The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี AN ANALYSIS ON THE VALUES OF BUDDHIST ART IN
DVARAVATI PERIOD IN SUPHANBURI PROVINCE นางสาวธนัชพร เกตุคง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-08-20 11:26:56

การวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี

การวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี AN ANALYSIS ON THE VALUES OF BUDDHIST ART IN
DVARAVATI PERIOD IN SUPHANBURI PROVINCE นางสาวธนัชพร เกตุคง

๘๖

ทวารวดี มีบทบาทเปนเมืองหลวงและเมืองทาที่สําคัญของรัฐทวารวดี ในยุคหลัง ประมาณพุทธ
ศตวรรษท่ี๑๒-๑๖ ขณะที่เมืองอูทองโบราณ มีบทบาทเปนเมืองหลวงและเมืองทาสําคัญของ
รัฐทวารวดีในยุคแรก (พุทธศตวรรษท่ี ๙-๑๑) เคยเปนท่ีอยูอาศัยของมนุษย์มาต้ังแตสมัยก่อนประวัติ
ศาสตรตอนปลาย และสมัยประวัติศาสตรตอนตน ในสมัยทวารวดี โดยเฉพาะสมัยทวารวดี
จึงพบโบราณวัตถุ และศิลปวัตถทุ สี่ ําคญั ทเ่ี กีย่ วกบั พระพทุ ธศาสนา

๔.๒.๒ หลกั ฐานทางประตมิ ากรรม
ประติมากรรมเปนรองรอยทเี่ หลอื อยู ชใ้ี หเห็นถึงความเจริญรุงเรืองของบานเมอื ง ท่ีสําคัญ
ยง่ิ ตาม พบวา มีการทําประติมากรรมดินเผามานานแลวกวา ๓,๐๐๐ ป๒๔ เปนการสรางขึ้นตามความ
เช่ือ และพธิ ีกรรมท่ีเกี่ยวของกับความเปนอยูในสมยั ทวารวดีอู่ทอง ประติมากรรมสมยั ทวารวดีอู่ทอง
สวนใหญเกี่ยวของกับศาสนา และเปนผลงานประเภทรูปเคารพ ตอนแรก จะใชสัญลักษณขึ้นกอน
เปนคติด้ังเดิมของพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย รูปดอกบัว หรือรอยพระพุทธบาท แทนการ
ประสูติ รูปตนโพธิ์หรือแทนบัลลังก แทนการตรัสรู ธรรมจักรมี กวางหมอบ ประกอบแทนการแสดง
ปฐมเทศนา หรือการประกาศศาสนา และรูปสถูปเจดีย์แทนการ ปรินิพพาน งานประติมากรรมของ
อนิ เดียสกลุ ชางศลิ ปะคนั ธารราฐ สมัยทพี่ ระเจ้าเมนันเดอร หรือพระเจามลินทชาวกรีก ไดทรงเลื่อมใส
พระพุทธศาสนา ทรงทํานุบํารุงเปนอยางมากมีการสรางพระพุทธรูป ข้ึนเปนคร้ังแรกในราวพุทธ
ศตวรรษท่ี ๔ ภายหลังอทิ ธิพลการสรางเปนรูปมนุษยข้ึนเปนรปู เคารพ จงึ แพรหลายเขาสูสุวรรณภมู ิใน
จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี โดยรบั อิทธิพลศิลปะอนิ เดียแบบอมราวดแี บบคุปตะ แบบหลังคปุ ตะและแบบปาละ
มาผสมผสานกับอิทธิพลพื้นเมืองกอใหเกิดเป็นศิลปกรรมที่มีรูปแบบเฉพาะข้ึนเรียกวา ศิลปะแบบ
ทวารวดี ในท่ีน้ีจะชี้แจงเพียง ๒ ประเด็นคือ ประติมากรรมสัญลักษณและประติมากรรมประเภท
ธรรมจักรพระพุทธรูปและพระพิมพ ดังนี้ ๒๕ จากหลักฐานทางโบราณคดีพบวา ในประเทศไทยไดมี
การคนพ บสัญ ลักษณ ที่ใชเปนส่ิงเคารพ แทนพระพุทธรูปจำนวนมาก โดยเฉพ าะบริเวณ
ทพี่ ระพุทธศาสนาเคยรุงเรืองมากอน เห็นไดจากการคนพบ รูปธรรมจักรและกวางหมอบศิลาจํานวน
มาก เปนสัญลักษณหมายถึง พระพุทธรูปปางปฐมเทศนา เปนคติตามแบบอินเดีย ลวดลาย
เครื่องประดับของรปู ธรรมจักร มีฝมือชางคลายศิลปะคุปตะ สลักท้งั สองดานธรรมจกั ร บางวงอาจเคย
ตงั้ เหนือยอดเสากลางแจ้ง เพราะได้พบพระพุทธรูปสลกั บนแผนศิลา ท่ีเมอื งคูบัว เปนรปู พระพุทธเจา
น่ังขัดสมาธิอยูตรงกลางมีรูปจําลองสถูปอยูทางซาย และธรรมจักรบนยอดเสาอยูทางขวา พุทธศิลป์
เปรียบเสมือนตัวแทนของพระพุทธเจ้า เป็นงานศิลปะท่ีมนุษย์สร้างข้ึนเพื่อรับใช้งานทางด้าน

๒๔ สมั ภาษณ์ อ.วรพร พรหมใจรกั ษ์ อาจารย์ประจำหลกั สูตรครศุ าสตรบัณฑติ สาขาสังคมศกึ ษาชมรม
นักโบราณคดีสมัครเล่นเมืองสุพรรณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๖๓.

๒๕ สมั ภาษณ์ พระมหาพิชยั (เจริญยุทธ) ธมฺมวิชโย, เจา้ อาวาสวดั เขาทำเทียม อำเภออู่ทอง จังหวัด
สุพรรณบุรี เมอ่ื วนั ที่ เมื่อวนั ที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๘๗

พระพุทธศาสนา พระพุทธรูปเป็นส่ิงที่ช่วยโน้มน้าวจิตใจของประชาชนให้เกิดความศรัทธา๒๖
จากการศึกษาพบวา รูปหรือภาพสัญลักษณคลายกับธรรมจักรนั้น ไดมีมาแลวตั้งแต พ.ศ.๓๐๐ คือ
สัญลักษณดอกบัวแทนตอนประสูติ สัญลักษณตน้ โพธิ์และบัลลังกแทนตอนตรัสรูสัญลักษณธรรมจักร
กบั กวางหมอบแทนตอนแสดงปฐมเทศนา สัญลักษณรูปสถูปเจดีย์ แทนการปรนิ ิพพาน เป็นหลักฐาน
ท่ีสาํ คญั ปรากฏ๒๗

๔.๒.๒.๑ ประตมิ ากรรมพระธรรมจักรและรอยพระบาท

พระธรรมจักรเปนสัญลกั ษณท่ีสําคัญทางพระพุทธศาสนาอยางหน่งึ พบแพรหลายอย่ทู ว่ั ไป
ในอารยธรรมทวารวดีคอื ธรรมจกั รและกวางหมอบ พูดไดวา เปนตวั แทนของอารยธรรมนไี้ ดเปนอยาง
ดีว่า เผยแพร่ไปถึงไหน ก็จะพบธรรมจักรในดินแดนน้ันด้วย เพราะธรรมจักรเปนเคร่ืองหมายการ
ประกาศพระธรรมคําสอนของพระพุทธเจาเปนสัญลักษณการแสดงปฐมเทศนาธัมมจักกัปปวัตนสตู ร
โปรดปญจวคั คียทงั้ หา ท่ีปาอิสปิ ตนมฤคายวัน แขวงเมืองพาราณสี ต้ังแตนั้นมา ธรรมจักรไดกลายเป็น
เครื่องหมายแทนพระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจาที่ไปปรากฏตามที่ตางๆ การแสดงปฐมเทศนา
โดยมีธรรมจักรและกวางหมอบ อยูที่ฐานปรากฏสืบตอมา๒๘ ในศิลปะอินเดียสมัยอมราวดี
พุทธศตวรรษที่ ๖-๘ ถึงสมัยคุปตะ ถือเปนตนแบบใหกับศิลปะแบบทวารวดี ประเพณีและคตนิ ิยมใน
การบูชาพระธรรมจักรนั้น เปนคติที่สืบเนืองมาจากความเคารพในพระบรมศาสดาน่ันเอง นอกจากน้ี
ยังพบวา มีการจารึกคาถาหรือหลักธรรมสําคัญอ่ืน ๆ ดวย หมายถึง การเคารพพระธรรมอันเปนตัว
แทนของพระพุทธองค บริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี และนครปฐม พบธรรมจักรจํานวนมากกวา ที่อื่น
ประมาณกว่า ๓๐ วง มีหลายชิ้นที่มสี ภาพไมสมบูรณ เฉพาะที่สมบูรณอยางนอ้ ย ๙ วง และสวนมากมี
อายรุ าวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ เปนตนมา เชน ธรรมจักร เลขทะเบียนที่ ๖๒๔/๒๕๑๙ สมัยสมยั ทวารวดี
(พุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖) เสนผาศูนยกลาง ๗๓ เซนติเมตร สูง ๘๒ เซนติเมตร พบท่ีวัดพระงาม
อําเภอเมืองนครปฐม และ ธรรมจักร เลขทะเบียนท่ี ๖๓๑/๒๕๑๙ สมัยทวารวดี เสนผาศูนยกลาง
๖๕.๕ เซนตเิ มตร สูง ๗๐ เซนตเิ มตร ท่รี ะเบยี งคดขององคพระปฐมเจดียและ ชน้ิ สว่ นธรรมจักรจำนวน
มาก พบท่ีเจดีย์หมายเลข ๒ เมืองอู่ทอง ยังพบธรรมจักร เสาธรรมจักร ฐานรองรับธรรมจักร ท่ีเจดีย์
หมายเลข ๑๑ เป็นตน้ ๒๙

๒๖ สมั ภาษณ์ ,พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. (นคิ ม ณฏฺฐวโร) ผู้ช่วยเจา้ อาวาสวัดป่าเลไลย์วรวิหาร, เม่ือ
วันท่ี เม่ือวันที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.

๒๗ สัมภาษณ์ อ.วรพร พรหมใจรกั ษ์ ตำแหนง่ อาจารย์ประจำหลกั สูตรครุศาสตรบัณฑิต ชมรมนกั
โบราณคดสี มคั รเล่นเมอื งสุพรรณ หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ จังหวัดสพุ รรณบรุ ีเมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจกิ ายน พ.ศ.
๒๕๖๓..

๒๘ สมั ภาษณ์ พระครสู ิริวรธรรมภนิ ันท์(ชูชาติ )อานนฺโท รองเจ้าคณะอำเภอเมือง เจ้าอาวาสวดั มะนาว
เมอื่ วันที่ ๒๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.

๒๙ สัมภาษณ์ วิภารัตน์ ประดษิ ฐอาชีพ, ผ้อู ำนวยการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาตอิ ู่ทอง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
เมื่อวนั ที่ ๒๘ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๓..

๘๘

อารยธรรมทวารวดีนั้น ธรรมจกั รและกวางหมอบ พบแพรหลายอยางมาก กลาวได้วา่ หาก
มีการคนพบธรรมจักรหรือกวางหมอบในที่ใดก็แสดงวาศิลปะทวารวดีไดแพรไปถึงดินแดนนั้นด้วย
บริเวณภาคกลางมีศูนยกลางที่พบธรรมจักรเปนจํานวนมาก ไดแก เมืองอูทองและเมืองอื่นๆ ถือวา
เป็นศูนย์กลางที่สําคัญ โดยเฉพาะเมืองอู่ทอง นอกจากจะพบธรรมจักร จํานวนมากแลวยังพบวา
มีความสวยงามมากกว่าที่อื่น ทั้งยังมีจารึกหลักธรรมหัวใจพระพุทธศาสนาคือ เย ธมฺมา และ
หลักธรรมอ่ืนๆ บนธรรมจักรดวย หลายเมืองที่พบหลักฐานของอารยธรรมทวารวดีตามลุมแมน้ำ
เจาพระยาทั้งหมด สรปุ ไดวา สัญลกั ษณธรรมจักรและกวางหมอบ มีการสรางข้ึนเพ่ือใชเปน็ ส่ิงเคารพ
แทนพระพุทธรูปปางปฐมเทศนานั่นเอง รอยพระพุทธบาท ความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนาที่
แพรหลายไปสู่ภูมิภาคตางๆ ของไทยน้ัน ภาคตะวันออก ก็ไดรับอิทธิพลดวย โดยพบวา
พระพุทธศาสนาเจริญรุงเรือง ในเขตเมือง ตั้งแตแรกเริ่มรับอิทธิพลวัฒนธรรมอินเดีย จากหลักฐาน
ที่พบในเมืองศรีมโหสถ ชวงระยะแรก ตั้งแตพุทธศตวรรษที่ ๑๒ -๑๖ พบประติมากรรม
ในพระพุทธศาสนา อยูหนาแน่นบริเวณรอบ ตัวเมืองศรีมโหสถ ชมุ ชนบริเวณโบราณสถานสระมรกต
ชมุ ชนบริเวณโบราณสถานภูเขาทองและชมุ ชนบรเิ วณโบราณสถาน หมายเลข ๑๑ เปนตน๓๐

การพบประติมากรรมในพระพุทธศาสนา ซ่ึงเคยเปนศูนย์กลางบานเมือง ในภูมิภาค
ตะวันออก แสดงใหเห็นวา พระพุทธศาสนาเปนศาสนาของคนสวนใหญ่ เมืองอู่ทองก็เป็นเมืองภาค
ตะวันออกที่พบ รอยพระพุทธบาท ท่ีวัดเขาตีสลักอู่ทองเป็นรอยพระพุทธบาทจำลองสร้างด้วยหิน
ทรายแดง มลี กั ษณะแตกต่างจากรอยพระพุทธบาท ท่ีพบตามทอ่ี น่ื ๆ คือ เป็นรอยพระพทุ ธบาทนนู ต่ำ
ขนาดกว้างประมาณ ๖๕.๕ ซม. ยาว ๑๔๑.๕ ซม. นักโบราณคดีให้ความเห็นแตกต่างกันไป บางท่าน
วา่ เป็นศิลปะสมัยทวาราวดี อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๖ บางทา่ นว่า แม้รูปแบบลวดลายจะ
คลา้ ยกับศิลปะสมัยทวาราวดี แต่ก็มีรูปแบบอื่นเข้ามาปะปน ซึ่งอาจเป็นผลงานที่สร้างในสมัยอยุธยา
ราวพุทธศวรรษที่ ๑๙-๒๓ ก็เป็นได้ อย่างไรก็ตามน้ัน เป็นการสันนิษฐานจากข้อมูลต่างๆ แต่ข้าพเจ้า
เชื่อได้วา่ ๓๑ ตอ้ งหาหลักฐานอื่น ๆ เพ่ิมเติมถึงกำเนิดท่ีแท้จรงิ ของงานพุทธศิลปะช้ินน้ี และนอกจากน้ี
ทว่ี ัดเขาดีสลกั แห่งน้ี ยังขดุ ค้นพบโพรงหินภายในมพี ระพุทธรปู และโบราณวัตถุตา่ งๆ อีกหลายชนิด๓๒
กรมศิลปากรได้ข้ึนทะเบียนเป็นโบราณวัตถุ และสร้างมณฑปทรงไทยสวยงามครอบไว้ มีการดูแล
โดยรอบบริเวณอย่างดี มีถนนราดยางขึ้นสู่มณฑปบนยอดเขา มองเห็นทุ่งโล่งกว้าง และทิวเขา
สลับซับซ้อนของอำเภออู่ทอง และสร้างระฆัง ๗๒ ใบ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ วั ครบรอบ ๗๒ พรรษา

๔.๒.๒.๒ ประตมิ ากรรมพระพทุ ธรปู
จงึ เห็นวา่ ประติมากรรมสมัยทวารวดีทพ่ี บในจังหวัดสพุ รรณบรุ สี วนมากไดรับอทิ ธพิ ลศลิ ปะ

๓๐ สัมภาษณ์ พระธรรมพุทธิมงคล (สอ้ิง สิรินนฺโท ป.ธ.๘) ท่ีปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี

เจา้ อาวาสวดั ป่าเลไลยกว์ รวหิ าร เมอ่ื วันที่ ๒๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.

๓๑ สมั ภาษณ์ พระธรรมพุทธิมงคล (สอ้งิ สริ นิ นฺโท ป.ธ.๘) ท่ปี รกึ ษาเจา้ คณะจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

เจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร เมอื่ วันที่ ๒๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.

๓๒ สัมภาษณ์ พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี, ผู้อำนวยการ, อาจารย์,

ณ.วทิ ยาลยั สงฆ์สพุ รรณบรุ ีศรีสุวรรณภูมิ , เม่ือวนั ท่ี ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

๘๙

อนิ เดียสมัยหลังคุปตะ มกั จะสรางดวยศิลาปูนปนและดินเผา ส่วนสํารดิ หาไดน้ อยมาก ประติมากรรม
ในศิลปะทวารวดีสวนใหญ สรางข้ึนถวายเป็นพุทธบูชา พระพุทธรูปมักสลักจากศิลา มีขนาดใหญ
สวนวสั ดุอน่ื มีบา้ ง เชน สัมฤทธิ์ ปูนปน และดินเผา

พระพุทธรูปสมัยทวารวดีที่พบโดยมากมี หลายแบบ ไดแก แบบที่หนึ่ง มีอายุราว
พทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ ถึงตนพุทธศตวรรษที่ ๑๓ มีลักษณะ อทิ ธิพลศิลปะอินเดียแบบคุปตะ หลงั คุปตะ
และแบบอมราวดี เป็นพระพทุ ธรูปปูนปั้น พระพุทธรูปสำริด อยู่ทีเ่ จดีย์หมายเลข ๑,๒, ๑๑ อยทู่ ่ีเมอื ง
อู่ทองจังหวัดสุพรรณบุรี แบบที่สอง อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ มีลักษณะเปนพ้ืนเมืองมาก
เชน เศียร พระพุทธรูปดินเผา พบท่ีวัดพระงาม จังหวัดนครปฐม แบบท่ีสาม อายุราวพุทธศตวรรษที
๑๕-๑๗ ซึ่งไดอทิ ธิพลของขอมและแบบลพบุรี เขามาปะปนแลวการกําหนดอายุพระพุทธรปู สมัยทวาร
วดี๓๓

๑. สาเหตกุ ารสร้างพระพิมพ์ท่เี มืองอทู่ อง การสร้างพระพิมพ์ที่เก่าแก่ที่สดุ ของไทยทำด้วย
ดนิ เผาในสมัยทวารวดีในยุคเมอื งโบราณอู่ทองน้ีเอง คติการสร้างพระพมิ พ์มีที่มาคือ พระพิมพ์เป็นรูป
เคารพขนาดเล็กแทนองค์พระพุทธเจ้า สร้างขึ้นตามคติความเชื่อทางพุทธศาสนา แต่เดิมคงมี
วัตถุประสงคเ์ พียงเพ่ือใช้เปน็ ที่ระลึกในการเดนิ ทางไปนมัสการสังเวชนียสถาน หรือสถานทส่ี ำคญั ทาง
พุทธศาสนา ทั้ง ๔ ในประเทศอินเดีย ได้แก่ สถานท่ีประสูติ (ลุมพินี) ตรัสรู้ (พุทธคยา) ปฐมเทศนา
(สารนาถ) และ ปรินิพพาน (กุสินารา) หรือไม่ก็เป็นที่เคารพบูชาแทนพระพุทธเจ้าภายหลังพระองค์
เสด็จดบั ขันธปรินพิ พาน ต่อมาจึงได้รับความนิยมในการทำข้นึ เพือ่ สืบทอดอายพุ ระพุทธศาสนาตามคติ
ที่ได้รบั ผ่านจากประเทศลังกา ท่ีเช่ือวา่ พุทธศาสนาจะดำรงอยู่ได้ในระยะเวลาเพียง ๕,๐๐๐ ปี จากน้ัน
จะค่อย ๆ เสื่อมลง จึงเป็นเหตุให้มีการสรา้ งพระพิมพ์พร้อมกับจารึกพระคาถา เย ธมฺมา ด้วยหวังว่า
รูปพระพุทธเจ้าและคาถาย่ออันเป็นคำสั่งสอนที่เป็นสาระของพระองค์จะเป็นเคร่ืองเตือนใจให้
ผูพ้ บเห็นเกิดความเลอื่ มใสและเชือ่ ถอื ในพระพทุ ธศาสนาและสืบสานพระพุทธศาสนาใหค้ งอย่สู ืบไป

