43
44
45 ใบความรู้ เรื่องโน้ตสากลในกุญแจซอล กุญแจซอล เป็นเครื่องหมายประจำหลักที่ใช้กันมากสำหรับบันทึกระดับเสียงของเครื่องดนตรีหรือเสียงร้องที่มี ระดับกลางถึงสูง ภาษาอังกฤษเรียก “จี เคลฟ” (G Clef) หรือ “เทร็บเบิ้ล เครฟ” (Treble Clef) โดยทั่วไปเรียกว่า “กุญแจซอล” ในการเขียนกุญแจซอลบันทึกโดยหัวกุญแจให้คาบเส้นที่ 2 ของบรรทัด 5 เส้น โน้ตทุกตัวที่คาบอยู่ บนเส้นที่ 2 ของบรรทัด 5 เส้น จะมีเสียงเดียวกับชื่อกุญแจคือ “ซอล” ดังตัวอย่าง โดยปกติแล้วในทางดนตรีได้มีนักปราชญ์ทางดนตรีได้กำหนดชื่อเรียกระดับเสียงตัวโน้ตและได้ถือปฏิบัติ สืบเนื่องกันต่อมาจนถึงปัจจุบัน โดยจัดเรียงจากระดับเสียงต่ำไปหาสูง 7 เสียงดังนี้ C D E F G A B C ไม่ว่าระดับ เสียงจะสูงหรือต่ำก็คงมีชื่อกำกับเพียง 7 เสียงหลัก ๆ เท่านั้น เพียงแต่การบันทึกโน้ตลงบนบรรทัด 5 เส้น เสียงที่ เรียกชื่อเหมือนกัน แต่ระดับเสียงต่างกันเรียกว่ามีระยะขั้นคู่แปดระดับเสียงที่ต่างกันเราเรียกว่า “อ๊อคเทฟ” (Octave) จากข้างต้นเมื่อเราทราบชื่อของตัวโน้ตที่เรียงลำดับจากเสียงต่ำไปเสียงสูงแล้วและยังทราบชื่อตัวโน้ต ที่คาบอยู่บนเส้นที่ 2 ของกุญแจซอลคือตัว “ซอล” แล้ว เราสามารถทราบชื่อโน้ตตัวอื่น ๆ ได้โดยการไล่เสียงขึ้น และลงตามลำดับได้ดังนี้
46 แบบฝึกหัด เรื่องโน้ตสากลในกุญแจซอล คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมชื่อตัวโน้ตให้ถูกต้อง 1 2 3 4 5 ชื่อ........................................................................................ชั้น................เลขที่...................
47 แบบประเมินการอ่านโน้ตสากลในกุญแจซอล คำชี้แจง ให้ขีดเครื่องหมาย ✓ ลงในช่อง ข้อที่ โน้ตสากลในกุญแจซอล อ่านถูก อ่านผิด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
48 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน ............. /............. /............. เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง ลำ ดับ ที่ ชื่อ-สกุล ของผู้รับการประเมิน ความตั้งใจ ในการ ทำงาน ความ รับผิดชอบ การตรงต่อ เวลา ความ สะอาด เรียบร้อย ผลสำเร็จ ของงาน รวม 20 คะแนน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1
49 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โน้ต และเครื่องหมายสัญลักษณ์ทางดนตรี เวลา 9 ชั่วโมง เรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทย เวลา 2 ชั่วโมง วันที่สอน วันจันทร์ ที่26 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2566 โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ม.1 (1/1) อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล สาระสำคัญ เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทยที่ใช้ในการบันทึกโน้ต จำเป็นต้องศึกษาเครื่องหมาย และสัญลักษณ์ก่อนจึงจะสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีหรือการขับร้องเพลงได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทยได้ (K) 2. นักเรียนสามารถอธิบายเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีได้ (P) 3. นักเรียนตังใจเรียนขณะครูสอนในชั้นเรียน (A) สาระการเรียนรู้ เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
50 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. มุ่งมั่นในการทำงาน ภาระงาน/ชิ้นงาน ใบงาน คำถามสำคัญ นักเรียนรู้ไหมว่าเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทยมีอะไรบ้าง กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน 2. ครูถามนักเรียนว่า ทำไมเราต้องศึกษาเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทย 3. ครูกล่าวนำเข้าสู่บทเรียนว่า เมื่อเราทราบว่าเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทย มีความสำคัญอย่างไรแล้ว วันนี้ครูจะสอนเรื่องเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทยกัน ขั้นสอน 1. ครูแจกใบความรู้เรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทย 2. ครูอธิบายเรื่องเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทย เป็น Mind Map ให้นักเรียนดู โดยจะอธิบายตามหัวข้อดังนี้ - บรรทัดที่ใช้ในการบันทึก - สัญลักษณ์แทนเสียงตัวโน้ต - เครื่องหมายที่แสดงถึงการปฏิบัติซ้ำ - เครื่องหมายแสดงการแบ่งพวกปฏิบัติ - สัญลักษณ์แทนความยาวของจังหวะ 3. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 5 กลุ่ม โดยจะแบ่งหัวข้อให้นักเรียนศึกษาเป็นกลุ่มแล้วออกมา นำเสนอหน้าชั้นเรียน 4. ครูเพิ่มเติมเนื้อหาความรู้ในส่วนที่ยังไม่เพียงพอให้แต่ละกลุ่ม 5. ครูแจกแบบฝึกหัดให้นักเรียนลงมือปฏิบัติเดี่ยว ขั้นสรุป 1. นักเรียนช่วยกันสรุปในประเด็นเรื่อง เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ทางดนตรีไทย 2. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมส่วนที่นักเรียนไม่เข้าใจโดยเปิดโอกาสให้ถาม
