The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี AN ANALYSIS ON THE VALUES OF BUDDHIST ART IN
DVARAVATI PERIOD IN SUPHANBURI PROVINCE นางสาวธนัชพร เกตุคง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-08-20 11:26:56

การวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี

การวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี AN ANALYSIS ON THE VALUES OF BUDDHIST ART IN
DVARAVATI PERIOD IN SUPHANBURI PROVINCE นางสาวธนัชพร เกตุคง

๓๖

อินเดียจึงมีความสําคัญข้ึนมาแทนท่ี และเจริญสูงสุดในสมัยคุปตะ (Gupta) ซ่ึงเป็นต้นแบบ
ของพระพุทธรูปทีส่ าํ คัญในสมยั ทวารวดขี องไทย

จีวรของพระพทุ ธรูปในศลิ ปะคนั ธาระ

พระพทุ ธรปู ยืน ศิลปะคนั ธาระ แบง่ ออกเปน็ สองลกั ษณะคือ

๑) จีวรห่มคลุม พระพุทธรูปยืนในศิลปะคันธาระ ส่วนมากมักครองจีวรห่มคลุมแสดงถึง
อิทธพิ ลการหม่ ผ้าโทกาคลุมอย่างชัดเจนจวี รในศลิ ปะคนั ธาระทั้งพระพทุ ธรูปยนื และประทับนั่งมกั เป็น
ร้วิ ธรรมชาติ ลักษณะเดยี วกับรวิ้ ผ้าในศลิ ปะกรกี โรมันเสมอ อิทธิพลของศิลปะกรีก โรมันยังทําใหจ้ วี ร
ในศลิ ปะคันธาระ มีลักษณะเป็น“ผ้าหนา” ปกคลุมพระวรกายทงั้ หมดจนไม่เห็นสดั ส่วนหรือเส้นรอบ
นอกพระวรกายแตท่ ี่ บรเิ วณพระอรุ ุ (ตน้ ขา) และพระชงฆ์ (แข้ง) กลับแสดงใหเ้ ห็นเคา้ โครงของ “ขา”
อนึ่ง พระพุทธรูปยืน ตริภังค์หลายองค์เห็นเค้าโครงขาข้างท่ีพักย่ืนออกมาจากจีวรอย่างชัดเจนทําให้
นึกถึงประติมากรรมบางชิน้ ในศิลปะกรีกโรมนั ซึง่ เมื่อยืนแบบ Contrapposto แลว้ ทาํ ให้เห็นเค้าโครง
ของขาข้างท่ีพักย่ืนออกมาจากผ้าโทกาอย่างชัดเจนแต่ท้ังนี้ก็ไม่อาจเทียบกับขาที่มองเห็นได้ชัดเจน
ในพระพุทธรูปยืนศิลปะมถุรา และศิลปะคุปตะซึ่งทรงจีวรบางโปร่งใสและจีวรบางคล้ายผ้าเปียกน้ำ
ตามลําดับ

๒) จีวรห่มคลุมแล้วใช้พระหัตถ์ดึงขอบจีวรลงมา การห่มคลุมของพระพุทธรปู ยืน ศิลปะ
คันธาระ บางครั้งพบการใช้พระหัตถ์สอดเข้าไปในจีวรแล้วดึงลงมา ทําให้เกิดการเปิดบริเวณพระอุระ
(บางครง้ั อาจ เห็นอุตราสงค์ภายใน) และทําให้ข้อศอกภายในจีวรยื่นออกด้านข้างเป็นรูปสามเหลี่ยม
แสดงอิทธิพลของการห่มผ้าโทกาห่มคลุม แต่ใช้มือสอดเข้าไปภายในแล้วดึงผ้าในศิลปะกรีก โรมัน
อย่างชัดเจน

๓๗

ภาพที่ ๒.๖ พระพทุ ธรปู ศิลปะคันธาระ๒๗

สรุปพุทธศิลปะแบบคันธาระ การสร้างพระพุทธรูปในยุคแรก คือแบบคันธาระนั้น มีลักษณ์เด่น
ทีล่ ักษณะคอ่ นขา้ งไปทางเทพเจ้ากรีก ทกุ อยา่ งมคี วามเหมอื นจริงในลกั ษณะของมนษุ ย์สว่ นพัฒนาการ
ในช่วงเวลาต่อมาเปลี่ยนรูปลักษณ์ไปตามคติความเชื่อของแต่ละสกุลช่าง โดยการสร้างพยายาม
ผสมผสาน คตินิยมในความเช่ือเข้ากับหลกั ธรรมทางศาสนามาจนถึงสมยั ปัจจบุ ัน

๒) สถาปัตยกรรม สกลุ ชา่ งแบบคันธาระ
ศิลปะแบบสาญจี (Sanchi) เป็นศิลปะของอินเดยี ในสมยั ประวัตศิ าสตร์ท่ีเกา่ แก่ทีส่ ุดอยูใ่ น
วงศ์ เมาริยะ (Maurya) และศุงคะ (Sunga) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัชสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช
นน้ั ปรากฏ ผลงานท้งั ดา้ นสถาปัตยกรรม ประตมิ ากรรม และจติ รกรรมมากมายในสว่ นสถาปัตยกรรม
แม้จะเหลืออยู่ ไม่มากนัก แตป่ รากฏหลักฐานเป็นศาสนสถานท่ีเป็นถำ้ ซากพระราชวังของพระอโศก
มหาราชท่ีเมือง ปาฏลีบุตร และที่เมืองตักสิลา สถูปต่างๆ และเสาแปดเหลี่ยม ส่วนทางด้าน
ประติมากรรมของอินเดียในระยะแรก จะเป็นลวดลายประกอบสถาปัตยกรรม มีท้ังประเภท
ประติมากรรมลอยตัว ซ่ึงมักเป็นรูปเคารพในศาสนาสถานหรือเทพเจ้าสําคัญๆ เช่น รูปแม่พระธรณี
และประเภทภาพสลักนูนต่ำสําหรับ พรรณนาเรื่องราวทางศาสนา แต่ศิลปะในสมัยน้ียังไม่กล้า

๒๗ พระพุทธรูป ศิลปะคันธาระ, ปางปฐมเทศนา-ปางประทานพร-ปางปาฏิหาริย์, [ออนไลน์].
แหล่งท่มี า: http://tainote๒.blogspot.com/๒๐๑๔/๐๔/blog-post.html, [ ๑๙๑๔ ๑๙๑๓ bdbo]

๓๘

ประดิษฐ์พระพุทธรูปจะใช้สัญลักษณ์แทน อาทิ ดอกบัวแทนปางประสูติ ต้นโพธิ์แทนปางตรัสรู้
ธรรมจักรแทนปางปฐมเทศนาและสถปู แทนปางปรินิพพาน เป็นตน้

สาํ หรับสถูปที่สําคัญ คือสถปู สาญจี ซึ่งมีลักษณะเป็นโอควำ่ หรือขันคว่ำ ลักษณะดังกล่าว
เปน็ แบบ อย่างสร้างสถูปอ่นื ๆ ในสมยั อนื่ ๆ ในสมยั ต่อมาเรยี กสถูปลักษณะนี้ว่า “ศลิ ปะแบบสาญจี”

ภาพท่ี ๒.๗ สถูปสาญจีซึ่งมลี ักษณะเป็นโอควำ่ หรือขันควำ่
ศิลปะแบบสาญจี (Sanchi) เป็นศลิ ปะของอนิ เดียในสมัยประวัตศิ าสตรท์ ่ีเก่าแกท่ ่ีสดุ อยูใ่ น
ยุคของราชวงศ์ “เมาริยะ” (Maurya) และศุงคะ (Sunga) โดยเฉพาะอย่างย่ิงในรัชสมัยของพระเจ้า
อโศก มหาราชนั้นพระองค์ได้สรา้ งผลงานด้านพระพุทธศาสนา เช่น ส่งพระธรรมทูตออกไปประกาศ
พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองปรากฏแก่ชาวโลกทั้งด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม
และจิตรกรรมมากมายในส่วนสถาปัตกรรมแม้จะเหลืออยู่ไม่มากนัก แต่ปรากฏหลักฐานเป็นศาสน
สถานที่เปน็ ถ้ำ ซากพระราชวงั พระเจา้ อโศกมหาราชที่เมืองปาฏลีบุตรและท่ีเมอื งตักกศลิ า สถูปตา่ งๆ
และเสาแปดเหล่ยี มสําหรับสถูปที่ สําคัญคือ สถูปสาญจี ซ่ึงมีลักษณะเป็นโอคว่ำหรือขันควำ่ ลักษณะ
ดงั กลา่ วเปน็ แบบอยา่ งสรา้ งสถปู อน่ื ๆ ในสมยั อน่ื ๆ ตอ่ มาเรยี กสถูปว่า “ศลิ ปะแบบสาญจ”ี
ครั้นเมอ่ื พระเจ้าอโศกมหาราชโปรดใหม้ กี ารสงั คายนาพระไตรปิฎก คร้งั ที่ ๓ ข้ึนแล้วเสร็จ
ทรงโปรด ใหส้ ร้างศาสนสถานศกึ ษาข้นึ หลายแหง่ เพื่อศกึ ษาพระปริยตั ิธรรม แต่ยงั คงไม่นิยมการสรา้ ง
รูปพระพุทธเจ้า เป็นรูปเคารพ ทําแต่รูปอย่างอื่นเป็นเพียงสัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้า ดังเช่น
ท่ีปรากฏอยู่ท่ีสถูปสาญจิ มีการสร้างรูปเคารพจากรากฐานของวัฒนธรรมอินเดียเช่น รอยพระพุทธ
บาทซ่ึงแสดงถึงการเคารพ อย่างสูงสุดเปรียบเทียบกับพระมหากษัตริย์ หรือการสร้างต้นโพธ์ิเป็น
สญั ลักษณแ์ ทนการตรัสรู้ เปน็ ต้น๒๘
๓) จติ รกรรม สกลุ ช่างแบบคันธาระ

๒๘ เสถียร สระทองให้, พุทธศลิ ปะ, หนา้ ๒๗-๒๘.

๓๙

ถ้ำอชันตา (Ajanta Caves) เมืองออรังกาบาด รัฐมหาราษฎร์ ประเทศอินเดีย ได้ชื่อว่า
เปน็ วัดถ้ำในพระพทุ ธศาสนาทง่ี ดงามและเกา่ แกท่ ี่สดุ ในโลก สร้างเมอื่ พ.ศ. ๒๕๐ โดยพระภิกษุในสมัย
นั้นได้ค้นพบ สถานที่แห่งนี้ เห็นว่าเป็นสถานท่ีเหมาะสําหรับการปฏิบัติธรรมกรรมฐานเป็นอย่างยิ่ง
จึงได้เจาะภูเขา เพ่ือสร้างเป็นกุฏิ โบสถ์ วิหาร ฯลฯ เพ่ืออาศัยอยู่อย่างสันโดษ เนื่องจากเป็นสถานที่
ห่างไกลผคู้ น ทาํ ให้ประวัติศาสตร์หนา้ ต่อมาของศาสนาพุทธในอินเดีย ได้ปรากฏขึ้นในหมถู่ ้ำบริเวณฝ่ัง
ตะวันตกของท่ีราบสงู เดกกัน เมืองออรังกาบาด รฐั มหาราษฎร์แหง่ นี้๒๙ และเนอื่ งจากถำ้ อชันตาเป็น
สถานท่ีห่างไกลผู้คน ภายในเต็มไปด้วยงานแกะสลักหิน เป็นองค์เจดีย์ เป็นพระพุทธรูป และภาพ
จิตรกรรมฝาผนังถ้ำ เล่าเร่ืองราวต่างๆ ในพุทธประวัติและชาดกในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ได้รับการขึ้น
ทะเบียนเปน็ มรดกโลกโดยองคก์ ารยเู นสโก๓๐

การสร้างถ้ำอชันต้า เริม่ ตั้งแตศ่ ตวรรษที่สองตลอดมาจนถงึ ศตวรรษทสี่ ่ี หลังจากศตวรรษ
ที่ ๔ การสร้างถ้ำก็ชลอลงและสุดท้ายก็ถูกปล่อยให้รกร้างและถูกลืมเลือนไปตามกาลเวลา
ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ที่ อ ยู่ ใน ถ้ ำ อ ชั น ต้ า เป็ น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ร่ ว ม ส มั ย ใ น ก ล า ง พุ ท ธ ศ ว ร ร ต ท่ี ห้ า แ ล ะ
ต้นพุทธศตวรรษท่ีหก ถ้ำอชันต้า ได้รับการขนานนามและยกย่องว่าเป็นถ้ำที่มีภาพจิตกรรมฝาผนัง
ที่งดงามและมีทักษะช้ันสูงในการวาด เป็นอันดับสามของโลกงานประติมากรรม รูปป้ัน รูปแกะสลัก
มีอายุราวพุทธศตวรรษท่ีห้าและพทุ ธศตวรรษ ที่ ๕ ถ้ำอชันต้าถูกค้นพบโดยชาวอังกฤษชือ่ จอร์นสมิท
ในขณะที่กําลังล่าสัตว์เม่ือปี ๑๘๑๙ ลักษณะแผนผังของถ้ำอชันต้าเป็นลักษณะวงรีแคบสูงชัน
บนหน้าผา ตัวถ้ำบางถ้ำเป็นเทวาลัยในศาสนาฮินดูและเป็นวัดในพุทธศาสนาเป็นท่ีสําหรับพระสงฆ์
จําพรรษาในช่วงฤดฝู น

ถ้ำที่กอ่ สร้างในยุคแรกๆ เป็นวัดถ้ำของพทุ ธฝา่ ยเถรวาท พระสงฆใ์ นยคุ น้ันไดส้ ร้างข้ึนเพื่อ
เป็นที่อยู่อาศัยอย่างเรียบง่าย โดยเจาะหินเข้าไปเป็นห้องโถง เปิดโล่ง ใช้เป็นที่น่ังสนทนาธรรม
ส่วนผนงั ทั้ง สามด้านกส็ กัดหนิ เจาะเข้าไปเป็นหอ้ งนอน ภายในมเี ตียงหนิ ห้องละ ๒ หลงั

กลุ่มถ้ำอชันตะ (Ajanta) ซึ่งเป็นกลุ่มถ้ำทางพุทธศาสนา ท่ีได้รับการประกาศจาก
UNESCO ให้เป็นมรดกโลกในปี ๒๕๒๖ อยู่ห่างจากตัวนครออรงั กาบาดไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ
๑๐๗ กิโลเมตร ชอ่ื ของกลมุ่ ถำ้ นี้ตั้งตามชื่อหมูบ่ า้ นอชนั ตะในบรเิ วณที่อย่หู า่ งออกไป ๑๒ กิโลเมตร

๒๙ ฝ่ายศาสนา, ถ้ำอชันตา ปฏิมากรรมพุทธศาสนาเก่าแก่ที่สุดในโลก, [ออนไลน์]. แหล่งข้อมูล:
htp://www. komchadluek.net/news/lifestyle/๑๘๐๗๓๑, [๗ เมษายน ๒๕๖๑]

๓๐ สารานุกรมเสรี, ถำ้ อชนั ต้า, [ออนไลน์]. แหล่งข้อมลู : https://th.wikipedia.org/wiki/ [๗ เมษายน
๒๕๖๑].

๔๐

ภาพท่ี ๒.๘ จติ รกรรมในถำ้ อชันตา๓๑

ภาพที่ ๒.๙ ภาพจิตรกรรมในถำ้ อชนั ตา อินเดีย
๒) สกลุ ช่างแบบมธรุ า หรอื มถุรา (พทุ ธศตวรรษที่ ๗-๑๖)
(๑) ประตมิ ากรรม
พุทธศิลปะแบบมธุรา (พุทธศตวรรษท่ี ๗-๑๖) กําเนิดทางตอนเหนือของอินเดีย พบใน
สมยั เดียวกบั แบบคนั ธารราฐ เป็นพระพุทธรูปแบบชาวอินเดีย ไม่มมี ุ่นพระเกศา ประทบั อยู่บนสิงห์มี
บัลลังก์ประดับด้วย พระโพธิสัตว์และเหล่าอุปัฏฐากท่ีฐาน รูปร่างจะมีลักษณะอวบอ้วนเข้มแข็ง
เป็นลัญลักษณ์มถุรา แท้จริง กําเนิดทางตอนเหนือของอินเดียพบในสมัยเดียวกับแบบคันธารราฐ
เป็นพระพุทธรูปแบบชาวอินเดีย ไม่มี มุ่นพระเกศาประทับอยู่บนสิงห์มีบัลลังก์ประดับด้วย
พระโพธสิ ัตว์ และเหล่าอปุ ฏั ฐากท่ีฐานรปู ร่างอวบอว้ น เขม้ แขง็

๓๑ ถ้ำอชันต้า, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.taraarryatravel.com/info page.php, [๗
เมษายน ๒๕๖๑]

๔๑

ภาพที่ ๒.๑๐ พระพุทธรูป ปางประทานอภัย ศิลปะยคุ มธุรา๓๒
พระพุทธรูปจะมีลักษณะพระวรกายแข็งแรง ล่ำสันบึกบึนไม่อ่อนช้อยเหมือนพุทธศิลป์
แบบคันธารราฐ พระพกั ตรข์ องพระพุทธรูปจะมีสว่ นคลา้ ยชาวอินเดียมากข้ึน พระเศยี รมีลกั ษณะกลม
ผ้าจีวรจะมี ลักษณะบางย่ิงกว่าแบบคันธารราฐ และแนบสนิทกับพระวรกาย นอกจากนี้จะมี
ภาพแกะสลักบนงาช้าง และกระดูกอีกด้วย พุทธศิลป์แบบมธุราระยะหลังยังคงรักษาการประดิษฐ์
แบบธรรมชาติของศิลปะอินเดีย โบราณไว้ ประติมากรรมในสมัยน้ีจะนิยมใช้หินทรายสีชมพูแก่
มาสร้าง
ศิลปะแบบมธรุ า มีลักษณะแบบพ้ืนเมืองของอินเดยี ลักษณะพระเศียรกลม พระพักตรอ์ ่ิม
พระโอษฐ์ มีรอยย้ิม พระเกศาเรียบไม่มีเส้นพระเมาลีทําเป็นขมวดก้นหอย พระพุทธรูปในยุคนี้จะมี
ความอ้วนสมบูรณ์ พระอุระ มีลักษณะคล้ายกันของสตรีเพศ ครองจีวรห่มคลุม จัดร้ิว เช่น ปางปฐม
เทศนา พุทธศิลปะองค์ ต้นแบบของมธุราเป็นระเบียบประทับบนฐานสิงห์มีรูปพระโพธิสัตว์และ
พระสาวกแวดล้อม แสดงถงึ อทิ ธพิ ลของพระพุทธศาสนามหายานท่ีเจรญิ รงุ่ เรืองอยู่ในยุคนี้
พุทธศิลปะแบบมธุรา (Mathura) (พุทธศตวรรษท่ี ๗-๑๖) กําเนิดทางตอนเหนือ
ของอินเดีย ประติมากรรมในสมัยนี้จะนิยมใช้หินทรายสีชมพูแก่ ลักษณะของพระพุทธรูปในสมัยนี้
แม้จะยังคงแสดงให้เห็นอิทธิของศิลปะแบบคันธาราฐอยู่บ้าง แต่พระพกั ตร์ของพระองค์จะมีลักษณะ
คล้ายชาวอินเดยี มากขึ้น ศิลปะแบบมธุรา ระยะหลังยังคงรักษาการประดษิ ฐ์แบบธรรมชาติของศิลปะ
อินเดยี โบราณไว้

๓๒ สุภัทรดิศ ดศิ กลุ , ศิลปะอินเดีย, พิมพ์ครั้งที่ ๔. (กรงุ เทพมหานคร: องค์การคา้ ของครุสภา, ๒๕๕๕),
หนา้ ๔๗.

๔๒

ภาพท่ี ๒.๑๑ ลกั ษณะของพระพทุ ธรปู ศิลปะ มธรุ า๓๓
(๒) สถาปัตยกรรม
ในสมัยน้ี สถาปัตยกรรมยังคงเป็นอย่างเดียวกับสมัยกอ่ น คือแบ่งออกเปน็ ถ้ำ เจติยสถาน
และถ้ำ วิหาร เป็นต้นวา่ ทนี่ าสิกและกนั เหริรวมทงั้ บรรดาสถูปแถบเมืองอมราวดดี ้วย นา่ เสียดายท่ีว่า
เมืองมถุรา ซ่ึงคงต้องมีสิ่งก่อสร้างเป็นจํานวนมาก เพราะเหตุนี้ที่ว่า จึงมีฉายาว่าเทวปุระ หรือเมือง
เทวดาน้ัน ได้ถูก ทําลายเสียหายหลายคร้ังหลายหน จึงไม่อาจค้นพบอาคารท่ีมีสถาปัตยกร รม
ที่สมบูรณ์ได้ อย่างไรก็ดี จากภาพสลักที่ค้นพบท่ีเมืองมถุราและอมราวดี ตลอดจนภาพสลักบนแผ่น
งาช้างอีกรวม ๕๐๐ แผ่น จากเมืองเบครามในประเทศอัฟกานิสถาน ทําให้สามารถคาดคะเน
ถึงสถาปัตยกรรมในสมัยนไ้ี ด้๓๔
๓) สกุลชา่ งแบบอมราวดี (Amaravati) พทุ ธศตวรรษที่ ๖-๔ (พ.ศ.๕๔๓-๔๖๓)
(๑) ประติมากรรม
ลักษณะของสกุลช่างแบบอมราวดี มีลักษณะผสมผสาน โดยบางส่วนจะคล้ายกับมถุรา
จะแสดงความเคลื่อนไหวต่ืนเต้นมากในระยะแรกและต่อมาค่อยๆ สงบลง แล้วกลับแสดง
ท่าเคล่ือนไหวใหม่อีกคร้ัง ภาพบุคคลไม่มีรูปร่างสมบูรณ์ดังแต่ก่อน ศิลปะแบบน้ีจะเป็นการผสม
ระหว่างศิลปะอินเดียสมัยโบราณและการทําตามอุดมคติปะปนกับการแสดงชีวิตจิตใจ ภาพท่ีสําคัญ
ในสมยั นจ้ี ะเป็นภาพในวงกลมแสดงการนาํ บาตรหรือเกศาของพระพทุ ธเจา้ ข้ึนไปส่สู วรรค์พระพทุ ธรูป
อมราวดมี กั จะครองจีวรห่มเฉยี ง จวี รเป็นรวิ้ ทง้ั องค์ และทีเ่ บอื้ งลา่ งใกลพ้ ระบาทมขี อบจวี รหนายกจาก
ทางด้านขวาขนึ้ มาพาดขอ้ พระหัตถ์ซ้าย

๓๓ เชษฐ์ ติงสัญชลี, เอกสารประกอบการบรรยาย พุทธศิลป์ในศิลปะอินเดีย ตอนท่ี ๒, [ออนไลน์].
แหลง่ ทมี่ า https://welovemuseum.files.wordpress.com,

๓๔ สภุ ัทรดิศ ดิศกลุ , ศลิ ปะอนิ เดีย, หน้า ๙๒.

๔๓

ศิลปะในสมัยน้ี เจริญข้ึนทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศอินเดียราวพุทธศตวรรษ
ท่ี ๖ หรือ๗ ถึงพุทธศตวรรษท่ี ๔ ร่วมสมัยกับศิลปะคันธารราฐ พระพุทธรูปในศิลปะอมราวดีได้รับ
อทิ ธิพลมาจากศิลปะ

คันธารราฐและมถุราผสมกัน เพราะศิลปะอมราวดีในข้ันแรกใช้สัญลักษณ์แทนองค์
พระพุทธรูป จนกระทั่ง ต่อมาภายหลังจึงได้สร้างพระพุทธรูปขึ้นเป็นรูปมนุษย์ พระพุทธรูป
แบบอมราวดีแบง่ ไดเ้ ป็น ๔ แบบ คอื

๑) แบบประทับยืน มักยืนหันหนา้ ตรงอยบู่ นฐานบัว ครองจวี รทัง้ ห่มเฉียงและห่มคลุม
๒) แบบประทบั นงั่ มเี ฉพาะในภาพสลกั นูนตำ่ เทา่ นัน้
๓) แบบนาคปรก พระพุทธรูปนาคปรกที่เก่าท่ีสุดตกอยู่ในแบบพระพุทธรูปประทับนั่ง
ห่มเฉยี ง แบบท่ี ๒ ในศิลปะอมราวดี เป็นพระพุทธรปู ท่ีมีวิวัฒนาการโดยเฉพาะของตนเองและเจริญ
ข้ึนในศลิ ปะอมราวดี
๔) แบบประทับน่ังห้อยพระบาท พระพุทธรูปแบบนี้แสดงถึงการคิดค้นลักษณะรูปภาพ
ทีส่ ําคญั แบบใหม่ ดเู หมอื นจะเกยี่ วขอ้ งอย่กู บั บัลลังกซ์ ึ่งมีรปู รา่ งเหมือนมา้ นั่งหรือเก้าอีม้ ีท้าวแขน๓๕

ภาพท่ี ๒.๑๒ พระพทุ ธรูปแบบอมราวดี๓๖

(๒) สถาปตั ยกรรม

๓๕ สุภั ทรดิศ ดิศ กุล , ม.จ., พ ระพุ ทธรูป อินเดียแบ บ อมราวดี , [ออนไล น์ ]. แห ล่งที่ มา:
http://www.thapra.lib. su.ac.th/supat/article/showdetail.php?ID=๙๙, [๘ เมษายน ๒๕๖๑]

๓๖ [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า: https://sites.google.com/, [๘ เมษายน ๒๕๖๑].

๔๔

ในส่วนของสถาปัตยกรรมยุคนี้ มีลักษณะเหมือนกับยุคของมถุรา แต่ยังคงเหลือ
แต่รากฐานของสถูปใหม่ที่เมืองอมราวดีต้ังอยู่บนเนื้อที่กว้างขวาง รูปสถูปที่มีจํานวนมากในสมัยนี้
แสดงให้เห็นว่ามีรูปร่างต่างไปจากสถูปที่เมืองสาญจิเล็กน้อย คือองค์ระฆังใหญ่ข้ึน และฐานก็สูงข้ึน
ตลอดจนมีลวดลาย เคร่ืองประดับมากขึ้นด้วย สถูปเหล่านี้มีประตูหรือโตรณะ (บันได) ต้ังอยู่ขา้ งหน้า
เหมือนกับบรรดาอาคาร และเมืองในสมัยน้ัน โตรณะเองกม็ ีรปู ร่างเปล่ียนแปลงไปด้วย จากภาพสลัก
ท่ีเมือง มถุราในชั้นต้นโตรณะก็เลียนแบบประตูท่ีสาญจิ คือบรรดาคานที่พาดอยู่ข้างบนน้ันมี
ปลายสลักเป็นลายก้านขดและมีลายมกร (มังกร) หันหนา้ เข้าหากันสลักประกอบอยู่ดว้ ย คานเหล่านี้
ยงั เปน็ สว่ นเดียวกับเสาหรือสดมภ์ (Stambha) ของประตนู ัน้ เอง๓๗

ภาพที่ ๒.๑๓ ภาพสลักหินตกแต่ง

๔) สกลุ ช่างแบบคปุ ตะ (Gupta) พทุ ธศตวรรษท่ี ๙-๑๓
(๑) ประติมากรรม
ในพุทธศตวรรษท่ี ๘ มศี ิลปะอินเดียอีกแบบหนึง่ ไดถ้ ือกาํ เนิดขนึ้ มาอีก เรียกว่า ศิลปะแบบ
คุปตะในสมัยคุปตะนี้ถือว่าเป็นสมัยที่งานด้านศิลปกรรมมีความรุ่งเรืองมาก ไม่ว่าจะเป็นปราสาท
ราชวัง และปูชนียสถานต่างๆ นิยมตบแต่งประดับประดาด้วยงานประติมากรรมท้ังสิ้น กษัตริย์แห่ง
คุปตะนั้นนับถือ ศาสนาพราหมณ์เท่าๆ กับศาสนาพุทธ ศิลปะแบบคุปตะนี้ยังได้รับอิทธิพลมาจาก
ศิลปะแบบอมราวดี ค่อนข้างมากและพัฒนารูปแบบได้เลอเลิศงดงามเป็นที่สุด มีการสร้างสรรค์

๓๗ สุภัทรดิศ ดศิ กลุ , ศลิ ปะอนิ เดยี , หน้า ๙๓.

