The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสัมมนาพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by naboon1960, 2021-03-21 02:15:38

หนังสือสัมมนาพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน

หนังสือสัมมนาพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน

97

% (ทริพโทเฟนเพียงพอ) ซึ่งเป5นระดับทริพโทเฟนที่เพียงพอกับความตองการของลูกสุกรน้ําหนัก ๘-
๓๐ กก. ตามคําแนะนําของ NRC (๑๙๙๘) อางโดย Ettle และ Roth (๒๐๐๔) สวนอีก ๒ กลุมให
เลอื กกนิ อาหารที่มีระดบั ทรพิ โทเฟนตางกนั ดงั นี้ คือ กลมุ ที่ไดรบั อาหารท่ีมที รพิ โทเฟน ๐.๑๑ % หรือ
๐.๑๖ % (กลุม ๓) และกลุมท่ีไดรับอาหารที่มี ทริพโทเฟน ๐.๑๑ % หรือ ๐.๒๐% (กลุม ๔)
ตามลําดบั ๔ องคประกอบของอาหารทดลองแสดงดังตารางที่ ๓๘

สุกรทุกตวั ถกู เลยี้ งแบบขงั เดยี่ วใหกินน้าํ และอาหารอยางเต็มที่๘ ทําการทดลองเป5นระยะเวลา
๔๒ วัน๑๐ ทําการบันทึกน้ําหนักตัวทุกอาทิตย รวมทั้งบันทึกปริมาณอาหารท่ีกินไดและสังเกต
พฤตกิ รรมการเลือกกินอาหารทีม่ รี ะดับทรพิ โทเฟนตางๆโดยทําการชั่งอาหารท่ีเหลืออาทิตยละ ๒ ครั้ง
หลังจากเอาอาหารออก ลูกสุกรจะไมไดรับอาหารเป5นเวลา ๓๐ นาที และเมื่อใสอาหารในรางอาหาร
ตําแหนงของอาหารที่มีระดับทริพโทเฟนตางๆ กันจะถูกเปล่ียนแปลง ทําการบันทึกพฤติกรรมการ
เลือกกินอาหารเป5นเวลา ๕ นาทีหลังจากใสอาหารใหมและสลับตําแหนงของอาหารในรางอาหาร
ในชวง ๓ อาทิตยแรกของการทดลอง๘ โดยเก็บขอมูลจากพฤติกรรมของลูกสุกรท่ีเลือกกินอาหาร๙
ดังน้ี

๑. การเลอื กกนิ อาหารท่ีมรี ะดบั ทริพโทเฟน ๐.๑๖% หรือ ๐.๒๐% ตามลําดับ

๒. การเลอื กกนิ อาหารที่มรี ะดบั ทรพิ โทเฟน ๐.๑๑%

๓. การเปลย่ี นมากินอาหารท่ีมรี ะดับทริพโทเฟน ๐.๑๖% หรอื ๐.๒๐% ตามลําดับหลงั จาก
ลองกินการอาหารทมี่ รี ะดบั ทรพิ โทเฟน ๐.๑๑ % เป5นเวลา ๒-๓ นาที และ

๔. การเปลีย่ นมากนิ อาหารท่ีมรี ะดับทริพโทเฟน ๐.๑๑ % หลงั จากลองกนิ อาหารที่มรี ะดับท่ี
มีระดบั ทริพโทเฟน ๐.๑๖% หรือ ๐.๒๐% เปน5 เวลา ๒-๓ นาที

การตรวจเอกสารอา5 งองิ หรือบรรณานุกรม

เอกสารอางอิง (references) ตางจากบรรณานุกรม ดงั น้ี เอกสารอางอิง คอื เอกสารท่ี
ผเู ขียนไดอางไวในตวั บทความโดยตรง เอกสารอางองิ มักจะนํามาพิมพรวมไวทายบทแตละบทหรอื อยู
ทายบทความที่เขยี น

98

บรรณานุกรม (bibliography) คือรายช่ือหนังสือ เอกสารสิ่งพิมพตางๆ ที่รวบรวมไวและ
เกี่ยวของกับงานท่ีเขียนขางหนาบางทีผูเขียนไดอางไปใชนิดเดียวหรือไมใชเลยก็ได แตเอามาพิมพไว
เพ่อื ใหผอู านไปอานเพม่ิ เติมเพ่ือทราบภูมหิ ลังเพื่อความเขาใจในบทความมากขึน้

การเขียนเอกสารอางอิง และบรรณานกุ รมมักจะเรยี งจาก ก-ฮ และ A-Z โดยจะมีตัวเลข
กาํ กบั หรือไมกํากบั ก็ได (ดูตัวอยางในบทที่ ๓ )
การเขียนบทคัดย6อ (Abstract)

เมอื่ ไดเขยี นบทความจบแลว กค็ วรเขียนบทคดั ยอเปน5 อนั ดับถดั ไป บทคัดยอควรมีความยาว
ประมาณ ๑๐๐-๒๕๐ คํา (๕-๑๐ บรรทดั ) บทคดั ย6อคือการยอ6 ทกุ โครงสรา5 งของบทความดงึ มา
เฉพาะสว6 นสําคัญ บทคัดยอทดี่ ตี องมใี จความ ๕ สวน คอื

(๑) ทม่ี าของป)ญหา หรือ หลักการและเหตุผล
(๒) วัตถปุ ระสงค
(๓) วิธดี ําเนนิ การ
(๔) ผลการทดลองทส่ี าํ คญั และ
(๕)ผลสรุปท่สี าํ คญั ๆ บทคัดยอจะอยูในหนาแรกของการตีพิมพและแยกจากเร่ืองเตม็
บทคัดยอ6 จะไม6มคี ํานํายดื ยาด ไมม6 กี ารอา5 งเอกสารอา5 งอืง ไมม6 ตี าราง แตม6 ตี วั เลข หรือผลที่
สําคัญๆ เทา6 นั้น
ตัวอยา6 งบทคัดยอ6 (พศิ มร และ ไพศาล, ๒๕๓๘)
วชั พืชเปน5 ป)ญหาสําคญั ในการปลูกถ่ัวเขียว คอยแยงนํ้าและธาตุอาหารจากพืช ทําใหถ่ัวเขียว
ไมเจริญเติบโตเทาท่ีควรและผลผลิตลด ๑ จึงไดทําการทดลองเพื่อศึกษาวิธีการควบคุมวัชพืชในแปลง
ปลูกถว่ั เขียวซง่ึ ปลูกโดยไมมีการไถพรวน๒ ทาํ การทดลอง ๕ ทรตี เมนต คอื
๑. ไมมีการกาํ จัดวัชพืช
๒. กําจัดวชั พืช

99

๓. ใชสารควบคุมวชั พืชกอนงอก
๔. ใชสารเคมีกําจดั วชั พชื แบบหลงั งอก และ
๕. ใชสารเคมกี ําจดั วชั พชื แบบกอนงอกและการกําจดั วชั พชื ดวยมือ

วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block มี ๔ ซ้ํา จากการทดลองพบวา
ผลผลิต จํานวนฝ)กตอตน และอายุวันออกดอก มีความแตกตางทางสถิติ ทรีตเมนตท่ีใหผลผลิตสูงสุด
คอื ทรีตเมนตท่ี ๒ กําจัดวัชพืชดวยมือ (๒๓๖ กก./ ไร) และต่ําท่ีสุดคือ ทรีตเมนตที่ ๑ ไมมีการกําจัด
วัชพืช ๑๑๓ กก./ ไร และการกําจัดดวยมือใหผลกําไรสูงสุด ๑,๘๕๒ บาท/ ไร รองลงมาคือ กําจัด
วัชพืชดวยสารเคมีกอนงอก ๑,๗๙๗ บาท/ ไร และการไมกําจัดวัชพืชไดกําไรตอสุด ๗๗๓ บาท/ ไร
จากการทดลองนี้สามารถแนะนําใหกสิกรใชสารกําจัดวัชพืชดวยสารกําจัดวัชพืชกอนงอก เพราะเป5น
วิธีทีส่ ะดวก รวดเร็วและประหยัดทีส่ ดุ
การเขยี นบทสรปุ

คอื การตอบคาํ ถามของวัตถุประสงคของการนําเสนอรายงานสัมมนาคร้ังน้ีใหกระชับ และ
เพื่อประโยชนใหผูอานนําไปใชตอได
การเขยี นคาํ ขอบคุณ

ใชในกรณีทน่ี ักศกึ ษาไดไปขอคาํ แนะนําจากอาจารยอ่ืนซ่ึงไมใชอาจารยทป่ี รึกษา

๒.๓ รูปแบบการทํารายงานสัมมนา

ข5อกําหนดทั่วไป

ใหใ5 ชแ5 บบตวั อกั ษร Angsana New ทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ

ขอบบน ๑.๒ นวิ้

ขอบลาง 100
ขอบซาย
ขอบขวา ๑.๐ นิ้ว
๑.๓ น้วิ
๐.๙ น้ิว

101

หนา5 ปกและบทคัดยอ6 ใหใชรปู แบบและขนาดตวั อักษรตามตัวอยาง ดงั นี้

วชิ าสมั มนา (๕๑๕-XXX) (เบอร ๑๗ ตวั หนา)

เรือ่ ง (เบอร ๑๗ ตวั ธรรมดา)

ช่อื เรอ่ื ง ภาษาไทย (เบอร ๒๐ ตวั หนา)
ชอ่ื เรอื่ ง ภาษาEnglish (เบอร ๒๐ ตัวหนา)

โดย (เบอร ๑๗ ตวั ธรรมดา)
นายเก6ง เอตลอด (เบอร ๒๐ ตัวหนา)
รหสั นักศกึ ษา XXXXXXX (เบอร ๑๗ ตัวธรรมดา)
อาจารย8ทปี่ รึกษา : รศ.ดร. ชอบสอน เกรดดี (เบอร ๑๗ ตวั หนา)
ภาควิชาสัตวศาสตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ (เบอร ๑๗ ตวั ธรรมดา)
มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร (เบอร ๑๗ ตวั ธรรมดา)

ภาคการศึกษาที่ ๑/๒๕XX (เบอร ๑๗ ตวั ธรรมดา)
วนั ท่ี.............เดือน..................พ.ศ.................. (เบอร ๑๗ ตวั ธรรมดา)

102

---------------------------------------------------------------------------------------------------
บทคดั ย6อ (เบอร8 ๒๐ ตวั หนา)

การ...........(เนื้อเรื่องใชเบอร ๑๗ ตัวธรรมดา)................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................

หมายเหตุ : ในกรณีท่ชี อ่ื เรื่องยาวใหตดั เป5น ๒-๓ บรรทัด โดยบรรทดั บนยาวกวาบรรทดั ลางวางแบบปร• า
มิดหวั กลับ

หน5าท่ี ๒ และหนา5 อ่ืนๆ

ชือ่ เรอื่ งภาษาไทย (ขนาดตัวอกั ษร ๒๐)

คาํ นาํ
คํานําใหพิมพตัวหนา ขนาดตัวอกั ษร ๑๘ ไวกลางหนากระดาษ โดยเวนบรรทัดจากชอ่ื เรื่อง ๑ บรรทัด
สวนเน้อื ความคํานาํ ใหเริม่ พมิ พในบรรทดั ตอมา โดยพมิ พยอหนาในบรรทัดแรก

ตวั อยาง

103

บทบาทของซลี เี นยี มระดับสูงในอาหารตอ6 คณุ ลักษณะของโคขนุ เพศผตู5 อนและการสะสม
ซลี เี นยี มในเน้อื เย่ือ

บทนาํ
ซลี ีเนยี ม เป5นธาตทุ ่ีมคี วามสําคญั ตอรางกายมนุษยและสัตว เพราะเป5นสวนประกอบของ

เอนไซมกลตู าไทออนเปอรออกซิเดส (glutathione peroxidase, GHS Px)
ส6วนของหัวข5อต6างๆ ในเน้ือเรือ่ งให5พิมพด8 ังน้ี

๑. หัวขอ5 ใหญ6 : หวั ขอใหญใหพิมพตัวหนาชิดดานซายของกระดาษ ขนาดตวั อักษร ๑๗
ขอความตอมาอยูในยอหนาใหม
ตวั อยาง
กรดแอมิโน

ศรสี กุล และ รณชัย (๒๕๓๙) กลาววากรดแอมโิ นเป5นสวนประกอบท่สี ําคัญท่ีรวมกันสราง
เป5นโปรตนี โปรตนี เป5นสารประกอบอนิ ทรียที่ซบั ซอน (complex organic compounds) ……

๒. หัวข5อรอง : ยอหนา พิมพตัวหนา ขนาดตวั อักษร ๑๗ ขอความตอมาอยูในยอหนาใหม

ตัวอยา6 ง
กรดแอมิโนทจ่ี าํ กดั
โดยท่ัวไปสัตวตองการกรดแอมิโนที่จําเป5นในสัดสวนที่แนนอนเพื่อใชในการเจริญเติบโต

และผลผลิตแตถากรดแอมิโนทจ่ี ําเป5นชนิดใดชนดิ หนงึ่ ทีป่ ระกอบขึ้นเปน5 โปรตนี ของวัตถุดบิ อาหาร
๓. หวั ข5อเล็ก : ยอหนา พิมพตวั เอียงหนา ขนาดตวั อักษร ๑๗ เวนวรรค ขอความตอมาอยูใน

ยอหนาใหม

104

ตัวอย6าง
ทรพิ โทเฟน
เป5นสารต้ังตนในการสังเคราะหฮอรโมน เซโรโทนิน( Serotonin) และวิตามิน