๒.คติความเช่ือในการสรางพระพิมพตามพุทธศิลป์ จากการคนพบพระพิมพสมัยทวารวดี
จำนวนมาก กระจายอยูในทกุ ภาคของไทย เปนหลักฐานยนื ยันถงึ ความเจริญรุงเรืองและแพรหลายของ
พระพุทธศาสนาในสมัยทวารวดีทั้งพบวา พระพิมพที่พบในภาคตางๆ ของประเทศไทยสวนใหญมีคติ
การสรางที่สําคญั ๔ ประการ คือ ๑). สรางเพ่ือเปนการสืบตออายพุ ระพุทธศาสนา โดยนิยมจารกึ คาถา
หวั ใจพระพทุ ธศาสนา เย ธมมา ด้วยหวังว่าตอไปภายหนา เม่ือศาสนาเส่ือมไปแลว คนรุนหลังมาพบก็
จะสามารถ สืบหาแหลงทมาถูกตอง และบางสวนสรางเปนภาพเลาเร่ืองพุทธประวตั ิตอนตางๆ เปนตน
๒). สรางเพื่อใหเปนบุญกุศลและอทุ ิศผลบุญกุศลนั้นใหกบั ผูลวงลบั ไปแลว ๓). สรางเพ่ือแสดงออกถึง
คุณธรรมกตัญ กู ตเวทีตอผมพระคุณท้ังหลาย ๔). สรางเพ่ือเปนอนุสรณสําหรับไวเคารพบูชา ๓๔
นอกจากน้ียงั พบการสร้างเจดียล์ ักษณะพุทธศลิ ป์ยคุ มหายาน ในบริเวณภาคกลาง เชน่ ท่ีวัดสนามชัย
อำเภอเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี ลักษณะของเจดีย์เป็นแบบฐานส่ีเหล่ียม องค์เจดีย์ แปดเหล่ียม

๓๓ สมั ภาษณ์ พระมหาพิชัย (เจรญิ ยุทธ) ธมมฺ วิชโย, เจ้าอาวาสวดั เขาทำเทียม อำเภออู่ทอง จังหวัด

สพุ รรณบรุ ี เมื่อวันที่ เมอ่ื วนั ที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๓๔ สัมภาษณ์ พระธรรมพุทธิมงคล (สอ้ิง สิรินนฺโท ป.ธ.๘) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี

เจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์วรวหิ าร, ๒๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๙๐

ระฆงั กลม บัลลังก์แปดเหลี่ยม ท่ีสำคัญคือข้างใน จะกลวงและก่ออิฐไมส่ อปูน การเรยี งอิฐจะมลี กั ษณะ
แตกต่าง จากสมัยอยุธยา๓๕ พระพุทธรปู ในยคุ น้จี ะมีพุทธลกั ษณะแบบเดยี วกบั พระพุทธรปู สมยั อูท่ อง
และพระพุทธรูปพะเยา อันเป็นแบบ ร่วมสมัยกับศิลปะแบบปาละ ซึ่งในอินเดียจะมีลักษณะเป็น
พระพุทธรูปขัดสมาธิเพชร ส่วนพระพุทธรูปยุคศรีวิชยั น้ี พระพุทธรปู จะน่ังขัดสมาธริ าบ เป็นพระปาง
มารวิชัย จำหลัก ด้วยหินเนื้อละเอียด มีฐานสูง ท่ีฐานมีรูปจำหลักนูนเป็นสิงห์ แบบปาละ หางงอ
เป็นเส้นลวดขด สังฆาฏิปลายตัดเป็นเส้น ใหญ่ พระหัตถ์ขวามีนิ้วกางเหมือนศิลปะปาละ ประมาณ
พุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๖ มีหลักฐานช้ินแรกท่ีปรากฏนามของอาณาจักรทวารวดี อยู่ที่เหรียญ
สองเหรยี ญในโถแก้ว เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๖ พบในบริเวณซากพระเจดยี เ์ กา่ ทางทศิ ตะวันตกของวดั พระประ
โทน จงั หวัดนครปฐม เหรยี ญกว้าง ๒ ซ.ม. ดา้ นหน้าเปน็ รูปแม่โคกาํ ลงั ให้นมลูก และอีกเหรียญเปน็ รูป
แจกนั มพี รรณพฤกษาห้อยย้อยลงมา เป็นเคร่ืองหมายสญั ลกั ษณ์ของความมนั่ คงเจรญิ รุง่ เรืองเป็นทร่ี ูจ้ ัก
กันดีในประเทศอินเดีย และด้านหลังของเหรียญท้ังสองมีจารึกรุ่นพุทธศตวรรษที่ ๑๓ เป็นภาษา
สันสกฤตนาม ทวารวดี๓๖ จึงเช่ือว่า ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีคงอยู่ในภาคกลาง เช่น
เมอื งอ่ทู องทีส่ ุพรรณบุรี โดยมโี ยงใยอย่ตู ามภาคต่างๆ เป็นต้นเพราะพบหลักฐานทางด้านพระพุทธรูป
แบบทวารวดีศิลา และงานช่างต่างๆ ในศิลปะทวารวดี ที่อาจกล่าวได้ว่าคือพระพุทธรูปรุ่นแรกของ
ศิลปะในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ท่ีมีลักษณะเฉพาะอันเด่นชัดยิ่ง พระพุทธรูปและงานช่าง
สว่ นใหญ่ในสมัยทวารวดี สร้างด้วยศิลา ปูนปั้น ดนิ เผา และหล่อสําริด ได้รับอิทธิพลอย่างเด่นชัดจาก
พระพุทธรูป แบบคุปตะ และเน่ืองจากยุคสมัยของทวารวดีเจริญอยู่เป็นระยะเวลายาวนาน๓๗ มีส่ิงที่
สนใจในเร่ืองประวัติศาสตร์ของพุทธศิลป์ยุคทวารวดี จังหวัดสุพรรณบุรี มีความเห็นว่า ประมาณ
๑๓๐๐-๑๔๐๐ ปี อู่ทอง ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์อยู่ในที่ พ.ศ.๑๒๐๐-๑๔๐๐ปี เป็นต้นมา
ถือวา่ ยาวนานพอสมควร ในยคุ พระเจ้าอโศกก็จะมสี ร้างพระพทุ ธรูปเปน็ ตวั แทนของพระพุทธเจา้ ซ่งึ ใน
ยุคก่อนหน้านี้จะมีแค่ดอกบัวท่ีเป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนาเท่านั้น จนมาถึงปัจจุบันจึงมี
พระพุทธรูป ซ่ึงเรียกว่าเป็นศิลปะยุคทวารวดี ยุคอู่ทองถือว่าเป็นยุคต้นๆ เลยทีเดียว เช่น ธรรมจักร
ศิลา ท่ีขุดพบในการบูรณะเจดีย์เมืองโบราณอู่ทอง เป็นศิลปะทวารวดี ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ใน
พิพิธภัณฑ์อู่ทอง ร่วมกับพระพุทธรูปสำริด ปางประทานพร เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์อู่ทอง
เช่นเดียวกัน๓๘ เมืองอู่ทองจึงถือว่าเป็นเมืองปลอดสาร จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะ
โบราณวัตถุทั้งหลายท่ีค้นพบในเมืองอู่ทอง มันมีคุณค่าพื้นฐานและโดดเดน่ ไม่เหมือนทไี่ หนในประเทศ
ไทย ในพื้นท่ีพิเศษท่ีประกาศออกมาถือว่าท่ีอำเภออู่ทองเก่าท่ีสุดในเร่ืองของอายุ อู่ทองเป็นแหล่ง

๓๕ สัมภาษณ์ พระครูสิรวิ รธรรมภินันท์(ชูชาติ )อานนฺโท รองเจ้าคณะอำเภอเมือง เจ้าอาวาสวัดมะนาว
เม่ือวนั ที่ ๒๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.

๓๖ สัมภาษณ์ ดร.สมจินต์ ชาญกระปี, ผู้จัดการสำนกั งานพ้นื ท่ีพิเศษเพือ่ การท่องเที่ยวอยา่ งย่ังยืนเมือง
โบราณอ่ทู อง (องค์การมหาชน) สำนกั งานพ้นื ทพี่ ิเศษ 7 เม่อื วนั ที่ ๒๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓.

๓๗ สมั ภาษณ์ พระครูสิริวรธรรมภนิ ันท(์ ชูชาติ )อานนฺโท รองเจา้ คณะอำเภอเมือง เจ้าอาวาสวดั มะนาว
เมือ่ วนั ท่ี ๒๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๓๘ สัมภาษณ์ นางสาววิภารตั น์ ประดษิ ฐอาชพี , ผูอ้ ำนวยการพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติอูท่ อง จังหวดั
สุพรรณบุรี เมื่อวันที่ ๒๘ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๓..

๙๑

อารยธรรมสุวรรณภูมิซึ่งเป็นท่ีต้ังเมืองหลวงอาณาจักรทวารวดี ที่มีการขุดพบโบราณสถานและ
โบราณวัตถุท่ีแสดงความเจริญรุ่งเรืองในอดีตกว่า ๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว๓๙ เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัด
สุพรรณบรุ ี เปน็ งานศิลปกรรมทส่ี ร้างขน้ึ เนอ่ื งในพระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทเป็นหลัก เรมิ่ ปรากฏขึ้น
ครั้งแรกราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ หรือประมาณ ๑,๔๐๐ ปีมาแล้ว โดยในพ้ืนท่ีเมืองโบราณอู่ทองมี
มนุษย์อย่อู าศัยมาต้งั แต่สมยั กอ่ นประวัติศาสตร์ยคุ หินใหม่ เม่ือประมาณ ๓,๐๐๐ ปมี าแลว้ ตอ่ มาในยุค
ยุคกึ่งก่อนประวัติศาสตร์ เม่ือประมาณ ๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว มีการติดต่อแลกเปลี่ยนทางการค้าและ
วัฒนธรรมกับดินแดนห่างไกล อาทิ จนี อนิ เดีย และดนิ แดนตะวนั ออกกลาง นำไปสกู่ ารรับอารยธรรม
อนิ เดยี มาผสมผสานเข้ากับวัฒนธรรมพน้ื เมืองดั้งเดิม จนเกิดเปน็ สงั คมเมืองที่มีระบบการปกครองโดย
กษตั ริย์ มีการรับคติความเชอ่ื เนอื่ งในศาสนาพุทธและพราหมณ์-ฮนิ ดู รวมถึงการใช้ตัวอักษรและภาษา
เกดิ เป็นวฒั นธรรมทวารวดซี ึ่งเป็นยุคประวัตศิ าสตร์แรกเริ่มและเป็นต้นกำเนิดพทุ ธศิลป์ในดินแดนไทย
มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๖ หรือประมาณ ๑,๐๐๐ – ๑,๔๐๐ ปีมาแล้ว๔๐ เอกลักษณ์ของ
พุทธศิลป์ ท่ีปรากฏหลักฐานในเมืองโบราณอู่ทอง ซ่ึงสันนิษฐานว่าเป็นเมืองที่มีการประดิษฐาน
พระพุทธศาสนาเป็นเมืองแรกๆ ในบริเวณพื้นท่ีภาคกลางของประเทศไทยในปัจจุบัน และเป็นที่
ยอมรับของชนพ้ืนเมืองแล้วคือ การค้นพบประติมากรรมเนื่องในพระพุทธศาสนา ท่ีแสดงให้เห็นถึง
อทิ ธพิ ลศลิ ปะอนิ เดียแบบอมราวดีทถ่ี ูกสร้างข้ึนในดินแดนประเทศไทย ได้แก่ แผ่นดินเผารูปพระภกิ ษุ
สามองค์อุ้มบาตร ถือเป็นหลักฐานท่ีเก่าท่ีสุดทีเ่ ก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนา และเป็นหลักฐานท่ีแสดง
ให้เห็นว่าชมุ ชนแถบน้ีได้เปลี่ยนจากความเชอ่ื ดัง้ เดมิ หันมานับถือพระพุทธศาสนา มีการสร้างรปู เคารพ
รวมทั้งศาสนสถานเป็นของตนเองแล้ว ต่อมารูปเคารพ ที่เห็นได้ชัด ได้แก่ พระพุทธรูป ได้รับการ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบจากพระพุทธรูปที่ได้รับอิทธิพลของศลิ ปะอินเดียแบบคุปตะ ช่างท้องถ่ินได้พัฒนา
จนมีรูปแบบท่ีเป็นเอกลักษณ์ของศิลปะทวารวดีอย่างแท้จริง๔๑ สรุปการสรางพระพุทธรูปนาคปรก
ในประเทศไทยน้ันไดพบหลักฐานการสรางมายาวนานตั้งแต่ยุคหัวเลี้ยวหัวตอทางประวัติศาสตร
หลักฐานที่เกาสุดคงไดแกช้ันสวนฐานและ ขนดนาค พบที่เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เห็นวาเปน
พระพุทธรูปนาคปรกท่ีเก่าท่ีสุดในบรรดาพระพุทธรูปนาคปรกในสมัยทวารวดี เพราะมีลักษณะ
ใกลเคียงกบั ศลิ ปะอมราวดี อย่างมาก

สรปุ แนวคิดจากการศึกษาจากผู้ใหข้ ้อมลู สว่ นมาก เห็นว่าพุทธศาสนานา่ จะเข้ามาถึงดินแดน
ที่เปน็ ประเทศไทยปัจจุบัน นับตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษท่ี ๙-๑๐ หรือก่อนสมัยทวารวดีแลว้ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งท่ีเมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เพราะปรากฏรูปแบบศิลปกรรมอินเดียแบบอมราวดี
ตอนปลาย ทำขึ้นในท้องถิ่นและเคยใช้ประดับศาสนสถาน คือ การค้นพบประติมากรรมเน่ืองใน
พระพุทธศาสนา ที่แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลศิลปะอินเดียแบบอมราวดีท่ีถูกสร้างข้ึนในดนิ แดนประเทศ

๓๙ สัมภาษณ์,พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. (นิคม ณฏฺฐวโร) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลย์วรวิหาร,

เมือ่ วันที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓

๔๐ สัมภาษณ์ นางสาววิภารัตน์ ประดิษฐอาชีพ, ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง

จังหวัดสุพรรณบุรี เมอ่ื วันที่ ๒๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓..

๔๑ สัมภาษณ์ พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี, ผู้อำนวยการ, อาจารย์,

ณ.วิทยาลัยสงฆ์สพุ รรณบุรศี รีสวุ รรณภูมิ , เมื่อวนั ที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

๙๒

ไทย ได้แก่ แผ่นดินเผารูปพระภิกษุสามองค์อุ้มบาตร ถือเป็นหลักฐานท่ีเก่าท่ีสุดท่ีเก่ียวข้องกับ
พระพุทธศาสนา จึงเชื่อกันว่าผู้คนในบริเวณเมืองอู่ทองน้ีคงจะรู้จักและเริ่มนับถือพระพุทธศาสนาใน
ระดับใดระดับหนึ่งแล้ว “หลักฐานและหลักธรรมพุทธศาสนาสมัยแรกเริ่มที่อู่ทองและปริมณฑล”
อู่ทอง หลักฐานพระพุทธศาสนาแรกเร่ิมและรอยลูกปัด. ประวัติการเข้ามาของพระพุทธศาสนาที่
เมอื งอ่ทู องน้ีชัดเจนมากข้ึน เมอื่ กรมศิลปากรทำการขุดค้นเมืองอทู่ องนับแต่ พ.ศ. ๒5๐6๔๒ ส่วนนอ้ ยมี
ความเชือ่ ว่า พุทธศลิ ป์เมืองอู่ทองเกิดหลังศรีวิชยั ประมาณ พ.ศ. ๑๖๐๐ เป็นต้นไป เพราะมีความเชื่อ
เก่ียวกบั โยงเรอ่ื งพระเจ้าอ่ทู องมาเก่ียวเพราะภายหลังทา่ นไปตง้ั เมืองทอ่ี ยธุ ยาหรืออโยธยา

๔.๓ วิเคราะหอ์ ทิ ธิพลและคณุ ค่าพุทธศิลปย์ คุ ทวารวดี ในจังหวดั สุพรรณบุรี

อิทธพิ ลแนวคิดและคุณค่าเกี่ยวกับพุทธศลิ ปะศิลปะมีความสําคัญในด้านคุณคา่ หลายฐานะ
ท่ีสะท้อนในชีวิตของมนุษย์ ถึงฐานะด้านคุณค่าไว้หลายประเภท ในที่นี้จะกล่าวเพียง ๑ คุณค่า
ทางด้านศาสนาวัฒนธรรม ๒ คุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ ๓ คุณค่าทางด้านสุนทรยี ะความงาม ๔
คุณคา่ ทางเศรษฐกจิ ๕ คุณคา่ ทางด้านสังคมการปกครอง ดงั มแี นวคดิ ดังนี้

๔.๓.๑ คณุ ค่าทางดา้ นศาสนา

แนวคิดเก่ียวกับศิลปะกับศาสนา: ถ้าย้อนไปดูในยุคประวัติศาสตร์จะเห็นว่า มนุษย์
เร่ิมเขียนรูปในถ้ำ เริ่มเอาหินมาวางเป็นอนุสรณ์หรือทําสิ่งท่ีเคารพบูชาข้ึนมา เมื่อศาสนาเกิดขึ้นก็ใช้
ศิลปะเปน็ เครื่องมอื ในการเผยแพร่ศาสนา หรอื แมก้ ระทงั่ การสร้างศาสนสถานขน้ึ มา เพ่ือให้ศาสนิกชน
ได้ทําพิธีหรือเคารพบูชา ซ่ึงในทุกศาสนาก็มีศิลปะเป็นเคร่ืองมือ พระพุทธศาสนาน้ัน ก็ใช้ศิลปะเป็น
เครื่องมือหรือเป็นเคร่ืองช่วยในการเผยแพร่พระพุทธศาสนาท้ังทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรม
สถาปัตยกรรม โดยเฉพาะสถาปัตยกรรมนั้นเราก็มีการสร้าง สถูปเจดีย์ สร้างวิหารเป็นศาสนสถาน
เปน็ ที่สักการะ ซ่งึ มีความสัมพันธ์ของศิลปะกับศาสนา ๔๓: ตอ้ งบอกอย่างน้วี ่า บ่อเกิดของศิลปะท่ีใหญ่
ที่สดุ ในโลกก็คอื ศาสนา เพราะคนเราเมอื่ มีความศรัทธาในศาสนาแลว้ ก็จะทุ่มเท อุทิศตน และต้องการ
ให้สงิ่ ดีๆ บังเกดิ ขึ้น กับศาสนาท่ีตัวเองนับถือ ฉะนนั้ ศาสนสถานแต่ละแห่งนั้นก็เกิดจากพลังศรัทธา
ของคนในชุมชนรวมกัน ฉะน้ันจะสวยกว่าบ้านแน่นอน เพราะบ้านเกิดจากทุนทรัพย์ของคนๆ เดียว
แต่ศาสนสถานเกิดจากกําลังทุนของทุกคนรวมกัน และหาช่างท่ีฝีมือดีที่สุดทําอย่างต้ังใจที่สุด
ทําให้ศิลปะท้ังหลายมีการพัฒนา ไม่เฉพาะสง่ิ ปลูกสร้างอย่างเดียว ศิลปะท่ีเนื่องด้วยเร่ืองทางศาสนา
ทั้งหมดก็จะพัฒนาตามกันมาทั้งหมดเลย ขนาดจารึกคําสอนอย่างคัมภีร์โบราณเขาก็มีการพัฒนา
สมัยก่อนไม่มีกระดาษ กใ็ ชใ้ บลานในการจารกึ เพราะใบลานมีความทนทานสามารถเก็บไดห้ ลายร้อยปี
เช่นสถาปัตยกรรมทางด้านศาสนาทส่ี ร้างดว้ ยทองคํา หรือจนิ ดามณีของแท้ ต้องบอกวา่ สว่ นตัวนั้นต้อง

๔๒ สัมภาษณ์ อ.วรพร พรหมใจรกั ษ์ ตำแหน่ง อาจารย์ประจำหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาสังคม
ศึกษาชมรมนักโบราณคดีสมัครเล่นเมืองสุพรรณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรีเม่ือวันท่ี ๒๓
พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓..

