The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี AN ANALYSIS ON THE VALUES OF BUDDHIST ART IN
DVARAVATI PERIOD IN SUPHANBURI PROVINCE นางสาวธนัชพร เกตุคง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-08-20 11:26:56

การวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี

การวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี AN ANALYSIS ON THE VALUES OF BUDDHIST ART IN
DVARAVATI PERIOD IN SUPHANBURI PROVINCE นางสาวธนัชพร เกตุคง

การวเิ คราะหค์ ณุ ค่าพุทธศิลปย์ ุคทวารวดี ในจังหวดั สพุ รรณบรุ ี

AN ANALYSIS ON THE VALUES OF BUDDHIST ART IN
DVARAVATI PERIOD IN SUPHANBURI PROVINCE

นางสาวธนัชพร เกตุคง

วทิ ยานิพนธน์ เ้ี ป็นสว่ นหนึง่ ของการศึกษา
ตามหลกั สูตรปรญิ ญาพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต

สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา
บณั ฑิตวิทยาลยั

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย
พุทธศักราช ๒๕๖๓

การวเิ คราะห์คุณคา่ พุทธศลิ ปย์ คุ ทวารวดี ในจงั หวดั สุพรรณบุรี

นางสาวธนชั พร เกตุคง

วิทยานพิ นธ์น้เี ปน็ ส่วนหนึ่งของการศกึ ษา
ตามหลักสูตรปรญิ ญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา
บณั ฑติ วทิ ยาลยั

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๓

(ลิขสทิ ธ์ิเป็นของมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั )

AN ANALYSIS ON THE VALUES OF BUDDHIST ART
IN DVARAVATI PERIOD IN SUPHANBURI PROVINCE

Miss. Thanutchaporn Ketkong

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of
the Requirements for the Degree of
Master of Arts
(Buddhist Studies)
Graduate School

Mahachulalongkornrajavidyalaya University
C.E. 2020

(Copyright by Mahachulalongkornrajavidyalaya University)







ชอื่ วทิ ยานิพนธ์ : วเิ คราะหค์ ณุ คา่ พทุ ธศิลปย์ ุคทวารวดี ในจังหวดั สพุ รรณบรุ ี

ผวู้ ิจัย : นางสาวธนชั พร เกตคุ ง

ปรญิ ญา : พทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)

คณะกรรมการควบคมุ วิทยานพิ นธ์

: รศ.ดร.ธวชั หอมทวนลม, ศน.บ. (ปรชั ญา),

M.A (Philosophy and Religion), Ph.D. (Philosophy)

: ดร.กฤตยิ า ถำ้ ทอง

ศศ.บ. (การสอ่ื สารมวลชนวทิ ยแุ ละโทรทัศน)์ , ศศ.ม. (การทอ่ งเท่ียวและ

การโรงแรม), พธ.ด. (พระพทุ ธศาสนา)

วนั สำเร็จการศึกษา : ๒๙ เมษายน ๒๕๖๔

บทคดั ย่อ

งานวิจัยเรื่อง “วิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี” มีวิธีการ

ดำเนินการ ดังนี้มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ศึกษาพุทธศิลปใ์ นพระพทุ ธศาสนา เพือ่ ศกึ ษาพทุ ธศลิ ปย์ คุ ทวารวดี
และ เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลและคุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นการวิจัยเชิง
คณุ ภาพ ซ่ึงเน้นการศึกษาทางเอกสาร ใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ พระสังฆา

ธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิ มี นักวิชาการ พิพิธภัณฑ์อู่ทอง องค์การบริหารการพัฒนาพ้ืนที่พิเศษ ด้าน
ประวัติศาสตร์ และกลุ่มชาวบ้านในจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน ๑๐ รปู /คนซึง่ เป็นผู้ใหข้ ้อมูลที่สำคัญ
เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัย ไดแ้ ก่ สัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview)

ผลการศกึ ษาพบวา่
๑.) ประวัติพุทธศลิ ปน์ พระพุทธศาสนา มีความเกี่ยวข้องกบั ธาตเุ จดีย์ บรโิ ภคเจดีย์ ธรรม
เจดีย์ อุทเทสิกเจดีย์ คือศิลปกรรม ท่ีสร้างข้ึนรับใช้พระพุทธศาสนาโดยตรง ทั้งในด้านจิตรกรรม

ประติมากรรม และสถาปัตยกรรมในลัทธมิ หายาน และเถรวาท ปรากฏเป็นลักษณะของพระพุทธรูป
ในสมัยทวารวดี ซึ่งอยู่ในราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ถึงพทุ ธศตวรรษที่ ๑๖ เปน็ ส่ิงท่สี ะท้อนความงดงาม
ของศลิ ปะ

๒). พุทธศิลป์ยุคทวารวดี เข้ามาต้ังแต่พุทธศตวรรษท่ี ๓ แต่ตามหลักฐานมีนักวิชาการ
โบราณคดี ด้านประติมากรรม สถาปัตยกรรมและจารึก พบว่า การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้ามา
ประมาณพุทธศตวรรษ ท่ี ๘-๑๐ เนื่องจากพบพุทธศิลปป์ ระติมากรรมดนิ เผารปู ลายเส้นรูปภิกษสุ าวก

๓ รปู ครองจีวรทำท่าบิณฑบาต ซึ่งเป็นเปน็ หลักฐานที่เกา่ ทีส่ ุดกว่าท่ีอน่ื ๆ จงึ เชอ่ื กันว่าผูค้ นในบริเวณ
เมอื งอทู่ องนค้ี งจะรูจ้ ักและเร่มิ นับถือพระพทุ ธศาสนามาก่อนแล้ว

๓). การวิเคราะห์แนวคิดคุณค่าพุทธศิลป์ทวารวดี ท่ีปรากฏในรูปแบบของเจดีย์และ

โบราณสถาน โบราณวัตถุต่างๆ ล้วนทำให้เกิดคุณค่าในด้านต่างๆ เช่น คุณค่าทางด้านศาสนา เมื่อ
ศาสนาเกิดข้ึนก็ใช้ศิลปะเป็นเคร่ืองมือในการเผยแพร่ศาสนา หรือแม้กระทั่งการสร้างศาสนสถาน
ข้ึนมา เพื่อให้ศาสนกิ ชนได้ทําพิธีหรือเคารพบชู า คุณค่าทางประวัตศิ าสตร์ ทำให้ทราบประวัติความ

เปน็ มาและความสำคัญของชุมชนโบราณ คุณค่าทางด้านสนุ ทรียะความงาม ความงามในทีน่ ้เี ป็นเรอื่ ง



ทางศิลปและศีล ไมเ่ ป็นราคาของวตั ถุ แต่เป็นคุณค่าต่อจิตใจ ความงามเกิดขึ้นดว้ ยอารมณ์ มิใช่ด้วย
เหตุผล คณุ ค่าทางเศรษฐกิจ สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ และนำมาพัฒนา
ต่อยอดเป็นการเท่องเที่ยวสร้างรายได้ใหช้ ุมชน คุณค่าทางสังคม เกิดสำนึกรักบ้านเกิดภูมใิ จในบ้าน
เกิดทม่ี ีหลกั ฐานประวตั ศิ าสตร์อนั มีประวัตคิ วามเปน็ มาทย่ี าวนานและนา่ ภาคภูมิใจ



Thesis Title : An Analysis on the Values of Buddhist Art in Dvaravati

Researcher Period in Suphanburi Province
Degree
: Miss Thantchaporn Ketkong
: Master of Arts (Buddhist Studies)

Thesis Supervisory Committee
: Assoc. Prof. Dr. Thawash Homtuanlom, Pāli IV, B.A.

(Philosophy), M.A. (Philosophy and Religion), Ph.D.
(Philosophy)
: Dr. Krittiya Thumthong, B.A. (Mass Communication,

Radio and Television), M.A. (Tourism and Hospitality),

Ph.D. (Buddhist Studies)

Date of Graduation : April 29, 2021

Abstract

The study entitled “An Analysis on the Values of Buddhist Art in Dvaravati
Period in Suphanburi Province” consisted of the following objectives: 1) to study
Buddhist art in Buddhism; 2) to study Buddhist art in Dvaravati period; and 3) to
analyze the influence and values of Buddhist art in Dvaravati period in Suphanburi
Province. The study applied qualitative research method with an emphasis on
documentary research. An in-depth interview was applied for data collection. The
population used for study were the administrative monk, experts, scholars, U-Thong
National Museum, Designated Area for History (Public Organization, and local
villagers in Suphanburi Province, in a total of 10 persons. The research instrument
applied an in-depth interview.

From the study, it is found as follows:

1) The history of the Buddhist art in Buddhism is related to Dhātu-cetiya
(stupa enshrining the Buddha’s relics), Paribhoga-cetiya (things and places used by
the Buddha), Dhamma-cetiya (a doctrinal shrine), and Uddesika-cetiya (a shrine by
dedication). All of which are the work of art created to serve Buddhism directly.
Whether it be painting, sculpture, or architecture, both in Mahayana and Theravada
Buddhism, all could be seen in the Buddha statues of the Dvaravati period, which
dated from the 12th to the 16th century BC. All of these reflect the beauty of art.

2) The Buddhist art in Dvaravati period had emerged since the 3rd century BC,
but according to the evidence, there are scholars of archeology, sculpture,
architecture, as well as the inscriptions that say the dissemination of Buddhism had
been found around the 8th – 10th century BC, as the evidence of a clay sculpture with
lines depicting three monks in the gesture of doing alms was found. This is considered
the oldest evidence; therefore, it has been believed that people in this U Thong area
had known about Buddhism and become Buddhist before.

3) From analyzing the concepts and values of the Buddhist art in Dvaravati
period as appeared in the form of a stupa or other archaeological sites and artifacts, it
is found that they bring about values in various fields as follows: Religious values in
which since the start of religion, art has been used as a mean to spread religions or
even the building of religious places for people to perform rituals or worship;



Historical values by providing the history and importance of the ancient communities;
Aesthetic values which refer to art and precepts that create mental values. The beauty
that is derived from emotions, not reasons; Economic values by developing the sites
to be a historical tourist attraction and a tourism destination that can generate income
for the community; and Social values by raising awareness for people to be
nationalistic for having evidence showing a long and proud history.



กติ ตกิ รรมประกาศ

งานวิจยั ฉบับนี้ สำเร็จได้ดว้ ยดเี พราะไดร้ ับความเมตตาอนุเคราะห์ชว่ ยเหลอื เป็นอย่างดีย่ิง
จากคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้มีพระคุณท้ังหลาย ผู้วิจัยขอจารึกนามให้ปรากฏเพ่ือเป็นเกียรติ
ดงั ตอ่ ไปนี้

ขอกราบ ขอบพระคุณพระเดชพระคุณพระธรรมพุทธิมงคล (สอ้ิง สิรินนฺโท) ที่ปรึกษา
เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรีและวิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ จังหวัดสุพรรณบุรี พระครู
วิบูลเจติยานุรักษ์, ดร. (ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิและรองเจ้าคณะจังหวัด
สุพรรณบุรี) ซึ่งแต่ละท่านเป็นกรรมการที่ปรึกษางานวิจัย เป็นผู้ให้กำลังใจสนับสนุนช่วยเหลือด้าน
แนวคดิ ความคิดเห็น ดา้ นวิชาการ และข้อมลู อื่นๆ ที่เก่ียวข้อง ด้านประวัติศาสตร์ สถานท่ี ศิลาจารึก
และการเขามาของพระพุทธศาสนาในแผนดินไทยในสมัยทวารววดี (อู่ทอง) จากเอกสารตางๆ เชน
คมั ภีรพระไตรปฎก อรรถกถา วรรณกรรม เป็นต้น

ขอขอบคุณผู้บริหารและคณาจารย์ประจำหลักสูตรและคณาจารย์ทุกท่าน ของวิทยาลัย
สงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านวิชาการ แนวคิด ที่เป็นประโยชน์ต่อการทำ
วิจัย โดยเฉพาะคณะทำงานทใ่ี ห้ความรว่ มมอื สนบั สนุนในการจดั ทำงานวิจยั ครงั้ น้ี ได้สำเสร็จลุล่วงเป็น
อย่างดียิ่ง

ขอขอบคุณ ท่านผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ นักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี อาทิท่าน
ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อำเภออู่ทอง สุพรรณบุรี และผู้อำนวยการพิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติ สุพรรณบุรี สำนักงาน อพท.๗ รวมทั้งผู้มีส่วนร่วมโครงการ ทุกๆท่าน ขอคุณงามความดี
วิทยานิพนธ์เล่มนี้ ผู้วิจัยขอน้อมถวายเป็นสักการบูชาแด่คุณพระศรีรัตนตรัย ผู้ให้ข้อมูลทุกท่าน
ทา่ นเจ้าของตำรา ขอ้ มูลจากทุกสว่ นงาน ท่ีได้นำมาใช้เพ่ือการศกึ ษาคน้ คว้า ตลอดถงึ ผู้มีอุปการคณุ ทุก
ท่านและขออุทิศคุณงามความดีนี้แด่บุพการีชนผู้ล่วงลับ หากว่ามีข้อบกพร่องใดๆ ที่เกิดจากการทำ
วทิ ยานิพนธ์น้ี ผู้วจิ ัยขอนอมรบั และแกไ้ ขเพือ่ ใหว้ ิทยานพิ นธ์เล่มนี้มคี วามสมบรู ณใ์ นโอกาสต่อไป

(นางสาวธนัชพร เกตุคง)
๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๓

สารบญั ฉ

เรอื่ ง หน้า

บทคัดยอ่ ภาษาไทย ก
บทคัดยอ่ ภาษาองั กฤษ ค
กติ ตกิ รรมประกาศ จ
สารบญั ฉ
สารบญั ภาพ ซ
คำอธิบายสัญลักณ์และคำยอ่ ญ
บทท่ี ๑ บทนำ ๑

๑.๑ ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา ๕
๑.๒ คำถามวิจัย ๕
๑.๓ วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั ๕
๑.๔ ขอบเขตของการศึกษา ๘
๑.๕ นยิ ามศัพทท์ ่ีใช้ในการวิจัย ๘
๑.๖ ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั ๙
บทที่ ๒ แนวคิด ทฤษฎีและงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวข้อง ๙
๒.๑ แนวคดิ หรอื ทฤษฎีที่เกีย่ วขอ้ ง ๙
๒.๑.๑ แนวคดิ พุทธศิลป์ของพระพุทธรปู ๑๙
๒.๑.๒ แนวคดิ การกำเนิดและพัฒนาการพทุ ธศลิ ปว์ ัตถสุ มยั ต่างๆ ๒๘
๒.๑.๓ แนวคิดพทุ ธศลิ ป์ในพระพุทธศาสนา ๓๒
๒.๑.๔ พัฒนาพทุ ธศิลปใ์ นสกุลต่างๆ ๔๙
๒.๑.๕ อิทธิพลแนวคดิ และคุณคา่ เก่ยี วกบั พทุ ธศิลปะ

๒.๑.๖ แนวคดิ ของนกั วชิ าการโบราณคดเี กย่ี วกบั พุทธศลิ ปข์ องพระพุทธรปู ช
๒.๒ งานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง
๒.๓ กรอบแนวคดิ ในการวิจัย ๖๑
บทที่ ๓ วิธดี ำเนินการวิจยั ๖๗
๓.๑ รปู แบบการวิจยั ๗๓
๓.๒ ผู้ใหข้ อ้ มูลสำคัญ ๗๔
๓.๓ เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวิจยั ๗๔
๓.๔ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ๗๔
๓.๕ การวเิ คราะหข์ ้อมลู ๗๕
บทที่ ๔ ผลการวจิ ยั ๗๕
๔.๑ สรปุ ประวตั พิ ทุ ธศิลป์ในพระพุทธศาสนา ๗๖
๔.๒ ความเป็นมาและความสำคญั พุทธศลิ ป์ยุคทวารวดี ๗๗
๔.๓ วิเคราะห์อทิ ธพิ ลและคุณค่าพุทธศลิ ปย์ ุคทวารวดี ในจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ๗๘
๔.๔ องค์ความรู้ท่ไี ด้จากการวิจัย ๘๓
บทที่ ๕ สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ๙๒
๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๑๐๑
๕.๒ อภปิ รายผล ๑๐๔
๕.๓ ขอ้ เสนอแนะ ๑๐๔
บรรณานุกรม ๑๐๖
ภาคผนวก ๑๑๐
ภาคผนวก ก. แบบสมั ภาษณเ์ พอ่ื การวิจยั ๑๑๓
ภาคผนวก ข. หนงั สอื ขอความอนุเคราะห์ตรวจแกไ้ ขเครอ่ื งมือวิจยั ท่ีใช้ในการ ๑๑๙
๑๒๐
ทำวทิ ยานิพนธ์
ภาคผนวก ค. หนงั สอื ขอความอนุเคราะหเ์ กบ็ ขอ้ มูลเพอ่ื การวจิ ยั ๑๒๔
๑๓๐

ภาคผนวก ง. รูปภาพผทู้ ่ีใหข้ อ้ มูลในการสมั ภาษณ์ ซ
ประวตั ผิ ูว้ จิ ยั
๑๔๒
สารบญั ภาพ ๑๔๗

ภาพที่ หน้า
ภาพที่ ๒.๑ พระพุทธรูปสำรดิ ปางมารวชิ ยั ศลิ ปะสมยั อู่ทอง ๑๔
ภาพท่ี ๒.๒ อยุธยายคุ กลาง ๑๔
ภาพที่ ๒.๓ พระพุทธรูปสมัยทวารวดี ๒๑
ภาพที่ ๒.๔ ลกั ษณะพระพทุ ธรูปสมยั ศรวี ิชัย ราว พ.ศ. ๑๒๐๐ ๒๒
ภาพท่ี ๒.๕ พุทธศิลปะสมยั สกุลช่างแบบคันธาระ (พุทธศตวรรษที่ ๓-๔) ๓๔
ภาพท่ี ๒.๖ พระพทุ ธรปู ศิลปะคันธารา ๓๗
ภาพท่ี ๒.๗ สถปู สาญจีซงี่ มลี กั ษณะเป็นโอควำ่ หรอื ขันคว่ำ ๓๘
ภาพที่ ๒.๘ จติ รกรรมในถ้ำอชนั ตา ๔๐
ภาพที่ ๒.๙ ภาพจติ รกรรมในถำ้ อชันตา อินเดยี ๔๐
ภาพที่ ๒.๑๐ พระพทุ ธรูป ปางประทานอภยั ศิลปะยคุ มธุรา ๔๑
ภาพที่ ๒.๑๑ ลักษณะของพระพทุ ธรปู ศิลปะ มธรุ า ๔๒
ภาพที่ ๒.๑๒ พระพทุ ธรูปแบบอมราวดี ๔๓
ภาพท่ี ๒.๑๓ ภาพสลกั หนิ ตกแตง่ ๔๔
ภาพท่ี ๒.๑๔ พระพทุ ธรูปอินเดยี แบบคุปตะ ๔๖
แผนภาพที่ ๒.๑ แสดงกรอบแนวคิดในการวจิ ยั ๗๓
แผนภาพท่ี ๔.๑ องคค์ วามรู้ท่ีได้จากการวิจยั ๑๐๓



คำอธบิ ายสญั ลักษณแ์ ละคำยอ่

อักษรในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ใช้อ้างอิงจากพระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย ฉบับมหาจุฬาเตปิฏก พุทธศักราช ๒๕๐๐, และพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลยั เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พุทธศักราช
๒๕๓๙, ส่วนคัมภีร์อรรถกถาภาษาบาลีฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ฉบับมหาจุฬาเตปิฏก
พุทธศักราช ๒๕๓๕, และคัมภีร์อรรถกถาภาษาไทย ใช้อ้างฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พทุ ธศักราช ๒๕๕๗

การอ้างองิ พระไตรปิฎก จะระบุ เล่ม/ข้อ/หน้า หลงั อกั ษรยอ่ ช่อื คมั ภรี ์ เชน่ วิ.มหา. (บาลี)
๒/๕๑๖/๒๓-๒๔. หมายถึง วิ.มหา. วินยปิฏก มหาวิภงฺคปาลิ ภาษาบาลี เล่ม ๒ ข้อ ๕๑๖ หน้า ๒๓-
๒๔. ฉบบั มหาจุฬาเตปิฏกํ ๒๕๐๐, ว.ิ มหา.(ไทย) ๒/๕๑๖/๔๑. หมายถงึ ว.ิ มหา. วนิ ัยปิฎก มหาวิภังค์
ภาษาไทย เล่ม ๒ ขอ้ ๕๑๖ หน้า ๔๑. ฉบับมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๓๙

ส่วนคัมภีร์อรรถกถา จะระบุชื่อคัมภีร์ ลำดับเล่ม (ถ้ามี)/หน้า เช่น ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี)
๙๕/๒๐๕-๒๐๗. หมายถงึ ขุ.ชา.เอกก.อ. ขทุ ทฺ กนกิ าย เอกกนิปาตชาตก อฏฺ กถาปาลิ ภาษาบาลี ข้อ
๙๕ หน้า ๒๐๕-๒๐๗. ฉบบั มหาจุฬาเตปิฏกํ ๒๕๓๕., ข.ุ ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๙๕/๒๐๕-๒๐๘. หมายถึง
ขุ.ชา.เอกก.อ. ขุททกนิกาย เอกกนิบาตชาดก อรรถกถา ภาษาไทย ข้อ ๙๕ หน้า ๒๐๕-๒๐๘. ฉบับ
มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ ตามลำดบั ดงั น้ี

ก. คำย่อช่อื คมั ภรี พ์ ระไตรปิฎก

พระวนิ ยั ปิฎก

คำย่อ = วินัยปฏิ ก ชอ่ื คัมภีร์ ภาษา
ว.ิ จ.ู (ไทย) = วินยั ปิฏก จฬู วรรค (ภาษาไทย)
วิ.ม.(ไทย) = วินยั ปฏิ ก มหาวรรค (ภาษาไทย)
วิ.มหา.(ไทย) มหาวิภังค์ (ภาษาไทย)