ไนอะซินหรอื กรดนโิ คตินกิ ดังแสดงในภาพที่ ๑
๔. หวั ข5อย6อย : ยอหนา พิมพตัวเอยี ง ขนาดธรรมดา ขอความตอมาอยูในยอหนาใหม

ตวั อยา6 ง
ความตองการกรดแอมิโนทริพโทเฟนในลกู สกุ ร
พันทิพา (๒๕๓๕) กลาววาความตองการโปรตีนในกระบวนการเมแทบอลิซึม มักแสดงออกใน

รปู ของความตองการกรดแอมโิ น สัตวกระเพาะเดี่ยวทีก่ นิ ทง้ั พืชและสตั ว (omnivores) เชน สุนัข ไก
สรปุ

ใหพมิ พคาํ วา ”สรุป” เป5นตวั หนา ขนาดตัวอักษร๑๘ กลางหนากระดาษ แลวข้ึนบรรทดั ใหม
ยอหนาแลวพมิ พเนื้อหาสรปุ

ตวั อยา6 ง
สรุป

ทรพิ โทเฟนเปน5 กรดแอมิโนจําเปน5 ในอาหารของลูกสุกร ระดับของทริพโทเฟนในอาหารตองมี
เพียงพอตอความตองการของลูกสกุ รในแตละชวงของน้าํ หนัก ระดับทริพโทเฟนในอาหารมผี ล
หลักเกณฑใ8 นการตรวจเอกสาร และการอา5 งอิงเอกสารในเนอื้ เรอ่ื ง

๑.เอกสารทเี่ ขยี นอางอิงในการตรวจเอกสาร จะตองตรงกบั เอกสารในเอกสารอางอิง
๒.ระบบการอางอิงใชระบบ ชอ่ื และปx (name-and-year-system)
๓.การอางองิ เอกสารภาษาไทยใหใชชื่อตวั เอกสารภาษาตางประเทศใหใชช่ือสกุล

105

๔. แบบการอางอิง อาจแตกตางกันแลวแตกรณี เชน
กรณีผ5ูเขยี นคนเดียว

ชอื่ ผรู ายงานนาํ หนาขอความ
สุวรรณ (๒๕๒๓)...........................................
Gardner (๑๙๘๐)........................................
ชื่อตามหลงั ขอความ
...........................................(สวุ รรณ, ๒๕๒๓)
...........................................(Gardner, ๑๙๘๐)

กรณีมีผเ5ู ขยี น ๒ คน ตอ5 งใส6ชื่อทั้งหมด เช6น
สวุ รรณ และ กนก (๒๕๒๓)........................................
Johnson และ Smith (๑๙๘๐)................................. หรือ
............................................(สวุ รรณ และ กนก, ๒๕๒๓)
............................................(Johnson และ Smith, ๑๙๘๐)

กรณีมีผเ5ู ขียน ๓ คนขึน้ ไป เขียนดังน้ี
สวุ รรณ และคณะ (๒๕๒๓)..............................................
Gardner และคณะ (๑๙๘๐)........................................... หรอื
.............................................(สุวรรณ และคณะ, ๒๕๒๓)

106

.............................................(Gardner และคณะ, ๑๙๘๐)

กรณีทเ่ี อกสารอ5างอิงในเร่ืองเดยี วกนั มากกว6า ๑ เอกสาร
ใหใชอางองิ ในแบบตามทายขอความ โดยเรียงตามลาํ ดบั ของปx เชน
..................................(ประพาส, ๒๕๑๐; โสภา, ๒๕๑๕; สวุ รรณ และคณะ, ๒๕๒๓)
................................(Petersan, ๑๙๖๐; Johnson และ Anderson, ๑๙๗๒)

กรณีท่อี า5 งเอกสารหลายฉบับทีเ่ ขียนโดยผเ5ู ขียนคนเดยี ว หรอื คณะเดียวกัน
และตีพมิ พ8ในป‡เดียวกนั ใหเพม่ิ อักษรตามหลังปx เชน
..............................................(สุวรรณ, ๒๕๒๓ก, ข)
...................................(Gardner และ Anderson, ๑๙๘๐a, b, c)

กรณที เ่ี อกสารอ5างอิงไม6มีชื่อผูเ5 ขียนให5ใช5ดังนี้
นริ นาม (๒๕๒๐)..................................................
Anonymous (๑๙๗๗).....................................
หรอื
............................................(นิรนาม, ๒๕๒๐)
............................................(Anonymous, ๑๙๗๗)

กรณที ่ีเอกสารมากกว6า ๑ ฉบบั ซึ่งเอกสารแตล6 ะฉบบั เขียนโดยผเู5 ขียน
คนละคนแต6ชอ่ื เหมือนกัน และพิมพ8ในปเ‡ ดยี วกนั เขยี นดังนี้

107

สมพงษ (๒๕๒๓ก)............................................
สมพงษ (๒๕๒๓ข)............................................
Anderson (๑๙๘๐a).............................................
Anderson (๑๙๘๐b)............................................. หรือ

................................................(สมพงษ, ๒๕๒๓ก)
................................................(สมพงษ, ๒๕๒๓ข)
................................................(Anderson, ๑๙๘๐a)
................................................(Anderson, ๑๙๘๐b)

กรณกี ารอา5 งองิ ทไ่ี ม6ได5อ5างจากต5นฉบบั แต6เปนy การอา5 งต6อใหใชคําวา อางโดย เชน
Smith (๑๙๘๔) อางโดย Harrington (๑๙๘๙)..........................................

กรณีอา5 งองิ ที่มาจากเว็บไซด8 ให5เขียนเหมอื นกับการอา5 งจากวารสาร
หากไมทราบชื่อผูแตงใหเขียนดังน้ี
(ไทย) .......................................(นริ นาม, ๒๕๔๘)
(อังกฤษ)………………………(anonymous, ๒๐๐๕)

ถา5 ไม6จาํ เปyนไมค6 วรอ5างอิงเอกสารท่ไี ม6อาจหาแหล6งท่ีมาแนน6 อนได5

108

๔. การแสดงตารางและภาพ

๔.๑ การแสดงตาราง กอนถึงตารางควรกลาวถึงวาจะมตี ารางน้ีกอน เชน ................ ดงั
แสดงในตารางท่ี x

การเขียนตารางมีรายละเอยี ดคอื

๑. เลขที่และช่อื ตาราง

๑.๑ เลขหมายประจาํ ตาราง เป5นสวนท่ีแสดงลาํ ดับของตารางใหใสคาํ ตารางท่ี ตาม
ดวยเลขหมายประจาํ ตารางไวรมิ ซายมือสุดของกระดาษ เวนขอบกระดาษไวตามระเบียบ พิมพตาราง
ท่ี และเลขหมายประจาํ ตาราง ใชอกั ษรขนาด ๑๗ ตัวหนา

๑.๒ ชอื่ ตาราง ใหพิมพตอจากเลขหมายประจําตารางโดยเวน ๒ ตวั อักษร ใชอักษร
ขนาด ๑๗ ขนาดปกติ กรณีชื่อตารางยาวเกินกวา ๑ บรรทดั ใหพมิ พตวั อกั ษรตัวแรกของบรรทัดท่ี
สองตรงกับตัวแรกของชอื่ ตารางหากมีคําอธบิ ายทตี่ องการบงรายละเอยี ดใหชดั เจน ใหนาํ รายละเอียด
ไปใสไวในทายตาราง คาํ ยอในตาราง ชอื่ ตารางภาษาอังกฤษใหแ5 ปลด5วย

๑.๓ หัวตารางใหพมิ พดวยตวั อักษรขนาด ๑๗ ตัวหนา

๑.๔ ตารางท่อี างอิงจากแหลงอืน่ ใหถือปฏบิ ัตติ ามวิธกี ารตรวจเอกสาร โดยการระบุ

ทมี่ าไวดานลางของตาราง และหากมกี ารดดั แปลงขอมูลเพื่อใหเหมาะสมกับเนอื้ หาใหระบวุ า

“ดัดแปลงจาก...........”

๒. ตารางทมี่ ีความยาวจนไมสามารถบรรจุในหนากระดาษเดียวได ใหพิมพในหนาถดั ไป
โดยมีเลขท่ตี ารางและคําวา ตอ ในวงเลบ็ เชน ตารางที่ ๑ (ต6อ) (ใชอกั ษรตัวหนาเชนเดยี วกนั )

๓. ตารางที่มีความกวางจนไมสามารถบรรจใุ นหนากระดาษเดียวได ใหยอสวน หรอื แยก
ตารางออกไดมากกวา ๑ ตาราง และใหมีหัวตารางปรากฏในทกุ หนา

๔. ตารางท่พี ิมพตามแนวขวางของกระดาษ ใหพิมพเลขหมายและชอื่ ตารางไวดานสนั ปก

๕. ไมควรมีเสนแบงสดมภ (column) ยกเวนกรณีจําเปน5

109

๖. ตารางที่อางอิงจากเอกสารภาษาตางประเทศ ใหแปลเป5นภาษาไทย โดยยดึ หลกั การ
แสดงตาราง ตามขอ ๑-๕ และใหระบุในสวนของที่มาวา “ดดั แปลงจาก...........”

คาํ วา "ที่มา" ใหพิมพดวยตัวหนา

110

ตัวอยา6 ง

ตารางที่ ๑ สมรรถภาพการผลติ ของไกรุนชวงอายุ ๖-๒๐ สปั ดาห เมื่อไดรบั กากงาชนิดผลิตในทองถ่ิน
ระดับตาง ๆ

ระดับกากงาในอาหาร (%) ๐ ๕ ๑๐ ๑๕

น้ําหนักตวั (กก.)

เร่ิมตน ๐.๔๕ ๐.๔๖ ๐.๔๕ ๐.๔๕
สนิ้ สุด ๑.๖๗ก ๑.๕๙ก ๑.๒๖ข ๑.๐๐ค
น้ําหนักเพิม่ ๑.๒๒ก ๑.๑๓ก ๐.๘๑ข ๐.๕๕ต

ปรมิ าณอาหารทก่ี นิ (ก./วัน) ๕๑.๓ก ๕๑.๕ก ๕๐.๔ก ๔๕.๒ข
ชวงอายุ ๖-๑๒ สัปดาห ๖๙.๗ก ๖๔.๓กข ๕๙.๐ข ๕๐.๐ค
ชวงอายุ ๑๓-๒๐ สัปดาห ๖๑.๘ก ๕๘.๘กข ๕๕.๓ข ๔๗.๘ต
เฉลีย่ ตลอดการทดลอง ๕.๐ก ๕.๑กข ๖.๗ข ๘.๕ค
๘๒ก ๗๑กข ๖๖ข ๕๑ค
อัตราแลกเนื้อ ๑๓๕ก ๑๔๔ก ๑๕๗กข ๑๖๘ข
ความสมาํ่ เสมอของฝงู (%) ๑/
อายเุ มื่อไขได ๕% ของฝงู (วนั )

อตั ราการตาย (%) ๓๒๓ ๓

ก,ข คาเฉลี่ยทมี่ ีอกั ษรกาํ กับตางกัน มีความแตกตางกันอยางมนี ัยสําคัญ (p < ๐.๐๕)

๑/ คาํ นวณจากจํานวนไกที่มีนา้ํ หนกั ตัวในชวง ±๑๐% ของนา้ํ หนักเฉลย่ี ของฝูง

111

ตารางที่ ๒ ปริมาณไฟเตสในวัตถดุ ิบจากพชื บางชนดิ ปรมิ าณไฟเตส (unit๑/กก.)๑/
วัตถุดบิ

ธัญพชื

ขาวสาลี ๑๑๙๓ (๙๑๕-๑๕๘)

ขาวโพด ๑๕ (๐-๔๖)

กากน้ํามนั พชื

กากถั่วเหลือง ๘ (๐-๒๐)

กากถัว่ ลสิ ง ๓ (๐-๘)

๑ unit คือปริมาณ phytase ทสี่ ามารถยอยสารละลาย ๐.๐๐๑๕ M Na phytate ไดในอตั รา

๑ mmol นาที ที่ pH ๕.๕ และอุณหภมู ิ ๓๗° ซ

112

๔.๒ การแสดงภาพ
๑. การตดิ ภาพใหตดิ ใหเรียบรอยและถาวรทีส่ ุดเทาทจ่ี ะทําได
๒. กรณีทีเ่ ปน5 กราฟ แผนท่ี แผนผัง หรือรูปเขยี นใดๆ ก็ตาม จะตองชดั เจน
๓. ใหมีเลขหมายประจาํ ภาพเรยี งตามลาํ ดับหลงั คาํ ภาพที่ โดยใสไวด5านล6างของภาพ

ปรบั ระยะตามความเหมาะสมแลวขีดเสนใต
๔. ใหมคี าํ บรรยายตอจากเลขหมายประจําภาพ โดยเวน ๒ ตวั อกั ษร กรณีขอความ

บรรยายภาพเกินกวา ๑ บรรทดั ใหพิมพตัวอกั ษรแรกของบรรทดั ทสี่ องตรงกับตวั แรกของขอความ
บรรยายภาพในบรรทดั แรก

๕. ภาพท่อี างอิงจากแหลงอ่นื ใหระบทุ ี่มาไวดานลางของคาํ บรรยายภาพ
๖. ภาพที่อางองิ จากเอกสารภาษาตางประเทศ ใหแปลรายละเอียดคําบรรยายภาพเปน5
ภาษาไทย โดยยดึ หลกั การแสดงภาพตามขอ ๑-๕ และระบุในสวนของท่ีมาวา “ดดั แปลงจาก.........”
ตวั อยาง