๔๓ สัมภาษณ์,พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. (นิคม ณฏฺฐวโร) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลย์วรวิหาร,
เมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓

๙๓

เรียบง่าย แต่ถา้ เป็นสว่ นรวมท่ตี ้องแสดงออกถึงความเคารพบูชาแล้ว ก็ควรเอาสิง่ ท่ีดที ี่สุดทตี่ นมอี ยเู่ พ่ือ
ไปบูชาสิ่งท่ี เน่ืองด้วยพระรัตนตรัย พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ น้ันเป็นธรรมเนียมตั้งแต่คร้ัง
พุทธกาล ๔๔

เราอยู่ในยุคปัจจุบัน เราต้องเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ทุกคนว่า ทุกคนนั้นพร้อมที่จะ
เข้าถึงธรรมได้ในทันทีทันใดเดี๋ยวนั้นได้หรือไม่ ก็มีทั้งคนที่พร้อมและไม่พร้อม พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ทรงเปรียบการรับรู้ของคนเอาไว้ เหมือนดอกบัวไว้ว่า บัวประเภทปริ่มน้ำ แค่เจอแสงแดดนิดเดียวก็
พร้อมจะเบ่งบานได้เลยก็มี บัวกลางน้ำ จังหวะดีๆ ก็บาน จังหวะไม่ดีอยู่กลางน้ำไม่ยอมบานก็มี
เหมือนกัน คนที่ปร่ิมน้ำจะบานอยู่แล้วกลุ่มนี้ไม่มีปัญหา แต่กลุ่มน้ีมีน้อย กลุ่มคนส่วนใหญ่คือยังไม่รู้
เร่ืองอะไรเท่าไหร่ ศรัทธาก็มีบ้างพอประมาณ คนเหล่าน้ีแหละท่ีเราต้องทอดบันไดลงไปรับเขาขึ้นมา
ฉะนั้นคนกลุ่มน้ีพอมาถึงวดั แล้วได้เหน็ สิ่งประณตี งดงาม วดั วาอารามสะอาดตาของผู้พบเห็น ก็จะเร่ิม
เกิดความเล่ือมใสศรัทธา ใจเร่ิมเปิดพอพระเทศน์สอน ก็จะเข้าใจได้ง่าย นี่เป็นเคร่ืองช่วยพวกเขา
ดังนั้น สิ่งท่ีเน่ืองด้วยพระรัตนตรัย ควรทําให้ดีและประณีตเลย เป็นบุญเป็นกุศลต่อตัวผู้ทําเองด้วย
และเปน็ ประโยชนต์ ่อมหาชนด้วย แต่ตวั เราเองน้ันให้อยู่อย่างเรียบงา่ ย กนิ ใช้อย่างพอดีๆ ตามอตั ภาพ
ของเราทําไมในแต่ละประเทศแต่ละยุคจึงมีศิลปะที่เกี่ยวเนื่องด้วยพระพทุ ธศาสนาแตกต่างกันออกไป
เราคงเคยสังเกตเห็นเวลาไปวัดจีน วัดญี่ปุ่น วัดไทย หรือวัดเมียนมา ลักษณะพระพุทธรูปก็จะมี
เอกลักษณบ์ างอย่างต่างกันบา้ ง แตเ่ ราก็ดูออกว่าเป็นพระพุทธรูป เพราะมลี ักษณะรว่ มกันในบางอยา่ ง
ท่ที ําให้ดูออกว่าเป็นพระพุทธรูป ซ่ึงมีลักษณะที่สอดคล้องกับลักษณะมหาบุรษุ หลายอย่างร่วมกนั อยู่
เช่น เสน้ พระเกศาขดเป็นก้นหอย ใบหกู จ็ ะยาวออกมา พระเนตรเรยี วยาวโค้ง พระพักตรม์ คี วามเมตตา
อยา่ งน้ีเปน็ ตน้ ๔๕ และลักษณะบางอยา่ งท่ีดแู ลว้ แตกตา่ งกันนน้ั กต็ ้องเขา้ ใจวา่ ในครงั้ พุทธกาลหรือตอน
หลังพุทธกาลใหม่ๆ ช่วงน้ันยังไม่มีการปั้นพระพุทธรูป เพราะผู้คนท้ังหลายมีความเคารพศรัทธา
พระพุทธเจ้าสูงมาก และลักษณะมหาบุรุษนน้ั กส็ มบูรณ์มาก จนไมม่ ีใครอาจหาญปนั้ ข้ึนมา เพราะเกรง
ว่าถ้าปั้นผิดเพ้ียนไปแม้แต่นิดเดียว ก็กลัวว่าจะเป็นการลบหลู่พระพุทธเจ้า ดังนั้น พอมีอะไร
ที่เก่ียวเนื่องด้วยพระพุทธเจ้าเขาก็จะเลี่ยงมาใช้เป็นลักษณะทําเป็นรูปธรรมจักรบ้าง หรือเป็นรูปต้น
โพธิ์ อย่างมากก็ทําเป็นรูปคล้ายๆ เห็นจากข้างหลังบ้าง ไม่กล้าให้เห็นพระพักตร์เพราะเกรงจะไม่
เหมือน พระราชาเองก็ยังไม่กล้าทําเรม่ิ มกี ารป้ันพระพุทธรูปกนั จริงๆ จังๆ ตอนท่ีกรีกเข้ามาในอินเดีย
และในกรีก ก็มีการปั้นรูปป้ันต่างๆ มาก ก็เลยเอาศิลปะอย่างน้ันมาประยุกต์กับพุทธศิลป์ คือเอา
ลักษณะพระพุทธรูป ท่ีมีการกล่าวไว้ในพระไตรปิฎก ท่ีมีลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการและอนุ
พยัญชนะ ๘๐ อย่างน้ี เป็นต้น ออกเป็นพระพุทธรูปในยุคแรกๆ เป็นยุคพระพุทธรูปคันธาระ ศิลปะ
คนั ธาระซงึ่ เป็นแถบทอี่ ิทธิพลของกรีกมีมาก ต่อมากม็ ีการพัฒนาไปทางประเทศต่างๆ เขา้ ประเทศไหน
กม็ ีการปรับลักษณะพระพักตร์ ความคลา้ ยของคนในชาตินั้นบ้างในแต่ละยุคสมัยได้รับอทิ ธิพลมาจาก
ทางไหน ก็จะมีลักษณะเอกลักษณ์ ที่มีความแตกต่างกัน ตามแต่ที่มาและที่ไปเราเองก็ให้ศึกษาไว้ว่า

๔๔ สมั ภาษณ์ พระครูสิรวิ รธรรมภินันท์(ชูชาติ )อานนฺโท รองเจา้ คณะอำเภอเมอื ง เจา้ อาวาสวดั มะนาว

เมอื่ วนั ท่ี ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓

๔๕ สัมภาษณ์ พระธรรมพุทธิมงคล (สอิ้ง สิรินนฺโท ป.ธ.๘) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี

เจา้ อาวาสวดั ปา่ เลไลยกว์ รวิหาร เมือ่ วนั ท่ี ๒๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓

๙๔

เป็นความรู้เรื่องพุทธศิลป์ แต่สาระสําคัญ คือให้ทราบว่า นั่นคือองค์แทนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เม่ือกราบท่านแล้วก็ให้ระลึกนึกถึงพระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ พระปัญญ าคุณ
พระบรสิ ุทธิคณุ และพระมหากรุณาธคิ ณุ ของพระสัมมา สัมพุทธเจ้า แล้วต้ังใจฝกึ ตวั เองใหท้ าํ ความดีให้
มีคุณตามแบบอย่างของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อย่างน้ีเป็นการบูชาท่ีถูกหลัก ถือเป็นปฏิบัติบูชา
ทพี่ ระพุทธองค์ทรงยกย่องสรรเสรญิ ว่า เป็นการบูชาที่สงู สุด สรุปว่า ศิลปะไทยส่วนใหญ่สร้างขึ้นจาก
คติความเชื่อเก่ียวกับศาสนา ศิลปะไทย จึงมคี ุณค่าในการเผยแผ่ศาสนาและสืบทอดศาสนาในประเทศ
ไทย เชน่ การเขียนภาพจิตรกรรมหรือจาํ หลัก เร่อื งราวทางศาสนา ชาดก พุทธประวตั ิ หรือวรรณคดีท่ี
เกี่ยวเน่ืองกับความเล่ือมใสในเทพเจ้าต่างๆ เม่ือคนได้สัมผัส หรอื เห็นก็จะเกิดความคุ้นเคยและซึมซับ
เรอ่ื งราว ความเชื่อ คําสอนหรือขอ้ ธรรมะทแี่ ฝง อย่ใู นผลงานน้ันๆ หรือการสร้างพระพมิ พ์ พระพทุ ธรปู
พระโพธิสัตว์ หรือเทวรูปในศาสนาพราหมณ์ และ อ.วรพร พรหมใจรักษ์ ยังกล่าวว่า๔๖ คุณค่าทาง
ศิลปกรรมของพุทธศิลป์ ทำให้รู้ถึงรูปแบบของศิลปกรรมในสมัยทวารวดี และสามารถนำไปใช้ใน
การศกึ ษา รปู แบบของศลิ ปกรรมท่ีพบในแหล่งโบราณสถานและในสถานที่ต่างๆ

๔.๓.๒ คุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ : ศิลปะในแต่ละยุคจะทําให้ทราบถึงวิวัฒนาการการ
เช่ือมโยงด้านวัฒนธรรมของชุมชน เส้นทางการติดต่อคมนาคม๔๗ ใช้เป็นหลักฐานเพ่ือตรวจสอบว่า
เปน็ ยุคสมัยใดซึง่ เป็นข้อมลู ทีท่ ําใหก้ ารศึกษาเหตุการณ์ต่างๆ พทุ ธศิลปย์ ังใหค้ ุณคา่ ทางประวัติศาสตร์
ถูกต้องยิ่งขึ้น เพราะทำให้ทราบประวัติความเป็นมาและความสำคัญของชุมชนโบราณดังเดิม๔๘
อิทธิพลและคณุ ค่าพทุ ธศิลป์ยุคทวารวดีเมืองโบราณอู่ทอง ในจงั หวดั สพุ รรณบุรี เป็นเมอื งสมัยแรกเร่ิม
ประวัติศาสตร์และต้นกำเนิดพุทธศิลป์ในดินแดนไทย พบหลักฐานศิลปกรรมเน่ืองในพุทธศาสนาท่ีมี
อายรุ าวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ – ๑๓ หรอื ประมาณ ๑,๓๐๐ – ๑,๔๐๐ ปมี าแล้ว รูปแบบศลิ ปกรรมยังมี
ความใกล้เคียงกับศลิ ปะอนิ เดียซ่ึงเป็นตน้ แบบมาก อิทธิพลของศิลปะอนิ เดียท่ีปรากฏในระยะนี้ได้แก่
ศิลปะอมราวดี ศลิ ปะคุปตะและหลังคปุ ตะ โบราณวัตถทุ ีก่ ำหนดอายอุ ยู่ในช่วงสมัยน้ี เช่น พระพุทธรูป
หนิ สลกั นนู แสดงพุทธประวตั ติ อนปฐมเทศนา ธรรมจกั รพรอ้ มเสาและแท่นฐานรองรับที่สมบูรณท์ ่สี ดุ ใน
ดินแดนไทยซ่ึงพบจากการขุดแต่งเจดีย์หมายเลข ๑๑๔๙ เมืองโบราณอู่ทอง โบราณวัตถเุ หล่านี้แสดง
อิทธพิ ลศิลปะอินเดยี แบบคปุ ตะอย่างชัดเจน นอกจากน้ียังมีโบราณวัตถุท่ีมีจารกึ อักษรปลั ลวะ ซึ่งเป็น
อักษรที่รับมาจากอินเดียรุ่นแรกๆ ที่พบในดินแดนไทย เช่น พระพิมพ์มีจารึกคาถาเย ธมฺมา ซึ่งเป็น
หัวใจสำคัญของพุทธศาสนา จารึกเย ธมฺมาเป็นคาถาท่ีนิยมจารึกมากในสมัยทวารวดี ปรากฏท้ังบน

๔๖ สมั ภาษณ์ อ.วรพร พรหมใจรักษ์ อาจารยป์ ระจำหลกั สูตรครุศาสตรบณั ฑิต สาขาสงั คมศึกษาชมรม

นักโบราณคดีสมัครเล่นเมืองสุพรรณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี เม่ือวันท่ี ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ.

๒๕๖๓.

๔๗ สัมภาษณ์ นางสาวจนั ทิรา เคหะนาค ผู้อำนวยการกลุม่ อำนวยการและกิจการคณะสงฆ์ สำนักงาน
พระพทุ ธศาสนาจงั หวดั สุพรรณบุรี จังหวดั สพุ รรณบุรี เมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓..

๔๘ สัมภาษณ์ ,พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. (นิคม ณฏฺฐวโร) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลย์วรวิหาร,

เมอ่ื วนั ท่ี เมือ่ วนั ท่ี ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.
๔๙ สัมภาษณ์ พระมหาพิชัย (เจริญยุทธ) ธมฺมวิชโย, เจ้าอาวาสวัดเขาทำเทียม อำเภออู่ทอง

จังหวดั สพุ รรณบรุ ี เมื่อวันท่ี ๑๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓

๙๕

พระพิมพ์ สถปู ดนิ เผาจำลอง และยงั พบพระพิมพ์มีจารึกระบุนามพระสาวกองค์สำคญั ของพระพุทธเจ้า
ซึง่ พระพิมพ์รปู แบบนไี้ ม่พบที่เมืองโบราณสมัยทวารวดีแห่งอ่ืน เป็นระยะท่ีมีอิทธิพลศิลปะอนิ เดยี แบบ
ปาละปรากฏข้ึน งานศิลปกรรมมีวิวัฒนาการสืบต่อจากระยะแรกท่ที ำตามแบบอินเดีย แต่กม็ ีลักษณะ
พื้นเมืองเข้ามาผสมผสาน จนเกิดเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวอย่างแท้จริง ถือเป็นช่วงรุ่งเรืองของสมัย
ทวารวดี งานศิลปกรรมจำนวนมากจัดอยู่ในสมัยนี้ เชน่ พระพุทธรปู สำริดปางแสดงธรรมสองพระหัตถ์
ซึ่งปรากฏประภามณฑลเป็นรูปเปลวไฟตามอิทธิพลปาละ และแสดงธรรมสองพระหัตถ์ซ่ึงเป็น
เอกลักษณ์ของพระพุทธรูปในสมัยทวารวดี พระพิมพ์ดินเผาประดับศาสนสถานที่มีรูปแบบเป็น
เอกลักษณ์ไม่พบทเ่ี มอื งโบราณสมัยทวารวดีแหง่ อ่ืน พระพิมพด์ ินเผาจารกึ ภาษามอญโบราณกล่าวนาม
ผสู้ ร้าง รวมถงึ ศาสนสถาน ได้แก่ เจดีย์ วหิ าร ซึง่ ในปัจจุบนั เหลอื อย่เู พียงสว่ นฐานในผงั ยกเกจ็ มที ้องไม้
เจาะช่องสำหรับประดับประติมากรรมปูนปั้น มฐี านบวั วลัย นอกจากเมืองโบราณอู่ทองแล้ว ยังพบงาน
พุทธศิลปท์ ม่ี รี ูปแบบศลิ ปกรรมท่มี คี วามคลา้ ยคลึงกนั ทเ่ี มืองโบราณสมยั ทวารวดีแห่งอ่ืนด้วย ๕๐

๔.๓.๓ คณุ ค่าทางด้านสุนทรียะความงาม ความงามในที่น้ีเป็นเร่ืองของคุณค่า ทเี่ ป็นคณุ ค่า
ทางสุนทรียะ แตกต่างจากคุณค่าทางเศรษฐกิจที่เป็นราคาของวัตถุ แต่เป็นคุณค่าต่อจิตใจ ความงาม
เกดิ ขึน้ ด้วยอารมณ์ มิใชด่ ว้ ยเหตผุ ล ความคิด หรือข้อเทจ็ จริง คนท่ี เคร่งครัดต่อเหตุผล หรอื เพง่ เลง็ ไป
ท่คี ุณค่าทางวัตถุจะไม่เห็นความงาม คนทีม่ ีอารมณ์ละเอียดอ่อนไหว จะสัมผัสความงามได้ง่ายและรับ
ไดม้ าก ความงามให้ความยินดี ให้ความพอใจไดท้ ันทีโดยไม่ต้องมเี หตผุ ล ความยินดีนัน้ เกิดข้ึนเองโดย
ไม่มีการบังคับ ความงามน้ันเก่ียวข้องกับวัตถุก็จริง แต่มิได้เร่มิ ที่วัตถุ มันเรม่ิ ท่ีอารมณ์ของคน ดังนั้น
ความงามจึงเป็นอารมณ์เป็นสุขารมณ์ หรือเป็นอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความสุนทรียะ เป็น๑ ใน ๓ สิ่งท่ี
กอ่ ให้เกิดความสุขกับมนุษย์ ซึ่งได้แก่ความดี ความงาม และความจริง ผู้ที่ยอมรับและเห็นในคุณค่า
ของท้ังสามส่ิงนี้จะเป็นผู้มีความสุข เนื่องจากความงามเป็นอารมณ์ เป็นสิ่งที่อยู่ในความรู้สึกนึกคิด
ความงามจึงเป็นนามธรรม ดังน้ัน การสร้างสรรค์งานศิลปะ ก็เป็นการถ่ายทอดความงามผ่านส่ือ
วัสดุต่างๆ ออกมา เพื่อให้ผู้อ่ืนได้สัมผัส ได้พบเห็น ได้รับรู้ สื่อต่างๆ จะเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ชมเกิด
อารมณ์ ทางความงามที่แตกต่างกันตามค่านิยมของแต่ละบุคคล ความงามไม่ใช่ศิลปะ เนื่องจากว่า
ความงาม ไมจ่ ําเป็นต้องเกิดจากส่ิงที่มนุษย์สรา้ งขึ้นในธรรมชาติท่ีมีความงาม ศิลปะและสุนทรียภาพ
สามารถมีอิทธิพลต่อจิตใจของคนเราได้หลายระดับ ระดับแรก คือ ความคิดใครใฝ่หา เป็นความรู้สึก
อยากชิดใกล้ อยากไดห้ รอื อยากครอบครอง (พระพุทธศาสนาเรยี กว่าราคะ) ระดับตอ่ มาคือความรู้สึก
ดื่มด่ำ ปีติ สูงขึ้นมาอีก คือความสงบ และสูงที่สุดคือความรู้สึกที่เหนือโลกีย์ เป็นสภาวะท่ีจิตได้สัมผัส
กับความจริงขั้นสูงสุด หรือปรมัตถ์ เช่น ความรู้สึกเป็นหน่ึงเดียวกับธรรมชาติและจักรวาล สภาวะ
ทอี่ ัตตาตัวตนได้เลือนหาย ไม่มีเส้นแบ่งระหว่างตัวตนกับโลกอีกต่อไป อยู่เหนือบัญญัติหรือความจริง
แบบทวินิยม เป็นสภาวะ ที่จิตเปี่ยมด้วยเมตตากรณุ าอย่างไม่มีประมาณ ๕๑ พุทธศิลป์ยังให้คุณคา่ ทาง

๕๐ สมั ภาษณ์ อ.วรพร พรหมใจรกั ษ์ ตำแหนง่ อาจารยป์ ระจำหลกั สูตรครุศาสตรบณั ฑติ ชมรมนกั

โบราณคดีสมคั รเล่นเมอื งสพุ รรณ หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ีเมือ่ วันท่ี ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ.

๒๕๖๓..

๕๑ สัมภาษณ์ พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี, ผู้อำนวยการ, อาจารย์,

ณ.วิทยาลัยสงฆส์ ุพรรณบรุ ศี รีสวุ รรณภูมิ , เมอ่ื วนั ที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

๙๖

ศลิ ปกรรมความงามหลายอย่าง ทำให้รถู้ ึงรูปแบบของศิลปกรรมในสมัยทวารวดี และสามารถนำไปใช้
ในการศึกษา รูปแบบของศิลปกรรมท่ีพบในแหล่งโบราณสถานและในสถานท่ีต่างๆ ได้ โดยเฉพาะ
ปจั จุบนั เราเองได้ทำพิพิธภัณฑศาสนาวัตถุทางศาสนา ไว้ท่ีวดั มะนาวมีพระพทุ ธรปู และสิง่ ที่มูลคา่ ทาง
พระพุทธศาสนาท่ีเก่าแก่ อันมีมูลค่ามหาสารเป็นจำนวนมาก คิดคำนวณหาค่ามิได้ หากประเมิน
มูลค่าเงินทรัพย์สินเงินทองค่าว่าประมาณ ๑๐๐ ล้านบาท เพราะท่ีทำข้ึนนั้นเร่ิมจากความศรัทธา
ของขา้ พเจ้าท่ีมตี ่อองคพ์ ระพทุ ธเจ้าหลงในความงามของพทุ ธศิลป์๕๒

จุดประสงค์หรือเป้าหมายในการสร้างศิลปะที่เกี่ยวเน่ืองกับศาสนา ต่างไปจากการสร้าง
ศิลปะ ประเภทอ่ืน เพราะศิลปินผู้สร้างศิลปะ เน่ืองในศาสนา หรือศาสนศิลป์นั้น เพื่อการสร้างงาน
ศิลปะขึ้น เพ่ือรับใช้ศาสนา ซึ่งสาระสําคัญของศาสนาทุกศาสนานั้นมุ่งให้มนุษย์มีชีวิตที่ดี มีศีลธรรม
ประจําใจ ดังนั้น เนื้อหาหรือเป้าหมายของศาสนศลิ ป์ จงึ เน้นท่ีความดีและความงาม เพื่อให้ผ้เู สพไดร้ ับ
ความรู้สึกนึกคิด บนพื้นฐาน ท่ีเป็นแนวปรัชญาของศาสนาแต่ละศาสนา อย่างไรก็ตาม เม่ือศิลปิน
มแี นวคิดท่ีเป็นอิสระ พ้นจากศาสนาแล้ว จึงสร้างศิลปะเพื่อศิลปะขึ้นในยุคต่อมาก็ตาม แต่ศิลปินก็ยัง
ดํารงแนวคิดท่ีมุ่งให้ศิลปะ เป็นสื่อของความดีและความงามในจิตใจมนุษย์ มากกว่าที่จะใช้ไปในทาง
เลวร้าย จนกล่าวกันว่า ศิลปะกับ ศาสนาเป็นสิ่งเดียวกันหรือเป็นสิ่งที่ใกล้ชิดกันมาก ความมุ่งหมาย
ของศิลปะคือเก้ือกูลศีลธรรมและยกระดับ จิตใจของมนุษย์ แม้ว่าการแสดงออกในบางคร้ังจะใชเ้ ร่ือง
อกุศลเป็นสื่อ แต่เป็นไปเพื่อชี้ให้เห็นปัญหาและวิธีแก้ไข เช่น ศิลปะทางกามวิสัยตามเทวสถาน
ในอินเดียศิลปะเหล่าน้ัน มีความม่งุ หมายท่ีจะก่อให้เกดิ ประโยชนท์ างศีลธรรมและสงั คม เน่ืองจากโรค
ระบาดได้ทําลายชีวิตของประชาชนไปมากมาย จึงต้องช่วย กระตุ้นและสนับสนุนให้การกําเนิดมนุษย์