๔๕

ประติกรรมรูปแบบมากมาย มีทั้งปั้นทั้งแกะ และหล่อจากสัมฤทธ์ิ จนกระท่ังถึงปลายพุทธศตวรรษ
ที่ ๑๑ ศลิ ปะแบบคุปตะ เรม่ิ ถกู กลืนไปเรือ่ ยๆ ตามสภาพสภาวะและตามระยะเวลา

พระพุทธรูปอินเดียแบบคุปตะ จัดเป็นพระพุทธรูปอินเดียท่ีงามท่ีสดุ พระพุทธรูปแบบนี้
มีประภา มณฑลสลักเป็นลวดลายเต็มท้ังแผ่น พระเกศาขมดกลมนูน มีพระเกตุมาลาประกอบอยู่
ข้างบน พระขนง สลักเป็นเส้นนูนชัดเจนและไม่ได้จรดกัน พระเนตรมีม่านพระเนตรข้างบนตัดเป็น
เส้นตรง พระศอเป็นรวิ้ แบ่งได้เปน็ ๓ แบบ คอื พระพุทธรูปแบบยืน

๑) แบบประทับยืน กลุ่มแรกครองจีวรห่มคลุมเป็นริ้ว กลุ่มท่ีสองนิ้วของผ้าจีวรหายไป
และมีการเปลยี่ นแปลงรายละเอียด

๒) แบบประทบั นัง่ ครองจวี รหม่ คลุมเรยี บและนั่งขัดสมาธิเพชรอย่างเดียว
๓) แบบประทับนั่งห้อยพระบาท ครองจีวรห่มคลุมเรียบไม่มีริ้ว พระพุทธรูปแบบ
หลังคุปตะ เจริญข้ึนหลังสมัยราชวงศ์คปุ ตะ (ราว พ.ศ. ๘๖๐-๑๐๙๐) ลงไปจนถึงพุทธศตวรรษท่ี ๑๘
พระพุทธรูป แบบนี้มักเป็นพระพุทธรูปสลักนูน ส่วนใหญ่ไม่มีประภามณฑลประกอบ พระเกตุมาลา
เป็นรูปกรวย ค่อนข้างสงู ขมวดพระเกศาขนาดเล็กสลักนูนข้ึนมา
และวาดเป็นเส้นตรงเหนอื พระนลาฏ แบ่งเป็น ๓ แบบ คอื
๑) แบบประทับยืน ครองผ้าจวี รท้งั ห่มคลุมและห่มเฉียง
๒) แบบประทบั นง่ั ครองจีวรหม่ คลมุ และห่มเฉยี ง
๓) แบบประทับนั่ง ห้อยพระบาท มีลักษณะพิเศษ คอื มกั แสดงปางปฐมเทศนาและครอง
จวี รหม่ เฉียง๓๘

๓๘ สภุ ัทรดศิ ดิศกุล, ศิลปะอินเดีย, หน้า ๙๓.

๔๖

ภาพที่ ๒.๑๔ พระพุทธรูปอินเดียแบบคปุ ตะ ฐานข้อมูลภาพ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกลุ
(๒) สถาปตั ยกรรม
ทางด้านสถาปัตยกรรมในสมัยคุปตะนี้มีความงดงามเปล่ียนแปลงไปจากสมัยก่อนๆ เช่น

ที่ถ้ำ อชันตา (Ajanta) ปรากฏว่าสถาปัตยกรรมของอินเดียได้เปล่ียนแปลงไป ต้ังแต่รูปร่างของเสา
ท่ีกลายเป็นการประดับตกแต่งลวดลายต่างๆ อย่างมากมาย มีบัวหัวเสารูปร่างคล้ายผ้าโพกหัวแขก
วงโคง้ รปู เกือกม้าที่ เรยี กวา่ กูฑุ มีขนาดเล็กลงไปอกี และกลายเป็นเครอ่ื งประดบั ตกแต่งอยา่ งธรรมดา
ผนังถ้ำประดบั ประดา ไปดว้ ยเครอื่ งตกแต่ง และพระพทุ ธรูป

ในช่วงปลายของศิลปะคปุ ตะ (พุทธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๓) สถาปัตยกรรมของอนิ เดียก็ยงั มี
ความงดงามอยู่ แต่มีการเปล่ียนแปลงที่สําคัญ คอื เสาต่างๆ เร่ิมมีรูปรา่ งใหญ่ขึ้น และบางครั้งก็มบี ัว
หวั เสา รปู ผ้าโพกหวั แขกขนาดใหญ่ รวมทง้ั ฐานของเสาที่สูงข้ึนมากจนเกอื บทาํ ให้ลาํ ตัวของเสาหายไป

สถาปัตยกรรมที่สําคัญในช่วงหลังน้ีมีเทวสถานท่ีสําคัญอยู่ ๒ แห่ง คือ เอลลูรา (Elura)
และเอเลฟันตะ (Elephanta) งานสถาปัตยกรรมที่น่าสนใจและน่าประหลาดใจที่สุดคือถ้ำเอลลูรา
ที่ ๑๖ หรอื ถ้ำไกรลาส ท่ีสลักลงไปในหนิ ก้อนใหญม่ หึมากลางแจ้งรอบเทวสถานแห่งนข้ี ุดเข้าไปในศิลา
โดยรอบ ท่ีมา วลีปุรัมทางภาคใต้ของอินเดียได้พบศาสนสถานเล็กๆ ท่ีเรียกว่า รถะ ซึ่งเช่ือกันว่า
ให้อิทธิพลต่อรูปแบบ ศาสนสถานในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นั่นหมายถึงปราสาท และศาสนสถาน
ทม่ี รี ปู แบบเป็นวมิ านที่พบในดนิ แดนแถบน้ีนัน่ เอง

เนื่องจากเป็นพระพุทธรูปท่ีแสดงความอ่อนโยน ความเมตตากรุณาลักษณะที่สงบนิ่ง
สํารวม ศิลปะ สมัยคปุ ตะจงึ มอี ทิ ธพิ ลศลิ ปะในสมยั หลงั ๆ สบื ตอ่ มาอกี หลายศตวรรษ

๔๗

(๓) จิตรกรรม

ศิลปะแบบคปุ ตะ (Gupta) ถือเป็นยุคทองศิลปะอินเดีย ซึ่งลักษณะศิลปะแบบคุปตะและ
คุปตะนั้น มีลกั ษณะสมัยใหมท่ ่ีพัฒนาจากศิลปะแบบเก่า มีความสมดลุ ได้สัดส่วน มคี วามระเอยี ดออ่ น
สวยงามที่เป็นธรรมชาติ มีรูปร่างและเส้นเด่นชัด ซ่ึงแสดงให้เห็นความเป็นตัวของตนเองในทาง
สร้างสรรค์ ผลงาน ที่สร้างสรรค์ ผลงานท่ีสําคัญคือพระพุทธรูป เช่น สารนาถ (Sarnath) และมุรา
(Mathura) ภาพสลัก นูนสูงที่ถ้ำเอลลูรา จิตรกรรมท่ถี ้ำอชันตา เปน็ ภาพในพระพุทธศาสนาที่สมบูรณ์
ทั้งในดา้ นองคป์ ระกอบ และความสมดุล พระพุทธรูปสมยั คปุ ตะมีช่ือเสยี งแพรห่ ลายมากทสี่ ดุ

๕) สกลุ ช่างแบบปาละ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔-๑๘

พุทธศลิ ปะแบบปาละ เกิดข้นึ ระหวา่ งราชวงศ์ปาลวะครอบครองแคว้นเบงกอล ซ่ึงอยู่ทาง
ตะวันออก เฉียงใต้ของอินเดีย และต่อมากษัตริย์ราชวงศ์เสนะได้ครอบครองต่อ ศิลปะของราชวงศ์
ท้ัง ๒ นี้ มลี ักษณะใกล้เคียงกันมาก บางแห่งเรียกรวมกนั ว่า ศิลปะแบบปาละเสนะ ซ่ึงเป็นพทุ ธศิลปะ
หลกั ซ่งึ ได้รับการยอมรับ และมอี ิทธพิ ลต่อรปู แบบของพทุ ธศลิ ปะทางพระพทุ ธศาสนาหลายประเทศ

พุทธศิลปะในยุคน้ี แบ่งออกเป็น ๒ ช่วงใหญ่ๆ คือในช่วงแรกเป็นศิลปะที่อยู่ภายใต้
ปกครองของราชวงศป์ าละในแคว้นเบงกอล ระหว่างครสิ ตศตวรรษที่ ๘-๑๒ และระยะที่ ๒ อยภู่ ายใต้
การปกครองของราชวงศ์เสละในช่วงคริสตศตวรรษท่ี ๑๒-๑๓ เพราะเป็นพุทธศิลปะท่ีมีซึ่งมีความ
ใกล้เคียงกันมาก และมีสกุลช่างต่อเนื่องที่อยู่ภายในอาณาจักรเดียวกันมาตลอด สําหรับความเช่ือ
ในการสร้างพระพุทธปฏิมา แบบปาละเสนะน้ี เป็นแบบอุดมคติคล้ายกับศิลปะแบบคุปตะเป็นอย่าง
มาก นับเปน็ การพัฒนารปู แบบของพทุ ธศลิ ปะแบบคุปตะโดยตรง มกี ารแก้ไขเพ่ิมเติมให้มคี วามคมชัด
ในสัดส่วนเพิ่มมากขึ้น และมี การประดิษฐ์ประดอยองค์ประกอบ ส่วนฐานท่ีรองรับพระพุทธปฏิมา
โดยเฉพาะแบบทรงประทับนั่งจะมี ความอลังการทั้งส่วนองค์ฐาน และส่วนเรือนแก้วด้านหลัง
จนดูมากเกนิ ความจาํ เป็นและไปแขง่ กับองค์ พระพทุ ธปฏมิ าทเ่ี ปน็ จดุ เด่น๓๙

พุทธศิลปะแบบปาละ กําเนิดที่แค้วนแบงกอลในสมัยราชวงศ์ปาละ เป็นรุ่นสุดท้าย
ของอินเดียมีคติ พราหมณ์ผสมอยู่ทําให้งานศิลป์ไม่บริสุทธิ์ จีวรแนบเนื้อย่ิงขึ้น มีความอ่อนไหว
พระพักตร์คม โดยมีพระขนง และพระโอษฐ์ได้รับการยกขอบคมเป็นสันพระเนตรอยู่ในลักษณะ
คร่ึงหลับ แสดงการภาวนา มีซุ้มประภา มณฑลเครื่องประดับรกรุงรังเกินงาม นิยมทําฐานสองช้ัน
อนิ เดียได้เป็นตน้ แบบในการขยายอิทธิพลไปยัง ประเทศอ่ืนๆ ซง่ึ ทําให้พระพทุ ธรูปแตกต่างกันไปตาม
ศลิ ปะที่รับเอามาพุทธศิลป์สมัยปาละ เป็นสมัยที่ พระพุทธศาสนานิกายมหายานรงุ่ เร่ืองงานแกะสลัก

๓๙ สวุ ัฒน์ แสนขตั ิยรตั น์, พุทธรูปพุทธลักษณ์, กรงุ เทพมหานคร: เทนเดอร์ ทชั , ๒๕๕๐, หนา้ ๑๖.

๔๘

จากหินขนาดใหญ่ เป็นรปู พระวชั รสัตว์ จากอินเดีย ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ ๑๐-๑๘ในยุคสมัยของ
ราชวงค์ปาละในความเชื่อของนิกายมหายาน จะเชือ่ ว่า มีพระพุทธเจ้าที่กําเนิดข้ึนมาตั้งแต่จุดกําเนิด
ของเวลา เรียกวา่ ธยานิพุทธ ซง่ึ มีทงั้ หมด ๕ องค์ ได้แก่ ไวโรจนะ อัคโษภยะ รัตนะสัมภาวะอมิตาภะ
และอโมฆสิทธิ และในบางสายของมหายาน จะมีการวางตําแหน่งของพระไวโรจนะ ให้เป็นอตพิ ุทธะ
หรือพระพุทธองคแ์ รก หรอื บางทีกเ็ รียกอตพิ ุทธะในอีก พระนามหน่ึง อาทิ พระวัชระสัตว์

ราว พ.ศ. ๑๒๐๐ พุทธศิลปะสมัยปาละได้เกิดข้ึน นับเป็นยุคสุดท้ายของพุทธศิลปะ
ในอินเดีย ก่อนที่กองทัพมุสลิมเข้ายึดครองทั้งประเทศมีลักษณะคล้ายพระพุทธรูปสมัยเชียงแสน
ของไทย มีพระนาสิก อมุ้ ลง พระกรรณ (หู) ยาวลงกว่าสมัยคุปตะ พระวรกายอวบอ้วน พระขโนงเป็น
ขอบคม ห่มจีวรเฉวียงบ่า มีรวิ้ แข็ง ฐานพระพุทธรูปยุคนีม้ ีบัวคว่ำ และบัวหงาย พทุ ธศิลปะท่ีสวยงาม
ท่สี ุดในยุคน้ีคือหลวงพ่อองค์ดํา ท่ีมหาวิทยาลัยนาลันทา ซึ่งนับเป็นพระพุทธรูปองค์เดียวที่เหลือรอด
จาการทาํ ลายล้างของมสุ ลิม แกะสลกั ด้วยหินสบู่สดี าํ และหลวงพอ่ พุทธเมตตา พระพุทธรูปประจาํ ใน
เจดีย์พุทธคยา รัฐพิหาร เป็นต้น พระราชา ท่ีสนับสนุนในการจัดสร้างพุทธศิลปะในสมัยปาละมาก
ท่ีสุด คือ พระเจ้าเทวปาละ และพระเจ้าธรรมปาละ แห่งราชวงศ์ปาละน้ันเองในเมืองไทยกรม
ศิลปากรได้ คันพบพระพุทธรูปสมัยปาละท่ีหายากที่วัดราชบูรณะ กรุงศรีอยุธยา ราวพ.ศ. ๒๕๐๐
ปัจจุบันได้นําประดิษฐานไว้ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๑๕๓๕ พระเจ้า
มหิปาละท่ี ๑ (Mahipalaith) ขึ้นครองบัลลังก์มคธในปีท่ี ๖ แห่งรัชกาลน้ี พระอาจารย์กัลยาณมิตร
จินดามณี (Kalyanamitra Chintamani) พระเถระชื่อดงั แห่งมหาวิทยาลัย นาลันทาได้ทําการคัดลอก
คัมภีร์อัศฏสาหัสริกาและปรัชญาปารมิตสูตรเพ่ือถวายแด่พระองค์เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ
นอกจากนั้นพระองค์ยังซ่อมแซมมหาวิทยาลัยนาลันทาท่ีถูกไฟไหม้เพราะความประมาท ให้กลับมา
สวยงามด่ังเดมิ พระองค์ครองราชยต์ อ่ มาจนถึง พ.ศ. ๑๕๔๓๔๐

สรุป พุทธศิลปะที่เกิดข้ึนในพระพุทธศาสนาในยุคท่ีได้รับแรงบันดาลใจจากเหตุการณ์
ที่เกิดข้ึนในสมัย พุทธกาล ตามคัมภีร์พระพุทธศาสนา เช่นพระจุฬามณีเจดีย์ แม้มิได้เกิดขึ้นใน
มนุษยโลกแต่ก็ได้เป็นจุด เร่ิมต้นของแรงศรัทธาของพุทธบริษัท ดังปรากฏสิ่งก่อสร้างในประเทศไทย
เช่น พระเจดีย์จุฬามณี วัดคีรีวงษ์ จังหวัดนครสวรรค์ รวมถึงความงดงามของวิหาร ๑๐๐ เมตรของ
วัดจันทาราม (วัดท่าซุง) จังหวัด อุทัยธานี รวมถึงสังเวชนียสถานทั้ง ๔ ตําบล ท่ีได้จําลองมาจาก
ประเทศอนิ เดียที่สรา้ งไวใ้ นพุทธสถาน เชน่ พุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม เป็นต้น รวมถงึ พระพทุ ธรูป

๔๐ พระมหาดาวสยาม วชิรปัญโญ, ประวัติศาสตรพ์ ระพุทธศาสนาในอินเดีย, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:
http:// www.dhammathai.org/buddhism/india/chapter๐๘ ๒.php, [๘ เมษายน ๒๕๖๑].

๔๙

ท่ีงดงามอีกเป็นจํานวนมากในประเทศไทย หรือความงดงามของสถาปัตยกรรมท่ีวัดร่องขุ่น จังหวัด
เชียงราย นบั ว่าเกิดจากแรงศรัทธาและความเสียสละ อนั หาประเมินคา่ มไิ ด้

๒.๑.๕ อิทธพิ ลแนวคิดและคุณค่าเกี่ยวกับพทุ ธศิลปะ

พุทธศิลป์คือรูปเปรียบหรือรูปแทนพระพุทธเจ้า เป็นงานศิลปะท่ีสร้างขึ้นเพ่ือสนองตอบ
และรับใช้ งานทางด้านพระพุทธศาสนาท่ีมนุษย์สร้างสรรค์ข้ึนเป็นความงามเพื่อความพอใจที่แฝงไว้
ด้วยปรัชญาธรรม ทางวัตถุถวายเพื่อเป็นพุทธบูชา เนื่องในพระพุทธศาสนาเป็นการส่งเสริมเผยแพร่
เป็นส่ิงช่วยโน้มน้าวจิตใจของพุทธศาสนิกชน ให้เกิดความศรัทธา ประพฤติปฏิบัติในแนวทางท่ีดีงาม
ตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา

ประเทศไทยมีประวตั ิศาสตรท์ างพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาํ ชาตมิ ายาวนาน ดังน้ัน
ในประเทศไทยจึงมีพุทธศิลป์เป็นจํานวนมาก พุทธศิลป์ที่ปรากฏในประเทศไทยเร่ิมมีให้เห็นเป็น
หลักฐาน ที่ยังหลงเหลืออยู่ก็คือในสมัยสุโขทัย และสมัยกรุงศรีอยุธยาทําให้เราได้เห็นร่องรอย
ความงดงาม ความศรัทธา ความเช่ือ และประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ของไทยได้เป็นอย่างดี แต่แม้ว่า
พุทธศลิ ปะจะทาํ หน้าที่ สือ่ สารศรทั ธา เจตนา และแนวความคิดของผู้สรา้ งอย่างดยี ่ิง แตก่ ็ปฏเิ สธไมไ่ ด้
ว่าเริ่มจะมีพุทธพาณิชย์ เข้ามาเจือปนแล้ว เช่น การนําพุทธศิลป์ไปเป็นธุรกิจการค้า หรือนําไปเป็น
เคร่อื งประดับแหล่งท่องเทีย่ ว หรอื โรงแรม เปน็ ต้น

งานศิลปะทมี่ เี นื้อหาในเชิงพุทธศิลป์ มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนอื่ งต้ังแต่สมัยโบราณจนถึง
ปัจจุบันในประเทศที่มกี ารนับถือพระพทุ ธศาสนารวมถึงประเทศไทยดังปรากฏในงานศิลปะประเภท
ต่าง ๆท้ังในดา้ นจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตั ยกรรม ซึง่ สรา้ งข้นึ เพอื่ เผยแพรพ่ ระพุทธศาสนา
และเพ่ือเป็นส่ิงที่ช่วยโน้มน้าวจิตใจของพุทธศาสนิกชนให้เกิดความศรัทธา ประพฤติปฏิบัติตนใน
แนวทางที่ดงี าม ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาทั้งในฝา่ ยหนี ยาน(หรือเถรวาท) และฝ่ายมหายาน
(หรืออาจริยวาท) พุทธศิลป์ มีรากฐานที่ผูกพันกับวิถีดําเนินชีวิตของผู้คนในสังคมไทยมาเป็นเวลา
ช้านาน มีลักษณะเฉพาะของความเป็นตะวันออกมีลักษณะเฉพาะพิเศษแบบชนชาติไทย
มคี วามสัมพนั ธ์ใกล้ชิดกับสังคมไทย ไม่ว่าจะเป็นภาพเขียนพทุ ธปฏมิ า สงิ่ ก่อสรา้ ง วรรณกรรม กระทั่ง
แม้การตกแต่งประดับประดาซ่ึงศิลปะแขนง ต่างๆ ได้รับการกลา่ วขานว่าเป็นพุทธศิลป์ โดยมีเหตุผล
สําคัญประการหนึ่ง เพราะสร้างข้ึนในปริมณฑลของวัดประการหนึ่ง เพราะเน้ือหาสาระมีส่วน
เกี่ยวข้องกับศาสดา เช่น พุทธประวัติ พุทธปฏิมา ฯลฯ เกี่ยวข้องกับคําสอนโดยอาศัยวิธีการต่างๆ
เช่น ทฤษฎสี ามโลกในไตรภูมิและอีกประการหนึ่ง เพราะศลิ ป์ หรอื ช่างจะแสดงเจตจาํ นงในการเนรมิต
ศลิ ปกรรมด้วยพลังศรัทธา และเปน็ พุทธบูชา เปน็ ตน้

จุดประสงค์หรือเป้าหมายในการสร้างศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา ต่างไปจากการสร้าง
ศิลปะ ประเภทอ่ืน เพราะศิลปินผู้สร้างศิลปะ เนื่องในศาสนา หรือศาสนศิลป์นั้น เพื่อการสร้างงาน

๕๐

ศิลปะขึ้น เพ่ือรับใช้ศาสนา ซึ่งสาระสําคัญของศาสนาทุกศาสนานั้นมุ่งให้มนุษย์มีชีวิตที่ดี มีศีลธรรม
ประจําใจ ดงั น้ัน เนือ้ หาหรือเป้าหมายของศาสนศลิ ป์ จึงเน้นทคี่ วามดแี ละความงาม เพ่ือให้ผู้เสพไดร้ ับ
ความรู้สึกนึกคิด บนพื้นฐาน ที่เป็นแนวปรัชญาของศาสนาแต่ละศาสนา อย่างไรก็ตาม เมื่อศิลปิน
มีแนวคิดที่เป็นอสิ ระ พ้นจากศาสนาแลว้ จึงสร้างศิลปะเพื่อศิลปะขึ้นในยุคต่อมาก็ตาม แต่ศิลปินก็ยัง
ดํารงแนวคิดท่ีมุ่งให้ศิลปะ เป็นสื่อของความดีและความงามในจิตใจมนุษย์ มากกว่าท่ีจะใช้ไปในทาง
เลวร้าย จนกล่าวกันว่า ศิลปะกับ ศาสนาเป็นส่ิงเดียวกันหรือเป็นสิ่งที่ใกล้ชิดกันมาก ความมุ่งหมาย
ของศิลปะคือเกื้อกลู ศีลธรรมและยกระดับ จิตใจของมนุษย์ แม้ว่าการแสดงออกในบางคร้งั จะใช้เรื่อง
อกุศลเป็นสื่อ แต่เป็นไปเพื่อช้ีให้เห็นปัญหาและวิธีแก้ไข เช่น ศิลปะทางกามวิสัยตามเทวสถาน
ในอินเดียศิลปะเหล่านั้น มีความมุ่งหมายท่ีจะก่อให้เกิด ประโยชน์ทางศีลธรรมและสังคม เนื่องจาก
โรคระบาดได้ทําลายชีวิตของประชาชนไปมากมาย จึงต้องช่วย กระตุ้นและสนับสนุนให้การกําเนิด
มนุษย์

ในวงการศิลปะทกุ วันนี้ ศิลปกรรมแนวประเพณรี ่วมสมยั ไดร้ ับความสนใจของศิลปิน เช่น
สํานึกในการค้นหาความเป็นตัวของตัวเอง ซ่ึงศิลปินท่ีสนใจงานแนวน้ีจะต้องมีเหตุผล อย่างไรก็ตาม
เมื่อพดู ถึงศลิ ปะ แนวประเพณีร่วมสมัย ผลงานศลิ ปะแนวหนงึ่ ทปี่ รากฏอยแู่ ละมีการพูดถงึ กันอยู่เสมอ
กค็ ืองานพุทธศิลป์ ซึ่งเมื่อเราพูดถึงงานพุทธศิลป์ตามความเข้าใจแบบท่ัวไป คอื งานศิลปะท่ีเกย่ี วข้อง
กับพระพุทธศาสนา ได้แก่ สถาปัตยกรรมโบสถ์วิหารวัดวาอาราม ประติมากรรมพระพุทธรูป
จติ รกรรมฝาผนังเรื่องราวเก่ียวกับ พุทธประวัติหรือปริศนาธรรม ฯลฯ ซึ่งเป็นความเข้าใจท่ีเขา้ ใจกัน
และถ้าพดู ถงึ พุทธศิลปใ์ นแนวร่วมสมัยในปัจจุบนั ความเขา้ ใจของคนทว่ั ไปกค็ ือ ผลงานการสร้างสรรค์
ที่ศิลปินได้พัฒนาขอบเขตของเร่ืองราว รูปแบบ การแสดงออก ตลอดจนเทคนิควิธีการข้ึนมาใหม่
ซึง่ ถ้าเราจะสรุปในเบ้ืองต้นในด้านเรือ่ งราว มคี วามสมจริงมากข้ึน มเี สรีภาพในการคดิ จนิ ตนาการนอก
กรอบจากความคิดด้ังเดิม ส่วนรูปแบบการแสดงออก เทคนิควิธีการศิลปินจํานวนไม่น้อยอาศัย
วิทยาการแนวคิดท่ีมีความเป็นสากลมาพัฒนาปรับปรุง ผลงานของตน ผลงานของศิลปินของไทย
ท่ีเทคนิค รูปแบบและการแสดงออกที่มีความเป็นสากล เช่น ผลงานของถวัลย์ ดัชนี , วรฤทธิ์
ฤทธาคณี, สุรสิทธิ์ เสาวคง, ปรีชา เถาทอง สมหมาย พันธ์ุบ้านแหลม, ดํารง วงศ์อุปราช, กิลเบิร์ต
ลอย ฯลฯ

จะเห็นได้ว่า ลักษณะการแสดงออกของงานศิลปะที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน
มีความหลากหลายท้ังรูปแบบและเน้อื หามากข้ึน ดังนัน้ การรบั ร้ถู ึงคุณค่าของความงามต่องานศลิ ปะ
จําเป็นต้อง อาศัยการวิพากษ์วิจารณ์งานศิลปะข้ึนมา เพื่อให้ผู้ชมในสังคมรับทราบถึงความคิดของ
ศิลปินท่ีสร้างสรรค์ งานออกมาในสังคมซ่ึงการวิจารณ์งานพุทธศิลป์ต้องมีการใช้หลั กเกณฑ์
ทางวิชาการเพือ่ ให้ผชู้ มในสงั คม ไดเ้ ข้าใจ และยอมรับในงานศลิ ปะชิ้นนน้ั ๆ

๕๑

แนวคิดเก่ียวกับศิลปะกับศาสนา : ถ้าย้อนไปดูในยุคประวัติศาสตร์จะเห็นว่า มนุษย์เริ่ม
เขยี นรูปในถ้ำ เรมิ่ เอาหินมาวางเป็นอนุสรณห์ รอื ทําสิ่งที่เคารพบูชาข้ึนมา เม่ือศาสนาเกดิ ข้ึนก็ใช้ศิลปะ
เปน็ เคร่ืองมือในการเผยแพรศ่ าสนา หรือแม้กระทัง่ การสร้างศาสนสถานขึน้ มา เพ่ือให้ศาสนิกชนไดท้ ํา
พธิ ีหรือเคารพบูชา ซงึ่ ในทุกศาสนากม็ ีศิลปะเปน็ เครอื่ งมือ