ภาพท่ี ๑ การทาํ งานไฟเตสจากพชื และจากจุลินทรยี ที่ pH ตาง ๆ กันทอี่ ุณหภูมิ ๓๗° ซ
(- - ไฟเตสจากพืช; ไฟเตสบริสทุ ธ์ิ)

ท่มี า : ดัดแปลงจาก Scheuermann และคณะ (๑๙๘๘)

113

หรือ

ภาพที่ ๒ ผลผลิตไขในแตละชวงการทดลองเมื่อใหอาหารที่มีกากงาระดบั ตาง ๆ
∆--------∆ กลุมที่ ๑ : ควบคุม
----------- กลุมที่ ๒ : ใชกากงาแทนทีก่ ากถ่วั เหลืองระดบั ๗๕% ในชวงการทดลองท่ี

๑-
๔, ๖ และ ๘ สวนชวงการทดลอง นอกน้ันใหอาหารควบคุม (กลุมท่ี ๑)

๐---------๐ กลมุ ที่ ๓ : ใชกากงาแทนที่กากถว่ั เหลอื งระดับ ๑๐๐% ในชวงการทดลอง
เชนเดยี วกับกลุมท่ี ๒

ทม่ี า : กาํ ธร (๒๕๓๗)

114

๕. การเขียนเอกสารอา5 งองิ

เ อ ก ส า ร อ า ง อิ ง เ ป5 น ส ว น ท่ี บ ร ร จุ ร า ย ก า ร เ อ ก ส า ร ที่ ไ ด อ า ง อิ ง ไ ว ใ น เ น้ื อ ห า ร า ย ก า ร
เอกสารอางอิงตองรบั กบั เอกสารทอ่ี างองิ ไวในเน้อื หา

หลกั เกณฑก8 ารเขียนเอกสารอา5 งอิง

๑. ใหพิมพคาํ วา “เอกสารอ5างอิง” ตัวหนา ขนาด ๑๘ ไวกลางหนากระดาษ
๒. ไมตองมีลําดับเลขที่กํากับ ใหเรียงลําดับตัวอักษรผูแตง เริ่มดวยเอกสารภาษาไทยกอน
แลวตอดวยเอกสารภาษาตางประเทศ
๓. เอกสารท่ีมีผูเขียนชุดเดียวกันใหเรียงตามลําดับปxของเอกสารแตหากเป5นภายในปx
เดียวกันใหใส ก, ข,..... สําหรับเอกสารภาษาไทย และ a, b,...... สําหรับเอกสารภาษาตางประเทศไว
หลังปขx องเอกสารโดยเรยี งตามลาํ ดับของเลมทีพ่ ิมพหรือตามลําดับตัวอักษรของช่ือเร่ือง เชน
พิษรัก สมใจ. ๒๕๓๗ก. ลกั ษณะไกเบตง...........
พษิ รกั สมใจ. ๒๕๓๗ข. ศตั รูของไกเบตง...........
Smith, C.D. ๑๙๘๔a. Toxicity of mineral oil........
Smith, C.D. ๑๙๒๔b. Ultrasound...............
๔. ชื่อผเู ขียนในภาษาไทย ใชช่ือตวั ตามดวยนามสกุลทกุ คนเรียงกนั ไปค่นั ดวยจลุ ภาค (,)
คนสุดทายใหเช่อื มดวย “และ” เชน
วัลลภ สนั ตปิ ระชา, ขวัญจิต สันติประชา และ ชศู ักด์ิ ณรงคเดช....

115

กรณีเอกสารภาษาตางประเทศ ใหใชชื่อสกุลขึน้ กอน ซ่ึงเขียนเต็ม ตามดวยอกั ษรยอ
ของชอื่ หนา ชือ่ กลาง (ถามี) ในกรณีท่ีมผี แู ตงมากกวา ๑ คน คนถัดไปใหขน้ึ ดวยช่อื สกลุ ตามดวย
อกั ษรยอของช่ือหนา ช่ือกลาง (ถามี) และหนาชือ่ คนสุดทายใหเชือ่ มดวย “and” ดงั ตัวอยาง

Atken, E. L., Kullum, D. and Aikins, K. W...................
๕. เอกสารท่ีมีผเู ขยี นช่อื แรกชือ่ เดียวกนั ใหเรยี งตามปxเกา-ใหม และเรียงตามอักษรของ
ผูเขยี นถดั ไป เชน
Shotwell, O. L. ๑๙๘๔..........................
Shotwell, O. L. and Zwieg, D. W. ๑๙๘๔.........................
หลักเกณฑก8 ารเขียนเอกสารอ5างอิง (ตอ6 )

Shotwell, O. L. and Jones, M. L. ๑๙๙๑..........................
Shotwell, O. L. and Jones, M. L. ๑๙๙๓.........................

๖. หลกั เกณฑอ่นื ๆ ทส่ี ําคญั ในการเขยี นมดี ังนี้
๖.๑ ชื่อเมอื ง ช่อื รัฐ และชือ่ ประเทศ ใหเขียนเตม็
๖.๒ การอางจํานวนหนาของเอกสารภาษาตางประเทศ ถาอางเพียง ๑ หนา ใช

p. หนา ตัวเลข ถาอางหลายหนาใช pp. หนาตัวเลข สาํ หรับเอกสารภาษาไทยใหใช น. หนาตวั เลข
ทั้งกรณีอางหนาเดียวและหลายหนา

๖.๓ เอกสารท่ีมิใชวารสาร ตองบอกจํานวนหนาดวย โดยใช p. หลงั ตวั เลขแสดง
จาํ นวนหนา และใหใช น. หลงั ตัวเลขสําหรับวารสารภาษาไทย

๖.๔ ช่อื วารสารใหเขยี นยอตามทีว่ ารสารน้ัน ๆ กาํ หนดยกเวนชอื่ ทยี่ อไมได เชน

116

ว.สงขลานครินทร วทท.
J. Anim. Sci.
Buffalo J.
Asian Livestock
๖.๕ ช่อื เร่อื งและชื่อบทความในภาษาตางประเทศใหข้นึ ตนดวยอักษรตัวใหญเฉพาะคาํ
แรกยกเวนชือ่ เฉพาะ สวนช่อื หนังสือใหข้ึนดวยอักษรตวั ใหญทุกคาํ ยกเวนคาํ ท่ีเป5นคํานําหนานาม
(article) คําสนั ธาน (conjunction) และคาํ บรุ พบท (preposition) หากเอกสารที่อางถึงไมใชหนงั สอื
หรอื ตาํ ราใหพิมพเชนเดียวกับ ช่อื เรื่องในวารสาร เอกสารท่ีมาจากการประชุม สัมมนา ฯลฯ น้นั ๆ
๖.๖ ชอื่ การประชุมสัมมนา ใหเขยี นเตม็
๖.๗ ชือ่ วิทยาศาสตรของส่ิงท่ีมชี วี ิตใหใชตวั เอน หรอื ตวั ตรงขดี เสนใต
๖.๘ คาํ เฉพาะ เชน in vitro, in vivo, ad libitum หรือคาํ ประเภทเดียวกนั ใหใชตวั
เอน หรือตัวตรงขีดเสนใต
๗. การพิมพ บรรทัดทส่ี อง และบรรทัดตอไปของเอกสารอางอิงแตละเร่อื งใหยอหนา โดย
เวน ๕ ตวั อักษร การพิมพใหถอื หลัก ถาตามหลังเครื่องหมาย., ; : เวน ๑ ระยะ และเม่ือหมด
เอกสารอางอิงแตละเร่อื งเวนบรรทัดแลวขน้ึ เอกสารอางอิงเรอ่ื งตอไป
ตัวอย6าง
๑. หนงั สอื /ตํารา (text)
ก. กรณอี 5างทั้งเล6ม
ผูเขียน. ปx. ชื่อหนังสือ. ครงั้ ที่พมิ พ (ถามี) สาํ นักพิมพ. ชอ่ื เมอื งท่ีพิมพ. จํานวนหนา.

117

สุรพล อปุ ดสิ สกุล. ๒๕๒๑. สถติ กิ ารวางแผนการทดลองเบ้อื งตน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
กรุงเทพฯ. ๑๔๕ น.

Kempthorne, O. ๑๙๖๗. The Design and Analysis of Experiments. Robert E. Krieger
Publ. Co. Inc., Huntington, New York. ๖๓๑ p.

พงศศักด์ิ วรสนุ ทโรสถ และ โอะซานุ ฮิราโอะ. ๒๕๒๒. เทคนิคการใชรถ. โรงพิมพครุ สุ ภา. กรงุ เทพฯ.
๑๗๖ น.

Cochran, W. G. and Cox, G. M. ๑๙๖๘. Experimental Designs. ๒th ed. John Wiley and
Sons Inc., New York. ๖๑๑ p.

ข. กรณีอ5างเฉพาะบท

ผเู ขยี น. ปx. ชอื่ เรอื่ ง ใน หรอื In ชือ่ หนังสอื (ชือ่ บรรณาธกิ ารหรือ ed. ชอ่ื editor ถามี)
สํานกั พมิ พ. เมือง. หนาหรือ pp.

ไพโรจน จ¯วงพานิช. ๒๕๒๐. โรคออยทเี่ กดิ จากเชื้อรา. ใน หลักการทําไรออย.(เกษม สุขสถาน และ
อุดม พูลเกษ, บรรณาธกิ าร) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. น.๑๔๑-๑๔๕.

Spraque, G.F. ๑๙๖๖. Quantitative genetics in plant improvement. In Plant Breeding
(ed. K. J. Frey) The lowa State University Press. Ames, lowa. pp. ๓๑๕-๓๕๔.

ค. เอกสารอา5 งองิ ท่ไี ม6ไดอ5 5างจากตน5 ฉบบั แตเม่ือเปน5 การอางตอใหเขยี น
เฉพาะเลมที่อางจริง เชน

Smith (๑๙๘๔) อางโดย Harrinton (๑๙๘๙)....... ใหเขยี นเอกสารอางองิ เฉพาะชอ่ื Harrington
ตามหลักการเขียนขางตน

ง. กรณหี นงั สอื แปล
กฤษฏา สมั พันธารักษ. ๒๕๒๑. พืชไร. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. ๓๙๔ น. แปลจาก

S.C. Litzenberger (ed.). Guide for Field Crops in the Tropics and the Subtropics.
Agency for International development. Washington, D.C.

118

Millot, G. ๑๙๗๐. Geology of Clays (English translation form French). Springer Verlag.
New York. ๔๒๙ p.

๒ เอกสารประเภทวารสาร/จลุ สาร (Journal/Bulletin)
ผเู ขยี น. ปx. ช่ือเรอ่ื ง. ชอ่ื วารสาร ปทx ่ี(ฉบับที่) : หนา

สพุ จน เอนกวนชิ , ธีรศักด์ิ ตรยั มงคลกลู และ พภิ พ จาริกภากร. ๒๕๑๙. การศึกษาภาวะโรค
คีโตซิสในโคนม. วิทยาสารเกษตรศาสตร. ๑๐(๑): ๖๕-๗๓.

Chen, S. Y. ๑๙๗๒. Genetic studies of leaf yield and nicotine content in Nicotiana
tabacum (in Chinese, English summary), Taiwab Agr. quart. ๘ : ๑๒๕-๑๓๒.

๓ เอกสารประเภทรายงานสัมมนา/ประชุมทางวิชาการ (Reports/Proceedings)

ผูเขยี น. ปx. ช่อื เรือ่ ง. ชอ่ื รายงานการวจิ ยั หรอื สมั มนา หรือประชมุ ทางวิชาการ ช่อื
บรรณาธิการ. (ถามี) สถานที่. วันสัมมนา. หนาของเรื่อง.

ธวัช ลวะเปารยะ. ๒๕๑๓. การผสมพันธุและปรับปรุงพันธุขาวโพดหวาน. รายงานความกาวหนา
โครงการวิจัยขาวโพดและขาวฟาš ง. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. ๔๒ น.

สมคิด พรหมมา, อวิ าโอะ ทาซากิ, บุญลอม ชีวอสิ ระกลุ และ ธวชั ชยั อินทรตุล. ๒๕๓๗. การยอยได
ของฟางปรงุ แตงสะเทนิ และสมดลุ ไนโตรเยนไนโคนมรุนเพศผูลกู ผสมขาว-ดํา. รายงานการ
ประชุมวิชาการปศุสัตว คร้ังท่ี ๑๓ ณ สถาบนั สขุ ภาพสตั วแหงชาติ กรุงเทพฯ. ๑๘-๒๑
กรกฎาคม ๒๕๓๗. น. ๖๒-๗๒.

ไกรสิทธิ์ วสุเพญ็ และนชุ า สมิ ะสาธติ กุล. ๒๕๔๐. การใสทอเก็บตวั อยางที่กระเพาะรเู มนในแกะดวย

วธิ ีผาตัดแบบคร้ังเดยี ว. รายงานการประชุมสมั มนาวชิ าการสาขาสตั วศาสตร.

สญั ชยั จตุรสัทธา, บรรณาธกิ าร. ณ มหาวิทยาลยั เชียงใหม ๑๑-๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๐. น.

๓๑๑-๓๑๙.

119

Hill, M. J., Archer, K. A. and Hutchinson, K. J. ๑๙๘๙. Towards developing of a model
of persistence and production for white clover. Proceedings of the ๑๓th
International Grassland Congress. Niece, France. ๔-๑๑ October ๑๙๘๙. pp.
๑๐๔๓-๑๐๔๔.