๕๓

๔.๓.๔ คุณค่าทางเศรษฐกิจ สามารถพัฒนาเป็นแหลง่ ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และ
นำมาพัฒนาต่อยอดเปน็ งานฝีมือ สร้างเป็นผลิตภัณฑ์ชมุ ชน เป็นของที่ระลึกแก่นักท่องเที่ยวได้ อพท.
๗ มองเห็นวา่ เมื่อมีนักท่องเที่ยวมาศึกษาดูงาน มาเท่ียวชมสถานท่ีทางประวัติศาสตร์เพิ่มขึ้น ก็ทำให้
เกิดมรี ายได้ในชุมชน ไม่ว่าจะเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ร้านค้า ร้านอาหาร ทีพ่ ัก หรือแมแ้ ตน่ ักสอ่ื ความหมายก็มี
รายได้คุณค่าทางสังคม ทางรัฐบาลและ จะทำอย่างไรให้ไปรวมกับประชาชนกับสังคมในปจั จบุ ัน และ
จะต่อยอดอย่างไรใหโ้ ดยท่ีพัฒนาแล้วคุณคา่ เดมิ ต้องไม่เสียไป ขณะเดียวกนั ก็ยังสร้างมูลคา่ เพ่ิมไปตาม
แนวทาง จึงเป็นท่ีมาให้มี อพท.๗ ข้ึนในเขตพ้ืนที่อำเภออู่ทอง จะทำอย่างไรให้คนในพ้ืนท่ีเค้ารูจ้ ักคุณ
ค่าที่มีอยู่เดิม อยากรู้จักและพัฒนาต่อยอดได้และเอาเรื่องการท่องเท่ียวเข้ามาจับเพื่อยกระดับ
ยกคุณภาพชีวิต เร่ืองทักษะ ความรู้ ความเข้าใจของประชาชนในเขตพื้นที่อำเภออู่ทอง และเรื่อง
กระจายรายได้ ไมไ่ ด้ต้องการใหแ้ คค่ นในพนื้ ทีต่ ระหนกั และความรู้รักในถิ่นเกดิ เพียงอย่างเดยี ว แตต่ อ้ ง
มีรายได้เพิ่มข้ึนได้ จากการท่องเท่ียว ชุมชนต้องมีหน้าที่หลายอย่าง เช่น นักส่ือความหมาย ทำเร่ือง
กิจกรรมการท่องเท่ียว ทำผลิตภัณฑ์พื้นบ้านไว้จำหน่าย ต้องเช่ือมโยงความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์

๕๒ สัมภาษณ์ พระครสู ริ ิวรธรรมภินันท(์ ชูชาติ )อานนโฺ ท รองเจา้ คณะอำเภอเมือง เจ้าอาวาสวัดมะนาว

เมือ่ วนั ที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓.

๕๓ สัมภาษณ์,พระครโู สภณวรี านวุ ตั ร, ดร. (นคิ ม ณฏฐฺ วโร) ผูช้ ่วยเจา้ อาวาสวดั ป่าเลไลย์วรวหิ าร, เมื่อ

วันท่ี ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓

๙๗

ด้วย เช่น การร้อยลูกปัดโบราณ ท่ีทำขึ้นมาใหม่ โดยเลียนแบบลูกปัดยุคทวารวดีท่ีขุดค้นพบใน
อำเภออู่ทอง ไว้เพ่ือจำหน่ายให้กับนักท่องเที่ยว ทำให้ชุมชนมีรายได้ จัดกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวชม
พืน้ ท่ีประวตั ิศาสตร์ภายในอำเภออู่ทอง ทำให้นักท่องเทีย่ วรู้ความเป็นมาของประวัติศาสตรม์ ากขึ้น๕๔
ประเทศไทยมีประวัตศิ าสตร์ทางพระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจําชาติมายาวนาน ดังนนั้ ในประเทศ
ไทยจึงมีพุทธศิลป์เป็นจํานวนมาก พุทธศิลป์ที่ปรากฏในประเทศไทยเริ่มมีให้เห็นเป็นหลักฐาน
ท่ียังหลงเหลอื อยกู่ ็คอื ในสมัยสุโขทยั และสมัยกรุงศรีอยุธยาเช่น วดั ปา่ เลไลย์กวรวหิ าร เป็นสอ่ื นำทาํ ให้
เราได้เห็นร่องรอยความงดงาม ความศรัทธา ความเชื่อ และประวัติศาสตร์ชาติพันธ์ุของไทยได้เป็น
อย่างดี แต่แมว้ ่าพุทธศิลปะจะทําหน้าท่ี สือ่ สารศรัทธา เจตนา และแนวความคิดของผู้สร้างอย่างดีย่ิง
แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าเร่ิมจะมีพุทธพาณิชย์ เข้ามาเจือปนแล้ว เช่น การนําพุทธศิลป์ไปเป็นธุรกิจการค้า
หรอื นําไปเป็นเครื่องประดบั แหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว หรอื โรงแรม เปน็ ตน้ ๕๕

๔.๓.๕ คุณค่าทางด้านสังคม :ในสมัยก่อนผู้ปกครอง หรือพระมหากษัตริย์ได้นําศิลปะ
มาใช้เพื่อประโยชน์ในการบริหารบ้านเมือง เพ่ือเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างกัน หรือใช้เป็นสัญลักษณ์
ของการเข้าไปมีอํานาจเหนือเมืองอ่ืน การติดต่อสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และคุณค่าทางเศรษฐกิจ
สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ และนำมาพัฒนาต่อยอดเป็นงานฝีมอื สร้างเป็น
ผลิตภัณฑ์ชุมชน เป็นของที่ระลึกแก่นักท่องเท่ียวได้๕๖ ในมังคสัตถทีปนี พระสิริมังคลาจารย์ อธิบาย
เกี่ยวกับการบูชาไว้ ๒ ประการเช่นเดยี วกัน กลา่ วคือ การบูชาดว้ ยอามิส และการบูชาดว้ ยการปฏบิ ัติฯ
การบูชาด้วยสักการะ มีดอกไม้เป็นต้นและด้วยปัจจัย ๔ ช่ือว่าอามิสบูชา, การบูชาด้วยการปฏิบัติ
ชอ่ื ว่าปฏิบัตบิ ูชาในอรรถกถา ท่านยังได้อธิบายเพ่ิมเติมไว้อีกว่า “การบูชาด้วยการทําสักการะ เคารพ
นบนอบและการไหว้ ชอ่ื วา่ บูชา” โดยกาํ หนดบุคคลอย่างสงู สุด พระพุทธเจ้า พระปจั เจกพุทธเจ้า และ
พระอริยสาวก ชื่อว่า ปูชในยบุคคล, จริงอยู่ ท่านเหล่าน้ัน เรียกว่า ปูชไนยบุคคล เพราะทําภาวะ
แห่งการบูชาท่ีบุคคลทําในตนแม้เล็กน้อย นําประโยชน์สุขมาให้ตลอดกาลนาน เหตุเพราะเป็นทักณิ
ไณยบุคคล” สมดังท่ีพระผู้มีพระภาคตรัส พระคาถานี้แก่ภิกษุทั้งหลาย ดังนี้วา่ “บุญของบุคคลผู้บูชา
ท่านผู้ควรบูชา คือพระพุทธเจ้า หรือพระสาวก ผู้ก้าวพ้นธรรมเคร่ืองเน่ินช้า ผู้ข้ามความโศกและ
ความร่ำไรได้แล้ว ผู้คงท่ี ผู้ดับกิเลสได้แล้ว ผู้ไม่มีภัย แต่ท่ีไหน อันใครๆ ไม่อาจนับได้ว่า บุญน้ีมี
ประมาณเท่าน้ี๕๗ พุทธศิลป์ทวารวดีที่ปรากฏในรูปแบบของเจดีย์และโบราณสถาน โบราณวัตถุอื่นๆ
ล้วนมีอิทธิพลและคุณค่าในด้านต่างๆ มากมายอาทิ ท่ีสำคัญ คุณค่าทางสังคม เกิดสำนึกรักบ้านเกิด

๕๔ สัมภาษณ์ ดร.สมจินต์ ชาญกระปี, ผจู้ ัดการสำนักงานพน้ื ที่พิเศษเพ่อื การท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนเมือง

โบราณอูท่ อง (องคก์ ารมหาชน) สำนักงานพื้นทพ่ี ิเศษ 7 เมอื่ วนั ท่ี ๒๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓.

๕๕ สัมภาษณ์,พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. (นิคม ณฏฺฐวโร) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลย์วรวิหาร,

เมือ่ วันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓
๕๖ สัมภาษณ์ อ.วรพร พรหมใจรกั ษ์ ตำแหน่ง อาจารย์ประจำหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาสังคม

ศึกษาชมรมนักโบราณคดีสมัครเล่นเมืองสุพรรณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรีเมื่อวันที่ ๒๓

พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓..
๕๗ สัมภาษณ์ ดร.สมจินต์ ชาญกระปี, ผู้จัดการสำนกั งานพน้ื ท่ีพิเศษเพอ่ื การท่องเท่ียวอยา่ งยั่งยืนเมือง

โบราณอู่ทอง (องค์การมหาชน) สำนักงานพืน้ ทพี่ เิ ศษ 7 เม่อื วันท่ี ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓.

๙๘

ภูมิใจในบ้านเกิดท่ีมีหลักฐานประวัติศาสตร์อันมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนานและน่าภาคภูมิใจ๕๘
คณุ ค่าทางสังคม ทางรัฐบาล จะทำอย่างไรให้ไปรวมกับประชาชนกับสังคมในปัจจุบัน และจะต่อยอด
อย่างไรให้โดยที่พัฒนาแล้วคุณค่าเดิมต้องไม่เสียไป ขณะเดียวกันก็ยังสรา้ งมูลค่าเพ่ิมไปตามแนวทาง
จึงเป็นท่ีมาให้มี อพท.๗ ขึ้นในเขตพ้ืนที่อำเภออู่ทองได้ทำเพื่อสังคมจริงๆ ตลอดมานับ ๑๐ ปี
โดยเฉพาะโครงการปัจจุบันได้เป็นผู้สนับสนุนมูลค่าเงินประมาณ ๑๐ ล้านบาทเพ่ือช่วยพัฒนาสถานที่
ทางประวัตศิ าสตร์วัดเขาทำเทียมหรือพระแกะสลักหินใหญ่ท่ีสดุ ในเอเชียคุณค่าทางสังคม มองเห็นว่า
จะทำอย่างไรให้ไปรวมกับประชาชนกับสังคมในปัจจุบัน และจะต่อยอดอย่างไรให้โดยท่ีพัฒนาแล้ว
คุณค่าเดิมตอ้ งไม่เสียไป ขณะเดียวกันก็ยงั สร้างมูลค่าเพ่ิมไปตามแนวทาง ทำอย่างไรให้คนในพืน้ ที่เค้า
รูจ้ กั คุณค่าที่มอี ยูเ่ ดมิ อยากรูจ้ กั และพัฒนาตอ่ ยอดไดแ้ ละเอาเรือ่ งการท่องเท่ยี วเข้ามาจับเพ่ือยกระดับ
ยกคณุ ภาพชีวติ เร่ืองทักษะ ความรู้ ความเขา้ ใจของประชาชนในเขตพืน้ ท่ีอำเภออูท่ อง - เรื่องกระจาย
รายได้ อพท.๗ ไม่ได้ตอ้ งการใหแ้ คค่ นในพื้นที่ตระหนักและความรู้รกั ในถน่ิ เกิดเพยี งอย่างเดียว แตต่ ้อง
มีรายได้เพ่ิมข้ึนได้ จากการท่องเท่ียว ชุมชนต้องมีหน้าท่ีหลายอย่าง เช่น นักส่ือความหมาย ทำเรื่อง
กิจกรรมการท่องเที่ยว ทำผลิตภัณฑ์พื้นบ้านไว้จำหน่าย ต้องเชื่อมโยงความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์
ด้วย เช่น การร้อยลูกปัดโบราณ ที่ทำข้ึนมาใหม่ โดยเลียนแบบลูกปัดยุคทวารวดีท่ีขุดค้นพบใน
อำเภออู่ทอง ไว้เพื่อจำหน่ายให้กับนักท่องเท่ียว ทำให้ชุมชนมีรายได้ จัดกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวชม
พ้นื ที่ประวตั ิศาสตร์ภายในอำเภออู่ทอง ทำให้นักท่องเท่ยี วรู้ความเป็นมาของประวัติศาสตร์มากขึ้น๕๙
อพท.๗ และคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดอบรมความรู้เรื่องโบราณคดีให้แก่ครูสังคมใน
จังหวัดสุพรรณบุรี เพ่ือเผยแผ่องค์ความรู้ สร้างประสบการณ์โดยตรง มีการประชาสัมพันธ์ศูนย์การ
เรียนรู้และกิจกรรมผ่านทางช่องทางหลากหลาย เช่น การใชส้ ื่อส่ิงพิมพ์ สื่อออนไลน์ มีการฝึกนักสื่อ
ความหมายให้ได้เรียนรู้เร่ืองประวัติศาสตร์ไว้คอยให้ความรู้แก่นักท่องเที่ยวที่มาเยือนและ อพท.๗
ได้ดำเนินโครงการพัฒนาเกม ๓ มิติ ผา่ นเกมบนมือถือวอร์สอ๊อฟสแครมเบ้ิลอู่ทอง คิงดอม (Wars of
Scramble U-Thong Kingdom : WOS) ด้วยแอพพลิเคช่ัน ในระบบปฏิบัติการในระบบ IOS และ
Android ร่วมกับคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร พฒั นาเกมประเภทโมบา (MOBA) เพ่ือสร้าง
การเรียนรู้ รับรู้ถึงประวัติศาสตร์และความเป็นมาของพื้นท่ีอู่ทองเป็นแหล่งอารยธรรมสุวรรณภูมิ
ซ่ึงเป็นที่ต้งั เมืองหลวงอาณาจักรทวารวดี ที่อยู่ในเมืองโบราณอู่ทองให้เป็นท่ีรู้จักในกลุ่มนักท่องเที่ยว
มากขึ้น๖๐ ลักษณะการแสดงออกของงานศิลปะที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน มีความ
หลากหลายท้ังรูปแบบและเน้ือหามากข้ึน ดังน้ัน การรับรู้ถึงคุณค่าของความงามต่องานศิลปะ
จําเป็นต้องอาศัยการวิพากษ์วิจารณ์งานศิลปะขึ้นมา เพื่อให้ผู้ชมในสังคมรับทราบถึงความคิดของ

๕๘ สัมภาษณ์ อ.วรพร พรหมใจรักษ์ ตำแหน่ง อาจารย์ประจำหลักสตู รครุศาสตรบัณฑิต สาขาสังคม

ศึกษาชมรมนักโบราณคดีสมัครเล่นเมืองสุพรรณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรีเมื่อวันท่ี ๒๓

พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓..

๕๙ สัมภาษณ์ ดร.สมจินต์ ชาญกระปี, ผูจ้ ัดการสำนกั งานพืน้ ที่พิเศษเพ่อื การท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนเมือง

โบราณอทู่ อง (องคก์ ารมหาชน) สำนกั งานพื้นที่พเิ ศษ 7 เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓.

๖๐ สัมภาษณ์,พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. (นิคม ณฏฺฐวโร) ผูช้ ่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลย์วรวหิ าร, เม่ือ

วันท่ี เมอื่ วันที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.

๙๙

ศิลปนิ ทสี่ ร้างสรรค์ งานออกมาในสงั คมซึ่งการวจิ ารณ์งานพทุ ธศลิ ปต์ ้องมกี ารใช้หลักเกณฑ์ทางวิชาการ
เพือ่ ใหผ้ ชู้ มในสังคม ไดเ้ ข้าใจ และยอมรับในงานศิลปะช้นิ นั้นๆ

จะเห็นได้ว่าศิลปะมีคุณค่าในหลายๆ ด้านต่อสังคม ไม่จํากัดเฉพาะการรับใช้ศาสนาหรือ
คุณค่า ด้านความงาม นอกจากน้ีคุณค่าเก่ียวกับพุทธศิลปะ สะท้อนให้เห็นมุมมองคุณค่าในมิติ
หลักธรรมคําสอนในพระพุทธศาสนา งานศิลปะท่ีมีเน้ือหาในเชิงพุทธศิลป์ มีพัฒนาการมาอย่าง
ต่อเนื่องตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันในประเทศท่ีมีการนับถือพระพุทธศาสนารวมถึงประเทศไทย
ดงั ปรากฏในงานศิลปะประเภทต่างๆ ท้งั ในด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ซ่ึงสร้าง
ขึ้นเพ่ือเผยแพร่พระพุทธศาสนาและเพื่อเป็นส่ิงท่ีช่วยโน้มน้าวจิตใจของพุทธศาสนิกชนให้เกิดความ
ศรัทธา ประพฤติปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดีงาม ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาทั้งในฝ่ายหีนยาน
(หรือเถรวาท) และฝ่ายมหายาน (หรืออาจริยวาท) พุทธศิลป์ มีรากฐานท่ีผูกพันกับวิถีดําเนินชีวิต
ของผู้คนในสังคมไทยมาเป็นเวลาช้านาน มีลักษณะเฉพาะของความเป็นตะวันออกมีลักษณะเฉพาะ
พิเศษแบบชนชาติไทย มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสังคมไทย ไม่ว่าจะเป็นภาพเขียนพุทธปฏิมา
สง่ิ ก่อสร้าง วรรณกรรม กระท่ังแม้การตกแต่งประดบั ประดาซงึ่ ศลิ ปะแขนง ตา่ งๆ ได้รับการกล่าวขาน
ว่าเป็นพุทธศิลป์ โดยมีเหตุผลสําคัญประการหนึ่ง เพราะสร้างข้ึนในปริมณฑลของวัดประการหนึ่ง
เพราะเนื้อหาสาระมีส่วนเกี่ยวข้องกับศาสดา เชน่ พุทธประวัติ พุทธปฏิมา ฯลฯ เกี่ยวข้องกับคําสอน
โดยอาศยั วธิ ีการต่างๆ เช่น ทฤษฎีสามโลกในไตรภูมิและอกี ประการหน่งึ เพราะศิลป์ หรอื ช่างจะแสดง
เจตจํานงในการเนรมิตศิลปกรรมด้วยพลังศรัทธา และเป็นพุทธบูชา เป็นต้น งานพุทธศิลป์ท่ีเป็น
ด้านเจดีย์และอื่นๆ ที่สร้างขึ้นในยุคทวารวดีท่ีปรากฏอยู่ในวัดหรือที่อยู่อาศัยมีอิทธิพลและ
คุณค่าส่งเสริมจริยธรรม คุณค่าทางศิลปกรรม คุณค่าทางการศึกษา คุณค่าทางประวัติศาสตร์
คุณคา่ ทางเศรษฐกิจ คุณค่าต่อสงั คม และคณุ ค่าส่งเสรมิ จริยธรรมโดยเปน็ หลกั ฐานทท่ี ำใหผ้ ู้พบเห็นเกิด
ความภาคภูมิใจ และตระหนักถึงคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมท่ีบรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ข้ึนด้วยความ
ศรัทธาในดา้ นพระพุทธศาสนา มีอายุเก่าแกน่ ับพันปี แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีต เป็นหลักฐาน
การเข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์แรกเร่มิ และเป็นต้นกำเนิดพุทธศลิ ป์ในดินแดนไทย มีคุณค่าทางศิลปกรรม
ประวตั ิศาสตรแ์ ละโบราณคดีทสี่ ำคัญทำให้มีนักวชิ าการทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ สนใจเข้ามาศึกษา
เรื่องราวพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ท่ีเมืองอู่ทองอยู่เสมอต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน มีคุณค่าทางสังคมและ
เศรษฐกิจเหน็ ได้จากมกี ลมุ่ นกั ท่องเท่ียวทีส่ นใจงานพุทธศิลป์ในยุคสมัยทวารวดีมาเยย่ี มชมโบราณวัตถุ
ศิลปวตั ถุ ในพพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง และเย่ียมชมศาสนสถานสมัยทวารวดีรวมถึงสมัยอยุธยาท่ี
เมืองโบราณอู่ทองอย่เู สมอ๖๑

สรปุ แนวคดิ การวิเคราะห์อิทธิพลและคุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดขี องผู้ให้ข้อมูลสมั ภาษณ์
ส่วนมากมีคิดเหน็ สอดคล้องกบั นักวิชาการนักโบราณคดี ตามจากหลกั ฐานตามตํานานพระพทุ ธศาสนา
ว่าไดเขามาสูดินแดนประเทศไทยต้ังแต่พุทธศตวรรษที่ ๓ เปนอยางนอย แตจากหลักฐานทาง
ศลิ ปกรรมที่เก่ียวของกบั ศาสนามีการคนพบแลวมอี ายุเกาแกสุดประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๗ หรือ ๘-๙

๖๑ สัมภาษณ์ นางสาววิภารัตน์ ประดิษฐอาชีพ ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

ถ.มาลัยแมน ตำบลอูท่ อง อำเภออทู่ อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี เม่ือวันท่ี ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓..