ในกรณีพระพุทธศาสนาน้ัน ก็ใช้ศิลปะเป็นเคร่ืองมือหรือเป็นเคร่ืองช่วยในการเผยแพร่
พระพุทธศาสนาท้ังทางดา้ นจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม โดยเฉพาะสถาปัตยกรรมนัน้ เรา
กม็ ีการสรา้ ง สถปู เจดีย์ สร้างวิหารเปน็ ศาสนสถานเปน็ ทสี่ ักการะ

ความสัมพันธ์ของศิลปะกับศาสนา : ต้องบอกอย่างน้ีว่า บ่อเกิดของศิลปะท่ีใหญ่ท่ีสุดใน
โลกก็คือ ศาสนา เพราะคนเราเมื่อมีความศรัทธาในศาสนาแล้วก็จะทุ่มเท อุทิศตน และต้องการให้
ส่งิ ดีๆ บังเกิดขึ้น กบั ศาสนาที่ตัวเองนับถอื ฉะน้ัน ศาสนสถานแต่ละแห่งนั้นกเ็ กดิ จากพลงั ศรัทธาของ
คนในชุมชนรวมกัน ฉะน้ันจะสวยกว่าบ้านแน่นอน เพราะบ้านเกิดจากทุนทรัพย์ของคนๆ เดียว
แต่ศาสนสถานเกิดจากกําลังทุนของทุกคนรวมกัน และหาช่างที่ฝีมือดีท่ีสุด ทําอย่างต้ังใจที่สุดทําให้
ศิลปะท้ังหลายมีการพัฒนา ไม่เฉพาะส่ิงปลูกสร้างอย่างเดียว ศิลปะที่เน่ืองด้วยเรื่องทางศาสนา
ท้ังหมดก็จะพัฒนาตามกันมาทั้งหมด เลย ขนาดจารึกคําสอนอย่างคัมภีร์โบราณเขาก็มีการพัฒนา
สมัยก่อนไม่มีกระดาษ ก็ใช้ใบลานในการจารึก เพราะใบลานมีความทนทานสามารถเก็บได้
หลายร้อยปสี ถาปตั ยกรรมทางด้านศาสนาท่ีสร้างดว้ ยทองคํา

หรือจินดามณีของแท้นั้น จะขัดแย้งกับคําสอนของศาสนาหรือไม่ ต้องบอกว่าส่วนตัวนั้น
ตอ้ งเรียบง่าย แต่ถ้าเป็นส่วนรวมท่ีต้องแสดงออกถึงความเคารพบูชาแล้ว ก็ควรเอาสิ่งที่ดีที่สุดที่ตนมี
อยเู่ พอ่ื ไปบูชาสิ่งท่ี เน่อื งดว้ ยพระรตั นตรยั พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ น้ันเป็นธรรมเนยี มตัง้ แต่
ครั้งพุทธกาลอย่างอนาถบณิ ฑิกเศรษฐี จะสร้างวัดถวายพระสัมมาสัมพุทธเจ้านน้ั กต็ ้องไปเลือกทําเล
ท่ีเหมาะสมที่สุด พอมา เจอสวนเจ้าเชตท่ีอยู่ไม่ใกล้ไม่ไกลเมืองจนเกินไป มีบรรยากาศร่มร่ืน เจ้าของ
เขาไม่อยากขายจึงพูดไปในลักษณะว่า ให้เอาเงนิ มาปูเรยี งให้เต็มพืน้ ที่น้ันถงึ จะขายให้และไมบ่ อกราคา
เลย แต่อนาถบิณฑิกเศรษฐี ฟงั แลว้ ไม่ต่อรองราคาเลย กลับไปบา้ นขนเงินมาปูเรียงจนเต็มผืนแผ่นดิน
น้ันเลย มีศรัทธาขนาดนั้นเลย ซ่ึงก็ไม่ได้ทําเกินไปเลย เพราะต้องการหาท่ีๆ เหมาะสมที่สุด เพื่อบูชา
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อพระพุทธศาสนาและเพ่ือส่วนรวมแล้วจึงเลือกเอาสิ่งที่ดีท่ีสุด แล้วผล
ที่เกิดขึ้นก็คือ เชตวันมหาวิหารได้กลาย เป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาล
พระภิกษุจากทั่วทุกสารทิศจาริกมาเฝ้า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่ีน่ี ชาวเมืองสาวัตถีเองก็มาเฝ้า
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่ีนี่ ถ้าอนาถบิณฑิกเศรษฐี ไปหาท่ีสร้างวัดไกลๆ จากเมือง พระที่มาอยู่มาเฝ้า
พระพุทธเจ้าบางทีเป็นพันเป็นหมื่นรูปนั้น แล้วใคร จะมาใส่บาตรเพราะไม่สะดวก แต่พอยอมตัดใจ
ถงึ แม้ที่จะแพง แต่ทําเลเหมาะสม ก็เกิดประโยชน์อยา่ งมหาศาล ท่ีพระพทุ ธศาสนาเป็นปึกแผ่นมาถึง

๕๒

ปัจจุบันนี้ได้ ทําเลท่ีตั้งของพระเชตวันมหาวิหารน้ันมีส่วน อย่างยิ่ง เป็นศูนย์กลางในการประมวล
คําสอน ประมวลพระวินัยในพระพุทธศาสนา จนตกทอดมาถึงเราในยุคปัจจุบัน เราต้องเข้าใจ
ธรรมชาติของมนุษย์ทุกคนว่า ทุกคนนั้นพร้อมที่จะเข้าถึงธรรมได้ในทันทีทันใด เดี๋ยวน้ันได้หรือไม่
กม็ ีทั้งคนที่พร้อมและไม่พรอ้ ม พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเปรียบการรับร้ขู องคนเอาไว้ เหมือนดอกบัว
ไว้ว่าบัวประเภทปริ่มน้ำ แค่เจอแสงแดดนิดเดียวก็พร้อมจะเบ่งบานได้เลยก็มี บัวกลางน้ำ จังหวะดีๆ
กบ็ าน จังหวะไมด่ อี ยู่กลางน้ำไม่ยอมบานก็มีเหมือนกัน คนที่ปรม่ิ นำ้ จะบานอย่แู ล้วกล่มุ นไี้ ม่มปี ญั หา๔๑
แต่กลุ่มนี้มีน้อย กลุ่มคนส่วนใหญ่คือยังไม่รู้เรื่องอะไรเท่าไหร่ ศรัทธาก็มีบ้างพอประมาณ คนเหล่าน้ี
แหละท่ีเราต้องทอดบันไดลงไปรับเขาขึ้นมา ฉะนัน้ คนกลุ่มน้ีพอมาถึงวดั แล้วได้เหน็ สงิ่ ประณีต งดงาม
วัดวาอารามสะอาดตาของผู้พบเห็น ก็จะเร่ิมเกิดความเล่ือมใสศรัทธา ใจเริ่มเปิดพอพระเทศน์สอน
กจ็ ะเข้าใจไดง้ า่ ย น่ีเปน็ เครือ่ งช่วยพวกเขา ดังนั้น สงิ่ ทเี่ นื่องดว้ ยพระรัตนตรยั ควรทําให้ดีและประณีต
เลย เป็นบุญเป็นกุศลตอ่ ตัวผทู้ ําเองด้วย และเป็นประโยชนต์ ่อมหาชนด้วย แต่ตวั เราเองนั้นให้อยู่อย่าง
เรยี บงา่ ย กินใช้อยา่ งพอดีๆ ตามอตั ภาพของเราทาํ ไมในแต่ละประเทศแตล่ ะยคุ จึงมีศลิ ปะท่ีเกยี่ วเนอื่ ง
ด้วยพระพุทธศาสนาแตกต่างกันออกไปเราคงเคยสังเกตเห็นเวลาไปวัดจีน วัดญี่ปุ่น วัดไทย หรือ
วัดเมียนมา ลักษณะพระพุทธรูปก็จะมีเอกลักษณ์บางอย่างต่างกันบ้าง แต่เราก็ดูออกว่าเป็น
พระพุทธรูป เพราะมีลักษณะร่วมกันในบางอย่างที่ทําให้ดูออกว่าเป็นพระพุทธรูป ซึ่งมีลักษณะ
ท่ีสอดคล้องกับลักษณะมหาบุรุษ หลายอย่างร่วมกันอยู่ เช่น เส้นพระเกศาขดเป็นก้นหอย ใบหู
ก็จะยาวออกมา พระเนตรเรียวยาวโค้ง พระพักตร์มีความเมตตา อย่างนี้เป็นต้น และลักษณะ
บางอย่างที่ดูแล้วแตกต่างกันน้ัน ก็ต้องเข้าใจว่าในคร้ังพุทธกาลหรือตอนหลังพุทธกาลใหม่ๆ ช่วงน้ัน
ยังไม่มีการปัน้ พระพทุ ธรูป เพราะผ้คู นทงั้ หลายมคี วามเคารพศรัทธาพระพุทธเจา้ สูงมาก และลักษณะ
มหาบุรุษน้ันก็สมบูรณ์มาก จนไม่มีใครอาจหาญปั้นขึ้นมา เพราะเกรงว่าถ้าปั้นผิดเพ้ียนไปแม้แต่
นิดเดียว ก็กลัวว่าจะเป็นการลบหลู่พระพุทธเจ้า ดังนั้น พอมีอะไร ที่เกี่ยวเน่ืองด้วยพระพุทธเจ้า
เขาก็จะเล่ียงมาใช้เป็นลักษณะทําเป็นรูปธรรมจักรบ้าง หรือเป็นรูปต้นโพธิ์ อย่างมากก็ทําเป็นรูป
คล้ายๆ เห็นจากข้างหลังบ้าง ไม่กล้าให้เห็นพระพักตร์เพราะเกรงจะไม่เหมือน พระราชาเองก็ยัง
ไมก่ ลา้ ทาํ เรมิ่ มกี ารป้ันพระพทุ ธรูปกนั จรงิ ๆ จงั ๆ ตอนทกี่ รกี เข้ามาในอนิ เดีย และในกรีก ก็มีการปน้ั รูป
ป้ันต่างๆ มาก ก็เลยเอาศิลปะอย่างน้ันมาประยุกต์กับพุทธศิลป์ คือเอาลักษณะพระพุทธรูป ท่ีมีการ
กล่าวไว้ในพระไตรปิฎก ท่ีมีลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการและอนุพยัญชนะ ๘๐ อย่างนี้ เป็นต้น
ออกเป็นพระพุทธรูปในยุคแรกๆ เป็นยุคพระพุทธรูปคันธาระ ศิลปะคันธาระซึ่งเป็นแถบที่อิทธิพล

๔๑ ดูรายละเดียวในว.ิ ม. (ไทย) ๔/๙/๑๔-๑๕, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๖๔/๓๓, ม.ม. (บาลี) ๑๒/๒๘๓/๒๔๔,
อง.จตุกก (บาล)ี ๒๑/๑๒/๑๕๓, อภ.ิ ก. (บาล)ี ๓๑๗/๕๕๖/๔๔๐.

๕๓

ของกรีกมีมาก ต่อมาก็มีการพัฒนาไปทางประเทศต่างๆ เข้าประเทศไหนก็มีการปรับลักษณะ
พระพักตร์ ความคล้ายของคนในชาตินั้นบ้างในแต่ละยุคสมัยได้รับอิทธิพลมาจากทางไหน ก็จะมี
ลักษณะเอกลักษณ์ ทม่ี ีความแตกต่างกัน ตามแต่ท่มี าและที่ไปเราเองกใ็ ห้ศึกษาไว้ว่า เป็นความรู้เร่ือง
พุทธศิลป์ แตส่ าระสาํ คัญ คือให้ทราบว่า นั่นคอื องคแ์ ทนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อกราบทา่ นแล้ว
ก็ให้ระลึกนึกถึงพระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ พระปัญญาคุณ พระบริสุทธิคุณ และ
พระมหากรุณาธิคุณของพระสมั มา สมั พุทธเจ้า แล้วตง้ั ใจฝกึ ตัวเองให้ทําความดีใหม้ ีคุณตามแบบอย่าง
ของพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า อย่างน้เี ป็นการบชู าท่ีถกู หลัก ถอื เปน็ ปฏบิ ัตบิ ูชาท่ีพระพทุ ธองค์ทรงยกย่อง
สรรเสรญิ วา่ เป็นการบชู าทส่ี งู สดุ

ศลิ ปะมีความสาํ คัญในด้านคุณค่าหลายฐานะท่ีสะท้อนในชวี ิตของมนุษย์ในพระวนิ ัยปิฎก
ได้แสดง ถึงฐานะด้านคุณค่าไว้ ๒ ประเภท คือ (๑) ศิลปวิทยาช้ันต่ำ (๒) ศิลปวิทยาชั้นสูง ท่ีชื่อว่า
ศลิ ปวิทยาชั้นต่ำ ไดแ้ ก่ วชิ าช่างจักสาน วชิ าช่างหม้อ วิชาช่างหูก วิชาชา่ งหนงั วชิ าช่างกลบก อกี อย่าง
หน่ึง ศิลปวิทยาท่ีเขา เย้ยหยัน เหยียดหยาม เกลียดชัง ดูหม่ิน ไม่นับถือกันในท้องถิ่นนั้นๆ นี้จัดเป็น
ศิลปวิทยาชั้นต่ำ ส่วนท่ี ช่ือว่า ศิลปวิทยาชั้นสูง ได้แก่ วิชานับ วิชาคํานวณ วิชาเขียน อีกอย่างหนึ่ง
ศิลปวิทยาท่ีเขาไม่เย้ยหยัน ไม่เหยียดหยาม ไม่เกลียดชัง ไม่ดูหม่ิน นับถือกันในท้องถิ่นนั้นๆ นี้
จัดเปน็ ศิลปวทิ ยาช้ันสูง๔๒

คณุ คา่ ของพทุ ธศลิ ปะ
คุณค่าทางด้านศาสนา : ศิลปะไทยส่วนใหญ่สร้างขึ้นจากคติความเช่ือเก่ียวกับศาสนา
ศิลปะไทย จึงมีคุณค่าในการเผยแผ่ศาสนาและสืบทอดศาสนาในประเทศไทย เช่น การเขียนภาพ
จิตรกรรมหรือจําหลัก เร่ืองราวทางศาสนา ชาดก พุทธประวัติ หรือวรรณคดีท่ีเก่ียวเน่ื องกับ
ความเลื่อมใสในเทพเจ้าต่างๆ เม่ือคนได้สัมผัส หรือเห็นก็จะเกิดความคุ้นเคยและซึมซับเรื่องราว
ความเช่ือ คําสอนหรือข้อธรรมะท่ีแฝง อยู่ในผลงานน้ันๆ หรือการสร้างพระพิมพ์ พระพุทธรูป
พระโพธสิ ัตว์ หรือเทวรปู ในศาสนาพราหมณ์
คุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ : จากการศึกษาศิลปะในแต่ละยุคจะทําให้ทราบถึง
วิวัฒนาการการเชื่อมโยงด้านวัฒนธรรมของชุมชน เส้นทางการติดต่อคมนาคม ใช้เป็นหลักฐาน
เพื่อตรวจสอบว่า เป็นยุคสมัยใดซ่ึงเป็นข้อมูลที่ทําให้การศึกษาเหตุการณ์ต่างๆ ในประวัติศาสตร์
ถูกตอ้ งย่งิ ข้ึน

๔๒ วิ.มหา. (ไทย) ๒/๑๕/๒๐๓-๒๐๔.

๕๔

คุณค่าทางด้านสุนทรียะหรือความงาม หมายถึง ความรู้สึกของอารมณ์และความงาม
เช่น พระพทุ ธรปู สาํ ริดปางลีลา ศลิ ปะสุโขทัย กลา่ วกันว่าเป็นงานศิลปะที่มีความงามเป็นเลิศ เพราะมี
ความสมบูรณ์ท้ังด้านการสร้างสรรค์ลีลาท่ีอ่อนช้อย เลื่อนไหล รวมท้ังอารมณ์ท่ีนุ่มนวล เยือกเย็น
ก่อใหเ้ กดิ ความศรทั ธาและประทับใจ

คุณค่าทางด้านการเมืองการปกครอง :ในสมัยก่อนผู้ปกครอง หรือพระมหากษัตริย์
ได้นําศิลปะ มาใช้เพ่ือประโยชน์ในการเมืองการปกครอง เพื่อเช่ือมสัมพันธไมตรีระหว่างกัน หรือใช้
เป็นสญั ลักษณ์ของการเข้าไปมีอาํ นาจเหนอื เมอื งอน่ื การติดต่อสัมพนั ธ์ซึง่ กันและกนั

จะเห็นได้ว่าศิลปะมีคุณค่าในหลายๆ ด้านต่อสังคม ไม่จํากัดเฉพาะการรับใช้ศาสนาหรือ
คณุ ค่า ดา้ นความงาม

นอกจากน้ีคุณค่าเก่ียวกับพุทธศิลปะ สะท้อนให้เห็นมุมมองคุณคา่ ในมิติหลักธรรมคาํ สอน
ในพระพุทธศาสนา สามารถจําแนกออกได้เป็น๒ ประเภท คือ (๑) อามิสบูชา คือการบูชาด้วยอามิส
(๒) ธรรมบูชา คือการบชู าด้วยธรรม”๔๓ในมังคสัตถทีปนี พระสิริมงั คลาจารย์ อธบิ ายเกีย่ วกบั การบูชา
ไว้ ๒ ประการเช่นเดียวกัน กล่าวคือ การบูชาด้วยอามิส และการบูชาด้วยการปฏิบัติฯ การบูชาด้วย
สกั การะ มดี อกไม้เป็นต้นและด้วยปัจจัย ๔ ช่ือว่าอามิสบชู า, การบูชาดว้ ยการปฏบิ ตั ิ ช่อื ว่าปฏบิ ัติบชู า
ในอรรถกถา ท่านยังได้อธิบายเพิ่มเติมไว้อีกว่า “การบูชาด้วยการทําสักการะ เคารพ นบนอบและ
การไหว้ ชื่อว่าบูชา” โดยกําหนดบุคคลอย่างสูงสุด พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอริย
สาวก ช่ือว่า ปูชในยบุคคล, จรงิ อยู่ ท่านเหล่าน้ัน เรียกวา่ ปูชไนยบุคคล เพราะทําภาวะแห่งการบูชา
ท่บี ุคคลทําในตนแม้เลก็ นอ้ ย นําประโยชน์สุขมาให้ตลอดกาลนาน เหตุเพราะเป็นทักณิไณยบุคคล”๔๔
สมดงั ทพี่ ระผ้มู ีพระภาคตรสั พระคาถาน้แี ก่ภิกษทุ ง้ั หลาย ดงั น้วี ่า “บญุ ของบุคคลผู้บชู าท่านผ้คู วรบชู า
คือพระพุทธเจ้า หรือพระสาวก ผู้ก้าวพ้นธรรมเครื่องเนิ่นช้า ผู้ข้ามความโศกและความร่ำไรได้แล้ว
ผู้คงท่ี ผ้ดู ับกิเลสได้แล้ว ผไู้ มม่ ภี ัย แต่ที่ไหน อันใครๆ ไมอ่ าจนบั ได้ว่า บญุ น้ีมีประมาณเท่าน้ี๔๕

ในเบื้องต้น ผู้ศึกษาควรทําความเข้าใจเก่ียวกับคุณค่าแท้ก่อนว่า มีลักษณะเป็นคุณค่า
ทเ่ี กิดจากปัญญา และสรา้ งสรรค์พัฒนาปัญญา การจะตัดสินว่าจุดมุ่งหมายใดเป็นจุดมุง่ หมายท่ีเข้ากับ
หลักปญั ญานั้น อาจพิจารณาได้จากหลักการสาํ คญั ในทางพระพทุ ธศาสนาที่พระพุทธเจ้าทรงสง่ั สอนไว้

๔๓ อง.ทุก. (ไทย) ๒๐/๑๕๗/๑๒๔.
๔๔ มงคล. (บาลี) ๑/๕๗-๕๘/๘๑-๘๒.
๔๕ ข.ุ ธ.(ไทย) ๒๕/๑๙๕-๑๙๖/๔๓. พุทธวรรค ธรรมบท, และดรู ายละเอยี ดในมงคล. (บาลี) ๑/๕๙/

๔๗/๕๘.

๕๕

และเป็นแนวทาง ปฏิบัติของผู้รู้ท้ังหลายมีพระเถรานุเถระต้ังแต่ครั้งพุทธกาลมาจนปัจจุบันน้ี สรุป
จุดมงุ่ หมายของการบูชา พระพทุ ธรปู (พุทธศลิ ปะ) ดงั กล่าวไวด้ ังตอ่ ไปนี้

๑. การบูชาเพ่ือแสดงออกถึงวฒั นธรรมอันดีงามของชาวพุทธ
สอดคล้องกับแนวคิดท่ีว่า ศาสนาเป็นผลิตผลของสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์
แม้สัญลักษณ์ทาง ศาสนาก็เป็นผลผลิตทางวัฒนธรรม การบูชาพระพุทธรูปจึงเป็นการแสดงออก
ทางวฒั นธรรม ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของพระพุทธศาสนา หากจะกลา่ วงา่ ยๆ กค็ ือการแสดงออกถึงความ
เป็นชาวพุทธท่ีต้องมี ความเคารพในสัญลักษณ์สําคัญ คือพระพุทธรูปอันเป็นองค์แทนของ
พระพุทธเจ้า วัฒนธรรมทางศาสนาในลักษณะเชน่ นี้ ถอื เป็นสิ่งสําคัญและมีสว่ นช่วยให้ศาสนามีความ
เข้มแขง็ ด้านวฒั นธรรมใหเ้ กิดความงดงาม ทางกริ ิยามารยาทและจิตใจมากขึ้นอีกด้วย ความงดงามนี้
เรียกว่า “คารวตา” (การแสดงความเคารพ) หรือ“นิวาตธรรม๔๖ /อปจายนธรรม” (การแสดง
ความอ่อนนอ้ ม)
การบูชาพระพุทธรูปจึงเป็นวัฒนธรรมอันดีของชาวพุทธ ซึ่งการปฏิบัติเช่นน้ีถือเป็นการ
ปฏิบัติ ตามแบบอย่างท่ีพุทธบริษัทในอดีตครั้งพุทธกาลปฏิบัติกัน เกี่ยวกับการบูชาวัตถุที่เป็น
สัญลกั ษณ์ แทนพระพุทธเจ้า เชน่ ต้นโพธ์ิ และสงั เวชนียสถาน เป็นต้น ขอ้ น้จี ึงถือเปน็ จุดมุ่งหมายท่ีมี
คณุ คา่ แท้ แตอ่ าจกลา่ วไดว้ า่ เป็นคณุ คา่ ในข้นั พน้ื ฐาน ซงึ่ จะตอ้ งพัฒนาจิตไปสู่ข้นั สงู ต่อไป
๒. การบูชาพทุ ธรูปในฐานะเป็นเครอ่ื งระลึกถึงพระพุทธเจา้
ตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา การระลึกนึกถึงพระพุทธเจ้า เรียกว่าพุทธานุสสติ๔๗
การได้บูชา พระพุทธรูปกอ่ ให้เกิดความระลกึ ถงึ พระพุทธเจา้ โดยเฉพาะการระลึกถงึ พระพุทธคุณและ
พระพุทธจริยาวตั ร ที่พระองคไ์ ด้ทรงปฏิบัติ ซึ่งในความเป็นมาของการสร้างพระพทุ ธรปู ก็จะเห็นได้ว่า
ในยุคแรกของการสร้าง พระพุทธรูปก็เพราะระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า และการสร้าง
พระพุทธรูปข้ึนมาก็ทําให้พระพุทธคุณ ท่ีเป็นนามธรรมถูกส่ือมาในรูปธรรม ซึ่งบุคคลสามัญท่ัวไป
สามารถมองเห็นได้ง่าย ข้อนี้ถือว่าเป็นจุดมุ่งหมาย ท่ีเป็นคุณค่าแท้ได้ เพราะก่อให้เกิดจิตใจท่ีดีงาม
สงบ ออ่ นนอ้ ม ออ่ นโยนและความกตัญญูกตเวทติ า เป็นตน้

๔๖ ข.ุ ขุ. (ไทย) ๒๕/๔/๘.
๔๗ พทุ ธ์ อารพา อปุ ปนนา อนุสสติ = พุทธานุสสติ ฯ อา้ งในวสิ ุทธิ. (บาล)ี ๑/๒๕๑., /๒๕๒-๒๔๗๒.