๔. เอกสารที่ไม6ปรากฏสาํ นกั พมิ พ8 แตเ6 ปนy ทีย่ อมรับในสาขานน้ั และสามารถหา
แหล6งท่ีมาไดแ5 น6นอน

Cockerham, C.C. ๑๙๗๐. Random vs. fixed effects in plant genetics. Paper presented
at the ๗th International Biometric Conference. Stadthallensale, Hannover,
Germany. ๔๑ p.

Swayne, D. ๒๐๐๕. Avian influenza, poultry vaccines: a review. From A ProMED-mail
post dated ๗ Mar ๒๐๐๕.

๕. วิทยานิพนธ8 (thesis)
ผเู ขียน. ปx. ช่ือเรอ่ื ง. วทิ ยานพิ นธ ชื่อปรญิ ญา ช่ือมหาวทิ ยาลยั หรือสถาบนั

วเิ ชยี ร อุนเรอื น. ๒๕๒๖. การเปรียบเทยี บวิธีการคัดเลอื กพนั ธใุ นขาวไร. วิทยานิพนธวทิ ยาศาสตร
มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.

Suasa-ard, W. ๑๙๘๒. Ecology of the Sugarcane Moth Borers and their Parasites in
Thailand. Ph.D. Thesis. Kasetsart University.
๖. ค6มู อื เอกสารคําแนะนํา และเอกสารทางวิชาการของหน6วยงานต6าง ๆ

120

กองวิจยั เศรษฐกจิ การเกษตร. ๒๕๓๗. สถติ ิการเกษตรของประเทศไทยปกx ารเพาะปลกู . ๒๕๓๗-
๒๕๓๘ สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. ๓๐ น.

กองอาหารสตั ว. ๒๕๓๙. ผลการวเิ คราะหอาหารสัตว. กรมปศุสตั ว กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
๕๒ น.

AVDRC. ๑๙๘๗. Mungbean breeding. Asian Vegetable Research and Development
Center, Shanhua, Tainan, Taiwan R. O. C. pp. ๑๖๕-๑๘๓.

2. Web sites

Johnson, A. ๒๐๐๕. Surveillance study on avian influenza in migratory birds in New
Zealand. Http://www.massey.ac.nz accessed on ๓ May ๒๐๐๕.

๗. การเขียนคําขอบคณุ
คําขอบคณุ

ใหพมิ พคําวา ”คาํ ขอบคณุ ” เปน5 ตัวหนา ขนาดตัวอักษร๑๘ กลางหนากระดาษ แลวขนึ้
บรรทัดใหม ยอหนาพมิ พตวั อักษรธรรมดา
ตัวอยาง

คําขอบคณุ
ขอขอบพระคุณ ผศ.สุธา วฒั นสทิ ธิ์ ทีไ่ ดใหคําอธิบายเก่ยี วกบั การวางแผนการทดลองและ
การวเิ คราะหขอมลู ทางสถิติ

121

๔.๓ รูปแบบการทํารายงานสมั มนา

รูปแบบการจัดสัมมนา

รูปแบบของการสมั มนานัน้ มีหลากหลาย โดยสามารถแบงเป5นหวั ขอ ดงั ตอไปนี้

1. รปู แบบการจดั สัมมนาโดยใชเทคนิคการอภปิ ราย แบงเป5น

• การอภปิ รายเป5นคณะ (Panel Discussion) จะตองใชกลุมของผทู รงคณุ วฒุ ิตั้งแต 3 คนขน้ึ
ไปจนถึง 10 คน

• การอภปิ รายแบบซิมโพเซ่ยี ม (Symposium) เหมาะสาํ หรับการสัมมนาวิชาการ
• การอภปิ รายแบบบุซเซสสัน่ (Buzz Session) เปน5 การประชมุ ที่เปด• โอกาสใหผรู วม มีโอกาส

แสดงความคิดเหน็ ในระยะสน้ั ๆ
• การอภิปรายแบบบทบาทสมมติ (Role Playing) ผูเขาประชมุ มโี อกาสแสดงบทบาท สมมติ

ในสถานการณใดสถานการณหนึ่งเหมอื นสถานการณจริง
• การอภปิ รายแบบตอบกลับ (Circular Response) กลุมสมาชกิ ประมาณ 8 – 15 คน โดยจัด

ทนี่ ่ังเปน5 รูปวงกลม
• การอภปิ รายโตŸะกลม (Round Table) เหมาะสําหรับการประชุมผบู รหิ ารและนักธรุ กิจ ที่

สนทิ สนมและตองการความเป5นสวนตวั
• การอภิปรายแบบถาม – ตอบ (Dialogue)
• การอภปิ รายแบบฟอรัม (Forum) เป5นการสัมมนาท่ีเนนการตัง้ คาํ ถามและตอบคาํ ถาม
• การอภิปรายกึ่งสัมภาษณ (Colloquy Method) ลักษณะคลายการโตวาทีระหวางผรู วม กับ

ผวู ทิ ยการ
• การอภิปรายกลุมยอย (Group Discussion) เป5นการสมั มนาตั้งแต 6 – 20 คน ในเรือ่ ง ที่

สนใจรวมกัน เพอื่ สรุปผล และหาแนวทางการแกปญ) หา

2. รูปแบบการจัดสัมมนาโดยใชเทคนิคการประชมุ แบงเป5น

• การประชุมแบบระดมสมอง (Brainstorming) เปด• โอกาสใหทุกคนแสดงความคดิ เหน็ และได
มเี สรีภาพในการพดู อยางกวางขวาง

122

• การประชุมแบบรวมโครงการ (Joint – Venture Meeting) ใชในการประชุมตกลงทางธรุ กจิ
รฐั วิสาหากิจหรอื องคการคาระหวางประเทศ

• การประชุมแบบรับชวง (Sub Contract Meeting) นิยมใชในการประชุมตกลงของ
หนวยงานภาคเอกชน หรือหนวยงานของรฐั วสิ าหกจิ

• การประชุมแบบคอนเวนช่นั (Convention)
• การประชมุ แบบเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Workshop) เป5นการสมั มนาท่ีมผี เู ขาประชมุ สามารถมสี วน

รวมไดเต็มที่
• การประชมุ ปรึกษาหรือการประชุมอภิปราย (Training Meeting) เปน5 การสัมมนาที่มีการ

สอนหรอื ใหความรใู นสาขาวชิ าเฉพาะผเู ขาสมั มนา

3. รปู แบบการจดั สัมมนาโดยใชเทคนคิ อ่นื ๆ แบงเป5น

• การบรรยาย (Lecture of Speech) ใชผูทรงคุณวุฒิเพียงรายเดียวตอผูฟง) จาํ นวนมาก
• การอบรมระยะสนั้ (Short Courses) เปน5 การสมั มนา หรือการเรยี นบางวิชาอยางเรงรัด

ภายในระยะเวลาอันสั้น
• การปฐมนิเทศ (Orientation Training) เปน5 การสัมมนาใหความรเู กีย่ วกบั องคกรแก สมาชกิ

ใหม
• การสาธิต (Demonstration)
• สถานการณจาํ ลอง (Simulation)
• การแบงกลุมเลก็ (Knee Group) เป5นการสัมมนากลุมยอย ต้งั แต 3 – 5 คน ในเรอ่ื งท่ี ผู

สมั มนาสนใจรวมกนั

สําหรับรีสอรตที่มีหองสมั มนาสวยงามหรหู รา ประดับดวยงานศลิ ปะ และวสั ดตุ กแตงตระการตา แต
ขาดการจัดท่นี ง่ั ภายในหองสัมมนาทด่ี ีก็อาจทําใหการสมั มนานน้ั ไมสาํ เร็จลุลวงดวยดี การจัดแบบที่นง่ั
ภายในหองสัมมนาแบงได 2 กลมุ ใหญ ๆ

กลุมแรก คือ การจัดโตะŸ ในการสมั มนาใหญ แบงเปน5

การจัดท่นี ั่งแบบในโรงภาพยนตร (Theater Style) ควรมเี น้ือท่ีอยางนอย 6 ตารางฟตุ 1 ท่นี ั่ง เปน5 แบ
บนทน่ี ยิ มมากท่สี ุดการจัดที่นั่งแบบน้ีจะจดั แบบมโี ตŸะหรือไมมกี ็ไดตามความเหมาะสม
การจดั แบบท่นี ่ังในหองเรยี น (Schoolroom Style) เปน5 การจดั รปู บบทีน่ ั่งภายในหองสมั มนา ทม่ี ี
ประสทิ ธิภาพ ผูฟง) สามารถจดบนั ทกึ และมสี วนรวมไดอยางดี เหมาะสําหรับกลุมทมี่ ี ผูสัมมนาเป5น

123

จาํ นวนมาก ๆ
กลมุ ทสี่ อง เป5นการจัดโตŸะในการประชมุ ยอย แบงเปน5

• การจดั แบบตัว U (U 3 shape Style) เหมาะสําหรับการประชมุ ซงึ่ มีผเู ขารวมสมั มนาไมมาก
แตไดประสิทธภิ าพดที ี่สุด

• การจดั แบบโตะŸ กลม (Roundtable Style) เปน5 การจัดสัมมนาสบาย ๆ ทีส่ ามารถเสิรฟ
อาหาร วางไดระหวางการสมั มนา และสามารถแบงผูเขารวมสมั มนาไดเป5นกลมุ ๆ

หลงั จากเรยี นรูและเขาใจการสัมมนาโดยภาพรวมแลว เมอื่ ผนวกเขากับการทองเทย่ี วกน็ ับเปน5 การ
ทาํ งานนอกสถานที่ท่ีมีเสนหมากยิ่งขึ้น นาดีใจแทนกลุมสมาชิกของบริษทั หรือองคกรท่ีมีงบ สัมมนา
ตลอดปมx ากมาย เพราะนอกจากจะไดทาํ งานนอกสถานที่บอยครัง้ แลว ยังมเี วลาใหเลือก พักผอน
ทามกลางธรรมชาติสวยของรีสอรท และสถานทเ่ี ทย่ี วใกลเคียง "เรยี กวาไดทั้งงาน สขุ ภาพกาย
สขุ ภาพใจ"

สรปุ ท5ายบท

รายงานสมั มนาจดั อยูในประเภทบทความปรทิ ัศน ซึง่ โครงสรางของเอกสารเพื่อเสนอสมั มนา
การสมั มนา คอื การแลกเปล่ยี นความรู ความคดิ เหน็ และประสบการณซึ่งกนั และกนั ในระหวาง
ผูเขารวมสมั มนา ผลจากการสัมมนา จะชวยสรางความเขาใจทดี่ ี สรางความชัดเจนและถกู ตอง ๑.
ชอื่ เรื่องพร5อมรายละเอยี ด- ผจู ดั ทาํ - อาจารยที่ปรึกษา- วนั ทเี่ สนอสัมมนา- ฯลฯ

๒. บทคัดยอ6 ๓. บทนาํ หรือ บทนํา (Introduction) เป5นสวนของเนือ้ หาท่กี ลาวนาเขาสูตัว
เร่ือง มีเนื้อหาครอบคลุมใน เร่อื งที่จะนาเสนอ ความสําคัญของเรอ่ื งทีศ่ ึกษา๔. เนื้อเรือ่ ง การเขยี นเนื้อ
เรอื่ งหรือเนื้อหา เป5นสวนทีไ่ ดจากการรวบรวมและเรียบเรยี งเปน5 เรื่องราวทเี่ กีย่ วของกับหัวขอสัมมนา
ที่จะนาเสนอ จากบทความ วารสาร ผลงานวิจัย หนงั สือหรือตาํ รา๕. สรุป ๖. เอกสารอ5างอิง
(citations) คือ การบอกแหลงท่ีมาของขอความ แนวคิด หรือขอมูลท่ผี ูเขียน นาํ มาใชอางองิ ใน
การเขียนรายงาน บทความวชิ าการ งานวิจัย๗. คาํ ขอบคณุ

124

คาํ ถามท5ายบท

๑๓.จงอธบิ ายการเขยี นรายงานการสมั มนามาให5เขา5 ใจ
๑๔.จงอธิบายรปู แบบการทํารายงานสมั มนามาใหเขาใจ

125

เอกสารอ5างองิ ประจําบท

พานชิ ทินนมิ ติ ร, การเขียนรายงานสมั มนาและเทคนคิ การพดู เพอ่ื เสนอสัมมนา, ภาควิชา สัตว
ศาสตร คณะทรพั ยากรธรรมชาติ.
ไพศาล เหลาสุวรรณ. วิธีการเขียนทางวิทยาศาสตร8, บ.สมบูรณการพิมพ. นครราชสีมา,

๒๕๔๕.
สธุ ีระ ประเสริฐสรรพ, สนกุ กบั งานวจิ ัย, สงขลา : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั , ๒๕๔๔.