๑๐๐

และมาชัดเจนมากที่สุดในราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ เปนตนมา” น้ันไดก่อใหเกิดความเจริญรุงเรือง
ดานจิตใจ วฒั นธรรมอยางมาก ทั้งดานสถาปตยกรรมและประติมากรรม ที่ทรงคุณคาโดยเฉพาะสมัย
ทวารวดีอู่ทอง ปรากฏรองรอยมากจนกลาย เปนแบบแผนทางประเพณีวัฒนธรรมและมีอิทธิพล
สงตอใหกับยุคสมัยต่อๆ มาและจารึกเน่ืองในพระพุทธศาสนาสมัยทวารวดีอู่ทอง สังคม
พระพุทธศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศเป็นพุทธศาสนิกชน แม้องค์พระมหากษัตริย์ก็ทรง
ดํารงเป็นพุทธมามกะ ยอมรับนับถือพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นสรณะ
ที่พ่ึงที่ระลึกตลอดชีวิต และด้วยเหตุท่ีสังคมไทยเป็นสังคมแห่งพระพุทธศาสนา มาตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบัน ทําให้พระพุทธศาสนาหยั่งรากลึกอยู่ในสังคมไทยอย่างเหนียวแน่น และยังเป็นรากฐานของ
สังคมในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นในด้านวิถีชีวิต ความเชื่อ ประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมต่างๆ
โดยเฉพาะในด้านศิลปกรรมต่างๆ จะเห็นได้ชัดเจนว่าศิลปะเหล่าน้ันล้วนได้รับอิทธิพลมาจาก
พระพุทธศาสนา ได้แก่ ศาสนสถาน เช่น วัด อุโบสถ เจดีย์ วิหาร เป็นต้น หรือในด้านศาสนวัตถุ เช่น
พระพุทธรูป รวมท้ังภาพวาด หรือจิตรกรรมฝาผังต่างๆ เป็นต้น เราเรียกศิลปกรรมเหล่าน้ีว่าเป็น
“พุทธศิลป์” พุทธศิลป์ เหล่าน้ีล้วนเกิดขึ้นด้วยความศรัทธาปสาทะในพระพุทธศาสนา สําหรับ
พุทธศาสนิกชนแล้ว ถือได้ว่าเป็นส่วนสําคัญและทรงคุณค่าอย่างหน่ึงของพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน
อีกส่วนหน่ึงดว้ ย นอกจากนี้พุทธศิลป์ เหลา่ น้ียงั มีจุดมุ่งหมายเพ่อื เผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือเร่อื งราว
ของพระพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นพระศาสดาในพระพุทธศาสนาอีกด้วย กระทั้งสะท้อนแนวความคิดของ
ชาดกต่างๆ ในพระพุทธศาสนาผ่านปฏิมากรรม จิตรกรรม และสถาปตั ยกรรม และด้วยวัตถุประสงค์
ของพุทธศิลป์ประการหลังนี้เองทําให้ชาวพุทธ ส่วนหน่ึงในปัจจุบัน เพราะชาวพุทธส่วนใหญ่ถือว่า
พทุ ธศิลป์เหล่านเี้ กดิ จากศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา เป็นตัวแทนของพระพทุ ธศาสนา

พทุ ธศิลป์มีรากฐานทผี่ ูกพนั กบั วิถีการดาํ เนินชีวิตของผู้คนในสังคมไทยมาเป็นเวลาช้านาน
มีลักษณะเฉพาะของพิเศษแบบชนชาติไทยศิลปะกับวัด มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดมาเป็นเวลาช้านาน
ไม่ว่าจะเป็นภาพเขียน พุทธปฏิมา สถาปัตยกรรม และวรรณกรรมซึ่งเป็นศิลปะแขนงต่างๆ เหล่าน้ี
ได้รับการกล่าวขานว่าเป็นพุทธศิลป์ โดยมีเหตุผลสําคัญประการหน่ึง เพราะสร้างขึ้นในปริมณฑล
ของวัด เน้ือหาสาระมีส่วน เกี่ยวข้องกับศาสดา เช่นพุทธประวัติ พุทธปฏิมาเก่ียวข้องกับคําสอน
โดยอาศัยวิธีการต่างๆ โดยส่ิงท่ีผู้สร้าง งานศิลปะได้พยายามส่ือ หรือสอดแทรกไว้ในงานศิลปะ
แต่ละชนิดเรียกได้ว่าเป็นปรัชญาศิลปะในงาน พุทธศิลป์ คืองานศิลปะท่ีมีธรรมะในศาสนาพุทธ
อยูใ่ นงานศิลปน์ ้ันซ่ึงมีอยหู่ ลายรปู แบบทั้งในรูปแบบของงานศิลปวัตถุ หรือพิธกี รรมทางศาสนาซึง่ จะมี
หลักธรรมะสอนอยู่ โดยแบ่งศึกษาออกเป็นประเภทต่างๆ ทั้งพระพุทธรูป สถูปเจดีย์ อาคารสถานที่
และวัตถุส่ิงของจึงสามารถกล่าวได้วา่ งานศลิ ปกรรมเหลา่ นี้ เป็นเอกลักษณ์ของชาติอย่างหน่งึ ดังน้ัน
การนํางานพุทธศิลป์มาเป็นส่ือในการสอนปรัชญาธรรมต่างๆ เป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ในรูปแบบหนึ่ง ดังความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะและศาสนาท่ีว่า “มีศิลปะ อยู่ที่ไหน ศาสนาก็สว่างไสว
อยู่ที่น้ัน” เท่ากับเป็นการอนุรักษ์ท้ังเรื่องราวและหลักฐานเพื่อสืบทอดให้คน รุ่นหลังได้ศึกษา คุณค่า
ของพุทธศลิ ป์ จงึ เกดิ ขึ้นมาตามเหตุปัจจัยเหลา่ น้ีคอื คุณค่าทางด้านศาสนา : ศิลปะไทยสว่ นใหญ่สรา้ ง
ขึ้นจากคติความเชื่อเก่ียวกับศาสนา ศิลปะไทย จึงมีคุณค่าในการเผยแผ่ศาสนาและสืบทอดศาสนา
ในประเทศไทย รูปแบบของศิลปกรรมที่พบในแหล่งโบราณสถานและในสถานท่ตี ่างๆ คุณค่าทางด้าน
ประวัติศาสตร์ : จากการศึกษาศิลปะในแต่ละยุคจะทําให้ทราบถึงวิวัฒนาการการเชื่อมโยง

๑๐๑

ด้านวฒั นธรรมของชุมชน เสน้ ทางการติดต่อคมนาคม ใช้เป็นหลักฐานเพื่อตรวจสอบว่า เป็นยุคสมัยใด
ซึ่งเป็นข้อมูลที่ทําให้การศึกษาเหตุการณ์ต่างๆ คุณค่าทางด้านสุนทรียะหรือความงาม ทำให้มี
ความรูส้ ึกของอารมณ์และความงาม เช่น พระพุทธรปู สํารดิ ปางลีลา ศิลปะสโุ ขทยั กล่าวกันวา่ เป็นงาน
ศิลปะที่มีความงามเป็นเลิศ เพราะมี ความสมบูรณ์ท้ังด้านการสร้างสรรค์ลีลาท่ีอ่อนช้อย เล่ือนไหล
รวมทั้งอารมณ์ที่นุ่มนวล เยือกเย็น ก่อให้เกิดความศรัทธาและประทับใจ เมื่อมีคนสัทธามากข้ึน
คุณค่าทางเศรษฐกิจ ก็จะเกิดข้ึนตาม โดยมีการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์
และนำมาพัฒนาต่อยอดเป็นงานฝีมือ สร้างเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน เป็นของที่ระลึกแก่นักท่องเที่ยวได้
หลังจากนั้นก็ทำให้เกิด คุณค่าทางด้านสังคม : ในสมัยก่อนผู้ปกครอง หรือพระมหากษัตริย์ได้นํา
ศิลปะ มาใช้เพ่ือประโยชน์ในการเมืองการปกครอง เพื่อเช่ือมสัมพันธไมตรีระหว่างกัน หรือใช้เป็น
สัญลักษณ์ของการเข้าไปมีอํานาจเหนือเมืองอ่ืน การติดต่อสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน และคุณค่าทาง
เศรษฐกิจ สามารถพฒั นาเป็นแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ และนำมาพัฒนาต่อยอดเปน็ งานฝมี ือ
สร้างเป็นผลติ ภณั ฑ์ชุมชน เปน็ ของท่รี ะลกึ แกน่ กั ทอ่ งเท่ียวได้ มีแนวคิดผู้ใหส้ ัมภาษณ์บางสว่ นท่เี หน็ ต่าง
ว่า คุณค่าท่ีสำคัญเป็นคุณค่าทางเศรษฐกิจ เดี่ยวนี้ไม่ว่าจะทำคิดทำโครงการอะไรสักอย่าง
ทใี่ ช้งบประมาณทส่ี ูง สว่ นมากจะดงึ เอาพทุ ธศลิ ปไ์ ปทำธรุ ะป่ันราคาพระเครอ่ื งให้ราคาเพียงๆ แล้วขาย
ถอื ว่าทา่ นเหล่านไ้ี มเ่ หน็ คณุ คา่ ของพทุ ธศิลปอ์ ยา่ งแทจ้ ริง

๔.๔ องค์ความร้ทู ี่ได้จากการวจิ ยั

จากการศกึ ษา “วิเคราะหค์ ุณค่าพุทธศลิ ป์ยุคทวารวดี ในจงั หวัดสพุ รรณบุรี”

สามารถสรุปเป็นองค์ความรู้ได้ดงั นี้
๑. แนวคิดประวัติพุทธศิลป์ในพระพุทธศาสนาต่างก็ตั้งสมมุติฐานว่าเมืองอู่ทองเป็น
เมืองหลวงของรัฐทวารวดี ศิลปะในแต่ละยุคจะทําให้ทราบถึงวิวฒั นาการการเชอ่ื มโยงด้านวฒั นธรรม
ของชุมชน เส้นทางการติดต่อคมนาคม ใช้เป็นหลักฐานเพื่อตรวจสอบว่า เป็นยุคสมยั ใดซึ่งเป็นข้อมูล
ที่ทําให้การศึกษาเหตกุ ารณ์ต่างๆ พุทธศิลป์ยังให้คุณค่าทางประวัติศาสตร์ถูกต้องย่ิงขึ้น เพราะทำให้
ทราบประวัติความเป็นมาและความสำคัญของชุมชนโบราณดังเดิม คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี
เมืองโบราณอู่ทอง ในจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นเมืองสมัยแรกเร่ิมประวตั ิศาสตร์และต้นกำเนดิ พุทธศิลป์
ในดนิ แดนไทย พบหลักฐานศิลปกรรมเนื่องในพทุ ธศาสนาท่ีมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๓ หรือ
ประมาณ ๑,๓๐๐ – ๑,๔๐๐ ปีมาแล้ว รูปแบบศิลปกรรมยังมีความใกล้เคียงกับศิลปะอินเดียซ่ึงเป็น
ต้นแบบมาก อิทธิพลของศิลปะอินเดียที่ปรากฏในระยะน้ีได้แก่ศิลปะอมราวดี ศิลปะคุปตะและ
หลังคุปตะ โบราณวัตถุที่กำหนดอายุอยู่ในช่วงสมัยน้ี เช่น พระพุทธรูปหินสลักนูนแสดงพุทธประวัติ
ตอนปฐมเทศนา ธรรมจักรพร้อมเสาและแท่นฐานรองรับที่สมบูรณ์ท่ีสุดในดินแดนไทยซ่ึงพบจากการ
ขดุ แตง่ เจดยี ห์ มายเลข ๑๑
๒. พุทธศิลป์ยุคทวารวดี มีความเป็นมาและมีความสำคัญในจังหวัดสุพรรณบุรีอย่างมาก
จากการศึกษาของนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดี นักวิชาการหลายท่าน ต่างมีความเห็นว่า
พุทธศาสนาน่าจะเข้ามาถึงดินแดนท่ีเป็นประเทศไทยปัจจุบัน นับตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ ๙-๑๐
หรอื ก่อนสมัยทวารวดีแล้ว โดยเฉพาะอย่างย่ิงท่ีเมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เพราะปรากฏรูปแบบ

๑๐๒

ศิลปกรรมอินเดยี แบบอมราวดีตอนปลาย ทำข้ึนในท้องถ่ินและเคยใช้ประดับศาสนสถาน คือ แผ่นดิน
เผารูปพระสาวก ๓ องค์อุ้มบาตรห่มจีวรเป็นร้ิว และช้ินส่วนพระพุทธรูปขัดสมาธิพระบาทหลวมๆ
บนขนดนาค จงึ เชื่อกันว่าผู้คนในบริเวณเมืองอู่ทองน้ีคงจะร้จู กั และเริม่ นบั ถือพระพุทธศาสนาในระดับ
หนึง่ แล้ว และหลักฐานและหลักธรรมพุทธศาสนาสมยั แรกเรมิ่ ทอี่ ูท่ องและปรมิ ณฑล

๓. การวิเคราะห์แนวคิดคุณค่าพุทธศิลป์ทวารวดีท่ีปรากฏในรูปแบบของเจดีย์และ
โบราณสถาน โบราณวัตถุอ่ืนๆ ล้วนมีอิทธิพลและคุณค่าในด้านต่างๆ อาทิ การส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณค่าท่ีควรแก่อนุรักษ์ แสดงให้เห็นถึงการเข้ามาของพระพุทธศาสนา ความศรัทธา
การนับถือพระพุทธศาสนานิกายต่างๆ ในสมัยน้ัน ท่ีคนในยุคปัจจุบันสามารถนำมาเป็นแบบอย่างใน
การอนุรักษ์ คุณค่าทางศิลปกรรม ทำให้รู้ถึงรูปแบบของศิลปกรรมในสมัยทวารวดี รูปแบบ
ของศลิ ปกรรมท่ีพบในแหลง่ โบราณสถานและในสถานท่ีต่างๆ ได้ ในการศึกษาเป็นแหล่งเรียนร้ใู นดา้ น
ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ทำให้ทราบประวัติความเป็นมาและความสำคัญของชุมชนโบราณ
ทำให้เกิดคุณค่าทางเศรษฐกจิ สามารถพัฒนาเปน็ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์ และนำมาพัฒนา
ต่อยอดเปน็ งานฝมี อื สรา้ งเปน็ ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน เปน็ ของท่ีระลึกแก่นกั ท่องเท่ียวได้ เมื่อชุมชนเป็นอยู่ดี
ก็จะทำให้เกิดคุณค่าทางสังคม เกิดการสำนึกรกั บ้านเกิด ภูมิใจในบ้านเกิดที่มีหลักฐานประวัติศาสตร์
อันมีประวตั ิความเป็นมาท่ยี าวนานและนา่ ภาคภมู ใิ จ

สรุปว่าพุทธศิลป์ก็เหมือนกับสิ่งต่างๆ โดยทั่วไป เมื่อเข้ามาแล้วก็จะมีการเปล่ียนแปลง
เกดิ ขึ้นทง้ั ดีและเส่ือมลงตามสภาพแวดล้อมและบริบทตา่ งๆ ที่เกยี่ วขอ้ งข้ึนอยกู่ ับเหตุปัจจัยหลายอย่าง
เพราะส่ิงต่างๆ ในยุคปัจจุบันไมแ่ ปลสภาพไปหลายอย่าง เช่น การนำเทคโนโลยีที่ทนั สมัยเข้ามาใช้ใน
โลกปัจจุบัน การเข้าถึงโลกโซเซียล ที่สามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นทั้งส่วนท่ีดีและส่วนท่ีไม่ดี
ได้เหมือนกัน สพุ รรณบุรีเป็นเมืองทข่ี ึน้ ช่อื ไดว้ ่า ยุคสุวรรณภมู ิมคี วามเจริญรุ่งเรอื งเปน็ อย่างมาก มีอายุ
ทย่ี าวนาน จากหลักฐานทางประวัติศาสตรท์ ่ีค้นพบจากนักวิชาการหลายๆ ท่าน ซ่ึงจากหลักฐานต่างๆ
ส่วนใหญ่ท่ีเป็นศิลปะในยุคสมัยทวารวดี จะค้นพบกันมากในภาคกลางของประเทศไทย ซึ่งจังหวัด
สุพรรณบุรีก็เป็นจังหวัดหนึ่งท่ีมีสิ่งต่างๆ ท่ีค้นพบมากมายโดยเฉพาะอย่างย่ิงเมืองอู่ทอง
เพราะหลักฐานส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาเป็นส่วนใหญ่ ทุกส่ิงทุกอย่างมีคุณค่าในทุก
ด้าน ความเป็นมา วิถีชีวิต ความเป็นมาวัฒนธรรมของเราในอดีต และบ่งบอกถึงคุณค่าเชื่อมโยงกับ
วิถีชีวิตในยุคสมัยน้ันๆ สะท้อนความเป็นอยู่ของคนในสมัยน้ันๆ จนมาถึงปัจจุบัน มีการเผยแผ่
สอดแทรกจัดทำโครงการเพื่อที่จะให้เด็กและเยาวชนได้รับรู้เรื่องของศิลปะต่างๆ ปลูกจติ สำนึกใหเ้ ขา
รับรู้ อนุรักษ์และรวบรวม รวมท้ังควรมีการจัดทำพิพิธภัณฑ์เพื่อให้เด็กและเยาวชนรุ่นหลังได้ศึกษา
รบั รู้ เข้าใจ ถา่ ยทอดความเป็นมาของศลิ ปะในยุคทวารวดี

แผนภาพที่ ๔.๑ องคค์ วามรู้ท่ไี ดจ้ ากการวิจยั
วเิ คราะห์คุณคา่ พทุ ธศิลป์ยุค

เกิดแนวคดิ เร่อื งประวัติความเปน็
ความสำคญั พ

ก่อให้เกดิ คุณคา่ พ

คุณคา่ ทางดา้ นศาสนา คุณคา่ ทางด้านสุนทรยี ะหรือ คุณคา่ ทางด้านปร
- เป็นท่ียึดเหนี่ยวจิตใจ ความงาม - ทราบถงึ วิวัฒนา
- เปน็ พทุ ธานสุ สติ - ขนบธรรมเนยี ม ประเพณงี ดงาม เชื่อมโยงด้านวัฒน
- เสน้ ทางการติดต
- เป็นส่ิงเตอื นจนการประพฤติ - ค่านยิ ม และความเช่ือของคน เป็นหลักฐานเพื่อต
ปฏิบตั ใิ นส่ิงที่ดงี าม ไทยต่อพทุ ธศิลปน์ ั้นๆ - เปน็ ขอ้ มูลทท่ี ำให
- ละเว้นจากการทำชั่วทั้งปวง เหตุการณ์ต่างๆ
- ประวตั ิความเป็น

ความสำคญั ของช
ด้งั เดมิ

คทวารวดี ในจังหวดั สุพรรณบรุ ี
นมาของพทุ ธศิลป์ในพระพุทธศาสนา
พุทธศิลป์ทวารวดี
พุทธศิลปย์ ุคทวารวดี

ระวตั ศิ าสตร์ คุณค่าทางดา้ นเศรษฐกิจ คุณคา่ ทางด้านสังคม
าการ การ - ความเชอื่ พ้ืนฐานท่ีเปน็ แนวทาง
นธรรมของชุมชน - การทอ่ งเท่ียวในจังหวดั ในการดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่าง
ต่อคมนาคม ใช้ - สร้างอาชีพให้ชุมชนมีรายไดจ้ าก มีความสุข
ตรวจสอบ การบชู าพทุ ธศลิ ป์ - กอ่ ใหเ้ กิดความรักใคร่ สามคั คี
ห้การศึกษา - เกดิ การหมนุ เวียนทางเศรษฐกจิ
ทางวัตถมุ งคล กลมเกลียวกันในสังคม
นมาและ
ชุมชนโบราณ

บทที่ ๕

สรปุ ผลการวจิ ยั อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการศึกษาทางเอกสาร (Documentary
Research) และวิจัยภาคสนาม (Fields Research) โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเคร่ืองมือในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลและเข้าร่วมสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม เร่ือง วิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี
ในจังหวัดสุพรรณบุรี มีวิธีการดำเนินการวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประวัติพุทธศิลป์
ในพระพุทธศาสนา เพื่อศึกษาพุทธศิลป์ยุคทวารวดีเมืองอู่ทอง และเพ่ือวิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์
ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยได้แก่ พระสังฆาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิ
ในพิพิธภัณฑ์อู่ทอง ในองค์การบรหิ ารการพัฒนาพื้นท่ีพิเศษ ในดา้ นประวัตศิ าสตร์ และกลมุ่ ชาวบ้าน
ในจังหวัดสพุ รรณบรุ ี จำนวน ๑๐ รปู /คน