พระสุตตันตปิฏก

คำย่อ = สตุ ตันตปิฏก ช่ือคัมภีร์ มหาวรรค ภาษา
ที.ม.(ไทย) = สุตตันตปฏิ ก ทฆี นกิ าย มชฺฌมิ ปณณฺ าสกปาลิ (ภาษาไทย)
ม.ม.(บาล)ี = สตุ ตนั ตปฏิ ก มชฺฉิมนกิ าย จตกุ กฺ นปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี)
อง.จตกุ ก(บาล)ี องฺคุตตฺ รนกิ าย (ภาษาบาลี)

อง.ทุก.(ไทย) = สตุ ตันตปิฏก องั คตุ ตรนิกาย ทกุ นิบาต ฎ
อง.ฉกก.(ไทย) = สตุ ตนั ตปฏิ ก อังคุตตรนกิ าย ฉักกนบิ าท
ข.ุ ธ.(ไทย) = สตุ ตนั ตปิฏก ขุททกนกิ าย ธรรมบท (ภาษาไทย)
ข.ุ ขุ.(ไทย) = สตุ ตนั ตปฏิ ก ขทุ ทกนิกาย ขทุ ทกปาฐะ (ภาษาไทย)
(ภาษาไทย)
คำยอ่ พระอภิธรรมปฏิ ก (ภาษาไทย)
อภ.ิ ก.(บาล)ี
ชอื่ คมั ภรี ์ ภาษา
คำยอ่ = อภิธมมฺ ปิฏก กถาวตฺถุปาลิ (ภาษาบาล)ี
ขุ.ธ.อ.(บาลี)
ข.ุ ธ.อ.(ไทย) อรรถกถาพระสุตตันตปฏิ ก ภาษา
(ภาษาบาล)ี
คำย่อ ชื่อคมั ภีร์ (ภาษาไทย)
วสิ ทุ ฺธิ.(บาล)ี = ขุทฺทกนกิ าย ธมมฺ ปทอฏฺ กถาปาลี
= ขทุ ฺทกนกิ าย ธรรมบทอรรถกถา ภาษา
(ภาษาบาลี)
ฏีกาปกรณวิเสส

ช่ือคมั ภีร์
= วสิ ุทธฺ มิ คฺคปกรณ

บทที่ ๑

บทนำ

๑.๑ ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา

ภายหลังพุทธปรินิพพาน พุทธบริษัทต้องการน้อมระลึกถึงพระพุทธคุณของพระองค์
และปรารถนาท่ีจะแสดงความเคารพสกั การบชู า ด่งั ทา่ นพระอานนทท์ ูลถามพระพุทธองค์๑ พระพุทธ
องค์ตรัสถึงสังเวชนียสถาน๒ คือ สถานทีป่ ระสูติ ตรสั รู้ แสดงปฐมเทศนา และปรินพิ พาน เป็นสถานท่ี
ระลึกถึงพระพุทธองค์ภายหลังมีพระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ๘ แห่ง๓ เรียกว่า “ธาตุเจดีย์”
เป็นสถานที่เคารพสักการบูชาของพุทธบริษัท สิ่งก่อสร้างที่เรียกว่า “พุทธสถาน” คงได้รับการดูแล
รักษา การทำนุบำรุง และการประดับประดาเพือ่ ให้เกิดความเลือ่ มใส ตามแนวคิดและจิตนาการของ
พทุ ธบรษิ ัท ตอ่ มากพ็ ฒั นาการมาเป็นงานศลิ ปกรรมของพระพุทธศาสนา รวมเรยี กว่า “พทุ ธศิลป์หรือ
พุทธศลิ ปะ”๔ โดยแรกเรม่ิ นั้นการสร้างพุทธศิลปกรรมมีมาแลว้ ตัง้ แต่ครัง้ พุทธกาล เช่น อนาถปิณฑิก
เศรษฐีสร้างเชตะวันวิหารถวายเป็นวัด ซึ่งประกอบดว้ ยเสนาสนะอันเปน็ พุทธศิลปกรรมที่งดงามและ
เป็นที่สัปปายะ คือ มีความสงบเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ความว่า “อนาถบิณฑิกคหบดีได้เห็น
พระอุทยานของเจ้าเชตราชกุมารซึ่งเป็นสถานไม่ไกล ไม่ใกล้นักจากหมู่บ้าน มีการคมนาคมสะดวก
ชาวบ้านที่มีความประสงค์ไปมาไดง้ ่าย กลางวันมีคนน้อย กลางคืนเงียบมีเสียงอึกทึกน้อย ปราศจาก
กล่นิ ไอคน เปน็ สถานควรแก่การประกอบกรรมในทล่ี ับของมนุษย์ชน สมควรเป็นทีห่ ลีกเรน้ ๕

พระพุทธศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจ และมีระเบียบแบบแผนของพิธีกรรม
หลักธรรมคำสอนของพุทธศาสนาเปน็ หลักทพี่ งึ่ ทางจิตใจให้เกิดสันติสุขในสังคม และยึดถือปฏิบัติสืบ
ต่อกันมาเป็นวฒั นธรรมอนั ดีงาม อทิ ธพิ ลทไ่ี ด้รบั ทางศลิ ปกรรมเชงิ พุทธศิลป์และสถาปตั ยกรรมต่าง ๆ

๑ ท.ี ม.(ไทย) ๑๐/ ๑๕๐/๒๐๒.
๒ สมพร ไชยภูมิธรรม, ปางพระพุทธรูป, (กรุงเทพมหานคร: สำนักพมิ พต์ ้นธรรม, ๒๕๔๓), หนา้ ๑๘.
๓ ที.ม. (ไทย) ๒/๑๗๙/๒๓๘ กล่าวไว้ว่า โทณพราหมณ์ แบ่งพระบรมสารีริกธาตุออกเป็น ๘ ส่วน
ประดิษฐาน ณ แคว้นมคธ, กรุงเวสาลี, กรุงกบิลพัสด์ุ, กรุงอัลลกัปปะ, กรุงรามคาม, กรุงเวฏฐทีปกะ, กรุงปาวา,
กรุงกสุ ินารา, เรียกวา่ ธาตุเจดีย์ ทงั้ นีก้ ษตั รยิ เ์ มืองปบิ ผลิวันไปช้า ทรงไดพ้ ระอังคารและโทณพราหมณ์ได้ทะนานไป
สรา้ งสถปู บรรจุทีเ่ มอื งปบิ ผลิวันและกรงุ กสุ นิ ารา สถูปท้ังสอง เรยี กว่า บริโภคเจดยี ์.
๔ เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา, (ฉบับมุขปาฐะ ภาค ๑), (กรุงเทพมหานคร:
มหามกฏุ ราชวิทยาลยั , ๒๕๓๙), หน้า ๑๐๘.
๕ ว.ิ จู. (ไทย) ๗/๒๕๖/๘๗-๘๙.



นั้น ได้ถือกำเนิดขึ้นหลังจากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว เมื่อมีการสังคยานา
พระไตรปิฎกเกิดขึ้นส่งผลให้การถ่ายทอดวิทยาการทางด้านพุทธศาสตร์มีรูปแบบที่หลากหลาย
และแตกต่างกันออกในขณะที่ตำรามุ่งถ่ายทอดพุทธประวัติและชาดกต่างๆ แต่ศิลปะก็ถือเป็น
เครื่องมือในการถ่ายทอดหลักจริยศาสตร์ที่ได้ผลเช่นกัน พุทธศิลป์จึงแพร่ขยายออกไปอย่างรวดเรว็
จนเกิดมรดกทางวฒั นธรรมท่ีดำรงอยู่และสบื ทอดต่อกนั มา๖

มนุษย์เกี่ยวข้องกับศิลปะซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมที่จำเป็นในสังคมมนุษย์ทั้งในด้านผู้ชื่นชม
ศิลปะและจิตรกรผู้สร้างสรรค์ผลงาน เมื่อศิลปะมีความจำเป็นเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ ดังนั้น
คำถามเกี่ยวกับศิลปะจึงเป็นหน้าที่ของมนุษย์ที่จะเป็นผู้หาคำตอบ เพื่อแสดงทัศนะต่อคำถามท่ี
เกี่ยวกับศิลปะในประเด็นต่างๆ พระพุทธศาสนาก็มีอิทธิพลต่อศิลปะและวัฒนธรรมในสังคมไทย
การสืบทอดประสบการณ์ทางศิลปะก่อให้เกิดทัศนะทางคุณค่าหรือสุนทรียะ ศิลปะในสังคมไทย
มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับความศรัทธาทางพระพุทธศาสนา ศิลปะในพระพุทธศาสนาไม่ได้เน้นถงึ
เรื่องความงามเป็นการเฉพาะ แต่มีบางแง่มุมที่สัมพันธ์อยู่กับความจริง (reality) และความ
ดี (goodness) พระพทุ ธศาสนากลา่ วถงึ ธรรมะเป็นเรื่องหลกั ซึง่ กค็ ือความจรงิ ทเี่ ป็นจรงิ และกฎเกณฑ์
ธรรมชาติ (nature law) กล่าวคือ ความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย การอิงอาศัยเกื้อกูลเป็นเหตุเป็นผล
ซึ่งกันและกันในธรรมชาติที่เป็นปรากฏการณ์ อาการต่างๆ นั้นมีความเป็นปกติธรรมดาของมันเอง
และมีความงามอยู่ในตัวเองแล้ว เป็นความงามทางภววิสัย เป็นสุนทรียภาพในลักษณะหนึ่ง๗
พุทธศิลปกรรม เป็นงานสร้างสรรค์ทางความคิดผ่านสื่อสัญลักษณ์ของผู้ที่ศรัทธาในคำสอนของ
พระพุทธเจ้า๘ เป็นเหตุให้ได้สร้างสรรค์งานพุทธศิลปกรรมขึ้นมาเพื่อส่งเสริมการเผยแพร่และ
การปฏิบตั ทิ างพระพุทธศาสนาโดยตรง ทง้ั เปน็ สง่ิ ช่วยโน้มน้าวจติ ใจของพุทธศาสนิกชน ให้เกิดความ
ศรัทธาปสาทะ ประพฤติปฏบิ ัติตนใหม้ ีแนวทางที่ดีงาม การสืบทอดงานพุทธศิลป์นั้นพระมหากษัตริย์
ในอดีตได้ความสำคัญและเป็นการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก
โดยเฉพาะกษัตริย์ประจำเมอื งอ่ทู อง

ดังจะเห็นได้ว่าพระพุทธศาสนาเข้ามาในดินแดนประเทศไทยประมาณ พ.ศ. ๒๓๖ สมัย
เดียวกันกับประเทศศรีลังกา โดยการส่งสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ ๙ สาย

๖ วัชรินทร์ บัวจันทร,์ “ศึกษาเร่ืองแดนแห่งพลังศรทั ธา”, ศิลปนิพนธ์ศลิ ปบัณฑติ , (นครปฐม: คณะ
จิตรกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๔), หน้า ๕.

๗ มโน พิสุทธริ ตั นานนท์, สุนทรยี วจิ ักษณ์ในจติ รกรรมไทย, (กรงุ เทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๗),
หน้า ๑๐๑.

๘ ชัปนะ ปิ่นเงิน, จักกวาฬทีปนี: ต้นแบบทางความคดิ พทุ ธลักษณ์ล้านนา, (เชียงใหม่: สถาบันวิจยั
สังคม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่, ๒๕๕๒), (อดั สำเนา).



โดยการอุปถัมภข์ องพระเจ้าอโศกมหาราชกษตั รยิ ์อินเดีย ขณะนนั้ ประเทศไทยอยู่ในดนิ แดนที่เรียกว่า
สุวรรณภูมิ โดยการนำของพระโสณะและพระอุตตระเป็นพระเถระชาวอินเดียได้เดินทางมาเผยแผ่
พระพุทธศาสนาในแถบนี้ สำหรับประเทศไทยมีหลักฐานที่อ้างอิงได้ คือ ธรรมจักรและกวางหมอบ
ที่ขุดพบที่บริเวณปฐมเจดีย์ที่จังหวัดนครปฐม เป็นศิลปกรรมสมัยทวาราวดีมีอายุราวพุทธศตวรรษ
ท่ี ๑๐-๑๑ ศิลปกรรมดังกล่าว มลี กั ษณะเชน่ เดียวกบั ศิลปะสมยั เดียวกับของอนิ เดยี หลังจากนั้นพุทธ
ศิลปวัตถุไดว้ วิ ฒั นาการไปตามอิทธพิ ลของพุทธศาสนาท่ีแผไ่ ปในยุคหลังๆ เช่น ลังกาพุกาม และเขมร
เป็นต้น

พระพทุ ธศาสนาเข้ามาส่ปู ระเทศไทยหลายคร้งั และแตล่ ะครงั้ มีความแตกต่างกนั ทง้ั ในด้าน
คำสอนและผลของการเข้ามาเผยแผ่ โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ ยุค คือ ยุคเถรวาทแบบอโศก
ยคุ มหายาน ยคุ เถรวาทแบบพกุ ามและยุคเถรวาทแบบลังกาวงศ์๙ ยคุ ทวารวดีตรงกับยุคเถรวาทแบบ
อโศกพุทธศิลป์ในยุคนี้ที่เป็นสถูป หรือเจดีย์ปรากฏในภาคกลาง ภาคตะวันออกและ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ๑๐ พุทธศิลป์ในสมัยทวารวดีแบ่งออกเป็น ๓ ยุค คือ ทวารวดี
ตอนต้น ส่วนใหญ่สร้างด้วยหินขนาดใหญ่มีลักษณะคล้ายพุทธรูปในสมัยคุปตะของอินเดีย แต่การ
สร้างยังไม่ประณีตทำให้พระพุทธรูปในยุคนี้ดูค่อนข้างกระด้าง ทวารวดีตอนกลางการสร้างมีความ
ประณีตกว่าตอนต้นมาก พระพักตร์มีลักษณะแบนกว้างและสั้น เคร่งขรึม พระโอษฐ์กว้างและแบะ
พระเนตรโปนมที ้งั ทสี่ ร้างดว้ ยหินแขง็ ท่ีขนาดใหญโ่ ต แบบลอยองค์และจำหลักนูนกบั ท่ีสร้างด้วยสำริด
ซึ่งมีขนาดเล็กประมาณครึ่งฟุต ทวารวดีตอนปลายเป็นลักษณะผสมผสานกันระหว่างศิลปะศรีวิชัย
และอ่ทู องพบท่จี งั หวดั ลำพูนและเชียงใหม่ พระพุทธรูปในสมยั นไ้ี ดส้ ร้างปางต่างๆ

พระพุทธรูป หมายถึงปฏิมาหรือปฏิมากร๑๑ คือ เป็นรูปเปรียบหรือแทนองค์สมเด็จพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้า ซ่ึงพุทธศาสนิกชนได้สร้างขึ้นไว้เพื่อเป็นที่เคารพสักการบูชาของชาวพุทธทั่วหล้า
พระพุทธรูปนี้ สันนิษฐานกันว่าสรา้ งขึ้นครั้งแรกในสมัยพระเจ้ามิลนิ ท์ ณ แคว้นคันธารราฐซ่ึงอยู่ทาง
ตอนเหนอื ของอนิ เดียโบราณ ปจั จบุ นั อยู่ในประเทศปากีสถานและอฟั กานิสถานระหว่าง พ.ศ. ๓๖๗-
๓๘๓๑๒ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพยืนยันว่า “พระพุทธรูปเริ่มสร้างขึ้นในสมัยน้ี

๙ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต), พระพทุ ธศาสนาในอาเซีย, (กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา,๒๕๕๕),
หนา้ ๑๔๕.

๑๐ กรมศลิ ปากร โบราณคดแี ละประวตั ิศาสตรเ์ มอื งสุพรรณบรุ ี, (กรุงเทพมหานคร : หา้ งหุ้นส่วนจำกัด
สารรงั สรรค์, ๒๕๓๓) หน้า ๒๑๕.

๑๑ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, (กรุงเทพมหานคร : นาน
มีบคุ๊ ส์พบั ลเิ คชัน่ ส์, ๒๕๔๖), หน้า ๖๔๘.

๑๒ คณาจารย์ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ประวัตพิ ระพทุ ธศาสนา, พิมพค์ รั้งท่ี ๑, (กรุง
เทพมหน่ คร : หา้ งห้นุ สว่ นจำกัด, ๒๕๕๐), หน้า ๘๓.



แต่มาแพรห่ ลายในสมัยพระเจ้ากนษิ กะมหาราช”๑๓ ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ การผลติ ผลงานพทุ ธศิลปส์ ืบเนื่องมา
จนถึงสมยั ปจั จบุ นั

เมอื งโบราณอูท่ องเป็นเมอื งโบราณสมัยทวารวดี มผี งั เมอื งเป็นรูปวงรี ตวั เมอื งมคี ูนำ้ คนั ดิน
ล้อมรอบภายในตัวเมืองและบริเวณโดยรอบมีซากโบราณกระจายอยูไ่ มน่ ้อยกว่า ๒๐ แหง่ ห่างออกไป
ทางทิศตะวนั ตกเฉยี งใต้เป็นท่ีตงั้ ของโบราณสถานคอกช้างดิน กลมุ่ ศาสนาสถานและสิ่งก่อสร้างเนื่อง
ในศาสนาพราหมณห์ รอื ฮนิ ดู ลทั ธิไศวนิกาย เมอื งโบราณอทู่ องมอี ายปุ ระมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖
หรือประมาณ ๑,๐๐๐-๑,๔๐๐ ปีที่ผ่านมา เป็นหลักฐานแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางวัตถุ
และวิทยาการต่างๆ ในอดตี อนั มีผลจากการผสมผสานวัฒนธรรมท้องถิ่นเข้ากบั การรบั วฒั นธรรมจาก
ประเทศอินเดีย กอ่ ใหเ้ กิดรปู แบบทางวฒั นธรรมทีเ่ รยี กว่า “ทวารวด”ี มีลักษณะที่สำคัญคือ การวาง
ผังเมอื งทีม่ ีคูนำ้ คันดนิ ลอ้ มรอบ การนับถือพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทการสร้างศาสนสถานด้วยอิฐขนาด
ใหญ่และการมีรูปแบบทางศิลปกรรมเฉพาะของตนเอง๑๔

เมืองอู่ทองเป็นเมืองโบราณที่มีความสำคัญทางด้านพระพุทธศาสนาของยุคทวารวดี
เปน็ เมอื งโบราณทีไ่ ดร้ ับการศกึ ษาทางโบราณคดมี ากท่ีสุดแหง่ หนง่ึ ของประเทศไทยและเปน็ ศูนย์กลาง
ทางศาสนาทเ่ี กา่ แก่ท่ีสุดของรัฐทวารวดี เพราะได้คน้ พบแผน่ ดินเผารูปพระสงฆอ์ ุม้ บาตร ลักษณะเป็น
แผ่นดินเผาสีน้ำตาลเป็นภาพพระภิกษุสามองค์ยืนอุ้มบาตรทรงครองจีวรห่มคลุม คือ ห่มจีวรคลุม
ทัง้ สองบา่ ถงึ ขอ้ มือ จีวรมีลกั ษณะเป็นริ้วชัดเจน ทรงอุ้มบาตรทรงกลมปฎบิ ัตวิ ตั รคือการออกบณิ ฑบาต
ในยามเช้าและพบภาพปูนปั้นพระพุทธรูปนาคปรกอยู่ในช่วงพทุ ธศตวรรษที่ ๙-๑๐ (มีอายุประมาณ
๑,๖๐๐-๑,๗๐๐ ป)ี มีรูปแบบคล้ายกับศลิ ปะสมัยอมรวดที างภาคตะวนั ออกเฉียงใตข้ องอินเดีย๑๕

ผู้วิจยั มคี วามมุ่งม่ันที่จะศกึ ษาเกย่ี วกับเรื่อง “คณุ ค่าพทุ ธศิลป์ของพระพุทธรูปยุคทวารวดี
กรณีศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี” ซึ่งได้ศกึ ษาจากการใหข้ ้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับพุทธศิลป์ยคุ ทวารวดี
การวิจัยครั้งนี้ศึกษาเรื่อง มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑. เพื่อศึกษาคุณค่าพุทธศิลป์
ในพระพุทธศาสนา ๒. เพื่อศึกษาพุทธศิลป์ยุคทวารวดี จังหวัดสุพรรณบุรี ๓. เพื่อวิเคราะห์คุณค่า
พุทธศิลป์ยุคทวารวดีในจังหวัดสุพรรณบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษา

๑๓ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ตำนานพระเจดีย์, อ้างใน พระมหาดาวสยาม วชิรปญฺโ ,
ประวตั ิศาสตร์ พระพทุ ธศาสนาในอินเดยี , กรุงเทพมหานคร : พิมพส์ วย, ๒๕๔๖, หนา้ ๙๑.

๑๔ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อำเภออู่ทอง สุพรรณบุรี - จังหวัด

สพุ รรณบรุ ี[ออนไลน]์ , แหล่งที่มา : http://www.suphan.biz/UtongMuseum.htm [๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓].
๑๕ สฤษดิ์พงศ์ ขุนทรง, โบราณคดีช่วงก่อนสมัยทวารวดี : ข้อมูลใหม่จากเมอื งโบราณอู่ทอง, เป็นส่วน

หนึ่งของโครงการวจิ ัยเร่อื ง “พฒั นาการของเมอื งอทู่ องจากหลกั ฐานทางโบราณคด”ี , โดยไดร้ ับทุนสนับสนุนจาก
สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวิทยาลัยศิลปากร, (คณะโบราณคดี : มหาวิทยาลยั ศิลปากร), บทคัดยอ่ .