126

บทที่ ๕
การจัดการเรียนการสอนด5วยการสัมมนา

ผชู วยศาสตราจารยนเรศร8 บญุ เลศิ

วัตถุประสงค8

เม่อื ได5ศึกษาเนื้อหาในบทนแี้ ล5ว ผู5ศึกษาสามารถ
๑๘.อธบิ ายขอกาํ หนดรูปแบบการทํารายงานสัมมนาได5
๑๙.อธบิ ายบรรณานุกรมได5
๒๐.อธิบายการสอนศลี ธรรมในโรงเรยี นดวยการสัมมนาได5

ขอบขา6 ยเนื้อหา

๑๐.การนําเทคนิคการสัมมนาพัฒนาการสอนในชั้นเรียน
๑๑.รูปแบบการเรยี นการสอนแบบสมั มนา
๑๒.การสอนศีลธรรมในโรงเรียนดวยการสมั มนา

127

๕.๑ ความนาํ

การสัมมนา คือ การแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็น และประสบการณซ่ึงกันและกันใน
ระหวางผูเขารวมสัมมนา ผลจากการสัมมนา จะชวยสรางความเขาใจที่ดี สรางความชัดเจนและ
ถูกตองแกผูเขารวมสัมมนา ซึ่งจะสงผลให การปฏิบัติงานในเร่ืองที่สัมมนากันนั้น ๆ มีประสิทธิภาพ
มากยงิ่ ข้นึ
สวนในหนังสือ Webster’s Ninth New Collegiate Dictionary (๑๙๘๕ : ๑๐๖๙) ไดอธิ
บาความหมายของการสมั มนาไว ๓ ประการ ดงั น้ี

๑. หมายถึง กลุมของนักศึกษาระดับสูงท่ีกําลังทําการศึกษาคนควาวิจัยเร่ืองใดเรื่อง
หนึ่งโดยเฉพาะ และหมายรวมถึงกลมุ ของนกั ศกึ ษาท่รี วมกันอภิปรายผลทไี่ ดจากการศึกษาคนควา
โดยมผี ทู รงคุณวุฒเป5นผูดูแลใหคาํ แนะนาํ ชวยเหลอื

๒. หมายถงึ รายวิชาทก่ี ลมุ ของนกั ศึกษาระดบั สูงตองศกึ ษา
๓. หมายถึง หองทีใ่ ชในการประชุมปรกึ ษาหารอื ในการศึกษาเลาเรยี นดังกลาว
พฤฒพิ งศ เล็กศิริรตั น ไดสรุปความหมายของการสัมมนา แบงออกเป5น ๒ นยั 13 คอื
๑. หมายถงึ การท่ีคณะบุคคลซง่ึ มคี วามสนใจรวมกันในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งมารวมประชุม
ปรกึ ษาหารือแลกเปล่ยี นทศั นะ และคงวามรซู ่งึ กันและกนั เพ่อื หาขอสรุปรวมกันในเร่อื งใดเรือ่ งหนึ่ง
๒. หมายถึง กระบวนการเรียนการสอนซึ่งจัดเป5นกลุม มีสมาชิกในกลุม ซ่ึงโดยปกติ
มักจะเปน5 นกั ศกึ ษาที่เรียนในระดับสูง มารวมปรกึ ษาหารือกนั และแลกเปลี่ยนทัศนะและความรูซึ่งกัน
และกันโดยมอี าจารยผทู รงคณุ วฒุ ิคอยควบคุมดแู ลและใหคาํ แนะนาํ ชวยเหลือ

๕.๒ การนําเทคนคิ การสัมมนาพัฒนาการสอนในชั้นเรียน

สําหรบั เทคนคิ วิธกี ารสอน “Sirithai teaching method” ประกอบดวย ๔ ขัน้ ตอน คือ
ขัน้ ที่ ๑ ขัน้ Review(ทบทวนความรูเดิม)
ข้ันท่ี ๒ Newconcept (ใหความรูและแนวคดิ ใหม)

13 พฤฒิพงศ เลก็ ศิรริ ัตน, สมั มนา, (สงขลา : มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ, ๒๕๕๗).

128

ขั้นท่ี ๓ Step action (ใหเด็กนกั เรียนลงมอื ปฏิบตั )ิ
ข้นั ที่ ๔ Fun to apply (ประยุกตใชอยางมคี วามสุข)
การสอนธรรมใหส5 นกุ และปฏิบตั ิได5
๑. การสอนธรรม ดวยการบอกเลาและบรรยายอยางเดียว ไมไดชวยใหเด็กไดรับการ
เรียนรู หรอื ไดรับการศกึ ษาแตอยางใด ไดเพียง ขอมลู ที่ทองสอบเทานั้น
๒. การกระทํา สําคัญกวาการพูด สอนธรรม ๑ ขอ แลวเขาปฏิบัติได ดีกวา สอนธรรมะ
มากมาย แตปฏบิ ตั ไิ มไดเลยสักขอ
๓. การที่เด็กเช่ือฟ)ง ตอบคําถามไดทองจําหลักได ไมไดหมายความวาเขามีคุณธรรมแลว
การสอนธรรม ควรวัดผลจากการปฏบิ ตั จิ ริง
๔. การสอนเด็ก ตองใชวิธีการท่ีตางไปจากการสอนผูใหญ ผูใหญสนใจธรรม ฟ)งธรรม
ปฏิบัติธรรม เพราะรูวาดี มีประโยชนมากอนแลว แตเด็กไมรูเรื่องน้ีมากอน เด็กเขาวัด และจะยินดี
ปฏิบตั ธิ รรมกเ็ พราะนาสนใจและสนกุ หรอื ไมเทานั้น
๕. การสอนธรรม จะไดผล เมื่อคนเรา”คิดได” และ”คิดเป5น” แตเด็กยังคิดไมได และคิด
ไมเป5น จงึ ควรสอนเด็กให “คดิ ” กอนทจ่ี ะสอน “แนวคดิ ” ในเร่ืองนน้ั ๆ
๖. การสอนธรรมะ เป5นเร่ืองยากท่ีตองสอนใหคนเกิดความซาบซ้ึงศรัทธากอน แลวเขาจึง
พรอมจะนําไปปฏบิ ตั ไิ ด
๗. แตการสอนธรรมปจ) จบุ ัน มักจะสอนแตชอื่ ธรรมะ ไมใชตวั ธรรมะ
๘. การสอนธรรมะท่ีแทจริงตองประกอบดวย การส่อื ถึงสัจธรรม สภาพธรรมท่ปี รากฏและ
ความเขาใจที่จะปฏิบตั ติ อสภาพธรรมนน้ั
๙. การสอนธรรมะสามเณรภาคฤดูรอน ในฐานะสอนธรรมะแกเด็กตองพจิ ารณาถงึ การ
สอนทเี่ หมาะกบั วยั สําหรับเด็กนั้นตองใชการสอน
- สอนจากงาย ไปหายาก
- สอนจากรปู ธรรม ไปหานามธรรม
- สอนจากเรื่องใกลตวั ไปหาสง่ิ ไกลตัว
- สอนจากปจ) จุบนั ไปหาอดตี และอนาคต
๑๐. การสอนใหไดผล อยูที่กระบวนการสอน โดยตองคํานึงถึงวัย และประสบการณของ
เด็ก โดยตองเขาใจจิตวิทยากับเด็กดวย กระบวนการสอนธรรมแบบบูรณาการการสอนดวยฐานการ
เรียนรู : หองเรียนที่เคลอ่ื นไหว
- ฝrกพฤติกรรมไปพรอมกับการเรียนธรรมะ
- ฐานวชิ าการ ผสมกบั ฐานการปฏิบัติ
- ใชในการสอนหรือการสอบก็ได

129

การสอนด5วยเกม : สนกุ แตมีคติ
- สนกุ สนานวนั ละเกม
- สรปุ มสี าระจากการเลน
- เกมนนั ทนาการ
- เกมเพื่อการเรียนรู
- เกมเพ่ือละลายพฤติกรรม

การสอนดว5 ยนทิ าน : การสอนดวยตัวอยาง
- นิทานชาดก
- นิทานธรรมบท
- นทิ านขําขนั
- นิทานกฏแหงกรรม
- นิทานพ้นื บาน
- เร่ืองจริง องิ นยิ าย

การสอนพรอ5 มกับกจิ กรรม : สอนไปทาํ ไป สอนดวยการกระทํา
- กจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชน : การทาํ งาน คือการปฏิบตั ิธรรม
- กิจกรรมบิณฑบาต : เรียนรกู ารให เรียนรชู ุมชน เรียนรหู นาที่
- กิจกรรมสวดมนต ภาวนา : เรียนรตู นเอง
- กิจกรรมการธดุ งค : เรียนรโู ลกกวางและตนเอง
- กจิ กรรมกลมุ : เรียนรูเพือ่ น
- กิจวตั รประจําวนั : เรียนรูหนาที่

การสอนดว5 ยส่ือ : สอนจากภาพและเสยี ง
- วีดีโอ
- ซีดี
- เทปเสียง : ดอกไมคณุ ธรรม,เสียงปลุก เสยี งธรรม,พุทธประวัติ
- สไลด
- คอมพิวเตอรมลั ติมเี ดีย

การสร5างระเบยี บในการอบรม : อยูรวมกนั ตามกติกา
- อยาลงโทษพรํ่าเพร่ือ
- ลงโทษใหไดประโยชน
- ใหสาํ นึกแลว จงึ ลงโทษ

130

- อยาประกาศประจาน
- อยาเรยี กเขาหองประชุม
- อยาลงโทษดวยการนั่งสมาธิ
การปลกู จติ สาํ นึก
- กจิ กรรมพระคณุ แม
- กิจกรรมจุดเทียนป)ญญา
- กิจกรรมสารภาพความผดิ
การปรับพฤตกิ รรม คือ เคร่ืองวดั ผลสําเรจ็ ของการสอน
- จะปรบั พฤติกรรมได ตองปรบั ทัศนคติ (ใจ)
- พฤติกรรมทีส่ งั เกตได คอื กาย วาจา
ตวั อย6างการปลกู ฝYงพฤติกรรมชาวพุทธทางกาย
- กราบงาม กราบถูกตอง
- สาํ รวม เกบ็ มือ จนเปน5 นิสยั
- ไมยนื ดื่มน้ํา
- ไมวิง่
- ไมเลนในหองประชมุ
- ทาํ อะไรตามระเบยี บแถว
- เขาหองประชมุ ตรงเวลา
- ทพ่ี ัก ท่ีอบรมสะอาด
- ต่ืนและหลับตามเวลา
ทางวาจา
- พูดมหี างเสียง เจาคะ ครบั ผม
- การสัมโมทนียกถา
- การทองพุทธศาสนสภุ าษิตและบทกลอนธรรมะ
- ไมตะโกนพูดกัน
- พูดกับเพ่ือนดวยคําสภุ าพ
- ขอโทษ ขอบคณุ ขอบใจ ไมเป5นไร อนุโมทนาบญุ
ทางใจ
- สงบใจไดไมต่าํ กวา ๒๐ นาที
- คิดในเชิงบวก
- อดได ทนได รอได

131

สง่ิ ท่นี 6าจะตอ5 งไดเ5 มอื่ จบโครงการแลว5
- เด็กรจู กั ใสบาตร
- เด็กรูจักปฏิบัติตอพระสงฆ
- เดก็ รจู กั ไหวพระกอนนอน
- เด็กเคารพพอแม ครูอาจารย
- เด็กไมพูดคาํ หยาบ
- เด็กมวี ินัยในตน

การเปนy พระวิทยากรที่ดี
- มีเทคนิคการสรางสมั พันธภาพที่ดี
- รูจกั วิเคราะหผฟู )ง
- มีเทคนคิ สรางอารมณขัน
- มีจิตวทิ ยาในการจูงใจ
- คดิ คนควา
- ใจดี รตู ามกาลเทศะ
- มปี ฏิภาณไหวพริบและความกลา
- สรางความสามารถพเิ ศษ เป5นเอกลักษณเฉพาะตน
- ประพฤติตนเป5นคนที่มีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี
- รูจกั ตัวเอง และมีความกระจางในตน

แนวความคดิ การสอนพระพุทธศาสนา ในโรงเรียน
แนวคิดหลักที่ใชในการกําหนด กรอบการสอนในรายวชิ า พระพุทธศาสนา
๑. การเรยี นการสอนพระพุทธศาสนาจะตองใหครบท้ัง ๓ องคประกอบคือ
- ปริยตั ิ (สาระความรู)
- ปฏิบัติ (การฝกr อบรมกาย วาจา ใจ)
- ปฏเิ วธ (การวิเคราะหประเมนิ ผลการปฏบิ ัติของตนเอง)
ขอเสนอแนะเพิ่มเติมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู พระพุทธศาสนาในโรงเรียนใหสองคลอง

กับป)จจุบันเทคนิคหรือรูปแบบการสอนที่ ใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูรายวิชาพระพุทธศาสนา
เทคนิคหรอื รูปแบบการสอนท่ี ใชในการจัดกจิ กรรมการเรียนรูรายวิชาพระพุทธศาสนาแนวทางในการ
สงเสริมใหนกั เรียนประยุกตใชหลกั ธรรมในทางพระพทุ ธศาสนาในการดําเนินชีวิตประจําวันเสริมสราง
ศรัทธาใหนักเรียนเกิดความรูสึกเล่ือมใสและเช่ือม่ันในหลักพระพุทธศาสนา โดยซึมซับบุคลิกภาพที่ดี
ของครู ความเป5นกัลยาณมิตรระหวางครูกับนักเรียนและระหวางเพื่อนนักเรียนดวยกัน รวมทั้งการ

132

เลือกสรรสิ่งเราและการนําเสนอท่ีจูงใจใหเกิดความประทับใจและเห็นความสําคัญ ของการเรียน
พระพทุ ธศาสนา