๕.๑ สรุปผลการวิจัย

๕.๑.๑ แนวคดิ ประวัตพิ ทุ ธศลิ ป์ในพระพุทธศาสนาเมืองอทู่ อง
พุทธศิลป์เป็นงานศิลปกรรมท่ีเกี่ยวเน่ืองกับพุทธศาสนา ทั้งสถาปัตยกรรม ประติมากรรม
และจิตกรรม เป็นหลักฐานท่ีแสดงถึงความเชื่อ ความศรัทธาของผู้คนท่ีมีต่อพุทธศาสนา ต้ังแต่อดีต
ยอ้ นกลบั ไปต้ังแตเ่ ร่ิมปรากฏหลกั ฐานการสร้างงานพุทธศิลปแ์ รกเริม่ ในดินแดนไทย ตัง้ แตส่ มัยทวารวดี
เมื่อราว ๑,๔๐๐ ปมี าแลว้
เมอื งอูท่ องในประวตั ิศาสตรไ์ ทย โดยนักวชิ าการทั้งหลาย ตา่ งก็ต้ังสมมตุ ฐิ านว่าเมอื งอทู่ อง
เป็นเมืองหลวงของรัฐทวารวดี เน่ืองจากเป็นเมืองเดียวท่ีพบ พระพุทธรูปเป็นลักษณะพระพุทธเจ้า
ประทับยืนแสดงปางประทานธรรม ซ่ึงเชื่อว่าน่าจะเป็นพระพุทธเจ้าอมิตาภะ ตามคติความเชื่อ
ของพระพุทธศาสนาแบบมหายานนิกายสุขาวดีจากจีน และพระพิมพ์ท่ีพ บเมืองโบราณอู่ทอง
มีลักษณะอยู่ในซุ้มโค้ง แหลม ศิลปะแบบปาลวะ ซ่ึงเป็นรูปแบบของพระพิมพ์ตามคติของ
พุทธศาสนิกชนทน่ี บั ถอื ลทั ธติ ันตระยานหรอื วชั รยาน
เมืองอู่ทอง ยงั เป็นเมืองปลอดสาร จากหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ โดยเฉพาะโบราณวตั ถุ
ทั้งหลายทค่ี น้ พบในเมืองอทู่ อง มันมีคุณค่าพ้นื ฐานและโดดเด่นไม่เหมือนทไี่ หนในประเทศไทย ในพน้ื ท่ี
พิเศษทปี่ ระกาศออกมาถือว่าที่อำเภออู่ทองเก่าทส่ี ดุ ในเร่ืองของอายุ อ่ทู องเปน็ แหลง่ อารยธรรมสุวรรณ

๑๐๕

ภมู ิซ่ึงเป็นท่ีตั้งเมืองหลวงอาณาจักรทวารวดี ทมี่ ีการขุดพบโบราณสถานและโบราณวตั ถุที่แสดงความ
เจริญรุง่ เรอื งในอดตี กว่า ๒๐๐๐ ปมี าแลว้

๕.๑.๒ ความเปน็ มาและความสำคัญพุทธศิลปย์ คุ ทวารวดี
พุทธศิลป์ยุคทวารวดี จังหวัดสุพรรณบุรี มีความเป็นมาและมีความสำคัญ จากการศึกษา
ของนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดี นักวิชาการหลายท่าน สันนิษฐานว่า พุทธศาสนาน่าจะเข้า
มาถึงดนิ แดนท่ีเป็นประเทศไทยปจั จบุ ัน นบั ตงั้ แตร่ าวพทุ ธศตวรรษท่ี ๙-๑๐ หรือกอ่ นสมัยทวารวดีแล้ว
โดยเฉพาะอย่างย่ิงที่เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เพราะปรากฏรูปแบบศิลปกรรมอินเดียแบบ
อมราวดตี อนปลาย ทำขน้ึ ในท้องถิน่ และเคยใช้ประดับศาสนสถาน คอื แผ่นดนิ เผารปู พระสาวก 3 องค์
อุ้มบาตรห่มจีวรเป็นริ้ว และช้ินส่วนพระพุทธรปู ขัดสมาธิพระบาทหลวมๆ บนขนดนาค จึงเช่ือกันว่า
ผู้คนในบริเวณเมืองอู่ทองนี้คงจะรู้จักและเริ่มนับถือพระพุทธศาสนาในระดับหน่ึงแล้ว และหลักฐาน
และ ห ลั ก ธร รม พุ ท ธศา สน าสมั ย แร ก เร่ิม ท่ี อู่ท อ งแ ละ ป ริม ณ ฑ ล ที่ มี ค ว าม สอ ด คล้อ งกั บ งาน วิ จั ย
เร่ือง พุทธศิลป์ในนิกายสีหฬภิกขุ ค.ศ. ๑๓๕๐-๑๕๕๐ (ราว พ.ศ. ๑๙๐๐- ๒๑๐๐) ศึกษาจาก
พระพุทธสิหิงค์และพระพุทธรูปที่มีจารึกประเทศไทย ๑ ได้ทำการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับพุทธศิลปะ
สีหฬภกิ ขุ ค.ศ.๑๓๕๐-๑๕๕๐ (ราว พ.ศ.๑๙๐๐-๒๑๐๐)

๕.๑.๓ วิเคราะห์อิทธพิ ลและคณุ ค่าพุทธศลิ ป์ยุคทวารวดี ในจงั หวดั สุพรรณบรุ ี
ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ แ น ว คิ ด คุ ณ ค่ า พุ ท ธ ศิ ล ป์ ท ว า ร ว ดี ท่ี ป ร า ก ฏ ใน รู ป แ บ บ ข อ ง เจ ดี ย์ แ ล ะ
โบราณสถาน โบราณวัตถุอ่ืนๆ ล้วนมีอิทธิพลและคุณค่าในด้านต่างๆ อาทิ การส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรม มีคุณค่าท่ีควรแก่อนุรักษ์ แสดงให้เห็นถึงการเข้ามาของพระพุทธศาสนา ความศรัทธา
การนับถือพระพุทธศาสนานิกายต่างๆ ในสมัยน้ัน ที่คนในยุคปัจจุบันสามารถนำมาเป็นแบบอย่างใน
การอนุรกั ษ์ การนับถือพระพทุ ธศาสนา คุณค่าทางศิลปกรรม ทำให้รู้ถึงรูปแบบของศิลปกรรมในสมัย
ทวารวดี และสามารถนำไปใช้ในการศึกษา รูปแบบของศิลปกรรมท่ีพบในแหล่งโบราณสถานและ
ในสถานที่ต่างๆ ได้ คุณค่าในการศึกษา เป็นแหลง่ เรยี นรู้ในด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี คุณค่าทาง
ประวัติศาสตร์ ทำให้ทราบประวัตคิ วามเปน็ มาและความสำคัญของชมุ ชนโบราณ คุณค่าทางเศรษฐกิจ
สามารถพัฒนาเปน็ แหล่งท่องเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร์ และนำมาพัฒนาต่อยอดเป็นงานฝีมอื สร้างเป็น
ผลิตภัณฑ์ชุมชน เป็นของท่ีระลึกแก่นักท่องเที่ยวได้ คุณค่าทางสังคม เกิดสำนึกรักบ้านเกิด ภูมิใจ

๑ สุรสวัสด์ิ สุขสวัสด์ิ, ม.ล. และ ดร. ฮันส์เพ้นธ์, พุทธศิลป์ในนิกายสีหฬภิกขุ ค.ศ. ๑๓๕๐- ๑๕๕๐
(ราว พ.ศ. ๑๙๐๐ - ๒๑๐๐) ศึกษาจากพระพุทธสิหิงค์และพระพุทธรูปท่ีมีจารึกประเทศไทย (เน้นล้านนา),
(เชียงใหม่: สถาบันวจิ ัยสังคม, ๒๕๕๐).

๑๐๖

ในบ้านเกิดที่มีหลักฐานประวัติศาสตร์อันมีประวัติความเป็นมาท่ียาวนานและน่าภาคภูมิใจซ่ึงมีความ
สอดคล้องกับงานวิจัย พิริยา พิทยาวัฒนชัย๒ ได้ศึกษาดุษฎีนิพนธ์เร่ือง “วิเคราะห์การเผยแผ่
พระพุทธศาสนาด้วยการใช้พุทธศิลป์และภูมิทัศนสถานของวัดเจติยภูมิ อำเภอน้ำพอง จังหวัด
ขอนแก่น” พบว่า การเผยแผ่จากพุทธกาลได้ใช้การส่ือสารระดับบุคคล การปฏิบัติตน เป็นต้นแบบ
หลังพุทธกาลมีการสังคายนาแล้วได้รักษาสืบต่อกันมา ปัจจุบันได้มีการให้ความสำคัญกับพุทธศิลป์
และภมู ิทัศนสถานไมน่ ้อย ชาวอีสานมวี ดั เป็นศนู ยร์ วมจิตใจของชมุ ชนเป็นแหลง่ รวมงานพทุ ธศิลปพ์ ื้นที่
วัดได้ตกแต่งเป็นภูมิทัศนสถานให้เป็นรมมณียสถาน และให้มีที่ว่างใช้รองรับกิจกรรม วัฒนธรรม
ประเพณีวิถีชุมชน โดยเฉพาะวัดเจติยภูมิมีการใช้พุทธศิลป์และภูมิทัศนสถานของวัดที่มีลักษณะร่วม
ของสังคมอีสาน โดยผลการศึกษาการเผยแผ่พุทธศาสนาของวัดเจติยภูมิพบว่า พุทธศิลป์หลักคือองค์
พระธาตุขามแก่นเป็นผลจากความศรัทธา ความงาม และวัฒนธรรมการสร้างพระธาตุ การสร้างสิม
การสรา้ งพระพทุ ธรปู การเขยี นฮูปแตม้ และการมพี ื้นท่รี องรบั กิจกรรมศาสนาตาม ฮีตสบิ สองคองสิบสี่
โดยปรับภูมิทัศน์ของวัดตามความจำเป็นแต่ละยุคสมัย มีการเสริมสร้างภูมิทัศน์ ท้ังส่ิงมีชีวิต (soft
scape) และสิ่งไม่มีชีวิต (hard scape) โดยไม่ทำลายหรือบิดเบือนโครงสร้าง ภูมิทัศนสถานเดิม
แต่ส่งเสริมให้พุทธศิลป์หลักมีเอกภาพด้วยศาสตร์สมัยใหม่ เช่น การออกแบบภูมิทัศน์ ให้สะท้อน
บรรยากาศเดิมของภูมิทัศนสถานโดยยังคงรักษาพืชพรรณดั้งเดิมของวัดอันเกี่ยวข้องกับตำนานการ
สร้างพระธาตุขามแก่นบนดอนมะขาม รูปแบบการใช้พุทธศิลป์และภูมิทัศนสถานจึง ผสมผสานงาน
ดง้ั เดิมและงานสร้างใหม่ โดยวัดยังรักษารูปแบบงานพุทธศิลป์ดั้งเดิมเอาไว้และปรับปรุง บำรุง รักษา
ภูมทิ ัศนสถานใหส้ มสมัยและสะอาด สวา่ ง สงบ สอดคล้องกับหลกั สัปปายะในพระไตรปิฎก

๕.๒ อภิปรายผล

จากการศึกษาวิเคราะห์ “วิเคราะห์คุณค่าพุทธศิลป์ยุคทวารวดี ในจังหวัดสุพรรณบุรี”
ผูว้ จิ ัยสามารถนำมาอภปิ รายผลไดด้ งั ต่อไปน้ี

๕.๒.๑ แนวคิดประวัติพุทธศิลป์ในพระพุทธศาสนาต่างก็ต้ังสมมุติฐานว่าเมืองอู่ทอง
เป็นเมืองหลวงของรัฐทวารวดี เนื่องจากเป็นเมืองเดียวที่พบ พระพุทธรูปเป็นลักษณะพระพุทธเจ้า
ประทับยืนแสดงปางประทานธรรม ซ่ึงเช่ือว่าน่าจะเป็นพระพุทธเจ้าอมิตาภะ ตามคติความเช่ือ
ของพระพุทธศาสนาแบบมหายานนิกายสุขาวดีจากจีน และพระพิมพ์ท่ีพบเมืองโบราณอู่ทอง
มีลักษณะอยู่ในซุ้มโค้ง แหลม ศิลปะแบ บปาลวะ ซึ่งเป็นรูปแบบของพระพิมพ์ตามคติของ

๒ พิริยา พิทยาวัฒนชัย,“วิเคราะห์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยการใช้พุทธศิลป์และภูมิทัศนสถาน
ของวัดเจติยภูมิ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น”, ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั พุทธศกั ราช, ๒๕๖๑), บทคัดย่อ.

๑๐๗

พุทธศาสนิกชนท่ีนับถือลัทธิตันตระยานหรือวัชรยาน แสดงปางมารวิชัยและขัดสมาธิเพชร
บนฐานปัทม์ ครองจีวรห่มเฉียง สอดคล้องกับแนวคิดของพระองค์ มีประวัติศาสตร์ท่ีกล่าวเรื่อง
พระพุทธรูปในงานวิจัยของ ประพันธ์ กุลวินิจฉัย๓ ได้ศึกษาวจิ ัยเรื่อง “วิเคราะหเ์ รือ่ งพระพุทธรปู ใน
ฐานะปูชนียวัตถุของชาวพุทธ” พบว่า แนวคิดเร่ืองการสร้างพระพุทธรูปและมีพัฒนาการ
มาจนปัจจุบันน้ันตามหลักฐานเอกสารท้ังท่ีเป็นปฐมภูมิและทุติยภูมิเช่นพระไตรปิฎก อรรถกถาฯ
และตำราวิชาการต่างๆที่สืบคน้ ได้ ดังน้ี ๑. ในคมั ภีร์พระไตรปิฎกพบคำว่ารปู ปฏิมา ส่วนในอรรถกถา
พบคำว่าพระปฏิมาอยู่หลายที่แต่มีอยู่ที่หนึ่งมีความหมายที่คล้อยตามคำว่าSculpture หมายถึง
ประติมากรรมเช่นข้อความว่า เจดีย์ คือ พระปฏิมา [พระพุทธรูป] คำในวงเล็บนั้นมาในอรรถกถา
ซึง่ มีข้ึนภายหลังพระไตรปฎิ กหลายร้อยปี ในช่วงท่ีพระพุทธโกศาจารย์นน้ั พระพทุ ธรปู ในลังกาคงไดร้ ับ
จากอินเดียยุต่างๆ แล้ว หรือ ในการทำสังคายนาแต่ละครง้ั คงเพ่ิมเติมภาษาร่วมสมัยในครั้งนั้นๆ ด้วย
อย่างไรก็ตาม คำว่ารูปปฏิมาและพระปฏิมาไม่ใช่พระพุทธรูปแต่เป็น พระเจดีย์คือรัตนะท่ีเสมอด้วย
พระตถาคต แม้เพราะอรรถวา่ ทำใหเ้ กิดความเคารพยำเกรง สว่ นพระปฏิมาที่พบในท่ีตา่ งๆ อกี หลาย
แห่งนั้นเป็นข้อความอุปมาบ้างเป็นรูปพระวรกายของพระพุทธเจ้าบ้างเช่น ตรัสกับพระวักกลิ หรือ
ตรัสชาดกต่างๆ ในอดีตชาติของพระเองก็ดี ของพระสาวกก็ดี ที่เท้าความถึงเหตุการณ์ต่างๆ เช่น
อานิสงส์การทำทานในสมัยของพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ มา ๒. ในเอกสารประวัติศาสตร์หลังพุทธ
ปรินิพพานยืนยันตรงกันว่าพระพุทธรูปหรือพุทธศิลป์เรืองการสร้างพระพุทธรูปนั้นเกิดขึ้นครั้งแรก
ในอินเดียสมัยคันธาระ โดยได้รับอิทธิพลจากการทำรูปปั้นเทพเจ้าของชาวกรีกที่เข้ามายึดครอง
บางส่วนของชมพูทวีปโดยกษัตริย์ชาวกรีกทรงพรระนามว่า เมนันเดอร์หรือพระเจ้ามิลินท์ผู้ ทรง
พระปรีชาในการปกครองและศาสนาแต่ภายหลังทรงยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาเพราะพระธรรม
เทศนาของพระอรหันต์นาคเสน ดังน้ัน พระเจ้ามิลินท์จึงทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาเดียวกับ
พระเจ้าอโศกมหาราชเช่น การสร้างถาวรวัตถุต่างๆ รวมทั้งพระพุทธรูปมากมาย ดังน้ันจึงเกิดมี
พฒั นาการการทำพระพุทธรูปไว้สักการบูชากันมาผา่ นยุคแล้วยุคเล่าจนได้แพร่หลายเข้ามาถึงประเทศ
ไทยอาทิเช่นทวาราวดี ศรีวิชยั ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อยธุ ยา รัตนโกสินทร์ตามลำดับ ตามเอกสาร
ที่ไดส้ ืบค้นแล้ว

๕.๒.๒ ประวัติพุทธศิลป์ยุคทวารวดีเมืองอู่ทอง พบว่าเมืองอู่ทองจึงเติบโตขึ้นภายใต้
วัฒนธรรมฟูนันและทวารวดีช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๗-๑๗ โดยถ้าไม่ใช่ราชธานีก็น่าจะมีฐานะเป็นเมือง
สําคัญ ของทวารวดีการเปล่ียนเส้นทางการค้าทางบกจากจีน -อินเดียหันไปใช้เส้นทางใต้
เขตนครศรีธรรมราชทําให้เมืองอู่ทองซบเซาลงจนร้างไปในท่ีสุดก่อนที่ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑
จะสถาปนาอยุธยาถึง ๒๐๐ ปีเป็นการลบล้างข้อสันนิษฐานเดิมท่ีว่าพระเจ้าอู่ทองมาจากเมืองอู่ทอง

๓ประพนั ธ์ กลุ วนิ จิ ฉัย, วิเคราะห์เรือ่ งพระพุทธรูปในฐานะปูชนยี วัตถุของชาวพทุ ธ, รายงานการวจิ ัย,
(สถาบนั วจิ ัยพทุ ธศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๖), บทคัดย่อ.

๑๐๘

อย่างไรก็ตามชุมชนแห่งนี้ก็ไม่ได้ร้างไปเสียทีเดียวแต่ยังดํารงฐานะเป็นหมู่บ้านมีผู้คนอาศัยสืบทอด
วัฒนธรรมต่อกันมาเห็นได้จากคําบอกเล่าประวัติชุมชนในหมู่บ้านในรูปตํานานหรือนิทานพื้นบ้าน
สอดคล้องกับงานวิจัยของ ม.ล. สุรสวัสดิ์ สุขสวัสด์ิ และ ดร. ฮันส์เพนธ์ การวิจัยเรื่อง พุทธศิลป์
ในนิกายสีหฬภิกขุ ค.ศ. ๑๓๕๐-๑๕๕๐ (ราว พ.ศ. ๑๙๐๐- ๒๑๐๐) ศึกษาจากพระพุทธสิหิงค์และ
พระพุทธรูปท่ีมีจารึกประเทศไทย ๔ ได้ทำการค้นคว้าวิจัยเก่ียวกับพุทธศิลปะสีหฬภิกขุ ค.ศ.๑๓๕๐-
๑๕๕๐ (ราว พ.ศ.๑๙๐๐-๒๑๐๐) ศึกษาจากพระพุทธสิหิงค์และพระพุทธปฎิมาที่มีจารึกในประเทศ
ไทย (เน้นลา้ นนา) จากผลการศึกษา ทำให้เราต้องปรบั เปล่ียนความเข้าใจใหม่ว่า พระพุทธปฏิมาแบบ
พระพุทธสิหิงค์เป็นแบบที่เกิดข้ึนในอุษาคเนย์เอง จากอิทธิพลของพุทธศิลป์แบบปาละและสารนาถ
ผ่านทางการตกตะกอนของพระพุทธศาสนาในวัฒนธรรม มอญ-พุกาม และมอญทวาราวดี เหตุการณน์ ี้
คงเกิดข้ึนนบั ตงั้ แตศ่ ตวรรษที่ ๑๑-๑๒ หรือพุทธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๗ แล้ว แตก่ ลบั เป็นที่นิยมกว้างขวาง
ข้ึนพร้อมกับนิกายลังกาวงศ์ของพระมหาสามีอุทุมพรท่ีเมาะตะมะ ด้วยเหตุน้ีพุทธศิลป์ของ
พระพุทธปฏิมาในกลุ่ม ตะกวน วัดพระพายหลวง ที่เคยเรียกว่าแบบเชียงแสน น่าจะสร้างสรรค์ข้ึน
บนศาสนสถานแบบเขมร พร้อมกับการมาถึงของพระสุมนเถระ และพระอโนมทสั สีเถระ ในศตวรรษท่ี
๑๔ หรือพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ในทำนองเดียวกันพุทธศิลป์แบบของพระสุมน-เถระที่นำมายังลำพูน
ในปีคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๓๖๙ หรือพุทธศตวรรษท่ี ๑๙๑๒ และเชียงใหม่ที่วัดสวนดอก ในปี
ครสิ ต์ศตวรรษที่ ๑๓๗๐ หรือพุทธศตวรรษที่ ๑๙๑๔ น่าจะเป็นพระพุทธปฏิมาในกลุ่มนี้เช่นเดียวกัน
เพราะพระพุทธปฏิมากลุ่ม สวรรคโลก – สุโขทัย ท่ีเคยเช่ือกันว่าเป็นแบบของพระสุมนเถระนั้น
เพ่ิงจะมีการสร้างข้ึนระหว่างปีคริสต์ศตวรรษที่ ๑๔๒๒-๑๔๒๓หรือพุทธศตวรรษที่ ๑๙๖๕-๑๙๖๖
อย่างไรก็ตาม คติการเรียกขานชื่อพระพุทธปฏิมากลุ่มน้ีว่า “พระพุทธสิหิงค์” คงเกิดข้ึนในระหว่าง
คร่ึงหลังของศตวรรษที่ ๑๕ จนถึงพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ แล้ว โดยผ่านกระบวนการพุทธศาสนา
แบบชาวบ้านท่ีไม่ลึกซ้ึงถึงคำบาลี-สันสกฤต และสอดคล้องกับงานวิจัยของ พิริยา พิทยาวัฒนชัย
ไดศ้ ึกษาดุษฎนี ิพนธ์เรือ่ ง “วิเคราะห์การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาดว้ ยการใชพ้ ุทธศิลป์และภูมิทศั นสถาน
ของวัดเจติยภูมิ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น” พบว่า การเผยแผ่จากพุทธกาลได้ใช้การส่ือสาร
ระดับบุคคล การปฏิบัติตน เป็นต้นแบบ หลังพุทธกาลมีการสังคายนาแล้วได้รักษาสืบต่อกันมา
ปัจจบุ นั ไดม้ ีการให้ความสำคัญกับพทุ ธศลิ ป์และภูมิทศั นสถานไมน่ อ้ ย ชาวอีสานมีวัดเปน็ ศนู ย์รวมจติ ใจ
ของชุมชนเป็นแหล่งรวมงานพทุ ธศิลปพ์ ื้นที่วัดได้ตกแตง่ เป็นภมู ิทัศนสถานใหเ้ ป็นรมมณียสถาน และให้
มีที่ว่างใช้รองรับกิจกรรม วัฒนธรรม ประเพณีวิถีชุมชน โดยเฉพาะวัดเจติยภูมิมีการใช้พุทธศิลป์
และภูมิทัศนสถานของวัดที่มีลักษณะร่วมของสังคมอีสาน โดยผลการศึกษาการเผยแผ่พุทธศาสนา

๔ สุรสวัสด์ิ สุขสวัสดิ์, ม.ล. และ ดร. ฮันส์เพ้นธ์, พุทธศิลป์ในนิกายสีหฬภิกขุ ค.ศ. ๑๓๕๐- ๑๕๕๐
(ราว พ.ศ. ๑๙๐๐ - ๒๑๐๐) ศึกษาจากพระพุทธสิหิงค์และพระพุทธรูปท่ีมีจารึกประเทศไทย (เน้นล้านนา),
(เชยี งใหม่: สถาบันวิจยั สงั คม, ๒๕๕๐).