๕๖

๓. การบูชาเพ่ือแสดงออกถึงความเคารพและการบชู าบุคคลทีค่ วรบูชาตามหลักมงคล
ในทางพระพุทธศาสนา ซ่ึงตามคําสอนของพระพุทธเจ้าน้ัน พระองค์ตรัสว่า “คนไม่มีท่ีเคารพ ไม่มี
ท่ยี ําเกรง ย่อมอยู่เป็นทุกข์”๔๘ การแสดงความเคารพต่อบุคคลหรือส่ิงที่ควรเคารพจึงถือเปน็ แนวทาง
ท่ีทําให้อยู่เป็นสุข หรือเป็นมงคลได้ในเมื่อพระพุทธรูปเป็นส่ิงท่ีสื่อถึงพระพุทธเจ้า ถึงแม้ว่าพระองค์
จะเสด็จดับขันธปรินิพพาน ไปแล้ว แต่การแสดงความเคารพต่อพระพุทธเจ้าก็ยังเป็นส่ิงดีงามที่ควร
ปฏิบัติ เพราะถือเป็นการปฏิบัติธรรม อย่างหนึ่งในทางพระพุทธศาสนาที่เรียกว่า “คารวธรรม”ๆ
อนั เป็นหนึ่งในมงคล ๓๘ ประการด้วย โดยเฉพาะการบชู าพระพุทธเจ้านั้น คือการปฏิบัตธิ รรมข้อท่วี ่า
“พุทธคารวตา” หรือ“สัตฤคารวตา” ซึ่งอยู่ในหลักคารวธรรมข้อแรกในบรรดาคารวธรรม ๖ ข้อ๔๙
นอกจากน้ี ยังจัดอยู่ในลักษณะของการปฏิบัติ ตามหลักมงคลข้อท่ีว่า การบูชาบุคคลท่ีควรบูชาด้วย
จดุ มุ่งหมายของการบูชาพระพุทธรปู ในขอ้ นี้จึงเป็นความมุ่งหมายท่กี ่อให้เกิดคณุ คา่ แท้คือความสุขใจ
ความสงบใจและสร้างเสรมิ คณุ ธรรมภายในบุคคลนนั่ เอง

๔. การบูชาเพ่ือน้อมนําพุทธคุณและพุทธธรรมมาพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนถือเป็น
เป้าหมาย สําคัญอย่างหน่ึงในหลักคําสอนของพระพุทธเจ้า เพราะเมื่อพัฒนาตนดีแล้ว ย่อมสามารถ
พ่ึงตนเองได้ และการมีตนเองเป็นท่ีพ่ึงโดยท่ีพัฒนาตนดีแล้วนี้ ถือว่าเป็นที่พ่ึงที่หาได้ยากย่ิงๆ ๕๐
หลักในการพฒั นาตน อยา่ งหน่งึ ก็คือ การมีแบบอย่างทด่ี แี ละเลอื กปฏบิ ตั ิตามแนวทางผู้เป็นแบบอยา่ ง
นั้นและพระพุทธเจ้า ได้ชื่อว่าเป็นแบบอย่างที่ดีท่ีสุด เพราะทรงเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ทุกประการ
พระพุทธคุณและพระพุทธ จริยาวัตรของพระองค์ จึงเป็นหลักในการดําเนินชีวิตหรือหลักในการ
พัฒนาตนเองได้ ดังท่ีผู้ทรงคุณวุฒิ ทางพระพุทธศาสนาบางท่านได้แสดงทัศนะไว้ว่า “การบูชา
พระพทุ ธเจา้ ต้องนึกถงึ พทุ ธคณุ เราจะทําอะไร ก็ควรนึกถึงพระพุทธเจา้ ว่าท่านทําอย่างนี้ สอนอย่างน้ี
หรือเปล่า แล้วน้อมนําเอาพุทธคุณมาใช้ในชีวิตของเรา พระพุทธคุณที่ปรากฏได้ชัดในการบูชา

๔๘ อง.จตุกก. (ไทย) ๒๑/๒๑/๓๓. ๗ ข.ขุ. (ไทย) ๒๕//๘.
๔๙ ธรรม ๖ ประการน้ี ยอ่ มเป็นไปเพอ่ื ความไมเ่ สือ่ ม คอื ๑. ความเป็นผู้มีความเคารพในพระศาสดา ๒.
ความเปน็ ผู้มคี วามเคารพในพระธรรม ๓. ความเป็นผ้มู คี วามเคารพในพระสงฆ์ ๔. ความเปน็ ผู้มคี วามเคารพในสกิ ขา
๕. ความเปน็ ผมู้ ีความเคารพในความไม่ประมาท ๕. ความเปน็ ผ้มู ีความตเิ คารพในปฏิสนั ถาร (ปฏสิ นั ถารในท่นี ี้
หมายถึงการตอ้ นรับมี ๒ อยา่ งคือ (๑) อามิสปฏิสันถาร การต้อนรบั ดว้ ยอามิส (๒) ธมั มปฏสิ ันถาร การตอ้ นรับด้วย
ธรรม อา้ งในอง.ทกุ . (ไทย) ๒๐/๑๕๓/๑๒๓) อง.ฉกก. (ไทย) ๒๒/๓๒/๔๗๘.
๕๐ ตนแลเป็นท่ีพง่ึ ของตน บคุ คลอน่ื ใครเล่า จะเปน็ ทพ่ี ึง่ ไดเ้ พราะบุคคลทฝ่ี ึกตนดแี ลว้ ย่อมไดท้ พ่ี ่งึ อันได้
โดยยาก” อ้างในขุ.ธ.(ไทย) ๒๕/๑๖๐/๒๘.ในอรรถกถา ท่านอธิบายว่า “ตนแลเป็นทพี่ ง่ึ ของตน หมายถึงตนเอง
เทา่ น้ันทจี่ ะสามารถ ทํากศุ ลแลว้ เขา้ ถึงสวรรค์ หรือบรรลมุ รรคผล ได้ที่พง่ึ ท่ไี ดย้ ากคอื อรหตั ตผล ไม่มใี ครอืน่ จะทําให้
ได้ อา้ งในขุ.ธ.อ.(บาลี)

๕๗

พระพุทธรูป โดยเฉพาะด้วยวิธีการสวดมนต์นั้น ได้แก่ พระพุทธคุณท่ีอยู่ในบทบูชาพระพุทธเจ้าที่ว่า
“นโม ตสุส ภควโต อรหโต สมมาสมพทุ ธสุส” ขอความนอบน้อมจงมีแดพ่ ระผูม้ ีพระภาคเจ้าพระองค์
นั้น ผู้เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ”๕๑ พระพุทธคุณท้ัง ๓ ประการน้ี เป็นคุณธรรมท่ีสามารถ
นาํ ไปเป็นเครื่องพัฒนาตนได้ หากปฏิบัติด้วยความเขา้ ใจและมี จุดมุ่งหมายอย่างน้ี การบูชาย่อมเป็น
คณุ คา่ แท้

๕. การบูชาเพื่อให้จิตสงบ และเกิดสติปัญญาในการแก้ปัญหาชีวิต ในการบูชา
พระพุทธรูปนั้น หากมุ่งหมายให้เกิดความสงบจิต และเกดิ สติปญั ญาในการแก้ปัญหาชวี ิต จุดมงุ่ หมาย
น้ันย่อมเป็นคณุ ค่า แท้ซงึ่ โดยความเป็นจริงแลว้ การบูชาพระพุทธรปู สามารถก่อให้เกดิ ความสงบและ
สตปิ ญั ญาได้ เพราะคนที่มคี วามทุกข์ จติ ใจรุม่ รอ้ น พลุกพล่าน เม่ือได้บูชาพระพทุ ธรปู เห็นพระพักตร์
ของพระพทุ ธรูป ยอ่ มทําให้เกิดความสงบเยือกเยน็ ได้ เมื่อจิตสงบเยือกเย็นสตปิ ัญญากเ็ ปน็ สิ่งทต่ี ามมา
เพราะความสงบหรือสมาธิ เป็นสิง่ ที่ขจัดอกศุ ลท้ังปวงในจิตใจ จิตใจย่อมไมข่ ุ่นมวั สติปัญญาก็ตามมา
ได้ สามารถแก้ปัญหาหรือหาทางออกให้ชีวติ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ดังท่ีพระพุทธองค์ได้ตรัสไว้ว่า
“ทัสสนานุตตรยิ ะ” คือการเห็น อันยอดเยีย่ ม๕๒ เพราะเห็นแลว้ ทําใหเ้ กิดความสงบแห่งจติ ใจ

๖. การบูชาเพ่ือลดทิฏฐิมานะและกิเลสอันเป็นเหตุแห่งทุกข์ทั้งหลาย อันที่จริง
จุดมุ่งหมายข้อน้ี ก็เป็นผลสืบเนื่องมาจากการที่จิตสงบและเกิดสติปัญญา เพราะเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน
เมื่อจิตสงบและมี สติปัญญา ทิฏฐิมานะและกิเลสอื่นๆ ก็ย่อมลดลงและหายไป แต่ความสงบและ
สติปัญญากับการลดทิฏฐิมานะ และกิเลสอื่นๆ น้ัน มีนัยแตกต่างกัน กล่าวคือการได้สมาธิและ
สติปัญญา ถือว่าได้เครื่องมือในการดําเนินชีวิตที่มีประสิทธิภาพ เป็นการได้พอกพูนคุณธรรมที่เป็น
หลักปฏิบตั ทิ ี่ดงี าม ส่วนการลดทิฏฐิมานะ และกิเลสน้นั เป็นภาวะท่ีดีงามของจิตใจ เป็นประสิทธิผลที่
เกิดข้ึน เป็นตัวเป้าหมายของการบูชาโดยตรง ไม่ใช่เครื่องมือในการสร้างสรรค์คุณค่าอื่น ๆ

๕๑ คาํ วา่ “ภควโต” คือทรงเปน็ ผจู้ ําแนกธรรมสัง่ สอนสัตว์ คํานี้สือ่ ถึงพระมหากรณุ าคณุ , “อรหโต” คือ
ทรงเป็นพระอรหนั ต์หมดจดจากกิเลสท้ังปวง คําน้สี ่ือถึง พระบริสทุ ธคิ ุณ และคาํ วา่ “สมมาสมพทุ ธสุส” คําน้สี อื่ ถึง
พระปญั ญาคณุ

๕๒ อง.ฉกก. (ไทย) ๒๒/๔/๔๑๔, มงคลทีปนี (บาลี) ๑/๔๔/๘๘๘๔. คําว่า “อนุตตริยะ” หมายถึง
ภาวะทไ่ี มม่ ี ส่ิงอื่นยอดเยี่ยมกว่าหรือวิเศษกวา่ หรอื เรียกส้นั ๆ ว่า ภาวะอนั ยอดเยีย่ มนําผลอันวเิ ศษมาให้อ้างในอง.
ฉกก.อ.(บาลี) ๓/๘-๙/๔๔, อง.ฉกก.ฎีกา (บาลี) ๓/๘/๑๐๗. คําว่า การเห็นรูป เช่น เห็นพระทศพล และพระภิกษุ
สงฆ์ดว้ ยศรัทธา ด้วยความรักท่ีตง้ั ม่นั หรือเห็นอารมณ์กมั มฏั ฐานมีกสิณ และอสภุ นมิ ิตเปน็ ตน้ อย่างใดอยา่ งหนึง่ ซึ่ง
กอ่ ใหเ้ กิดความเจรญิ ใจ จัดเปน็ ทัสสนานตุ ตริยะ สว่ นการเหน็ ส่งิ ทมี่ ีคา่ อ่ืน ๆ มีช้างแกว้ ม้าแก้ว เป็นต้น หาใช่ทสั สนา
นตุ ตริยะไม่

๕๘

เหมือนอย่างสมาธิและปัญญา การบูชาพระพุทธรูปแล้ว ทิฏฐิ มานะและกิเลสของตนลดลงเสียได้
จงึ เป็นจดุ มงุ่ หมายที่เป็นคุณคา่ แท้อยา่ งชดั เจน :

๗. การบูชาเพ่ือความสุขที่แท้จริงซ่ึงเกิดจากการปฏิบตั ิธรรม โดยปกติแล้วทุกชีวิตล้วน
ต้องการความสุข และความสุขดูเหมือนจะเป็นเป้าหมายข้ันสุดท้ายของทุกคน ดังท่ีอริสโตเต้ิล
มคี วามเหน็ วา่ เป้าหมายทแี่ ทจ้ รงิ ของชีวิตคนคือความสุข อย่างอื่นเป็นเพียงวิธีการเพ่ือบรรลุความสุข
เท่านั้น๕๓ ความดี สูงสุดของชีวิตคือความสุข ความสุขจะเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์ได้บรรลุธรรมชาติสูงสุด
ของเขาซ่ึงเป็นส่ิงที่ค้นพบ ได้ในอาณาจักรแห่งจิตในลักษณะที่เป็นการแสดงออกอย่างสมบูรณ์
ของความคิด หรือการไตร่ตรองอย่างรอบคอบ ที่เรียกว่า “Contemplation” ซ่ึงเป็นกัมมันตภาพ
ของจิตคือ แหล่งกําเนิดแห่งความสุขสูงสุดของมนุษย์๕๔ การบูชาพระพุทธรูป เป็นการแสดงออกท่ีดี
งาม และหากอยู่บนพ้ืนฐานของปัญญาหรือความมีเหตุผล ความสุขท่ีแท้จริงย่อมเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึน
ตามมา สอดคล้องกับที่มลิ ล์ (John Stewart Mit) นักปรัชญาธรรมชาตินิยมชาวอังกฤษ มีแนวคิดว่า
ความสุขที่มนุษย์ควรแสวงหา คือความสุขท่ีเกิดจากการใช้ปัญญา ความรู้สึก จินตนาการและ
จากสาํ นึกทางศลี ธรรม ซ่ึงมีค่าสูงกว่าความสุขทไี่ ด้จากประสาทสัมผัส

เมื่อไดบ้ ูชาพระพุทธรปู ตามวิธีการทเี่ หมาะสมแลว้ ความสุขในลกั ษณะนย้ี ่อมเกิดขน้ึ ซง่ึ ถอื ว่า
เป็นจุดหมาย ที่เปน็ คณุ ค่าแท้ของการบูชาพระพุทธรูป ดังในมงคลสูตรท่ีกลา่ วไว้ว่า ปฏิบัตบิ ูชาคือการ
บูชาด้วยการต้ังใจประพฤติปฏิบัติตามคําสอน ตามแบบอย่างท่ีดีของท่าน เช่น พยายามกําจัดความ
โลภ ความโกรธ ความหลง ด้วยการให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ตามคําสอนของท่าน การปฏิบัติ
บชู านี้ จัดเป็นการบูชา ท่ีสูงสุด เพราะเปน็ วิธีที่จะทําใหก้ าย วาจา ใจของเราใสสะอาดโดยดําเนินตาม
หลักธรรมคาํ สอนท่ี พระพทุ ธเจา้ ได้ตรสั เอาไว้ดีแลว้ ๕๕

นอกจากนก้ี ารบูชาพระพทุ ธรูปยงั เป็นการปฏิบัติทีส่ ามารถกอ่ ให้เกิดประโยชน์หรือคุณค่า
ต่อผู้อ่ืน ได้ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม เช่นการบูชาด้วยการปฏิบัติธรรมในหลักการปฏิบัติธรรมหลาย
ประการก็มุ่ง เพื่อให้มีความรัก ความเมตตาต่อผู้อื่น เช่นในกุศลกรรมบถดังกล่าวแล้ว การไม่ฆ่า
การไม่เบยี ดเบยี นชวี ิต สตั ว์ท้ังหลาย เท่ากับเป็นการให้ความปลอดภัยในชีวิต การไม่ลกั ทรัพย์ เท่ากับ
เป็นการให้ความปลอดภยั ในทรัพย์สิน การไมป่ ระพฤติผิดในกามเทา่ กับเปน็ การให้เกียรติผู้อ่ืน เคารพ
ในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ และไม่ทําลายครอบครัวเขา หรือแม้แต่การเว้นวจีทุจริต ๔ ประการ

๒๗. ๔๑ ๕๓ นวม สงวนทรัพย์, สังคมวิทยาศาสนา, กรุงเทพมหานคร:โอ.เอ.เอส.พริ้นต้ิง เฮ้าส์, ๒๕๓๗),หน้า

๕๔ เรอ่ื งเดียวกนั , หน้า ๒๔.
๕๕ มงคล. (บาลี) ๑/๖๙-๗o/๗๕-๗๘. ปูชากถา

๕๙

ก็เป็นเรอื่ งของการสร้างความรูส้ ึกท่ีดี เป็นประโยชน์ต่อผอู้ ่ืนไดโ้ ดยตรง ส่วนคุณค่าโดยอ้อม อย่างเช่น
การแสดงความเคารพต่อพระพุทธรูป ด้วยการกราบ การไหว้หรืออามิสบูชา ย่อมเป็นการสร้าง
แบบอย่างทีด่ ีใหล้ ูกหลานสามารถเรยี นรู้และปฏิบตั ิตามได้เป็นการบ่มเพาะนิสัยที่ดีงามใหผ้ ู้อน่ื ไปในตัว
อีกท้ังการบูชาด้วยอามิส ยังเป็นการสร้างเสริม เศรษฐกิจโดยทางอ้อม เพราะทําให้ระบบอาชีพ
บางอย่างสามารถดํารงอยู่ได้ในสงั คม เชน่ อาชีพขายดอกไม้ พวงมาลยั อาชีพท่ที ําหน้าที่หลอ่ กระถาง
ธปู เชงิ เทียนและอาชีพขายธูปเทียน เครื่องสักการะตา่ งๆ เปน็ ต้น เปน็ การชว่ ยอุดหนุนจุนเจือผ้อู ื่นไป
ในตัว เพราะหากชาวพุทธมุ่งแต่ปฏิบัติบูชาอย่างเดียว ไม่สนใจ อามิสบูชาเลย อาชีพเหล่านี้
ยอ่ มไม่สามารถดํารงอยู่ได้ นี้คือคุณค่าโดยอ้อม การบูชาตามแนวจารีตท่ีมี จุดมุ่งหมายเพื่อผู้อ่ืนด้วย
เชน่ น้ี ถอื เป็นคุณคา่ แท้

จะเห็นได้ว่า จุดมุ่งหมายของการบูชาท่ีกล่าวมาเป็นไปตามลักษณะของการบูชา
พระพุทธรูป ตามแนวจารีตเป็นหลัก จึงอาจสรุปได้ในที่น้ีวา่ การบูชาพระพุทธรูปตามแนวจารีตและ
ผลของการปฏิบัตินั้น เป็นคุณค่าแท้ของการบูชาพระพุทธรูป ซึ่งโดยสรุปแล้วอาจจะต้องยึดหลักว่า
การบูชาในลักษณะใดท่ีนํา ให้ออกห่างจากความหลุดพ้นการบูชาเช่นนั้นถือว่าเป็นการปฏิบัติ
ทไี่ ม่สมควร การบูชาหรอื การกระทําใดๆ ท่ีนําไปสู่ความหลุดพ้นได้ เป็นทางสายเดียวกัน การกระทํา
แบบนนั้ ถือวา่ เป็นสิ่งท่ีมีความเหมาะควรเปน็ ความดี เป็นคณุ ค่าแท้ เพราะเมือ่ พิจารณาแล้วพฤติกรรม
การบูชาดังกล่าวน้ี ไม่ขัดกับหลักทางสายกลาง น่ันเอง ถึงแม้ว่าพระพุทธรูปท่ีถูกสร้างข้ึนในอินเดีย
ยุคต้นแม้ว่าจะเป็นผลผลิตมาจากแบบแนวคิดในการสร้างเทวรูปของชาวกรีก ที่ประสงค์จะสร้าง
พระพุทธรูปให้เหมือนมนุษย์มากที่สุด เมื่อสร้างเสร็จ สมบูรณ์แล้ว ชาวกรีกที่หันมานับถือ
พระพุทธศาสนาส่วนใหญ่ก็เข้าใจว่าเป็นรูปพระพุทธเจ้า (หรือพุทธปฏิมา) ไม่ใช่เทวรูปของชาวกรีก
เป็นสัญลักษณ์ เป็นองค์แทนพระพุทธเจ้า เมื่อได้พบเห็นได้สักการบูชา ก็ทําให้ระลึกนึกถึง
พระพุทธเจ้าและพทุ ธคุณเกิดศรัทธาปสาทมากยิง่ ขนึ้

สรุป สังคมไทยเป็นสังคมพระพุทธศาสนา เพราะประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ
เป็นพุทธศาสนิกชน แม้องค์พระมหากษัตริยก์ ็ทรงดํารงเป็นพุทธมามกะ ยอมรับนับถือพระรัตนตรัย
คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นสรณะ ท่ีพึ่งท่ีระลึกตลอดชีวิต และด้วยเหตุที่สังคมไทย
เป็นสังคมแห่งพระพุทธศาสนา มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทําให้พระพุทธศาสนาหยั่งรากลึกอยู่ใน
สังคมไทยอย่างเหนียวแน่น และยังเป็นรากฐานของสังคมในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นในด้านวิถีชีวิต
ความเช่ือ ประเพณี ศลิ ปะ และวฒั นธรรมตา่ งๆ โดยเฉพาะในด้านศลิ ปกรรมตา่ งๆ จะเหน็ ไดช้ ดั เจนว่า
ศิลปะเหล่าน้ันล้วนได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา ได้แก่ ศาสนสถาน เช่น วัด อุโบสถ เจดีย์
วิหาร เป็นต้น หรือในด้านศาสนวัตถุ เช่น พระพุทธรูป รวมทั้งภาพวาด หรือจิตรกรรมฝาผังต่างๆ
เป็นต้น เราเรียกศิลปกรรมเหล่านี้ว่าเป็น“พุทธศิลป์” พุทธศิลป์ เหล่านี้ล้วนเกิดข้ึนด้วยความศรัทธา
ปสาทะในพระพุทธศาสนา สําหรับพุทธศาสนิกชนแล้ว ถือได้ว่าเป็นส่วนสําคัญและทรงคุณค่าอย่าง

๖๐

หน่ึงของพระพุทธศาสนาในปัจจุบันอีกส่วนหน่ึงด้วย นอกจากนี้พุทธศลิ ป์ เหล่านี้ยังมจี ุดมุ่งหมายเพ่ือ
เผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือเรื่องราวของพระพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นพระศาสดาในพระพุทธศาสนา
อีกด้วย กระทั้งสะท้อนแนวความคิดของชาดกต่างๆ ในพระพุทธศาสนาผ่านปฏิมากรรม จิตรกรรม
และสถาปัตยกรรม และด้วยวัตถุประสงค์ของพุทธศิลป์ประการหลังน้ีเองทําให้ชาวพุทธ ส่วนหนึ่ง
ในปัจจุบัน เพราะชาวพุทธส่วนใหญ่ถือว่า พุทธศิลป์เหล่าน้ีเกิดจากศรัทธาในพระพุทธศาสนา
เป็นตัวแทนของพระพทุ ธศาสนา

คําว่า “พุทธศิลป์” โดยสรุปอย่างเขา้ ใจง่ายที่สุดหมายถึงงานศิลปะประเภทต่างๆ ท้ังในด้าน
สถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม ซึ่งสร้างขึ้นเพ่ือส่งเสริมการเผยแพร่และการปฏิบัติทาง
พุทธศาสนาโดยตรง และเป็นสิ่งช่วยโน้มน้าวจิตใจของพุทธศาสนิกชนให้เกิดความศรัทธา ประพฤติ
ปฏบิ ัติ ตนในแนวทางทดี่ ีงามตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา โดยสิ่งทผี่ ูส้ ร้างงานศิลปะได้พยายาม
ส่ือหรอื สอดแทรกไว้ในงานศลิ ปะแต่ละชนดิ เรยี กไดว้ ่าเป็นปรัชญาศิลปะในงานพทุ ธศิลป์ คืองานศลิ ปะ
ที่มีธรรมะในศาสนาพุทธอยู่ในงานศิลป์นั้นซ่ึงมีอยู่หลายรูปแบบท้ังในรูปแบบของงานศิลปวัตถุหรือ
พธิ ีกรรมทาง ศาสนาซึง่ จะมีหลักธรรมะสอนอยู่โดยแบ่งศกึ ษาออกเปน็ ประเภทต่างๆ ท้งั พระพุทธรูป
สถูปเจดีย์ อาคาร สถานท่ี และวัตถุส่ิงของจึงสามารถกล่าวได้วา่ งานศิลปกรรมเหล่านี้เปน็ เอกลักษณ์
ของชาติอย่างหน่ึง ดังน้ัน การนํางานพุทธศิลป์มาเป็นส่ือในการสอนปรัชญาธรรมต่างๆ เป็นการ
เผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในรปู แบบหนึ่ง ดว้ ยศรัทธาและความเชื่อเป็นเหตุให้พุทธศาสนิกชนผู้เล่ือมใส
ศรัทธาในคาํ สอนของพระพุทธองค์ไดส้ ร้างสรรค์งาน “พุทธศลิ ป์” ข้ึนซงึ่ นอกจากจะได้เผยแพร่แนวคิด
ที่มีต่อพระพุทธศาสนา ด้วยผลงานศิลปกรรมทางพระพุทธศาสนาแล้วและยังเป็นการน้อมนํา
ใหผ้ ูส้ ร้างสรรคศ์ ิลปกรรมและผทู้ ่ีได้ รับชม ไดใ้ กล้ชิดแนบแนน่ กับวิถแี ห่งพทุ ธศาสนายิง่ ขน้ึ

พุทธศิลป์มีรากฐานท่ีผูกพันกับวิถีการดําเนินชีวิตของผู้คนในสังคมไทยมาเป็นเวลาช้านาน
มีลักษณะเฉพาะของพิเศษแบบชนชาติไทยศิลปะกับวัด มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดมาเป็นเวลาช้านาน
ไม่ว่าจะเป็นภาพเขียน พุทธปฏิมา สถาปัตยกรรม และวรรณกรรมซึ่งเป็นศิลปะแขนงต่างๆ เหล่าน้ี
ได้รับการกล่าวขานว่าเป็นพุทธศิลป์ โดยมีเหตุผลสําคัญประการหน่ึง เพราะสร้างข้ึนในปริมณฑล
ของวัด เนื้อหาสาระมีส่วน เก่ียวข้องกับศาสดา เช่นพุทธประวัติ พุทธปฏิมาเกี่ยวข้องกับคําสอนโดย
อาศัยวิธีการตา่ งๆ โดยส่งิ ที่ผู้สร้าง งานศิลปะได้พยายามส่ือ หรือสอดแทรกไว้ในงานศิลปะแตล่ ะชนิด
เรียกได้ว่าเป็นปรัชญาศลิ ปะในงาน พุทธศลิ ป์ คอื งานศิลปะทม่ี ีธรรมะในศาสนาพุทธอยู่ในงานศิลป์นั้น
ซ่ึงมีอยู่หลายรูปแบบท้ังในรูปแบบของงานศิลปวัตถุ หรือพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งจะมีหลักธรรม ะ
สอนอยู่ โดยแบ่งศึกษาออกเป็นประเภทต่างๆ ทั้งพระพุทธรูป สถูปเจดีย์ อาคารสถานท่ีและวัตถุ
สิ่งของจึงสามารถกล่าวได้ว่างานศิลปกรรมเหล่าน้ี เป็นเอกลักษณ์ของชาติอย่างหน่ึง ดังน้ัน การนํา
งานพุทธศิลป์มาเปน็ สอื่ ในการสอนปรัชญาธรรมต่างๆ เป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในรปู แบบหนึ่ง

๖๑

ดงั ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะและศาสนาที่วา่ “มีศลิ ปะ อยู่ที่ไหน ศาสนากส็ ว่างไสวอยทู่ น่ี ั้น” เท่ากับ
เป็นการอนุรักษ์ท้งั เรื่องราวและหลักฐานเพอ่ื สบื ทอดให้คน รนุ่ หลงั ได้ศึกษาตอ่ ไป

๒.๑.๖ แนวคิดของนักวิชาการโบราณคดเี ก่ียวกับพุทธศิลปข์ องพระพทุ ธรูป
ได้มี แนวความคิดของนัก วิชาการและนั กประวัติศาสตร์โบราณคดี ได้กล่ าวถึงเกี่ยวกั บ

พุทธศลิ ปห์ ลายประการด้วยกนั คือ
สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ ไดนิพนธหนังสือเร่ือง “ตาํ นาน

พระพุทธเจดีย” สรุปความตอนที่วา ดวยพระพุทธศาสนาในประเทศสยามไดวา พระพุทธศาสนา
ได เขามาประดิษฐานในประเทศไทย ตง้ั แตสมัยทร่ี าชธานนี ครปฐมนั้น มโี บราณวัตถุบางอยาง ปรากฏ
อยูที่พระปฐมเจดีย เชน ศิลาทําเปนรูปพระธรรมจักรเหมือนอยางเชน ที่ชาวอินเดียสรางกันในสมัย
เม่ือกอนมีพระพุทธรูป และภาษาที่จารึกพระธรรมเปนภาษามคธ กับทั้งยังมีคติที่ถือกันเมื่อกอนมี
พระพุทธรูป เชน ทําพระแทนพุทธอาสนและรอยพระพุทธบาทเปนท่ีสักการบูชาปรากฏตอมาอีก
หลายอยาง สัญลักษณเหลาน้ีแสดงใหเห็นวา พระพุทธศาสนาที่มาประดิษฐานในประเทศสยามน้ี
เปนนิกายเถรวาทอยางที่พระเจาอโศกมหาราชทรงใหไปประกาศใน นานาประเทศ ทาํ ใหสนั นิษฐาน
ไดวา พระพุทธศาสนาเขามาประดิษฐานในประเทศสยามนาจะกอน พ.ศ. ๕๐๐ และนับถือสืบทอด
กันมั่นคงตอมาอีกนาน๕๖ ทรงสันนิษฐานเกี่ยวกับการเขามาของ พระพุทธศาสนาสูประเทศไทยวา
เนื่องจากพระพุทธศาสนาเขาประเทศไทยหลายยุคและหลายนิกาย จึงเปนเหตุใหมีโบราณสถาน
หลายแบบ ซ่ึงเรยี กเปนสมัยได ๗ สมัย สมัยที่ ๑ คือสมัยทวาราวดี โดยกําหนดเอาตั้งแต พ.ศ. ๕๐๐
เปนตนมา จะเห็นไดวาพุทธเจดียสมัยทวารวดีพบทน่ี ครปฐมมากกวาแหงอื่นและเปนพุทธเจดียที่เกา
ท่ีสุดในประเทศไทย สันนิษฐานวา ไดอิทธิพลจากแควนมคธราฐ โดยวัตถุท่ีสราง เปน พุทธเจดีย์
ในสมัยนี้มีท้ังที่เปน ธาตุเจดยี บริโภคเจดีย ธรรมเจดียและอุเทสกิ ะเจดีย ครบท้ัง ๔ อยาง แตถือเอา
การสรางพระธาตุเจดียเปนสําคัญกวาอยางอื่น อาจเน่ืองดวยการท่ีพระเจาอโศกมหาราชไดทรงแจก
พระบรมสารีริกธาตุใหไปประดิษฐานในประเทศท่ีทรงสงสมณทูต ไปประกาศพระพุทธศาสนานั้นๆ
ดวย๕๗