ประวัติศาสตร์ แนวคิดและคุณค่าของพุทธศิลป์สมัยทวารวดีอู่ทอง ซึ่งเป็นศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการ
สร้างสรรค์และการแสดงอารมณ์ความรู้สึกความชื่นชมในความงามภายในใจของมนุษย์ ศิลปะทาง
ศาสนา ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์หลายประการ เช่น ๑. ประโยชน์ในการใช้สอย ๒. สร้างความ
เพลิดเพลินทางจิตใจ ๓. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวความเชื่อถือในศาสนา ตัวอย่าง เช่น พระผงสุพรรณ
มีลักษณะเป็นดินเผา แต่ในด้านหลักพุทธธรรมเน้นความเมตตาแคล้วคลาด โดยมุ่งแสดงหลัก
แหง่ ความจรงิ และความเปน็ เหตุเปน็ ผล ตั้งอยบู่ นพน้ื ฐานของชีวิต ทต่ี อ้ งการแสวงหาความสุขหรือการ
พ้นทุกข์ พุทธศิลป์น้ี จึงมีคุณค่าต่อสังคมเป็นอย่างยิ่ง ในการส่งเสริมจริยธรรม คุณค่าดังกล่าวอาจมี
มากน้อยแตกต่างกันไป นอกเหนือจากคุณค่าทางศิลปกรรมอย่างเห็นได้ชัดแล้ว ยังมีคุณค่าทาง
การศึกษา คุณค่าทางประวัติศาสตร์ หรือแม้แต่คุณค่าทางเศรษฐกิจ ก็ได้พัฒนาการจากแนวคิด
ทางด้านพุทธธรรมของพระพุทธศาสนามีความสำคัญต่อสังคมไทย ซึ่งจะได้รับข้อมูลจากคัมภีร์
หนังสอื งานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้องและไดน้ ำมารวบรวม ประมวลสง่ิ ท่ีเห็นว่าเปน็ ส่ิงสำคัญและเป็นประโยชน์
ในการทำวิจยั ในครัง้ น้ี และหวงั วา่ จะเป็นประโยชน์แก่ผ้ทู ต่ี ้องการศึกษาในเรอ่ื งนี้ต่อไป

๑.๒ คำถามวจิ ยั

๑.๒.๑ เพอื่ ศึกษาพทุ ธศลิ ป์ในพระพทุ ธศาสนาเปน็ อย่างไร
๑.๒.๒ เพื่อศึกษาพุทธศลิ ปย์ ุคทวารวดี จงั หวัดสพุ รรณบุรีเปน็ อย่างไร
๑.๒.๓ เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลและคุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรีเป็น
อยา่ งไร

๑.๓ วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย

๑.๓.๑ เพื่อศึกษาพุทธศิลปใ์ นพระพทุ ธศาสนา
๑.๓.๒ เพื่อศกึ ษาพทุ ธศลิ ปย์ คุ ทวารวดี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
๑.๓.๓ เพอื่ วเิ คราะหอ์ ิทธพิ ลและคุณค่าพทุ ธศิลปย์ คุ ทวารวดี ในจังหวดั สุพรรณบรุ ี

๑.๔ ขอบเขตการวิจยั

การวิจัย “วิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี” เป็นการวิจัย
เชิงคุณภาพ (Qualitative Research)

๑.๔.๑ ขอบเขตด้านเน้อื หา

การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งศึกษาเกี่ยวกับเพื่อศึกษาคุณค่าพุทธศิลป์ของพระพุทธรูป
ยคุ ทวารวดีในพระพุทธศาสนา ในจังหวดั สุพรรณบุรี



จะเห็นได้ว่าพุทธศิลป์ อาทิเช่น พระพุทธรูปอู่ทอง “ศิลปะสกุลช่างที่รังสรรค์
งานประติมากรรมสัมฤทธิ์ออกมาเป็นองค์พระพุทธรูปที่เรียกขานกันว่า พระพุทธรูปสมัยอู่ทอง
ซึ่งแตกต่างจากศิลปะ "อู่ทองสุวรรณภูมิ” ความสับสนของการพิจารณาพระพุทธรูปไทยสมัยอู่ทอง
หรือลพบุรีกับพระพุทธรูปเขมรมักมีอยู่เสมอ ซึ่งต้องยอมรบั กันวา่ มีเหตุเกี่ยวเน่ืองมาจากทั้งทางด้าน
ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ หลายท่านคงเคยได้ยินว่าศิลปะพระบูชาสมัยอู่ทองของเราสร้าง
เลียนแบบศิลปะพระบูชาหรือเทวรูปเขมรนั้น เรื่องนี้คงมีความจริงเพียงบางส่วน เพราะถ้าหาก
จะพิจารณาพุทธศิลปใ์ นองค์พระให้ลึกลงไปในรายละเอยี ดแล้ว คงบอกได้ไม่ยากว่าพระพุทธรูปองค์
ไหนเป็นของไทย องค์ไหนเป็นของเขมร อิทธิพลของงานศิลปะพระเขมร แผ่ขยายเข้ามาในสยาม
ประเทศ ผ่านทางเมืองลพบุรี ในสมัยขอมยุคบายนซึ่งกำลังมีบารมีอำนาจครอบคลุมเข้ามาปกครอง
แผน่ ดนิ ของสยามอย่หู ลายส่วน

ต่อมากษัตริย์ไทยมีพระปรีชาสามารถ บารมีอำนาจมากขึ้นในสมัยพระรามาธิบดีที่ ๑
(พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสร้างกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีประกาศอำนาจการปกครองครอบคลุมดินแดน
แถบนี้สวนกระแสอำนาจที่เสื่อมลงของขอมและเมื่อบ้านเมืองมีความสงบสุขร่มเย็นลง ปลอดศึก
สงคราม ศิลปินสายเลือดไทยจึงเริ่มมีจินตนาการศิลป์ สร้างศิลปะพระพุทธรูปไทยขึ้นในยุคน้ี
โดยนำเอาศิลปะความเรียบร้อยอ่อนน้อมละเมียดละไม ซ่งึ เปน็ อปุ นิสยั ของคนไทยสอดเข้าผสมผสาน
กับศิลปะความเข้มแข็ง เงียบขรึม มีอำนาจของขอมก่อให้เกิดพระพุทธรูปศิลปะอู่ทองที่สง่างาม
เข้มขรึม แตไ่ ม่เข้มแขง็ พระพักตร์คลายเครยี ดออกอาการยิ้มอยู่ในที มีลกั ษณะสำคญั ใหไ้ ดพ้ จิ ารณากัน
ดังน้ี

พระรศั มี เปน็ แบบเปลวเพลิง หรือ แบบปลกี ลว้ ย (กาบกล้วยวางซ้อนกัน)
เม็ดพระศก ละเอยี ดเลก็ ปลายเรียวแหลมคล้ายหอยจุ๊บแจง
พระพักตร์ เป็นรูปทรงเหลีย่ มขมบั นูน ตน้ คางใหญ่ ปลายคางเป็นลอนแบบคางคน
ขอบพระกรรณ (หู) ส่วนโค้งบนใบหูมนุษย์ปลายพระกรรณ (ติ่งหู) ยาวปลายงอน
ขอบออกด้านหนา้
พระขนง (คว้ิ ) โกง่ ยาวจรดกนั แบบปีกกา
พระเนตร (ตา) ยาวรี เหลือบมองตำ่ มเี น้อื และเปลอื กตา
พระนาสิก (จมกู ) ใหญ่พองาม (ระยะแรกสดุ จมกู แบนเลก็ ไม่สมสว่ นขาดความงดงาม)
พระโอษฐ์ (ปาก) กว้างริมฝีปากบน-ล่างหนา มุมปากทั้งสองด้านงอนขึ้นเล็กน้อย มองดู
แสดงพระอาการยมิ้ อยใู่ นที
ลักษณะการคล้องผ้าจีวร เป็นแบบห่มลดไหล่เฉียงบ่า พาดผ้าสังฆาฎิมีสายรัดประคด
ปรากฏท้ังน้า-หลัง ชายผ้าสังฆาฎดิ า้ นหน้ายาวจรดหน้าทอ้ งปลายตัดเป็นเสน้ ตรง ชายสงั ฆาฎิด้านหลัง
ยาวจรดสายรดั ประคด



พระพุทธรูปสมัยทวารวดีอู่ทอง ส่วนใหญ่ที่พบแสดงการนั่งปางมารวิชัยสมาธิราบ
องค์พระนั่งอยู่บนฐานเขียงเรียบไม่มีลวดลาย แอ่นกลาง ภาพพระพุทธรูปศิลปะสมัยอู่ทององค์นี้
มีความชัดเจนในรายละเอียดของคุณค่าศิลปะของพุทธศิลป์จึงสมควรแก่การพิจารณาศึกษา เรียนรู้
ค้นควา้ วิเคราะห์ขอ้ มูลในงานวจิ ยั นีอ้ ยา่ งยงิ่ ต่อไป

๑.๔.๒ ขอบเขตด้านสถานที่

การวิจยั ครง้ั นี้ผศู้ กึ ษากำหนดพื้นทเ่ี ฉพาะจังหวัดสุพรรณบรุ ี
๑.๔.๒.๑ พน้ื ทใ่ี นเขตตำบลอู่ทอง อำเภออทู่ อง จงั หวัดสุพรรณบุรี
๑.๔.๒.๒ พื้นท่ใี นเขตจงั หวดั สุพรรณบรุ ี

๑.๔.๓ ขอบเขตดา้ นประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง

ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ พระสังฆาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิในพิพิธภัณฑ์อู่ทอง
ผู้ทรงคุณวุฒิในองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พเิ ศษเพ่ือการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านประวัตศิ าสตร์ในวิทยาลัยสงฆส์ ุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิและกลุม่ ชาวบ้านในจงั หวดั
สพุ รรณบรุ ี จำนวน ๑๐ รูป/คน

๑. พระธรรมพุทธิมงคล (สะอิ้ง สิรินฺนโท) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี
เจ้าอาวาสวดั ป่าเลไลยกว์ รวิหาร

๒. พระครูวิบูลเจติยานุรกั ษ,์ ดร. รองเจา้ คณะจงั หวดั สพุ รรณบุรี เจา้ อาวาสวัดดอนเจดยี ์
๓. พระครูสิริวรธรรมภินันท์ (ชูชาติ) อานนฺโท รองเจ้าคณะอำเภอเมืองสุพรรณบุรี
เจ้าอาวาสวดั มะนาว
๔. พระครโู สภณวีรานุวัตร, ดร. (นคิ ม ณฎฺฐวโร) ผชู้ ว่ ยเจ้าอาวาสวดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร
๕. พระมหาพิชัย เจรญิ ยทุ ธ (ธมมวฺ ิชโย) เจ้าอาวาสวัดเขาทำเทียม
๖. นางสาววิภารตั น์ ประดษิ ฐอาชพี ผู้อำนวยการพพิ ิธภณั ฑ์สถานแหง่ ชาติ อู่ทอง
๗. ดร.สมจินต์ ชาญกระบี่ ผูจ้ ัดการสำนักงานพนื้ ท่พี เิ ศษ เมอื งโบราณอทู่ อง (อพท.๗)
๘. นางสาวจันทิรา เคหะนาค นกั วิชาการศาสนาชำนาญการพิเศษ สำนกั งานพุทธศาสนา
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
๙. นางวรพร พรหมใจรักษ์ อาจารย์ประจำวชิ าครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวชิ าสังคมศึกษา
๑๐. นายอานนท์ รกั ผล สำนกั งานพทุ ธแหง่ ชาติ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

๑.๔.๔ ขอบเขตด้านระยะเวลา
การวจิ ัยครั้งนี้ใช้ระยะเวลาในการศกึ ษา เรม่ิ ตน้ แตเ่ ดอื นกรกฎาคม ถงึ เดือนธนั วาคม พ.ศ.

๒๕๖๓ รวมระยะเวลา ๖ เดอื น



๑.๕ นิยามศัพท์เฉพาะที่ใชใ้ นการวิจยั

คณุ คา่ หมายถงึ ส่ิงทมี่ ปี ระโยชนแ์ ละมีมลู ค่าสงู
พุทธศิลป์ หมายถึงพระพุทธรูปสมัยทวารวดีอู่ทอง เป็นศิลปกรรมที่สร้างขึ้นรับใช้
พระพุทธศาสนาโดยตรงทัง้ ในดา้ นจิตรกรรม ประตมิ ากรรม และสถาปตั ยกรรมในลัทธิมหายาน และ
เถรวาท๑๖ เป็นศลิ ปกรรมทส่ี ร้างขนึ้ และปรากฏเปน็ ลกั ษณะของพระพุทธรูปในสมัยทวารวดี ซ่ึงอยู่ใน
ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๖ ซึ่งโดยปกติเห็นว่าพุทธศิลป์เป็นสิ่งที่สะท้อนความ
งดงามของศิลปะในเชิงช่างทีแ่ กะสลักหรือปัน้ หรอื หลอ่ พระพทุ ธรูปขนึ้ เพอื่ เปน็ ที่เคารพสักการะแทน
องคพ์ ระพทุ ธเจา้
พระพทุ ธรปู หมายถงึ รปู ท่ีสรา้ งขึ้นแทนองคพ์ ระพุทธเจา้
ทวารวดี หมายถึง ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี มีกำหนดอายุตั้งแต่
พทุ ธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖
สวุ รรณภมู ิ หมายถึง ดินแดนแหง่ ทองคำ ดนิ แดนทีม่ คี วามอุดมสมบรู ณ์
สพุ รรณบุรี หมายถงึ เป็นจงั หวัดหน่ึงในภาคกลางของประเทศไทยเปน็ ดนิ แดนแห่งความ
อดุ มสมบูรณบ์ นพนื้ ทร่ี าบภาคกลางสืบสารความเจริญรุ่งเรอื งมาตงั้ แต่อดีตกาล สุพรรณบุรีมีอายุไม่ต่ำ
กว่า ๓,๕๐๐-๓,๘๐๐ ปี จากโบราณวัตถุที่ขุดพบมีทั้งยุคหินใหม่ ยุคสำริด ยุคเหล็ก และสืบทอด
วฒั นธรรมตอ่ เนื่องมาถึงยุคสมยั ท่ีเจริญรุง่ เรอื งทสี่ ดุ คือ ยุคทวารวดี

๑.๖ ประโยชน์ท่ไี ด้รับจากการวจิ ยั

๑.๖.๑ ได้ทราบพุทธศลิ ปใ์ นพระพทุ ธศาสนา
๑.๖.๒ ไดท้ ราบพุทธศิลป์ยุคทวารวดีในจงั หวดั สุพรรณบรุ ี
๑.๖.๓ ได้ทราบผลการวิเคราะห์คุณค่าพทุ ธศิลปข์ องพระพุทธศาสนายุคทวารวดีในจังหวัด
สพุ รรณบุรี

๑๖ รศ.สงวน รอดบุญ, ศลิ ปกรรมไทย, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๒๙), หน้า ๑๙๐.

บทท่ี ๒

แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วของ

การวจิ ัยเรือ่ ง วิเคราะห์คุณค่าพุทธศลิ ป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรีผู้วิจัยได้กำหนด
เน้ือหาดังกลา่ วท่ไี ด้ศกึ ษาไว้ตามรายละเอยี ดดังต่อไปนี้

๒.๑ แนวคิดทฤษฎที เ่ี กี่ยวข้อง
๒.๑.๑ แนวคิดพทุ ธศิลปข์ องพระพุทธรปู
๒.๑.๒ แนวคิดการกำเนิดและพัฒนาการพทุ ธศิลปวัตถุสมยั ต่างๆ
๒.๑.๓ แนวคดิ พฒั นาการของพุทธศิลปะสกุลตา่ งๆ
๒.๑.๔ แนวคดิ พทุ ธศลิ ปใ์ นพระพุทธศาสนา
๒.๑.๕ แนวคดิ อิทธิพลแนวคดิ และคณุ ค่าเกี่ยวกับพทุ ธศิลปะ
๒.๑.๖ แนวคิดของนักวชิ าการโบราณคดีเก่ียวกับพทุ ธศิลปข์ องพระพุทธรูป

๒.๒ งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วของ

๒.๓ กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั

๒.๑ แนวคิด ทฤษฎที ่ีเกี่ยวขอ้ ง

จากการสำรวจเอกสาร งานวิจัย และวรรณกรรมต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการวิจัย เรื่อง
คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า มีผลงานท่ีเกี่ยวข้องอยู่จำนวนมากชึ่งได้มี
นกั วิชาการและนกั ประวัติศาสตร์ทางโบราณคดไี ด้วเิ คราะห์ไว้ ดังนีค้ ือ

๒.๑.๑ แนวคิดพทุ ธศลิ ปข์ องพระพุทธรปู

ในปัจจุบัน เราจะได้ยินคำว่าพุทธศิลป์บ่อยคร้ังมาก และในบางมหาวิทยาลัยก็มีการ
จัดการศึกษาในสาขาน้ีโดยตรง มีการเปิดการเรียนการสอนในสาขานี้และได้มีการจัดตั้งเป็นคณะ
และใช้ช่ือว่าคณะพุทธศิลป์โดยตรงก็มีมาแล้ว จึงอยากจะทำความรู้จักกับความเป็นไปเป็นมา
และความหมายท่ีแท้จริงของคำว่า พุทธศิลป์ ว่ามีความเป็นมาอย่างไร และมีเนื้อหาเกี่ยวข้อง
และครอบคลุมไปถึงอะไรและอย่างไรบ้าง

พุทธ ความหมายคือ ผรู้ ู้ ปัญญา ผรู้ ดู้ แี ล้ว ผตู้ ื่นแลว้ ผเู้ บกิ บาน ทา่ นผ้รู ูอ้ ริยสัจสี่
ศลิ ปะ ความหมายคอื ฝีมือทางงานชา่ ง สล่า งานแสดง ส่ิงของท่ีนำมาแสดงการแสดงออก
ซึง่ อารมณส์ ะเทือนใจใหป้ ระจักษ์

๑๐

ศิลปะ หรือ ศิลป์ เป็นการกระทำ หรือข้ันตอนของการสร้างชิ้นงานศิลปะ โดยมนุษย์
เป็นผู้สร้างสรรค์ สุนทรียภาพ จินตนาการ หรอื การสร้างจากอารมณ์ในภาวะต่างๆ ของมนุษย์จนเป็น
ผลงานแห่งความคิดและการรังสรรค์ท่ีแสดงออกมาในรูปลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ก่อให้เกิด
อารมณ์ ความรู้สึก ในความงดงาม ความชอบ ความพึงพอใจ ความประทับใจ หรอื เกิดความสะเทือน
ใจ มอี ารมณ์ ช่นื ชม ชอบ รัก ไม่พอใจ เกลียด ชิงชัง เป็นต้น

ดังน้ันพุทธประวัตทิ บ่ี นั ทกึ ไวใ้ นพระไตรปฎิ กกว่า ๕๕๐ เรอ่ื ง จงึ ไดน้ ำออกมาถา่ ยทอดผา่ น
งานศิลปะในรูปแบบต่างๆ ท้ังจิตรกรรมฝาผนัง งานประติมากรรม งานปั้นดินเผา อีกท้ังยังมีการ
แกะสลักหินประเภทต่างๆ และแกะสลักไม้ ในเวลาต่อมา ได้มีการแผ่ขยายอิทธิพล ไปท่ัวท้ังทวีป
เอเชีย เป็นเรื่องราวที่เราสามารถศึกษาได้จากภาพตามฝาผนังของโบสถ์ วิหาร วัด กำแพง คุ้ม
ปราสาท พระราชวัง ซึ่งสามารถยกระดับ ความคิด จิต กาย จนเป็นหนทางเกิดมรรคญาณ ให้สำเร็จ
เปน็ อรยิ บุคคลไดอ้ ย่างมากมาย

พทุ ธศลิ ป์ จงึ เปน็ ศิลปกรรมทส่ี รา้ งข้นึ มาเพือ่ สนองตอบและรบั ใช้งานด้านพระพทุ ธศาสนา
โดยตรง ทง้ั ในด้าน จติ รกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม โดยไมเ่ ลือกว่าจะเป็นลัทธมิ หาญาณ
หรอื เถรวาท โดยขอนำแนวคิดจากนักปราชญ์ ผรู้ ู้ ท่ีได้เคยใหค้ ำจำกัดความไวด้ ังนีค้ อื

พระราชวรมนุ ี (ประยทุ ธ์ ปยตุ โต) ได้อธิบายความหมายไวว้ ่า พุทธศิลป์ คือเจดยี ์ที่เคารพ
นบั ถอื บคุ คล สถานที่ หรือวัตถุ ทีส่ มควรเคารพบชู าเจดยี ท์ ี่เกีย่ วกบั พระพทุ ธเจา้ มี ๔ ประเภทคอื

๑). ธาตเุ จดีย์ คอื สถานที่บรรจพุ ระบรมสารีรกิ ธาตุ
๒). บรโิ ภคเจดีย์ คอื สิ่งหรือสถานท่ีที่พระพุทธเจ้าเคยทรงใชส้ อย
๓). ธรรมเจดยี ์ คือ สถานที่บรรจุพระธรรมหรือบรรจพุ ระพทุ ธพจน์
๔). อทุ เทสิกเจดีย์ คอื พระพทุ ธรูป
ทางด้านศิลปกรรมไทย หมายถึง สิ่งที่ก่อเป็นยอดแหลม เป็นสถานท่ีบรรจุสิ่งที่เคารพ
นับถือ เช่น พระบรมสารีริกธาตุ พระอรหันตธาตุ อัฐิของเจ้าเมือง พระมหากษัตริย์ และอัฐิของ
บรรพบรุ ษุ

ดงั น้ัน พทุ ธศลิ ป์ จึงมีความหมายถงึ งานศิลปะที่สรา้ งขึ้นมาเพือ่ เป็นการอทุ ศิ และรบั ใชด้ า้ น
พระพุทธศาสนาโดยตรง ก่อให้เกิดความศรทั ธา ความเชอื่ ความเลือ่ มใส ในพระพุทธศาสนาโดยอาศัย
องค์รวมของการสืบทอดอายุพระพทุ ธศาสนาให้ย่งั ยนื สืบไป