51 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. ห้องสมุด กระบวนการวัดและการประเมินผล เครื่องมือ 1. แบบฝึกหัด 2. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคลคล วิธีการ 1. ตรวจแบบฝึกหัด 2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ 1. ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 2. ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
52
53
54 ใบความรู้ เรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ก่อนการฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรี หรือขับร้องเพลงไทย นักเรียนจำเป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับเครื่องหมาย และสัญลักษณ์ทางดนตรีไทย แบ่งออกเป็น 5 ลักษณะดังนี้ 1. บรรทัดที่ใช้ในการบันทึกโน้ต การบันทึกโน้ตเพลงชาติไทยปกติโดยทั่วไปบรรทัดหนึ่งจะแบ่งออกเป็น 8 ห้องเท่า ๆกัน โดยแต่ละห้อง ประกอบด้วยตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงตัวโน้ต 4 ตัว 2. สัญลักษณ์แทนเสียงโน้ต โน้ตเพลงไทยไม่นิยมบันทึกลงในบรรทัด 5 เส้น เหมือนโน้ตสากล แต่มีรูปแบที่ได้กำหนดไว้อย่างเหมาะสม กับดนตรีไทยแล้ว ทั้งที่ใช้ตัวแทนเสียงและใช้อักษรแทนเสียงโดยปัจจุบันนิยมใช้ตัวอักษรแทนเสียง 3. เครื่องหมายที่แสดงถึงการปฏิบัติซ้ำ ใช้เขียนเส้นแบ่งห้องและหลังห้องต้องการให้ปฏิบัติทำนองนั้นซ้ำ ปกติจะเขียนไว้ต้นห้อง หรือท้ายห้อง เพื่อให้บรรเลงกลับต้นอีครั้ง มีลักษณะเป็น ตัว I 4. เครื่องหมายแสดงการแบ่งพวกปฏิบัติ โดยทำนองเพลงไทยบางตอนนั้นอาจจะมีการบรรเลงที่เรียกว่าลูกล้อหรือลูกขัด มีการแบ่งผู้บรรเลง เป็น 2 พวก จึงใช้เครื่องหมายเขียนบนทำนองเพลง 5. สัญลักษณ์แทนความยาวของจังหวะ เสียงของตัวโน้ตนั้นมีทั้งเสียงสั้นและเสียงยาว ซึ่งในการบันทึกโน้ตเสียงยาวจะให้ใช้สัญลักษณ์
55 แบบฝึกหัด คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายความหมายองค์ประกอบของดนตรีไทยแต่ละประเภทลงให้ข้อคำถามที่กำหนดให้ มาพอสังเขป 1. บรรทัดที่ใช้ในการบันทึกโน้ต .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. 2. สัญลักษณ์แทนเสียงโน้ต ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................................ ................................................................................................... ........................................................................... 3. เครื่องหมายที่แสดงถึงการปฏิบัติซ้ำ ............................................................................................................................. ....................................................... ...................................................................................................................................................................... .. .............................................................................................................................................................................. 4. สัญลักษณ์แทนความยาวของจังหวะ .................................................................................................. .................................................................................. ........................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................. ............................................ ชื่อ.....................................นามสกุล..............................ชั้น..........................เลขที่...........
56 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล คำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการทำงานและการเรียนของนักเรียนเป็นรายบุคคลตามเกณฑ์การให้ คะแนนข้างล่างแล้วบันทึกคะแนนลงในตารางให้ตรงช่องคะแนนนั้น ๆ เกณฑ์การให้คะแนน 2 คะแนน หมายถึง ปฏิบัติบ่อยครั้ง สังเกตเห็นได้ชัดเจน 1 คะแนน หมายถึง ปฏิบัติเป็นบางครั้ง 0 คะแนน หมายถึง ไม่ได้ปฏิบัติ สังเกตเห็นได้ไม่ชัดเจน พฤติกรรม เลขที่-ชื่อ ความสนใจใน การเรียนและ การตรงต่อเวลา ความร่วมมือใน การทำงานตาม ขั้นตอน ยอมรับฟัง ความคิดเห็น ของเพื่อน มีน้ำใจ ช่วยเหลือเพื่อน ในการทำงาน มีความ รับผิดชอบงานที่ ได้รับมอบหมาย คะแนนรวม ผลการประเมิน ระดับ 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 10 เกณฑ์การประเมินรายบุคคล [ ] ระดับ ดี ได้คะแนน 8 - 10 คะแนน ลงชื่อ…………............……………. [ ] ระดับ พอใช้ ได้คะแนน 5 - 7 คะแนน (.....……………….....……..) [ ] ระดับ ปรับปรุง ได้คะแนน 0 - 4 คะแนน ผู้ประเมิน ………./………/…….