๑๐๙

ของวัดเจติยภูมิพบว่า พุทธศิลป์หลักคือองค์พระธาตุขามแก่นเป็นผลจากความศรัทธา ความงาม
และวัฒนธรรมการสร้างพระธาตุ การสร้างสมิ การสรา้ งพระพุทธรูป การเขยี นฮูปแตม้ และการมีพนื้ ท่ี
รองรับกิจกรรมศาสนาตาม ฮตี สิบสองคองสิบส่ี โดยปรับภูมิทศั น์ของวดั ตามความจำเป็นแต่ละยุคสมัย
มกี ารเสริมสรา้ งภูมิทัศน์ ทงั้ สิ่งมีชีวิต (soft scape) และสง่ิ ไม่มีชวี ิต (hard scape) โดยไม่ทำลายหรือ
บิดเบือนโครงสร้าง ภูมิทัศนสถานเดิม แตส่ ่งเสริมให้พุทธศิลปห์ ลักมีเอกภาพด้วยศาสตร์สมัยใหม่ เช่น
การออกแบบภูมิทัศน์ ให้สะท้อนบรรยากาศเดิมของภูมิทัศนสถานโดยยังคงรักษาพืชพรรณดั้งเดิม
ของวัดอันเกีย่ วข้องกับตำนานการสร้างพระธาตุขามแก่นบนดอนมะขาม รูปแบบการใช้พุทธศลิ ปแ์ ละ
ภมู ิทัศนสถานจึง ผสมผสานงานดั้งเดิมและงานสร้างใหม่ โดยวัดยังรักษารูปแบบงานพุทธศิลป์ดั้งเดิม
เอาไว้และปรับปรุง บำรุง รักษาภูมิทัศนสถานให้สมสมัยและสะอาด สว่าง สงบ สอดคล้องกับหลัก
สัปปายะในพระไตรปิฎก

ส่วนการวิเคราะห์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยใช้พุทธศิลป์ฯ จากการศึกษาข้อมูล
เอกสาร การลงภาคสนามสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมน้ัน พบว่า วัดเจติยภูมิ
ยังคงรักษาแนวทางการเผยแผ่ด้วยการสื่อสารระดับบุคคล การปฏิบัติตนเป็นต้นแบบ การทรงจำ
พระธรรมวินัย และไดเ้ พิ่มการใช้พทุ ธศิลป์และภูมทิ ัสนสถานเข้ามาชว่ ย โดยจัดใหม้ ีความสอดคลอ้ งกัน
ของพุทธศิลป์และภูมิทัศนสถานอดีตกับปจั จบุ ัน เหน็ ได้จากการปรับใช้รูปทรงพระธาตุขามแกน่ ทั้งใน
ระดับวัดและหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนในจังหวัดขอนแก่นจำนวนมาก จนกลายเป็นสัญลักษณ์
แทนความศักด์ิสิทธิ์อันเป็นผลเชิงประจักษ์ท่ีเกิดจากอิทธิการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยใช้พุทธศิลป์
และภูมิทัศนสถานของวัด ทั้งหมดล้วนเป็นวิธีการเผยแผ่ท่ีทำให้สาธุชนเห็นความสำคัญของ
พระพุทธศาสนา และเกดิ ความรู้ เขา้ ใจ แล้วน้อมนำตนเข้าส่ธู รรมะได้จรงิ ๕

๕.๒.๓ การวิเคราะห์แนวคิดคุณค่าของพุทธศิลป์ พบว่า ๑) คณุ คา่ ดา้ นเศรษฐกิจ ช่วยทำ
ให้การท่องเที่ยวในจังหวัดดีย่ิงข้ึน เมื่อประชาชนหลั่งไหลกันมาสักการะ ก็จะมีการจับจ่ายใช้สอย
ร้านค้าต่างๆ ช่วยทำให้ชาวบ้านในบริเวณโดยรอบมีอาชีพ มรี ายได้ ๒) คุณค่าด้านสังคม ทำใหเ้ หน็ ถึง
สภาพสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละจังหวัดท่ีมีความหลากหลาย ตลอดจนความหลากหลายในการ
ประกอบอาชีพ และมีความเชื่อพ้ืนฐานที่เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
ก่อให้เกิดความรักใคร่ สามัคคีกลมเกลียวกันในสังคม ๓) คุณค่าด้านวัฒนธรรม สุนทรียะหรือความ
งาม พบว่า พระพุทธรูปสำคัญที่มีประชาชนเคารพนับถือเป็นจำนวนมาก ช่วยก่อให้เกิดประเพณี
และวัฒนธรรมต่างๆ เก่ียวกับพระพุทธรูปองค์น้ันๆ แต่มีการปฏิบัติสืบทอดต่อๆ กันมาจากรุ่นสู่รุ่น

๕ พิริยา พิทยาวัฒนชัย,“วิเคราะห์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยการใช้พุทธศิลป์และภูมิทัศนสถาน
ของวัดเจติยภูมิ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น”, ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั พทุ ธศักราช, ๒๕๖๑), บทคัดย่อ.

๑๑๐

๔) คุณค่าด้านจติ ใจ พระพุทธรูปสำคัญเปน็ ทีย่ ึดเหน่ยี วจติ ใจ มีท่พี ึ่งพงึ ทางใจใหเ้ กิดความรู้สึกปลอดภัย
อุ่นใจ สบายใจ และเป็นส่ิงเตือนใจในการประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ดีงาม ละเว้นจากการทำชั่วทั้งปวง
สอดคล้องกับงานวิจัยของ นิลรัตน์ กล่ินจันทร์ และคณะ๖ ได้ศึกษาเรื่อง ศึกษาศาสนสถานท่ีสําคัญ
ต่อการอนุรักษ์การท่องเท่ียวของวัดในกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า ประวัติและความสำคัญ
ของศาสนสถานมีความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งยึดเหน่ียวทางด้านจิตใจ ศาสนสถาน ดังกล่าวยังมี
ความสำคัญในแง่เป็นสิ่งแสดงถึงความศรัทธาแสดงประวัติศาสตร์และบริบทความเชื่อของคน
ในช่วงเวลาของการสร้างศาสนสถาน ด้วยนักทอ่ งเท่ียวชาวไทยจะเข้ามาทัศนศึกษา เพือ่ เป้าหมายทาง
ศาสนา ส่วนนักท่องเท่ียวต่างประเทศ จะเข้ามาทัศนศึกษาเพ่ือแสวงหาความรู้ทางประวัติศาสตร์
วัฒนธรรมและความเชื่อของคนไทยในอดีตและคนไทยในปัจจุบัน ซึ่งศาสนสถานจะสะท้อนมิติ
ทางด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมของคนไทยได้อย่างดี จะเห็นได้ว่าศาสนสถานที่กล่าวข้างต้น
แต่ละประเภทก็จะมีองคป์ ระกอบทแี่ สดงให้เห็นมติ ิทางด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สังคมได้อย่างดี
เช่น พระอุโบสถและพระวิหารหลวงจะแสดงสถาปัตยกรรมการออกแบบตามแบบแผนสกุลช่าง
ของแต่ละยุค และยังเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป แสดงภาพจิตรกรรม ภาพจิตกรรมที่ปรากฏ
ในพระอุโบสถ และพระวิหารหลวงจะแสดงอดีตพุทธ ประวัติพระพุทธเจ้าและชาดก ซ่ึงแสดง
หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาท่ีใช้เป็นหลักยึดถือร่วมกัน ภาพจิตรกรรมน้ีในแต่ละสมัยจะมีภาพ
ที่แสดงแตกต่างกัน ภาพเดียวกันในแต่ละยุคก็จะวาดต่างกัน สิ่งเหล่านี้จะสะท้อนมิติทางความเช่ือ
และวฒั นธรรมของผู้สร้างได้นกั ท่องเท่ียวเข้ามาทัศนศกึ ษาจะเขา้ ใจสังคมไทยได้อย่างดี

ส่วนใหญ่มีความเช่ือว่าพระพุทธรูปมีความศักด์ิสิทธิ์สามารถช่วยให้บรรลุในส่ิงที่ตน
ประสงค์ได้ คนที่ไปเก่ียวข้องกับผู้อ้างฤทธ์ิหรืออำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ มักไปเพื่อขอความช่วยเหลือ
หวังอำนาจดลบันดาลให้เกดิ โชคลาภเป็นต้น การปฏิบัติเช่นน้ีย่อมไม่ถกู ต้องตามหลักพระพุทธศาสนา
ที่เป็นกรรมวาท กิริยวาท ละวิริยวาท สอนให้คนหวังผลสำเร็จจากการลงมือทำด้วยความเพียร
พยายามตามเหตุตามผล การมัวหวังผลจากการอ้อนวอนขอความช่วยเหลือจากอำนาจดลบันดาล
อาจทำให้เป็นคนมีนิสัยเฉ่ือยชา กลายเป็นคนงอมืองอเท้า อย่างน้อยก็ทำให้ขาดความเพียรพยายาม
ไม่รีบเรง่ ทำสิ่งท่ีควรทำ ไม่เร่งเว้นในส่ิงท่ีควรเว้น ขัดกับหลักความไม่ประมาท๗ โดยชาวพุทธส่วนใหญ่
มองว่า การได้กราบไหว้สักการะบูชาพระพุทธรูปสำคัญเพ่ือความเป็นสิริมงคล โดยไม่ปฏิบัติธรรม
ให้ตรงกับเป้าหมาย และนิยมไปไหว้พระพุทธรูปท่ีมีชือ่ เสียง ซ่ึงเชือ่ วา่ มีความศักด์ิสิทธิ์ โดยการเล่าลือ
กันมาอย่างนี้ก็ถือว่าเป็นการถือมงคลต่ืนข่าวซึ่งไม่สอดคล้องกับหลักคำสอนในทางพระพุทธศาสนา

๖นิลรัตน์ กลิ่นจันทร์ และคณะ, ศึกษาศาสนสถานที่สําคัญต่อการอนุรักษ์การท่องเที่ยวของวัดใน
กรงุ เทพมหานคร, รายงานการวิจยั , (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๒), บทคัดยอ่ .

๗พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พุทธธรรม, (การพิมพ์ครั้งแรกของฉบับข้อมูลคอมพิวเตอร์,
๒๕๕๕), หน้า ๙๕๐.

๑๑๑

ดังนั้นจึงควรฝกตนใหทำปาฏิหาริย์น้ันได้เองจะดีกว่า เพราะการฝกใฝหวังผลจากอิทธิปาฏิหาริย์
ของผู้อ่ืน หรือจากอำนาจดลบนั ดาลทั้งหลาย เป็นการพึง่ ส่งิ ภายนอก ทำใหชวี ิตขึ้นตอสง่ิ อืน่ มากยิ่งขึ้น
แทนที่จะอาศัยอำนาจภายนอกน้อยลง และเป็นตัวของตัวเองมากยิ่งขึ้น จึงอาจทำใหกลายเป็นคน
มีชีวิตที่เลื่อนลอย มักเป็นอยู่ด้วยความเพ้อฝน เป็นคนขาดประสิทธิภาพ ขาดอำนาจและความม่ันใจ
ในตนเอง ขัดตอหลักการพ้นื ฐานของพระพุทธศาสนา ทส่ี อนใหพึง่ ตนเอง สอนใหทำตนใหเป็นที่พ่ึงได้
หรือสามารถพ่ึงตนได้ และสอนมรรคาแห่งความหลุดพ้นเป็นอิสระ ซ่ึงในข้ันสุดท้าย ใหข้ามพ้นได้
แมก้ ระทั่งศรัทธาท่มี ีเหตุผล ไปสู่ความเปน็ อยู่ด้วยปัญญาบริสุทธ์ิ ไมต่ อ้ งองิ อาศัยแม้กระท่ังพระศาสดา
เริ่มตนมรรคาจากการอิงอาศัยปัญญาสองนำขององคพระศาสดาผู้เป็นกัลยาณมิตร ไปสู่การยืนได้
ลำพังตน โดยไม่ตองอาศัยการประคับประคองของพระศาสดา๘ สอดคล้องกับ พระมหาสมจินต์
สมฺมาปญฺโญ๙ กล่าวว่า พระพุทธรูปเป็นส่ือให้เข้าถึงพระธรรม และพระสงฆ์ ชาวพุทธกราบไหว้พระ
รัตนตรัย ไหว้คร้ังท่ี ๑ ระลึกถึงพระพุทธเจ้า ไหว้คร้ังท่ี ๒ ระลึกถึงพระธรรม ไหว้คร้ังที่ ๓ ระลึกถึง
พระสงฆ์ การไหว้พระพุทธเจ้าทำได้ ๒ แบบ คือ แบบพุทธานุสสติล้วน คือ ระลึกถึงพระพุทธเจ้า
แสดงความเคารพในใจหรือแสดงออกทางกายก็ได้ และแบบพุทธรูปานุสสติ ระลึกถึงพระพุทธเจ้า
โดยผ่านพระพุทธรูป ประเพณีชาวพทุ ธคือ "ไหว้พระ" จะฟังธรรมก็ต้องไหวพ้ ระ จะปฏิบัติธรรมก็ต้อง
ไหว้พระ จะนอนก็ต้องไหว้พระ คำว่า "ไหว้พระ" ก็คือไว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ในการไหว้
พระสงฆท์ เี่ ป็นบคุ คลปจั จุบันนี้กเ็ ชน่ กนั จะไหว้พระ ก. พระ ข. ในจติ ใจของชาวพุทธทกุ คน จะไหว้พระ
ก. พระ ข.ได้สนิทใจก็ต่อเม่ือรู้สึกนึกอยู่ในใจว่า "มีพระพุทธเจ้าเป็นเจ้าของศาสนา" ชาวพุทธไม่ว่า
จะอยู่ทแี่ ห่งใด ในประเทศไทยหรอื ต่างประเทศ ขาดพระพทุ ธรปู ไม่ได้ ความคดิ จิตใจเกิดความกระดา้ ง
ข้ึนมาเมื่อใด คร้ันเห็นพระพุทธรูปย่อมรู้สึกอ่อนโยนลงมา ความอ่อนโยนน่ันแหละคือ ตัวธรรม
ความคิดจิตใจใฝ่ช่ัวมัวหมองเม่ือใด คร้ันเห็นพระพุทธรูป กลับละเว้นช่ัวน้ันเสีย น่ันแหละคือธรรม
เกิดความเดือดร้อนใจเมื่อใดเม่ืออยู่ต่อหน้าพระพุทธรูป ได้ก้มกราบพระพุทธรูป จิตใจก็เย็นสงบลง
อธิษฐานจติ ให้ม่นั คงได้ น่ันแหละคอื ธรรม

๕.๓ ข้อเสนอแนะ

๕.๓.๑ ข้อเสนอแนะทวั่ ไป
๑) คณะสงฆ์ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ควรแก่อนุรักษ์ แสดงให้เห็นถึงการเข้ามา
ของพระพุทธศาสนา ความศรัทธา การนับถือพระพุทธศาสนานิกายต่างๆ ในสมัยนั้น ที่คน
ในยคุ ปจั จุบันสามารถนำมาเปน็ แบบอยา่ งในการอนุรกั ษ์ การนับถือพระพทุ ธศาสนา

๘เรอ่ื งเดียวกัน, หน้า ๙๕๐.
๙พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ, กำเนิดและพัฒนาการแหง่ พระพทุ ธรูป,
https://www.mcu.ac.th/article/detail/502, ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒.

๑๑๒

๒) คณะสงฆ์ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ควรให้ส่งเสริมสนับสนุนพุทธศิลป์ของพระพุทธรูป
เมืองอู่ทอง สมัยทวารวดี ซ่ึงเป็นแหล่งข้อมูลพัฒนาการ อิทธิพล และคุณค่าแก่พุทธศาสนิกชน
ประชาชน และนกั ท่องเทีย่ ว

๕.๓.๒ ขอ้ เสนอแนะในการทำวิจัยในครงั้ ตอ่ ไป

๑) ควรศึกษาคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ทำให้ทราบประวัติความเป็นมาและความสำคัญ
ของพทุ ธศิลปใ์ หม้ ากขึ้น

๒) ควรศึกษาคุณค่าทางศิลปกรรม ทำให้รู้ถึงรูปแบบของศิลปกรรมในสมัยทวารวดี และ
สามารถนำไปใชใ้ นการศกึ ษา รปู แบบของศลิ ปกรรมท่ีพบในแหล่งโบราณสถานและในสถานทต่ี ่างๆ ได้
ดีและถกู ตอ้ งไมเ่ ปลยี นประวตั ศิ าสตรเ์ ดมิ

๓) นักเรียน นักศึกษา บุคคลทั่วไปต้องควรเรียนรู้ประวัติศาสตร์ทางพระพุทธศาสนาให้
จริงจังกว่าปจั จบุ นั น้ี

บรรณานุกรม

๑. ภาษาไทย :

ก.ขอ้ มลู ปฐมภูมิ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พ ระไตรปิฎกภาษาบาลี. ฉบับมหาจุฬาเตปฏกํ, ๒๕๐๐.

กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
________. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์

มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. ๒๕๓๙.
________.อรรถกถาภาษาบาลี. ฉบับมหาจุฬาอฏกถา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒ - ๒๕๓๔.
________.ฎีกาภาษาบาลี. ฉบับมหาจุฬาฎีกา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลยั , ๒๕๓๙ – ๒๕๔๕.

ข. ขอ้ มลู ทุตยภมู ิ
(๑) หนงั สอื :
กรมศิลปากร. โบราณคดีและประวัติศาสตร์เมืองสุพรรณบรุ ี. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัด

สารรงั สรรค์, ๒๕๓๓.
________. วิวัฒนาการพุทธสถานไทย. กรุงเทพมหานคร: บริษัทอมรินทร์ พร้ินต้ิงกรุ๊พ จำกัด,

๒๕๓๓.
คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ประวัติพระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งท่ี ๑.

กรุงเทพมหานคร : หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด, ๒๕๕๐.
ชะลูด น่ิมเสมอ. การเข้าถึงศิลปะในงานจิตรกรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พร้ินด้ิงกรุ๊ฟ,

๒๕๓๒.
________. องคป์ ระกอบของศลิ ปะ. พิมพ์คร้ังที่ ๗. กรุงเทพมหานคร: อมรนิ ทร์พร้ินติ้งแอนด์พับลิช

ช่งิ , ๒๕๓๕.
ชัปนะ ปิ่นเงนิ , จักกวาฬทีปน:ี ตน้ แบบทางความคดิ พทุ ธลักษณ์ล้านนา, (เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม

มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่, ๒๕๕๒), (อดั สำเนา).
ดำรงราชานุภาพ. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. ตำนานพุทธเจดีย์. พิมพ์

คร้งั ที่ ๓. กรงุ เทพมหานคร: ครุ สุ ภา, ๒๕๕๑.
ธนิต อยูโพธิ์. สวุ ัณณภูมิ. พระนคร: หางหุนสวน จาํ กดั , ๒๕๑๐.