สิ่งที่ถือเป็นพุทธศิลป์ความงดงามทางดา้ นศิลปะ ในพระพุทธศาสนายังมีความชืน่ ชมยินดี
กับความงามของธรรมชาติ ป่าเขา ลำเนาไพร แม่น้ำลำธาร ห้วย หนอง คลอง บึง ทะเล หาดทราย
หน้าผา เหวเสียงเพลง เสียงดนตรี เสียงขับกล่อม เสียงเสียดสีของต้นไม้ ใบไม้ แม้กระทั่งเสียงลม
และเสียงคล่ืน ถือว่าเป็นเคร่ืองมือที่สำคัญในการส่ือถึงปรัชญาของพระพุทธเจ้า เพราะเป็นการ

๑๑

เสริมสร้าง ความรู้สึก ความนึกคิด ความเข้าใจ และรู้จักการปล่อยวาง สามารถเป็นสื่อในการเข้าใจ
เข้าถงึ ธรรมมะท่ีลกึ ซ้งึ ได้ เหนือคำบรรยายใดๆ ได้ดังนค้ี ือ

พระพทุ ธรูป
พระพุทธศาสนาเป็นเครื่องยึดเหน่ียวทางจิตใจ และมีระเบียบแบบแผนของพิธีกรรม
หลักธรรมคำสอนของพุทธศาสนาเป็นหลักที่พึ่งทางจิตใจให้เกิดสันติสุขในสังคม และยึดถือปฏิบัติ
สืบต่อกันมาเป็นวัฒนธรรมอันดีงาม อิทธิพลที่ได้รับทางศิลปกรรมเชิงพุทธศิลป์และสถาปัตยกรรม
ต่างๆ น้ัน ได้ถือกำเนิดขึ้นหลังจากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว เมื่อมีการสังคยานา
พระไตรปิฎกเกิดข้ึนส่งผลให้การถ่ายทอดวิทยาการทางด้านพุทธศาสตร์มีรูปแบบที่หลากหลาย
และแตกต่างกันออกในขณะที่ตำรามุ่งถ่ายทอดพุทธประวัติและชาดกต่างๆ แต่ศิลปะก็ถือเป็น
เคร่ืองมือ ในการถ่ายทอดหลักจริยศาสตร์ท่ีได้ผลเช่นกัน พุทธศิลป์จึงแพร่ขยายออกไปอย่างรวดเร็ว
จนเกิดมรดกทางวฒั นธรรมทดี่ ำรงอยูแ่ ละสืบทอดตอ่ กันมา๑
มนุษย์เกี่ยวข้องกับศิลปะซ่ึงเป็นส่ิงแวดล้อมท่ีจำเป็นในสังคมมนุษย์ทั้งในด้านผู้ช่ืนชม
ศิลปะและจิตรกรผู้สร้างสรรค์ผลงาน เม่ือศิลปะมีความจำเป็นเก่ียวข้องกับชีวิตของมนุษย์ ดังน้ัน
คำถามเก่ียวกับศิลปะจึงเป็นหน้าท่ีของมนุษย์ท่ีจะเป็นผู้หาคำตอบ เพ่ือแสดงทัศนะต่อคำถาม
ที่เก่ียวกับศิลปะในประเด็นต่างๆ พระพุทธศาสนาก็มีอิทธิพลต่อศิลปะและวัฒนธรรมในสังคมไทย
การสืบทอดประสบการณ์ทางศิลปะก่อให้เกิดทัศนะทางคุณค่าหรือสุนทรียะ ศิลปะในสังคมไทย
มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับความศรัทธาทางพระพุทธศาสนา ศิลปะในพระพุทธศาสนาไม่ได้เน้นถึง
เรื่องความงามเป็นการเฉพาะ แต่มีบางแง่มุมท่ีสัมพันธ์อยู่กับความจริง (reality) และความ
ดี (goodness) พระพทุ ธศาสนากลา่ วถึงธรรมะเปน็ เรอื่ งหลกั ซึง่ ก็คอื ความจริงทเี่ ป็นจรงิ และกฎเกณฑ์
ธรรมชาติ (nature law) กล่าวคือ ความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย การอิงอาศัยเกื้อกูลเป็นเหตุเป็นผล
ซึ่งกันและกันในธรรมชาติท่ีเป็นปรากฏการณ์ อาการต่างๆ นั้น มีความเป็นปกติธรรมดาของมันเอง
และมีความงามอยู่ในตัวเองแล้ว เป็นความงามทางภววิสัย เป็นสุนทรียภาพในลักษณะหนึ่ง๒
พุทธศิลปกรรม เป็นงานสร้างสรรค์ทางความคิดผ่านสื่อสัญลักษณ์ของผู้ที่ศรัทธาในคำสอนของ

๑ วัชรินทร์ บัวจันทร์, “ศึกษาเร่ืองแดนแห่งพลังศรัทธา”, ศิลปนิพนธ์ศิลปบัณฑิต, (นครปฐม: คณะ
จติ รกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพิมพ์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๔), หนา้ ๕.

๒ มโน พิสุทธิรัตนานนท์, สุนทรียวิจักษณ์ในจิตรกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์,
๒๕๔๗), หนา้ ๑๐๑.

๑๒

พระพุทธเจ้า๓ เป็นเหตุให้ได้สร้างสรรค์งานพุทธศิลปกรรมข้ึนมาเพื่อส่งเสริมการเผยแพร่และการ
ปฏิบัติทางพระพุทธศาสนาโดยตรง ท้ังเป็นส่ิงช่วยโน้มน้าวจิตใจของพุทธศาสนิกชน ให้เกิดความ
ศรัทธาปสาทะ ประพฤติปฏิบัติตนให้มแี นวทางท่ดี ีงาม การสืบทอดงานพุทธศิลป์นนั้ พระมหากษัตริย์
ในอดีตได้ความสำคญั และเป็นการทำนบุ ำรุงพระพทุ ธศาสนาใหม้ คี วามเจรญิ รงุ่ เรอื ง

ชาวพุทธเช่ือกันวา พระพุทธรูปเปนสัญลักษณแหงความเคารพที่ชาวพุทธมีตอพระพุทธ
องค เกิดข้ึนสมัยพระเจากนิษกะเปนครั้งแรกในดินแดนประเทศอินเดียทิศตะวันตกเฉียงเหนือที่ชาว
กรีกเคยมีอํานาจปกครองมา ตั้งแตสมัยพระเจาอิเล็กซานเดอรมหาราชทรงยกทัพเขาไปรุกรานราว
พ.ศ. ๒๑๗-๒๑๘๔ ตอมาชาวโรมันได้ตดิ ตอคาขายกับชาวอนิ เดียด้วย จนกระทั่งประมาณ พ.ศ. ๖๐๐
ชางกรกี -โรมัน จึงไดสรางพระพุทธรูปเปนรูปมนุษย์ ข้ึนไดอยางสวยงามเหมาะสมตามพุทธลักษณะ
โดยไดอาศยั คณุ ลักษณะ ๓ ประการ ในการสรางพระพุทธรูปดังนี้ คอื

๑. เนื่องจากเปนชางกรีก-โรมัน จึงไดใช้สุนทรียภาพตามแบบฝร่ัง เปนตนวา พระพักตร
กใ็ หงามตามแบบฝรั่ง ไดแก พระนาสกิ โดง พระโอษฐเล็ก พระขนง วาดเปนวงโคง บรรจบกนั เหนือดั้ง
พระนาสิก ประภามณฑล เปนรูปวงกลมเกล้ยี ง อยเู บือ้ งหลังพระเศยี ร

๒. กระทําตามคัมภรี มหาบรษุ ลักษณะ๕ เชน ใบหยานมีลายธรรมจักร บนฝาพระหตั ถ์
๓. เกิดจากความชาญฉลาดของชางที่วา จะทําอยางไร จึงจะใหผูเห็นประติมากรรมนี้
แลวจะทราบไดทนั ทวี า รปู ดังกลาวเปนของพระพุทธองค

พระพทุ ธรปู อทิ ธิพลอนิ เดยี

พระพุทธรูปอินเดียแบบอมราวดีเจริญข้ึนทางทิศตะวันออกเฉียงใตของอินเดีย ราวพุทธ
ศตวรรษท่ี ๖ หรือ ๗-๙ รวมสมัยกับศิลปะคันธารราฐ พระพุทธรปู ในศิลปะอมราวดีก็คงไดรับอทิ ธพิ ล
มาจากศิลปะคันธารราฐและมถุราผสมกัน เพราะศิลปะอมราวดีในขั้นแรกใช้สัญลักษณแทนองค

๓ ชัปนะ ป่ินเงิน, จักกวาฬทีปนี: ต้นแบบทางความคิดพุทธลักษณ์ล้านนา, (เชียงใหม่: สถาบันวิจัย
สงั คม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๒), (อัดสำเนา).

๔ สุริยวุฒิ สุขสวัสด์ิ, ม.ร.ว., ศ.ดร., ศรีทวารวดีถงึ ศรรี ัตนโกสินทร, (กรงุ เทพมหานคร: ดานสุทธาการ
พมิ พ, ๒๕๓๗), หนา ๒๙.

๕ ดรู ายละเอยี ดเก่ียวกับการสรางพระบารมอี ยางไรใหไดพุทธลักษณะแตละอยางๆ, พมิ พครั้งที่ ๑๐,
(กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัท เอส.อาร พรนิ้ ติง้ แมส โปรดกั ส จํากดั , ๒๕๔๖), หนา ๑๘๕-๑๘๖. และดูรายละเอียดใน
ลักขณสตู ร ท.ี ปา. ๑๑/ ๑๕๗/๑๓๐.และ๑๑/๑๕๙-๑๙๓/๑๓๐,๑๗๑. อางถงึ ในพุทธทาสภกิ ขุ, พทุ ธประวัติจากพระ
โอษฐ, พิมพครงั้ ที่ ๑๑, (กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป., ๒๕๓๒), หนา ๓๑-๔๐.

๑๓

พระพุทธรูป จนกระทั่งตอมา จึงไดสรางพระพทุ ธรูปขน้ึ เปนรูปมนุษย พระพุทธรูปศลิ ปะอมราวดี มี ๔
แบบ คือ

๑. แบบประทับยืนมกั ยืนหันหนาตรงอยูบนฐานบวั ครองจวี รทงั้ หมเฉียงและหมคลุม
๒. แบบประทับนง่ั มเี ฉพาะในภาพสลักนูนต่ำเทาน้ัน
๓. แบบนาคปรก พระพุทธรูปนาคปรกที่เกาท่ีสุด ตกอยูในแบบพระพุทธรูปประทับนั่ง
หมเฉยี ง แบบท่ี ๒ ในศิลปะอมราวดีเป็นพระพุทธรปู ทม่ี วี ิวัฒนาการโดยเฉพาะของตนเอง
๔. แบบประทับน่ังหอยพระบาท แสดงถึงการคิดคนลักษณะรูปภาพที่สําคัญแบบใหม
ดเู หมอื นจะเก่ียวของอยู่กับบลั ลงั กซ่ึงมรี ปู รางเหมอื นมาน่ังหรอื เก้าอม้ี ที าวแขน ๖
พระพุทธรูปแบบทวารวดี ไดรับอิทธิพลจากพระพุทธรูปแบบคุปตะและหลังคุปตะ
ซึง่ เจริญอยูทางภาคกลางและภาคตะวันตกของประเทศอินเดีย ระหวางพุทธศตวรรษท่ี ๙-๑๓ แสดง
ใหเห็นถึงรองรอยอิทธิพลของศิลปะอินเดียสมัยอมราวดี ท่ีเขามากอนหนานั้นด้วย เพราะอาณาจักร
ทวารวดีเจริญอยูเปนเวลาหลายรอยป ฉะนัน้ จึงไดรบั อทิ ธพิ ลจากศิลปะอนิ เดียรุนตอมาของอินเดยี อีก
ไดแก่ ศิลปะแบบปาละ ที่เจริญขึ้นทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๗
พระพุทธรูปแบบทวารวดี นิยมสลักดวยศิลา ท่หี ลอเปนสําริดก็มี แตมักเปนขนาดเลก็ ตอมาไดคนพบ
พระพทุ ธรูปยนื สาํ ริดทวารวดอี งคหนึง่ ท่ีเมืองฝาย อําเภอลําปลายมาศ จังหวดั บรุ ีรัมย์ สูง ๑.๐๙ เมตร
เปนพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ทวารวดีองค์ใหญที่สุดเทาที่ ไดเคยคนพบลักษณะพระพักตรคลายศิลปะ
อินเดียมาก สันนษิ ฐานวา อาจหลอข้ึนในราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๓๗
พระพุทธรปู ประติมากรรมไทยสมยั อทู่ องและสมยั อยธุ ยา
ประติมากรรมสมัยอู่ทอง เปน็ ประตมิ ากรรมท่ีสร้างขนึ้ ในสมัยอโยธยาเปน็ ศนู ย์กลางของ
อาณาจักร เกิดขึ้นประมาณ พ.ศ. ๑๓๐๐-๑๘๙๗ และ ประติมากรรมสมัยอยุธยาเกิดข้ึนประมาณ
พ.ศ. ๑๘๙๓-๒๓๑๐ ประติมากรรมอทู่ องปูรากฐาน ให้แกป่ ระตมิ ากรรมสมัยอยุธยาตอนต้นโดยตรง
เพราะศิลปะอูท่ องมกี ารทำสืบตอ่ ไป จนถงึ แผน่ ดินสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ

๖ สภุ ทั รดศิ ดิศกลุ , ศ.ม.จ.,“พระพทุ ธรูปอินเดียแบบอมราวดี”, โบราณคดี,ปท่ี ๕ ฉบับที่ ๖,
(มกราคม -มนี าคม ๒๕๕๒), หนา ๑๐-๒๕.

๗ สุภทั รดศิ ดิศกลุ ,ศ.ม.จ., ศิลปะในประเทศไทย, พมิ พคร้ังท่ี ๑๐, (กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัย
ธรรมศาสตร, ๒๕๓๘). หนา ๕.

๑๔

ภาพท่ี ๒.๑ พระพุทธรูปสำริดปางมารวิชัยศิลปะสมัยอทู่ อง
อยธุ ยายุคต้น

ในยุคนี้มีการสร้างพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะผสมผสานพระพุทธรูปสมัยทวารวดี
สมัยลพบุรี และศิลปะของชนพื้นเมืองอโยธยาเอง มีพุทธลักษณะเด่นชัด คือ วงพระพักตร์เป็น
สี่เหลี่ยม มีไรพระศกเป็นกรอบ วงพักตร์พระหนุป้านเป็นรูปคางคน พระนาสิกเป็นสันคม พระขนง
ชดั เจนเป็นเสน้ กระด้างคลา้ ยปีกนกบรรจบกัน ปริมาตรของพระพักตร์ดูแบน ขมวดพระเกศามีขนาด
เล็กเป็นจุด พระรัศมีมีทั้งทำอย่างเป็นต่อม และทำเป็นเปลว ผ้าครองทำชายสังฆาฏิยาว นิยม
น่ังขัดสมาธิราบ ฐานหน้ากระดานเป็นร่อง และแอ่นเข้าข้างใน เนื้อโลหะสำรดิ หล่อได้บางเป็นพิเศษ
นอกจากนั้นยังพบพระพุทธรูปสลักศิลา เช่น พระพุทธรูปที่พระระเบียงวัดมหาธาตุ ลพบุรี
พระพุทธรูปที่วิหารหน้าสถูปใหญ่ วัดนครโกษา ลพบุรี และพระพุทธรูปท่ีวัดใหญ่ ชัยมงคล อยุธยา
เป็นตน้

ภาพสลักศิลา และภาพปูนป้ันต่างๆ ลักษณะลายเป็นแบบประดิษฐ์มากกว่าสมัยลพบุรี
ลายสลักศิลารอบฐานชุกชีในพระวิหารใหญ่ หน้าพระปรางค์วัดมหาธาตุ อยุธยา เปน็ ลายขมวดเถาไม้
ใบไม้ กลีบบวั ลวดลายยงั เปน็ แบบกึ่งประดิษฐก์ ึง่ ธรรมชาติ ยงั ไม่เขา้ รปู เป็นลายกนกเลยทเี ดียว

อยธุ ยายคุ กลาง

ภาพที่ ๒.๒ อยุธยายคุ กลาง

๑๕

การปน้ั พระพุทธรปู ยุคน้ี ไดร้ ับอทิ ธิพลจากศลิ ปะสโุ ขทยั มักทำวงพระพกั ตร์ และพระรศั มี
ตามแบบสุโขทัย แต่มีไรพระศกเส้นเล็กๆ ทำสังฆาฏิขนาดใหญ่ ชายสังฆาฏิตัด เป็นเส้นตรง
พระพทุ ธรปู ทำจากปูนปนั้ สลักหิน และหล่อดว้ ยโลหะ ส่วนมากนิยมทำพระพทุ ธรปู ปางมารวิชัย และ
พระอิริยาบถแบบต่างๆ ตามแบบสุโขทัย พระพุทธรูปน่ังที่มีขนาดใหญ่ และถือเป็นแบบฉบับของ
พระพุทธรูปสมยั นคี้ ือ พระมงคลบพิตร อยธุ ยา นอกจากนั้นมักทำพระพุทธรูปขนาดกลาง มฐี านชกุ ชี
สูง เช่น พระประธานพระอโุ บสถ วดั ไชยวฒั นาราม อยธุ ยา และวดั พระพุทธบาท สระบุรี พระนอนที่
สำคัญ คือ พระนอนที่วัดโลกยสุธา อยุธยา พระนอนที่วัดป่าโมกข์ อ่างทอง และพระนอนที่สิงห์บุรี
พระยืนที่สำคัญคือ พระโลกนาถ ประดษิ ฐานอยู่ทีว่ ิหารทศิ ตะวันออก (มขุ หลงั ) วัดพระเชตุพนวิมลมัง
คลาราม กรุงเทพมหานคร

พระนอน วัดโลกยสุธา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ศิลปะสมัยอยุธยา ลวดลายตกแต่ง
สถาปัตยกรรมท่ีสำคัญ มีลายหน้าบันพระอุโบสถวัดราชบรรทม เป็นลายกนกขมวดเป็นก้นหอย
ตรงกลางเป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์ซ้อนเป็นช้ัน ลายหน้าบันพระอุโบสถวัดพระพุทธบาท สระบุรี
รูปนารายณ์ทรงครุฑ กนกเครือเถาลอ้ มรอบ ทั้งองคพ์ ระนารายณแ์ ละครฑุ ทา่ ทางขึงขงั ทะมัดทะแมง
และบานประตูเจดีย์ ๓ องค์ วดั พระศรสี รรเพ็ชญ์ อยธุ ยา จำหลักรูปเทวดายืนถือพระขรรค์ ทรงเทริด
เหนือเศียรเทวดา มีรูปคล้ายร่ม ในยุคนี้ไม่นิยมทำลวดลายประดับเจดีย์ คงลายปูนเกลี้ยงตั้งแต่ฐาน
ถงึ ยอด

อยธุ ยายุคปลาย

ประติมากรรมพระพุทธรูปยุคน้ี มีการสร้างพระพุทธรปู ทรงเครื่องแบบพระมหากษัตริย์
โดยมีอยู่ ๒ แบบคือ พระพุทธรูปทรงเคร่ืองใหญ่ และพระพุทธรูปทรงเคร่ืองน้อย พระพุทธรูป
ทรงเครอ่ื งใหญ่ท่ีมีช่ือเสยี งมาก คือ พระประธานพระอโุ บสถ วัดหนา้ พระเมรุ อยธุ ยา

ศิลปะการสลักไม้ และปั้นปูนประดับพุทธสถานของสมัยอยุธยายุคปลาย ฝีมือถึงข้ันท่ีมี
ความงามสูงสุด ลวดลายทำเป็นกนก อ่อนพลิ้วซ้อนกัน ปลายกนกสะบัดปลาย บิดไปมาราวกับ
ธรรมชาติของเถาไม้ และใบไม้ทีอ่ ่อนไหว ลวดลายต่างๆ เริ่มประดษิ ฐ์เปน็ แบบแผนเฉพาะตัวของไทย
มากขึ้น ลายแกะไม้ท่ีสวยงามคอื ลายหน้าบันวหิ าร วดั ธรรมาราม อยธุ ยา หนา้ บนั พระอุโบสถ วัดใหม่
เทพนิมติ ร ธนบุรี และหน้าบันศาลาการเปรียญ วัดเชิงทา่ อยุธยา เปน็ ต้น ส่วนลายปูนปน้ั ที่มชี ่ือเสยี ง
คือ ลายหน้าบันพระอุโบสถ วัดเขาบันไดอิฐ เพชรบุรี ลายปูนป้ันที่ซุ้มวิหารหลวง วัดราชบูรณะ
อยธุ ยา และลายปนู ปั้นทีซ่ ากพระอุโบสถ วัดภเู ขาทอง กรุงเทพมหา

๑๖

ลักษณะของงานศิลปะตา่ งๆ

งานพุทธทัศนะศิลป์ประกอบด้วย จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ศิลปะสื่อผสม
และอาจจะรวมถึง สถาปัตยกรรม มอี งคป์ ระกอบสำคญั ๒ ส่วนคอื

๑. รูปทรง คือ ส่วนที่เป็นรูปธรรม ได้แก่ วัสดุ และทัศนธาตุต่างๆ ที่สัมผัสได้ด้วยทาง
ประสาททางตา

๒. เน้ือหา คือ ส่วนที่เป็นนามธรรมที่รับรู้ได้ด้วยความรู้สึกนึกคิด ผ่านทางรูปทรง เช่น
เรอ่ื งราว อารมณ์ และสัญลักษณ์๘

นอกจากนี้ศิลปะไทยได้รับอิทธิพลจากธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในสังคมไทย ซ่ึงมี
ลักษณะเดน่ คือ ความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตของคนไทยทไ่ี ด้สอดแทรกไว้ในผลงานท่ีสรา้ งสรรค์ขึ้น
โดยเฉพาะศิลปกรรมท่ีเก่ียวกับพระพุทธศาสนา ซ่ึงเป็นศาสนาประจำชาติของไทย อาจกล่าวได้ว่า
ศลิ ปะไทยสร้างข้ึนเพื่อส่งเสริมพุทธศาสนา เป็นการเชื่อมโยงและโน้มน้าวจิตใจของประชาชนให้เกิด
ความเลอื่ มใสศรทั ธาในพทุ ธศาสนา

ภาพไทย หรือ จิตรกรรมไทย จัดเป็นภาพเล่าเร่ืองท่ีเขียนข้ึนด้วยความคิดจินตนาการ
ของคนไทย มลี ักษณะตามอดุ มคตขิ องกระบวนงานช่างไทย คือ

๑) เขียนสีแบน ไม่คำนึงถึงแสงและเงา นิยมตัดเส้นให้เห็นชัดเจน และเส้นท่ีใช้
จะแสดงความรสู้ ึกเคลื่อนไหวนุม่ นวล

๒) เขียนตัวพระ-นาง เป็นแบบละคร มีลีลา ท่าทางเหมือนกัน ผิดแผกแตกต่างกัน
ดว้ ยสรี ่างกายและเคร่อื งประดบั

๓) เขียนแบบตานกมอง หรือเป็นภาพต่ำกว่าสายตา โดยมุมมองจากที่สูงลงสู่ล่าง
จะเหน็ เป็นรูปเรอ่ื งราวไดต้ ลอดภาพ

๔) เขียนติดต่อกันเป็นตอนๆ สามารถดูจากซ้ายไปขวาหรือล่างและบนได้ท่ัวภาพ
โดยขัน้ ตอนภาพดว้ ยโขดหนิ ต้นไม้ กำแพงเมอื ง และเส้นสินเทาหรือ คชกริด เปน็ ตน้

๕) เขียนประดับตกแต่งด้วยลวดลายไทย มีสีทองสร้างภาพให้เด่นเกิดบรรยากาศ
สขุ สวา่ งและมีคุณค่ามากขึน้

ภาพลายไทย เป็นลายท่ีประดษิ ฐข์ ้ึนโดยมีธรรมชาติมาเป็นแรงดลบันดาลใจ โดยดัดแปลง
ธรรมชาติให้เป็นลวดลายใหม่อย่างสวยงาม เช่น ตาอ้อย ก้ามปู เปลวไฟ รวงข้าว และดอกบัว ฯลฯ

๘ ชะลดู นม่ิ เสมอ, การเขา้ ถงึ ศิลปะในงานจิตรกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร: อมรินทรพ์ รนิ้ ดงิ้ กร๊ฟุ ,
๒๕๓๒), ความนำ.