57 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โน้ต และเครื่องหมายสัญลักษณ์ทางดนตรี เวลา 9 ชั่วโมง เรื่อง โน้ตดนตรีไทย เวลา 2 ชั่วโมง วันที่สอน วันจันทร์ ที่3 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรีถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ม.1 (1/1) อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล สาระสำคัญ การบันทึกโน้ตเป็นตัวอักษรนี้เป็นการใช้โน้ตไทยมาเปรียบเทียบให้ตรงกับตัวโน้ตสากล จะทำให้สามารถ บันทึกเพลงได้ โดยโน้ตทางดนตรีไทยจะเป็นโน้ต7 เสียงเท่า จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกตัวอย่างโน้ตดนตรีไทยได้(K) 2. นักเรียนสามารถอ่านและร้องระดับเสียงโน้ตดนตรีไทยได้ (P) 3. นักเรียนให้ความร่วมมือการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (A) สาระการเรียนรู้ โน้ตดนตรีไทย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
58 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. มุ่งมั่นในการทำงาน ภาระงาน/ชิ้นงาน แบบฝึกหัด คำถามสำคัญ นักเรียนรู้หรือไหมว่าการอ่านและร้องโน้ตทางดนตรีไทยเป็นอย่างไร กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ 1. ครูถามนักเรียนจำนวน ว่านักเรียนรู้จักโน้ตดนตรีไทยหรือไม่ 2. ครูถามต่อยอดจากคำถามเดิมว่า นักเรียนคิดว่า โน้ตดนตรีไทยมีกี่เสียง ขั้นสอน 1. ครูแจกใบความรู้ให้นักเรียน 2. นักเรียนศึกษาเรื่องโน้ตดนตรีไทยนั้นมี 7 ตัว คือมีเสียง โด เร มี ฟา ซอล ลา ที และระดับความ สูง - ต่ำ ของเสียงโน้ตดนตรีไทย 3. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 7 กลุ่มให้แต่ละกลุ่มจับสลากตัวโน้ตแต่ละกลุ่มจะได้ตัวโน้ต 1 ตัว 4. นักเรียนฝึกออกเสียงให้ตรง โดยครูเป่าขลุ่ยแต่ละโน้ตให้นักเรียบนออกเสียงตามทีละกลุ่ม จากนั้น ใช้โน้ตเพลงช้างมาเล่นเกม ขั้นสรุป 1. นักเรียนสรุปว่าโน้ตดนตรีไทยนั้นมี 7 เสียง คือ ด ร ม ฟ ซ ล ท 2. ครูเพิ่มเติมความรู้ ถ้าโน้ตตัวที่มีจุดอยู่ข้างล่างแสดงว่าเป็นโน้ตที่มีเสียงต่ำเช่น ล. ม. ถ้าเป็น โน้ตที่มีวงเล็ก ๆ จะมีเสียงสูง เช่น ดํ รํ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. ขลุ่ยเพียงออ
59 กระบวนการวัดและการประเมินผล เครื่องมือ 1. แบบประเมิน 2. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล วิธีการ 1. นักเรียนปฏิบัติแบบฝึกอ่านโน้ต 2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ 1. ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 2. ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60
60
61
62 ใบความรู้ เรื่อง โน้ตดนตรีไทย ระดับความสูง-ต่ำของเสียงนับเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างทำนองดนตรี ในวัฒนธรรมดนตรีตะวันตก สัญลักษณ์ที่ใช้แทนระดับเสียงอาศัยระดับความสูง-ต่ำ ของบรรทัด5 เส้นเป็นตัวกำหนด สำหรับระบบโน้ตในดนตรี พื้นเมืองอีสาน หรือ ดนตรีไทย สัญลักษณ์ที่ใช้แทนระดับความสูง-ต่ำ ของเสียงถูกกำหนดโดยตัวอักษร จำนวน 7 ตัว และสัญลักษณ์การแทนเสียงสูง–ต่ำ โดยมี จุด(.) ข้างล่างตัวอักษร เป็นเสียงต่ำ ส่วนมีจุด(.) ข้างบน ตัวอักษร เป็นเสียงสูง ดังแสดงตารางดังนี้ เสียงต่ำ เสียงธรรมดา เสียงสูง ดฺ ย่อมมาจาก โด(ต่ำ) ด ย่อมาจาก โด ดํย่อมาจาก โด(สูง) รฺ ย่อมาจาก เร(ต่ำ) ร ย่อมาจาก เร รํย่อมาจาก เร(สูง) มฺ ย่อมาจาก มี(ต่ำ) ม ย่อมาจาก มี มํ ฟฺ ย่อมาจาก ฟา(ต่ำ) ฟ ย่อมาจาก ฟา ฟํ ฺซฺ ย่อมาจาก ซอล(ต่ำ) ซ ย่อมาจาก ซอล ซํ ฺลฺย่อมาจาก ลา(ต่ำ) ล ย่อมาจาก ลา ลํ ฺทฺย่อมาจาก ที(ต่ำ) ท ย่อมาจาก ที ทํ
63 แบบฝึกอ่านโน้ต การอ่านโน้ตดนตรีไทย ด ด ด ด ร ร ร ร ม ม ม ม ฟ ฟ ฟ ฟ ซ ซ ซ ซ ล ล ล ล ท ท ท ท ดํ ดํ ดํ ดํ - ด ด ด - ร ร ร - ม ม ม - ฟ ฟ ฟ - ซ ซ ซ - ล ล ล - ท ท ท - ดํ ดํ ดํ - - - ด ด ด - ร ร ร - ม ม ม – ฟ ฟ ฟ - ซ ซ ซ - ล ล ล - ท ท ท - ดํ - ด - ด - ร - ร - ม - ม - ฟ – ฟ - ซ - ซ - ล - ล - ท - ท - ดํ - ดํ - - ด ด - - ร ร - - ม ม - - ฟ ฟ - - ซ ซ - - ล ล - - ท ท - - ดํ ดํ
64 แบบประเมินการปฏิบัติการอ่านโน้ต เกณฑ์คะแนน 40 = ดีมาก อยู่ในเกณฑ์ 75 - 100% ลงชื่อ…………….............…………………. 30 = ดี อยู่ในเกณฑ์ 50 - 75% (………………………………..) 20 = ปานกลาง อยู่ในเกณฑ์ 25 - 50% ผู้ประเมิน 10 = ปรับปรุง อยู่ในเกณฑ์ 25% ………/………../……….. ที่ ชื่อ-สกุล (นักเรียน) เกณฑ์ ถูกต้อง รวม หมายเหตุ (10) ตรง จังหวะ (10) ชัดเจน (10) ตรงเสียง (10) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
65 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล คำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการทำงานและการเรียนของนักเรียนเป็นรายบุคคลตามเกณฑ์การให้ คะแนนข้างล่างแล้วบันทึกคะแนนลงในตารางให้ตรงช่องคะแนนนั้น ๆ เกณฑ์การให้คะแนน 2 คะแนน หมายถึง ปฏิบัติบ่อยครั้ง สังเกตเห็นได้ชัดเจน 1 คะแนน หมายถึง ปฏิบัติเป็นบางครั้ง 0 คะแนน หมายถึง ไม่ได้ปฏิบัติ สังเกตเห็นได้ไม่ชัดเจน พฤติกรรม เลขที่-ชื่อ ความสนใจใน การเรียนและ การตรงต่อเวลา ความร่วมมือใน การทำงานตาม ขั้นตอน ยอมรับฟัง ความคิดเห็น ของเพื่อน มีน้ำใจ ช่วยเหลือเพื่อน ในการทำงาน มีความ รับผิดชอบงานที่ ได้รับมอบหมาย คะแนนรวม ผลการประเมิน ระดับ 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 10 เกณฑ์การประเมินรายบุคคล [ ] ระดับ ดี ได้คะแนน 8 - 10 คะแนน ลงชื่อ………………............…. [ ] ระดับ พอใช้ ได้คะแนน 5 - 7 คะแนน (………......……………..) [ ] ระดับ ปรับปรุง ได้คะแนน 0 - 4 คะแนน ผู้ประเมิน ………./………/…….