๕๖ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ตํานานพระพุทธเจดีย, (กรุงเทพ มหา
นคร ๒๕๔๖), หนา ๑๔๕-๑๔๖

๕๗ เรอื่ งเดียวกัน หน้า ๑๔๕-๑๔๖

๖๒

เสถียร โพธินันทะ ไดเขียนหนังสือเรื่อง “ภูมิประวัติพระพุทธเจา” สรุปความเรื่อง
การเขามาของพระพุทธศาสนาไดวา พระพุทธศาสนาไดแพรหลายเขาสูประเทศไทย ตั้งแต
พทุ ธศตวรรษที่ ๓ เปนตนมา ในระยะแรกเปนพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทไดเจรญิ รุงเรือง อยูหลาย
ศตวรรษและแพรหลายครอบคลุมไปท่ัวในแถบแหลมอินโดจีน ต อมาพุทธศตวรรษที่ ๖
พระพุทธศาสนานิกายมหายาน ก็ไดเขาสูประเทศไทยสมัยกอนโดยมาทางบกเขามาทางแควน
เบงกอล ทางพมาเหนือ และทางทะเลซึ่งมาข้ึนที่แหลมมลายู สุมาตราและออมอาวเขามาทาง
ประเทศกัมพูชาก็มี เหตุการณตางๆ นี้อยูในสมัยอาณาจักรฟูนัน ปรากฏวา ชวงเวลาดังกลาว
ชาวฟูนันนับถือพระพุทธศาสนาทั้งแบบเถรวาทและมหายาน ซึ่งเจริญรุงเรืองอยางมากจนถึงกับมี
สมณทูตชาวฟูนันเดินทางไปแปลพระคัมภีรถึงประเทศจนี ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ คือ ทานพระสังฆ-
ปาละ และพระมนั ทรเสน๕๘

ศาสตราจารยหมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล ไดเขียนบทความเรื่องความกาวหนา
ในการศึกษาประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยสมัยโบราณ ซึ่งยืนยันถึงเรื่องราวความมีอยูของสุวรรณภูมิ
(กอนสมัยทวารวดี) สรปุ ความไดวา การศึกษาประวัตศิ าสตรศิลปะเอเชียอาคเนยสมยั โบราณ ๓ เร่ือง
คือ ๑) ปญหาเกี่ยวกับอาณาจักรฟูนันและอาณาจักรเจนละโดยทั่วไปประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
ในประเทศกัมพูชาสมัยกอนสรางเมืองพระนคร (pre-Angkorean period) และมีอายุกอน พ.ศ.
๑๓๕๕ น้ัน นิยมใชชื่อตามที่ปรากฏอยูในจดหมายเหตุจีนคืออาณาจักรฟูนัน และอาณาจักรเจนละ
ซึ่งนักวิชาการหลายทานสนใจศึกษาคนควา เชน ศาสตราจารยโคลด ชาค (Claude Jacques)
ศาสตราจารยเปลลิโอต (Paul Pelliot), ศาสตราจารยยอรช เซเดส ศาสตราจารย์ฟโนต (Louis
Finot), ศาสตราจารยดูปองต (P. Dupont) ๒) เดิม ศาสตราจารยเซเดส เขียนไวในหนังสือวา
พระเจาสุริยวรมันท่ี ๑ ของขอมทรงเปนเช้ือชาติมาลายูและเสด็จข้ึนมาจากเมืองนครศรีธรรมราช
ตอมาไดเปลี่ยนความเห็นวาพระเจาสุริยวรมันที่ ๑ ทรงเปนเจาชายขอมแตด้ังเดิม ๓) หลักฐาน
ทางดานโบราณคดี ที่อําเภอสามชกุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี กรมศิลปากรไดทาํ การขดุ คนซากโบราณสถาน
ทเี่ นินทางพระพบวัตถุสําคัญที่สลกั ศิลา คือ องคพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรยืน พระเศียรพระพุทธรูป
ประติมากรรมสัมฤทธ์ิ เชน เศียรพระพุทธรูปหรือพระพุทธรูปทรงเคร่ืองขนาดเล็ก และพระพิมพ
เคร่ืองประดับปูนปนรูปเทวดา มนุษย์และยักษ หลักฐานที่คนพบเหลาน้ียืนยันวา เมืองสุวรรณปุระ
ในศิลาจารกึ ปราสาทพระขรรค ในประเทศกมั พชู าคงจะเปนเมอื งสพุ รรณบรุ ขี องไทยอยางแนนอน๕๙

๕๘ เสถียร โพธนิ ันทะ, ภมู ิประวัตพิ ระพุทธศาสนา, หนา ๑-๖
๕๙ สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศ.ม.จ.,พระพุทธรูปรุนเกาในประเทศไทย, โบราณคดี, ปที่ ๓ ฉบับท่ี ๓
(มกราคม-มีนาคม ๒๕๑๔), หนา ๙-๑๒

๖๓

นอกจากน้ี ยังไดทรงเรียบเรียงหนังสือ เรื่อง “ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยถึง พ.ศ.
๒๐๐๐” โดยกลาวถึง การขยายตัวของศิลปวัฒนธรรมของทวารวดี โดยอางคําของ ศาสตราจารย
ชอง บวส เซอลีเยรวา ศิลปะแบบทวารวดีไดขยายตัวออกไป ๓ ทาง คือ ทางทิศตะวันออก ทางหนึ่ง
ไปยังอําเภออรัญประเทศ ผานทางดงละครและคงศรีมหาโพธ์ิ อีกทางหน่ึงไปยังที่ราบสูง โคราช
โดยผานทางจังหวัดสระบุรี และแยกออกเปนหลายสายที่แมน้ำมูล ไปยังจังหวัดมหาสารคามทางทิศ
เหนือ ไปยังจังหวัดลําพูน (คืออาณาจักรหริภุญชัย) โดยผานทางจังหวัดลพบุรี นครสวรรค์และตาก
ทางใตมีทางลงไปยงั แหลมมลายโู ดยผานทางจงั หวดั ราชบรุ ี และเพชรบรุ ี ทางเหลานีม้ าบรรจบกนั แถว
บริเวณเมือง อูทอง ท่ีทราบไดเชนน้ี เพราะอาศัยโบราณวัตถุสถาน แบบทวารวดี ท่ีคนพบตามสาย
ทางเดินเหลานั้น สวนที่บานโคกไมเดน อําเภอพยุหคีรี จังหวัดนครสวรรค ได้คนพบสถาปตยกรรม
แบบแปลกท่ีไมเคยพบมากอนในศิลปะแบบทวารวดี คือ สถูปรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสมีกําแพงแกวลอมรอบ
เพื่อกั้นเขตประทักษิณ๖๐ จากประเด็นตางๆ ที่กลาวมา ทําใหไดประเด็นที่ตองการศึกษา โดยเฉพาะ
สมัยทวารวดีไดแก ศึกษาเร่ืองกําเนิดหรือที่มา และพัฒนาการของพระพุทธศาสนาสมัยทวารวดี
อิทธิพลและรองรอยของพระพุทธศาสนาในสมัยทวารวดี โดยจะทําการศึกษาจากเอกสารขอมูลและ
จาก หลักฐานทางโบราณคดี (ศิลปกรรม) และงานวิเคราะหขอมูลท่ีเกี่ยวของ ท่ีนักวิชาการได
วิเคราะหไวแลวในสวนอทิ ธิพลของพระพุทธศาสนาน้ัน จะศึกษาเฉพาะทีป่ รากฏในดานสถาปตยกรรม
ประติมากรรมเปนหลัก โดยใหน้ำหนักการศึกษาขอมูลเอกสาร ๖๐ % หลักฐานทางโบราณคดีหรือ
ศลิ ปกรรม ๔๐ % เดินทาง ยอนขึ้นมาทางเขาภูเขาธงไชย ภูเขาตะนาวศรี ท่ีก้นั เขตแดนระหวางไทย
กับอินเดีย เพราะเปนเสนทางท่ีชาวอินเดีย ชาวปา ชาวเขา เคยใชเปนเสนทางเดินมาแลวในสมัย
โบราณ เพราะเปนเสนทางที่เขาถึงตอนใตของดินแดนสุวรรณภูมิ และตรงกับเสนทางเดินเรือ
จากอินเดยี มาสูสวุ รรณภูมิ ทง้ั ยงั มีความสะดวกมากกวาเสนทางอ่ืนดวย

อนึ่งการที่คณะของพระโสณเถระไดรับความสะดวก อาจเปนเพราะพระพุทธศาสนา
ไดเข้ามาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิ กอนท่ีพระเจาอโศกมหาราชจะไดจัดสงสมณทูตไปเผยแผ
พระพทุ ธศาสนายงั ทวีปตางๆ อยางเปนทางการก็ได๖๑

๖๐ ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยถึง พ.ศ. ๒๐๐๐, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท
รุงแสงการพิมพ จํากดั , ๒๕๓๕), หนา ๒๔-๒๕.

๖๑ พรอม สุทัศน ณ อยุธยา, การฝงรากฐานพระพุทธศาสนาลงท่ีบาน “คูบัว” อําเภอเมือง จังหวัด
ราชบุ รี สมยั พระเจาอโศกมหาราชถึงพระเจากนิษกะจาก พ.ศ.๒๗๓ - ๗๐๓, พิมพคร้งั ท่ี ๒, (พระนคร: เจรญิ ธรรม,
๒๕๑๑), หนา ๑๓๐ - ๑๔๐.

๖๔

ศาสตราจารย์ฌอง บวสเซอลีเยร์ เร่ือง “เมืองอู่ทองและความสำคัญของเมืองอู่ทอง
ในประวัติศาสตร์ไทย”๖๒ น้ันท่านได้ตั้งข้อสมมติฐานไว้ว่าเมืองอู่ทองเป็นเมืองหลวงของรัฐทวารวดี
เน่ืองจากเมืองอู่ทองเป็นเมืองเดียวท่ีพบจารึกท่ีกล่าวถึงพระนามของกษัตริย์ทวารวดี (จารึกบนแผ่น
ทองแดง) คือพระเจ้าหรรษะวรมัน อันเป็นพระนามกษัตริย์ที่ไม่รู้จักกันในราชวงศ์เจนละในสมัยน้ัน
และยงั จารึกบนแผ่นทองแดงซงึ่ รัฐทเี่ จนละไม่ใช้ อีกทัง้ ระยะทางยงั ไกลเกินกว่าท่จี ะคิดไปว่าจารกึ น้ถี ูก
นำเข้ามา ดังนั้นจึงควรเช่ือได้ว่าจารึกน้ีเป็นจารึกแผ่นแรกท่ีจารึกพระนามพระเจ้าหรรษะวรมัน
แห่งรัฐทวารวดี และสถานที่ทพี่ บคืออู่ทองก็ควรจะเป็นเมืองหลวงของพระองค์และในบทความเร่ือง
“ทฤษฏีใหม่เก่ียวกบั สถานที่ตั้งอาณาจกั รฟูนัน”๑๓ ของศาสตราจารยฌ์ อง บวสเซอลีเยอร์นั้นท่านได้
ตัง้ ขอ้ สมมตฐิ านไว้ว่า ราชธานขี องอาณาจกั รล่มุ แม่น้ำเจา้ พระยาบริเวณเมืองอ่ทู อง แตด่ นิ แดนแถบลุ่ม
แม่น้ำโขงนั้นเป็นดินแดนที่ถูกปราบปรามเน่ืองจากวัฒนธรรมแบบฟูนันท่ีเมืองออกแก้วไม่ได้สืบต่อ
ลงไปในวัฒนธรรมแบบเจนละแต่ขาดหายไป “เครื่องประดับทำด้วยทองหรือดีบุกรวมท้ังลูกปัด
ซ่ึงค้นพบเป็นจำนวนมากและเคร่ืองปั้นดินเผาแบบต่างๆ ท่ีค้นพบท่ีเมืองออกแก้วไม่ปรากฏมีใน
อาณาจักรเจนละตรงกันข้ามกับอาณาจักรทวารวดี ซึ่งเป็นผู้สืบต่อโดยตรงจากอาณาจักรฟูนันนั้นมี
การสืบต่อในการใช้โบราณวัตถุแบบเดียวกัน เครื่องป้ันดินเผาแบบเดียวกันลงไปจนถึงสมัยทวารวดี
และวตั ถุเหล่านี้ก็มีวิวัฒนาการไปอย่างช้าๆ จากประติมากรรมและภาพสลักนูนต่ำในศิลปะทวารวดี
เราก็อาจทาบวิธีใช้เครอื่ งอาภรณ์ท่คี น้ พบที่เมอื งออกแกว้ และไมเ่ คยทราบกันวา่ ใชท้ ำอะไรมาก่อน”

ศาสตราจารยหมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล ไดเขียนบทความเร่ืองความกาวหนาใน
การศึกษาประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยสมัยโบราณ ซึ่งยืนยันถึงเรื่องราวความมีอยูของสุวรรณภูมิ
(กอนสมัยทวารวดี) สรปุ ความไดวา การศกึ ษาประวัตศิ าสตรศิลปะเอเชียอาคเนยสมัยโบราณ ๓ เรอ่ื ง
คือ ๑) ปญหาเกี่ยวกับอาณาจักรฟูนันและอาณาจักรเจนละโดยทั่วไปประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
ในประเทศกมั พชู าสมยั กอนสรางเมืองพระนคร(pre-Angkorean period)และมอี ายุกอน พ.ศ.๑๓๕๕
น้ัน นิยมใชช่ือตามที่ปรากฏอยูในจดหมายเหตุจีน คือ อาณาจักรฟูนัน และอาณาจักรเจนละ
ซ่ึงนักวิชาการหลายทานสนใจศึกษาคนควา เชน ศาสตราจารยโคลด ชาค (Claude Jacques)
ศาสตราจารยเปลลิโอต (Paul Pelliot), ศาสตราจารยยอรช เซเดส ศาสตราจารย ฟโนต (Louis
Finot), ศาสตราจารยดูปองต (P. Dupont) ๒) เดิม ศาสตราจารยเซเดส เขียนไวในหนังสือวา
พระเจาสุริยวรมันที่ ๑ ของขอมทรง เปนเช้ือชาติมาลายูและเสด็จข้ึนมาจากเมืองนครศรีธรรมราช
ตอมาไดเปล่ียนความเห็นวา พระเจาสุริยวรมันที่ ๑ ทรงเปนเจาชายขอมแตดั้งเดิม ๓) หลักฐาน

๖๒ ฌอง บวสเชอลเิ ยร์ “ทฤษฏใี หมเ่ ก่ียวกับทต่ี ั้งอาณาจกั ร ฟูนนั ”เกบ็ ความโดย มจ.สุภัทรดิศ ดิศกุล
ในโบราณวทิ ยาเร่ืองเมืองอู่ทอง, หนา้ ๑๑-๒๐.

๖๕

ทางดานโบราณคดีที่อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี กรมศิลปากรไดทําการขุดคนซากโบราณ
สถานที่เนินทางพระพบวัตถุสําคัญที่สลักศิลาคือ องคพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรยืน พระเศียร
พระพุทธรูป ประติมากรรมสัมฤทธิ์ เชน เศียรพระพุทธรูปหรือพระพุทธรูปทรงเครื่องขนาดเล็กและ
พระพิมพ เครื่องประดับปูนปนรูปเทวดา มนุษย และยักษ หลักฐานท่ีคนพบเหลาน้ียืนยันวาเมือง
สุวรรณปุระในศิลาจารึกปราสาทพระขรรคในประเทศกัมพูชาคงจะเปนเมืองสุพรรณบุรีของไทย
อยางแนนอน๖๓

นอกจากน้ี ยังไดทรงเรียบเรียงหนังสือเรื่อง “ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยถึง
พ.ศ. ๒๐๐๐” โดยกลาวถงึ การขยายตัวของศิลปวัฒนธรรมของทวารวดี โดยอางคําของศาสตราจารย
ชองบวสเซอลีเยร วา ศิลปะแบบทวารวดีไดขยายตัวออกไป ๓ ทาง คือ ทางทิศตะวันออก ทางหนึ่ง
ไปยังอําเภออรัญประเทศผานทางดงละครและคงศรีมหาโพธิ์ อีกทางหนึ่งไปยังท่ีราบสูงโคราช
โดยผานทางจังหวัดสระบุรี และแยกออกเปนหลายสายท่ีแมน้ำมูล ไปยงั จังหวัดมหาสารคามทางทิศ
เหนือไปยังจังหวัดลําพูน (คืออาณาจักรหริภุญชัย) โดยผานทางจังหวัดลพบุรี นครสวรรค์และตาก
ทางใตมีทางลงไปยังแหลมมลายูโดยผานทางจังหวัดราชบุรีและเพชรบุรี ทางเหลาน้ีมาบรรจบกัน
แถวบริเวณเมอื งอูทอง ที่ทราบไดเชนนี้ เพราะอาศยั โบราณวัตถุสถานแบบทวารวดีท่ีคนพบตามสาย
ทางเดินเหลาน้ัน สวนท่ี บานโคกไมเดน อาํ เภอพยุหคีรี จงั หวัดนครสวรรค ไดคนพบสถาปตยกรรม
แบบแปลกท่ีไมเคยพบมากอนในศิลปะแบบทวารวดี คือ สถปู รปู สเี่ หลี่ยมจตั ุรสั มีกาํ แพงแกวลอมรอบ
เพ่ือก้ันเขตประทักษิณ๖๔ จากประเด็นตางๆ ท่ีกลาวมา ทําใหไดประเด็นท่ีตองการศึกษา โดยเฉพาะ
สมัยทวารวดีไดแก ศึกษาเร่ืองกําเนิดหรือที่มา และพัฒนาการของพระพุทธศาสนาสมัยทวารวดี
อทิ ธพิ ล และรองรอยของพระพุทธศาสนาในสมัยทวารวดี โดยจะทําการศึกษาจากเอกสารขอมูลและ
จาก หลักฐาน ทางโบราณคดี(ศิลปกรรม) และงานวิเคราะหขอมูลท่ีเก่ียวของ ท่ีนักวิชาการ
ไดวิเคราะหไว้แลว ในสวนอิทธิพลของพระพุทธศาสนานั้น จะศึกษาเฉพาะที่ปรากฏในดาน
สถาปตยกรรมประติมากรรมเปนหลัก โดยใหน้ำหนักการศึกษาขอมูลเอกสาร ๖๐% หลักฐาน
ทางโบราณคดหี รือศลิ ปกรรม ๔๐%

พ.ศ. ๒๕๐๒ กรมศิลปากรได้จัดสร้าง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง เพื่อรวบรวม
เก็บรักษาโบราณวัตถุที่พบในบริเวณเมืองอู่ทองไว้เป็นการช่ัวคราว ปีเดียวกันน้ีเอง ศาตราจารย์

๖๓ สุภัทรดิศ ดิศกุล,ศ.ม.จ., พระพุทธรูปรุนเกาในประเทศไทย, โบราณคดี, ปท่ี ๓ ฉบับท่ี ๓
(มกราคม-มีนาคม ๒๕๑๔), หนา ๙-๑๒

๖๔ สุภัทรดิศ ดิศกุล,ม.จ., ประวัติศาสตรเอเชียอาคเนยถึง พ.ศ. ๒๐๐๐, (กรงุ เทพมหานคร: บริษัท
รุงแสงการพิมพ จํากดั , ๒๕๓๕), หนา ๒๔-๒๕.

๖๖

มจ. สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงนํานักศึกษา คณะโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร และนักเรียนเตรียม
โบราณคดีทําการขุดค้นที่เมืองอู่ทอง และทรงให้ความเห็นไว้ว่า ศิลปวตั ถุท่ีเมืองดังกล่าวมีตั้งแต่แบบ
ทวารวดีจนถึงแบบอู่ทอง ในหนังสือเร่ือง The Golden Khersonese ท่ี พอล วิทล่ีย์ (Paul
Wheatley) เขียนไว้เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๔ กล่าวว่ารัฐ “จินหลิน” ที่ในจดหมายเหตุราชวงศ์เหลียง
อ้างว่าเป็นรัฐสุดท้ายท่ี พระเจ้าฟันมัน แห่งอาณาจักรฟูนัน ปราบลงได้ เม่ือราวพุทธศตวรรษที่ ๙
คงจะตั้งอยู่บริเวณเมอื งอู่ทอง เน่ืองจากคําว่า จนิ หลิน แปลว่า ดินแดนแห่งทอง หรือ สุวรรณภูมแิ ละ
ยังห่างจากฟูนัน มาทางทิศตะวันตกราว ๒,๐๐๐ ล้ี (ประมาณ ๘๐๐ กิโลเมตร) ตรงกันกับชื่อใน
เอกสารจีน เอกสารดังกลา่ ว ยงั ระบุอีกด้วยว่า ประชาชนของรัฐจินหลนิ นิยมคล้องช้าง และเปน็ พ้ืนท่ี
แหลง่ แร่เงิน (Paul Wheatley, ๑๙๖๑.) ๖๕

ประเดน็ ที่น่าสนใจที่สดุ ประการหนึ่งในงานวิจัยช้นิ ดังกล่าวกค็ ือ การท่ีศาสตราจารย์ผาสุข
อ้างว่า อู่ทองเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาที่เก่าแก่ท่ีสุดในวัฒนธรรมทวารวดี เม่ือพิจารณาจาก
ข้อมูลท้ังหลายแล้วก็จะเห็นได้ว่า พุทธศาสนาทว่ี า่ คงเก่ยี วขอ้ งกับพุทธศาสนาแบบเถรวาท จากอนิ เดีย
ใต้และลังกา เพราะโดยท่ัวไปแล้วนักวิชาการมักจะจำแนกวฒั นธรรมทวารวดีให้ต่างไปจากวัฒนธรรม
รอบขา้ ง ด้วยวตั ถสุ ถานเน่อื งในศาสนาพทุ ธเถรวาทเป็นสาํ คัญ ๖๖

ลักษณะเช่นน้ีชวนให้คิดไปได้ว่า “อู่ทอง” ซึ่งมีความหมายใกล้เคียงกับคําว่า “สุวรรณ
ภูมิ”ดินแดนท่ีพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งชมพูทวีป ที่มีอายุอยู่ในช่วงราว พ.ศ. ๒๐๐-๓๐๐ ได้ส่ง
พระสมณฑูต อุตตรเถระ และโสณเถระ มาเผยแพร่พระพุทธศาสนาอย่างเถรวาท อย่างไรก็ตาม
ยังไม่เคยพบ หลักฐานเก่ียวกับพระพุทธศาสนา ไม่ว่าจะนิกายใดก็ตาม ในช่วงเวลาดังกล่าวที่อู่ทอง
หรือบริเวณใกล้เคียงเลยอันที่จริงแล้ว หลักฐานเกี่ยวกับการส่งสมณฑูตมายังสุวรรณภูมิดังกล่าว
ก็ไม่เคยปรากฏหลกั ฐานอยูใ่ นจารึกของพระเจา้ อโศกเลย ผิดจากหลักฐานการสง่ สมณฑูตไปยังดนิ แดน
อ่ืนๆ ทีม่ จี ารกึ ของพระองค์ระบไุ วอ้ ยา่ งชดั เจน

หลักฐานเก่าแก่ท่ีสุดเก่ียวกับการที่พระองค์ได้ส่งสมณ ฑูตมายังสุว รรณภูมิระบุอยู่ใน
มหาวงศ์พงศาวดารลังกา ท่ีมีอายุอ่อนลงมากว่าสมัยพระองค์อีกมาก ความเข้าใจเร่ืองดังกล่าว
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จึงมีรากฐานท่ีสําคัญมาจากการติดต่อสัมพันธ์กับลังกา ซ่ึงหมายถึง

๖๕ Paul Wheatley, The Golden Khersonese, Kuala Lumpur: The Malaya University
Press, 1961.

๖๖ ผาสุข อนิ ทราวุธ, ทวารวดีการศกึ ษาวเิ คราะห์จากหลกั ฐานโบราณคดี, กรงุ เทพมหานคร : อกั ษร
สมยั , ๒๕๔๒.

๖๗

ทั้งเครอื ขา่ ยของพระพุทธศาสนาเถรวาท และการค้าเสียมากกว่า อย่างไรก็ดีจากหลกั ฐานตา่ งทีค่ ้นพบ
ในบริเวณพ้ืนท่ีเมืองอู่ทอง และปริมณฑลโดยรอบก็ไม่อาจปฏิเสธได้เลยว่า เมืองอู่ทองมีความ
เก่ียวเนื่องกับวัฒนธรรมแบบทวารวดี ท่ีมีนัยยะเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาเถรวาท โดยหลักฐาน
ทั้งหมด มคี วามต่อเนื่องมาต้งั แตส่ มยั กอ่ นรับวฒั นธรรมพระพุทธศาสนา จากชมพูทวีป มาจนถงึ สมัยท่ี
รบั วฒั นธรรมเน่ืองในพทุ ธศาสนาแลว้

กระบวนการจําแนกยุคสมัยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เกี่ยวพันกับการรับวัฒนธรรม
ศาสนาจากอนิ เดยี หรือลังกาอยา่ งแยกกนั ไมข่ าด เพราะตัวอกั ษรทงหลายที่พบอยู่ในเอเชยี ตะวันออก
เฉียงใต้ล้วนแต่พัฒนา และคลี่คลายมาจากอักษรปัลลวะของอินเดียใต้อักษรเหล่าน้ีเข้ามาพร้อมกับ
วฒั นธรรม และเครอื ขา่ ยทางศาสนาไมว่ ่าจะเปน็ พุทธหรือพราหมณ์

ดังน้ัน การที่เมืองอู่ทองมีหลักฐานต่อเน่ืองมาต้ังแต่สมัยก่อนรับวัฒนธรรมศาสนา จนถึง
สมัยท่ีรับวัฒนธรรมศาสนาแล้ว ซ้ึงยังดูเหมอื นว่ามีกษณะเชิงช่างที่เก่าแก่กวา่ เมืองอนื่ ๆ ในวัฒนธรรม
ทวารวดีจึงอาจจะกล่าวได้ว่า เมืองอู่ทองเป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาอย่างเถรวาทที่เก่าแก่
ที่สุดในวัฒนธรรมทวารวดีได้ แม้ว่าจะไม่ได้เก่ียวพันกับเรื่องการเผยแพร่พระพุทธศาสนาของ
พระเจา้ อโศกท่ีมีอายเุ กา่ กว่าหลกั ฐานเนื่องในพุทธศาสนาในเมืองอ่ทู องราว ๗๐๐ ปีเลยกต็ าม ลักษณะ
เช่นน้คี งเกย่ี วเนอ่ื งกับการท่เี มอื งอ่ทู อง มฐี านะเปน็ สถานีการค้าท่สี ําคัญมาแต่ดงั้ เดิม

๒.๒ งานวจิ ยั ที่เกย่ี วขอ้ ง

การวิจัยเร่ือง “วิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ของพระพุทธรูปยุคทวารวดี ในจังหวัด
สพุ รรณบุรี” ผวู้ ิจยั ได้ศกึ ษาเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยท่เี กีย่ วข้อง มรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้

ม.ล. สุรสวสั ดิ์ สุขสวสั ดิ์ และ ดร. ฮนั ส์เพนธ์ การวิจยั เร่ือง พุทธศิลปใ์ นนิกายสีหฬภิกขุ
ค.ศ. ๑๓๕๐-๑๕๕๐ (ราว พ.ศ. ๑๙๐๐- ๒๑๐๐) ศึกษาจากพระพุทธสิหงิ ค์และพระพุทธรูปที่มีจารึก
ประเทศไทย ๖๗ ได้ทำการค้นคว้าวิจัยเก่ียวกับพุทธศิลปะสีหฬภิกขุ ค.ศ.๑๓๕๐-๑๕๕๐ (ราว พ.ศ.
๑๙๐๐-๒๑๐๐) ศึกษาจากพระพุทธสิหิงค์และพระพุทธปฎิมาท่ีมีจารึกในประเทศไทย (เน้นล้านนา)
จากผลการศึกษา ทำให้เราต้องปรับเปลี่ยนความเข้าใจใหม่ว่า พระพุทธปฏิมาแบบพระพุทธสิหิงค์

๖๗ สุรสวัสด์ิ สุขสวัสด์ิ, ม.ล. และ ดร. ฮนั ส์เพ้นธ,์ พุทธศิลป์ในนิกายสหี ฬภิกขุ ค.ศ. ๑๓๕๐- ๑๕๕๐
(ราว พ.ศ. ๑๙๐๐ - ๒๑๐๐) ศึกษาจากพระพุทธสิหิงค์และพระพุทธรูปท่ีมีจารึกประเทศไทย (เน้นล้านนา),
(เชียงใหม:่ สถาบนั วิจัยสังคม, ๒๕๕๐).