แนวความคิดการสอน พระพุทธศาสนาในโรงเรียน ระดับช้ันมัธยมศึกษา ป‡ที่ ๓ - ๔
๑. การจัดการเรียนการสอนจะตองคํานึงถึงวัยของผูเรียน ความเหมาะสมของเวลาเรียน การ
ลําดับความยากงาย การสรางความเขาใจท่ีถูกตอง และป&องกันการเขาใจ ผิดตอหลักของ
พระพุทธศาสนา
๒. การจดั เนือ้ หาและกิจกรรมการเรียนการสอน เนนการบรู ณาการท้ัง ๔ ดานคอื
- ความรูความเขาใจ
- ทีถ่ กู ตอง
- สนองความตองการและ
- ปญ) หาของบุคคล
และสังคม มีระบบการฝrกอบรม สอดคลองกับเอกลักษณและวัฒนธรรมจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนที่เนนกระบวนการทุก บทเรียน โดยมุงเนนใหนักเรียนเกิดทักษะในการรวบรวมแสวงหา
ขอมูล ขาวสาร ขอเท็จจริงตางๆ รูวิธีการประเมินขอมูล รูจักเลือกและตัดสินใจ ไดฝrกปฏิบัติใหเกิด
ประโยชนตอตนเอง และนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดสืบไป ครูจะตองใช วิธีการสอนตางๆให
เหมาะสม เชน วธิ สี อนโดยสรางศรัทธาและโยนโิ สมนสกิ าร วธิ ีสอนตามกระบวนการเผชิญสถานการณ
วิธีสอนแบบแกป)ญหาตามอริยสัจ จัดบรรยากาศการเรียนการสอนในสภาพแวดลอมท่ีสะอาด สงบ
ปลอดโปรง เรียบงาย มีการจัดหองเรียนไดแปลกใหม สะดุดตา นาสนใจ นาคนควาชวนติดตาม
บางคร้ังอาจจะมีการ พานักเรียนนอกสถานท่ีบาง เชน โบสถ วิหาร และแหลงวิทยาการอ่ืนๆ ท่ี
สอดคลองกบั บทเรยี นมารยาทชาวพุทธ มารยาท หมายความวา ความประพฤติเรียบรอยที่แสดงออก
ทาง กาย วาจา ใจ ชาวพุทธ หมายถึงคนผูที่นับถือพระพุทธศาสนา นําหลักธรรมไปประพฤติปฏิบัติ
มใิ ชเพียงแตนับถือแคทะเบียนบานเทานัน้ มารยาท หมายถึง
- มารยาท แสดงใหเหน็ วาผูปฏิบตั ิเปน5 คนเจริญ ทางกาย วาจา ใจ
- มารยาท แสดงใหเหน็ ถึงความเป5นผูมวี ัฒนธรรม
- มารยาท แสดงใหเห็นถงึ ความเปน5 ผูมีคุณธรรม
- มารยาท แสดงใหเหน็ ถึงความเป5นผูมีใจสงู
มารยาทชาวพุทธ มี ๔ ประการ
๑. อภวิ าท ไดแก การไหว การกราบ เบญจางคประดิษฐ
๒. อุฎฐานะ ไดแก การลกุ ขึ้นยืนตอนรับ
๓. อญั ชลกี รรม ไดแก การประนมมือ
๔. สามีจกิ รรม ไดแก การโคงคาํ นับ ยืนตรง ถอนสายบวั

133

มารยาทชาวพุทธท่คี วรศึกษา
๑. มารยาทในการไปวัด

- การแตงกายไปวัด
- การนาํ เดก็ ไปวดั
- การปฏิบตั ติ นในวัด
๒. มารยาทในการยืน
- การยืนตอหนาพระสงฆ
- การยืนตอหนาผูใหญ
- การยนื ตามลําพัง
๓. มารยาทในการน่งั
- การนั่งสนทนากบั พระ
- การนั่งตอหนาผูใหญ
- การนั่งตามลาํ พัง
- การนงั่ ฟง) เทศน
- การเปลย่ี นทาน่ัง
๔. มารยาทในการไหว – การกราบ
- การไหว – การกราบพระรัตนตรัย
- การไหว – การกราบบดิ ามารดา
- การไหว – การกราบครูอาจารย
- การไหว – การกราบผใู หญ
- การไหว – บุคคลเสมอกัน
- การไหว – การกราบศพ
การแสดงความเคารพตอ6 สถานที่
๑. พระอุโบสถ
๒. ศาลาการเปรียญ
๓.ตนโพธห์ิ รือตนไมเกย่ี วกบั พุทธประวตั ิ
๔. หอไตร หรือสมดุ ของวัด
๕. กฏุ ขิ องพระ / ทน่ี ง่ั -ทีน่ อนพระสงฆ
๖. พระวิหารเจดีย
การแสดงความเคารพต6อพระสงฆ8

134

- ลุกข้นึ ยนื รบั พระสงฆ
- การตามสงพระสง
- การหลกี ทางใหพระสงฆ
วิธีสอนแบบสัมมนานําไปสอนในชัน้ เรียน วิธีสอนท่มี ุงใหผูเรียนไดมโี อกาสสนทนาแลกเปล่ียน
ความคดิ เหน็ หรือพจิ ารณาหัวขอท่ีกลุมมีความสนใจรวมกัน โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือหาคําตอบแนวทาง
หรือเพ่ือแกป)ญหาใดป)ญหาหน่ึงรวมกัน วิธีสอนแบบสัมมนาจึงเป5นวิธีการสอนที่ผูเรียนมีสวนรวมใน
การสัมมนา คือ ไดคิด ไดทํา ไดแกป)ญหา เป5นการพัฒนาผูเรียนท้ังดานความรู ดานเจตคติ และดาน
ทักษะการเรียนรู เชน ทักษะความคิด การพูด การรับฟ)ง การแสดงความคิดเห็น การทํางานรวมกับ
กลมุ ในรูปแบบ
ประเมินผลการสัมมนาผูสอนควรมีการประเมินผลการสัมมนาภายหลังที่ส้ินสุดบทเรียน เพ่ือ
ดูวาการเรียนการสอนในคาบเรียนมีคุณคาหรือมีขอบกพรองอยางไร โดยประเมินใหครอบคลุมถึง
เน้ือหา หัวขอการสัมมนา จุดประสงค รูปแบบพฤติกรรมของผูเรียนบรรยากาศ สิ่งแวดลอมในการ
สมั มนา เพ่อื เป5นขอมลู ในการปรับปรงุ การเรยี นการสอนดวยวิธกี ารสัมมนา14
การสอนแบบสมั มนาคือการสอนทมี่ ลี ักษณะท่ีมอบหมายงานใหผูเรียนไปคนควาเน้ือหาอยาง
ลึกซ้ึงและมานําเสนอในกลุมเพ่ืออภิปรายรวมกัน เรื่องที่สัมมนาอาจเป5นเรื่องเดียว หรือหลายเร่ือง
แลวแตความเหมาะสมหรอื ตามความสนใจของผเู รียน ในการศึกษาคนควาและการนําเสนอ อาจใชวิธี
ใดวธิ ีหนึ่งหรือหลายวิธีรวมกันก็ได เชน การศึกษาจากตํารา เอกสารวิชาการ และอินเทอรเน็ต ศึกษา
จากผเู ชย่ี วชาญ คนควาจากการทดลองเป5นตน

14 สมชาย รัตนทองคาํ , การพฒั นารูปแบบการสอนเพื่อเน5นกระบวนการคิดอย6างมีวิจารญาณสําหรับ
นักศึกษากายภาพบําบัด มหาวิยาลัยขอนแกน ,วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต,(ขอนแกน :
มหาวิทยาลัยขอนแกน, ๒๕๔๕).

135

ขอ5 ดี

การสงเสริมใหผูเรียนรักการคนควา คนหาความรูตามท่ีตนเองตองการ เป5นการฝrกฝนการ
เรียนรูดวยตนเอง ผูเรยี นมอี ิสระในการคนควาหาความรูไดอยากหลากหลายตามท่ีตนเองตองการและ
มคี วามถนดั

ข5อจํากดั

หากผูเรียนมีจํานวนมาก มักจะทําใหประสิทธิภาพการเรียนการสอนลดลง และตองใชเวลา
มาก เหมาะสําหรับผูเรียนที่มีจํานวนไมมาก รูปแบบการรายงานส่ิงที่คนควา หากผูเรียนนําเสนอไม
นาสนใจเชน ใชวิธีการบรรยาย ท่ีไมมีการสรุปประเด็นอยางชัดเจน อาจทําใหบรรยากาศไมนาสนใจ
นอกจากนนั้ เนือ้ หาทผ่ี ูเรียนนาํ เสนอกวางจนเกนิ ไปและมีลักษณะเยื้อนเย้ือ หรือแคบเฉพาะเกินไปอาจ
ไมไดรบั ความสนใจเทาทีค่ วร สูวธิ ีการบรรยายโดยผสู อนไมได

ขอ5 เสนอแนะ

ผูสอนควรมีความเขาใจในลักษณะการสอนแบบสัมมนาเป5นอยางดี ควรมีการสอนและ
ถายทอดเทคนิคการคนควา เทคนิคการจับประเด็น และเทคนิคการนําเสนอใหกับผูเรียน ซึ่งจะ
สามารถทําใหผูเรียนที่ตองนําเสนอผลการสัมมนานาสนใจ นอกจากนั้นควรมีการกําหนดประเด็น
เนือ้ หาที่คนควาใหมีความชัดเจนและรัดกุมเหมาะสมกับเวลา เป5นตน บรรยากาศของการนําเสนอผล
การสมั มนา ผสู อนอาจเป5นผนู าํ เสนอประเดน็ ปญ) หาทชี่ วยสรางบรรยากาศใหนาสนใจและชวนตดิ ตาม

๕.๓ รูปแบบการเรยี นการสอนแบบสมั มนา

รปู แบบการเรียนรเู ป5นโครงสรางทใ่ี ชเป5นแนวในการสรางกระบวนการเรียนรูการสอนและจดั
สงิ่ แวดลอมท่เี อ้อื ตอการเรยี นรลู ักษณะเดนของรปู แบบการเรียนการสอนมดี ังตอไปน้ี

(๑)ครคู วรพยายามเพ่ิมศักยภาพทางความคดิ แกผเู รียนควรใชคาํ ถามกระตุนใหใชความคิด
ระดบั สูงตลอดจนการนาํ ไปใชในชีวติ ประจาํ วันดวย

(๒) คําถามหรือแบบฝrกควรเป5นคําถามปลายเปด• เพื่อใหนักเรยี นไดคดิ
อยางกวางขวางและหลากหลายไมควรเป5นเร่ืองท่ีมคี ําตอบขอถูกเพยี งคาํ ตอบเดียว

136

(๓) สงเสรมิ กรณีศกึ ษาใหสามารถคนพบวธิ ีการแกปญ) หากรณพี บทางออกของชีวติ ดวย
ตนเองโดยใชกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณใหมาก

(๔) ควรสงเสรมิ การเรยี นรูโดยใชวัดเป5นแหลงการเรียนรู
อนั จะเปน5 หนทางในการหลอหลอมความเปน5 ไทยของเยาวชนของชาตไิ ดอีกวิธีหนึง่ ดวย

(๕)สงเสรมิ ใหนักเรยี นมีอิสระในการเลอื กเรื่องทีต่ องการศึกษาคนควาดวยตนเองเชนเลอื ก
ศกึ ษาเรื่องเก่ียวกบั พระไตรป•ฎกเป5นตนทง้ั นเี้ พื่อชวยสรางนิสัยรกั อสิ ระและเป5นคนทมี่ คี วามคิด
สรางสรรคใหเกดิ ขน้ึ กบั ผเู รยี นและ

(๖) ครูควรจดั ระยะเวลาเรยี นใหพอเหมาะและมคี วามหลากหลายของวธิ กี ารสรางกจิ กรรมท่ี
ทาทายความสามารถของเด็กคาดคะเนเวลาอยางเหมาะสมและเขาใจหลักการของการบูรณาการ
เช่ือมโยงหัวขอความรูไปสูความคิดรวบยอดทเี่ ป5นองครวม
การจดั การเรยี นร5ทู เี่ นน5 ทกั ษะกระบวนการ

มาตรฐานการเรยี นรนู ้ีจะประกอบไปดวยส่ิงท่ีสําคัญ ๓ ประการคอื องคความรู (Knowledge)
กระบวนการเรยี นรู (Performance) และ คุณธรรม (Attribute) ซงึ่ อาจกลาวไดวาเปน5 หลักสูตรที่
ตองการเนนความรคู ูคุณธรรมใหเกดิ ข้ึนกับผูเรยี นการเรียนรูตามหลกั สตู รจะเนนที่กระบวนการที่
เกดิ ขึ้นตามธรรมชาตกิ ระบวนการของสาระพระพทุ ธศาสนาไดแกกระบวนการตางๆเหลานคี้ ือ

(๑) กระบวนการความคดิ รวบยอดซึง่ เปน5 กระบวนการทีช่ วยใหผูเรยี นเกดิ ความคิดรวบยอด
ในสาระการเรียนรูท่กี ําหนดไวอยางถูกตองและชัดเจน