66 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โน้ตและเครื่องหมายสัญลักษณ์ทางดนตรี เวลา 9 ชั่วโมง เรื่อง โน้ตกุญแจเสียงซอลบันไดเสียง C Major เวลา 2 ชั่วโมง วันที่สอน วันจันทร์ ที่10 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรีถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ม.1 (1/1) อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล สาระสำคัญ การบันทึกสัญลักษณ์ของเสียงสากลนั้นจะบันทึกไว้ในบรรทัด 5 เส้น โดยมีกุญแจประจำหลักเป็น ตัวกำหนดเสียงดนตรี การจะเล่นดนตรีหรือร้องเพลงให้เป็นไปตามโน้ตที่กำหนดนั้นจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องศึกษา สัญลักษณ์ต่าง ๆ ให้เข้าใจและฝึกฝนให้ชำนาญ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกชื่อโน้ตในบรรทัด 5 เส้นกุญแจเสียงซอล ในบันไดเสียงเสียง C Major (K) 2. นักเรียนสามารถเขียนโน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันใดเสียง C Major (P) 3. นักเรียนตั้งใจเรียนขณะครูสอนในชั้นเรียน (A) สาระการเรียนรู้ โน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันไดเสียง C Major สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
67 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. มุ่งมั่นในการทำงาน ภาระงาน/ชิ้นงาน ใบงาน คำถามสำคัญ นักเรียนรู้ไหมว่ากุญแจซอลมีรูปร่างลักษณะเป็นอย่างไร กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ ครูสนทนาทบทวนเกี่ยวกับสัญลักษณ์ของเสียงดนตรี ตัวโน้ตและตัวหยุดตัวโน้ต จากที่ได้เรียนรู้ ผ่านมา แล้วถามว่าเมื่อไปอยู่ในบรรทัด 5 เส้น เรารู้ได้ยังไงว่าคือโน้ตอะไร ขั้นสอน 1. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันไดเสียง C Major โดยครูอธิบาย และให้ศึกษาข้อมูลจากใบความรู้ประกอบการอธิบายจากครูพร้อมเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย ในเนื้อหาได้ 2. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม โดยให้นักเรียนเล่นเกมส์เขียนโน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันได้เสียง C Major โดยให้ส่งตัวแทนออกมาสลับกันไปเลื่อย ๆ จนครบทุกคนในกลุ่ม โดยครูเป็นคนกำหนดให้ เขียนโน้ตตัวใดก็ได้ 3. นักเรียนทำใบงานที่ 8 เรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันไดเสียง C Major โดยนักเรียน จับคู่ร่วมกันลงมือทำ ใช้เวลาในการทำประมาณ 15 นาที 4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงานพร้อมเพิ่มเติมส่วนที่นักเรียนทำผิด ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาในเรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันไดเสียง C Major ว่าในบรรทัด 5 เส้น บรรทัดไหนคือโน้ตตัวอะไร สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันไดเสียง C Major 2. ห้องสมุด
68 กระบวนการวัดและการประเมินผล เครื่องมือ 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมและสนใจในการทำงาน 2. ใบงานเรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันไดเสียง C Major วิธีการ 1. สังเกตพฤติกรรม 2. นักเรียนทำใบงาน เกณฑ์ 1. ผ่านเกณฑ์ 70% 2. ผ่านเกณฑ์ 70%
69
70
71 ใบความรู้ เรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันใดเสียง C Major โครงสร้างบันไดเสียงเมเจอร์ (Major Scale) ตัวโน๊ต (Note) ลำดับที่ 1_2_3^4_5_6_7^8 _ หมายถึงห่างเต็มเสียง ^ หมายถึงห่างกันครึ่งเสียง โครงสร้างบันไดเสียงเมเจอร์ (Major Scale) จะต้องมีกุญแจเสียง (Key Signature) บอกว่าเป็นกุญแจ เสียงอะไร เช่น เป็น บันไดเสียงซีเมเจอร์ (C-Major Scale), บันไดเสียงจีเมเจอร์ (G-Major Scale)… ซึ่งกุัญแจ เสียง (Key Signature) นั้นก็เป็นเหมือนกับบอกว่าตัวโน๊ต (Note) ตัวใดเป็นตัวแรกของบันไดเสียง (Scale) สาเหตุที่เราเปลี่ยนกุญแจเสียง (Key Signature) เพื่อเปลี่ยนระดับเสียงสูงต่ำของบทเพลงที่ต้องการเล่น อาจจะเพื่อให้เหมาะกับเสียงของนักร้องเพลงแต่ละคน หรือจะเป็นเรื่องของอารมย์เพลง เป็นต้น ตัวอย่างใน C-Major Scale มีโครงสร้างเป็นดังนี้ โน๊ตตัวแรกคือ C ห่างจากตัวที่สองคือ D หนึ่งเสียง โน๊ตตัวที่สองคือ D ห่างจากตัวที่สามคือ E หนึ่งเสียง โน็ตตัวที่สามคือ E ห่างจากตัวที่สี่คือ F ครึ่งเสียง โน๊ตตัวที่สี่คือ F ห่างจากตัวที่ห้าคือ G หนึ่งเสียง โน๊ตตัวที่ห้าคือ G ห่างจากตัวที่หกคือ A หนึ่งเสียง โน๊ตตัวที่หกคือ A ห่างจากตัวเจ็ดคือ B หนึ่งเสียง โน็ตตัวที่เจ็ดคือ B ห่างจากตัวที่แปดคือ C ครึ่งเสียง การบันทึกลงในบรรทัด5เส้น รูปที่แสดงคือสัญลักษณ์ที่ใช้ในการบันทึกโน๊ตสากลแยกออกเป็นส่วนๆดังนี้ • เส้นแนวนอนเรียกว่า “บรรทัด 5 เส้น” (Staff) • สัญลักษณ์ด้านซ้ายสุดเรียกว่า “กุญแจประจำหลัก” (Clef) ในรูปนี้เป็นประเภท “กุญแจซอล” (G-clef) • สัญลักษณ์รูป เรียกว่า “ตัวโน๊ต” (Note) ในรูปนี้เป็นประเภท “โน๊ตตัวดำ”
