงคการเรียนรู

1.1 เพ่อื ใหลกู เสือเขา ใจการประเมนิ ผลเพอ่ื การตดั สนิ ผลการผา น ไมผา นกจิ กรรม
1.2 เพ่ือใหลกู เสือเขา ใจการประเมนิ พฤตกิ รรมทักษะชวี ิตทล่ี ูกเสือไดร บั การพัฒนา
1.3 เตรยี มความพรอ มรบั การประเมินตามวธิ ีการของผกู ํากบั กองลูกเสือ
2. เนือ้ หา

2.1 เกณฑก ารตัดสนิ กจิ กรรมพฒั นาผูเรียนตามหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551
2.2 การประเมนิ พฤตกิ รรมทักษะชีวติ
3. ส่อื การเรยี นรู

3.1 Flow Chart การประเมนิ เพอื่ ตัดสนิ ผลการเลอื่ นช้นั ของลูกเสือและจบการศึกษา
3.2 แบบประเมนิ ทักษะชวี ติ ของลกู เสอื รายบคุ คลหรือรายหมลู ูกเสือ
3.3 แบบประเมนิ ตนเองของลูกเสือประจําปก ารศกึ ษา
3.4 ใบความรู
4. กิจกรรม

4.1 ผูกํากับลกู เสืออธิบายหลักเกณฑ วธิ กี ารประเมินผลการเรยี นรตู ามที่หลกั สตู รแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 กําหนดเพ่ือตดั สนิ การจบการศึกษา

4.2 ผูกาํ กบั ลกู เสืออธิบายถงึ พฤติกรรมของลกู เสอื ที่ไดรับการเสรมิ สรา งทกั ษะชวี ติ ผา น
กจิ กรรมลกู เสอื

4.3 ลูกเสอื ประเมนิ ความพรอ มของตนเองเพื่อรบั การประเมนิ และวางแผนพัฒนาตนเอง
ในสวนทไี่ มม นั่ ใจ

4.4 ผกู ํากับลกู เสอื และลูกเสอื กําหนดขอ ตกลงรว มกันถึงชวงเวลาการประเมนิ
4.5 ผกู ํากับลกู เสอื นดั หมายและดําเนนิ การประเมนิ
5. การประเมนิ ผล

5.1 สังเกตจากผลการประเมินตนเองของลูกเสอื
5.2 สงั เกตความมนั่ ใจและการยนื ยนั ความพรอ มของลกู เสือ

142 คมู ือการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 3

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 29

1. การประเมินผลตามเกณฑข องหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. 2551
Flow Chartกระบวนการประเมนิ ผลลูกเสอื

ลูกเสือเรียนรจู ากกิจกรรม เกณฑก ารประเมิน
ลกู เสอื เสรมิ สรางทกั ษะชวี ติ 1. เวลาเขา รว มกจิ กรรม
2. การปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
ผกู าํ กับประเมนิ ผลเรียนของ 3. ผลงาน / ช้ินงาน
ลกู เสือทร่ี ว มกจิ กรรม 4. พฤตกิ รรม/คุณลกั ษณะ
ของลูกเสอื
ผลการประเมนิ
ผา น ไมผา น - ซอ มเสริม
- พฒั นาซา้ํ
ตดั สนิ ผลการเรยี นรูผ านเกณฑ
ผา น

รบั เคร่ืองหมายชัน้ ลกู เสอื
ตามประเภทลกู เสือ

คมู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือสามัญรุนใหญเสริมสรา งทักษะชวี ิต ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 143

แบบประเมนิ ตนเองของลูกเสอื
ชอื่ ..........................................................ประเภทลูกเสือ...........................ชน้ั ................................

เกณฑท ี่ การประเมินตนเอง ขอคิดเหน็
การพัฒนา
ท่ี รายการทร่ี ับการประเมิน สถานศกึ ษา ครบ/ ไมครบ/

กาํ หนด ผาน ไมผาน

1 1. เขา รวมกจิ กรรมลกู เสือ ไมนอยกวา

1.1 รว มกิจกรรมการฝกอบรม 24ชวั่ โมง/ ป

1.2 รวมกจิ กรรมวนั สาํ คญั

- วนั สถาปนาลกู เสอื 1 ครง้ั / ป

- วันถวายราชสดุดี 1 ครงั้ / ป

- วนั พอแหงชาติ 1 คร้งั / ป

- วันแมแหงชาติ 1 ครง้ั / ป

- วนั ตา นยาเสพติด 1 ครง้ั / ป

- กจิ กรรมบําเพ็ญประโยชนอน่ื ๆ 8ครั้ง/ ป

- กิจกรรมวฒั นธรรม/ ประเพณี 4คร้ัง/ ป

1.3 เดนิ ทางไกล/ อยูคายพักแรม 1 คร้ัง/ ป

2 2. มผี ลงาน/ ชนิ้ งานจากการเรยี นรู

กิจกรรมลูกเสอื ไมนอยกวา

2.1 ผลงานการบรกิ าร 6รายการ/ ป

2.2 ช้ินงาน/ งานท่ีคิดสรางสรรค 2รายการ/ ป

2.3 อน่ื ๆ เชน รายงานฯ 2รายการ/ ป

3 3. มคี วามพรอมเขา รบั การทดสอบเพอ่ื

เลือ่ นช้นั และรบั เคร่ืองหมายวิชาพเิ ศษ

ลกู เสอื วสิ ามญั

3.1.............................................

3.2.............................................

3.3.............................................

3.4.............................................

3.5.............................................

ผา นและพรอ ม

สรปุ  ฉันมน่ั ใจวาผาน  ฉนั มคี วามพรอ มใหป ระเมิน  ฉันยงั ไมพ รอม

144 คูม ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวติ ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 3

สรปุ ผลการประเมินตนเอง  
1. ดา นทกั ษะลกู เสือ



มั่นใจมากวาจะ พรอ มแลว ไมแ นใ จ ตอ งขอความ งนุ งง
ผานการประเมิน ชว ยเหลอื จาก ไมเขาใจ
ผูกํากบั ลูกเสอื

 มั่นใจมาก พรอมรบั การประเมนิ เครือ่ งหมายวิชาพิเศษ
 พรอ มรับการประเมิน
ไมแนใจ
 ยงั ตองพฒั นา/ ซอมเสริมบางเรอื่ ง
ตองการความชว ยเหลอื จากผกู ํากบั ลกู เสอื

ลงช่อื .......................................................ผปู ระเมนิ

คูมือการจัดกจิ กรรมลูกเสือสามญั รุนใหญเสรมิ สรา งทักษะชีวติ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 145


Click to View FlipBook Version