๑๑๔

น. ณ ปากน้ำ. ปกิณกะศิลปะไทยในสายตา น. ณ ปากน้ำ : พระพุทธรูป, กรุงเทพมหานคร: เมือง
โบราณ. ๒๕๔๓.

ผาสขุ อินทราวุธ. ทวารวดี : การศึกษาเชงิ วิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี. กรงุ เทพมหานคร
: โรงพมิ พอ์ กั ษรสมยั , ๒๕๔๒.

พระธรรมปฎิ ก (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต). พระพทุ ธศาสนาในอาเซยี . กรงุ เทพมหานคร : ธรรมสภา,๒๕๕๕.
________. พระพทุ ธศาสนาในอาเซีย. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา, ๒๕๔๐.
________. รูจกั พระไตรปฎกเพ่ือเปนชาวพทุ ธทีแ่ ท. พมิ พครัง้ ที่ ๒. กรงุ เทพมหานคร: เอดิสนั เพรส

โปรดกั ส, ๒๕๔๓.
________. พระไตรปฎกสิ่งที่ชาวพุทธตองรู้ (ฉบับสองภาษา). กรุงเทพมหานคร: บริษัทเอส.อาร.

พร้นิ ติง้ แมส โปรดักสจาํ กัด, ๒๕๔๕.
________. พจนานุกรมพุทธศาสตรฉบับประมวลศัพท์. ครั้งท่ี๑๐. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส.

อาร.พริ้นติ้ง แมส โปรดกั สจํากดั , ๒๕๔๖.
พุทธ์ อารพา อปุ ปนนา อนสุ สติ = พทุ ธานสุ สติ ฯ อา้ งในวสิ ุทธ.ิ (บาล)ี ๑/๒๕๑., /๒๕๒-๒๔๗๒.
พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร ป.ธ.๙). วิปสสนาวงศ: พิมพในงานพระราชทานเพลิงศพพระ

พรหมโมลี (วลิ าศ ญาณวโร), ม.ป.พ.
พระมหาดาวสยาม วชิรปัญโญ, ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:

http:// www.dhammathai.org/buddhism/india/chapter๐๘ ๒.php, [๘ เมษายน
๒๕๖๑].
พระมหาประภาส ปริชาโน, มองพุทธให้เข้าใจใน ๕ นาที, (กรุงเทพเทพมหานคร: ธิงค์ บียอนด์,
๒๕๕๓, หน้า ๖๘.
พระมหาวิชาญ เล่ียวเสง็ , “พทุ ธศิลป์กบั การท่องเที่ยว : ศึกษาบทบาทของวัดในการอนุรักษ์พทุ ธศิลป์
เพ่ือการท่องเท่ียว”, วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวทิ ยาลัยมหิดล, ๒๕๔๔), หน้า ๑๔๒.
พระมหาสากล สุภรเมธี (เดินชาบัน) พระราชปริยัติวิมล (ศรีสุระ), “กำเนิดและพัฒนาการพุทธ
ศิลปวัตถุสมัยต่างๆ ในประเทศไทย THE ORIGIN AND DEVELOPMENT OF THE
BUDDHIST ARTS IN THAILAND”, วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, (กันยายน
๒๐๑๗ – มกราคม ๒๐๑๘).
พระอุดรคณาธิการ. ประวัตวิ ัติศาสตรพระพุทธศาสนาในอินเดีย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรงุ เทพมหานคร :
มหาจฬุ าบรรณาคาร, ๒๕๓๔.
มโน พิสุทธริ ตั นานนท์. สุนทรียวจิ กั ษณใ์ นจติ รกรรมไทย. กรงุ เทพมหานคร: โอเดยี นสโตร์, ๒๕๔๗.

๑๑๕

น. ณ ปากน้ำ, ปกิณกะศิลปะไทยในสายตา น. ณ ปากน้ำ : พระพุทธรูป, กรุงเทพมหานคร: เมือง
โบราณ. ๒๕๔๓, หน้า ๙๕.

นวม สงวนทรพั ย์, สงั คมวิทยาศาสนา, กรงุ เทพมหานคร:โอ.เอ.เอส.พริ้นตง้ิ เฮ้าส์, ๒๕๓๗),
ผาสุข อนิ ทราวุธ, ทวารวดีการศึกษาวิเคราะห์จากหลักฐานโบราณคดี, กรุงเทพมหานคร : อักษรสมัย,

๒๕๔๒.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร : บริษัท

นานมบี ุ๊คพับลเิ คชั่นส์ จำกัด, ๒๕๔๖.
ศิลปากร. กรมโบราณคดีคอกช้างดิน. สำนักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ ๒

สุพรรณบุรี. กรงุ เทพมหานคร : ฟนั นี่ พบั ลชิ ชง่ิ , ๒๕๔๕.
สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. ตำนานพระเจดีย์. อ้างใน พระมหาดาวสยาม วชิรปญฺโ ,

ประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนาในอนิ เดยี , กรุงเทพมหานคร : พมิ พ์สวย, ๒๕๔๖
สุภัทรดิศ ดิศกุล. ศ.ม.จ. ศิลปะในประเทศไทย. พิมพครั้งท่ี ๑๐. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร, ๒๕๓๘.
________. หมอ่ มเจ้า. ศลิ ปะอินเดยี . พมิ พ์ครง้ั ที่ ๒. พระนคร : องคก์ ารค้าของครุ สุ ภา, ๒๕๑๙.
สุรสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์, ม.ล. และ ดร. ฮันส์เพ้นธ์, พุทธศิลป์ในนิกายสีหฬภิกขุ ค.ศ. ๑๓๕๐¬- ๑๕๕๐

(ราว พ.ศ. ๑๙๐๐ - ๒๑๐๐) ศกึ ษาจากพระพทุ ธสหิ ิงคแ์ ละพระพุทธรูปท่ีมีจารึกประเทศ
ไทย (เนน้ ลา้ นนา), (เชียงใหม:่ สถาบนั วิจัยสังคม, ๒๕๕๐).
สุริยวุฒิ สุขสวัสด์ิ, ม.ร.ว., ศ.ดร., ศรีทวารวดีถึงศรีรัตนโกสินทร์, (กรุงเทพมหานคร: ดานสุทธาการ
พิมพ์, ๒๕๓๗), .
สุวฒั น์ แสนขัติยรัตน์, พทุ ธรปู พทุ ธลักษณ์, กรุงเทพมหานคร: เทนเดอร์ ทชั , ๒๕๕๐, .
หลวงบรบิ าลบุรภี ณั ฑ์, พระพุทธรูปสมัยตา่ งๆ ในประเทศไทย, กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์จำลองศลิ ป์.
๒๕๑๐, .
สภุ าพรรณ ณ บางชาง. รศ. วิวัฒนาการงานเขียนบาลีในประเทศไทย: จารึก ตํานาน พงศาวดาร
สาสน ประกาศ. กรุงเทพมหานคร: มหามกฎุ ราชวิทยาลยั , ๒๕๒๙.
สุริยวุฒิ สุขสวัสด์ิ. ม.ร.ว., ศ.ดร. ศรีทวารวดีถึงศรีรัตนโกสินทร. กรุงเทพมหานคร: ดานสุทธาการ
พิมพ, ๒๕๓๗.
สมพร ไชยภมู ธิ รรม. ปางพระพุทธรูป. กรุงเทพมหานคร: สำนกั พมิ พ์ต้นธรรม, ๒๕๔๓.
สมศักด์ิ รัตนกุล. รายงานการสำรวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถานเมืองเก่าอู่ทอง. กรมศิลปากร
จดั พมิ พ์เน่ืองในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินทรงเปดิ พิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาตอิ ู่ทองจังหวัด
สุพรรณบุรี วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๐๙.

๑๑๖

เสถียร โพธนิ ันทะ. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. ฉบับมุขปาฐะ ภาค ๑. กรุงเทพมหานคร: มหา
มกุฏราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙.

เสถียร สระทองให้, พุทธศิลปะ, (พษิ ณุโลก: โรงพมิ พ์ โฟกัสพริ้นติง้ จาํ กดั , ๒๕๕๘), หน้า ๑๖.
หลวงบริบาลบุรีภัณฑ์. พระพุทธรูปสมัยต่างๆ ในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จำลอง

ศลิ ป์. ๒๕๑๐.

(๒) งานวิจัยและวิทยานิพนธ์ :
พระมหาวิชาญ เลี่ยวเสง็ . “พุทธศลิ ปก์ ับการท่องเทย่ี ว : ศกึ ษาบทบาทของวดั ในการอนรุ ักษ์พุทธศิลป์

เพ่ือการท่องเที่ยว”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, ๒๕๔๔.
วัชรินทร์ บัวจันทร์. “ศึกษาเร่ืองแดนแห่งพลังศรัทธา”. ศิลปนิพนธ์ศิลปบัณฑิต. นครปฐม: คณะ
จิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๕๔.
สฤษด์ิพงศ์ ขุนทรง, โบราณคดีช่วงก่อนสมัยทวารวดี : ข้อมูลใหม่จากเมืองโบราณอู่ทอง, เป็นส่วน
หนึ่งของโครงการวิจัยเรื่อง “พัฒนาการของเมืองอู่ทองจากหลักฐานทางโบราณคดี”,
โดยได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร, (คณะ
โบราณคดี : มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร), บทคัดย่อ.
(๓) เอกสารอัดสำเนา :
ชปั นะ ป่นิ เงิน. จักกวาฬทีปนี: ตน้ แบบทางความคิดพุทธลกั ษณล์ ้านนา. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม,่ ๒๕๕๒. (อดั สำเนา).
(๔) สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ :
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อำเภออู่ทอง สุพรรณบุรี – จังหวัด
สุพรรณบุรี. [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : http://www.suphan.biz/UtongMuseum.htm
[๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓].
วกิ ิพีเดีย สารานุกรมเสรี. ลักษณะงานศิลปะไทย. [ออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า: http://th.wikipedia.org/
wiki/ลกั ษณะงานศลิ ปะไทย [๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓].
มูลนิธโิ ครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. เรื่องท่ี ๓ ประติมากรรมไทย สารานุกรมไทยสำหรับ
เยาวชนฯ. เล่มที่ ๑๔ / เร่ืองท่ี ๓ / ประติมากรรมไทยสมัยอู่ทองและสมัยอยุธยา
[ออนไลน]์ . แหล่งทม่ี า : http://saranukromthai.or.th/ [๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓].
ฝา่ ยศาสนา, ถำ้ อชันตา ปฏมิ ากรรมพทุ ธศาสนาเก่าแก่ท่ีสดุ ในโลก, [ออนไลน]์ . แหลง่ ขอ้ มลู :
htp://www. komchadluek.net/news/lifestyle/๑๘๐๗๓๑, [๗ เมษายน ๒๕๖๑]
พระพทุ ธรปู ศิลปะคันธาระ, ปางปฐมเทศนา-ปางประทานพร-ปางปาฏหิ าริย์, [ออนไลน์].

๑๑๗

แหลง่ ที่มา: http://tainote๒.blogspot.com/๒๐๑๔/๐๔/blog-post.html, [ ๑๙๑๔
สุภั ท รดิ ศ ดิ ศ กุ ล , ม .จ ., พ ระ พุ ท ธ รูป อิ น เดี ย แ บ บ อ ม ราว ดี , [อ อ น ไล น์ ]. แ ห ล่งท่ี ม า:

http://www.thapra.lib. su.ac.th/supat/article/showdetail.php?ID=๙ ๙ , [๘
เมษายน ๒๕๖๑]
พ ร ะ ม ห า ส ม จิ น ต์ ส มฺ ม า ป ญฺ โ ญ , ก ำ เนิ ด แ ล ะ พั ฒ น า ก า ร แ ห่ ง พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ,
https://www.mcu.ac.th/article/detail/502, ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒.
พ ระ มห าสม จิน ต์ ส มฺม าป ญฺ โญ , ก ำเนิ ดและ พั ฒ น าก ารแห่ งพ ระพุ ท ธรูป ,
https://www.mcu.ac.th/article/detail/502, ๑ พฤษภ ๑๙๑๓ bdbo]

(๕) วารสาร :
พระมหาสากล สุภรเมธี (เดินชาบัน) พระราชปริยัติวิมล (ศรีสุระ). “กำเนิดและพัฒนาการพุทธ

ศิลปวัตถุสมัยต่างๆ ในประเทศไทย THE ORIGIN AND DEVELOPMENT OF THE
BUDDHIST ARTS IN THAILAND” . ว า ร ส า ร ส ถ า บั น วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ศิ ล ป ะ
มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตร้อยเอ็ด.
(กันยายน ๒๐๑๗ – มกราคม ๒๐๑๘).
สภุ ทั รดศิ ดศิ กลุ . ศ.ม.จ.“พระพทุ ธรปู อินเดียแบบอมราวดี”. โบราณคดี. ปที่ ๕ ฉบับท่ี ๖. (มกราคม -
มนี าคม ๒๕๕๒), หนา ๑๐-๒๕.

๒. ภาษาองั กฤษ :

Paul Wheatley. The Golden Khersonese. Kuala Lumpur: The Malaya University
Press, 1961.

ผใู้ หส้ ัมภาษณ์
สัมภาษณ์ พระธรรมพุทธิมงคล (สอิ้ง สิรินนฺโท ป.ธ.๘) ท่ีปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี เจ้า

อาวาสวัดป่าเลไลยก์วรวหิ าร เมื่อวนั ท่ี ๒๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.
สัมภาษณ์ พระครูสิริวรธรรมภินันท์(ชูชาติ )อานนฺโท รองเจ้าคณะอำเภอเมือง เจ้าอาวาสวัดมะนาว

เม่อื วนั ท่ี ๒๓ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๓
สมั ภาษณ์ พระมหาพิชัย (เจริญยุทธ) ธมฺมวิชโย, เจ้าอาวาสวัดเขาทำเทียม อำเภออู่ทอง จังหวัด

สพุ รรณบุรี เมือ่ วันท่ี เม่อื วันที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๓
สัมภาษณ์ พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี, ผู้อำนวยการ, อาจารย์,ณ.

วทิ ยาลยั สงฆส์ พุ รรณบรุ ศี รีสวุ รรณภูมิ , เม่ือวนั ท่ี ๒๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

๑๑๘

สัมภาษณ์ ,พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. (นิคม ณฏฺฐวโร) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลย์วรวิหาร, เม่ือ
วันที่ เมอ่ื วันที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.

สัมภาษณ์ นางสาววิภารัตน์ ประดิษฐอาชีพ, ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง จังหวัด
สุพรรณบรุ ี เมอ่ื วนั ท่ี ๒๓ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓..

สัมภาษณ์ นายอานนท์ รักผล อาจารย์ เจ้าหน้าท่ีสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสุพรรณบุรี
ไวยาวจั กรวัดปา่ เลไลยก์วรวหิ าร จังหวดั สพุ รรณบรุ ี เมือ่ วนั ท่ี ๒๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓

สัมภาษณ์ ดร.สมจินต์ ชาญกระปี่ ผู้จัดการสำนักงานพ้ืนที่พิเศษ ๗ เพื่อการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน
(องคก์ ารมหาชน) เมื่อวนั ที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓.

สัมภาษณ์ จันทิรา เคหะนาค นักวชิ าการศาสนาชำนาญการพิเศษ สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
สุพรรณบุรี เมอื่ วันท่ี ๑๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๓

สัมภาษณ์ อ.วรพร พรหมใจรักษ์ ตำแหน่ง อาจารย์ประจำหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาสังคม
ศึกษาชมรมนักโบราณคดีสมัครเล่นเมืองสุพรรณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัด
สุพรรณบุรเี มื่อวันท่ี ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓..

ภาคผนวก

๑๒๐

ภาคผนวก ก.
แบบสมั ภาษณ์เพอ่ื การวจิ ัย

๑๒๑

แบบสัมภาษณ์เพื่อการวจิ ัย
เรื่อง การวิเคราะหค์ ุณคา่ พุทธศลิ ปย์ ุคทวารวดี ในจงั หวดั สพุ รรณบุรี
คำชีแ้ จง :
๑. แบบสัมภาษณ์เพื่อการวิจัยน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพุทธศิลป์ในพระพุทธศาสนาและ
เพอ่ื วเิ คราะห์อทิ ธพิ ลและคุณค่าพทุ ธศลิ ป์ยุคทวารวดี ในจังหวดั สพุ รรณบรุ ี
๒. แบบสอบสัมภาษณ์นีแ้ บง่ เป็น ๒ ตอน คอื
ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเก่ียวกับผูส้ ัมภาษณ์
ตอนที่ ๒ ประเดน็ ในการสมั ภาษณ์

ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะได้รับความอนุเคราะห์จากท่าน การให้ข้อมูลตอบแบบ
สัมภาษณ์เป็นอยา่ งดี จงึ ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนี้ ในความร่วมมือตอบแบบสอบถามในคร้งั น้ี

นางสาวธนชั พร เกตคุ ง
นิสติ ปรญิ ญาโท หลกั สูตรบัณฑติ ศึกษา
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๑๒๒

แบบสมั ภาษณ์เพ่อื การวจิ ยั
เร่ือง วิเคราะห์คณุ คา่ พุทธศลิ ปย์ ุคทวารวดี ในจังหวดั สุพรรณบรุ ี

-------------------------------------
คำช้แี จง
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผ้ใู ห้สมั ภาษณ์
ช่อื - นามสกุล
................................................................................................................................................................
ตำแหนง่ /หนา้ ท่รี ับผดิ ชอบปัจจุบัน.........................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
บ้านเลขท่ี........................หมทู่ .่ี .............ตำบล.........................................อำเภอ.....................................
จงั หวดั ........................................................รหัสไปรษณีย.์ .................................โทร...............................
สถานทสี่ มั ภาษณ.์ ...................................................................................................................................
วันท่ี................เดอื น............................................พ.ศ. ........................เวลา............................................

ตอนที่ 2 ประเดน็ ในการสัมภาษณ์
1. ทา่ นมีความคดิ เห็นอยา่ งไรเก่ยี วกับ เร่อื งพุทธศิลป์ในพระพทุ ธศาสนา ?
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
2. พุทธศิลปใ์ นคมั ภีร์พระพทุ ธศาสนาเข้ามาแลว้ ไดม้ กี ารเผยแผ่สู่ประชาชน มกี ารเจรญิ และเสอ่ื ม
อยา่ งไร ?
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

๑๒๓

3. พทุ ธศลิ ป์ยุคทวารวดี จงั หวัดสุพรรณบรุ ี มีความเปน็ มาและความสำคญั อยา่ งไร ?
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
4. ทา่ นจงวิเคราะห์อทิ ธิพลและคณุ คา่ พุทธศิลปย์ ุคทวารวดใี นจังหวดั สพุ รรณบุรี มาพอเข้าใจ พร้อม
ยกเหตผุ ลประกอบ?
..............................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
5. ท่านคิดว่างานพทุ ธศิลป์ ด้านเจดีย์และอืน่ ๆ ที่สรา้ งข้นึ ในยคุ ทวารวดที ่ีปรากฏอย่ใู นวดั หรอื ทีอ่ ยู่
อาศยั ของทา่ นมอี ิทธพิ ลและคณุ ค่าส่งเสรมิ จริยธรรม คุณค่าทางศิลปกรรม คุณค่าทางการศกึ ษา
คณุ ค่าทางประวัติศาสตร์ คุณค่าทางเศรษฐกจิ คุณคา่ ต่อสงั คม มากน้อยอยา่ งไร ?
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
๖. ทา่ นมีวิธกี ารเผยแพร่องคค์ วามรูเ้ กยี่ วกบั พุทธศิลป์ของพระพุทธรปู เมอื งอทู่ องสมยั ทวารวดี ซึง่ เป็น
แหลง่ ขอ้ มลู พฒั นาการ อิทธพิ ล และคณุ คา่ แก่พุทธศาสนกิ ชนประชาชนและนกั ทอ่ งเทยี่ วไดอ้ ยา่ งไร ?
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
๗. ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ (ถ้าม)ี
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ขอบคณุ ทกุ ท่านท่ีให้ความรว่ มมือในการตอบแบบสัมภาษณ์คร้งั น้ี

๑๒๔

ภาคผนวก ข.
หนงั สือขอความอนเุ คราะหต์ รวจแกไ้ ขเครือ่ งมือวิจยั ทีใ่ ชใ้ นการทำวิทยานิพนธ์

๑๒๕

๑๒๖

๑๒๗

๑๒๘

๑๒๙

๑๓๐

ภาคผนวก ค.
หนังสือขอความอนุเคราะหเ์ กบ็ ข้อมูลเพือ่ การวจิ ยั

๑๓๑

๑๓๒

๑๓๓

๑๓๔


Click to View FlipBook Version