72 ใบงาน เรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันใดเสียง C Major 1. จงบอกโน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันใดเสียง C Major ให้ได้มากที่สุด 2. จงบอกความสำคัญในการบันทึกโน้ต ............................................................................................................................. .......................... ........................................................................................................ ............................................... ....................................................................................................................................................... 3. ให้นักเรียนตั้งคำถาม เกี่ยวกับโน้ตสากลในกุญแจเสียงซอล ในบันใดเสียง C Major ที่นักเรียนอยากรู้หรือ ไม่เข้าใจ มาให้ได้มากที่สุด ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ชื่อ-สกุล…………………………………………………………………………เลขที่………………ชั้น……………………… เส้นน้อย เส้นน้อย
73 แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน เกณฑ์คะแนน 4 = ดีมาก อยู่ในเกณฑ์ 75 - 100% ลงชื่อ………..……………………….. 3 = ดี อยู่ในเกณฑ์ 50 - 75% (………………………………) 2 = ปานกลาง อยู่ในเกณฑ์ 25 - 50% ผู้ประเมิน 1 = ปรับปรุง อยู่ในเกณฑ์ 25% …………/…………/………. ลำ ดับ ชื่อ-สกลุ (นักเรียน) พฤติกรรม เข้าเรียน รวม หมายเหตุ (1) ส่งงาน (1) มีส่วนร่วม (1) ความสนใจ /ตั้งใจ (1) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 19 20
74 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โน้ตและเครื่องหมายสัญลักษณ์ทางดนตรี เวลา 9 ชั่วโมง เรื่อง โน้ตกุญแจเสียงฟาในบันไดเสียงC Major เวลา 2 ชั่วโมง วันที่สอน วันจันทร์ ที่17 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรีถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ม.1 (1/1) อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล สาระสำคัญ การบันทึกสัญลักษณ์ของเสียงสากลนั้นจะบันทึกไว้ในบรรทัด 5 เส้น โดยมีกุญแจประจำหลักเป็น ตัวกำหนดเสียงดนตรี การจะเล่นดนตรีหรือร้องเพลงให้เป็นไปตามโน้ตที่กำหนดนั้นจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องศึกษา สัญลักษณ์ต่าง ๆ ให้เข้าใจและฝึกฝนให้ชำนาญ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกชื่อโน้ตในบรรทัด 5 เส้น กุญแจเสียงฟา ในบันไดเสียง C Major ได้(K) 2. นักเรียนสามารถเขียนโน้ตในบรรทัด 5 เส้น กุญแจเสียงฟา ในบันไดเสียง C Major ได้ (P) 3. นักเรียนให้มีความสนใจในเนื้อหาที่สอน (A) สาระการเรียนรู้ โน้ตสากลในกุญแจเสียงฟา ในบันไดเสียง C Major สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
75 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. มุ่งมั่นในการทำงาน ภาระงาน/ชิ้นงาน ใบงาน คำถามสำคัญ นักเรียนรู้ไหมว่ากุญแจฟามีรูปร่างลักษณะเป็นอย่างไร กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ ครูสนทนาทบทวนเกี่ยวกับสัญลักษณ์ของเสียงดนตรี ตัวโน้ตและตัวหยุดตัวโน้ต จากที่ได้เรียนรู้ ผ่านมา แล้วถามว่าเมื่อไปอยู่ในบรรทัด 5 เส้น เรารู้ได้ยังไงว่าคือโน้ตอะไร ขั้นสอน 1. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงฟา ในบันไดเสียง C Major โดยครูอธิบายและ ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลจากใบความรู้ 2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม โดยให้นักเรียนเล่นเกมเขียนโน้ตสากลในกุญแจเสียงฟา ในบันไดเสียง C Major โดยให้ส่งตัวแทนออกมาสลับกันไปเลื่อยๆจบครบทุกคนในกลุ่ม โดยครูเป็นคนกำหนดให้ เขียนโน้ตตัวใดก็ได้ 3. ครูแจกใบงานที่ 9.1 เรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงฟา ในบันไดเสียง C Major โดยให้นักเรียน จับคู่ร่วมกันลงมือทำช่วยกัน ใช้เวลาในการทำประมาณ 15 นาที 4. ครูเฉลยใบงานพร้อมเพิ่มเติมส่วนที่นักเรียนทำผิด ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาในเรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงฟา ในบันไดเสียง C Major ว่าในบรรทัด 5 เส้น บรรทัดไหนคือโน้ตอะไร สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงฟา ในบันไดเสียง C Major 2. ห้องสมุด
76 กระบวนการวัดปละการประเมินผล เครื่องมือ 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมและสนใจในการทำงาน 2. ใบงานเรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงฟา ในบันไดเสียง C Major วิธีการ 1. สังเกตพฤติกรรม 2. นักเรียนทำใบงาน เกณฑ์ 1. ผ่านเกณฑ์ 70% 2. ผ่านเกณฑ์ 70%
77
78
79 ใบความรู้ เรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงฟา ในบันใดเสียง C Major โครงสร้างบันไดเสียงเมเจอร์ (Major Scale) ตัวโน๊ต (Note) ลำดับที่ 1_2_3^4_5_6_7^8 _ หมายถึงห่างเต็มเสียง ^ หมายถึงห่างกันครึ่งเสียง โครงสร้างบันไดเสียงเมเจอร์ (Major Scale) จะต้องมีกุญแจเสียง (Key Signature) บอกว่าเป็นกุญแจ เสียงอะไร เช่น เป็น บันไดเสียงซีเมเจอร์ (C-Major Scale), บันไดเสียงจีเมเจอร์ (G-Major Scale)… ซึ่งกุญแจเสียง (Key Signature) นั้นก็เป็นเหมือนกับบอกว่าตัวโน๊ต (Note) ตัวใดเป็นตัวแรกของบันไดเสียง (Scale) สาเหตุที่เรา เปลี่ยนกุญแจเสียง (Key Signature) เพื่อเปลี่ยนระดับเสียงสูงต่ำของบทเพลงที่ต้องการเล่น อาจจะเพื่อให้เหมาะ กับเสียงของนักร้องเพลงแต่ละคน