๖๘

เป็นแบบท่ีเกิดขึ้นในอุษาคเนย์เอง จากอิทธิพลของพุทธศิลป์แบบปาละและสารนาถผ่านทาง
การตกตะกอนของพระพุทธศาสนาในวัฒนธรรม มอญ-พุกาม และมอญทวาราวดี เหตุการณ์นี้คง
เกิดข้ึนนับตั้งแต่ศตวรรษท่ี ๑๑-๑๒ หรือพุทธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๗ แล้ว แต่กลับเป็นที่นิยมกว้างขวาง
ขึ้นพร้อมกับนิกายลังกาวงศ์ของพระมหาสามีอุทุมพรที่เมาะตะมะ ด้วยเหตุน้ีพุทธศิลป์ของ
พระพุทธปฏิมาในกลุ่ม ตะกวน วัดพระพายหลวง ที่เคยเรียกว่าแบบเชียงแสน น่าจะสร้างสรรค์ขึ้น
บนศาสนสถานแบบเขมร พรอ้ มกับการมาถงึ ของพระสมุ นเถระ และพระอโนมทสั สีเถระ ในศตวรรษท่ี
๑๔ หรือพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ในทำนองเดียวกันพุทธศิลป์แบบของพระสมุ น-เถระที่นำมายังลำพูน
ในปีคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๓๖๙ หรือพุทธศตวรรษที่ ๑๙๑๒ และเชียงใหม่ที่วัดสวนดอกในปี
คริสต์ศตวรรษท่ี ๑๓๗๐ หรือพุทธศตวรรษที่ ๑๙๑๔ น่าจะเป็นพระพุทธปฏิมาในกลุ่มนี้เช่นเดียวกัน
เพราะพระพุทธปฏมิ ากลุ่ม สวรรคโลก – สุโขทยั ท่ีเคยเช่อื กันว่าเป็นแบบของพระสุมนเถระน้ันเพิง่ จะ
มกี ารสร้างข้ึนระหว่างปีคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๔๒๒-๑๔๒๓หรือพุทธศตวรรษท่ี ๑๙๖๕-๑๙๖๖ อย่างไร
ก็ตาม คติการเรียกขานช่ือพระพุทธปฏิมากลุ่มนี้ว่า “พระพุทธสิหิงค์” คงเกิดขึ้นในระหว่างครึ่งหลัง
ของศตวรรษท่ี ๑๕ จนถึงพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ แล้ว โดยผ่านกระบวนการพุทธศาสนาแบบชาวบ้าน
ทไ่ี ม่ลกึ ซง้ึ ถงึ คำบาลี-สนั สกฤต

นิลรัตน์ กล่ินจันทร์ และคณะ๖๘ ได้ศึกษาเรื่อง ศึกษาศาสนสถานทสี่ ําคัญต่อการอนุรักษ์
การท่องเท่ียวของวัดในกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า ประวัติและความสำคัญของศาสนสถาน
มีความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งยึดเหน่ียวทางด้านจิตใจ ศาสนสถาน ดังกล่าวยังมีความสำคัญในแง่
เป็นสิ่งแสดงถึงความศรัทธาแสดงประวัติศาสตร์และบริบทความเช่ือของคนในช่วงเวลาของ การ
สร้างศาสนสถาน ด้วยนักท่องเท่ียวชาวไทยจะเข้ามาทั ศนศึกษา เพื่อเป้าหมายทางศาสนา
สว่ นนักท่องเท่ียวต่างประเทศ จะเข้ามาทัศนศึกษาเพื่อแสวงหาความรู้ทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม
และความเช่ือของคนไทยในอดีตและคนไทยในปัจจุบัน ซึ่งศาสนสถานจะสะท้อนมิติทางด้าน
ประวตั ิศาสตร์ วัฒนธรรมของคนไทยไดอ้ ยา่ งดี จะเห็นได้วา่ ศาสนสถานท่กี ล่าวขา้ งต้น แต่ละประเภท
ก็จะมีองค์ประกอบท่ีแสดงให้เห็นมิติทางด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สังคมได้อย่างดี เช่น
พระอุโบสถและพระวิหารหลวงจะแสดงสถาปัตยกรรมการออกแบบตามแบบแผนสกุลช่างของ
แต่ละยุค และยังเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป แสดงภาพจิตรกรรม ภาพจิตกรรมที่ปรากฏใน
พระอุโบสถ และพระวิหารหลวงจะแสดงอดีตพุทธ ประวัติพระพุทธเจ้าและชาดก ซึ่งแสดงหลัก
คำสอนทางพระพุทธศาสนาท่ีใชเ้ ป็นหลักยึดถอื รว่ มกนั ภาพจิตรกรรมนี้ในแต่ละสมัยจะมีภาพทแ่ี สดง

๖๘นลิ รัตน์ กล่นิ จันทร์ และคณะ, ศึกษาศาสนสถานท่ีสําคัญต่อการอนุรักษ์การท่องเท่ียวของวัดใน
กรุงเทพมหานคร, รายงานการวจิ ยั , (มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๒), บทคัดย่อ.

๖๙

แตกต่างกัน ภาพเดียวกันในแต่ละยุคก็จะวาดต่างกัน สิ่งเหล่านี้จะสะท้อนมิติทางความเช่ือ
และวฒั นธรรมของผูส้ ร้างได้นักท่องเทีย่ วเขา้ มาทัศนศกึ ษาจะเขา้ ใจสังคมไทยได้อย่างดี

ประพันธ์ กุลวินิจฉัย๖๙ ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง “วิเคราะห์เร่ืองพระพุทธรูปในฐานะปูชนียวัตถุ
ของชาวพุทธ” พบว่า แนวคิดเรื่องการสร้างพระพุทธรูปและมีพัฒนาการมาจนปัจจุบันน้ัน
ตามหลักฐานเอกสารทั้งท่ีเป็นปฐมภูมิและทุติยภูมิเช่นพระไตรปิฎก อรรถกถาฯและตำราวิชาการ
ต่างๆ ที่สืบค้นได้ ดงั น้ี

๑. ในคัมภรี ์พระไตรปฎิ กพบคำว่ารูปปฏมิ า ส่วนในอรรถกถาพบคำว่าพระปฏิมาอยู่หลาย
ที่แต่มีอยู่ท่ีหนึ่งมีความหมายท่ีคล้อยตามคำว่า Sculpture หมายถึงประติมากรรมเช่นข้อความว่า
เจดีย์ คือ พระปฏิมา (พระพุทธรูป) คำในวงเล็บนั้นมาในอรรถกถาซึ่งมีข้ึนภายหลังพระไตรปิฎก
หลายร้อยปี ในช่วงที่พระพุทธโกศาจารย์นั้นพระพุทธรูปในลังกาคงได้รับจากอินเดียยุต่างๆ แล้ว
หรือในการทำสังคายนาแต่ละครั้งคงเพ่ิมเติมภาษาร่วมสมัยในครั้งนั้นๆ ด้วย อย่างไรก็ตาม คำว่า
รูปปฏิมาและพระปฏิมาไม่ใช่พระพุทธรูปแต่เป็น พระเจดีย์คือรัตนะท่ีเสมอด้วยพระตถาคต
แม้เพราะอรรถว่าทำให้เกิดความเคารพยำเกรง สว่ นพระปฏิมาท่ีพบในท่ีต่างๆ อีกหลายแหง่ น้ันเป็น
ข้อความอุปมาบ้างเปน็ รูปพระวรกายของพระพุทธเจา้ บา้ งเช่น ตรสั กับพระวักกลิ หรือตรสั ชาดกต่างๆ
ในอดตี ชาตขิ องพระเองก็ดี ของพระสาวกก็ดี ทีเ่ ท้าความถึงเหตุการณ์ต่างๆ เช่น อานิสงส์การทำทาน
ในสมัยของพระพุทธเจ้าองคก์ ่อนๆ มา

๒. ในเอกสารประวัติศาสตร์หลังพุทธปรินิพพานยืนยันตรงกันว่าพระพุทธรูปหรือ
พุทธศิลป์เรืองการสร้างพระพุทธรูปน้ันเกิดขึ้นครั้งแรกในอินเดียสมัยคันธาระ โดยได้รับอิทธิพลจาก
การทำรูปปั้นเทพเจ้าของชาวกรีกท่ีเข้ามายึดครองบางส่วนของชมพูทวีปโดยกษัตริย์ชาวกรีก
ทรงพรระนามวา่ เมนนั เดอร์หรอื พระเจ้ามิลนิ ทผ์ ูทรงพระปรีชาในการปกครองและศาสนาแต่ภายหลัง
ทรงยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาเพราะพระธรรมเทศนาของพระอรหันต์นาคเสน ดังนั้น พระเจ้า
มิลินท์จึงทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาเดียวกับพระเจ้าอโศกมหาราชเช่น การสร้างถาวรวัตถุต่างๆ
รวมทั้งพระพุทธรูปมากมาย ดงั น้ันจึงเกิดมพี ัฒนาการการทำพระพุทธรูปไว้สักการบูชากันมาผ่านยุค
แล้วยุคเล่าจนไดแ้ พร่หลายเข้ามาถงึ ประเทศไทยอาทิเช่นทวาราวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย
อยธุ ยา รัตนโกสินทรต์ ามลำดบั ตามเอกสารท่ีไดส้ บื ค้นแล้ว

๖๙ประพนั ธ์ กุลวนิ จิ ฉยั , วเิ คราะหเ์ ร่ืองพระพทุ ธรปู ในฐานะปูชนยี วัตถุของชาวพทุ ธ, รายงานการวิจัย
, (สถาบันวิจยั พทุ ธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๖), บทคดั ย่อ.

๗๐

พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ๗๐ กล่าวว่า พระพุทธรูปเป็นสื่อให้เข้าถึงพระธรรม และ
พระสงฆ์ ชาวพุทธกราบไหว้พระรัตนตรัย ไหว้ครั้งท่ี ๑ ระลึกถึงพระพุทธเจ้า ไหว้คร้ังที่ ๒ ระลึกถึง
พระธรรม ไหว้คร้ังที่ ๓ ระลึกถึงพระสงฆ์ การไหว้พระพุทธเจ้าทำได้ ๒ แบบ คือ แบบพุทธานุสสติ
ล้วน คือ ระลึกถึงพระพุทธเจ้า แสดงความเคารพในใจหรือแสดงออกทางกายก็ได้ และแบบ
พุทธรูปานุสสติ ระลึกถึงพระพุทธเจ้าโดยผ่านพระพุทธรูป ประเพณีชาวพุทธคือ "ไหว้พระ" จะฟัง
ธรรมก็ต้องไหว้พระ จะปฏิบัติธรรมก็ต้องไหว้พระ จะนอนก็ต้องไหว้พระ คำว่า "ไหว้พระ" ก็คือไว้
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ในการไหว้พระสงฆ์ท่ีเป็นบคุ คลปจั จุบันนี้ก็เช่นกนั จะไหว้พระ ก. พระ
ข. ในจิตใจของชาวพุทธทุกคน จะไหว้พระ ก. พระ ข.ได้สนิทใจก็ต่อเม่ือรู้สึกนึกอยู่ในใจว่า
"มีพระพุทธเจ้าเป็นเจ้าของศาสนา" ชาวพุทธไม่ว่าจะอยู่ที่แห่งใด ในประเทศไทยหรือต่างประเทศ
ขาดพระพุทธรูปไม่ได้ ความคิดจิตใจเกิดความกระด้างขึ้นมาเมื่อใด ครั้นเห็นพระพุทธรูปย่อมรู้สึก
อ่อนโยนลงมา ความอ่อนโยนนั่นแหละคือ ตัวธรรม ความคิดจิตใจใฝ่ช่ัวมัวหมองเมื่อใด คร้ันเห็น
พระพุทธรูป กลับละเว้นชั่วน้ันเสีย นั่นแหละคือธรรม เกิดความเดือดร้อนใจเม่ือใดเม่ืออยู่ต่อหน้า
พระพทุ ธรปู ไดก้ ม้ กราบพระพุทธรูป จิตใจกเ็ ย็นสงบลง อธษิ ฐานจิตให้มน่ั คงได้ น่นั แหละคอื ธรรม

โชติมา จตุรวงค์ และคณะ๗๑ ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “การบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรม
ในศาสนสถานและสถานที่ศกั ด์ิสิทธ์ิ” พบว่า ปญั หาและสาเหตุที่เกิดขึน้ ภายในเขตโบราณสถานและ
ศาสนา ซ่ึงส่วนใหญ่มักเกิดข้ึนจากการท่ีผดู้ ูแลพ้ืนท่ีดังกล่าวขาดความรู้ความเขา้ ใจในประวัติศาสตร์
และความสำคัญของพ้ืนที่ จึงนำไปสู่การก่อสร้างเพ่ิมเติมและรื้อถอนส่ิงปลูกสร้างต่างๆ ด้วยความ
รู้เท่าไม่ถึงการณ์ของผู้ครอบครอง จึงควรมีแนวทางแก้ไขให้ทุกฝ่ายร่วมมือกันอย่างจริงจัง โดยช้ีให้
ประชาชนเห็นถึงความสำคญั และร่วมกันมสี ่วนร่วมในการดูแลพื้นท่ีศักด์ิสิทธต์ิ ่างๆ รวมถึงเปิดโอกาส
ให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการพื้นที่ศักดิ์สิทธ์ิ จนนำไปสู่การปฏิรูป
การบรหิ ารจัดการมรดกทางวัฒนธรรมทถี่ กู ตอ้ งในทส่ี ุด

๗๐พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ, กำเนดิ และพัฒนาการแหง่ พระพุทธรปู ,
https://www.mcu.ac.th/article/detail/502, ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒.
๗๑โชติมา จตุรวงค์ และคณะ, การบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรมในศาสนสถานและสถานที่ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ
, รายงานการวิจัย, (สำนักงานเลขาธกิ ารวุฒิสภา, ๒๕๕๓), บทคัดยอ่ .

๗๑

จนั ท์นิภา ดวงวิไล๗๒ ไดศ้ ึกษาวิจยั เรื่อง “ตำนานพระพุทธรูปในชุมชนชายแดนไทย-ลาว:
การส่ือความหมายทางวัฒนธรรมและบทบาทการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม” พบว่า ตำนาน
พระพทุ ธรูปเป็นเร่ืองเล่าศกั ดิ์สิทธ์ิกล่าวถึงประวัติความเปน็ มา อิทธิฤทธ์ิปาฏิหาริยต์ ลอดจนประเพณี
พธิ ีกรรมอันเกี่ยวข้องกบั พระพุทธรูปสำคัญที่ประดิษฐานอยู่ในชุมชนชายแดนไทย-ลาว ซึ่งคนในชมุ ชน
ใหค้ วามเคารพศรัทธาและเชื่อว่าเป็นสัญลักษณ์ศกั ดิ์สิทธ์ิแทนองค์พระสัมมาสัมพุทธเจา้ การถ่ายทอด
เรื่องราวเก่ียวกับพระพุทธรูปนอกจากจะสื่อความหมายทางวัฒนธรรมแลว้ พระพุทธรูปยังมีบทบาท
ในการสร้างความสัมพันธ์ทางสงั คมในชมุ ชนชายแดนไทย-ลาว อีกทั้งยังสรา้ งเครือขา่ ยวัฒนธรรมพทุ ธ
ศาสนาในชุมชนอุษาคเนย์ วิทยานิพนธ์นี้มีความมุ่งหมายเพ่ือวิเคราะห์การส่ือความหมาย
ทางวฒั นธรรมและบทบาทการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมในตำนานพระพทุ ธรูปที่ปรากฏในบริเวณ
ชุมชนชายแดนไทย-ลาว ข้อมูลท่ีใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ตำนานพระพุทธรูปทั้งท่ีเป็น
ขอ้ มูลลายลักษณ์และข้อมูล มุขปาฐะ การวจิ ัยน้ีใช้ระเบียบวิธีวิจัยทางคติชนวิทยาและมานุษยวิทยา
โดยใช้แนวคิดหลักคือ แนวคิดเรื่องภาษาของตำนานปรัมปราและเรื่องเล่า (Mythical Language
and Narrative) แนวคิดเร่ืองการสื่อความหมายทางวัฒนธรรม (the Interpretation of Cultures)
และ แนวคิด เรอื่ งชาตพิ นั ธ์สุ ัมพนั ธ์ (Ethnicity)

พิริยา พิทยาวัฒนชัย ได้ศึกษาดุษฎีนิพนธ์เรื่อง “วิเคราะห์การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ด้วยการใช้พุทธศิลป์และภูมิทัศนสถานของวัดเจติยภูมิ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น” พบว่า
การเผยแผ่จากพุทธกาลได้ใช้การส่ือสารระดับบุคคล การปฏิบัติตน เป็นต้นแบบ หลังพุทธกาลมีการ
สังคายนาแล้วได้รักษาสืบต่อกันมา ปัจจุบันได้มีการให้ความสำคัญกับพุทธศิลป์และภูมิทัศนสถาน
ไมน่ ้อย ชาวอีสานมีวดั เป็นศูนย์รวมจิตใจของชุมชนเป็นแหล่งรวมงานพุทธศิลป์พื้นที่วดั ได้ตกแตง่ เป็น
ภูมิทัศนสถานให้เป็นรมมณียสถาน และให้มีท่ีว่างใช้รองรับกิจกรรม วัฒนธรรม ประเพณีวิถีชุมชน
โดยเฉพาะวัดเจติยภูมิมีการใช้พุทธศิลป์และภูมิทัศนสถานของวัดที่มีลักษณะร่วมของสังคมอีสาน
โดยผลการศึกษาการเผยแผ่พุทธศาสนาของวัดเจติยภูมพิ บว่า พทุ ธศิลป์หลักคอื องค์พระธาตุขามแก่น
เป็นผลจากความศรัทธา ความงาม และวัฒนธรรมการสร้างพระธาตุ การสร้างสิม การสร้าง
พระพุทธรูป การเขียนฮูปแต้ม และการมีพื้นที่รองรับกิจกรรมศาสนาตาม ฮีตสิบสองคองสิบสี่
โดยปรับภูมิทัศน์ของวัดตามความจำเป็นแต่ละยุคสมัย มีการเสริมสร้างภูมิทัศน์ ทั้งส่ิงมีชีวิต (soft
scape) และส่ิงไม่มีชีวิต (hard scape) โดยไม่ทำลายหรือบิดเบือนโครงสร้าง ภูมิทัศนสถานเดิม

๗๒จันท์นิภา ดวงวิไล, ตำนานพระพุทธรูปในชุมชนชายแดนไทย-ลาว: การสื่อความหมายทาง
วัฒนธรรมและบทบาทการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม, วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาไทย, (มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, ๒๕๕๖), บทคดั ยอ่ .

๗๒

แต่ส่งเสริมให้พุทธศิลป์หลักมีเอกภาพด้วยศาสตร์สมัยใหม่ เช่น การออกแบบภูมิทัศน์ ให้สะท้อน
บรรยากาศเดิมของภูมิทัศนสถานโดยยังคงรักษาพืชพรรณดั้งเดิมของวัดอันเกี่ยวข้องกับ ตำนาน
การสร้างพระธาตุขามแก่นบนดอนมะขาม รูปแบบการใช้พุทธศิลป์และภูมิทัศนสถานจึง ผสมผสาน
งานด้ังเดิมและงานสร้างใหม่ โดยวัดยังรักษารูปแบบงานพุทธศิลป์ด้ังเดิมเอาไว้และปรับปรุง
บำรุงรกั ษาภมู ทิ ศั นสถานใหส้ มสมยั และสะอาด สว่าง สงบ สอดคล้องกบั หลักสัปปายะในพระไตรปิฎก

ส่วนการวิเคราะห์การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาโดยใช้พุทธศลิ ป์ฯ จากการศึกษาข้อมลู เอกสาร
การลงภาคสนามสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมน้ัน พบวา่ วัดเจติยภูมิยังคงรักษา
แนวทางการเผยแผ่ด้วยการสื่อสารระดับบุคคล การปฏิบัติตนเป็นต้นแบบ การทรงจำพระธรรมวิจัย
และได้เพ่ิมการใช้พทุ ธศิลป์และภูมิทสั นสถานเข้ามาชว่ ย โดยจัดใหม้ ีความสอดคลอ้ งกันของพุทธศิลป์
และภมู ทิ ัศนสถานอดีตกบั ปัจจบุ นั เห็นไดจ้ ากการปรบั ใชร้ ูปทรงพระธาตุขามแก่น ทั้งใน ระดับวัดและ
หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในจังหวัดขอนแก่นจำนวนมาก จนกลายเป็นสัญลักษณ์แทน
ความศักดิส์ ิทธิ์อนั เป็นผลเชิงประจักษ์ท่ีเกิดจากอทิ ธิการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยใช้พุทธศิลป์ และ
ภูมิทั ศน สถาน ของวัด ทั้ งห มดล้วน เป็น วิธีก ารเผยแผ่ท่ี ทำให้ สาธุชน เห็ น ความสำคัญ
ของพระพทุ ธศาสนา และเกดิ ความรู้ เข้าใจ แล้วนอ้ มนำตนเขา้ สู่ธรรมะไดจ้ รงิ ๗๓

สรุป พุทธศิลป์ของพระพุทธรูปท่ีปรากฏในประเทศไทยน้ัน มีท้ังท่ีเป็นสถาปัตยกรรม
ประติมากรรม และ จิตรกรรม มีนักวิชาการ นักโบราณคดี และงานวิจัยได้กล่าวเก่ียวกับพุทธศิลป์
เหล่าน้ีตรงกันว่า ได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนาที่มาจากอินเดียในช่วงสมัยพระเจ้าอโศก
มหาราช ที่ได้จัดส่ง พระสมณทูตออกเผยแผ่พระพุทธศาสนานอกจากชมพูทวีป โดยเฉพาะ
ปฏิมากรรมน้ัน พระพุทธรูปถือว่าเป็นองค์เปรียบหรือ สัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้า เป็นหลักฐาน
สำหรับให้คนรนุ่ หลังทราบวา่ พระพุทธเจ้าทรงเปน็ ปชู นยี บุคคลทม่ี ีพระองค์อยู่จริง ความโดดเด่นของ
พุทธศิลป์ในแต่ละแบบที่เกิดขึ้นในระยะเวลาเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เช่น พุทธศลิ ป์แบบหริภุญไชย
ถกู ผนวกรวมในพุทธศิลป์แบบทวารวดี พุทธศิลป์แบบเชียงแสน-ล้านนา อาจจะผนวกรวมไว้กับศิลป์
แบบสโุ ขทัย สว่ นพุทธศลิ ป์ แบบสุพรรณภมู ิและอโยธยาหรอื อทู่ อง กอ็ าจจะนำมารวมไวก้ บั ศิลปะแบบ
อยุธยา อิทธิพลของการสร้างสถาปัตยกรรมในอินเดีย มีบทบาทต่อการสรา้ งสถาปัตยกรรมไทยดังท่ี
ปรากฏอยทู่ ั่วไป นับต้ังแตพ่ ระพทุ ธศาสนาเริ่มเข้าสู่ประเทศไทยเป็นต้นมา นำไปสอู่ งค์ความรู้ ทำให้มี
คุณค่าและอิทธพิ ลทางวฒั นธรรมต่อสังคมต่างๆ อกี มากต่อไป

๗๓ พิริยา พิทยาวัฒนชัย,“วเิ คราะห์การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาด้วยการใช้พุทธศิลป์และภูมิทัศนสถาน
ของวัดเจติยภูมิ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น”, ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั พทุ ธศกั ราช, ๒๕๖๑), บทคดั ย่อ.