๑๗

ลายไทยเดิมทีเดียวเรียกกันว่า “กระหนก” หมายถึงลวดลาย เช่น กระหนกลาย กระหนกก้านขด
ตอ่ มามีคำใช้วา่ “กนก” หมายถึง ทอง กนกปิดทอง กนกตู้ลายทอง แต่จะมีใช้เม่ือใดยงั ไม่มีหลักฐาน
แน่ชัด ซ่ึงคำเดิม “กระหนก” นี้เข้าใจเป็นคำแต่สมัยโบราณที่มีมาตั้งแต่สมัยทวาราวดี โดยเรียก
ติดต่อกันจนเป็นคำเฉพาะ หมายถึงลวดลายก้านขด ลายก้านปู ลายก้างปลา ลายกระหนกเปลว
เปน็ ต้น การเขยี นลายไทย ได้จดั แบง่ ตามลักษณะท่ีจัดเป็นแมบ่ ทใช้ในการเขียนภาพมี ๔ ลาย ด้วยกัน
คอื ลายกระหนก ลายนารี ลายกระบ่ีและลายคชะ เป็นตน้ ๙

ประเภทของศิลปะ

ในดา้ นประเภทของศลิ ปะซง่ึ แบง่ ออกตามความหมายดงั น้ี
๑. การแบง่ ประเภทของศิลปะตามจุดม่งุ หมายของการสร้าง แบง่ ออก ๒ ประเภท ได้แก่

(๑) วิจิตรศิลป์ เป็นศิลปะท่ีสร้างข้ึนเพ่ือให้ความรู้สึกทางสุนทรียภาพ ให้อารมณ์
สะเทอื นใจ สร้างความร้แู จง้ เหน็ จรงิ สร้างประสบการณ์ใหม่ หรอื เสรมิ สร้างสตปิ ญั ญาแก่ผชู้ ม

(๒) ประยุกต์ศลิ ป์ เปน็ ศิลปะท่สี ร้างขึน้ เพ่อื ใชป้ ระโยชนค์ วบคู่กันระหวา่ งสุนทรยี ภาพ
กับการใช้สอย เช่น ภาพ รูปทรง ลวดลายที่ใช้ตกแต่งอาคาร สีสันของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ที่ออกแบบให้เป็นที่พึงพอใจของผู้บริโภค ตลอดจนถึงเคร่ืองใช้สอยท่ีทำข้ึนด้วยฝีมืออันประณีต
เปน็ ตน้

๒. การแบ่งศลิ ปะตามลักษณะของสอื่ ในการแสดงออก
การแบ่งลักษณะนี้เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า สื่อสุนทรียภาพ มีองค์ประกอบสำคัญ เช่น
ลวดลาย เส้น สีสัน ปริมาตร เสียง ภาษา แสง เป็นต้น ซ่ึงแล้วแต่ลักษณะของศิลปะแต่ละสาขาที่มี
ความแตกตา่ งกันไปตามธรรมชาตขิ องการแสดงออก แบง่ ออกเป็น ๕ สาขา ไดแ้ ก่

(๑) จิตรกรรม (Painting) เป็นศลิ ปะทแ่ี สดงออกดว้ ยการใชส้ ี แสง เงา และแผน่ ภาพ
ทแ่ี บนราบเปน็ ๒ มติ ิ

(๒) ประติมากรรม (Sculpture) เป็นศิลปะที่แสดงออกด้วยการใชว้ ัสดุและปริมาตร
ของรปู ทรง

(๓) สถาปัตยกรรม (Architecture) เป็นศิลปะทแ่ี สดงออกดว้ ยการใช้วสั ดุ โครงสรา้ ง
และปริมาตรของท่ีวา่ งกบั รปู ทรง

(๔) วรรณกรรม (Literature) เปน็ ศิลปะท่แี สดงออกดว้ ยการใชภ้ าษา

๙ วกิ พิ เี ดยี สารานกุ รมเสรี, ลักษณะงานศลิ ปะไทย, [ออนไลน]์ , แหลง่ ท่ีมา : http://th.wikipedia.org
/wiki/ลกั ษณะงานศลิ ปะไทย [๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓].

๑๘

(๕) ดนตรีและนาฏกรรม (Music and Drama) เป็นศิลปะท่ีแสดงออกด้วยการใช้
เสียงหรอื ภาษาและความเคลื่อนไหวทางร่างกาย

การแบง่ ศิลปะตามลกั ษณะของการรบั สมั ผสั
มนุษย์มีประสาทสัมผัสทางตา หู จมูก ล้ิน และกาย แต่การรับสัมผัสท่ีมีผลต่อความ
พึงพอใจในสุนทรียภาพระดับสูงมี ๒ ทาง ได้แก่ ทางตาและทางหู ส่วนทางจมูก ล้ิน และกาย
เป็นช่องทางท่ีรับอารมณ์สุนทรียภาพระดับรองลงไป ศิลปินอาจใช้กล่ิน รส และสัมผัสเป็น
ส่วนประกอบในการแสดงออกทางศลิ ปะได้ ดงั น้นั การแบง่ ศิลปะลกั ษณะนีจ้ ึงสามารถแบ่งได้ ๓ สาขา
ได้แก่

(๑) ทัศนศิลป์ (Visual Art) เป็นศิลปะที่รับสัมผัสจากการมองเห็น ประกอบด้วย
จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพมิ พ์ และสถาปัตยกรรม

(๒) โสตศิลป์ (Aural Art) เป็นศิลปะท่ีรับสัมผัสด้วยการฟัง ได้แก่ ดนตรีและ
วรรณกรรมขับขานหรอื บทกวี

(๓) โสตทัศนศิลป์ (Audiovisual Art) เป็นศิลปะท่ีรับสัมผสั ด้วยการฟังและการเห็น
พร้อมกัน ได้แก่ นาฏกรรม การแสดง ภาพยนตร์ ซ่ึงเป็นการผสมกันของวรรณกรรมดนตรีและ
ทศั นศิลป์ บางทีกเ็ รยี กวา่ ศลิ ปะผสม (Mixed Art) ๑๐

การแบ่งประเภทศิลปะเช่นนี้ก็ไม่ได้เคร่งครัดมากนัก เพราะศิลปินอาจผสมส่ือต่างๆ
เข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้ผลของการแสดงออกและการรับสัมผัสสูงที่สุดเร่ิมตั้งแต่การผสมกันระหว่าง
ศิลปะท่ีใช้เคร่ืองมือรบั สัมผัสทางเดียวกันก่อน เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม นาฏกรรม
ดนตรี เป็นต้น ทำใหเ้ รียกศลิ ปะลักษณะนอ้ี กี อยา่ งว่า ศิลปะส่ือผสม (Mixed Media Art) ถงึ แม้ศิลปิน
จะแสดงศิลปะด้วยสื่อท่ีหลากหลาย แต่จะมีสอ่ื หลกั ส่อื หน่ึงเป็นโครงสร้างสำคัญ ส่วนส่ืออื่นๆ จะเป็น
ส่วนประกอบ ซ่ึงขึ้นอยู่กับเจตนาของศิลปนิ ท่จี ะตอ้ งการถ่ายทอดผลงานศลิ ปะน้ันๆ๑๑

๑๐ มลู นิธโิ ครงการสารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน,เร่ืองท่ี ๓ ประติมากรรมไทยสารานุกรมไทยสำหรับ
เยาวชนฯ, เล่มท่ี ๑๔ / เร่ืองท่ี ๓ / ประติมากรรมไทยสมัยอู่ทองและสมัยอยุธยา [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา :
http://saranukromthai.or.th/ [๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓].

๑๑ ชะลดู นิม่ เสมอ, องคป์ ระกอบของศลิ ปะ, พิมพค์ รั้งที่ ๗, (กรงุ เทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นต้ิงแอนด์
พับลชิ ช่งิ , ๒๕๓๕), หนา้ ๗.

๑๙

๒.๑.๒ แนวคิดการกำเนิดและพฒั นาการพุทธศลิ ปวัตถุสมยั ตา่ งๆ

เมื่อพระพุทธศาสนาได้แพร่ออกจากประเทศอินเดียไปยังนานาประเทศ รวมทั้งประเทศ
ไทยต้ังแต่การทำสังคายนาครั้งท่ี ๓ โดยมีพระเจ้าอโศกมหาราชเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก
ครนั้ ภายหลังเสร็จสิน้ การทำสังคายนา พระองค์ได้ส่งสมณทูตกระจายไปเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาถึง ๙
สาย คือ ทางทิศเหนือ จากแคว้นคันธาระไปยังประเทศ เปอร์เซียและจีน ทางทิศตะวันออกไปยัง
ประเทศลังกา พม่า มอญ และไทย ทางทิศใต้ ไปยังชวา สำหรับประเทศไทยมี หลักฐานท่ีอ้างอิงได้
คือ ธรรมจักรและกวางหมอบ ที่ขุดพบ ท่ีบริเวณปฐมเจดีย์ท่ีจังหวัดนครปฐม เป็นศิลปกรรมสมัย
ทวาราวดี มีอายุราวพุทธศตวรรษ ที่ ๑๐-๑๑ ศิลปกรรมดังกล่าว มีลักษณะเช่นเดียวกับศิลปะสมัย
เดยี วกบั ของอนิ เดีย หลัง จากน้ันพุทธศิลปวตั ถุได้วิวัฒนาการไปตามอิทธิพลของพุทธาสนาท่ีแผ่ไปใน
ยคุ หลังๆ เช่น ลังกา พุกาม และเขมร เป็นต้น๑๒ กำเนดิ และพัฒนาการพุทธศลิ ปวตั ถุตา่ งๆ เชน่ โบสถ์
วิหาร ศาลาการเปรยี ญ สถูป เจดีย์ ปราสาทหรือ พระปรางค์ในประเทศไทยทงั้ ในอดตี และปจั จุบนั น้ัน
ลว้ นมี ความเกี่ยวเนอ่ื งกับศาสนา ท้งั ศาสนาพทุ ธและศาสนาพราหมณ์ ซงึ่ มีแหล่งกำเนิดมาจากอนิ เดีย
แทบทั้งสิ้น ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า อิทธิพลของการสร้างสถาปัตยกรรมในอินเดียมีบทบาทต่อ การสร้าง
สถาปัตยกรรมไทย ดังทปี่ รากฏอยู่ท่วั ไป นับตัง้ แต่ พระพทุ ธศาสนาเร่มิ เข้าสู่ประเทศไทย ซ่งึ พระธรรม
ปฎิ ก (ประยทุ ธ์ ปยตุ โฺ ต) กล่าวไว้ในหนังสือ พระพุทธศาสนาใน เอเชยี โดยสรุปไดด้ ังนี้ คอื

พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศไทยหลายครั้ง และแต่ละคร้ังมีความแตกต่างกันทั้งใน
ดา้ นคำสอนและผล ของการเขา้ มาเผยแผ่ โดยสามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ ๔ ยคุ คือ

๑) ยคุ เถรวาทแบบอโศก
๒) ยคุ มหายาน
๓) ยคุ เถรวาทแบบพกุ าม
๔) ยคุ เถรวาทแบบลังกาวงศ์ ๑๓

๑. ยุคเถรวาทแบบสมัยอโศก
เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน พระพุทธศาสนาก็อยู่ในความดูแลของกษัตริย์
โดยเฉพาะผู้ที่ทรงเลื่อมใส เช่น พระเจ้าอโศกมหาราช เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๑๘ พระเจ้าอโศก
มหาราช ทรงอปุ ถัมภ์การสังคายนาคร้ังท่ี ๓ ณ นครปาฏลีบุตร หลงั จากเสร็จส้ินการสงั คายนา ได้ทรง
ส่งพระสงฆ์ไปประกาศพระพุทธศาสนาในดินแดนต่างๆ ร่วม ๙ สาย พระโสณะและพระอุตตระเป็น

๑๒ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), พระพุทธศาสนาในอาเซีย, (กรุงเทพมหานคร:ธรรมสภา.
๒๕๔๐), หน้า ๒๑๒.

๑๓ อ้างแล้ว พระพทุ ธศาสนาในอาเซยี , ๒๕๔๐, หน้า ๑๔๕.

๒๐

สายหนึ่งท่ีได้นำพระพุทธศาสนาไปประดิษฐานในดินแดนสุวรรณภูมิ ในยุคนี้นอกจากจะใช้ส่ือบุคคล
ซึ่งเปน็ สอื่ ที่สำคัญตลอดมาแลว้ ยงั มีสอื่ ทางศิลปะท่ีย่ิงใหญ่ตามมาอกี ดว้ ย เช่น พระปฐมเจดยี ์ เป็นต้น
บรรดาพระบรมธาตุท่ัวแดนเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ลว้ นสร้างตามคตเิ ดียวกัน คอื สร้างเพ่ือบรรจอุ ัฐิ
ธาตุของ พระมหากษัตริย์ผทู้ รงธรรม และทรงประดิษฐานนิพพาน ธรรมลงไวเ้ ป็นปกึ แผ่นในนครนน้ั ๆ
ยอดพระบรมธาตุ ประดิษฐานบนบัวรอง คือ พระนพิ พาน เป็นธรรมอันเป็น ยอดแห่งธรรม พระบรม
ธาตุท่ีมียอดบริวารสี่ยอด หมายถึง อริยสัจ ๔ แต่คนสมัยหลังไม่รู้ว่าพระบรมธาตุเลยเรียกว่า
ปรางค์ขอมไปตามร่องรอยในตำนานและทางโบราณคดี ปรากฏในสมยั กรุงพนมนั้น พุทธศาสนาแบบ
เถรวาทอนั บริสุทธิ์รุ่งเรืองไปท่ัวตลอดลมุ่ แม่นำ้ โขง ล่มุ แม่น้ำเจ้าพระยา และลุ่มแม่นำ้ ตาปี

ยคุ เถรวาทแบบสมัยอโศกนี้ ตรงกับสมัยทวารวดี (ระหว่าง พ.ศ. ๓๕๐-๑๒๐๐) พุทธศิลป์
ในยุคน้ีท่ีเป็นสถูปหรือ เจดีย์ปรากฏในภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออก เฉียงเหนือ
ของประเทศ๑๔

พุทธศิลป์ในสมยั ทวารวดี แบง่ ออกเป็น ๓ ยุค ดังน้ี
๑) ทวารวดีตอนต้น ส่วนใหญ่สร้างด้วยหิน ขนาดใหญ่ มีลักษณะคล้ายพุทธรูปในสมัย
คุปตะของอนิ เดยี แต่การสร้างยังไม่ประณตี ทำใหพ้ ระพุทธรูปในยคุ นีด้ คู ่อนขา้ ง กระด้าง
๒) ทวารวดีตอนกลาง การสร้างมีความ ประณีตกว่าตอนต้นมาก พระพักตร์มีลักษณะ
แบนกว้างและ สั้น เคร่งขรมึ พระโอษฐก์ วา้ งและแบะ พระเนตรโปน มที ้ังที่ สร้างดว้ ยหินแขง็ ทข่ี นาด
ใหญ่โต แบบลอยองคแ์ ละจำหลกั นูน กบั ท่สี รา้ งดว้ ยสำรดิ ซง่ึ มีขนาดเลก็ ประมาณครงึ่ ฟตุ
๓) ทวารวดีตอนปลาย เป็นลักษณะผสมผสาน กันระหว่างศิลปะศรีวิชัยและอทู่ อง พบที่
จังหวัดลำพูนและ เชียงใหม่ พระพุทธรูปในสมัยนี้ได้สร้างปางต่างๆ ๔๗ วารสารสถาบันวัฒนธรรม
และศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

๑๔ กรมศิลปากร, ววิ ฒั นาการพทุ ธสถานไทย, (กรงุ เทพมหานคร: บริษทั อมรนิ ทร์ พร้ินติ้งกรพุ๊ จำกดั ,
๒๕๓๓), หน้า ๒๑๕.