หรือจะเป็นเรื่องของอารมย์เพลง เป็นต้น ตัวอย่างใน C - Major Scale มีโครงสร้างเป็นดังนี้ โน๊ตตัวแรกคือ C ห่างจากตัวที่สองคือ D หนึ่งเสียง โน๊ตตัวที่สองคือ D ห่างจากตัวที่สามคือ E หนึ่งเสียง โน็ตตัวที่สามคือ E ห่างจากตัวที่สี่คือ F ครึ่งเสียง โน๊ตตัวที่สี่คือ F ห่างจากตัวที่ห้าคือ G หนึ่งเสียง โน๊ตตัวที่ห้าคือ G ห่างจากตัวที่หกคือ A หนึ่งเสียง โน๊ตตัวที่หกคือ A ห่างจากตัวเจ็ดคือ B หนึ่งเสียง โน็ตตัวที่เจ็ดคือ B ห่างจากตัวที่แปดคือ C ครึ่งเสียง การบันทึกลงในบรรทัด5เส้น รูปที่แสดงคือสัญลักษณ์ที่ใช้ในการบันทึกโน๊ตสากลแยกออกเป็นส่วนๆดังนี้ • เส้นแนวนอนเรียกว่า “บรรทัด 5 เส้น” (Staff) • สัญลักษณ์ด้านซ้ายสุดเรียกว่า “กุญแจประจำหลัก” (Clef) ในรูปนี้เป็นประเภท “กุญแจฟา” (F-clef) • สัญลักษณ์รูป เรียกว่า “ตัวโน๊ต” (Note) ในรูปนี้เป็นประเภท “โน๊ตตัวดำ”
80 ใบงาน เรื่อง โน้ตสากลในกุญแจเสียงฟา ในบันใดเสียง C Major 1. จงบอกโน้ตสากลในกุญแจเสียงฟา ในบันใดเสียง C Major ให้ได้มากที่สุด 2. จงบอกความสำคัญในการบันทึกโน้ต ............................................................................................................................. .......................... ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................... 3. ให้นักเรียนตั้งคำถาม เกี่ยวกับโน้ตสากลในกุญแจเสียงฟา ในบันใดเสียง C Major ที่นักเรียนอยากรู้ หรือไม่เข้าใจ มาให้ได้มากที่สุด ............................................................................................................................. ......................................... ......................................................................................................................................................... ............. ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................... ...................................................................................................................................................................... ชื่อ-สกุล……………………………………………….....…………………………เลขที่………………ชั้น………………………. เส้นน้อย เส้นน้อย
81 แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน เกณฑ์คะแนน 4 = ดีมาก อยู่ในเกณฑ์ 75 – 100% ลงชื่อ……………………………… 3 = ดี อยู่ในเกณฑ์ 50 - 75% (……………………………….) 2 = ปานกลาง อยู่ในเกณฑ์ 25 - 50% ผู้ประเมิน 1 = ปรับปรุง อยู่ในเกณฑ์ 25% ………../…………/………. ลำ ดับ ชื่อ-สกุล (นักเรียน) พฤติกรรม เข้าเรียน รวม หมายเหตุ (1) ส่งงาน (1) มีส่วนร่วม (1) ความสนใจ /ตั้งใจ (1) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 19 20
82 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การขับร้อง และบรรเลงเครื่องดนตรี เวลา 8 ชั่วโมง เรื่อง หลักการขับร้องเพลงไทย เวลา 2 ชั่วโมง วันที่สอน วันจันทร์ ที่24 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 โรงเรียนเทศบาล 5 สีหรักษ์วิทยา มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรีถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด ม.1 (1/2) เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน สาระสำคัญ การขับร้องเพลงไทยเป็นปัจจัยหนึ่งในการสื่อสาร แสดงอารมณ์ความต้องการต่าง ๆ โดยถ่ายทอดออกมา จากการเปล่งเสียงให้เกิดความไพเราะ ซึ่งเสียงจะไพเราะหรือไม่ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านพรสวรรค์ และการฝึกฝน ในการขับร้องเพลงของคนเรานั้น สิ่งที่นับว่ามีความจำเป็นสำหรับการร้องเพลง ได้แก่ เสียง ร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์ สมาธิ และวิธีการฝึกที่ถูกต้อง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกความหมายของเพลงและประเภทของเพลงได้(K) 2. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะหลักและประโยชน์การขับร้องเพลงที่ดีได้(P) 3.นักเรียนให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ (A) สาระการเรียนรู้ 1.ความหมายของเพลงและประเภทของเพลง 2.ลักษณะหลักการขับร้องเพลงที่ดี 3.ประโยชน์ของการขับร้องเพลง
83 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. มุ่งมั่นในการทำงาน ภาระงาน/ชิ้นงาน ใบงาน คำถามสำคัญ นักเรียนรู้ไหมว่าลักษณะหลักและประโยชน์การขับร้องเพลงที่ดีเป็นอย่างไร กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำ ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนเกี่ยวกับเนื้อหาจากที่ได้เรียนผ่านมาครูถามนักเรียนว่าเคยร้องเพลง หรือไม่ ขั้นสอน 1. ครูแจกใบความรู้เรื่อง หลักการและขั้นตอนการขับร้องเพลงไทย พร้อมอธิบายเนื้อหาโดยให้ นักเรียนศึกษาข้อมูลจากใบความรู้ประกอบ พร้อมเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยในเนื้อหาได้ 2. ครูยกตัวอย่างการขับร้องเพลงประเภทต่าง ๆ จากเครื่องเล่นเทป ดีวิดี คอมพิวเตอร์ ให้ นักเรียนชม พร้อมสาธิตวิธีการขับร้องเพลงประเภทนั้น ๆ นักเรียนฝึกการขับร้องเพลงร่วมกับครู ในแต่ละประเภท ของการขับร้อง 3. สุ่มนักเรียนออกมา ปฏิบัติขั้นตอนการฝึกร้องเพลง หน้าชั้นเรียน พร้อมให้การชมเชย นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมด้วยการปรบมือ 4. แจกใบงานที่ 10 เรื่อง หลักการขับร้องเพลง พร้อมให้นักเรียนลงมือทำงานตามใบงานที่ ได้รับใช้เวลาในการทำงาน 15 นาที 5. นักเรียนออกมานำเสนอผลงานตามใบงาน เรื่อง หลักการขับร้องเพลง หน้าชั้นเรียนพร้อม เปิดโอกาสให้นักเรียนร่วมกันซักถามข้อสงสัยในเนื้อหาที่นักเรียนนำเสนอ ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหา นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้เรียนรู้ จดบันทึกลงในสมุดนักเรียน สามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