๒.๓ กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ๗๓

พทุ ธศิลปย์ ุคทวารวดี วิเคราะหข์ อ้ มูล

อิทธพิ ลและคณุ คา่ คุณค่า องคค์ วามร้ใู นด้านประตมิ ากรรม/
พทุ ธศลิ ปข์ องพระพทุ ธรปู สถาปัตยกรรม /โบราณคดี /

พุทธศลิ ปย์ ุคทวารวดีของ หลักศิลาจารกึ /และดา้ นวรรณกรรม
พทุ ธศาสนกิ ชน
จังหวัดสุพรรณบรุ ี คุณค่าทางดา้ นศาสนา
คุณค่าทางด้านสนุ ทรียะหรือความงาม
คณุ ค่าทางประวัติศาสตร์
คุณค่าทางเศรษฐกิจ
คุณค่าตอ่ สงั คม

สรปุ ผล
การวเิ คราะห์

แผนภมู ิที่ ๒.๑ แสดงกรอบแนวคิดในการวจิ ัย

๗๔

บทที่ ๓

วิธดี ำเนนิ การวิจยั

การวิจัยเร่ือง “วิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี” มีวิธีการ
ดำเนนิ การ ดงั นี้

๓.๑ รปู แบบการวจิ ยั
๓.๒ ผู้ใหข้ อ้ มูลสำคัญ
๓.๓ เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย
๓.๔ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
๓.๕ การวิเคราะห์ข้อมูล

๓.๑ รปู แบบการวจิ ัย

การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซ่ึงเน้นการศึกษาทางเอกสาร (Documentary
Research) และวิจัยภาคสนาม (Fields Research) โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเคร่ืองมือในการเก็บ
รวบรวมขอ้ มลู และเข้ารว่ มสังเกตการณ์แบบมีสว่ นรว่ ม

๓.๒ ผู้ใหข้ ้อมูลสำคัญ

การวิจัยเรื่อง “วิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี” ผวู้ ิจัยทำการ
สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interviews) ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ เจ้าอาวาส ผู้นำชุมชน
นักวิชาการศาสนาและประวัติศาสตร์พุทธศิลป์ ประชาชนผู้สนใจในเร่ืองประวัติศาสตร์สมัยทวารวดี
รวมผใู้ ห้ข้อมูลทั้งหมด จำนวน ๑๐ รปู /คน ซึง่ เปน็ ผ้ใู ห้ข้อมลู ที่สำคัญ (Key-Informant) เครื่องมอื ทใี่ ช้
ในการวจิ ัย ได้แก่ สัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview)

ผใู้ หข้ อ้ มูลสำคัญ จำนวน ๑๐ ทา่ น ไดแ้ ก่
๑. พระธรรมพุทธิมงคล (สะองิ้ สริ ินฺนโท) ที่ปรกึ ษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าอาวาส

วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร
๒. พระครูวบิ ลู เจติยานุรักษ์, ดร. รองเจ้าคณะจังหวัดสพุ รรณบรุ ี เจ้าอาวาสวดั ดอนเจดยี ์
๓. พระครูสิริวรธรรมภินันท์ (ชูชาติ) อานนฺโท รองเจ้าคณะอำเภอเมืองสุพรรณบุรี

เจ้าอาวาสวดั มะนาว
๔. พระครโู สภณวรี านวุ ัตร, ดร. (นคิ ม ณฎฺฐวโร) ผชู้ ่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์วรวหิ าร
๕. พระมหาพิชยั เจริญยทุ ธ (ธมมวฺ ชิ โย) เจา้ อาวาสวัดเขาทำเทยี ม

๗๕

๖. นางสาววภิ ารตั น์ ประดิษฐอาชีพ ผู้อำนวยการพพิ ธิ ภณั ฑส์ ถานแหง่ ชาติ อู่ทอง
๗. ดร.สมจินต์ ชาญกระบี่ ผู้จัดการสำนกั งานพนื้ ทพ่ี เิ ศษ เมืองโบราณอทู่ อง (อพท.๗)
๘. นางสาวจันทิรา เคหะนาค นักวิชาการศาสนาชำนาญการพิเศษ สำนกั งานพทุ ธศาสนา
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
๙. นางวรพร พรหมใจรกั ษ์ อาจารย์ประจำวิชาครศุ าสตรบัณฑติ สาขาวิชาสงั คมศึกษา
๑๐. นายอานนท์ รกั ผล สำนกั งานพุทธแหง่ ชาติ จังหวดั สุพรรณบุรี

๓.๓ เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั

ในการดำเนินการวิจยั ในคร้ังนี้ มีเครือ่ งมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดังน้ี
๓.๓.๑ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interviews) ใช้รวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูล
สำคญั (Key Informants) โดยแบ่งแบบสมั ภาษณเ์ ชิงลกึ ออกเป็น ๒ ตอน ดงั นี้

ตอนที่ ๑ แบบสมั ภาษณเ์ ก่ียวกับขอ้ มลู ส่วนตัวของผใู้ ห้สัมภาษณ์
ตอนท่ี ๒ แบบสัมภาษณ์เก่ียวกับการวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัด
สพุ รรณบุรี

๓.๔ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู

สำหรับกระบวนการหรอื แนวทางในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลทีน่ ำมาใช้ในการศึกษาครงั้ นี้ได้
กำหนดกระบวนการหรือแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ กระบวนการหรือแนวทางในการ
เกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยการเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากการศกึ ษาค้นคว้าข้อมลู จากเอกสารทางวชิ าการและ
ข้อมูลจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และกระบวนการหรือแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ
เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ โดยกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าว เป็นกระบวนการ
เก็บรวบรวมข้อมูลตามแนวทางของกระบวนวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ อันมีสาระส ำคัญโดยสรุป
ดังตอ่ ไปนี้

๑. การศึกษาข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด
ทฤษฎีต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา บทความ วารสารวิชาการ สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
(Internet) และงานวิจัยท่ีมผี ู้ศึกษาไว้ในแง่มมุ ต่างๆ ที่เกย่ี วข้อง

๒. การเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากการสมั ภาษณ์ (Interview)

๗๖

๒ .๑ ผู้วิจัยได้ก ำหน ดวัน เวลา และสถาน ที่สัมภาษ ณ์ ผู้ให้ข้อ มูลส ำคัญ
(Key Informants)

๒.๒ ผู้วิจัยได้ดำเนินการสัมภาษณ์โดยใช้วิธีการจดบันทึกการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูล
สำคญั (Key Informants) และการบนั ทกึ เสียง

๒.๓ ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) แล้วนำมา
วิเคราะห์ พร้อมทั้งแยกแยะจับประเด็นอีกทั้งตัดคำพูดบางคำท่ีไม่เหมาะสม และไม่เกย่ี วข้องกับการ
วิจัยออกไป เพอื่ ใหข้ อ้ มูลน้นั เป็นไปตามระเบยี บวิธวี ิจยั เชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research) ตอ่ ไป

๓.๕ การวิเคราะหข์ ้อมลู

การวิเคราะห์ขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพ ผูว้ ิจยั มลี ำดับขนั้ ตอนในการวเิ คราะห์ ดังนี้
๑. ผู้วิจัยจะนำข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์ โดยนำคำสัมภาษณ์จากผู้ถูกสัมภาษณ์
มาเปรยี บเทยี บความเหมือนและความตา่ งของแต่ละบคุ คล และจัดลำดับความสำคัญและคุณลักษณะ
ของข้อมูล
๒. นำข้อมูลจากการสัมภาษณ์ที่จัดลำดับความสำคัญแล้วนำมาเปรียบเทียบกับข้อมูลทาง
เอกสารต่างๆ ท่ีเกีย่ วข้อง ไม่ว่าจะเปน็ แนวคิดทฤษฎี ผลงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้องเพ่ือท่ีจะทราบถึงลักษณะ
ท่ีคลา้ ยคลึงกันและแตกต่างกนั ของขอ้ มลู
๓. นำข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์และจากการศกึ ษาต่างๆ มาทำการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน
อยา่ งเปน็ ระบบและนำไปสู่การเชื่อมโยงข้อมูลเข้าด้วยกัน แสดงความสำคญั ของขอ้ มูลได้ชดั เจนยิ่งข้ึน
เพอื่ สะดวกในการวเิ คราะหแ์ ละเขยี นรายงานข้อมลู ท่ไี ด้จากการศึกษา
ดังนั้น ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการตอบประเด็นสัมภาษณ์ (Interview Research) และ
ข้อมูลจากเอกสารต่างๆ (Document Research) จะถูกนำมาวิเคราะห์และประมวลผลออกมาใน
ลกั ษณะของการพรรณนาซึ่งนำไปสู่คำตอบในการศกึ ษาและสรปุ ตามหลกั วชิ าการประกอบการเขียน
รายงานเพอ่ื ชีใ้ ห้เหน็ ถึงแนวคดิ ความเชอ่ื และคณุ ค่าเก่ียวกบั พระพุทธรูปสำคัญในสงั คมไทยต่อไป

บทที่ ๔

ผลการวิจัย

ในการวิจัยเร่ือง “วิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี” ผู้วิจัย
มีความมุ่งมั่นที่จะศึกษาเก่ียวกับเรื่อง “คุณค่าพุทธศิลป์ของพระพุทธรูปยุคทวารวดี ในจังหวัด
สุพรรณบุรี” ซึ่งได้ศึกษาจากการให้ข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับพุทธศิลป์ยุคทวารวดี การวจิ ัยคร้ังนี้ศึกษา
เร่ือง มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คอื ๑). เพื่อศึกษาคณุ ค่าพุทธศิลป์ในพระพุทธศาสนา ๒). เพ่ือศึกษา
พุทธศิลป์ยุคทวารวดี จังหวัดสุพรรณบุรี ๓). เพื่อวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดีในจังหวัด
สุพรรณบุรี การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพ่ือศึกษาประวัติศาสตร์ แนวคิดและคุณค่าของ
พุทธศิลป์สมัยทวารวดีอู่ทอง ซ่ึงเป็นศิลปะที่เก่ียวข้องกับการสร้างสรรค์และการแสดงอารมณ์
ความรสู้ กึ ความช่ืนชมในความงามภายในใจของมนษุ ย์ ศลิ ปะทางศาสนา ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ต่อมนุษย์
หลายประการ เช่น ๑. ประโยชน์ในการใช้สอย ๒. สร้างความเพลิดเพลินทางจิตใจ ๓. เป็นเครื่อง
ยึดเหนี่ยวความเชื่อถือในศาสนา ตัวอย่าง เช่น พระผงสุพรรณ มีลักษณะเป็นดินเผา แต่ในด้านหลัก
พุทธธรรมเน้นความเมตตาแคล้วคลาด โดยมุ่งแสดงหลกั แห่งความจรงิ และความเปน็ เหตเุ ปน็ ผล ต้ังอยู่
บนพ้ืนฐานของชีวิต ที่ต้องการแสวงหาความสุขหรือการพ้นทุกข์ พุทธศิลป์น้ี จงึ มีคุณค่าต่อสังคมเป็น
อย่างยิ่ง ในการส่งเสริมจริยธรรม คุณค่าดังกล่าวอาจมีมากน้อยแตกต่างกันไป โดยได้เลือกพ้ืนท่ีการ
วจิ ัยครั้งนี้ผู้ศึกษากำหนดพื้นที่เฉพาะจังหวัดสุพรรณบุรี ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
เพราะพ้ืนท่ีนี้มี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ ได้แก่ ผู้ทรงคุณของพระสังฆาธิการในพ้ืนที่,
ผูอ้ ำนวยการพิพิธภัณฑอ์ ู่ทอง, ผู้ทรงคณุ วฒุ ใิ นองค์การบริหารการพฒั นาพ้ืนทีพ่ เิ ศษเพอ่ื การท่องเทีย่ ว
อยา่ งยง่ั ยืน (องคก์ ารมหาชน) ผทู้ รงคุณวฒุ ิด้านประวัติศาสตร์ในวิทยาลัยสงฆส์ พุ รรณบุรศี รีสุวรรณภูมิ
และกลมุ่ ชาวบ้านในจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

ดังน้ัน ผู้วิจัยได้นำเสนอผลการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยแบ่ง
เปน็ ตอน ดงั นี้

๔.๑ แนวคิดประวตั ิพทุ ธศิลปใ์ นพระพทุ ธศาสนา
๔.๒ ความเปน็ มาและความสำคญั พทุ ธศลิ ป์ยุคทวารวดี
๔.๓ วเิ คราะห์อิทธพิ ลและคณุ คา่ พุทธศลิ ป์ยุคทวารวดี ในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
๔.๔ องคค์ วามรทู้ ไี่ ดจ้ ากการวจิ ัย

๗๘

๔.๑ แนวคิดประวตั ิพุทธศิลป์ในพระพุทธศาสนา

๔.๑.๑ ประวัตพิ ุทธศิลป์

พุทธศิลป์ มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้ามี ๔ ชนิด คือ ธาตุเจดีย์ บริโภคเจดีย์
ธรรมเจดยี ์ อทุ เทสิกเจดยี ์ พทุ ธศลิ ป์ คือศิลปกรรม ท่ีสรา้ งขน้ึ รับใชพ้ ระพทุ ธศาสนาโดยตรง ทัง้ ในด้าน
จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรมในลัทธิมหายาน และเถรวาท ข้าพเจ้าคิดว่า พุทธศิลป์
น่าจะหมายถึงศิลปกรรมท่ีสร้างข้ึนและปรากฏเป็นลักษณะของพระพุทธรูปในสมัยทวารวดี ซึ่งอยู่ใน
ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๖ ซึ่งโดยปกติเห็นว่าพุทธศิลป์เป็นส่ิงท่ีสะท้อน
ความงดงามของศิลปะในเชิงช่างทีแ่ กะสลักหรือปนั้ หรอื หล่อพระพทุ ธรปู ขนึ้ เพือ่ เปน็ ท่เี คารพสักการะ
แทนองค์พระพุทธเจ้าท่ีพุทธศาสนิกชนท้ังหลายให้ความเคารพศรัทธา ศิลปะในเชิงช่างเหล่าน้ี
จึงสะท้อนความนิยมทางศิลปะท่ีเกิดขึ้นในยุคนั้นๆ ด้วย ทำให้ผู้ศึกษาด้านศิลปะสามารถแยกแยะ
ได้ว่าพุทธศิลป์ท่ีปรากฏนั้นเป็นศิลปะในยุคสมัยใด เช่น พระพักตร์ของพระพุทธรูปในสมัยทวารวดี
พระพักตร์ค่อนข้างยาว พระนลาฏกวา้ ง พระหนุเสี้ยม หมวดพระเกศาสูงใหญ่ พระขนงทำเป็นสันนูน
ต่อกัน พระเนตรพองโต (โปน) อย่างมาก เจาะเม็ดพระเนตรเป็นรูจนเป็นลักษณะเด่นทำให้ดูน่ากลัว
พระโอษฐ์หนาและแบะ ลักษณะสำคญั คือ มพี ระมัสสุ ซึง่ นา่ จะมาจากศิลปะเขมรอย่างชัดเจนท่สี ุด๑

คําว่า “พุทธศิลป์ (พุทธศิลปะ)” จึงหมายถึงผลงานสร้างสรรค์ท่ีได้รับยกย่องว่าเป็นงาน
ท่ียอดเย่ียม หรือเป็นศิลปะในด้านทัศนศิลป์ที่เก่ียวกับพระพุทธศาสนา ได้แก่พุทธศิลป์ประเภท
จิตรกรรม (painting) ประติมากรรม (Sculpture) และสถาปัตยกรรม (architecture) ในทาง
พระพุทธศาสนา นอกจากนี้ งานศิลปะประเภทประติมากรรม (Sculpture) (ศิลปะจําพวกวิจิตรศิลป์
เช่น แกะสลักไม้ หินอ่อน โลหะ หรืองานปูนปั้น เป็นต้น) ท่ีเก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนา หรือ
พระพุทธเจา้ โดยตรง เชน่ รูปเปรียบหรอื องค์แทนพระพุทธเจ้า ท่ีเรียกว่า “พระพทุ ธรูป” เรียกศิลปะ
ประเภทน้ีโดยเฉพาะวา่ “ปฏมิ ากรรม” และเรียกพระพทุ ธรูปว่า “พระปฏิมากร”๒

เม่ือเราได้ความหมายประวัติโดยทั่วๆ ไปของ“พุทธศิลป์” แล้วในลำดับต่อไปก็จะพิจารณา
จําเพาะลงไป อีกว่า “พุทธศิลป์ หรือศิลปะในทางพระพุทธศาสนาท่ีจัดเป็นพุทธศิลป์ ก็จะทำให้เรา
มองเห็นภาพชัดเจนขึ้น และความเข้าใจเก่ียวกับองค์ประกอบของพระพุทธศาสนา เพราะ
องค์ประกอบเหล่าน้ีต่างให้กำเนิดพุทธศิลป์ที่แตกต่างกัน กล่าวคือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่
ประกอบด้วยเกณฑ์ท่ีนักปราชญ์ทางศาสนากำหนดเอาไว้ว่าเป็น“ศาสนา ๕ ประการได้แก่
(๑) มีศาสดา (๒) มีศาสนธรรม (๓) มีศาสนบุคคล (๔) มีศาสนพิธี และ(๕) มีศาสนสถาน และ
องค์ประกอบของพระพุทธศาสนาเหล่าน้ีย่อมก่อให้เกิดพุทธศิลป์ที่แตกต่างกัน ๓ คือ ๑) ศาสดา

๑ สัมภาษณ์ ,พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. (นิคม ณฏฺฐวโร) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลย์วรวิหาร, เมื่อ
วนั ที่ เมอ่ื วันท่ี ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.

๒ สัมภาษณ์ นางสาววิภารัตน์ ประดิษฐอาชีพ, ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง จังหวัด
สพุ รรณบุรี เมอ่ื วนั ที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓..

๓ สัมภาษณ์ พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี, ผู้อำนวยการ, อาจารย์,ณ.
วทิ ยาลยั สงฆส์ ุพรรณบรุ ศี รสี ุวรรณภมู ิ , เมอ่ื วนั ที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

๗๙

คือ พระพุทธเจ้า องค์ประกอบข้อนี้เป็นบ่อเกิดของพุทธศิลป์ ๒ ประเภท คือ ๑. จิตรกรรมเกี่ยวกับ
พระพุทธเจ้า คือ ศลิ ปะการเขียนภาพหรือวาดภาพเกี่ยวกับพุทธประวัติ ชาดก ภาพพระพุทธเจ้าปาง
ต่างๆ เช่น ภาพปางสมาธิ ภาพปางอุ้มบาตร เป็นต้น ๒. ประติมากรรมเก่ียวกับพระพุทธเจ้า เช่น
แกะสลักไม้ หินอ่อน โลหะ หรืองานปูนปั้นเก่ียวกับ พระพุทธเจ้า เช่น พระพุทธรูปปางต่างๆ
เรยี กศิลปะชนดิ น้ีโดยเฉพาะว่า “ปฏิมากรรม” ๒) ศาสนธรรม คอื หลักคำสั่งสอน๔ จากองคป์ ระกอบ
ของพระพุทธศาสนาท้ัง ๕ ประการข้างต้น จะเห็นว่ามีองค์ประกอบของพระพุทธศาสนาอยู่ถึง ๓
ประการที่ก่อให้เกิดศิลปะในด้านต่างๆ คือ พระพุทธเจ้า ศาสนธรรม และศาสนสถาน และศิลปะ
ที่เกิดขึ้นมีทั้งท่ีเป็นศิลปะด้านจิตรกรรม (painting) ประติมากรรม (Sculpture) สถาปัตยกรรม
(architecture) และปฏิมากรรม (Sculpture) ซึ่งศิลปะเหล่านี้รวมเรียกว่า “พุทธศิลป์” หรือ
“พทุ ธศลิ ปะ”

พุทธศิลป์เป็นแรงบันดาลใจให้ศิลปินสร้างศิลปะอันเนื่องด้วยแนวคิด หลักธรรมคําสอน
สะท้อนออกมาให้มิติต่างๆ ท้ังวัตถุธรรม และนามธรรม ซึ่งใช้พระพุทธศาสนาเป็นแกนหลักในการ
นําเสนอผ่านผลงานศิลปะ โดยเน้นการศึกษาในมิติประวัติศาสตร์ศิลปะที่ปรากฏในพระพุทธศาสนา
โดยเปน็ สื่อใหเ้ ข้าถึง “ความจริง ความดี และความงามในพระพุทธศาสนา” เรียกส้ันๆ วา่ ศิลปะทกุ ชิ้น
มีจุดเช่ือมต่อเชื่อมโยงกับแนวคิดคําสอนในพระพุทธศาสนา โดยมีพระพุทธศาสนาเป็นฐาน กระท่ัง
โดยภาพรวมครอบคลมุ ไปถึงประติมากรรม วิจิตรกรรม สถาปัตยกรรม วรรณกรรม คตี กรรม เป็นสื่อ
ผา่ นทะลุไปถงึ หลักธรรมคําสอนท่เี ป็นแก่นในพระพุทธศาสนา เม่ือระลึกนกึ ถึงพระพุทธเจ้าแล้ว ทำให้
เกิดแรงบันดาลใจในการละความช่ัว ทำความดี และชําระจติ ของตนให้ผ่องใส รวมทั้งให้ทราบประวัติ
ความเป็นมา แต่ละยุคแตล่ ะสมัย ความเปน็ อยู่ของคนในสมยั นน้ั ๆ๕ พุทธศลิ ปย์ ังแสดงถงึ ความเป็นมา
ของวัดและพระพุทธศาสนา ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ท่ีจะสะท้อนวิถีชีวิต
ประเพณี วัฒนธรรม และความเป็นสังคมของประเทศชาติ๖ พุทธศิลป์ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเข้า
มาแล้ว ได้มีการเผยแผ่สู่ประชาชน มีการเจริญและเสื่อม พุทธศิลป์ก็เหมือนกับส่ิงต่างๆ โดยทั่วไป
เม่ือเข้ามาแล้วก็จะมีการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นทั้งดีและเส่ือมลงตามสภาพแวดล้อมและบริบทต่างๆ
ที่เกีย่ วข้อง ข้ึนอยูก่ ับเหตุปัจจยั หลายอยา่ ง เพราะสิ่งต่างๆ ในยคุ ปัจจุบันไม่แปลสภาพไปหลายอย่าง
เช่น การนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในโลกปัจจุบัน การเข้าถึงโลกโซเซียล ที่สามารถเข้าถึงได้
อย่างรวดเร็ว ซ่ึงเป็นทั้งส่วนที่ดีและส่วนที่ไม่ดีได้เหมือนกัน๗ พุทธศิลป์จึงเปรียบเสมือนตวั แทนของ
พระพุทธเจ้า เป็นงานศิลปะท่มี นุษย์สร้างขน้ึ เพื่อรับใช้งานทางด้านพระพุทธศาสนา พระพุทธรูปก็เป็น

๔ สัมภาษณ์ พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี, ผู้อำนวยการ, อาจารย์,ณ.

วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบรุ ีศรสี ุวรรณภมู ิ , เม่ือวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

๕ สัมภาษณ์ นายอานนท์ รักผล อาจารย์ เจ้าหน้าท่ีสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุพรรณบุรี
ไวยาวัจกรวดั ปา่ เลไลยกว์ รวิหาร จังหวัดสพุ รรณบุรี เมอ่ื วนั ที่ ๒๕ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๖ สัมภาษณ์ พระมหาพิชยั (เจรญิ ยุทธ) ธมฺมวิชโย, เจา้ อาวาสวดั เขาทำเทยี ม อำเภออู่ทอง จังหวัด

สุพรรณบรุ ี เมอื่ วนั ที่ เมือ่ วันที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๓
๗ สัมภาษณ์ ดร.สมจินต์ ชาญกระป่ี ผู้จัดการสำนักงานพ้ืนท่ีพิเศษ ๗ เพ่ือการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน

(องค์การมหาชน) เมื่อวันท่ี ๒๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓.

๘๐

พุทธศิลป์ท่ีเปน็ ส่ิงท่ชี ่วยโน้มนา้ วจติ ใจของประชาชนใหเ้ กดิ ความศรัทธา ซึง่ เมืองอู่ทอง เป็นเมอื งปลอด
สาร จากหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะโบราณวตั ถุทงั้ หลายท่ีคน้ พบในเมืองอู่ทอง มนั มีคุณค่า
พื้นฐานและโดดเด่นไม่เหมือนที่ไหนในประเทศไทย ในพื้นที่พิเศษท่ีประกาศออกมาถือว่าท่ีอำเภอ
อทู่ องเกา่ ที่สุดในเรื่องของอายุ อู่ทองเป็นแหล่งอารยธรรมสวุ รรณภูมิซ่ึงเป็นท่ีต้ังเมืองหลวงอาณาจักร
ทวารวดี ท่ีมีการขุดพบโบราณสถานและโบราณวตั ถุโดยเฉพาะพระพุทธรูปที่สำคัญหลายองค์ ท่ีแสดง
ความเจริญรุ่งเรืองในอดีตกว่า ๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว พุทธศิลป์ยังแสดงถึงความเป็นมาของวัดและ
พระพุทธศาสนา ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ท่ีจะสะท้อนวิถีชีวิต ประเพณี
วัฒนธรรม และความเป็นสังคมของประเทศชาติ๘ พุทธศิลป์ในพระพุทธศาสนา จึงเป็นเสมือน
สื่อแสดงถึงความเช่ือ ความศรัทธา ผ่านรูปเคารพ เช่น พระพุทธรูป รอยพระพุทธบาท ธรรมจักร
พระพิมพ์ เป็นต้น การถ่ายทอดหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ผ่านจารึกหลักธรรมทางศาสนา
และการถา่ ยทอดเรือ่ งราวพุทธประวัติ ชาดก ผ่านภาพจติ รกรรมฝาผนัง ประติมากรรมปูนป้ันภาพเล่า
เรื่องชาดก พุทธศิลป์เป็นงานศิลปกรรมที่เกี่ยวเน่ืองกับพุทธศาสนา ท้ังสถาปัตยกรรม ประติมากรรม
และจิตกรรม เป็นหลักฐานท่ีแสดงถึงความเช่ือ ความศรัทธาของผู้คนที่มีต่อพุทธศาสนา ต้ังแต่อดีต
ย้อนกลบั ไปตงั้ แตเ่ ร่ิมปรากฏหลักฐานการสรา้ งงานพทุ ธศิลป์แรกเรม่ิ ในดินแดนไทย ตัง้ แต่สมัยทวารวดี
เม่ือราว ๑,๔๐๐ ปีมาแล้ว๙ มีการปรับเปลี่ยนตามคติความเช่ือ และค่านิยม ของกลุ่มคนที่สร้างงาน
พุทธศิลป์แต่ละยุคสมัย สืบเน่ืองมาจนกระทั่งปัจจุบัน แสดงให้เห็นถึงความเก่ียวข้องกับต้นแบบ
ศิลปกรรมจากประเทศอินเดีย อันเป็นดินแดนต้นกำเนิดและศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาในอดีต
โดยไดร้ ับมาโดยตรง หรือรับผ่านประเทศท่ีหลักธรรม คำสอน และผู้คนในสมยั นั้นๆ ไดต้ ิดต่อส่งผ่านมา
อีกทอดหน่ึง อีกท้ังพุทธศิลป์ยังเป็นหลักฐานแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมืองในด้าน
ศิลปวัฒนธรรม ศิลปวิทยาการแขนงต่างๆ ซึ่งแต่ละยุคสมัยมีรูปแบบศิลปกรรม และคติการสร้างที่
แตกต่างกัน โดยรบั รูปแบบ แรงบัลดาลใจ คติในการสร้าง สนุ ทรียศาสตร์ความงาม จากวัฒนธรรมอ่ืน
ทั้งที่อยู่ใกล้เคียงกันหรือห่างไกลกัน มาปรับเปล่ียนและผสมผสานจนมีรปู แบบเป็นเอกลักษณ์ของแต่
ละยุคสมัย นอกจากน้ีแล้วพุทธศิลป์ยังเป็นหลักฐานที่บอกเล่าถึงวิธีชีวิต ความเช่ือสภาพสังคม
ในขณะน้ันผ่านงานศิลปกรรม๑๐ ที่ปรากฏรูปแบบแตกต่างกันในแต่ละสมัย ย่อมเกิดจากการตีความ
และความรู้จากคัมภีร์ต่างๆ ประกอบกับรสนิยม การรับแรงบันดาลใจจากศิลปะอ่ืนๆ มาเป็นต้นแบบ
เช่น ลักษณะของพระพุทธรูปบางประการที่มีความพิเศษกว่ารปู มนุษย์โดยทั่วไป เนื่องจากสร้างตาม
เร่ืองลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการ ของพระพุทธองค์ที่ทรงแสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ดังปรากฏใน
ลักขณสูตร ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เช่น การมีฝ่าพระบาทราบเสมอกัน มีส้นพระบาทยื่นยาวออกไป
ท่ีปรากฏในพระพุทธรูปบางสมัย เป็นต้น ทั้งน้ีช่างฝีมือในแต่ละยุคสมัย หรือต่างดินแดน น่าจะมีการ

๘ สมั ภาษณ์ จันทิรา เคหะนาค นกั วิชาการศาสนาชำนาญการพิเศษ สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาจังหวัด

สพุ รรณบรุ ี เมอ่ื วันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๙ สัมภาษณ์ วิภารัตน์ ประดษิ ฐอาชีพ ผู้อำนวยการพพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ อ่ทู อง จงั หวัดสพุ รรณบุรี

เมื่อวนั ที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๓

๑๐ สัมภาษณ์,พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. (นิคม ณฏฺฐวโร) อาจารย์ประจำหลักสูตร รปศ.,รอง

ผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวส.สุพรรณบุรี ผู้ชว่ ยเจ้าอาวาสวัดปา่ เลไลย์วรวหิ าร, เมอ่ื วันท่ี ๑๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๘๑

ถ่ายทอดความรู้เรื่องลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการ จากพระสูตรโดยตรง หรือผ่านการบอกเล่า
จากนักบวชหรือจากครูช่าง ในระยะแรกท่ีพระพทุ ธศาสนาเผยแพร่เข้ามายังดินแดนไทย คนพื้นเมือง
น่าจะเรียนรู้เรื่องราวพุทธศาสนา ผ่านศิลปกรรมต่างๆ ความเจริญและความเส่ือมน่าจะขึ้นอยู่กับ
ความรู้ ความศรัทธา ของคนในแต่ละยุคสมัย เมื่อหลักธรรมคำสอนเรม่ิ ห่างไกลจากวิถีชีวิตของมนุษย์
หรือบางสมัยมีการรับเอาความเชื่อจากลัทธิ ศาสนาอืน่ เข้ามา ย่อมทำใหเ้ กิดความเส่ือมของศิลปกรรม
ในพระพทุ ธศาสนา๑๑ อย่างไรก็ตามมีผเู้ ห็นว่าพระพักตร์ของพระพุทธรูปในสมัยนั้นๆ สามารถสะท้อน
ภาพของประชาชนผู้คนในสมัยน้ันได้ เช่น พระพุทธรูปในสมัยทวารวดีที่มีลักษณะน่ากลัว ไม่งดงาม
อ่อนช้อย เพราะผู้คนในสมัยน้ันยังทุกข์ยาก ต่อสู้ด้วยความยากลำบาก เพราะยังเป็นช่วงของการ
เริ่มตน้ ในการสร้างบ้านเมอื ง๑๒

๔.๑.๒ พุทธศิลป์ในพระพุทธศาสนาเมืองอ่ทู อง

หลักฐานที่เก่าแกท่ ี่สุดที่แสดงว่า พุทธศาสนาได้เป็นท่ียอมรับนับถือของชาวพื้นเมอื งอทู่ อง
น้ัน เริ่มปรากฏในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๘ หรือก่อนหน้าน้ัน นั่นคือหลักฐานด้านประติมากรรมดินเผา
และปูนป้ันที่ใช้ประดับศาสนาสถานประเภทสถูปและวิหาร ซ่ึงมีหลายชิ้นที่สืบทอดรูปแบบมาจาก
ศิลปะแบบอมราวดีตอนปลาย (พุทธศตวรรษที่ ๘-๑๐) เช่น ประติมากรรมดินเผารูปพุทธสาวก ๓
องค์ ถือบาตร ห่มจีวรห่อคลุมตามแบบนิยมของศิลปะแบบอมราวดี และประติมากรรมปูนป้ันรูป
พระพุทธรูปนาคปรก๑๓ ท่ีประทับน่ังขัดพระบาทหลวม ๆ ตามแบบนิยมของศิลปะแบบอมราวดี
รวมท้ังคตกิ ารสร้างพระพุทธรูปนาคปรก ซ่ึงจัดเป็นคตินิยมของสกุลช่างอมราวดีโดยเฉพาะ การคน้ พบ
ช้ินส่วนประติมากรรมดังกล่าวแม้จะน้อยช้ิน แต่ก็เป็นส่วนของประติมากรรมที่ประดับศาสนสถาน
ซง่ึ แสดงว่า ไดม้ ีการสร้างศาสนาในเมอื งนี้ ต้ังแต่ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๘-๑๐ และแม้วา่ พทุ ธรูปดังกล่าว
จะพังทลายลงไปแล้ว ยังคงเหลือให้เห็นช้ินส่วนประติมากรรมท้ังท่ีเป็นดินเผาและปูนปั้นท่ีเคยใช้
ประดับพุทธสถานดังกล่าว จงึ จัดเป็นหลักฐานสำคัญท่ีแสดงว่า พทุ ธศาสนาได้เป็นท่ียอมรับนับถือของ
ชาวพ้ืนเมืองอู่ทองแล้วในช่วงเวลาน้ัน และเป็นอิทธิพลพุทธศาสนาจากศูนย์กลางพุทธศาสนา
ในลมุ่ แม่น้ำกฤษณา (ภาคตะวนั ออกเฉียงใต้ของอนิ เดีย) ดงั น้ัน จึงได้พบว่า ชาวเมืองอ่ทู องมีความนยิ ม
ในการสร้างสัญลักษณ์สำคัญ ตามคติความเช่ือของชาวพุทธนิกายเถรวาทคือ ธรรมจักรและกวาง
หมอบ ซ่ึงส่ือความหมายตอนปฐมเทศนาในป่ากลางที่เมืองสารนาถใกล้เมอื งพาราณสี และธรรมจักร
ประดิษฐานบนเสา ซึ่งสื่อความหมายว่า พระพุทธเจ้าเปรียบเสมือนพระอาทิตย์ที่เหนือพระอาทิตย์

๑๑ สัมภาษณ์ วิภารัตน์ ประดิษฐอาชีพ ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ถ.มาลัยแมน
ตำบลอทู่ อง อำเภออู่ทอง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เมือ่ วนั ที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๓

๑๒ สัมภาษณ์ อ.วรพร พรหมใจรักษ์ ตำแหน่ง อาจารย์ประจำหลักสตู รครุศาสตรบัณฑิต สาขาสังคม
ศึกษาชมรมนักโบราณคดีสมัครเล่นเมืองสุพรรณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรีเมื่อวันที่ ๒๓
พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓..