๒๑

ภาพที่ ๒.๓ พระพทุ ธรูปสมยั ทวารวดี

๒. ยคุ มหายาน
พุทธศักราช ๖๒๐ พระเจ้ากนิษกะมหาราช ทรง อุปถัมภ์การทำสังคายนาครั้งที่ ๔ ของ
ฝ่ายมหายาน ณ เมือง ชลันธร เม่ือเสร็จสิ้นการทำสังคายนาแล้ว ทรงส่งสมณทูต ออกไปประกาศ
พระพทุ ธศาสนาในเอเชียกลาง พระเจ้ามิ่งต้ี ทรงนำพระพุทธศาสนาเข้าไปเผยแผ่ในประเทศจีน และ
ต่อมาได้ส่ง ทูตสันถวไมตรีไปยังขุนหลวงเม้า กษัตริย์ไทยผู้ครอง อาณาจักรอ้ายลาว คณะทูตได้นำ
พระพุทธศาสนาเข้ามาด้วย ทำให้หวั เมืองท้ังหมดเหลา่ น้นั หันมานบั ถือพระพุทธศาสนาเปน็ คร้งั แรก
ต่อมาพุทธศักราช ๑ ๓๐๐ กษัตริย์แห่งศรีวิชัยใน เกาะสุมาตรา ซึ่งทรงนับถือ
พระพุทธศาสนามหายาน ได้ เผยแผ่อาณาเขตเข้ามาถึงจงั หวัดสรุ าษฏร์ธานี จึงทำให้ พระพุทธศาสนา
มหายานเผยแพร่เข้ามาทางภาคใต้ของ ประเทศไทย ในยุคดังกล่าวน้ีจึงเกิดสื่อทางศิลปะแบบ
มหายาน เช่น เจดีย์พระมหาธาตุนครศรีธรรมราชและรูปปั้น พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร เป็นต้น
ภาษาสันสกฤตจึงเข้ามามีอิทธิพลในภาษาและวรรณคดีไทยต้ังแต่นั้นเป็นต้นมา พระพุทธศาสนา
ในยุคน้ีตรงกับยุคศรีวิชัย (ระหว่าง พ.ศ. ๑๒๐๐-๑๗๐๐) พุทธศิลป์ท่ีเป็นสถูปเจดีย์จะมีรูปทรง
ส่ีเหลี่ยมและมียอดแหลมแบบมณฑป นอกจากจะปรากฏใน ภาคใต้เป็นส่วนใหญ่แล้ว ยังปรากฏ
แพร่หลายในอาณาจกั ร สุโขทัยและลำพูนด้วย เชน่ ท่ีเจดียว์ ัดเจด็ แถวและวัดอื่น ใน เมืองศรสี ัชนาลัย
ท่ีลำพูนปรากฏที่วัดเชียงยืนข้างวัดพระธาตุ หริภุญชัย ส่วนในจังหวัดอยุธยาน้ันไม่พบสถูปเจดีย์
ลักษณะ เช่นนี้ นอกจากน้ียังพบเจดีย์ลักษณะพุทธศิลป์ยุคมหายาน ในบริเวณภาคกลาง เช่น ที่วัด
สนามชัย อำเภอเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี ลักษณะของเจดีย์เป็นแบบฐานสี่เหลี่ยม องค์เจดีย์
แปดเหล่ียม ระฆังกลม บัลลังกแ์ ปดเหลยี่ ม ทส่ี ำคญั คือข้างใน จะกลวงและก่ออิฐไมส่ อปนู การเรยี งอิฐ
จะมลี กั ษณะแตกต่าง จากสมัยอยธุ ยา
พระพุทธรูปในยุคนี้จะมีพุทธลักษณะแบบเดียวกับ พระพุทธรูปสมัยอู่ทองและ
พระพุทธรูปพะเยา อันเป็นแบบ ร่วมสมัยกับศิลปะแบบปาละ ซึ่งในอินเดียจะมีลักษณะเป็น
พระพุทธรูปขดั สมาธิเพชร ส่วนพระพุทธรูปยุคศรีวชิ ัยน้ี พระพุทธรูปจะนั่งขดั สมาธิราบ เป็นพระปาง

๒๒

มารวิชัย จำหลัก ด้วยหินเนื้อละเอียด มีฐานสูง ที่ฐานมีรูปจำหลักนูนเป็นสิงห์ แบบปาละ หางงอ
เปน็ เส้นลวดขด สังฆาฏปิ ลายตัดเป็นเส้น ใหญ่ พระหัตถ์ขวามีน้ิวกางเหมอื นศิลปะปาละ

พระพุทธรูปในยุคน้ีที่พบมีจำนวนน้อย แต่จะพบ รูปพระโพธิสัตว์มากกว่า เน่ืองจาก
พระพุทธศาสนานิกาย มหายานจะนับถือพระโพธิสัตว์เป็นสำคัญ จะพบมากบริเวณ ภาคใต้ เช่น
จังหวัดสุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช และ สงขลา เป็นต้น ส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบที่
จงั หวัดมหาสารคามแต่มขี นาดเลก็ พระพทุ ธรูปในยุคนี้ทพ่ี บ มจี ำนวน ๖ ปาง คอื

๑) ปางมารวชิ ยั มที ง้ั นั่งขัดสมาธิราบ และขัดสมาธิ เพชร ทำดว้ ยโลหะ
๒) ปางลีลา ทำดว้ ยโลหะ
๓) ปางเสด็จลงจากดาวดงึ ส์ ทำด้วยโลหะ
๔) ปางโปรดสตั ว์ ทำดว้ ยโลหะ
๕) ปางประทานอภยั ทำด้วยโลหะ
๖) ปางนาคปรก ทำด้วยโลหะสำหรบั ปางสมาธิ ปางมหาปาฏิหาริย์ และปางเทศนา
พบแต่ท่ที ำเป็นพระพิมพ์

ภาพท่ี ๒.๔ ลกั ษณะพระพุทธรูปสมัยศรีวชิ ยั ราว พ.ศ. ๑๒๐๐
๓. ยุคเถรวาทแบบพกุ าม
เมื่อ พ.ศ. ๑๖๐๐ พระเจ้าอนุรุทธมหาราช หรืออโนรธามังช่อกษัตริย์พุกามเรืองอำนาจ
ทรงปราบรามัญ รวบรวมพม่าและมอญเข้าด้วยกัน ต่อมาทรงแผ่อำนาจเข้า มายังอาณาจักรล้านนา
ล้านช้าง จนกระท่ังจรดลพบุรีและ ทวารวดี กษัตริย์พระองค์นี้ทรงมีพระราชศรัทธาเลื่อมใส
พระพุทธศาสนาเถรวาทอย่างแรงกล้า ทรงให้การทำนุบำรุง พระพุทธศาสนาเป็นอย่างดี ทำให้
พระพุทธศาสนาในดินแดน เหล่าน้ีไดร้ ับความเจริญรงุ่ เรอื งอย่างรวดเรว็ ๑๕

๑๕ หลวงบรบิ าลบรุ ภี ณั ฑ์, พระพุทธรปู สมัยต่างๆ ในประเทศไทย, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพจ์ ำลอง
ศลิ ป.์ ๒๕๑๐, หน้า ๗๖.

๒๓

พุทธศิลป์ในยุคนี้จำแนกได้ ๒ ลักษณะ คือ แบบ สถูปทรงระฆัง ซ่ึงก่อด้วยอิฐต้ังบนฐาน
สี่เหล่ียมเปน็ ช้ันเชงิ ตัวสถูปบรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุ หรอื พระธาตุของพระอรหันต์ และอีกแบบหน่ึง
คือ วิหารมีช่องโค้งบรรจุพระพุทธรูป แปลนเป็นรูปส่ีเหล่ียม บางครั้งต่อชายคาออกมาจากช่องโค้ง
สว่ นยอดทำทรงรูประฆงั เลยี นแบบสถูป สถปู เจดีย์แบบ พกุ ามนีม้ ีลกั ษณะคลา้ ยกบั สถปู เจดยี ์ของลงั กา
ซ่งึ ส่งผลต่อ พทุ ธศิลป์สมัยล้านนา เช่น เชียงใหม่ ลำพูน ส่วนวัดใหม่ๆ ใน สมัยปัจจุบนั ก็ได้รับอิทธิพล
จากพม่ารนุ่ ใหม่ เรยี กว่าศิลปะ มอญพมา่ แพร่เข้ามาอยา่ งไม่ขาดตอน

๑) พุทธศลิ ปใ์ นสมัยหริภุญชัย (ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ หรือ ๑๔-๑๗)
พระพุทธรูปในสมัยหรภิ ญุ ชัยนที้ ่ีพบจะมีขนาดใหญ่ สรา้ งด้วยปูนปั้น เช่น พระพทุ ธรูปยืน
ประจุในซุ้มเจดีย์ ส่ีเหล่ียม วัดกู่กุด จังหวัดลำพูน และเศียรพระพุทธรูปจากท่ี ต่างๆ ท้ังปูนป้ัน
และดินเผา พระพักตร์มีลักษณะแบบเดียว กับท่ีพบท่ีเมืองลพบุรี ส่วนละเอียดคือพระศกกับขอบไร
พระศก เหมือนกบั ศลิ ปะแบบอูท่ อง๑๖

๒) พทุ ธศลิ ปะสมัยลพบุรี (ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๘)
พุทธศิลป์ในสมัยนี้ที่เป็นสถูปเจดีย์จะมีรูปแบบ การก่อสร้างตามแบบเทวสถานโบราณ
ในกัมพชู า ซ่ึงไดร้ ับ อิทธพิ ลการวางผังรปู แบบมาจากเทวาลัยและศิขรของ ศาสนาพราหมณ์ในอินเดีย
ใต้ เนื่องจากกษัตริย์ของขอม โบราณส่วนมากนับถือศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู แม้เม่ือ กษัตริย์
บางพระองค์จะหันมานับถือพระพุทธศาสนา มหายานกต็ าม การสรา้ งสถูปเจดียห์ รอื พุทธสถานต่างๆ
ก็จะใช้รูปแบบการก่อสร้างเทวสถานของศาสนาพราหมณ์ เพียงแต่ปรับเปล่ียนรูปเคารพมาเป็นรูป
พระโพธิสัตว์ของ มหายาน ส่วนภาพประกอบท่ีสลักตามหน้าบันและทับหลัง จะสลักเป็นเร่ืองราว
เก่ียวกับชาดกในพระพุทธศาสนาแทน รูปเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ ศิลปะของขอมในสมัยน้ีมี
อิทธิพลต่อการก่อสร้าง สถูปเจดีย์ในประเทศไทยเป็นอย่างมาก การก่อสร้างจะทำ ด้วยศิลาแลง
ขนาดใหญ่นำมาเรียงซ้อนกันโดยใช้น้ำหนักของ หินเป็นเครื่องถ่วงยึด ถ้าสร้างด้วยหินจะแกะสลัก
ลวดลาย อย่างสวยงาม ถ้าสร้างด้วยศิลาแลงจะฉาบปูนให้เรียบแล้ว ประดับลวดลายปูนป้ัน
การเรียงอิฐจะใช้แบบอิงลิซบอนด์ (English bond) พระพุทธศิลป์ในสมัยลพบุรีนี้เป็นฝีมือช่างขอม
ทำตามคติพุทธศาสนาเถรวาทซ่ึงได้รับมาแต่สมัยทวารวดี และมหายานคร้ังสมัยศรีวิชัย และขอม
นำมาแตก่ มั พชู าอีก ลักษณะพระพุทธรปู พระเกตมุ าลาเป็นตอ่ มเหมือนสมัย ทวารวดี แตเ่ ปล่ียนรปู ร่าง
ไปหลายอย่าง เช่น เป็นก้นหอยบ้าง เป็นฝาชีครอบบ้าง เป็นมงกุฎ เทวรูปบ้าง เป็นดอกบัวมี ๔๙

๑๖ น. ณ ปากนำ้ , ปกิณกะศิลปะไทยในสายตา น. ณ ปากน้ำ : พระพุทธรปู , กรุงเทพมหานคร:
เมืองโบราณ. ๒๕๔๓, หนา้ ๙๕.

๒๔

วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศลิ ปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กลีบรอบๆ บ้าง จะมีไรพระศก
เสมอกันแต่จะใหญ่กว่าของ สมัยศรีวิชัย เส้นพระศกมีหลายแบบ เชน่ เหมือนเสน้ ผมทั่วๆ ไป ขมวด
ละเอียดหรือหยาบบ้าง ศิราภรณ์ทำอย่างเทริด หรือ กระบังหน้าบ้าง พระพักตร์จะมีลักษณะกว้าง
พระโอษฐ์แบะ พระหนปุ ้าน ถ้าเป็นพระพุทธรูปยนื จะทำแบบห่มคลุม ถ้า เป็นพระพทุ ธรูปประทับน่ัง
ทำทง้ั แบบห่มคลุมและห่มดอง ชายสังฆาฏิยาวไปจรดพระนาภี ขอบอันตรวาสก (สบง) ข้าง บนเผยอ
เป็นสัน โดยมากพระกรรณยาวย้อยจนจดพระอังสา ถ้าเป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่จะทำเส้นพระศก
เป็นอย่าง บัวหลังเบ้ีย หรืออยา่ งเส้นผมคนทั่วๆ ไปก็มี และบางครั้งจะ ทำเป็นหนามขนุนก็มี ถ้าเป็น
พระพุทธรูปทรงเครื่องจะมีฉลอง พระศอ กำไลแขน และประคต

พระพุทธรูปในสมัยลพบุรีท่ีพบมี ๗ ปาง คือ ปางเสด็จจากดาวดึงส์ ปางประทานอภัย
ปางประทานพร ปางโปรดสัตว์ ปางนาคปรกมีทั้งอย่างเดียวและรัตนตรัย มหายาน คือ ชนิด
มพี ระพทุ ธรูปนาคปรก พระอาทิ พุทธเจา้ อยู่กลาง พระโพธิสัตว์ อวโลกิเตศวรอยู่ข้างขวา นางปญั ญา
ปารมิตาอยขู่ ้างซา้ ย ปางมารวชิ ัย ปางสมาธิ ขดั สมาธริ าบ

๔. ยคุ เถรวาทแบบลงั กาวงศ์
พระพุทธศาสนาในยุคน้ีคือแบบท่ีนับถือ สืบทอดมาเป็นศาสนาประจำชาติไทยจนถึง
ปจั จบุ ันน้ี แบง่ ออกเปน็ ๔ สมัย ไดแ้ ก่

๑) สมัยสโุ ขทยั พทุ ธศักราช ๑๘๐๐ อาณาจกั รพุกามและ กัมพูชาเส่ือมอำนาจลงและเป็น
เวลาเดียวกันท่ีคนไทยต้ังตัว เป็นอิสระทางหัวเมืองทางเหนือคืออาณาจักรสุโขทัย ขณะนั้น ตรงกับ
รัชสมัยของพระเจ้าปรากรมพาหุมหาราชแห่งลังกา พระองค์ทรงให้การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
เป็นอย่างดี ทำพระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรือง พระสงฆ์จาก ประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทย
ได้เดินทางไปศึกษา ธรรมวินัยท่ีประเทศลังกาแล้วนำมาเป็นแบบอย่าง นอกจากนี้ เม่ือคณะสงฆ์ที่ไป
จากประเทศไทยจะกลับได้นิมนต์พระสงฆ์จากลังกามาด้วย โดยมาตั้งสำนักและเผยแผ่
พระพทุ ธศาสนา เปน็ แห่งแรกทเ่ี มอื งนครศรีธรรมราช๑๗

ต่อมาถึงพุทธศักราช ๑๘๓๐ พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงเสด็จข้ึนครองราชย์
ทรงอาราธนา พระสงฆ์จากเมืองนครศรีธรรมราชไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังกรุงสุโขทัย มีการ
อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์ ซึ่งสร้างในลังกาข้ึนมาจากเมืองนครศรีธรรมราชมาประดิษฐาน ณ
เมืองสุโขทัย ศิลปแบบลังกาจึงเขา้ มาแทนศลิ ปแบบมหายาน เช่น เจดยี ์พระมหาธาตุ นครศรธี รรมราช

๑๗ พระมหาประภาส ปริชาโน, มองพทุ ธใหเ้ ขา้ ใจใน ๕ นาที, (กรงุ เทพเทพมหานคร: ธิงค์ บยี อนด์,
๒๕๕๓), หน้า ๖๘.

๒๕

ซ่งึ แต่เดิมเป็นแบบมหายานแปลงรูปมาเป็นสถปู แบบลังกา เป็นต้น พุทธศักราช ๑๘๙๗ พระเจ้าลิไท
ซึ่งเป็น พระมหากษัตริย์องคท์ ่ี ๔ แห่งราชวงศ์สโุ ขทัยทรงอาราธนา พระสังฆราชจากลังกามายังกรุง
สุโขทัย ต่อมาพระองค์ได้เสด็จ ออกผนวชเป็นการช่ัวคราว ณ วัดอรัญญิกและได้ทรงพระราชนิพนธ์
หนังสือเตภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วงข้ึนมา เพื่อใช้เป็นหนังสือสอนศีลธรรมแก่ประชาชนด้วย
พระองค์เอง สำหรับสมัยล้านนาไทยซ่ึงตรงกับสมัยสุโขทัย เจ้าเมืองหลายพระองค์ได้ทรงให้การ
อปุ ถัมภ์บำรุง พระพุทธศาสนาเปน็ อย่างดี มกี ารสรา้ งศลิ ปวัตถุที่เก่ยี วข้องกบั พระพุทธศาสนามากมาย
เช่น พระเจ้าเม็งราย ได้ทรงสร้างวัดเชียงม่ัน พระเจ้ากือนาทรงสร้างพระธาตุเจดีย์ที่วัดบุปผาราม
หรือวัดสวนดอก และพระธาตุดอยสุเทพ ต่อมาถึงรัชสมัยของพระเจ้าสามฝ่ังแกนได้มีการพบ
พระแกว้ มรกตในสถูปใหญเ่ ก่าแกอ่ งค์หนงึ่ ท่ถี กู ฟ้าผ่าและได้รับความเสยี หาย ต่อมาถึงสมัยของพระเจ้า
ติโลกราช กษัตริย์พระองค์น้ีทรงมีราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างแรงกล้า ทรงส่งพระสงฆ์
ไปศึกษาพระพุทธศาสนาท่ีประเทศลังกา เมื่อพระสงฆ์เหล่านี้เดินทางกลับจากลังกาได้นำต้น
พระศรีมหาโพธิ์มาดว้ ยในรัชสมัยของพระองคท์ รงโปรดให้มีการทำสังคายนาขึ้น ณ วัดโพธาราม หรือ
วัดเจ็ดยอด การทำสังคายนาคร้ังนี้เป็นการทำสงั คายนาครั้งแรกในประเทศไทย และนับเป็นครั้งที่ ๘
ต่อจากลังกาในช่วงเวลาระยะนี้เป็นระยะรุ่งเรืองแห่งวรรณคดีทางพระพุทธศาสนาของล้านนาไทย
เนื่ อ ง จ าก มี พ ร ะ ส ง ฆ์ ห ล าย รู ป ที่ เป็ น นั ก ป ร าช ญ์ แ ต่ ง คั ม ภี ร์ท าง พ ร ะ พุ ท ธ ศ าส น าเป็ น ภ าษ า บ า ลี
หลายปกรณ์ เช่น พระสิริมังคลาจารย์แต่ง มังคลัตถทีปนีเวสสัน ตรทีปนี จักกวาฬทีปนี สังขยา
ปกสกฎีกา พระญาณกิตติ แต่งโยชนาวินัย โยชนาอภิธรรม เป็นต้น พระรัตนปัญญาแต่งวชิรสารัตถ
สังคหะ และชินกาลมาลีปกรณ์ พระโพธิรังษีแต่งจามเทวีวงศ์ พระนันทาจารย์แต่งสารัตถสังคหะ
พระสุวรรณ รังสีแต่งปฐมสมโพธิสังเขป นอกจากนี้แล้วปัญญาสชาดกก็สันนิษฐานว่าแต่งในยุคนี้
เชน่ เดียวกนั

๒) สมัยอยุธยา การนับถือพระพุทธศาสนาในยุคนี้เน้นในด้านการทำบุญ กุศล
บำรุงพระสงฆ์ สร้างวัด ปูชนียวัตถุและปูชนียสถาน การบำเพ็ญเพียรทางจิตมุ่งเน้นเพื่อให้เกิดความ
ขลังและความศักดิ์สิทธิ์ มีความเชื่อเรื่องเวทย์มนตร์คาถา อาคมและไสยศาสตร์เข้ามาปะปนอยู่มาก
พระมหากษัตริย์ให้การอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนาเป็นอย่างดี พระมหากษัตริย์บางพระองค์
มีพระราชศรัทธาอย่างแรงกล้าเสด็จออกผนวชเป็นการชั่วคราว ส่วนประชาชนท่ีมีฐานะร่ำรวยนิยม
สร้างวัดไวป้ ระจำตระกูล มวี รรณกรรมหลายเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับพระพุทธศาสนาเกดิ ขึ้นในยคุ นี้

๓) สมัยกรุงธนบุรี พุทธศักราช ๒๓๐๑ สมเด็จพระเจ้าตากสิน เสด็จขึ้นครองราชย์ ณ
กรุงธนบุรี ทรงอาราธนาพระภิกษุ ผู้รู้ธรรม มีศีลาจารวัตรจากเมืองต่างๆ เข้ามา ทรงแต่งต้ังเป็น
พระราชาคณะ ช่วยรับภาระบำรุงพระพุทธศาสนา ต่อมาปี พุทธศักราช ๒๓๒๒ ได้อัญเชิญพระแก้ว
มรกตมาจากเมืองเวียงจันทน์ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมคัมภีร์พระไตรปิฎกจากหัวเมืองต่างๆ
มาเลือกคัดเป็นฉบับหลวง แต่ยังไม่ทันที่งานจะสำเร็จเรียบร้อยบริบูรณ์ก็ส้ินรัชกาลเสียก่อน ๕๑

๒๖

วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในรัชสมัยของพระองค์แม้จะมี
ระยะเวลาเพียงสัน้ ๆ แต่พระองค์ทรงมีพระทัยฝกั ใฝใ่ นพระพุทธศาสนาและการบำเพ็ญกรรมฐานมาก

๔) สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศิลป์ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จะยึดแบบศิลปกรรม
เช่นเดียวกับสมัยอยุธยาเป็นหลักจะให้ความสำคัญกับอุโบสถเป็นอันดับแรก วิหารเป็นอันดับที่สอง
และพระสถูปหรือเจดีย์เป็นอันดับท่ีสาม สำหรับพระสถูป หรือเจดีย์จะแตกต่างจากสมัยอยุธยา
คือ มีการก่อสร้างที่ประยุกต์และเพ่ิมเติมรายละเอียดความวิจิตรพิสดารมากข้ึน ดังจะเห็นได้จาก
พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามที่มีรูปทรงแบบลังกา แตจ่ ะเพิ่มการตกแต่งที่องค์ระฆัง ส่วนเจดีย์จะมี
การ สรา้ งโดยเพิ่มย่อมุมมากขึ้นเป็นย่อไมส้ ิบหกและยอ่ ไม้ยีส่ ิบ จำนวนบัวกลมุ่ ทปี่ ลียอดก็เพ่ิมมากข้ึน
ในระยะเริ่มแรกของการสถาปนา กรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานแี ห่งใหมน่ ้ันพระบาทสมเด็จ พระพุทธ
ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงโปรดให้มีการสถาปนาและบูรณะวัดวาอารามต่างๆ ท่มี ีสภาพชำรุดทรุด
โทรมขึ้นมาใหม่ ในด้านประติมากรรมไม่มีการสร้างสรรค์ส่ิงใดมากนัก เนื่องจากทรงเห็นว่ายังขาด
ความพร้อมในด้านตา่ งๆ วัดตามหัวเมืองต่างๆ ที่เป็นโบราณสถาน หรือมีโบราณวัตถุที่มีความเก่าแก่
ล้ำค่าขาดการดูแลรักษา ถูกทอดท้ิงให้ได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติและผู้ร้ายใจทมิฬ จึงมี
พระบรมราชโองการให้อัญเชญิ พระพุทธรูปตามหัวเมืองต่างๆ มาไวใ้ นกรงุ เทพมหานคร ซงึ่ มีจำนวนถึง
๑,๒๘๔ องค์ ประกอบด้วยยุคต่างๆ เช่นยุคเชียงแสน ยุคสุโขทัย ยุคอู่ทอง และยุคกรุงศรีอยุธยา
โดยนำมาจากเมอื งศรสี ชั นาลัย สโุ ขทยั พิษณุโลก กําแพงเพชร ลพบุรีและอยุธยา พระพุทธรปู บางองค์
ชำรุดเสียหาย ทรงโปรดใหช้ า่ งซ่อมแซมให้มสี ภาพดีดงั เก่า แลว้ โปรดให้นำไปประดษิ ฐานตามวัดตา่ งๆ

ในสมัยรัชกาลที่ ๑ ยังมีการสร้างพระพทุ ธรูปทรงเครอ่ื งต้นอยา่ งจักรพรรดิราชจำนวน ๒
องค์ หล่อด้วยสำริดเป็นพระพุทธรูปปางห้ามญาติหรือปางทรมานท้าวชมพุพาน สำหรับพระปฏิมา
ประธานทสี่ รา้ งด้วยปนู ปัน้ ในสมยั น้ี ได้แก่ พระประธานในพระอโุ บสถวดั มหาธาตุ (วัดสลกั ) ซง่ึ เป็นวัด
ที่สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาถทรง ปฏิสังขรณ์ จัดเป็นพระพุทธรูปองค์แรกของ
กรงุ รตั นโกสินทร์๑๘

ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั รัชกาลที่ ๒ แห่งกรงุ รัตนโกสินทร์
พระองค์ทรงมีพระอัจฉรยิ ภาพหลายด้าน ท้ังด้านกวีและด้านศิลปะ มีผลงานมากมายที่เหลือปรากฏ
อยู่ในเวลานี้ ทรงป้ันหุ่น พระพักตร์พระปฏิมาประธานในพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม และวัด
ราชสทิ ธาราม ตอ่ มาถงึ สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลา้ เจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ ๓ พระพทุ ธศาสนา
มีความเจริญ รุ่งเรืองมาก เน่ืองจากบ้านเมืองมีความสงบสุข ไม่มีภัยจาก สงครามจากต่างประเทศ

๑๘ สงวน รอดบญุ , พุทธศิลป์รตั นโกสินทร์, (กรุงเทพเทพมหานคร: โรงพิมพก์ ารศาสนา. ๒๕๒๖), หน้า
๑๑๔.