84 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. ใบความรู้เรื่อง หลักการและขั้นตอนการขับร้องเพลงไทย กระบวนการวัดและการประเมินผล เครื่องมือ 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมและสนใจในการทำงาน 2. ใบงานเรื่อง หลักการและขั้นตอนการขับร้องเพลงไทย วิธีการ 1. สังเกตพฤติกรรม 2. นักเรียนทำใบงาน เกณฑ์ 1. ผ่านเกณฑ์ 70 % 2. ผ่านเกณฑ์ 70 %
85
86
87 ใบความรู้ เรื่อง หลักการและขั้นตอนการขับร้องเพลงไทย การขับร้อง คือ การร้องเพลงซึ่งประกอบด้วยคำร้องหรือเนื้อร้อง ทำนอง จังหวะ การร้องเพลงสามารถ ร้องเดี่ยวโดยไม่มีดนตรีประกอบและมีดนตรีประกอบก็ได้ “ขับร้อง” เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “คีตศิลป์” การที่จะร้องเพลงให้มีความไพเราะน่าฟังนั้น จะต้องอาศัยองค์ประกอบหลายประการ เช่น เสียงของผู้ร้อง การฝึกหัดที่ถูกวิธี สุขภาพและอารมณ์ของผู้ร้อง เป็นต้น ลักษณะของการขับร้องเพลงที่ดี 1. ต้องมีระดับเสียงสูงต่ำตามเสียงที่ผู้แต่งได้แต่งไว้ 2. จังหวะถูกต้องแม่นยำ 3. ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจนตามอักขรวิธี เช่น ตัว ร ล และคำควบกล้ำอื่น ๆ 4. แบ่งวรรคตอนของเนื้อร้องให้ได้ความหมายถูกต้อง 5. ใส่อารมณ์ไปตามเนื้อร้องและทำนองของเพลง 6. แสดงบุคลิกภาพและท่าทางได้อย่างเหมาะสมกับการขับร้องประเภทต่าง ๆ 1. การขับร้องอิสระ หมายถึง การร้องเพลงคนเดียว โดยไม่มีเครื่องดนตรีประกอบ ไม่มีผู้ร่วมร้องด้วยการร้องอิสระนี้ผู้ร้อง สามารถร้องได้ตามสบาย ตามระดับเสียงที่ตนเองถนัด แต่มีสิ่งพึงระวังคือ จะต้องร้องถูกทำนองรักษาจังหวะของ เพลงให้สม่ำเสมอ ระดับเสียงต้องคงที่ และคำร้องต้องถูกต้องชัดเจน 2. การขับร้องประกอบดนตรี หมายถึง การร้องเพลงที่มีดนตรีประกอบ การร้องเพลงประเภทนี้ผู้ร้องจะต้องรักษาระดับเสียงให้เท่ากับ เสียงดนตรี เนื้อร้อง ทำนอง ต้องไม่ผิดเพี้ยน และต้องร้องให้ลงจังหวะของเครื่องประกอบจังหวะต่าง ๆ เช่น กลอง ฉิ่ง กลองชุด เป็นต้น การร้องเพลงประกอบดนตรีนี้ อาจแบ่งย่อยได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 2.1 ร้องเพลงไปพร้อมกับดนตรีในยุคแรกๆ ดนตรีที่บรรเลงประกอบการร้องนั้นมักจะเป็นแนวเดียวกับ ทำนองเพลง ต่อมาได้มีการเรียบเรียงเสียงประสานหรือสอดแทรกเสียงดนตรีต่าง ๆ ลงไป เพื่อให้มีความ ไพเราะและให้ได้อารมณ์ตามที่ผู้ประพันธ์เพลงต้องการ 2.2 การร้องเพลงเพื่อให้ดนตรีรับกับการร้องเพลงในลักษณะนี้มีเฉพาะในดนตรีไทยเท่านั้น การร้องเพลง ชนิดนี้อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ร้องส่ง” เช่น การร้องส่งในวงเครื่องสาย ร้องส่งในวงปี่พาทย์ ร้องส่งใน แตรวง เป็นต้น การร้องชนิดนี้ผู้ร้องต้องดำเนินทางร้องของตนเองให้ถูกต้อง ระดับเสียงต้องร้องให้เท่ากับ
88 เสียงดนตรี การร้องลักษณะนี้ก่อนร้องจะต้องมีการเทียบเสียงของดนตรีให้ผู้ร้องฟังก่อน และต้องมีการ ฝึกซ้อมกันอย่างสม่ำเสมอ 3. การขับร้องหมู่ หมายถึง การร้องเพลงพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ซึ่งมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ 3.1 การร้องทำนองเดียว เป็นการร้องเพลงที่มีเนื้อร้องและทำนองเดียวกัน ผู้ร้องทุกคนต้องร้อง ให้มีระดับเสียงเท่ากัน เนื้อร้อง ทำนองต้องถูกต้องแม่นยำ และพร้อมเพรียงกัน 3.2 การร้องประสานเสียง เป็นการร้องเพลงเพลงเดียวกัน แต่จะร้องคนละแนวหรือคนละทำนอง ตามที่ได้เรียบเรียงเสียงประสานไว้ พบมากในการร้องเพลงตามแนวของสากล การฝึกร้องเพลง การร้องเพลงให้มีความไพเราะน่าฟังนั้น นอกจากต้องอาศัยเสียงที่มีความไพเราะเหมาะสมกับ ลักษณะเพลงแล้ว การฝึกหัดที่ถูกวิธีและสม่ำเสมอก็เป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่ง ที่จะส่งผลให้เพลงที่ร้องออกมามี ความไพเราะน่าฟัง ขั้นตอนการฝึกร้องเพลง การฝึกร้องเพลง ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้ 1. การฝึกหายใจและการออกเสียง เป็นการฝึกเพื่อให้อวัยวะที่เกี่ยวกับระบบ การหายใจ ใช้งานได้คล่องแคล่วมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนการฝึกประกอบด้วย 1.1 สูดลมหายใจเข้าทางจมูกให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เมื่อลมหายใจเข้าไปใน ปอดท้องจะป่องเล็กน้อยให้กักลมไว้ให้มากที่สุด 1.2 ค่อย ๆ ระบายลมออกมาจากทางปากช้า ๆ จนหมด แล้วจึงสูดลมเข้าไป ใหม่ การที่จะกักลมหายใจไว้ให้ได้มากและระบายลมออกมาอย่างสม่ำเสมอเป็นเวลานานนั้น ควรนั่งหรือยืนตัวตรง ศีรษะตั้งตรง 1.3 เมื่อฝึกการหายใจเข้าและกักลมไว้ได้มากแล้ว ขั้นต่อไปให้ระบายลมออก ช้า ๆ พร้อมกับออกเสียงมาด้วย ให้เสียงต่อเนื่องอย่างสม่ำเสมอและยาวที่สุดเท่าที่จะทำได้ เสียงที่ออกมาอาจใช้ เสียง เออ อา ลา ที เป็นต้น การระบายลมพร้อมกับการออกเสียงนั้น ควรเคาะจังหวะหรือนับไปด้วย 2. การฝึกออกเสียงสูงต่ำ ฝึกเพื่อให้ออกเสียงชัดเจนตรงตามตัวโน้ต ทำนองเพลง ระดับ และคุณภาพของเสียง การฝึกออกเสียงควรใช้เสียงของเครื่องดนตรีประกอบในการฝึก ฝึกโดย การออกเสียงให้เท่ากันเสียงของเครื่องดนตรีที่เล่นหรือบรรเลง ดนตรีไทยควรใช้เสียงของระนาด ฆ้องวง หรือขลุ่ย ดนตรีสากลควรใช้เสียงของเปียโน อิเล็กโทน หรือเรคอร์เดอร์ เป็นต้น