๑๓ สัมภาษณ์ ,พระครูโสภณวีรานุวตั ร, ดร. (นิคม ณฏฐฺ วโร) ผู้ชว่ ยเจา้ อาวาสวัดป่าเลไลย์วรวิหาร, เมื่อ
วนั ท่ี เมือ่ วันที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.

๘๒

ด้ ว ย ก า ร ตื่ น ท่ี ยิ่ ง ให ญ่ แ ล ะ ก า ร ต รั ส รู้ ธ ร ร ม อั น ป ร ะ เส ริ ฐ แ ล ะ ยั ง เป รี ย บ ได้ กั บ ต้ น ไม้ แ ห่ ง ชี วิ ต ๑๔
ในขณะเดียวกันก็นิยมสร้างพระพุทธรูป ตามคติความเช่อื ของชาวพทุ ธนิกายมหาสงั ฆิกะหรอื มหายาน
ควบคู่กันไปรวมทั้งยังนิยมสร้างเจดีย์ มหาเจดีย์ และบูชาเจดีย์ ตามคติความเช่ือของนิกายไจตยกะ
ซ่ึงแยกออกมาจากนิกายมหาสังฆิกะ อันเป็นคตินิยมของนิกายต่างๆ ท่ีผสมผสานกันอยู่ในลุ่มแม่น้ำ
กฤษณา

นอกจากนี้ยังพบว่า คติความเช่ือเก่ียวกับพระโพธิสัตว์ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน
ท่ีปรากฏอยู่ในเมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี และแหล่งโบราณคดีในจังหวัดเพชรบุรี ได้เข้ามาปรากฏ
ในเมืองอทู่ องด้วย แมว้ ่าในบริเวณเมืองอู่ทองและเมืองโบราณสมัยทวารวดีเมืองอ่ืนๆ จะได้พบเทวรูป
พระวิษณุ และศิวลึงค์ (รวมทั้งมุขลึงค์) จำนวนหนึ่ง ซ่ึงแสดงว่า ศาสนาพราหมณ์ทั้งไศวนิกายและ
ไวษณพนิการ ได้เคยเจริญรุ่งเรืองอยู่ในรัฐทวารวดีควบคู่กับพุทธศาสนา แต่คงจะเป็นศาสนา
ที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมของกษัตริย์ซ่ึงพราหมณ์เป็นผู้ประกอบพิธีดังกล่าวส่วนศาสนาระดับรัฐนั้นคือ
พุทธศาสนา จึงกล่าวได้ว่า ๑๕เมืองอู่ทองเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนายุคแรกเร่ิมของรัฐทวารวดีและ
เจรญิ ร่งุ เรืองสบื ต่อมาและมคี วามสัมพนั ธ์กบั เมืองทวารวดีเมอื งอ่นื ๆ๑๖

พุทธศลิ ปะในเมอื งอู่ทองถอื วา่ ได้รบั อิทธิพลศิลปะแบบคปุ ตะจากอินเดีย เป็นยคุ ทอง ของ
อินเดีย ดงั นัน้ การสร้างรูปแบบประตมิ ากรรมโดยเฉพาะอย่างย่งิ พระพุทธรูป รูปพระโพธิสัตว เทวดา
และมนุษยในสมัยทวารวดีอู่ทองนี้ จะมีลักษณะเป็นแบบคุปตะของอินเดียอยางมาก สรางขึ้นจาก
อทิ ธพิ ลทางพทุ ธศาสนาศิลปะทวารวดใี นประเทศไทยเจรญิ ข้นึ

จะเหน็ ว่า พระพทุ ธรปู สมัยทวารวดีอู่ทองท่ีพบโดยมากมี ๓ แบบ ไดแก แบบท่ีหน่ึง มอี ายุ
ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ถึงตนพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ มีลักษณะอิทธิพลศิลปะอินเดียแบบคุปตะ
หลังคุปตะและแบบอมราวดี เป็นพระพุทธรูปปูนป้ัน พระพทุ ธรปู สำริด อยทู่ ี่เจดยี ์หมายเลข ๑,๒, ๑๑
แบบท่สี อง อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๔ มลี ักษณะเปนพน้ื เมอื งมาก เชน เศียร พระพุทธรปู ดินเผา
พบท่ีเมืองอู่ทองจังหวดั สพุ รรณบรุ ี แบบที่สาม อายรุ าวพุทธศตวรรษที ๑๕-๑๖ ซึ่งไดอิทธพิ ลของขอม
และแบบลพบุรี เขามาปะปนแลวการกําหนดอายุพระพุทธรูปสมัยทวารวดี กล่าวได้วา่ พระพุทธรูป
สมัย อู่ทอง พบหลักฐานท่ีเกาสดุ คงไดแกชนั้ สวนฐานและ ขนดนาคพบทีเ่ มืองอู่ทอง จังหวดั สุพรรณบรุ ี
มีหลายปาง แตปางที่โดดเดนและมี ความสําคัญและนิยมสรางกันแพรหลายไดแก พระพุทธรูป

๑๔ สมั ภาษณ์ อ.วรพร พรหมใจรกั ษ์ อาจารยป์ ระจำหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาสังคมศึกษาชมรม
นักโบราณคดีสมัครเล่นเมืองสุพรรณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๖๓.

๑๕ สัมภาษณ์ ดร.สมจินต์ ชาญกระปี, ผ้จู ัดการสำนกั งานพืน้ ที่พิเศษเพ่ือการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเมือง
โบราณอูท่ อง (องค์การมหาชน) สำนักงานพืน้ ที่พิเศษ 7 เมื่อวนั ที่ ๒๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓.

๑๖ สัมภาษณ์ นางสาวจนั ทิรา เคหะนาค ผู้อำนวยการกลมุ่ อำนวยการและกจิ การคณะสงฆ์ สำนกั งาน
พระพุทธศาสนาจังหวดั สพุ รรณบุรี จังหวัดสพุ รรณบุรี เมอื่ วนั ท่ี ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓..

๘๓

ปางประทานพร ปางแสดงธรรมสองพระหัตถ ปางประทับนั่งหอยพระบาท ปางสมาธิ ปางสมาธิ
มีนาคปรก และปางปรนิ ิพพาน๑๗

สรปุ ตามแนวคิด ผ้ตู อบสมั ภาษณ์ส่วนใหญ่ มีความคดิ เหน็ ว่า พุทธศิลป์ในพระพุทธศาสนา
เกิดในยุคในสมยั ทวารวดี เจริญขน้ึ จากการรบั อารยธรรมอินเดียเขา้ มาผสมผสานกับวัฒนธรรมพืน้ เมอื ง
ด้ังเดิมของมนุษย์ในบริเวณภาคกลาง จนพัฒนาขึ้นเป็นวัฒนธรรม ปรากฏหลักฐานงานพุทธศิลป์
ยุคแรกท่ีมีความใกล้เคียงกับอินเดียซึ่งเป็นต้นแบบ งานพุทธศิลป์เปลี่ยนแปลงตามพระราชนิยมของ
พระมหากษัตริย์แต่ละพระองค์ ต่อมาเมื่อศิลปวิทยาการจากตะวันตกเข้ามามากข้ึนในสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระมหากษัตริย์ลดการสร้างงานพุทธศิลป์ลง
เปลีย่ นมาสร้างสงิ่ กอ่ สรา้ งอ่นื ๆ ท่เี ปน็ สาธารณูปโภคมากยิ่งขน้ึ เนื่องจากความตอ้ งการพัฒนาบ้านเมอื ง
ให้กา้ วหน้าทัดเทียมกับตะวันตกกำเนิดและพัฒนาการของพุทธศิลป์ที่ปรากฏในประเทศไทยนัน้ มีทัง้ ท่ี
เป็นสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และ จิตรกรรม พุทธศิลป์เหล่านี้ได้รับอิทธิพลมาจาก
พระพุทธศาสนาท่ีมาจากอินเดียในช่วงสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ที่ได้จัดส่งพระสมณทูตออกเผยแผ่
พระพทุ ธศาสนานอกจากชมพูทวีป โดยเฉพาะปฏิมากรรมน้ัน พระพุทธรูปถือว่าเป็นองคเ์ ปรยี บ หรือ
สัญลักษณ์แทนพระพทุ ธเจ้าเป็นหลกั ฐานสำหรบั ให้คนรุ่นหลังตอ่ มีแนวคิดของผ้ใู ห้สมั ภาษณ์ส่วนน้อย
มีความเห็นว่า พุทธศิลป์แบบสุพรรณภูมิและอโยธยา หรืออู่ทองก็อาจจะนำมารวมไว้กับศิลปะแบบ
อยุธยา อิทธิพลของการสร้างสถาปัตยกรรมในอินเดียมีบทบาทต่อการสร้างสถาปัตยกรรมไทยดังที่
ปรากฏอยทู่ ัว่ ไป นับตง้ั แต่พระพุทธศาสนาเริ่มเข้าสูป่ ระเทศไทยเป็นต้นมา

๔.๒ แนวคิดพทุ ธศิลปย์ ุคทวารวดจี ังหวัดสพุ รรณบรุ ี

พุทธศิลปะสมัยทวารวดี มีหลักฐานช้ินแรกที่ปรากฏนามของอาณาจักรทวารวดี อยู่ที่เหรียญ
สองเหรียญในโถแก้ว เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๖ พุทธศิลปะแบบทวารวดีถือว่าไดรับอิทธิพลศิลปะแบบคุปตะ
จากอินเดียเปนยุคทองของอินเดีย การสรางรูปแบบประติมากรรมโดยเฉพาะอยางยิ่งพระพุทธรูป
รูปพระโพธิสัตว เทวดาและมนุษยในสมัยทวารวดี จึงมีลักษณะเป็นแบบคุปตะของอินเดียอยางมาก
สรางขึ้นจากอิทธิพลทางพุทธศาสนาศิลปะทวารวดีในประเทศไทยเจริญข้ึน ในช่วงพุทธศตวรรษที่
๑๒-๑๗ มี ศูนยกลางอยู่ที่บริเวณภาคกลาง คือ คือเมืองอู่ทองเป็นต้น ไดแผข้ึนไปทางเหนือเขาสู
อณาจักร หริภุญชัย ไดแก พระพุทธรูปที่เขามามีอิทธิพลตอศิลปะในสมัยทวารวดี๑๘ สามารถอ้างอิง
หลักฐานจาก

๔.๒.๑ หลกั ฐานดานสถาปตยกรรม

จากการพบศิลปะรูปแบบตางๆ จากเจดีย์ โบสถ์ บนเขาทำเทยี มท่ี ข้าพเจ้าเป็นเจา้ อาวาส
อยู่มานานน้ัน สถาปตยกรรมสมัยทวารวดีพบท้ังอาคารสถานและสถูปเจดีย แต่มีสภาพไมสมบูรณ

๑๗ สัมภาษณ์ นายอานนท์ รักผล อาจารย์ เจา้ หนา้ ทีส่ ำนกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุพรรณบุรี
ไวยาวจั กรวัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เมอ่ื วันท่ี ๒๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๑๘ สมั ภาษณ์ พระมหาพชิ ัย (เจริญยทุ ธ) ธมฺมวิชโย, เจา้ อาวาสวัดเขาทำเทียม อำเภออู่ทอง จงั หวัด
สุพรรณบุรี เมือ่ วันท่ี เมอ่ื วนั ที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๘๔

เหลือเพียงบางสวน แม้กระทั้งโบสถ์ อาคารสถานที่ก็สร้างดวยอิฐลวน โดยเรียงอิฐให้ดานยาวกับดาน
สกัดอยูในแนวเดียวกันใชดิน เปนตัวประสานทับหลัง และธรณีประตู่ทำดวยศิลานิยมประดับอาคาร
ดวยประติมากรรมปูนปนและดินเผา ที่ทําเปนรูปตางๆ เคร่ืองบนของอาคารน้ัน รูปทรงที่แทจริง
จะเปรียบศาสนสถานอยู่ในยคุ ของอนิ เดียในสมัยคุปตะราวพุทธศตวรรษที่ ๙-๑๑ แม้กระทง้ั เจดยี ์ท่พี บ
บนยอดเขาทำเทียม ประมวลได้ว่า “มีผังเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสฐานยกสูงตรงกลางเปนสถูปใหญ
รอบสถูปมีมุขยื่นออกมา มีซุมสําหรับประดิษฐานพระพุทธรปู ขนาดใหญสี่ทิศ มีบันไดทอดลงมาทั้งส่ี
ดาน” รปู ทรงของเจดียสมยั ทวารวดีอทู่ อง เจดีย์เปนสถาปตยกรรมขนาดใหญทช่ี าวพุทธนยิ มสรางขึ้น
เพื่อเป็นเคร่ืองแสดงออกถึงศรัทธาและความเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา การท่ีจะสรางเจดียตางๆ
ได้ผูสรางและชุมชนน้ันตองมีความสามัคคีเปนน้ำหน่ึงใจเดียวกันมีศรัทธาอยางมาก จึงจะสรางข้ึนได
เพราะถือวา เปนผลงานของกลุมชนในบริเวณนั้นไดอยางดี องคประกอบทส่ี ําคัญของเจดีย คือสวนฐาน
หนากระดานหรือฐานเขียงอยูลางสุด และจะยกระดับคอนขางสูงสวนน้ีนิยมทําเปนทองไมขยายสูง
และแบง่ เปนชองๆ เพ่ือใชประดบั ประติมากรรมดินเผา หรอื ปนู ปน จาํ พวกคนแคระ ช่างหรอสงิ หแบก
เหนือข้ึนไปมีลักษณะคลายฐานคว่ำและโคงมน คลายลูกแก้ว เรียกวา ฐานบัววลัย ถือเปนรูปแบบ
เฉพาะของเจดียสมัยทวารวดอี ยางหน่งึ เหนือชัน้ บัววลัย เปนฐานท่ีซอนกันเปน็ ชั้นๆ เวนพื้นที่เปนทอง
ไมและแบงเป็นชองๆ สําหรับประดับงานประติมากรรมเชนเดียวกัน และเหนือสวนทองไม บางแห่ง
อาจมีลักษณะคลายกับฐานบัวหงาย แตไมใช่เพราะสมัยทวารวดี ยังไมรูจักระเบียบของฐานบัวคว่ำ
บัวหงาย เช่น เจดีย์ในสมัยหลังสถูปสมัยทวารวดี ๒ แบบ สถูปเจดียของทวารวดีท่ีพบสวนใหญมี ๒
แบบ คือ๑๙ แบบแรก เปนฐานรูปสี่เหล่ียมจัตุรัส องคระฆังทรงโอคว่ำ สวนยอดเหนือรัตนบัลลังก
มีลักษณะยาวเรียว แบบที่สอง มีฐานเป็นรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัสเชนกัน แตองคระฆังเปนรูปบาตรคว่ำ
ปลองไฉนเป็นแผนกลมแบน วางซอนทับกันขึ้นไปคลายฉัตรปลี ยอดเปนรูปดอกบัวตูม ทางภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือเชน ที่เมืองฟาแดดสงยาง สถาปตยกรรมมีลักษณะ เดียวกันคือ อาคารสถาน
มผี งั เปนรูปสเ่ี หล่ยี มผนื ผา บางแหงกอดวยศลิ าแลง มใี บเสมาปกตามทศิ ๒๐

อู่ทอง ศิลปะอโยธยา สุพรรณภูมิและลพบุรี กำลังรุ่งโรจน์อยู่น้ัน ได้เกิดศิลปะขอมแผ่
อิทธิพลเข้ามาด้วย จึงเกิดมีเจดีย์สถานแบบปรางค์ขึ้นมาควบคู่ เป็นวิวัฒนาการคู่เคียงกันไป ดังเช่น
เจดีย์วัดชุมนุมสงฆ์ สุพรรณบุรี ๒๑ เห็นว่า เจดีย์อู่ทอง ฐานเจดีย์หลายองค์เป็นฐานแบบปาละ แม้ใน
อยธุ ยามเี จดยี ์กอ่ นกรุงศรอี ยธุ ยา นัน้ อทิ ธิพลของสถาปตั ยกรรมแบบปาละได้เปน็ อย่างแพร่หลาย ตงั้ แต่
สมัยทวารวดีตอนปลายมาจนสมัยอู่ทองสถูปเจดีย์สมัยทวารวดี คงจะสร้างข้ึนเพื่อจุดประสงค์ให้เป็น
อุเทสิกเจดีย์ เพื่อเป็นการระลึกถึงเหตุการณ์หรือบุคคลท่ีล่วงลับไปแล้ว มากท่ีสุด จากหลักฐาน
ที่เหลืออยู่เพียงเฉพาะส่วนฐานนั้น มีหลายรูปแบบเช่น ฐานรูปกลม ฐานรูปสี่เหล่ียม ฐานรูปส่ีเหลี่ยม

๑๙ สัมภาษณ์ พระธรรมพุทธิมงคล (สอ้ิง สิรนิ นฺโท ป.ธ.๘) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี เจ้า

อาวาสวัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร เม่อื วนั ท่ี ๒๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.

๒๐ สมั ภาษณ์ พระครสู ิริวรธรรมภินันท(์ ชูชาติ )อานนฺโท รองเจา้ คณะอำเภอเมือง เจ้าอาวาสวัดมะนาว

เมื่อวันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๒๑ สัมภาษณ์ พระมหาพิชัย (เจริญยุทธ) ธมฺมวิชโย, เจ้าอาวาสวัดเขาทำเทียม อำเภออู่ทอง

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เมอ่ื วนั ท่ี เมือ่ วนั ที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๘๕

ย่อมุม และฐานแปดเหลี่ยม ที่เมืองอู่ทองที่พบ มี แบบสถูปเจดีย์ฐานกลม น่าจะเป็นแบบที่เก่าท่ีสุด
รับอิทธิพลตน้ แบบมาจากสถปู สาญจีของอินเดีย สถูปกลมท่ีอ่ทู อง จงั หวดั สุพรรณบุรี แบบ สถูปเจดีย์
ฐานส่ีเหลี่ยมจัตุรัส มีองค์สถูปทรงกลมก่อข้างบน แต่ปัจจุบันสถูปกลมได้พังทลายหมด เช่น
โบราณสถานหมายเลข ๑๑ ที่อำเภออทู่ อง จงั หวัดสุพรรณบุรี แบบที่ ๓ สถูปเจดียฐ์ านสเี่ หลี่ยมจตั รุ ัส
ฐานล่างแต่ละด้านมีสถูปจำลองประดับที่มุมท้ังสี่ พบท่ีโบราณสถานหมายเลข ๒ ที่อำเภออู่ทอง
จังหวัดสุพรรณบุรี แบบสถูปเจดีย์ฐานแปดเหลี่ยม เช่นโบราณสถานหมายเลข ๕ ท่ีอำเภออู่ทอง
จังหวดั สพุ รรณบรุ ี แบบ สถูปเจดียฐ์ านแปดเหลี่ยมซอ้ นสองช้ัน ฐานแต่ละดา้ นทำเปน็ ช่องแบบซุ้มพระ
ด้านละสองซุ้ม นับเป็นแบบสวยพิเศษสุด พบท่ีโบราณสถานหมายเลข ๑๓ ท่ี อำเภออู่ทอง จังหวัด
สุพรรณบุรี๒๒ อีกส่วนหนึ่ง เป็นเจดีย์แบบปาละทรงสูงทเ่ี ก่า หรอื แยกสายออกมาเลยจากเจดีย์วดั แก้ว
มีอายุร่วมสมัย คือมีลักษณะแปดเหลี่ยมตลอดองค์ มีซุ้มจระนำแปดทิศ ระฆังกลม มีบัลลังก์แปด
เหลยี่ ม ใต้ระฆังเป็นซุ้มหรือเรือนแก้ว และมเี สาค่ันระหว่างซุ้มแปดทิศ เสามีลักษณะเป็นปาละชัดเจน
ดังเช่น เสาปรากฏในพิมพ์รูปพระปางลีลาแบบในขนุน อันพบในสุพรรณบุรี มีแจกันและดอกไม้
ประกอบเชิงเสานั้น เจดีย์รุ่นน้ีเน้นในเร่ืองซุ้ม ๘ ทิศ ใต้องค์ระฆังมีความสำคัญเป็นพิเศษ เป็นที่น่า
สังเกตว่า เจดีย์แบบนี้จะมีเค้าแบบเจดีย์ทรงสูงฐานส่ีเหล่ียมดังเจดีย์กลุ่มวัดพระรูป สุพรรณบุรี
แต่ก็เห็นเค้าคเจดีย์ในพระพุทธศาสนา ถูกสรางดวยแรงศรัทธาและความเคารพ แสดงใหเห็นวา
ถาบานเมืองมีความเจริญรุงเรือง ประชาชนม่ังค่ัง และมีศรัทธามากก็มักสรางเจดีย ท่ีมีขนาดใหญ
สวยงามและมีความม่ันคงถาวร บริเวณภาคกลางมีการคนพบซากเจดีย ในหลายพื้นที่โดยเฉพาะ
บริเวณท่ีพบมากไดแก เมอื งโบราณอูทอง เมอื งนครโบราณปฐม เปนตน

เมืองโบราณอูทองสุพรรณบุรีพบซากโบราณสถานเจดียสมัยทวารวดีจํานวนมากลักษณะ
เปนฐานเจดีย์รูปสีเ่ หลี่ยมจัตุรสั มีมุข บนฐานแตละดานนิยมประดับดวยพระพุทธรูปและเทวรูปขนาด
ต่าง ๆ กนั ประทับน่ังอยูภายในซุม มี ๓ ขนาด ดังนี้ ขนาดใหญ มลี ักษณะเป็นเจดีย์ รูปสี่เหลีย่ มจัตรุ ัส
เป็นเจดีย์ขนาดมหึมาสูงใหญ่มาก แม้ฐานจะเป็นส่ีเหล่ียมแบบวัดพระรูป แต่ก็รูปทรงผายออก ก่ออิฐ
ไมส่ ่อปูน การกอ่ อฐิ ฝมี ือประณีตมาก ยาวดานละ ๒๐-๓๖. ๕๐ เมตร อายปุ ระมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๗
และ ๑๘ ขนาดกลาง จะมีฐานสี่เหล่ยี ม องค์เจดีย์แปดเหล่ียมระฆงั กลม แตเ่ ส้นองคร์ ะฆังเกอื บเป็นรูป
ทรงกระบอกมีบัลลังก์แปดเหลี่ยมไม่มีเสาหาร แต่มีฉัตรหรือบัวลูกแก้วซ้อนข้ึนไปเหนือบัลลังก์ทเี ดียว
การก่อสร้างใช้อฐิ ขนาดใหญ่ มีขนาดประมาณ ๘ ซม. อิฐเรียงแนบสนิท สอด้วยดินยางไม้ ข้างในองค์
เจดียเ์ ปน็ โพรง ขนาดเล็ก มลี ักษณะเปน็ ฐานเจดยี รูปส่ีเหลีย่ มจัตรุ ัส กว้างยาวดานละ ๑.๕๐-๕ เมตร
จากหลักฐานทางโบราณคดีเกีย่ วกับร่องรอยของเจดีย ท่ีพบจำนวนมาก ดังกล่าว๒๓ เป็นเครื่องยืนยัน
และช้ีใหเห็นวา บริเวณเมืองอู่ทองโบราณ น้ันเคยเป็นบานเมือง ที่มีความเจริญรุงเรืองเปนศูนย์กลาง
ทางวัฒนธรรมทวารวดีในระยะแรกไดอย่างชัดเจน นําไปสูขอสรุปท่ีวาบริเวณเมืองอูทองโบราณ
มีการอยูอาศัยมาแลวอยางหนาแนน นําไปสูความเข้าใจวา เมืองโบราณอู่ทองเจริญรุงเรอื งขึ้นในสมัย

๒๒ สมั ภาษณ์ ,พระครูโสภณวรี านุวตั ร, ดร. (นิคม ณฏฺฐวโร) ผูช้ ว่ ยเจา้ อาวาสวดั ป่าเลไลยว์ รวหิ าร, เมอ่ื วนั ท่ี

เมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.

๒๓ สมั ภาษณ์ พระครสู ริ วิ รธรรมภินนั ท์(ชชู าติ )อานนโฺ ท รองเจา้ คณะอำเภอเมอื ง เจา้ อาวาสวดั มะนาว

เม่ือวนั ท่ี ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.


Click to View FlipBook Version