๒๗

นอกจากนี้ ยังมีการคา้ ขายติดต่อ กับต่างประเทศทำใหไ้ ด้รบั อารยธรรมทางดา้ นการก่อสร้าง เพมิ่ เติม
จากต่างชาติ พุทธศิลป์ต่างๆ ในพระพุทธศาสนาจึงมีรูปแบบหลากหลายเพ่ิมขึ้นในยุคนี้ แต่อย่างไร
ก็ตาม ศาสนวัตถุที่สร้างโดยเฉพาะเจดีย์ยังนิยมทำตามแบบอยุธยาตอนปลาย พระปรางค์และเจดีย์
ยังคงสร้างแบบย่อมุมเป็นพ้ืนจนกระท่ังในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีความ
นยิ มการสรา้ งเจดยี ท์ รงกลม ซง่ึ เป็นเห็นแบบอยา่ งมาจากทางหัวเมอื งฝา่ ยเหนอื เจดยี ์ ลักษณะน้ไี ด้เป็น
แบบอย่างของการสร้างในเวลาต่อมาด้วย ในช่วงระหว่างรัชกาลที่ ๔ และ ๕ นี้ ประเทศไทยได้รับ
อิทธิพลจากต่างประเทศ ท้ังยุโรป และอเมริกา การสร้างพระพุทธรูปในสมัยน้ีจึงมีลักษณะใกล้เคียง
กับมนุษย์ทั่วไปเช่น ป้ันจีวรเป็นริ้ว บนพระเศียรไม่มีต่อม พระเมาลี พระพุทธรูปท่ีสร้างในสมยั นี้ เช่น
พระสัมพุทธพรรณี และพระนิรันตราย เป็นต้น ต่อมาถึงสมัยรัชกาลที่ ๖ จนถึง รัชกาลปัจจุบัน
ปฏิมากรรมการสร้างพระพุทธรูปจึงเน้นเหมือนคนจริงมากข้ึน๑๙ การสร้างพุทธเจดีย์ได้เร่ิมหายไป
พร้อมกับ การสร้างวดั ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริว่า
วัดต่างๆ ที่สร้างข้นึ แต่ รัชกาลก่อนๆ มีจำนวนมาก จนยากแก่การดูแลรักษาโดยทั่วถึง จึงไม่โปรดให้
สร้างเพิ่มเติมขึ้นอีกและประเพณีการสร้าง วัดประจำรัชกาลก็ได้เลิกล้มไปในรัชกาลนี้ด้วยเช่นกัน
ปจั จุบนั นีค้ ตใิ นการสร้างสถปู เจดียเ์ พ่ือเป็นประธานหลักของวดั ไดเ้ ริ่มเปลี่ยนแปลงไป ซ่ึงแม้ว่าจะยังคง
มกี ารสรา้ งอยบู่ ้างแต่กไ็ ดถ้ ูกลดหนา้ ทแ่ี ละความสำคัญลง โดยที่โบสถ์ได้เข้ามามีบทบาทในฐานะที่เป็น
ตัวแทนของวัดเพ่ิมมากข้ึน สถูปเจดีย์ส่วนใหญ่ที่สร้างมักอยู่ในรูปของเจดีย์ ๕๒ ราย ประดับตาม
ศาสนสถาน รวมท้ังเป็นทใี่ ช้สำหรับบรรจุอัฐิของพระสงฆ์และพุทธศาสนิกชนท่ัวไปเช่นเดียวกับคติใน
การสร้างสถูปเจดีย์อันมีมาแต่ก่อนพุทธกาลน่ันเอง สำหรับการสร้างพระพุทธรูปในประเทศไทย
ในปจั จบุ ันไม่มีหลกั เกณฑ์ทแี่ น่นอนตายตัว ขึ้นอย่กู ับความพอใจหรอื ตามคติความเช่อื และโอกาสต่างๆ
ของ ผสู้ ร้าง โดยเริม่ จากความศรัทธาต่อพระพทุ ธเจ้า ซ่งึ เรียกวา่ พุทธานุสติ และปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรม
คำสั่งสอนของพระพุทธองค์ จากน้ันจึงพัฒนาความเช่ือซึ่งเป็นนามธรรมออกมาเป็นรูปธรรมได้แก่
สถาปัตยกรรม ประติมากรรมและ วิจิตรศิลป์ต่างๆ ท่ีแฝงไวด้ ้วยคติธรรม และปริศนาธรรมมากมาย
ให้คนคิดคน้ และศึกษาตีความ บทสรุป จากการศกึ ษาทำใหท้ ราบวา่ การสรา้ งพระพุทธรูปนั้น เกดิ จาก
ความเคารพความศรัทธาเล่ือมใสอันเป็นมูลเหตุให้เกิดความรักและความผูกพันต่อพระพุทธเจ้า
พุทธศิลป์ท่ีปรากฏในประเทศไทยนั้น มีท้ังที่เป็นสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม
พทุ ธศิลป์เหล่านี้ได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนาทั้งสิน้ เกิดจากจนิ ตนาการของนายช่างแตล่ ะยุค
สมัยที่พยายามสร้างพุทธศลิ ป์อันเป็นสัญลักษณ์แทนพระบรมศาสดาให้ปรากฏเป็นรูปธรรม จากช่วง

๑๙ พระมหาวิชาญ เล่ียวเส็ง, “พุทธศิลป์กับการท่องเที่ยว : ศึกษาบทบาทของวัดในการอนุรักษ์พุทธ
ศิลป์เพื่อการท่องเที่ยว”, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวทิ ยาลัย : มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๔),
หนา้ ๑๔๒.

๒๘

ระยะ เวลาท่ีผ่านมาจึงทำให้เห็นความหลากหลายของพระพุทธรูป ท้ังรูปลักษณ์ อัตลักษณ์ คุณค่า
ความงาม และความศรัทธา ความโดดเด่นของพุทธศิลป์ในแต่ละแบบที่เกิดข้ึนใน ระยะเวลาเดียวกัน
หรือใกล้เคียงกัน พุทธศิลป์แบบท่ีโดดเด่นท่ีสุดในประเทศไทย เช่น พุทธศิลปะแบบหริภุญไชย
ถูกผนวก รวมในพุทธศิลป์แบบทวาราวดี พุทธศิลป์แบบเชียงแสน-ล้านนา อาจจะผนวกรวมไว้กับ
ศิลปะแบบสุโขทัย ส่วนพุทธศิลป์แบบสุพรรณภูมิและอโยธยา หรืออู่ทองก็อาจจะนำมารวมไว้กับ
ศิลปะแบบอยุธยา แต่อย่างไรก็ตามพุทธศิลป์ในประเทศไทยกย็ ังถือได้ว่าเปน็ พทุ ธศิลป์ทงี่ ดงามตามยุค
สมัยควรค่าแก่การเทิดทูนบูชาและรักษาไว้ให้เป็นศาสนวัตถุอันเป็นส่ือท่ีจะชักนำพุทธศาสนิกชน
ได้เข้าถงึ พทุ ธธรรมและจะนำไปสูก่ ารปฏบิ ัตติ ามรอยธรรมของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ตอ่ ไป๒๐

สรุปได้ว่า กำเนิดและพัฒนาการของพุทธศิลป์ท่ีปรากฏในประเทศไทยน้ัน มีทั้งที่เป็น
สถาปัตยกรรม ประติมากรรม และ จิตรกรรม พุทธศิลป์เหล่าน้ีไดร้ ับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา
ท่ีมาจากอินเดียในชว่ งสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ท่ีได้จัดสง่ พระสมณทูตออกเผยแผ่พระพุทธศาสนา
นอกจากชมพูทวีป โดยเฉพาะปฏิมากรรมนั้น พระพุทธรูปถือว่าเป็นองค์เปรียบ หรือสัญลักษณ์
แทนพระพุทธเจ้าเป็นหลักฐานสำหรับให้คนรุ่นหลังทราบว่า พระพุทธเจ้าทรงเป็นปูชนียบุคคลท่ีมี
พระองค์อยู่จริง ความโดดเด่นของพุทธศลิ ปใ์ นแต่ละแบบที่เกิดขึ้นในระยะเวลาเดียวกันหรือใกลเ้ คียง
กัน เช่น พุทธศิลป์แบบหริภุญไชยถูกผนวกรวมในพุทธศิลป์แบบทวารวดี พุทธศิลป์แบบเชียงแสน-
ลา้ นนา อาจจะผนวกรวมไว้กับศิลปแ์ บบสโุ ขทยั ส่วนพุทธศิลป์แบบสพุ รรณภูมแิ ละอโยธยา หรืออู่ทอง
ก็อาจจะนำมารวมไว้กับศิลปะแบบอยุธยา อิทธิพลของการสร้างสถาปัตยกรรมในอินเดียมีบทบาท
ต่อการสร้างสถาปัตยกรรมไทยดังท่ีปรากฏอยู่ท่ัวไป นับต้ังแต่พระพุทธศาสนาเริ่มเข้าสู่ประเทศไทย
เปน็ ตน้ มา

๒.๑.๓ แนวคิดพุทธศลิ ป์ในพระพุทธศาสนา
พุทธศิลป์ ซึ่งหมายถึงศิลปกรรมท่ีเกิดขึ้นจากอิทธิพลคำสอนของพระพุทธเจ้า ท้ังที่เป็น

สถาปัตยกรรม ปฏิมากรรม และจิตรกรรมศิลปกรรมต่างๆ เป็นต้นกำเนิดของศิลปกรรมที่เรียกว่า
“พุทธศิลปวัตถุ”เพราะเกิดจากความรู้สึกนึกคิดและศรัทธาเล่ือมใสของผู้สร้างได้อุทิศศิลป

๒๐ พระมหาสากล สุภรเมธี (เดินชาบัน) พระราชปริยัติวิมล (ศรีสุระ), “กำเนิดและพัฒนาการพุทธ
ศิล ป วัตถุสมัยต่างๆ ในป ระเท ศ ไทย THE ORIGIN AND DEVELOPMENT OF THE BUDDHIST ARTS IN
THAILAND”, วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอด็ , (กันยายน ๒๐๑๗ – มกราคม ๒๐๑๘).

๒๙

สถาปัตยกรรมเพ่ือพระพุทธศาสนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นที่ประกอบพิธีกรรมทาง
พระพทุ ธศาสนา ส่งิ ก่อสรา้ งเหล่าน้ีมีความหมายโดยสังเขปดงั น้ี

เจดยี ์ในพระพุทธศาสนา

เจดียใ์ นพระพทุ ธศาสนามีปรากฏอยใู่ นตำราเก่าเชน่ มหาปรนิ ิพพานสูตรและมิลนิ ทปัญหา
อยู่ ๔ ประการ คอื ธาตุเจดีย์ บรโิ ภคเจดีย์ ธรรมเจดยี ์ อเุ ทสิกเจดยี ์๒๑

(๑) ธาตุเจดีย์ คอื พระสถปู ที่บรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตขุ องพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้
(๒) บริโภคเจดยี ์ คือ พระสถปู หรือสถานที่ ที่เป็นสังเวชนีย์สถาน ๔ แห่ง หรือทท่ี รง
แสดงปาฏหิ าริย์ ๔ แห่งบรรจุของใช้ และวัตถทุ ่เี กย่ี วข้องกับพระพุทธองค์
(๓) ธรรมเจดีย์ คือ พระธรรมคำส่ังสอนของพระพุทธองค์ เช่น พระธรรมคัมภีร์
พระไตรปิฎก
(๔) อุเทสิกเจดีย์ คือ สิ่งอื่นๆ ท่ีสร้างขึ้นโดยปรารถนาจะให้ระลึกถึงพระพุทธองค์
เชน่ พระพิมพ์ พระพุทธรปู พระสถปู รอยพระพุทธบาท

มลู แหง่ พุทธเจดยี ์ ๔ ประเภท

มูลเหตุท่ีจะเกิดเจดีย์น้ันมีว่าเม่ือพระองค์ทรงประชวรใกล้จะเสด็จเข้าสู่ปรินิพพาน ณ
ดงไม้สาละวันแขวงเมืองกุสินารา พระอานนทเถรเจ้าผู้เป็นพุทธอุปัฏฐากทูลถามถึงการท่ีพุทธสาวก
จะควรปฏิบัติต่อพระพุทธสรีระฉันใด มีพระพุทธฎีกาตรัสว่าให้พระภิกษุท้ังหลายมุ่งหมายดับทุกข์
ดับกเิ ลสอนั เป็นประโยชนต์ อ่ ต้นเถิด อยา่ เป็นกังวลด้วยการบูชาสรีระของพระตถาคตเลย พวกกษัตรยิ ์
และฆราวาสท้ังหลายเขาคงทำฌาปนกิจแล้วสร้างสถูปบรรจุสารีริกกธาตุเหมือนอย่างพระเจ้า
จกั รพรรดกิ อ่ นมาดงั น้ี๒๒

มลู แหตุแห่งพระธาตุเจดยี ์

พระสถูปซึ่งเรามักเรียกว่า “เจดีย์” น้ันมีประเพณีสร้างสำหรับบรรจุอัฐิธาตุมาแต่ก่อน
พุทธกาล ไมเ่ ฉพาะพระจักรพรรดเิ ทา่ น้ัน แต่สำหรบั บุคคลอ่ืนๆ ก็มีดงั ปรากฏในคมั ภรี ์อรรถกถาธรรม
บท ว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าโปรดให้สร้างสถูปบรรจุอัฐิธาตุให้พระพาหิยพุทธสาวกท่ีมรณภาพเพราะ
ถูกโคชน สถูปในชั้นเดิมเป็นแต่พูนดินข้ึนเป็นโคกลงเขื่อนรอบกันดินพังประดับปักร่มฉัตร เมื่อนิยม
นับถือพระธาตุเจดีย์จะตกแต่งพระสถูปให้งดงามวิจิตรข้ึนเป็นทรงโอคว่ำ ทำฐานทักษิณ มีบัลลังก์

๒๑ ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ตำนานพุทธเจดีย์,
พิมพ์ครง้ั ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ครุ ุสภา, 2551, หน้า ๒๐.

๒๒ เรือ่ งเดยี วกนั , หนา้ ๒๑.

๓๐

อยู่บนหลังสถูปแล้วต่อฉัตรเป็นยอด ของเหล่านี้นี่จะเกิดขึ้นเม่ือพระพุทธศาสนารุ่งเรืองจนถึงเป็น
ประธานประเทศ ตงั้ แตส่ มัยพระอโศกมหาราชเป็นต้นมา

- มูลเหตุแห่งบริโภคเจดีย์

เม่ือพระพุทธองค์ทรงประชวรใกล้เสด็จเข้าสู่พระนิพพาน พระอานนทเถรเจ้า ได้ทูล
ปรารภว่าเหล่าภิกษุจะพากันวา้ เหว่เพราะมไิ ด้เฝา้ แหนเห็นพระองค์อีกต่อไป พระองคจ์ ึงทรงอนุญาต
ที่สังเวชนียสถาน ๔ แห่งสำหรับพุทธสาวกจะไดเ้ ห็นพระองค์ดว้ ยการไปปลงธรรมสังเวชได้ในที่ทั้ง ๔
นน้ั คอื ๑. ที่ทรงประสูติ ๒. ท่ีทรงตรัสรู้ ๓. ทท่ี รงแสดงปฐมเทศนา ๔. ทท่ี รงปรินิพพาน

สังเวชนยี สถาน ๔ แห่งนี้ จึงเป็นบรโิ ภคเจดีย์โดยพระบรมพุทธานุญาตนอกจากนี้พระสถูป
ท่บี รรจุ พระอังคารเถ้าถ่าน ท่เี มืองปิปผลิวัน และพระสถปู ท่ีบรรจุทะนานตวงพระธาตุท่เี มืองกสุ ินารา
กจ็ ัดเป็นบริโภคเจดีย์ดว้ ยเช่นกัน

ภายหลังได้มีการสรา้ งบริโภคเจดยี ์เพมิ่ อกี ๓ สถานทที่ รงแสดงปาฏิหาริย์ คอื
(๑) สถานทพ่ี ระพุทธเจ้าทรงเสด็จลงจากดาวดึงสวรรค์ ณ เมือง สังกสั
(๒) สถานท่พี ระพทุ ธเจา้ ทรงทำยมกปาฏิหาริย์ ณ เมือง สาวตั ถี
(๓) สถานท่ีพระพุทธเจ้าทรงทรมานพญาวานร ณ เมอื ง เวสาลี

แห่ง คอื อีกทั้งยังมีบริโภคเจดีย์อีก ๑๐ แห่งท่ีบรรจุเคร่ือง พุทธบริขาร ของพระพุทธเจ้าอีก ๑๐

(๑) กายพนั ธ์กบั บาตร อยู่ ณ เมอื งปาฏลบี ตุ ร
(๒) ผ้าอุทกสาฎก อยู่ ณ เมอื งปญั จาลราฐ
(๓) ผ้าจัมขันธ์ อยู่ ณ เมอื งโกศลราฐ
(๔) ไม้สพี ระทนต์ อยู่ ณ เมืองมิถลิ า
(๕) ผ้ากรองน้ำ อยู่ ณ เมอื งวิเทหราฐ
(๖) มดี กบั กล่องเข็ม อยู่ ณ เมอื งอินทปัตถ์
(๗) รองพระบาตรและถลกพระบาตร อยู่ ณ บา้ นอสุ สพิ ราหมณคาม
(๘) เครื่องลาด อยู่ ณ เมืองมกุฏนคร
(๙) ผ้าไตรจวี ร อยู่ ณ เมอื งภทั ราฐ
(๑๐) นิสีทนสันถตั อยู่ ณ เมอื งกรุ รุ าฐ

มลู เหตุแห่งธรรมเจดยี ์

ผ้เู ลือ่ มใสในพระพุทธศาสนาบางพวกอยู่หา่ งไกลเจดีย์ทมี่ อี ยู่ในครงั้ น้ัน ใครจ่ ะมีเจดยี ส์ ถาน
บูชาบ้างจึงมีผู้รู้พระบรมพุทธาธิบายแนะให้เขียนพระธรรมลงเป็นตัวอักษรประดิษฐานไว้เป็นที่บูชา

๓๑

โดยอ้างพระพุทธบรรหาร ซึ่งตรัสว่าพระธรรมจะแทนพระองค์น้ัน จึงเกิดมีประเพณีสร้างธรรมเจดีย์
ขึน้ มกั เลอื กเอาพระธรรมทเ่ี ป็นหวั ใจพทุ ธศาสนาเช่น คาถา พระอรยิ สัจ มาจารึกเปน็ ธรรมเจดยี ว์ ่า

“เย ธมฺมา เหตุปปฺ ภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต (อาห)

เตสญจฺ โย นโิ รโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณ”

“ธรรมเหลา่ ใด เกดิ แต่เหตุ มีเหตุเป็นแดนเกิด ตถาคตเจ้าทรงแสดงเหตแุ หง่ ธรรมเหล่านั้น
เมอ่ื สน้ิ เหตุ เหล่านน้ั จึงดับทกุ ข์ได้ พระมหาสมณทรงมปี กติตรสั อยา่ งนี”้

คร้ันต่อมา ถึงสมัยเมื่อเขียนพระธรรมวนิ ัยลงเป็นตัวอักษรแล้วก็นับถือคมั ภรี พ์ ระไตรปิฎก
ว่าเป็นพระธรรมเจดยี ์ดว้ ย

- มลู เหตแุ ห่งอเุ ทสกิ ะเจดยี ์

เป็นของสร้างขึ้นโดยเจตนาอุทิศต่อพระพุทธเจ้า ไม่กำหนดว่าต้องทำเป็นอย่างไร
ในเบ้ืองแรกอุเทสิกเจดีย์ที่นิยมทำกันได้แก่ พุทธบัลลังก์อาศัยประเพณีอันมีมาต้ังแต่ครั้งพุทธกาล
ที่พุทธสาวกย่อมจัดอาสนะไว้รับเสด็จพระองค์ในเวลาเม่ือไปโปรดสัตว์ ณ ท่ีนั้นๆ เรียกกันว่า
อาสนบูชา เป็นอุเทสิกเจดีย์ มีขึ้นก่อนอย่างอ่ืน นอกจากนี้พระเจดีย์ พระสถูป พระปรางค์
พระพทุ ธรูป รอยพระพุทธบาท ฯลฯ ก็จัดเปน็ อุเทสิกเจดีย์ อกี ด้วย