89 การฝึกออกเสียงนี้ ควรฝึกตั้งแต่เสียงยาวถึงเสียงสั้น คือ 4 จังหวะ 3 จังหวะ 2 จังหวะ และ 1 จังหวะ 3. ฝึกการเอื้อนแบบต่าง ๆ (สำหรับดนตรีไทย) เช่น ออกเสียง อือ เออ เงย เอย เป็นต้น 4. ฝึกร้องเพลงทีละวรรคหรือทีละบรรทัด โดยต้องฝึกร้องให้ถูกต้องทั้งคำร้องและทำนอง แล้วจึงร้องต่อเนื่องจนจบทั้งเพลง 5. ฝึกร้องทั้งเพลง โดยการร้องคลอไปกับเพลงที่เปิดจากวิทยุหรือเครื่องเล่นเทปเพื่อฝึกการลงจังหวะของเพลงสิ่งจำเป็นใน การขับร้องเพลงในการขับร้องเพลงของคนเรานั้น สิ่งที่นับว่ามีความจำเป็นสำหรับการขับร้องเพลง ได้แก่ สิ่งต่าง ๆ ดังนี้ 1. เสียง เสียงของคนเราเกิดจากการสั่นสะเทือนของสายเสียง (Vocal Cord) ในลำคอ เสียงที่เกิดขึ้นเป็น เพียงเสียงขั้นต้น ไม่มีความดังกังวานเพียงพอ ต้องอาศัยอวัยวะต่าง ๆ ช่วยปรับแต่งให้เสียงดังกังวานและมีระดับ เสียงต่ำ เสียงกลาง เสียงสูง บริเวณที่ช่วยขยายเสียงให้ระดับเสียงต่างๆ ดังกล่าว ได้แก่ บริเวณลำคอและทรวงอก ช่วยขยายเสียงระดับต่ำ บริเวณลำคอและโพรงจมูก ช่วยขยายเสียงระดับกลาง บริเวณหน้าผากและโพรงกะโหลก ศีรษะ ช่วยขยายเสียงระดับสูง ในกรณีที่ใช้เสียงดังมากเกินไป เช่น ตะโกน หรือเกิดอาการเจ็บป่วยที่บริเวณที่ทำให้เกิดเสียง ก็จะทำให้ เสียงแหบแห้ง หรือเสียงหายไป การที่คนเราจะมีเสียงไพเราะน่าฟังหรือไมนั้น โดยปกติแล้วจะเป็นเรื่องของ ธรรมชาติที่สร้างขึ้นมาให้คู่กับตัวเรา แต่การที่จะทำให้เสียงมีพลัง มีความดังสม่ำเสมอ และสามารถควบคุมได้นั้น จะต้องอาศัยการฝึกหัดให้เกิดความเคยชิน การฝึกเสียงให้มีพลัง มีความดังสม่ำเสมอและสามารถควบคุมระดับ เสียงได้ตามต้องการนั้นจะต้องฝึกการหายใจควบคู่ไปกับการออกเสียง 2. ร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์นับว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นอีกประการหนึ่งสำหรับการ ขับร้องเพลงโดยกติแล้วการขับร้องเพลงจะต้องใช้พลังของเสียงกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการออกเสียงและการหายใจ ซึ่ง เปรียบเสมือนกับการทำงานอย่างหนึ่งที่ต้องใช้พลังที่มีอยู่ในร่างกาย ถ้าร่างกายไม่แข็งแรงสมบูรณ์พลังเสียงที่จะใช้ ในการขับร้องก็จะไม่ดังพอและเสียงไม่ต่อเนื่องเท่าที่ควร เสียงเพลงที่ออกมาก็จะไม่มีความไพเราะ ในการ เสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์นั้นมีแนวปฏิบัติดังนี้ 2.1 ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เช่น ว่ายน้ำ วิ่งเหยาะ ๆ กระโดดเชือก 2.2 พักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 2.3 รับประทานอาหารที่มีคุณค่าต่อร่างกาย 2.4 ไม่เสพสิ่งเสพย์ติดทุกชนิด 2.5 พยายามหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่มีมลพิษ
90 3. สมาธิสมาธิในที่นี้หมายถึงการทำจิตใจให้จดจ่อกับสิ่งที่กำลังกระทำอยู่ เช่น กำลังจะเริ่มร้อง เพลงแต่ในขณะนั้นจิตใจวอกแวก ไม่ได้จดจ่ออยู่กับเสียงดนตรี ทำนอง และจังหวะของเพลง ก็จะทำให้ร้องเพลงได้ ไม่ดีเท่าที่ควร ในกรณีที่เริ่มฝึกหัดร้องเพลงใหม่ ๆ
91 ใบงาน เรื่อง หลักการขับร้องเพลง 1. ให้นักเรียนอธิบายการขับร้อง คือ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………............................. ................................................................................................................................................................................... 2. ลักษณะของการขับร้องเพลงที่ดีมีอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………............................. .............................................................................................................................................. ...................................... 3. การขับร้องอิสระ หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การขับร้องประกอบดนตรีหมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. การร้องเพลงประกอบดนตรี แบ่งย่อยออกได้เป็น กี่ลักษณะ อะไรบ้าง พร้อมอธิบาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชื่อ – สกุล……………………………………………………………………….เลขที่……………………..ชั้น…………………..
92 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม เลขที่ ชื่อ - สกุล ชั้น พฤติกรรม/คะแนน รวม ความสนใจ ความตั้งใจ ความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วม การให้ความร่วมมือ ความคิดสร้างสรรค์ กล้าแสดงออก การมีเจตคติที่ดีต่อ การร่วมกิจกรรม 4 4 4 4 4 20