(๒) กระบวนการคิดวเิ คราะหโดยใชการคดิ ทถ่ี ูกวธิ ี คอื โยนิโสมนสิการ
(๓) กระบวนการสบื คน
(๔) กระบวนการฝrกปฏิบัติบริหารจติ และเจริญปญ) ญา
(๕) กระบวนการขดั เกลาทางสังคม
(๖) กระบวนการเผชิญสถานการณเพือ่ การตดั สินใจแกป)ญหาไดอยางถูกตองและเหมาะสม
และ
(๗) กระบวนการเรียนรแู บบบูรณาการ
วิธีการสอนสาระพระพุทธศาสนานั้นประกอบไปดวยองคประกอบที่สําคัญหลายสวนดวยกัน
ดังน้ันจึงเป5นหนาท่ีของครูผูสอนสาระการเรียนรูกลุมน้ีท่ีจะตองศึกษาและทําความเขาใจเกี่ยวกับ
รูปแบบของการสอนแบบตาง ๆ ท้ังนี้เพราะมีจุดประสงคที่เพ่ือใหนักเรียนประสบความสําเร็จในการ
เรียนรตู ามจดุ มุงหมายทต่ี ้งั ไวรวมกันของครูและนักเรียน สรุป ในการจัดการเรียนการสอนนั้นเพื่อให
ผูเรียนไดเกิดการเรียนรูอยางสูงสุดครูผูสอนควรตองคํานึงถึงหลักการและแนวทางในการสอนท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพควรมกี ารพฒั นานวตั กรรมการเรียนการสอนของตนเองอยูอยางสมํ่าเสมอตลอดเวลาอีก
ประการหน่ึงดวย

137

การพัฒนาบทเรยี นสําเรจ็ รูป
การนําบทเรียนสําเร็จรูปท่ีสรางข้ึนมาแลวผานการทดลองพิสูจนและพัฒนาอยางเป5นระบบ

แลวนําไปใชในการจัดการเรียนการสอนใหแกผูเรียนนั้นถือไดวาผูสอนไดมีการพัฒนาในการทํางาน
ของตนดวยการนํานวัตกรรมทางการศึกษาหรืออีกนัยหนึ่งไดนําเทคโนโลยีทางการศึกษาเขามา
เสริมสรางคุณภาพในการจัดกระบวนการเรียนรูแกผูเรียนสําหรับการแกไขป)ญหาของการเรียนการ
สอนในคร้ังนี้ผูวิจัยไดเลือกบทเรียนสําเร็จรูปแบบเสนตรงเขามาใชในการปรับปรุงและแกไขป)ญหา
เพราะสะดวกและประหยัดเวลาพรอมกันนี้ก็ไดกําหนดสาระการเรียนรูเรื่องพระไตรป•ฎกชั้น
มัธยมศึกษาปxที่ ๕ ชวงชั้นที่ ๔ (ม.๔ – ม.๖) โดยการนํามาสรางเป5นบทเรียนเพราะเป5นสาระที่สําคัญ
ตอการทผ่ี ูเรียนจะไดนาํ ความรูทีไ่ ดศึกษาไปใชใหเกิดประโยชนตอตนเองและตอสังคมในวันขางหนาได
ซึ่งในการกระทาํ ครั้งน้ผี ูวิจัยไดคาํ นงึ ถงึ ความเหมาะสมของเนือ้ หาและวยั ของผเู รยี นอีกดวยเชนกัน
พัฒนาการของบทเรยี นสําเร็จรปู

จุดเร่ิมตนของการสรางบทเรียนรูปไดเร่ิมตนเกิดขึ้นจากความพยายามของมนุษยในการท่ีจะ
เรียนรูส่ิงตางๆดวยตนเองตามแนวคิดท่ีมีมาตั้งแตสมัยโบราณยุคท่ีประเทศกรีซเจริญรุงเรืองเพราะมี
นกั ปราชญชาวกรีกนามวาโสเครติส (Socratis, อางถึงในอําภาพันธุธานินทรธราธาร ๒๕๔๒: ๒๙) โส
เครตสิ ไดอบรมสัง่ สอนพวกลูกทาสใหมคี วามรคู วามเขาใจเกย่ี วกับเนื้อหาของทฤษฎีเรขาคณิตดวยการ
ใชไดอะแกรมแบบงายๆซึ่งเป5นการสอนไปทีละข้ันจากงายไปสูหลักการใหญนับตั้งแตเวลาน้ันเป5นตน
มาจนกระทั่งถึงป)จจุบันนี้บทเรียนสําเร็จรูปก็ไดมีการพัฒนาจนกลายเป5นประเภทหน่ึงของนวัตกรรม
ทางการศึกษาที่ครูผูสอนไดนําเอามาใชในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนของตนตาม
สถาบันการศกึ ษาตางๆท่วั ประเทศไทยของเรานี้

วิธีการสอนแบบอภิปราย หมายถึง วิธีการสอนที่มุงใหผูเรียนไดมีโอกาสสนทนาแลกเปล่ียน
ความคิดเห็นหรือพิจารณาหัวขอท่ีกลุมสนใจรวมกัน วิธีการสอนแบบอภิปรายจึงเป5นวิธีการสอนท่ี
ผูเรียนมสี วนรวมในการเรยี นคือ ไดคิด ไดทํา ไดแกป)ญหา ไดฝrกการรวมการทํางานแบบประชาธิปไตย
ผูเรียนจึงเป5นศูนยกลางของการเรียน มีลักษณะการเรียนรูแบบกระตือรือรน เป5นฯการพัฒนาผูเรียน
ทางดานความรูและดานเจตคติ และดานทักษะการเรียนรู เชน ทักษะการคิด ทักษะการพูด การฟ)ง
การแสดงความคิดเห็น การทํางานรวมกนั เปน5 กลุม เป5นตน

ความมุ6งหมาย

๑. เพอื่ เปด• ใหผูเรียนไดแสดงความคิดเห็นรวมกัน เป5นการพัฒนาทกั ษะการพูด การคิด

๒. เพื่อฝrกการทํางานรวมกันเป5นกลุม ฝrกการเป5นผูนํา ผูตาม การรับฟ)งความคิดของผูอ่ืน
และเป5นสมาชกิ ท่ดี ีของกลมุ

138

๓. เพื่อฝกr การคนควาหาความรูมาอภปิ รายใหคนอ่นื ทราบ
ขน้ั ตอนการสอน
ข้นั ตอนการอภปิ รายมี๓ขนั้ ตอน
๑. ขั้นเตรยี มการอภิปราย ผูสอนตองเตรียมในสง่ิ ตอไปนี้

๑.๑ หัวขอและรูปแบบการอภิปราย เตรียมใหสอดคลองกับจุดประสงคของบทเรียน เวลา
เรยี น จาํ นวนผูเรียน สถานท่ี เชน ถาเวลาจํากดั ควรใชแบบซุบซบิ ปรกึ ษาถาตองการรวบรวมความคิด
อาจใชแบบระดมสมอง ถามเี วลาใหผูเรียนไดเตรียมเน้ือหาสาระความรูมาลวงหนา ควรใชแบบซิมโพ
เซยี ม

๑.๒ ผูเรียน ผูสอนควรใหผูเรียนเตรียมตัวการอภิปรายมาลวงหนาจะทําใหผูเรียนได
ประโยชนจากการเรียนแบบอภปิ รายอยางแทจริง

๑.๓ หองเรียน ผูสอนควรจัดโตŸะเกาอี้ใหเหมาะสมกับรูปแบบการอภิปราย เชน จัดแบบ
วงกลมเหมาะสําหรับการอภิปรายแบบระดมสมองจัดแบบตัวยูหรือสี่เหล่ียมผืนผาเหมาะสําหรับกลุม
ใหญจดั แบบตัวทหี รือแบบเรียงแถวหนากระดานเหมาะสําหรับแบบหมูพาแนล

๑.๔ สอื่ การเรยี น อาจตองใชเอกสารประกอบการอภปิ รายของแตละกลุมผูสอนควรเตรียมไว
ใหพรอม
๒. ข้ันดําเนินการอภิปราย ผูสอนมีบทบาทสําคัญในการควบคุมและอภิปรายใหดําเนินไปไดดวยดี
ตองดาํ เนนิ การตอไปน้ี

๒.๑ บอกหัวขอหรอื ปญ) หาท่ีจะอภปิ รายใหชดั เจน
๒.๒ ระบจุ ุดประสงคการอภิปรายใหชดั เจน
๒.๓ บอกเงอื่ นไขหลักเกณฑการอภปิ รายเชนระยะเวลาที่ใช รปู แบบวิธกี าร
๒.๔ ใหดําเนินการอภิปรายโดยผูสอนควรชวยเหลือใหการอภิปรายดําเนินไปไดดวยดีผูสอน
ไมควรเขาไปกํากบั หรือเขาไปแทรกแซงผูเรียนตลอดควรคอยดูอยหู างๆ
๓. ขนั้ สรุป ประกอบดวย

139

๓.๑ สรุปผลการอภิปรายเป5นชวงที่ผูแทนกลุมสรุปอภิปราย นําเสนอผลการอภิปรายตอที่
ประชุม ผูสอนอาจถามคําถามผูอภิปรายไดในสาระสําคัญที่ตองการใหผูเรียนไดรับขณะเดียวกันชวย
กลมุ อภิปรายใหเกิดความกระจางในเน้อื หาบางตอนได

๓.๒ สรุปเรียน ผูสอนเป5นผูสรุปเน้ือหาสาระสําคัญท่ีไดจากการอภิปรายควรไดเสริมขอคิด
แทรกความรู ตลอดจนนาํ แนวทางความรไู ปใชเกิดประโยชนการสรุปน้นั ควรสรปุ เป5นหวั ขอกระดานดํา
เพอ่ื ใหผูเรียนไดเขาใจและบันทึกไดงาย

๓.๓ ประเมินผลการเรียน ผสู อนควรมีการประเมนิ ผลการเรียนการอภิปรายภายหลังท่ีสิ้นสุด
บทเรยี นเพอ่ื ดูวาการอภิปรายในคาบน้ันมคี ณุ คาหรอื มีขอบกพรองอยางไรโดยประเมินใหครอบคลุมถึง
เนื้อหาหัวขอการอภิปราย จุดประสงค รูปแบบ บรรยากาศฯลฯท้งั นเี้ พื่อเป5นขอมูลในการปรับปรุงการ
เรียนการสอนดวย

๒.๔ การสอนศลี ธรรมในโรงเรียนด5วยการสัมมนา

จําเป5นตองอาศัยองครวมของสถานศึกษาและความพรอมของผูสอนและผูเรียนโดยมี
รายละเอียดทจ่ี ะกลาวตามลาํ ดับดังตอไปนค้ี ือ
การเสรมิ สรา5 งความศรัทธา

การสอนสาระพระพุทธศาสนาแกผูเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายซ่ึงเป5นชวงวัยรุนน้ัน
ผูสอนควรพึงระวังถึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหมากและควรจัดใหเหมาะสมสอดคลองกับ
วุฒิภาวะความสนใจตลอดจนควรเอื้อใหเกิดความเล่ือมใสศรัทธาตอพระศาสนาอีกดวยดังน้ันจึงควร
เร่ิมตนการเรียนการสอนดวยวิธีการสรางศรัทธา (สุมนอมรวิวัฒน, อางถึงในกระทรวงศึกษาธิการ,
กรมวิชาการ ๒๕๔๖ : ๑๘๑) ความเช่ือมั่นท่ีผูเรียนควรมีตอการเรียนรูสาระพระพุทธศาสนามี ๓
ประการดงั ตอไปนคี้ ือ

(๑) เชื่อม่ันวาหลักพระพุทธศาสนาเป5นความรูจริงความดีจริงและความงามที่แทจริงพระ
ธรรมคําสั่งสอนลวนเป5นส่ิงท่ีปฏิบตั ิได

(๒) เชื่อมั่นวาการปฏิบัติตนตามหลักของพระพุทธศาสนายอมเกิดผลที่มีคุณคาที่แทจริงแก
ชีวิตและ (๓) เช่ือมั่นวาการศึกษาพระพุทธศาสนาเป5นการเรียนสาระความรูท่ีมีเหตุผลสามารถใช
ป)ญญาพิสูจนใหเหน็ จริงไดการเสริมสรางศรทั ธานนั้ ครผู สู อนสามารถปฏิบตั ิไดตามแนวทางตอไปน้ี

140

๑. บุคลิกภาพของครูบุคลิกภาพของครูเป5นจุดเริ่มตนของการสรางศรัทธาดังน้ันบุคลิกภาพ
ของครูที่สอนศลี ธรรมจึงควรมีลกั ษณะดงั นี้