ดังน้ันประเทศอินเดียมีกฎของอารยธรรมในศิลปะที่สืบทอดพลังแห่งขนบประเพณี
ของอินเดีย มีอยู่ในศิลปะเช่นเดียวกับในศาสนาแม้ว่าประเทศอินเดียจะได้รับอิทธิพลมาจาก
อารยธรรมอ่ืนๆ แต่ก็ได้นำมาดัดแปลงให้เข้ากับประเพณีของตนอยู่เสมอ อาจยกตัวอย่างได้ ๒ ข้อ
ดังตอ่ ไปน้ี คอื

(๑) สถาปัตยกรรมที่ขุดเข้าไปในภูเขา แม้ว่าประเทศอินเดียอาจได้รับวิธีการ
หรอื ความคิดมาจากประเทศอิหร่าน แต่ก็ไดด้ ัดแปลงถ้ำเหล่าน้ันใหเ้ ลียนแบบเคร่ืองไม้ซึ่งเป็นลักษณะ
ของตนเองอย่างแท้จรงิ

(๒) การสร้างพระพุทธรูป แม้ว่าอาจได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะกรกี แต่ในประเทศ
อินเดยี พระพุทธรูปก็เลยี นแบบมาจากเทวดาพืน้ เมือง เปน็ ตน้ วา่ ยักษ์

การรักษาขนบประเพณีอนิ เดียอยา่ งเขม้ งวด ทำใหศ้ ิลปะอินเดียมวี ิวัฒนาการไปอยา่ งชา้ ๆ
และค่อยๆเปล่ยี นแปลงอิทธิพลที่ไดร้ ับมาจากตา่ งประเทศให้เปน็ ของตน

ศลิ ปะอินเดียเปน็ ศิลปะในศาสนา การสรา้ งรูปเคารพจำต้องทำข้ึนตามแบบแผนประเพณี
ในตำราจึงบ่งถึงท่าทาง สี ทรวดทรงและรายละเอียด ถ้าเป็นรูปเทพเจ้าก็จะน่าเกรงขาม ใช้สี
ทีก่ ่อให้เกดิ ความเกรงกลวั และเนื่องมาจากความเช่ือถือว่า มนุษยโ์ ลกและเทวโลกคล้ายคลงึ กนั ทำให้
มนษุ ย์ใกลช้ ิดกับเทวดา

๓๒

งานของช่างคือการจำลองงานของจักรวาลแต่โดยย่อ จึงต้องทำให้ถูกต้องตามกฎ
เพราะเหตุวา่ ถา้ ไม่ถูกต้องแล้วกอ็ าจกอ่ ให้เกิดผลรา้ ยได้

ในงานปตมิ ากรรมของอินเดยี มักเป็นการรวมพระราชาเข้ากับเทวดาเรียกว่า “เทวราชา”
นอกจากน้ีก็มีพิธี “เบิกพระเนตร” ด้วยการแตะนัยน์ตาของประติมากรรม หรือระบายสีนัยน์ตาน้ัน
ดว้ ยเหตนุ ี้สว่ นใหญง่ านศิลปกรรมอินเดยี จึงเป็นทัง้ ทางดา้ นศาสนาและราชการไปพร้อมกนั ๒๓

เน่ืองด้วยประเทศอินเดียมีอาณาเขตกว้างขวางและมีความเจริญรุ่งเรืองมาช้านานก่อน
พุทธกาล เม่ือมีการสร้างศิลปวัตถุทางพระพุทธศาสนาข้ึน แม้จะอยู่ในเวลาร่วมสมัยเดียวกัน ต่างก็มี
แบบแผนขนบนิยมและพื้นเพทางวัฒนธรรมท้องถิ่นแตกต่างกันออกไป และเกิดเป็นสกุลศิลปะ
ทส่ี ำคัญๆ สกุลช่างในอินเดียสามารถจำแนกออกเป็น ๒ สกุลช่างใหญ่ๆ คือ สกุลช่างศิลปะทางเหนือ
และสกลุ ชา่ งศิลปะทางใต้

๒.๑.๔ พฒั นาการของพุทธศลิ ปะสกุลตา่ ง ๆ ในประเทศอนิ เดยี

หลังจากที่พระพุทธองค์เสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ว ไม่ปรากฏหลักฐานทางด้าน
งานพุทธศิลปะ แต่อย่างใดท้ังนี้เป็นเพราะพระมหาเถระบางกลุ่ม เห็นว่าศิลปะและสุนทรียศาสตร์
จะนําไปสู่ความลุ่มหลงในท้ายสุด ดังน้ัน การปั้นหรือการแกะสลักในด้านวิจิตรศิลป์ จึงไม่ปรากฏ
เป็นรูปธรรมให้เห็นในบวร พุทธศาสนา แต่ในระยะหลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ
ปรินิพพานแล้ว พุทธศาสนิกชนได้นําเอาดิน น้ำ และใบโพธิ์จากสังเวชนียสถาน ๔ แห่ง คือ สถานที่
ประสูติ (ลุมพนิ วี นั ) ตรสั รู้ (พุทธคยา) ปฐมเทศนา (พาราณสี) และปรินิพพาน (กุสนิ ารา) เกบ็ มาไวเ้ พ่ือ
บูชาคุณเพ่ือเป็นการระลึกนึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสมือนเป็นตัวแทน ทําให้ต่อมามีการสร้างรูป
อ่ืนท่ีเป็นสัญลักษณ์เพ่ือระลึกถึงพระพุทธคุณ เช่น ทําดวงตรา สัญลักษณ์ประจําสถานที่ต่าง ๆ
ข้นึ ดว้ ยดินเผาหรือแผ่นเงนิ เช่น ท่ีเมืองกบลิ พัสดุสรา้ งตราดอกบัว หมายถึงมสี ิ่งบรสิ ุทธิ์เกิดข้ึน และ
ตราม้า หมายถึงม้ากัณฐกะ ที่เมืองพาราณสี สร้างตราธรรมจักร มีรูป กวางหมอบอันหมายถึงการ
แสดงธรรมจักร และพระเจา้ อโศกมหาราชไดท้ รงสร้างเสาหนิ อโศกไว้ในสถานท่ปี ระสตู ิ เปน็ ต้น๒๔

ในขุททกนิกาย อปทาน ปัญญาสชาดกกล่าวว่าในสมัยพุทธกาล พระเจ้าปเสนทิโกศล
แหง่ แคว้น โกศล ได้โปรดใหช้ ่างจําหลกั พระรปู เหมือนของพระสัมมาสมั พุทธเจ้าข้ึนจากไม้แก่นจันทน์
เพื่อเป็นเคร่ืองระลึกถึงพระพุทธองค์ท่ีเสด็จไปจําพรรษาท่ีสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ เพื่อโปรดพุทธมารดา
นับเป็นการสร้างพระพุทธรูปเป็นครั้งแรก แต่ตํานานพระแก่นจันทน์น้ี บางท่านกล่าวว่าเป็นเพียง

๒๓ สุภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า, ศิลปะอินเดีย, พิมพ์ครั้งที่ ๒ , (พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา,
2519), หน้า ๑๑-๑๔.

๒๔ เสถียร สระทองให้, พทุ ธศลิ ปะ, (พิษณุโลก: โรงพิมพ์ โฟกสั พรนิ้ ติง้ จํากดั , ๒๕๕๘), หนา้ ๑๖.

๓๓

ตํานานท่ียัง ไม่สามารถหาหลักฐานมายืนยันได้อย่างชัดเจน๒๕ (ในพระบาลีก็ไม่ปรากฏว่ากล่าวถึง)
ถ้าไมน่ ับพระ แก่นจันทน์”๒๖ แล้ว ก็สนั นษิ ฐานกันวา่ พระพทุ ธรูปนน้ั เร่มิ สร้างในราวพุทธศตวรรษท่ี ๔
ต้งั แตส่ มัย คนั ธารราฐ ซึง่ เปน็ แควน้ ทีอ่ ยู่ทางตอนเหนอื ของอินเดยี โบราณ (ปจั จบุ นั อยูใ่ นแถบตะวนั ตก
เฉียงเหนือของปากีสถานและตะวันออกของอัฟกานิสถาน) ผู้ริเร่ิมสร้างไม่ใช่ชาวอินเดียแต่เป็นพวก
โยนก (กรีก) สันนษิ ฐานว่าเร่มิ สรา้ งในสมยั พระเจ้าเมนันเดอร์หรือพระเจ้ามิลนิ ท์ กษตั รยิ ์เชื้อสายกรีก
แห่งแควน้ คนั ธาระ หรือคันธาราฐ

เมือ่ พระเจ้าอโศกมหาราชนําพระพุทธศาสนาเข้าไปเผยแผ่ในคันธาราฐ พวกโยนกยอมรับ
นับถือ พระพุทธศาสนา พระเจ้ามิลินท์มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาก แสดงองค์เป็นพุทธ
ศาสนูปถัมภก ทะนุบํารุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง แต่เดิมนั้นพระพุทธศาสนาไม่มีรูปเคารพ
แต่อย่างใด เพราะในสมัยอินเดียในสมยั น้นั มขี ้อห้ามในการทํารปู เคารพ แตเ่ คยนบั ถือศาสนาเทวนิยม
และจําหลักรูปเคารพของเทพเจ้ากลุม่ โอลิมปัสมาก่อน เช่น รูปอพอลโลและซีอุส เมื่อเปลีย่ นมานับถือ
พระพทุ ธศาสนา กเ็ ลย จาํ หลกั ศลิ ารปู พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ขน้ึ เคารพบชู าเป็นครง้ั แรก

การขุดค้นหาหลักฐานทางโบราณคดีเพ่ือพิสูจน์ความเจริญของอินเดียในสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ และจากการขุดค้นพบซากเมืองฮัปปา (Harappa) และโมเฮนโจ-ดาโร (Mohenjo-
(Daro)ในกลุ่มแม่น้ำ สินธุ ซ่ึงนักโบราณคดีสันนิฐานว่า เมืองทั้งสองน้ีเป็นศูนย์กลางของอารยธรรม
เก่าแก่สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ ทีค่ รอบคลุมพนื้ ที่ส่วนใหญข่ องลุ่มแม่นำ้ สินธุ และตอนบนของลุ่มแมน่ ้ำ

๒๕ เรอื่ งเดียวกัน, หน้า ๑๐.
๒๖ พระแกน่ จันทน์, พระไม้แก่นจันทน์ หรือพระเจ้าไม้แก่นจันทน์ เป็นชื่อของพระพุทธรูปท่ีสร้างจาก
ไม้ จันทน์หอม ไม้ชนิดน้มี ีสีแดง จึงนิยมเรียกว่า แก่นจันทน์แดง เป็นไม้ชั้นสงู หายาก ซึ่งเป็นต้นไม้ที่ยังโลกใหพ้ อใจ
หมายถึง ต้นไม้เน้ือหอมชนิดหนึ่ง มีความเก่ียวข้องกับพุทธประวัติตอนหน่ึงอย่างน่าอัศจรรย์ใจ พระเจ้าแก่นจันทน์
สร้างต้งั แตย่ คุ พทุ ธกาลจริงหรอื ไม่ เรอ่ื งราวของพระเจา้ แกน่ จันทนไ์ มป่ รากฏหลักฐานระบใุ นพระไตรปฎิ ก หลกั ฐาน
ที่อ้างองิ กันมาจากชินกาลมาลีปกรณ์ และตํานานพระเจ้าแก่นจันทน์ (ซ่ึงไม่ระบุนามผเู้ ขียนคนแรก แตค่ ัดลอกต่อๆ
กันมาหลายฉบับ) เน้ือหา โดยย่อว่า เม่ือครั้งพุทธกาล ช่วงท่ีพระพุทธองค์เสด็จไปทรงเทศนาโปรดพระพุทธมารดา
บนสวรรค์ช้ันดาวดึงส์นานหน่ึง พรรษา (๓ เดือน) นั้น พระเจา้ ปเสนทิโกศล มีความรําลึกถึงพระพุทธองค์ ดว้ ยมิได้
ทรงเหน็ เป็นเวลานาน จึงตรัสใหน้ าย ช่างทําพระพุทธรูปข้ึนดว้ ยไม้แกน่ จันทน์แดง ประดษิ ฐานไว้เหนืออาสนะท่ีพระ
พทุ ธองค์เคยประทบั คร้ันพระพทุ ธองค์ เสด็จกลบั ลงมาจากดาวดึงส์ถงึ ที่ประทับ ดว้ ยพระบรมพุทธานุภาพ บันดาล
ใหพ้ ระพุทธรูปแกน่ จันทน์ เลื่อนหลีกจากพระพุทธอาสน์ทําท่าจะอันตรธานหายไป พระเจ้าปเสนทิโกศลนึกเสียดาย
จึงทูลขอให้พระพุทธองค์ทรงตรัส “หา้ ม” พระแก่นจันทน์ มิให้อันตรธานไปไหน พระพุทธองค์ส่ังให้พระเจ้าปเสนทิ
โกศลรักษาพระแก่นจันทน์นั้นไว้ (กลายเป็นที่มาของพระพุทธรูปปางห้ามพระแกน่ จันทน์) หากเชอ่ื ตามน้ี ก็แปลว่า
พระแก่นจันทน์ คือพระพุทธรูปองค์แรกของโลก เพราะมีอายุร่วมสมัยกับยุคพุทธกาล ย่อมเก่าแก่กว่าการสร้าง
พระพทุ ธรปู ในสมัยคันธารราษฎร์ โดยชาวกรีก เมอ่ื ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๔ ฯลฯ

๓๔

คงคา จากหลักฐานพอจะสันนิษฐาน ได้ว่า ชาวอินเดียในลุ่มแม่น้ำสนิ ธุเปน็ ชาวเมอื งท่ีมีความเจรญิ สูง
มาก โดยสังเกตจากการวางผังเมือง อย่างเป็นระเบียบ ออกแบบถนนตัดเป็นมุมฉาก นอกจากนี้ยังมี
การขุดพบศิลปวัตถุต่างๆ อีกมาก ที่แสดง ให้เห็นถึงความเช่ือและความคิดสร้างสรรค์ เช่น
ที่ประทับตราทําด้วยหินสบู่ บางชิ้นฝีมือการสลัก ยอดเยี่ยมมาก โดยการแกะเป็นรูปเทพเจ้าหรือ
เป็นรูปสัตว์ประเภทต่างๆ (ส่วนใหญ่เป็นรูปวัวอินเดีย) และยังขุดพบเคร่ืองประดับทําด้วยหินมีค่า
หลายชนิด บางชนิดทําด้วยกระดูกสัตว์พวกงาชา้ งเปลือกหอย ประเภทดินเผา ทําเป็นรปู นกและสตั ว์
พวกเครื่องรางและแกะสลักเป็นรูปเสือ ช้าง จระเข้ แต่ท่ีสนใจและแสดงให้เห็นว่ามีการติดต่อกับ
เมโสโมเตเมียและอียปิ ต์ คือประตมิ ากรรมลอยตัวขนาดเล็ก ซึ่งรูปครึ่งตัวของชายมีเครา ใบหน้าคล้าย
ชนชาติ เซมิติก (Semitic)ในเมโสโปเตเมีย เทพเจ้าบางองค์ของอารยธรรมลุ่ม แม่น้ำสินธุ ยังคง
มีอทิ ธิพลอยู่ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูปจั จุบัน ซึง่ หลกั ฐานแสดงความตอ่ เนือ่ งของอารยธรรมอินเดีย

๑ พุทธศิลปะสมัยที่ ๑ พทุ ธศตวรรษท่ี ๔-๖
๑) สกลุ ช่างแบบคนั ธาระ
(๑) ประติมากรรม มีลักษณ์เด่นที่ลักษณะค่อนข้างไปทางเทพเจ้ากรีก ทุกอย่างมีความ
เหมือนจริงในลักษณะของมนุษย์ ส่วนพัฒนาการในช่วงเวลาต่อมาเปลี่ยนรูปลักษณ์ไปตามคติ
ความเช่ือของแต่ละสกุลช่าง โดยการสร้างพยายามผสมผสานคตินิยมในความเชื่อเข้ากับหลักธรรม
ทางศาสนามาจนถึงสมัยปจั จุบนั

ภาพที่ ๒.๕ พุทธศลิ ปะสมัยสกลุ ช่างแบบคันธาระ (พทุ ธศตวรรษที่ ๓-๔)

๓๕

วัฒนธรรมการสรา้ งพระพุทธรปู เพ่ือเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจในทางรูปธรรมนน้ั ในสมัยหลัง
พทุ ธกาล ประมาณ ๔๐๐ ปี มีการสร้างพระพุทธรูปทเ่ี ป็นรปู มนษุ ย์ครง้ั แรกในสมัยของพระเจา้ มิลินท์
กษัตริย์ เชื้อสายกรีกโยนก ผู้ทรงเป็นนักปราชญ์ และนักรบ รวมท้ังทรง เชี่ยวชาญในงาน
สถาปัตยกรรมและประติมากรรม โดยเฉพาะศิลปะเหมือนจริงตามแบบศิลปะกรีกโรมัน (Hellenic)
ถูกนําเข้ามาในสังคม อินเดียเป็นจํานวนมากในรัชสมัยของพระองค์ ทรงมีพระราชอํานาจเหนือ
ดินแดนแคว้นคันธารราษฎร์ ตลอดถึงแคว้นปัญจาบของอินเดีย เนื่องจากทรงมีพระราชศรัทธา
พระพุทธศาสนาอย่างมาก ดังปรากฏในมิลินทปัญหา และที่สําคัญทรงมีแนวคิดสร้างพระพุทธรูป
เพื่อบูชาสักการะ จากที่เคยชินกับการบูชา เทวรูปของเทพเจ้ากรีกท้ังหลาย พระพุทธรูปจึงได้
บังเกิดขึ้น ณ แคว้นคันธารราษฎร์ อันเป็นดินแดนท่ีมี นครตักกศิลาเป็นราชธานีและมีความ
เจริญรุ่งเรืองสูงสุดด้วยศิลปะและวิทยาการต่างๆ ในสมัยพุทธกาล โดยพระพุทธรูปสร้างข้ึนเป็น
เคร่ืองประดับเจดียสถานเป็นปฐม ณ แคว้นคันธารราษฎร์ จึงเรียกพระพุทธรูป ดังกล่าวว่า
“พระพุทธรูปแบบคันธาระ โดยพระเจ้ามลิ ินท์ (Menander) กษัตริยอ์ ินเดีย เชอ้ื สายกรกี แห่งนครสา
คละ แคว้นคันธารราฐ อาณาจักรบัคเตรีย (บรเิ วณตะวันตกเฉียงเหนือของปากีสถานและตะวันออก
ของอัฟกานสิ ถานในปจั จุบัน ซ่งึ เปน็ ประเทศอนิ เดียในอดีต)

การสร้างพุทธศิลปะในสมัยนี้ โดยนิยมทําด้วยหินซิสต์ (Schist) สีน้ำเงินปนเทา
หรือค่อนข้างเขียว หรอื ใช้ปูนป้นั แล้วระบายสี พระพุทธรปู แบบ “คันธาระ” จะแสดงอิทธพิ ลของกรีก
อย่างชัดเจน นอกจากนี้ ศิลปะแบบคันธาระยังเป็นศิลปะสมัยแรกท่ีกล้าประดิษฐ์รูปเหมือน
ของพระพุทธรูป เป็นรูปเหมือนมนุษย์ อันเป็นแบบท่ีเก่าแก่ที่สุด ด้วยความคิดใหม่เช่นนี้ได้ส่งผล
สะท้อนไปสู่การประดิษฐ์รูปภาพทางพระพุทธศาสนา อาทิ ปางประสูติ ที่มีภาพพระพุทธองค์
เสด็จออกมาจากปรัศว์ (สีข้าง) ของมารดา หรือแสดงภาพ ปางเสด็จเข้าสู่ปรินิพพาน เป็นรูป
พระพุทธเจา้ กาํ ลงั บรรทมตะแคงสิ้นพระชนมแ์ วดลอ้ มไปดว้ ยพุทธสาวก

การสร้างพระพุทธรูปศิลปะคันธาระ หรือคันธารราฐ ปรากฏหลักฐานในประเทศ
ปากีสถาน และอัฟกานิสถานในปัจจุบัน เป็นผลมาจากพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์เมาริยะ
หรือโมริยะ ทรงเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง ราชวงศ์นี้สิ้นอํานาจลง พ.ศ. ๔๐๕ หลังจากน้ัน
พวกบัคเตรีย (Bactria) เช้ือสายกรีกเดิม คร้ังพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชได้ต้ังตัวเป็นกษัตริย์
ปกครองแคว้นคันธาระ ต่อมาชน ชาติซิเถียน (กุษาณะ) ซึ่งเป็นเผ่าเร่รอนบนหลงั มา้ อพยพจากเอเชีย
กลางสายหน่ึงเข้ามายังพื้นท่ีดังกล่าว และสถาปนาราชวงศ์กุษาณะข้ึน แผ่ขยายอํานาจครอบครอง
ทั้งแคว้นคันธาระและอุตตรประเทศราชวงศ์ นี้ยอมรับวิทยาการและปรัชญาต่างๆ ของกรีก โรมัน
มาผสมผสานกับวัฒนธรรมแบบเอเชียกลางของตน ส่วนศาสนาน้ันต่างมีศรัทธายอมรับนับถือ
พระพุทธศาสนา ฉะนั้นการสร้างพระพุทธรูป จึงเกิดข้ึนตาม คตินิยมของกรีก ท่ีสร้างรูปเทพเจ้า
และพระพุทธรูปเป็นรูปมนุษย์ ศิลปะคันธาระแพร่หลายเป็นเวลากว่า ๓๐๐ ปี หลังจากน้ีศิลปะของ


Click to View FlipBook Version