(๑.๑) บุคลิกภาพทางกายมคี วามสะอาดแจมใสสงบและสาํ รวม
(๑.๒) เป5นผูทมี่ สี ุขภาพจิตดแี ละมีจิตใจอิสระที่ปลอดโปรงจากปญ) หาและ
(๑.๓) มีความมน่ั ใจในตนเองไมมีปมเดนหรอื ปมดอยในการที่ตองมาสอนพระพุทธศาสนา
๒. การสรางความสัมพันธทด่ี รี ะหวางครูกับศิษยและระหวางเพื่อนนักเรียนดวยกันผูสอนตอง
สรางสมั พนั ธภาพทีด่ กี บั ผเู รียนนกั เรยี นนาจะเกิดความรูสึกอบอุนถาครูเดินเขาหองเรียนดวยสีหนายิ้ม
แยมแจมใสในระหวางดําเนินการจัดกระบวนการเรียนรูก็เต็มไปดวยบรรยากาศแหงความจริงใจอีกทั้ง
ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนนัน้ ครคู วรไดเป•ดโอกาสใหนักเรยี นไดมี
สวนรวมกับทุกคนนักเรียนตางไดเรียนรูซึ่งกันและกันสิ่งเหลาน้ียอมเป5นองคประกอบท่ีสําคัญซึ่งชวย
ทาํ ใหกระบวนการเรียนการสอนสามารถดาํ เนนิ ไปไดจนบรรลุจดุ ประสงคที่ผสู อนไดวางไวแตแรกเร่ิม
๓. การเสนอส่ิงเราและจงู ใจนักเรียนโดยทั่วไปมักมีเจตคตติ อสาระการเรียนรูพระพุทธศาสนา
วาเป5นเร่ืองของกฎเกณฑที่คอยควบคุมมิใหทําสิ่งใดไดด่ังใจตนดังน้ันการที่จะสรางศรัทธาใหนักเรียน
เกิดความรูสึกตระหนักในความสําคัญของการนับถือศาสนาจึงตองใชสื่อส่ิงเราเชื่อมโยงใหเห็นวาพระ
พุทธพระธรรมพระสงฆมีความสัมพันธกับชีวิตประจําวันของเขาและสามารถชวยใหเขาประสบ
ความสําเรจ็ ในชีวิตไดอยางแทจริงส่ือส่ิงเราทส่ี ามารถสรางแรงจงู ใจใหกับผเู รียนรวมกันเกิดความสนใจ
ตอสาระพระพทุ ธศาสนากนั มากข้ึนไปกวาเดิมคือ
(๓.๑) ธรรมชาติและปรากฏการณทางธรรมชาตทิ ่ีผเู รยี นไดพบเหน็ อยูทกุ วันและมิไดพิจารณา
อยางถี่ถวนเชนใบไมทีเ่ ขยี วชอมุ ใบไมแกท่ีเหลืองจัดเป5นตนส่ือส่ิงเราเหลานี้ครูผูสอนสามารถท่ีจะหยิบ
มาใชสอนไดอยเู สมอ
(๓.๒) ขาวและเหตกุ ารณตางๆทเี่ กิดขึ้นในชวี ติ ทุกเพศทกุ วัยในแตละวนั ของการดําเนนิ ชีวิต
(๓.๓) การใชสื่อและวิธีการจัดทํานําเสนอส่ือตางๆเพื่อเราความสนใจเชนการจัดป&ายนิเทศ
การจดั นิทรรศการเป5นตนและ
(๓.๔) คําวิจารณอยางมีเหตุผลคําชมเชยการใหรางวัลการประกาศเกียรติคุณเป5นวิธีหน่ึงท่ี
ชวยเสรมิ แรงจงู ใจนักเรยี นตอการเรยี นสาระพระพทุ ธศาสนา
การจัดบรรยากาศและส่งิ แวดลอ5 ม
บรรยากาศของการเรียนเป5นองคประกอบท่สี ําคญั ซ่งึ สามารถชวยใหการจัดกระบวนการเรียน
การสอนของครูและนักเรียนไดดําเนินไปสูจุดมุงหมายของการจัดการศึกษาใหประสบความสําเร็จได
อยางงายดายดงั นนั้ การจดั บรรยากาศและสงิ่ แวดลอมของการเรยี นนัน้ ตองคาํ นึงถึงสิ่งเหลาน้คี ือ
(๑) จัดลักษณะการวางโตŸะเรยี นในหองเรยี นใหใหมอยเู สมอเพื่อใชฝrกการปฏิบัติในการเรียนรู
เรอื่ งมารยาทชาวพทุ ธหรอื การบริหารจิตและเจรญิ ปญ) ญา

141

(๒) ใหนักเรียนไดมีโอกาสแลกเปล่ียนความคิดเห็นหรือมีสวนรวมในการเรียนดวยการจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอนท่หี องพทุ ธศาสตรบางตามวาระโอกาสทเ่ี หมาะสม

(๓) ถาสถานทอ่ี าํ นวยครอู าจเปลี่ยนบรรยากาศโดยการพานักเรียนไปนั่งเรียนท่ีสนามใตรมไม
ทามกลางธรรมชาตทิ ี่มคี วามสงบเพยี งพอและ

(๔) ถาโรงเรยี นอยใู กลวัดและมีโบสถวหิ ารทก่ี วางขวางครูควรนาํ นักเรียนไปเรียนท่ีโบสถวิหาร
หรอื ศาลาการเปรียญเป5นบางครงั้ บางคราวเพราะวัดและพระสงฆเป5นแหลงวิทยาการท่ีดีในการเรียนรู
สาระพระพุทธศาสนา
สรุปไดวาบรรยากาศในการเรียนรูนั้นสําหรับระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายควรจะมีลักษณะแจมใส
ราเริงปะปนคละเคลาไปดวยลักษณะของสาระเชงิ วิทยาการจงึ จะเหมาะสมท่ีสุด

การสัมมนา เป5นรูปแบบหน่ึงของการเรียนการสอนที่นํามาประยุกตการสอนศีลธรรมใน
โรงเรยี นซงึ่ สมั มนากบั การประชุมท่ีมีผลสรปุ ทีไ่ ดจากการสัมมนาถือวาเป5นเพียงขอเสนอแนะ นักเรียน
หรอื ผูเกย่ี วของจะนาํ ไปปฏิบตั ติ าม15

การสัมมนา หมายถึง รปู แบบหน่งึ ของการเรยี นการสอน ในระดับ อดุ มศกึ ษา หรือทางบริษัท
ตางๆ โดยการแบงกลมุ ผูเรียนเป5นกลมุ เล็กเพ่ืออภปิ รายเร่อื งราวเฉพาะตอนใดตอนหนง่ึ ของบทเรียน
ดวยบทบาทที่สูง โดยผเู รียนตองเตรียมเอกสารลวงหนามาเสนอตอกลมุ

ปรชั ญาเบอื้ งหลงั การเรียนการสอนแบบสมั มนาไดแกการสอนผเู รียนใหเผชญิ และคนุ เคยกบั
วิธีการ ( Methodology) ในการคนควาสาขาวิชาการทีต่ นเลอื ก การสมั มนาประกอบดวยการการยก
ป)ญหา การถาม-ตอบแลวอภิปรายหาขอสรุปหรือคําตอบ ปกติเอกสารท่เี ตรยี มมาสัมมนาจะตองเปน5
เอกสารที่มรี ูปแบบวิชาการและจะตองมีการวจิ ารณซึง่ กนั และกนั การสัมมนาใชมากในการศึกษา
ระดับบณั ฑติ ศึกษา

การสมั มนาจะมกี จิ กรรมที่คลายคลงึ การประชมุ การสมั มนาจะมีกระบวนการหลายอยางและ
จะประกอบดวยเทคนิคในการอภิปรายตาง ๆ ในการจัดสัมมนาเป5นกระบวนการสรางสรรคองค
ความรใู หม เปน5 กจิ กรรมที่แรงเราใหผูเขาสัมมนา มคี วามกระตอื รือรนในการเขารวมกิจกรรมผูเขารวม
สัมมนาไดพัฒนาทักษะการพูด การฟ)ง การคิด และการนําเสนอความเช่ือ ความคิดและความรูอ่ืน ๆ
ตลอดจนการเขยี นรายงานเปน5 ตน การจัดสัมมนา จะมผี ูนําและผูตามในกระบวนการเรยี นรู

การจัดการสอนแบบสมั มนา

15 พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, หนา ๑๑๗๐.

142

๑. การจัดการสอนเพื่อเพม่ิ พูนความรูโดยผเู รียนและผูสอนชวยกันเลอื กเรอื่ งนาํ มาเรยี นรู
รวมกัน

๒. เสนอผลงานวจิ ยั เพ่ืออภิปรายผลงานของตน
๓. การเชญิ ผเู ชย่ี วชาญบางสาขามาอภิปรายเกยี่ วกับเรื่องราวหรือปญ) หาใหกระจางขึน้
๔. การรวบรวมความรูในสาขาวชิ าตาง ๆ ทไ่ี ดศกึ ษามาหรอื คนควาเร่ืองใดเรื่องหนงึ่ แลว
นํามาแลกเปลีย่ นอภิปรายความเห็นกัน
ลกั ษณะกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสมั มนา
๑. การสอนแบบสัมมนาตองเลือกเรอื่ งทีจ่ ะสมั มนา โดยผเู รียนจะศกึ ษาวางแผนรวมกัน จดั
หัวขอเร่ืองใหพอดีกับเวลาท่ีมี
๒. หลังจากศึกษาคนควาแลวผเู รยี นแตละคนกลมุ เสนอรายงานการศกึ ษาคนควาของตน
๓. ผูเรียนคนอื่น ๆ รวมอภิปราย เม่ืออภิปรายส้ินสุด ควรมีการสรุปสิ่งท่ีไดเรียนรู ผูเรียน
จะตองมีทักษะในการศึกษาดวยตนเอง คนควาเป5น เขียนรายงานเป5น มีทักษะในการพูด กลา
แสดงออก ยอมรบั ความคิดเห็นของผูอื่น
๔. มีผูเช่ียวชาญหรือวิทยากรมาบรรยายใหความรูกอนแลวผูอภิปรายจึงเขากลุมยอย
อภิปราย คนควาหาขอเท็จจริง

สรปุ ท5ายบท

การสัมมนาเป5นการสอนท่จี ะทําใหเกิดความรู ทักษะ และประสบการณแกผูเรียน การสอนมี
อยูมากมายหลายวิธี แตละวิธีสอนเหมาะสมกับหลักสูตรและเน้ือหาวิชาที่แตกตางกัน และยังมี
องคประกอบท่ีเขามาเก่ียวของ เชน ขนาดของหองเรียน โสตทัศนูปกรณ จํานวนนักเรียน สิ่งเหลานี้
จึงเป5นหนาท่ีของผูสอน ครู อาจารย ทจ่ี ะตองตัดสินใจเลือกวิธีสอนอยางไรท่ีจะเหมาะสม พัฒนาการ

143

สอน รวมทัง่ การนาํ เทคนคิ ตาง ๆ หรอื วิธีการนําเสนทิ ี่จะมากระตุนและเราความสนใจใหแกผูเรียน ครู
จะตองพจิ ารณาถึงครามเหมาะสมไปพรอมกน

144

คาํ ถามทา5 ยบท

๑๕.จงอธิบายการนาํ เทคนิคการสัมมนาพฒั นาการสอนในช้นั เรยี นมาใหเ5 ขา5 ใจ
๑๖.จงอธิบายรูปแบบการเรียนการสอนแบบสมั มนามาใหเขาใจ
๑๗.การเขียนการสอนศีลธรรมในโรงเรียนดวยการสมั มนามาให5เขา5 ใจ

145

เอกสารอ5างอิงประจําบท

พฤฒพิ งศ เล็กศิรริ ัตน, สมั มนา, สงขลา : มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ, ๒๕๕๗.
สมชาย รัตนทองคํา, การพัฒนารูปแบบการสอนเพ่ือเน5นกระบวนการคิดอย6างมีวิจารญาณ

สาํ หรบั นักศกึ ษา กายภาพบําบัด มหาวิยาลัยขอนแกน ,วิทยานิพนธศึกษาศาสตร
มหาบณั ฑติ , ขอนแกน : มหาวิทยาลยั ขอนแกน, ๒๕๔๕.
พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒.

146

บรรณานกุ รม

เกษกานดา สุภาพจน, การจดั สมั นา, กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสวนสุนนั ทา, ๒๕๔๘.
ฝšายวิชาการเอ็กซเปอรเน็ท, เทคนิคการประชุมแบบมืออาชีพ : Meeting that Works.

บรษิ ัทเอ็กซเปอรเน็ทจาํ กดั ; กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๘.

พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒.
พฤฒพิ งศ เลก็ ศริ ิรัตน, สมั มนา, สงขลา : มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, ๒๕๕๗.
พานชิ ทนิ นมิ ิตร, การเขียนรายงานสมั มนาและเทคนคิ การพดู เพ่อื เสนอสมั มนา, ภาควิชา สัตว
ศาสตร คณะทรัพยากรธรรมชาติไพศาล เหลาสุวรรณ. วิธีการเขียนทางวิทยาศาสตร8, บ.สมบูรณ
การพิมพ. นครราชสีมา, ๒๕๔๕.
ราชบณั ฑิตยสถาน, ๒๕๒๕.

สมชาย รัตนทองคํา, การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อเน5นกระบวนการคิดอย6างมีวิจารญาณ
สาํ หรับนกั ศกึ ษา กายภาพบําบัด มหาวิยาลัยขอนแกน ,วิทยานิพนธศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต, ขอนแกน : มหาวทิ ยาลัยขอนแกน, ๒๕๔๕.

สุธีระ ประเสริฐสรรพ, สนุกกับงานวิจยั , สงขลา : สํานกั งานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั , ๒๕๔๔.
นิรันดร จุลทรัพย, จิตวิทยาการประชุม อบรม สัมนา พิมพ8ครั้งที่ ๒, สงขลา :มหาวิทยาลัย

ทักษิณ, ๒๕๔๗.

มัลลกิ า ผองแผว, วิชาภาษาไทย, ระยอง : วิทยาลยั เฉลิมกาญจนา, ๒๕๕๘.

เอกรินทร สี่มหาศาล และคณะ, ภาษาไทย ป.๕ พิมพ8คร้ังท่ี ๓, กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน,
๒๕๕๑.

สมพร มนั ตระสูตร, วรรณกรรมไทยปจY จบุ นั , กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พโอเดียนสโตร, ๒๕๒๕.

สุนทร เกตุสุขาวดี, สัมมนางานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, พิมพคร้ังที่ ๑, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ธนบรุ ี, ๒๕๕๓.

http://wilas.chamlertwat.in.th/seminar-steps/


Click to View FlipBook Version